phatchakarn pattharahsopon

Page 1


สารบัญ กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) หน้า 1 บทคัดย่อ (Abstract) หน้า 2 บทที่ 1 บทนํา หน้า 3 – 10 บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบตั ิงาน การจัดการภายในองค์กร หน้า 11 – 33 บทที่ 3 การปฏิบตั ิงาน หน้า 34 – 39 บทที่ 4 ผลที่ได้รับจากการฝึ กงาน หน้า 40 - 48 บทที่ 5 สรุ ปผลการปฏิบตั ิงาน หน้า 49 - 53 บรรณานุกรม หน้า 54 ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร หน้า 55 ภาคผนวก หมวด ข. รู ปภาพ หน้า 56 - 58


กิตติกรรมประกาศ (Acknowledgement) การที่ดิฉันได้มาฝึ กงาน ณ บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม พ.ศ.2555 ถึง วันที่ 31 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ส่ งผลให้ดิฉันได้รับความรู ้ใหม่ๆ และประสบการณ์ต่างๆอย่างมากมาย สําหรับรายงานการฝึ กงานฉบับนี้สาํ เร็ จลงได้ดว้ ยดีจากความ ร่ วมมือและสนับสนุนจากหลายฝ่ ายดังนี้ • คุณกมลทิพย์ ระโหฐาน Graphic Design • คุณจาริ ณี สุ พรรณหนู Computer Printer and Cutting Poster • คุณพชญ ไชยกาญจน giseD retsop retupmoCn และบุคคลท่านอื่นๆในแผนก ART DIVISION ทุกท่านที่ได้ให้คาํ แนะนําช่วยเหลือในการจัดทํา รายงานฉบับนี้ ดิฉันใคร่ ขอขอบพระคุณผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่านที่มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ มูล เป็ นที่ปรึ กษาใน การทํารายงานฉบับนี้จนเสร็ จสมบูรณ์ ตลอดจนให้การดูแลและให้ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวติ การทํางาน จริ ง ดิฉันขอขอบคุณ ไว้ ณ ที่น้ ี

นางสาวพัชกาญ ภัทรโสภณ ผูจ้ ดั ทํารายงาน


บทคัดย่ อ (Abstract) เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้ าว หรื อ เซ็นทรั ลลาดพร้ าว เป็ นศูนย์การค้าสํานักงาน ศูนย์แสดงสิ นค้า และโรงแรมครบวงจร ซึ่ งเป็ นธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการค้าปลีก แห่ งแรกของบริ ษทั เซ็นทรัล พัฒนา จํากัด (มหาชน) ตั้งอยูท่ างทิศเหนือของกรุ งเทพมหานคร บริ เวณแยกลาดพร้าว ช่วงริ มถนน พหลโยธิน ในเขตจตุจกั ร เปิ ดให้บริ การอย่างเป็ นทางการ เมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2526 และประสบ ความสําเร็ จอย่างสู ง ทั้งยังเป็ นที่นิยมมาจนถึงปัจจุบนั


บทที่ 1 บทนํา

ชื่อและที่ต้งั สถานที่ประกอบการ หน่วยงานที่ฝึกงาน : บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ที่ต้ งั : เลขที่ 1693 ถนนพหลโยธิน เขตจตุจกั ร กรุ งเทพมหานคร โทรศัพท์: :02-793-6000 Fax: 02-514-1341 URL: www.centralplaza.co.th ลักษณะการประกอบกิจการดําเนินงานเกี่ยวกับ CPN ได้เริ่ มก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2523 โดยมีทุนจดทะเบียน 300 ล้านบาท ในช่วง ทศวรรษที่ผา่ นมา บริ ษทั ได้สัมผัสกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไม่เพียงแต่การเปลี่ยนแปลงของแนวโน้ม ของผูบ้ ริ โภคเท่านั้น แต่ยงั เป็ นการเปลี่ยนแปลง ของความต้องการศูนย์การค้าครบวงจร ที่สามารถ ตอบสนองความต้องการผูบ้ ริ โภคแบบ “One-stop-shopping” ได้อย่างเต็มรู ปแบบ ในฐานะที่เป็ นผูน้ าํ ตลาดที่มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้ งถึง แนวโน้มตลาดที่ เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว CPN ได้พฒั นาโครงการศูนย์การค้าในหลากหลาย รู ปแบบ เพื่อตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภค โดยเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว เป็ นหนึ่งในศูนย์การค้าแรกๆ ที่ได้สะท้อนวิสัยทัศน์ของบริ ษทั ที่จะเป็ น ผูน้ าํ ปฏิวตั ิประสบการณ์การพัฒนาและ จัดการการค้าปลีกรู ปแบบใหม่ CPN ได้แปรสภาพมาเป็ นบริ ษทั มหาชนในปี 2537 และ ได้จดทะเบียนใน ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศ ไทยในปี 2538 และ ในปี 2544 เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าวได้เป็ นศูนย์การค้าแห่ งแรก ในประเทศไทยที่ ได้การรับรองมาตรฐาน ISO 9001-2000 CPN ในวันนี้ ตลอดระยะเวลากว่า 30 ปี แห่ งความสําเร็ จอย่างต่อเนื่อง CPN ได้เป็ นผูพ้ ฒั นาอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อ การค้าปลีกที่ใหญ่และ ทันสมัยที่สุด ในประเทศไทย ปัจจุบนั บริ ษทั บริ หาร ศูนย์การค้าชั้นนําถึง 21 แห่ ง, อาคารสํานักงาน 7 แห่ ง, โรงแรม 2 แห่ ง และ โครงการคอนโดมิเนียม เพื่ออยูอ่ าศัยอีก 2 แห่ ง โดย


มีพ้ืนที่ภายใต้การดูแลรวมทั้งหมดกว่า 4.3 ล้านตารางเมตร CPN จึงเป็ นผูน้ าํ ในอุตสาหกรรม อสังหาริ มทรัพย์เพื่อการค้าปลีกโดยมีพ้นื ที่ มากกว่าคู่แข่งขันที่ตามมาเป็ นอันดับ 2 มากกว่าเท่าตัวทีเดียว บริ ษทั มีวสิ ัยทัศน์ที่จะพัฒนาศูนย์การค้าของบริ ษทั ในพื้นที่ ที่มีศกั ยภาพทั้งในกรุ งเทพฯ และ เมืองใหญ่ ทัว่ ประเทศ โดยมี เป้ าหมายต่อไปในการขยายไปสู่ ประเทศ เพื่อนบ้านโดยใช้ความชํานาญ ในการ บริ หารและ จัดการกิจการศูนย์การค้าที่มีอยูเ่ ป็ นทุน ภาพรวมสิ นทรัพย์ ศูนย์การค้า จํานวนศูนย์การค้า:

21

พื้นที่เช่ารวม(ตรม.):

1,006,509

จํานวนผูเ้ ช่า:

5,400

5 เมษายน 2556 อาคารสํานักงาน จํานวนอาคารสํานักงาน:

7

พื้นที่เช่ารวม(ตรม.):

175,842

จํานวนผูเ้ ช่า:

370

30 พฤศจิกายน 2555 มองไปในอนาคต เส้นทางสู่ การเติบโตที่ยง่ั ยืน จากแผนการกลยุทธ์ในการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์อย่างต่อเนื่อง ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ


ปรากฏการณ์ใหม่ของศูนย์การค้าในประเทศไทยได้เพิ่มขึ้นในปี 2549 เมื่อเซ็นทรัลเวิลด์ได้เปิ ดตัวขึ้นใน ใจกลางกรุ งเทพมหานครและเป็ นช้อปปิ้ งคอมเพล็กซ์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ โครงการเซ็นทรัลเวิลด์ ประกอบด้วยพื้นที่คา้ ปลีกที่ทนั สมัยมากกว่า 500,000 ตรม. โดยมีท้ งั ร้านแบรนด์ เนม, ร้านค้าปลีก, ร้านอาหาร, และ แหล่งบันเทิงที่ดีและ ทันสมัยที่สุด ; พื้นที่สาํ นักงานชั้นนําขนาด 80,000 ตรม.; และ หอประชุมและ ศูนย์แสดงสิ นค้าขนาด 17,000 ตรม. และ โรงแรมระดับห้าดาวอีก 500 ห้อง เป็ นแหล่งเงินทุนสําคัญของโครงการใหม่ๆ ศูนย์การค้าและอาคารสํานักงานบางแห่ งจะถูกโอนไปยัง กองทุนอสังหาริ มทรัพย์ CPNRF และ CPNCG ซึ่ งจะมีการออกหน่วยลงทุนให้กบั นักลงทุนทัว่ ไป เมื่อดู จากความนิยมของนักลงทุนแล้ว การออกหน่วยลงทุนใหม่น้ นั น่าจะสามารถสร้างกระแสเงินสด ที่ เพียงพอสําหรับการลงทุนในโครงการอสังหาริ มทรัพย์ใหม่ๆ อย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากโครงการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ใหม่ๆ แล้ว บริ ษทั ยังพัฒนาศูนย์การค้าที่มีอยูเ่ ดิมให้ ทันสมัยและ คงความเป็ นผูน้ าํ ในบรรดาศูนย์การค้าด้วยกัน การพัฒนาล่าสุ ดที่ได้ศึกษาและ นํามาใช้ ได้แก่ ระบบความปลอดภัยและ ให้บริ การ ด้วยมาตราฐานระดับโลกในทุกๆ ส่ วนของการดําเนินงาน ของร้านค้าและลูกค้าสัมพันธ์ การให้บริ การด้านงานระบบ งานความสะอาดและงานรักษาความ ปลอดภัย บริ ษทั ยังได้ปรับปรุ งระบบบริ หารและ ระบบจัดการทรัพยากรบุคคล เพื่อรักษาและ พัฒนา ความพึงพอใจของลูกค้าที่มีต่อศูนย์การค้าของ CPN เป็ นผูน้ าํ ศูนย์การค้าค้าปลีก โครงการของ CPN ทุกโครงการประสบความสําเร็ จอย่างงดงาม ความสําเร็ จดังกล่าวทําให้บริ ษทั เป็ น ผูน้ าํ ในอุตสาหกรรม พัฒนาศูนย์การค้า เพื่อการค้าปลีกและ ยังได้รับการยอมรับ ในระดับสากลใน ฐานะบริ ษทั ชั้นนําในเอเชีย เป้ าหมายต่อไปของ CPN ได้แก่การใช้ทรัพยากรและ ประสบการณ์ที่มีอยู่ เพื่อสร้างโอกาสในการทําธุรกิจใหม่ๆ ทั้งในประเทศไทยและ เอเชียอาคเนย์ ในปี 2548 นิตยสารฟอร์บ ได้ยกย่องให้ CPN เป็ นหนึ่งใน 200 บริ ษทั ชั้นนําของเอเชีย-แปซิ ฟิก ที่มี รายได้ไม่เกิน 1,000 ล้านเหรี ยญสหรัฐ CPN ยังมีความภาคภูมิใจที่ได้เป็ นหนึ่งใน 10 บริ ษทั จากประเทศ ไทยที่ได้รับเกียรติดงั กล่าว โดยเป็ นบริ ษทั บริ หารและ จัดการอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อการพานิชย์เพียง


บริ ษทั เดียวจากประเทศไทยอีกด้วย ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่ งเป็ นศูนย์การค้า Flagship ของ CPN ได้รับรางวัล Best of the Best ด้าน Design & Development จากสมาคมศูนย์การค้าโลกหรื อ ICSC ในปี 2553 และได้รางวัล Gold Award ในสาขา Marketing จากแคมเปญ Re-opening ของเซ็นทรัลเวิลด์ ในปี 2011 ซึ่ งรางวัลนี้ถือเป็ นออสการ์ ของวงการศูนย์การค้าระดับโลก วันนี้ CPN เป็ นผูน้ าํ ด้านการบริ หารจัดการและ พัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อการค้าปลีกที่ประสบ ความสําเร็ จมากที่สุดในประเทศไทยโดยมีศูนย์การค้าชั้นนําภายใต้การบริ หารถึง 21 แห่ ง โดยเป็ นผูน้ าํ ในพื้นที่ของโครงการแต่ละพื้นที่ , ดําเนินกิจกรรมทางการตลาดที่ล้ าํ สมัย , มีมาตรฐานระดับโลก, มีการ จัดการที่มีคุณภาพและ มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ , ได้รับความนิยมจากลูกค้าผูเ้ ช่าพื้นที่จากความสําเร็ จในการ จัดวางร้านค้า, และ มีกิจกรรมและ โครงการที่ดึงดูดผูบ้ ริ โภคให้เข้ามาใช้บริ การอย่างต่อเนื่อง นอกเหนือจากหลากหลายปัจจัยที่ช่วยผลักดันให้บริ ษทั เติบโต CPN ได้ตระหนักว่าทรัพยากรมนุษย์ ยังคงเป็ นปัจจัยสําคัญที่สุดต่อความสําเร็ จของบริ ษทั ผูบ้ ริ หารที่มีทกั ษะและ ประสบการณ์ได้ทาํ งาน เคียงข้างกับพนักงานที่ได้รับการฝึ กฝนและ มีความตั้งใจดี เพื่อที่จะสร้างความสัมพันธ์ที่ดีในการ ผลักดันความสําเร็ จที่น่าประทับใจของ CPN ต่อไป กลยุทธ์ทาํ เลที่ต้ งั ผูพ้ ฒั นาอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อการค้าปลีกรายใหญ่ สําหรับธุรกิจพัฒนาและ จัดการอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อการค้าปลีก ทําเลที่ต้ งั นั้นถือเป็ นหัวใจสําคัญ ตลอด กว่า 30 ปี ที่ผา่ นมา CPN สามารถเลือกสรรที่ดินและ ทําเลที่เหมาะสมกับการพัฒนาศูนย์การค้า ประสบการณ์ในการดําเนินกิจการค้าปลีกร่ วมกับการทําสํารวจที่ละเอียดถี่ถว้ นนั้นทําให้ CPN สามารถ เลือกสรรทําเลที่มีศกั ยภาพสู งสุ ดที่จะนําไปสู่ ความสําเร็ จในอนาคตยิง่ ๆ ขึ้นไป


ความแข็งแกร่ งของ CPN • • • • • •

ทีมที่ดีและ มุ่งมัน่ สร้างจุดมุ่งหมายที่ยอดเยีย่ ม มาตรฐานระดับโลก พันธมิตรทางธุรกิจ ปรับเปลี่ยนตามความต้องการลูกค้า ฐานะทางการเงินแข็งแกร่ ง เติบโตอย่างต่อเนื่อง

ตําแหน่ งและลักษณะงานที่นิสิตได้ รับมอบหมายให้ รับผิดชอบ คุณกมลทิพย์ ระโหฐาน ตําแหน่ง Graphic Design คุณพชญ ไชยกาญจน์ ตําแหน่ง Design Director ผูบ้ ริ หารสถานที่ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ ช่ วงระยะเวลาฝึ กงาน : วันที่ 1 มีนาคม 2556 - 31 พฤษภาคม 2556 ระยะเวลาและสภาพในการทํางานช่วงเวลาในการฝึ กงาน :เริ่ มฝึ กงานตั้งแต่วนั ที่ 1 มีนาคม 2556 – 31 พฤษภาคม 2556 ทํางานวันจันทร์ -ศุกร์ หยุดเสาร์อาทิตย์ เริ่ มงานเวลา 9.00 น.จนถึงเวลา 17.00 น.เวลาพักกลางวันเวลา 12.30 – 13.30 น. สภาพในการทํางาน : สถานที่ทาํ งานตั้งอยูใ่ นอาคาร ชั้นG ลานจอดรถ แผนกซึ่ งเป็ นส่ วนของการ ปฏิบตั ิงานด้าน ART DIVISION มีแผนกที่ทาํ งานด้านกราฟิ กออกแบบและด้าน DISPLAYโดยมีห้อง ทํางานเป็ นโต๊ะทํางานแบบล็อคของแต่ละคนมีคอมพิวเตอร์คนละเครื่ องส่ วนนักศึกษาฝึ กงานให้นาํ เครื่ องมาเองมีสายWireless หรื อ Ethernet (Lan) ให้ต่อเพื่อสื บค้นข้อมูลหาข้อมูลอ้างอิงในการทํางาน


หลักการ 1.จัดประสบการณ์ให้เป็ นระบบและกระบวนการที่ต่อเนื่อง 2.ให้มีการฝึ กสถานการณ์จริ งให้มากที่สุดเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการทํางานให้กบั นักศึกษา 3.ประสานทฤษฎีให้สอดคล้องกับการนําไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม 4.สร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างสถาบันกับองค์การและหน่วยงานภายนอก 5.พัฒนาคุณภาพนักศึกษาให้มีศกั ยภาพสอดคล้องกับความต้องการของตลาด แรงงานและผูใ้ ช้ วัตถุประสงค์ ของการฝึ กงาน 1. เพื่อให้นกั ศึกษามีโอกาสเรี ยนรู ้และได้รับ ประสบการณ์ชีวติ การทํางานที่แท้จริ ง 2. เพื่อให้นกั ศึกษาได้เตรี ยมความพร้อมก่อนที่จะจบออกไปทํางาน 3. เพื่อให้นกั ศึกษาได้รู้จกั การปรับตัวให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมภายนอกมหาวิทยาลัย 4. เพื่อให้นกั ศึกษานําประสบการณ์ที่ได้รับจากการฝึ กงานมาประยุกต์ใช้ในการทํางานต่อไป การปฏิบัติตัวระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่ อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดไปรเวท(ชุดนอก) สุ ภาพและเรี ยบร้อย 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่ อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสิ นใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝึ กงานอย่างเต็มกําลังความสามารถ


9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่ กระทําการ ใด ๆ ที่จะทําให้เสื่ อมเสี ยต่อส่ วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคําปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควรติดต่อ กลับมายังอาจารย์ประจําภาควิชา แต่ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียนฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะฯ หรื อมหาวิทยาลัย


บทที่ 2 รายละเอียดเกี่ยวกับที่ปฎิบัติงาน การจัดการภายในองค์ กร ที่มาและจุดเริ่ มต้นของ บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) มิถุนายน 2523 ก่อตั้งบริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด โดยมีทุนจดทะเบียนเริ่ มต้นที่ 300 ล้านบาทโดยเป็ นการลงทุน ร่ วมกันระหว่างกลุ่มเซ็น ทรัล , กลุ่มเตชะไพบูลย์, กลุ่มสหยูเนี่ยน, และกลุ่มบุคคลอื่นๆโดยมีจุดประสงค์ เพื่อพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการค้าปลีก ธันวาคม 2525 เปิ ดตัวโครงการเซ็นทรัลพลาซาลาดพร้าว ซึ่ งเป็ นโครงการศูนย์การค้าครบวงจรแห่ งแรกของประเทศ ไทยโดยตั้งอยูด่ า้ น เหนือของกรุ งเทพฯ โดยเป็ นโครงการแรกของ CPN ในธุรกิจพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์ เพื่อการค้าปลีก จนถึงปัจจุบนั โครง การที่น้ ียงั เป็ นที่นิยมและเป็ นโครงการที่ประสบความสําเร็ จอย่างสู ง พฤศจิกายน 2536 เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา ศูนย์การค้าที่มีการออกแบบที่ยอดเยีย่ มและรายล้อมด้วยที่ อยูอ่ าศัยและ ระบบขนส่ งมวลชนที่มีประสิ ทธิภาพ ธันวาคม 2536 เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลพลาซา บางนา ซึ่ งเป็ นโครงการศูนย์การค้าครบวงจร ที่ต้ งั อยูท่ างทิศ ตะวันออกของกรุ งเทพฯ โดยเป็ นการร่ วมทุนกับกลุ่มศรี วกิ รณ์ , กลุ่มนวบาล และบริ ษทั ทศพลการ จัดการจํากัดซึ่ ง CPN ถือหุ ้นอยู่ 20 % มีนาคม 2538


เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลพลาซา ปิ่ นเกล้า ซึ่ งเป็ นโครงการศูนย์การค้าครบวงจร ที่ต้ งั อยูท่ างทิศตะวันตก ของกรุ งเทพฯ

กรกฎาคม 2538 เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลเฟสติวลั พัทยา ซึ่ งเป็ นโครงการของ CPN ที่ต้ งั อยูน่ อกกรุ งเทพฯ โดย โครงการมีการออกแบบ ผสมผสานกันระหว่างสถาบัตยกรรมไทยและแคลิฟอร์เนีย มีนาคม 2539 ซื้ อโครงการเซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ เเอร์พอร์ต จากเจ้าของเดิมและทําการปรับปรุ งเพิ่มขยายพื้นที่คา้ ปลีกให้ป็นศูนย์ การค้าครบวงจรที่ใหญ่และทันสมัยที่สุดในภาคเหนือ มีการบริ หารงานที่ประสบ ความสําเร็ จอย่างมากและอัตราการเช่าพื้น ที่เพิ่มขึ้นสู งกว่า 60 % ในช่วงที่มีการเช่าซื้ อ

ตุลาคม 2540 เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลพลาซารัชดา-พระราม3 ซึ่ งเป็ นโครงการศูนย์การค้าครบวงจร โดยมีแนวคิด การออกแบบใน ลักษณะเมืองใต้พิภพ (underworldcity) และแม้วา่ จะเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในช่วงที่มีการ เปิ ดตัวอัตราการเช่าก็ยงั อยู่ ในระดับสู งกว่า 80 % และมีการปรับสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ตุลาคม 2543 เปิ ดตัวโครงการเซ็นทรัล เเอร์พอร์ต พลาซา เชียงใหม่เฟส 2 เอ ซึ่ งประกอบด้วยโรงภาพยนตร์ , ศูนย์ อาหารที่ทนั สมัย, และอาคารจอดรถขนาด 1,500 คันและพร้อมที่จะเป็ นศูนย์การค้าครบวงจรเพื่อที่จะ มอบประสบการณ์จบั จ่ายและความ สะดวกสบายให้กบั ลูกค้าที่มาใช้บริ การ กันยายน 2544


ซื้ อหุ ้นในโครงการ เซ็นทรัลพลาซา บางนา เพิ่มทําให้ CPN กลายเป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่และมีอาํ นาจในการ บริ หารเต็มตัวจึงนํา ไปสู่ การปรับปรุ งสถาปัตยกรรมทั้งภายในและภายนอกอาคารครั้งใหญ่ โดยมีการ จัดแบ่งพื้นที่ใหม่และพัฒนาพื้นที่คา้ ปลีก ให้ล้ าํ สมัยเพื่อดีงดูดให้ลูกค้าเข้าศูนย์การค้ามากขึ้น และเพื่อ เพิ่มยอดขาย มกราคม 2545 ได้รับมาตรฐาน ISO 9001:2002 ซึ่ งเป็ นสิ่ งยืนยันความมุ่งมัน่ ของ CPN ที่จะทําให้บริ การที่ได้มาตรฐาน ระดับโลก พฤศจิกายน 2545 เพิ่มทุนจดทะเบียนบริ ษทั ขึ้นเป็ น 1,000 ล้านบาทโดยการขายหุ ้นใหม่ให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นเดิม ธันวาคม 2545 เปิ ดตัวโครงการ เซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ซึ่ งเป็ นโครงการศูนย์การค้าครบวงจรที่ต้ งั อยูท่ างทิศใต้ของ กรุ งเทพฯ โดยมี สวนสารธารณะเซ็นทรัลพาร์ค สําหรับประชาชนในบริ เวณศูยก์ ารค้าเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 นับเป็ นศูนย์การค้าแห่ ง แรกที่เปิ ดตัวนับตั้งแต่ช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ เนื่องจากโครงการ ดังกล่าวมีการก่อสร้างในช่วงวิกฤติ CPN จึงได้ประหยัดค่า ก่อสร้างเป็ นจํานวนมากการเปิ ดตัวโครงการ นั้นเป็ นไปอย่างงดงามกับอัตราการเช่าพื้นที่ที่สูงถึง 90 % ตั้งแต่วนั แรกที่เปิ ด ตัวเลยทีเดียว ซื้ อโครงการเวิลด์เทรดเซ็นเตอร์(ภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็ นเซ็นทรัลเวิลด์)จากกลุ่มวังเพชรบูรณ์โดยมี จุดมุ่งหมายที่จะทําให้ โครงการดังกล่าวเป็ นศูนย์การค้าที่ใหญ่และสมบูรณ์แบบที่สุดใจกลางกรุ งเทพฯ โดยโครงการประกอบด้วยอาคารสํานักงาน เกรดเอโรงแรมระดับ 5 ดาวรวมถึงการขยายพื้นที่คา้ ปลีก เดิมและทางเชื่อมต่อจากระบบขนส่ งมวลชนรถไฟฟ้ า บีทีเอส ที่ ใกล้เคียงเพื่อเพิ่มความสะดวกสบาย ให้กบั ลูกค้า มกราคม 2546


แตกพาร์จาก 10 บาทเหลือ 5 บาทเพื่อเพิ่มสภาพคล่องของหุ ้น CPN ในตลาดหลักทรัพย์

กรกฎาคม 2546 เปิ ดตัวส่ วนต่อของโครงการ เซ็นทรัลพลาซา เชียงใหม่ เเอร์พอร์ต เฟส 2 บี เพื่อรองรับจํานวน นักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นจาก นโยบายสนับสนุนการท่องเที่ยวของรัฐบาลที่ได้ผลอย่างเป็ นรู ปธรรม ธันวาคม 2546 ซื้ อศูนย์การค้าจัสโก้จากบริ ษทั สยามจัสโก้ จํากัด และเปลี่ยนให้กลายเป็ นศูนย์การค้าในชุมชนและ เปลี่ยนชื่อเป็ น เซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ พฤภาคม 2547 แตกพาร์จาก 5 บาทเหลือ 1 บาทเพื่อเพิ่มสภาพคล่องของหุ ้น CPN ในตลาดหลักทรัพย์ กุมภาพันธ์ 2548 เปิ ดตัวโครงการอาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิ สเซส เเอท เซ็นทรัลเวิลด์ อย่างเป็ นทางการ ซึ่ งเป็ นอาคาร สํานักงานอัจฉริ ยะ 45 ชั้น, มีเทคโนโลยีที่ลา้ สมัยเทียบเท่ากับอาคารสํานักงานระดับโลก พฤษภาคม 2548 เปิ ดตัวโครงการเซ็นทรัลเวิลด์โดยวางเป้ าหมายที่จะเป็ นศูยก์ ารค้าระดับโลกแห่ งใหม่ และเป็ นสวรรค์ ของการช้อปปิ้ งชั้นนํา ในเอเชีย สิ งหาคม 2548


จัดตั้งกองทุนอสังหาริ มทรัพย์ CPN รี เทล โกรท ซึ่ งเป็ นกองทุนอสังหาริ มทรัพย์เพื่อการค้าปลีกที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศไทย กันยายน 2548 เปิ ดตัวโครงการเซ็นทรัลพลาซา รัตนาธิเบศร์ ที่ได้รับการปรับปรุ งเสร็ จสิ้ นให้เป็ นศูนย์การค้าครบวงจร เพื่อชุมชน พฤศจิกายน 2548 ได้รับรางวับ"บริ ษทั ยอดเยีย่ ม"ในเอเซี ยจากนิตยสารฟอรั่มเอเซี ยในกุล่มบริ ษทั ที่มีรายได้ต่อปี ไม่เกิน 1,000 ล้านเหรี ยญ /สหรัฐ โดย CPN ได้รับเลือกเป็ นหนึ่งในบริ ษทั ในเอเซี ยที่ดีที่สุด คณะกรรมการบริ หารอนุมตั ิ โครงการพัฒนา 2 โครงการพัฒนา 2 โครงการใหม่มูลค่ารวม 7,800 ล้าน บาท บนถนนแจ้งวัฒนะ และถนนริ มหาดพัทยาคาดว่าโครงการทั้งสองจะแล้วเสร็ จในปี 2551

ธันวาคม 2548 เปิ ดตัวโลโก้ใหม่ของบริ ษทั โดยใช้ตวั ย่อชื่อบริ ษทั CPN มีนาคม 2549


เปิ ดตัวอาคารสํานักงานเซ็นทรัลปิ่ นเกล้า ทาวเวอร์ บี สู ง 18 ชั้น ตั้งอยูใ่ นบริ เวณโครงการเซ็นทรัล พลาซา ปิ่ นเกล้า ซึ่ งสามารถรองรับการขยายตัวขององค์กรธุรกิจในย่านปิ่ นเกล้า พฤษภาคม 2549 ทริ สเรตติ่งได้ปรับอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ของบริ ษทั ที่ระดับ" A" สะท้อนความแข็งแกร่ ง ของบริ ษทั ในฐานะผูน้ าํ ในธุรกิจพัฒนาศูนย์การค้าในประเทศไทย โดยพิจารณาถึงแผนการขยายงาน ของบริ ษทั หลักทรัพย์ CPN ได้รับคัดเลือกจาก Mogan Starley Capital International Inc. ในการนําราคาหลักทรัพย์ มาคํานวณดัชนี MSCI ของภูมิภาคเอเซี ยแปซิ ฟิกสะท้อนให้เห็นถึงศักยภาพทางการเติบโตและความ น่าสนใจลงทุนในหลักทรัพย์ CPN ในมุมมองของนักลงทุนต่างชาติ มิถุนายน 2549 ออกหุ ้นกูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิและไม่มีหลักประกันจํานวนรวม1,500 ล้านบาท เพื่อเป็ นเงินทุนสําหรับ การขยายกิจการของบริ ษทั กรกฎาคม 2549 เปิ ดให้บรการพื้นที่ส่วนปรับปรุ งของโครงการศูนย์การค้าเซ็นทรัลเวิลด์ ซึ่ งเป็ นก้าวสําคัญของการ นําไปสู่ การเป็ นศูนย์การ ค้าไลฟ์ สไตล์ที่ใหญ่ที่สุดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้

ธันวาคม 2549 จัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์โครงการ "CG is Our Life" เพื่อให้ทุกคนในองค์กรได้รับทราบนโยบาย แนวปฎิบตั ิ และตระหนักถึงความสําคัญของระบบการกํากับดูแลกิจกรรมที่ดี


March 2007 CPN announced four major lifestyles shopping complexes: CentralPlaza Chaengwattana (suburb of Bangkok), CentralFestival Pattaya Beach (Pattaya beach front – Chonburi province), CentralPlaza Chonburi (City of Chonburi), and CentralPlaza Khon Kaen (North-East of Thailand – Khon Kaen province). The four projects are strategically located at prime locations, and will generate employment and business opportunities in those provinces and its vicinity. พฤษภาคม 2550 ทริ สเรตติ้งได้ปรับอันดับเครดิตองค์กรและตราสารหนี้ของบริ ษทั ที่ระดับ" A+" สะท้อนความเเข็งแกร่ ง ของบริ ษทั ในฐานะผู ้ นําธุรกิจพัฒนาศูนย์การค้าในประเทศไทยประสบการณ์บริ หารงานศูนย์การค้าที่มี คุณภาพ และกระเเสเงินสดของบริ ษทั ที่ มัน่ คงและเชื่อถือได้จากรายได้ค่าเช่าและให้บริ การที่มีการระบุ ไว้ในสัญญา การจัดอันดับเครดิตดังกล่าวได้พิจารณาถึง แผนการขยายงานของบริ ษทั มิถุนายน 2550 ออกหุ ้นกูป้ ระเภทไม่ดอ้ ยสิ ทธิและไม่มีหลักประกันจํานวนรวม 3,000 ล้านบาท เพื่อเป็ นเงินทุนสําหรับ การขยายกิจการของ บริ ษทั เปิ ดตัวโครงการ"การเดินทางของค่านิยม" โดยได้จดั roadshow ให้กบั บุคคลกรทุกระดับทุกส่ วนงาน เพื่อสร้างความ ตระหนักในค่านิยมที่วา่ "สร้างสรรค์ดว้ ยความเชื่อมัน่ สู่ ความเป็ นเลิศร่ วมกัน" และเพื่อ หล่อหลอมให้เกิดวัฒนธรรมองค์ กรที่มุ่งหวังและยึดมัน่ ในหลักบรรษัทภิบาลที่ดี กรกฎาคม 2550 เปิ ดตัวโครงการ "TS World Class Service" โดยมีการปรับปรับปรุ งระบบการให้บริ การร้านค้าในเชิงรุ ก 3 ด้าน คือสายด่วนให้บริ การ จุดรับบริ การจากร้านค้า ณ จุดเดียว และการเดินเยีย่ มร้านค้าทุกวันโดย ผูจ้ ดั การทัว่ ไปศูนย์การค้า ซึ่ งเป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ร้านค้าให้ดียงิ่ ขึ้น


พฤศจิกายน 2550 เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซารัตนาธิเบศร์ ในโฉมใหม่ ซึ่ งได้มีการพัฒนาโซนช้อปปิ้ ง พร้อมทั้ง ปรับเปลี่ยนและเพิ่ม พื้นที่รานค้าและอาคารจอดรถ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของลูกค้าที่ หลากหลาย ส่ งผลให้มีจาํ นวนผูเ้ ข้ามาใช้บริ การ ในศูนย์การค้าเพิ่มขึ้น เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา รามอินทรา ในโฉมใหม่ หลังจากที่ได้มีการตกแต่งโครงสร้างด้าน นอกศูนย์การค้าและ ภายในให้ทนั สมัย พร้อมทั้งการปรับเปลี่ยนและเพิ่มพื้นที่ร้านค้าแฟชัน่ และ ภัตตาคารชั้นนําเพื่อตอบสนองต่อความต้องการ ของลูกค้าที่หลากหลาย ส่ งผลให้มีจาํ นวนผูเ้ ข้ามาใช้ บริ การในศูนย์การค้าเพิ่มขึ้น พฤศจิกายน 2551 เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ “The Best Interactive Lifestyle Complex in Bangkok” ที่ มีขนาดใหญ่ และทันสมัยที่สุดในย่านตะวันตกเฉี ยงเหนือของกรุ งเทพฯ และมีจุดแข็งที่แตกต่างจาก ศูนย์การค้าอื่น คือ เป็ นการรวมตัว ของสิ่ งที่เป็ นที่สุด ในทุกๆด้าน มีความหลากหลายและครบวงจร เป็ นแหล่งรวมสิ นค้าแบรนด์เนมและบริ การชั้นนํา มีดีไซน์ที่ทนั สมัยระดับโลก มี LED Light Box ด้านหน้าศูนย์ยาว 7.5 กม. ยาวที่สุดในเอเชีย มกราคม 2552 เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวลั พัทยาบีช “The Largest Beachfront Lifestyle Shopping Complex in Asia” เป็ นไลฟ์ สไตล์ชอ้ ปปิ้ งคอมเพล็กซ์ริมชายหาดธรรมชาติที่ทนั สมัยและใหญ่ที่สุดในเอเชีย เป็ น ศูนย์การค้าแห่ งเดียวในไทยที่มีพ้นื ที่ดา้ นหน้ากว้างติดริ มชายหาดความยาวกว่า 111 เมตร เป็ นศูนย์รวม ร้านค้าระดับ 5 ดาว ที่มีความทันสมัยครบครัน รวมทั้งมีโรงแรมระดับ 5 ดาวในเครื อฮิลตัน ที่จะเปิ ด ให้บริ การในปี 2553 เมษายน 2552


ลงทุนในโครงการเซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี ในการซื้ อกิจการ (ศูนย์การค้า , โรงแรม และคอนเวนชัน่ เซ็นเตอร์) และปรับปรุ งรู ปลักษณ์ของศูนย์การค้า ซึ่ งในเฟสแรก จะทําให้เป็ นไปตามมาตรฐานของซี พี เอ็น และในเฟส 2 จะขยายโครงการเพิ่มเป็ น 2 เท่า โดยซี พีเอ็นตั้งใจให้ เซ็นทรัลพลาซา อุดรธานี เป็ น Lifestyle Hub และ Gateway ของอินโดจีน พฤษภาคม 2552 เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ชลบุรี เป็ นไลฟ์ สไตล์ชอ้ ปปิ้ งคอมเพล็กซ์ที่ทนั สมัยที่สุดในภาค ตะวันออก มีครบครันทุกอย่าง ให้ลูกค้าได้มาอัพเดตไลฟ์ สไตล์ใหม่ๆ ซึ่ งซี พีเอ็นตั้งใจให้ที่นี่เป็ นอีก หนึ่งความภาคภูมิใจของชลบุรี และเป็ นที่ๆ คนชลบุรีสามารถมาอัพเดตประสบการณ์ และไลฟ์ สไตล์ ใหม่ๆ ที่ทนั สมัยได้เหมือนที่กรุ งเทพฯ July 2009 CentralWorld was named the winner of The Asia Pacific Property Awards 2009 in association with CNBC Arabiya in the Commercial category (2 awards) for the Best Mixed Use Development 2009 and Best Retail Development 2009. August 2009 CentralWorld was named the winner of Super Brands Award 2009. October 2009 CentralWorld was named the winner of The 2009 ICSC Asia Shopping Centre Awards - Gold Award for Development and Design Excellence by the International Council of Shopping Center or ICSC.


CPN was given The Thailand’s Most Innovative Companies Award 2009 and 1of Thailand's Top ten Innovative Companies 2009 by Krungthep Turakij in cooperation with Chulalongkorn Business School (CBS) as a model company that is committed to using innovations as tools to combat the economic crisis, leading to its business successes. CPN received The Securities Analysts’ Choice Award 2009 in the Real Estate Development and Construction Materials category from the Securities Analysts Association (SAA). November 2009 CPN successfully raised capital through the sublease of a part of its assets under the CentralPlaza Pinklao shopping complex and the Pinklao Tower A and B office buildings to CPN Retail Growth Fund (CPNRF). CPN was awarded Board of the Year for Dintinctive Practices Award 2008-2009. The award was presented by Thai Institute of Directors (IOD), together with the Stock Exchange of Thailand, the Federation of Thailand Industries (FTI), the Thai Bankers’ Association (TBA), the Thai Listed Companies Association, and Federation of Thai Capital Market Organizations. ธันวาคม 2552 เปิ ดตัวศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา ขอนแก่น ให้เป็ นไลฟ์ สไตล์ชอ้ ปปิ้ งคอมเพล็กซ์ขนาดใหญ่ที่ทนั สมัย ที่สุดในภาคอีสาน ที่ทุกคนสามารถมาอัพเดตเทรนด์ใหม่ๆได้เหมือนที่กรุ งเทพฯ ด้วยความที่ศูนย์ฯ ตั้งอยูใ่ จกลางเมืองติดประตูเมืองขอนแก่น เราจึงออกแบบศูนย์การค้าให้สอดรับกับประตูเมือง โดยนํา ศิลปะวัฒนธรรมของชาวอีสานมาถ่ายทอดในรู ปแบบสถาปัตย-กรรมยุคใหม่เรามี Landmark ที่เรี ยกว่า "แก่นกระติ๊บ" สู ง 30 เมตร ยาว 138 เมตร ที่มี LED ที่ได้รับแรงบันดาลใจมาจาก การจักรสานและการ ถักทอผ้าไหม


January 2010 CentralWorld was awarded BK Readers' Choice Award 2009 – Most Favorite Mall. May 2010 CentralWorld was awarded ICSC’s 2010 Best of the Best Award for Design and Development. The "Best of the best" Award 2010 from ICSC can be compared to winning the best picture for the Oscars. This award certainly not represents only an achievement for CPN but also an indicator that we have put CentralWorld on the map for Thailand. Moreover, CentralWorld is published on the cover of "Winning Shopping Center Designs", ICSC’s annual book and the best-seller book for shopping center developers worldwide. January 2554 CentralPlaza Chiangmai Airport won Thailand Quality Class Award from Thailand National Quality Award committee. The award is modelled on the internationally-recognised Malcolm Baldrige National Quality Award in the US. March 2554 CPN opened CentralPlaza Chiangrai, the first lifestyle shopping centre and all-inclusive lifestyle hub in Chiangrai, the province in the northern part of Thailand that has great potential and strength for growth. The shopping center will be the jigsaw piece that complements and enhances Chiangrai as the newest magnetic destination attracting both Thais and foreigners to this province. CentralWorld was awarded Brand of the Year 2010 Award from Superbrands Council.


สิ งหาคม 2554 28 สิ งหาคม 2554 เปิ ด เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว หลังปิ ดปรับปรุ งเป็ นเวลา 3 เดือน หลังการปรับ ภาพลักษณ์ เซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว จะสามารถดึงดูดกลุ่มเป้ าหมายที่เป็ นคนรุ่ นใหม่ ที่มีรายได้สูง (High Income) เข้ามาที่นี่มากขึ้น เพื่อเป็ นการขยายฐานจากกลุ่มลูกค้าเดิมของเรา เนื่องจากเรามีการ ปรับ Positioning ที่นี่ให้ เข้ากับไลฟ์ สไตล์ของคนที่เปลี่ยนไป ตุลาคม 2554 20 ตุลาคม 2554 เปิ ดเซ็นทรัลพลาซา พิษณุโลก ไลฟ์ สไตล์ชอ้ ปปิ้ งเซ็นเตอร์แห่ งภาคเหนือตอนล่าง สําหรับนักลงทุนที่มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกล ด้วยพื้นที่ กว่า 105 ไร่ ในอําเภอเมืองพิษณุโลก ซึ่ งเป็ นใจกลางศูนย์กลางธุรกิจเชื่อมต่อ ภาคกลาง ภาคเหนือ รวม ไปถึงประเทศเพื่อนบ้านในภูมิภาคอินโดจีน พร้อมด้วยการเดินทางสะดวกสบายเพียง 5 นาที จากใจ เมืองทั้งยังเพียบพร้อมด้วย สิ่ งอํานวนความสะดวกและร้านค้าชั้นนํามากมาย ธันวาคม 2554 14 ธันวาคม 2554 เปิ ดเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม9 เปิ ดตัวอย่างยิง่ ใหญ่ ณ ย่านธุรกิจการค้าสําคัญของกรุ งเทพฯ บนเนื้อที่กว่า 214,000 ตารางเมตร ที่พร้อม ให้คุณได้สัมผัสประสบการณ์ชอ้ ปปิ้ งแปลกใหม่กบั ร้านค้าแบรนด์ดงั มากมาย อิ่มอร่ อยกับสุ ดยอด ร้านอาหารนานาชาติและเต็มอิ่มกับความบันเทิงครบวงจร ยิง่ ไปกว่านั้นศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา แก รนด์ พระราม9 มีประตูทางเข้าศูนย์การค้าเชื่อมต่อกับ สถานีรถไฟฟ้ าใต้ดินพระราม9 ลูกค้าจึง สะดวกสบายในการเดินทางมายังศูนย์การค้ามากยิง่ ขึ้นด้วย ลักษณะการประกอบธุรกิจ CPN ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 17 มิถุนายน 2523 โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ พัฒนาและบริ หารศูนย์การค้าขนาด ใหญ่แบบครบวงจร เข้าจดทะเบียน ในตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2538


ปัจจุบนั มี ทุนที่ออกและชําระแล้วทั้งสิ้ น 2,178,816,000 บาท โดยมีบริ ษทั เซ็นทรัล โฮลดิ้ง จํากัด และ บุคคลในตระกูลจิราธิวฒั น์เป็ นผูถ้ ือหุ ้นใหญ่ ธุรกิจหลัก ของ CPN ประกอบด้วยธุรกิจพัฒนาศูนย์การค้า ขนาดใหญ่และธุรกิจให้เช่า และให้บริ การพื้นที่คา้ ปลีกภายในศูนย์การค้า ปัจจุบนั CPN มีโครงการ ศูนย์การค้าภายใต้การบริ หารงานรวมทั้งสิ้ น 21โครงการ โดยแบ่งเป็ น โครงการที่เป็ นของ CPN 18 โครงการ และ โครงการที่ CPN ให้เช่าช่วง แก่กองทุนรวมสิ ทธิการเช่าอสังหาริ มทรัพย์ CPN รี เทล โก รท (“CPNRF”) 3 โครงการ นอกจากนี้ยงั ประกอบธุรกิจพัฒนา บริ หารและให้เช่าพื้นที่ อาคาร สํานักงาน อาคารที่พกั อาศัย และธุรกิจโรงแรม ซึ่ งเป็ นธุรกิจ สนับสนุนเพื่อเพิ่มประโยชน์จากการใช้ ที่ดิน การขยายฐานรายได้ และ สนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้าให้มีผใู ้ ช้บริ การเพิ่มมากขึ้น พร้อมกันนี้ยงั ประกอบธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องและส่ งเสริ มกัน อาทิ การให้บริ การสวนนํ้า สวนพักผ่อน และศูนย์อาหาร ภายในศูนย์การค้าบางโครงการเพื่ออํานวย ความสะดวกแก่ลูกค้าที่เข้ามาใช้บริ การ โดยการเปิ ด ให้บริ การนั้นจะ พิจารณาจากความเหมาะสมของทําเลที่ต้ งั และความต้องการของกลุ่ม ลูกค้าเป้ าหมาย เป็ นสําคัญ การประกอบธุรกิจแยกตามกลุ่มธุรกิจ การแบ่งธุรกิจตามแหล่งที่มาของรายได้สามารถแบ่งได้เป็ น 6 กลุ่ม ธุรกิจ ดังนี้ศูนย์การค้า ธุรกิจศูนย์การค้าเป็ นธุรกิจหลักซึ่ งเป็ นที่มาของรายได้มากกว่า 80% ของรายได้รวม รายได้จากธุรกิจ ศูนย์การค้านั้นประกอบไปด้วย รายได้ค่าเช่าพื้นที่คา้ ปลีก รายได้จากการให้บริ การระบบสาธารณูปโภค และระบบรักษาความปลอดภัย และรายได้จากการให้บริ การรักษาความ สะอาดภายในศูนย์การค้า จํานวน 21 โครงการ นอกจากนี้ CPN ยังมี รายได้จากการเป็ นผูบ้ ริ หารอสังหาริ มทรัพย์ให้กบั CPNRF จํานวน 3 โครงการ และรายได้ส่วนแบ่งกําไรจากเงินลงทุนใน CPNRF จากข้อมูลประมาณการของ บริ ษทั ฯ CPN มี ส่ วนแบ่งทางการตลาดธุรกิจศูนย์การค้าในเขตกรุ งเทพมหานครสู งที่สุด โดยพิจารณา จากขนาดพื้นที่ให้เช่าภายในโครงการศูนย์การค้าที่ CPN บริ หารงาน การพัฒนาโครงการศูนย์การค้าของ CPN จะเริ่ มตั้งแต่การจัดหาที่ดินที่ เหมาะสมในการพัฒนาโครงการ ศูนย์การค้า การวิเคราะห์ความเป็ นไปได้ ของโครงการ การควบคุมการออกแบบและบริ หารงาน


ก่อสร้าง การบริ หาร งานขาย ตลอดจนเป็ นผูบ้ ริ หารศูนย์การค้าหลังจากที่ศูนย์การค้าเปิ ดให้ บริ การแล้ว รวมถึงการให้บริ การระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความ ปลอดภัย และการให้บริ การด้านการรักษา ความสะอาดภายในศูนย์การค้า ธุรกิจอาคารสํานักงาน เป็ นการพัฒนาอาคารสํานักงานให้เช่าในบริ เวณ โครงการศูนย์การค้า เนื่องจากมี อุปสงค์ที่ส่งเสริ มกันกับธุรกิจศูนย์การค้า และเป็ นการเพิ่มมูลค่าให้กบั โครงการจากการใช้ประโยชน์ใน ที่ดิน ผืนเดียวกันได้อย่างคุม้ ค่า รวมถึงการเพิ่มประสิ ทธิภาพการใช้และบริ หาร ที่จอดรถ ในการ ตัดสิ นใจที่จะพัฒนาอาคารสํานักงานในบริ เวณโครงการ ศูนย์การค้าใดนั้นจะพิจารณาจากความ เหมาะสมของทําเลที่ต้ งั อุปสงค์ และอุปทานของพื้นที่อาคารสํานักงานในบริ เวณนั้นๆ เป็ นสําคัญ ซึ่ งรายได้ จากธุรกิจอาคาร สํานักงานนั้น ประกอบไปด้วย รายได้ค่าเช่าพื้นที่อาคาร สํานักงาน รายได้ค่าเช่าพื้นที่แก่ร้านค้าปลีก ภายในอาคารสํานักงาน และ รายได้จากการให้บริ การระบบสาธารณูปโภค การพัฒนาอาคารสํานักงาน ของ CPN เริ่ มจากการวิเคราะห์ความเป็ น ไปได้ของโครงการ การควบคุมออกแบบและบริ หารงาน ก่อสร้าง การ บริ หารงานขาย และการเป็ นผูบ้ ริ หารอาคารสํานักงานหลังจากที่อาคาร สํานักงานเปิ ด ให้บริ การแล้ว รวมถึงการให้บริ การระบบสาธารณูปโภค ระบบรักษาความปลอดภัย และการให้บริ การ ด้านการรักษาความสะอาด ภายในอาคารสํานักงาน ปัจจุบนั CPN มีอาคารสํานักงานภายใต้การบริ หารในบริ เวณโครงการ ศูนย์การค้ารวมทั้งสิ้ น 7 อาคาร ได้แก่ โครงการเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว, เซ็นทรัลพลาซา ปิ่ นเกล้า (2 อาคาร), เซ็นทรัลพลาซา บางนา , เซ็นทรัลเวิลด์ (อาคารสํานักงาน ดิออฟฟิ ศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์) , เซ็นทรัล พลาซา แจ้งวัฒนะ และ เซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม 9 (โดยแบ่งเป็ นโครงการที่ CPN เป็ นเจ้าของ 4 โครงการ โครงการที่ ให้เช่ากับ CPNRF 2 โครงการ คืออาคารสํานักงานปิ่ นเกล้า ทาวเวอร์ เอและบี) และโครงการที่อยูก่ บั CPNCG 1 อาคาร คืออาคารสํานักงาน ดิ ออฟฟิ ศเศส แอท เซ็นทรัลเวิลด์ซ่ ึ งเป็ นอาคารสํานักงาน เกรด A ตั้งอยูใ่ นแหล่งธุรกิจใจกลางกรุ งเทพฯ นั้น ผูเ้ ช่าพื้นที่ส่วนใหญ่จะเป็ นบริ ษทั ข้ามชาติและบริ ษทั ชั้นนํา ทั้งในและ ต่างประเทศซึ่ งมาเช่าพื้นที่เพื่อใช้เป็ นที่ต้ งั สํานักงานใหญ่โดยกลุ่มผูเ้ ช่าพื้นที่อาคารสํานักงาน ที่ต้ งั อยูภ่ ายใน โครงการเซ็นทรัลพลาซา ลาดพร้าว, เซ็นทรัลพลาซา ปิ่ นเกล้า, เซ็นทรัลพลาซา บางนา,


เซ็นทรัลพลาซา แจ้งวัฒนะ และเซ็นทรัลพลาซา แกรนด์ พระราม9 ส่ วนใหญ่จะประกอบธุรกิจที่ ได้รับ ผลประโยชน์สนับสนุนจากธุรกิจศูนย์การค้า อาทิ โรงเรี ยนกวดวิชา โรงเรี ยนสอนภาษาและดนตรี สถานเสริ มความงาม และบริ ษทั หลักทรัพย์ เป็ นต้น CPN มีธุรกิจโรงแรมในบริ เวณโครงการศูนย์การค้าเป็ นธุรกิจที่มีอุปสงค์ ส่ งเสริ มกันกับธุรกิจ ศูนย์การค้า และเป็ นธุรกิจที่เพิ่มมูลค่าให้กบั โครงการ ด้วยการใช้ที่ดินให้เกิดประโยชน์อย่างคุม้ ค่าเพื่อ ผลตอบแทนจากการ ลงทุนสู งสุ ด หลักการในการพิจารณาลงทุนที่สาํ คัญประกอบด้วย ทําเล ที่ต้ งั ของ โครงการ อุปสงค์ อุปทาน และสภาวะแวดล้อมของบริ เวณนั้นๆ รวมถึงศักยภาพการเติบโตของ โครงการ ทั้งนี้ ธุรกิจโรงแรมประกอบ ด้วยห้องพัก ห้องสัมมนาและศูนย์ประชุม เพื่อรองรับการเติบโต ของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและอุตสาหกรรม MICE: Meeting Incentive Convention and Exhibition (การจัดการประชุมเชิงธุรกิจ การค้าและ จัดแสดงสิ นค้านานาชาติ) ปัจจุบนั CPN เป็ นเจ้าของ ธุรกิจโรงแรมจํานวน 2 แห่ ง คือ โรงแรมเซ็นทารา อุดรธานี ซึ่ งมีขนาด 255 ห้อง (เดิมคือ โรงแรมเจริ ญ ศรี แกรนด์ รอยัล ซึ่ งเป็ นส่ วนหนึ่งของโครงการเจริ ญศรี คอมเพล็กซ์ที่ CPN ได้เข้าซื้ อกิจการในเดือน เมษายน ปี 2552) และ โรงแรมฮิลตัน พัทยา บีช ซึ่ งมีขนาด 300 ห้อง (ตั้งอยูใ่ นบริ เวณเดียวกับ โครงการ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลเฟสติวลั พัทยา บีช เริ่ มเปิ ดให้บริ การใน เดือนพฤศจิกายน 2553) ทั้งนี้ CPN ได้ ว่าจ้างให้บริ ษทั ที่มีความชํานาญ ด้านการบริ หารโรงแรม คือ บริ ษทั โรงแรมเซ็นทรัล พลาซา จํากัด (มหาชน) และบริ ษทั ฮิลตัน โฮเต็ล คอร์ปอเรชัน่ เป็ นผูบ้ ริ หารโรงแรม เซ็นทารา อุดรธานี และโรงแรม ฮิลตัน พัทยา บีช ตามลําดับ เพื่อการ บริ หารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด ปัจจุบนั CPN มีโครงการที่พกั อาศัยภายใต้การบริ หารงาน 2 โครงการ คือ โครงการหลังสวน โคโลเนต ซึ่ งให้บริ การในรู ปแบบของอพาร์ทเมนท์ พร้อมเฟอร์นิเจอร์ให้เช่า ขนาด 50 ยูนิต นอกจากนั้น ยังให้ บริ การที่พกั อาศัยประเภทห้องชุดให้เช่าจํานวน 12 ยูนิต ภายใต้โครงการเซ็นทรัล ซิ ต้ ี เรสซิ เดนซ์ คอนโดมิเนียมซึ่ งตั้งอยูบ่ ริ เวณเดียวกับโครงการศูนย์การค้า เซ็นทรัลพลาซา บางนาและสวนพักผ่อน ธุรกิจสวนนํ้าและสวนพักผ่อน จัดเป็ นธุรกิจสนับสนุนธุรกิจศูนย์การค้า ซึ่ งเป็ นธุรกิจหลักของ CPN เพื่อให้ศูนย์การค้ามีความหลากหลายของ องค์ประกอบและการให้บริ การ วัตถุประสงค์ของการสร้าง สวนนํ้าและ สวนพักผ่อนขึ้นในบริ เวณโครงการศูนย์การค้านั้น นอกจากจะเป็ นการ ดึงดูดให้ลูกค้าเข้า


มาใช้บริ การศูนย์การค้าเพิ่มขึ้นแล้ว ยังเป็ นการตอบแทน ความสุ ขให้แก่ลูกค้าที่มาใช้บริ การและตอบ แทนชุมชนในบริ เวณใกล้เคียง ทั้งนี้ข้ นึ อยูก่ บั ความเพียงพอของที่ดินและพื้นที่ภายในโครงการนั้นๆ ปัจจุบนั CPN ได้เปิ ดให้บริ การสวนนํ้าภายใต้ชื่อ “สวนนํ้าลีโอแลนด์” บริ เวณชั้น 6 ของโครงการ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซา บางนา และ สวนพักผ่อนภายใต้ชื่อ “เซ็นทรัล พาร์ค” ซึ่ งเป็ นสวนพักผ่อน ขนาดใหญ่ ที่เปิ ดให้บริ การแก่ประชาชนทัว่ ไป ในบริ เวณโครงการเซ็นทรัลพลาซา พระราม 2 ซึ่ ง ประกอบด้วย สวนสุ ขภาพ สนามเด็กเล่น ลานกิจกรรม และร้านอาหารชั้นนําศูนย์อาหาร ธุรกิจศูนย์อาหารภายในศูนย์การค้าเป็ นอีกองค์ประกอบหนึ่งที่ช่วย เสริ มให้ศูนย์การค้ามีความครบครัน วัตถุประสงค์หลักของธุรกิจนี้คือ เพื่อลูกค้าที่มาใช้บริ การภายในศูนย์การค้าได้รับความสะดวกในการ เลือกรับประทานอาหารที่หลากหลายในราคาประหยัด สะดวก และรวดเร็ ว ในขณะที่ CPN จะได้รับ ผลตอบแทนจากรายได้จากการจําหน่ายอาหาร และเครื่ องดื่มในบริ เวณศูนย์อาหาร วิสัยทัศน์และพันธกิจ ผูพ้ ฒั นาศูนย์การค้า ในระดับภูมิภาค ที่ได้รับการชื่นชมสู งสุ ดจากทุกคน และไม่หยุดนิ่งในการสร้างประสบการณ์ แห่ งความสุ ขในระดับโลก “เป็ นผูพ้ ฒั นาศูนย์การค้าที่ทุกคนชื่นชม โดยสร้างคุณค่าที่โดดเด่นแตกต่างและเหนือความคาดหมาย ของทุกคน” •

• •

เป็ นศูนย์การค้าที่นกั ลงทุนเลือก โดยมอบผลตอบแทนที่ดีและยัง่ ยืน กับผูถ้ ือหุ ้น นักลงทุน และ พันธมิตร เป็ นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือก โดยสร้างประสบการณ์แห่ งความสุ ขกับลูกค้า เป็ นศูนย์การค้าที่ผเู ้ ช่า คู่คา้ เลือก โดยสร้างความสําเร็ จทางธุรกิจควบคู่กบั การสร้างความสัมพันธ์ ในระยะยาว


เป็ นศูนย์การค้าที่พนักงานเลือก โดยให้โอกาสที่สดใสในหน้าที่การงาน และสร้างสังคมการ ทํางานที่มีความรักความผูกพันกัน เป็ นศูนย์การค้าที่สังคมและชุมชนเลือก โดยพัฒนาศูนย์การค้าที่มีความโดดเด่นเป็ นที่ภูมิใจของ ชุมชน ควบคู่ไปกับการดูแลสิ่ งแวดล้อม สังคม และชุมชน “เป็ นผูพ้ ฒั นาศูนย์การค้าที่ไม่หยุดนิ่งในการพัฒนาศูนย์การค้ารู ปแบบใหม่ มีร้านค้าใหม่ที่หลากหลาย และทันสมัย ตอบสนองวิถีชีวติ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วของลูกค้ากลุ่มเป้ าหมาย ” CPN ตระหนักดีวา่ ความไม่หยุดนิ่งของลูกค้าคือความท้าทายที่สาํ คัญ ลูกค้ามีความคาดหวังที่สูงขึ้น มี ความต้องการที่ซับซ้อนมากขึ้น เข้าถึงสารสนเทศได้ง่ายขึ้น ความไม่หยุดนิ่งของ CPN จะเป็ นสิ่ งที่ ผลักดันให้ศูนย์การค้าภายใต้การบริ หารของ CPN มีความทันสมัยที่สุด และสามารถตอบสนองวิถีชีวติ ที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วของลูกค้าได้ดี โดยการพัฒนาศูนย์การค้ารู ปแบบใหม่ การสรรหาร้านค้า ใหม่ที่มีความทันสมัยและตรงกับความต้องการลูกค้าเข้ามาอยูใ่ นศูนย์การค้าอย่างต่อเนื่อง การนํา เทคโนโลยีที่ทนั สมัยมาใช้ในการอํานวยความสะดวกแก่ผใู ้ ช้บริ การ การสร้างกิจกรรมที่มีความโดดเด่น แตกต่าง และสร้างประสบการณ์ใหม่ๆให้กบั ลูกค้า ตลอดจนการผสานพลังกับบริ ษทั ในเครื อเพื่อ ตอบสนองความต้องการของลูกค้าควบคู่ไปกับการสร้างความประทับใจสู งสุ ดกับผูใ้ ช้บริ การ “เป็ นผูพ้ ฒั นาศูนย์การค้าที่มีศกั ยภาพในการเป็ นผูน้ าํ ในระดับภูมิภาคและเป็ นที่จบั ตามองในตลาด ” CPN มุ่งมัน่ ที่จะเติบโตอย่างต่อเนื่องและยัง่ ยืน การเติบโตเป็ นองค์กรระดับภูมิภาคคือก้าวต่อไปของ CPN ดังนั้น CPN จึงมุ่งมัน่ ที่จะเป็ นผูพ้ ฒั นาศูนย์การค้าที่เป็ นที่รู้จกั และมีโครงการที่ประสบความสําเร็ จ อย่างรวดเร็ วในภูมิภาคนี้ CPN ได้ระบุตลาดที่จะขยายธุรกิจไปอย่างชัดเจน บนพื้นฐานความรอบคอบ มี กลยุทธ์ มีแผนธุรกิจ และแผนการสร้างพันธมิตรที่สามารถตอบสนองกับโอกาสทางธุรกิจได้อย่าง ทันท่วงที ในขณะที่องค์กรและทีมงานมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องเพื่อให้มีศกั ยภาพ และความพร้อมที่จะ สามารถดําเนินธุรกิจในต่างประเทศได้ตามเป้ าหมาย


“เป็ นศูนย์การค้าที่ลูกค้าเลือกจะมา เพื่อสัมผัสประสบการณ์ความสุ ขในการ Shopping ที่เหนือกว่าคู่แข่ง ในทุกตลาดที่เปิ ดดําเนินการ” CPN ตระหนักอยูเ่ สมอว่า CPN ไม่ได้เป็ นเพียงแค่ผพู ้ ฒั นาศูนย์การค้าเท่านั้น แต่ยงั เป็ นผูส้ ร้าง ประสบการณ์แห่ งความสุ ขให้กบั ทุกคน ดังนั้นทุกองค์ประกอบในศูนย์การค้า CPN จะคํานึงถึง ผูใ้ ช้บริ การเสมอ ไม่วา่ จะเป็ นการคัดสรรร้านค้าให้มีความหลากหลายและแปลกใหม่ การจัดกิจกรรมที่ น่าสนใจ การจัดสิ่ งอํานวยความสะดวกให้มีความครบครัน CPN เชื่อว่ามาตรฐานที่สูงและเป็ นสากลจะ เป็ นสิ่ งที่ทาํ ให้องค์กรเป็ นผูน้ าํ ในตลาดได้ ความเป็ นระดับสากล/ระดับโลก (World–Class) จึงป็ นสิ่ งที่ CPN มุ่งมัน่ มาตลอดและเชื่อมัน่ ว่าการสร้างประสบการณ์แห่ งความสุ ขในระดับสากล จะเป็ นสิ่ งที่ทาํ ให้ CPN ก้าวขึ้นเป็ นหนึ่งในผูน้ าํ ด้านการพัฒนาศูนย์การค้าระดับภูมิภาคได้ในอนาคต


บทที่ 3 การปฏิบัติงาน หลักการของการปฎิบัติงาน 1. เพื่อเพิ่มทักษะ สร้างเสริ มประสบการณ์ และพัฒนาวิชาชีพตามสภาพความเป็ นจริ งในสถาน ประกอบการ 2. เพื่อจะได้ทราบถึงปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นขณะปฏิบตั ิงานและสามารถใช้สติปัญญาแก้ปัญหาได้ อย่างมีเหตุผล 3. เพื่อให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ มีระเบียบวินยั และทํางานร่ วมกันได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ 4. เพื่อให้มีเจตคติที่ดีต่อการทํางาน และมีความภูมิใจในวิชาชีพ เพื่อเป็ นแนวทางในการ ประกอบอาชีพต่อไปภายหลังจากสําเร็ จการศึกษา 5. เพื่อสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างมหาวิทยาลัยกับสถานประกอบการ และหน่วยงานรัฐบาล ระเบียบว่าด้วยงานที่ได้รับมอบหมาย การปฏิบัติตัวระหว่ างการฝึ กงาน 1. ตรงต่อเวลา 2. มีความซื่ อสัตย์ต่อตนเองและผูอ้ ื่น 3. แต่งกายชุดนอก(ชุดไปรเวท) เรี ยบร้อย 4. การลากิจ ลาป่ วย ต้องปฏิบตั ิตามกฎระเบียบข้อบังคับของสถานที่ฝึกงาน 5. ระมัดระวังในเรื่ องการวางตัวและการใช้เครื่ องมือสื่ อสาร 6. ไม่ควรต่อรองเรื่ องระยะเวลาการฝึ กงานหรื อ เรี ยกร้องอภิสิทธิ์ใด ๆ จากสถานที่ฝึกงาน 7. นักศึกษาควรมีความเชื่อมัน่ ในตนเอง กล้าคิด กล้าแสดงออกและกล้าตัดสิ นใจ 8. ให้ถือเสมือนว่า การฝึ กงานก็คือการทํางาน และทําการ ฝึ กงานอย่างเต็มกําลังความสามารถ


9. การไปฝึ กงานของนักศึกษา ถือว่าไปในนามตัวแทนของมหาวิทยาลัยและในนามของคณะฯ ต้องไม่กระทําการ ใด ๆ ที่จะทําให้เสื่ อมเสี ยต่อส่ วนรวม 10. ในระหว่างการฝึ กงาน หากมีปัญหาเกี่ยวกับงานต้องการคําปรึ กษาเชิงวิชาการ นักศึกษาควร ติดต่อกลับมายังอาจารย์ประจําภาควิชา แต่ถา้ มีปัญหาเกี่ยวกับการฝึ กงานติดต่อเจ้าหน้าที่หน่วยทะเบียน ฯ โดยตรง 11. หากมีอุบตั ิเหตุเกิดขึ้นระหว่างการฝึ กงานให้ติดต่อคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หรื อ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม การปฎิบตั ิงานของฝ่ าย Art Division บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) โดยแผนกที่ผฝู ้ ึ กประสบการณ์วชิ าชีพได้เข้าไปปฎิบตั ิงานคือแผนกศิลป์ ซึ่ งทํางานออกแบบ สร้างสรรค์งานกราฟิ ก โดยภายในแผนกจะออกแบบงานศิลป์ ตาม Concept ที่ได้รับจากแผนกต่างๆ ภายในศูนย์การค้า ผลิตผลงานศิลป์ ให้ได้ตามแบบและตรงตามกําหนดเวลาและเพื่อสร้างภาพลักษณ์ ความทันสมัยและความแปลกใหม่ให้แก่ศูนย์การค้า


งานที่ได้ รับมอบหมาย 1. เรื่อง/รายการ ออกแบบป้ าย cutout, poster, sticker void งาน CYCLE CHIC SPRING SUMMER COLLECTION 2013

ภาพที่ 1 แสดงภาพผลงานออกแบบป้ าย cutout


2. เรื่อง/รายการ ออกแบบป้ าย

Poster

ภาพที่ 2 แสดงภาพผลงานออกแบบป้ าย poster ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การจัดวางตําแหน่งของภาพ การสร้างภาพกราฟิ กโดยใช้เทคนิคพิเศษทางด้าน คอมพิวเตอร์ การออกแบบควรดูและศึกษาข้อมูลที่ใกล้เคียงให้หลากหลายและนํามาวิเคราะห์สรุ ป พัฒนาเป็ นแบบที่ดีข้ นึ และเป็ นงานออกแบบใหม่ที่ดียงิ่ ขึ้น


3. เรื่อง/รายการ ออกแบบ Sticker Void

ภาพที่ 3 แสดงภาพผลงานออกแบบ sticker void 4. เรื่อง/รายการ ออกแบบ sticker lift

ภาพที่ 4 แสดงภาพผลงานออกแบบ sticker lift ประสบการณ์ ที่ได้ รับ การติดสติ๊กเกอร์น้ นั ต้องมีความปราณีตและให้งานดูเรี ยบร้อยสวยงามที่สุด เพื่อให้ลูกค้าพบเห็นได้


บทที่ 4 ผลที่ได้ รับจากการฝึ กงาน วัตถุประสงค์ของการปฎิบตั ิงานครั้งนี้ คือ การศึกษาเพื่อสร้างสรรค์ตน้ แบบงาน bill bord ที่ สามารถออกแบบเพื่อสื่ อสารใช้เป็ นงานต้นแบบเพื่อผลิตและนําเสนอให้แก่ลูกค้าได้นาํ ไปผลิตได้จริ ง โดยผูป้ ฎิบตั ิงานได้วางแนวทางวิธีการทํางานและสร้างผลงานออกแบบหลังได้รับ Brief จากฝ่ าย AE ไว้ เป็ นลําดับขั้น ดังนี้

เปิ ดภาพและขั้นตอนแรกคือการเลือกพื้นหลังสร้างเลเยอร์ใหม่และทาสี เหลือง


ผม

ตอนนี้ฉันจะไปซํ้าชั้นพื้นหลังและเมื่อหนึ่งด้านบนที่ผมจะใช้ภาพที่ปรับ > ธรณีประตู> ในกรณีน้ ี นํามาประยุกต์ใช้ในระดับ 60 และส่ งผลให้คุณได้รับควรเป็ นเช่นนี้

ขณะนี้มีการใช้ magic wand tool เลือกสี ดาํ เป็ นส่ วนหนึ่งของชั้นและสี มนั สี ม่วงเข้ม , invert การ เลือกและลบส่ วนสี ขาวของชั้นและตั้งค่าโหมดชั้น


บนชั้นพื้นหลังไปยังภาพการปรับ >> Hue / Saturation (เว้น: 186 | ความอิ่มตัว: 71 | Lightness -38) คุณผลควรจะเป็ นเช่นนี้

ตอนนี้เรามาถึงจุดที่ฉันต้องการด้วยสี ดงั นั้นฉันจะไปชั้น > Image ราบวิธีการที่ช้ นั 3 จะผสานเป็ น เพียงหนึ่งภาพ ที่จะทําให้ภาพดูสดใสฉันจะไปที่ Image> Adjustments> เงาไฮไลท์ / (เงา: 50% | Highlight: 0%)


ตอนนี้เราจะทํากับภาพที่ช่วยให้เริ่ มต้นทํางานกับ typo กรอกช่องว่างและให้รูปแบบบางอย่างที่ จะโพสต์ การใช้ตวั อักษร cow.cow (36) ขนาดที่มีสีเหลืองสี ผมเขียน "สี เซ็กซี่ ดูเซ็กซี่ กนั "

ขณะนี้มีอกั ษรเดียวกัน แต่เวลานี้ในสี แดงฉันจะเขียน abduzeedo และวางไว้ที่ดา้ นบนสุ ดที่ผม เลือกพื้นหลังสี เหลืองและใช้หน้ากากชั้นที่เลเยอร์ขอ้ ความ abduzeedo ที่จะให้ความคมชัดที่ดีระหว่าง ภาพและ typo


ที่จะผ่านรางนํ้าข้อความที่ดีกว่าภาพที่ผมเลือกเครื่ องมือรู ปร่ างที่กาํ หนดเองและได้รับหนึ่งใน ฟองพูดคุยที่มีอยูแ่ ล้วมาพร้อมกับ Photoshop และสร้างขนาดฟองที่ดีพูดคุยโดยใช้สีแดง ภายในฟองผม เขียน; "แรงบันดาลใจสําหรับความคิดของคุณ" ในสี ขาวที่ใช้อกั ษรสามารถ de Bois สามารถ ผมเลือก ทั้งชั้นและหมุนนิด ๆ หน่อย ๆ ไปด้านข้างเพื่อให้ทุกอย่างจะไม่ดูตารางดังนั้น


เพื่อให้ดูดียง่ิ ขึ้นและให้ความคมชัดและน่ากลัวผม CTRL ค้างไว้และคลิกที่เลเยอร์ขอ้ ความแล้ว กด CTRL + SHIFT + I เพื่อกลับเลือกที่ผมไปที่ช้ นั ฟองและโฆษณาหน้ากากชั้นวิธีการที่พ้นื ที่ขอ้ ความ จะ เป็ นหลุมบนฟอง สําหรับความคมชัดที่ดีกว่าผมลดความทึบเลเยอร์ขอ้ ความถึง 60%

ฉันได้ไปยังจุดที่ที่ฉันชอบสิ่ งที่ฉันได้ทาํ แต่ฉันยังคงต้องให้สัมผัสสุ ดท้ายที่มนั ดังนั้นฉันจะใช้ แปรงที่จะให้รูปแบบเล็ก ๆ น้อย ๆ ภาพ ฉันจะสร้างเลเยอร์ใหม่และการใช้ชุดแปรงจาก angryblue ฉัน เริ่ มต้นเล่นรอบเพิ่มบางสี เหลืองในพื้นที่ที่ผมสี เหลืองผิด


และสัมผัสสุ ดท้ายใช้แปรงชุดเดียวกันฉันจะเพิม่ จุดสี เล็ก ๆ น้อย ๆ โดยใช้สีแดงรอบ abudzeedo typo บนการรักษาความคมชัดของพื้นหลังเดียวกันโดยใช้หน้ากากชั้นเดียว typo ที่นี่ผลสุ ดท้ายคือ


บทที่ 5 สรุปผลการปฏิบัติงาน ในการศึกษาของนักศึกษาสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภั ฏจันทรเกษม นั้น นอกจากนักศึกษาจะได้ความรู ้ในหลักสู ตรแล้ว การศึกษา ประสบการณ์วชิ าชีพศิลปกรรมยังเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญและจําเป็ นที่นกั ศึกษาต้องทําการปฏิบตั ิก่อนการจบ หลักสู ตรการศึกษา เพื่อเป็ นการเตรี ยมความพร้อมในพฤติกรรมทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็ นในส่ วนของ บุคลิกภาพ สติปัญญา เจตคติ การวางตัวที่ถูกต้องเหมาะสม เพื่อพร้อมที่จะออกไปดําเนินชีวติ และ ประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ การฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพนั้นถือเป็ นการฝึ กทักษะการทํางาน และรู ้จกั การปรับตัวของการทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น มีประโยชน์อย่างยิง่ สําหรับแนวทางในการประกอบ อาชีพในอนาคตของนักศึกษา การฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพสาขาออกแบบนิเทศศิลป์ ณ บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ในครั้งนี้ ทําให้นกั ศึกษาฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพได้เพิ่มพูนความรู ้ ความเข้าใจในวิชาชีพมากยิง่ ขึ้น เข้าใจการทํางานด้านโฆษณา การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อผูอ้ ื่น การวางตัวในสังคมได้ อีกประการหนึ่งที่ สําคัญที่สุดสําหรับนักศึกษาที่ได้รับคือ การทํางานของตนเองได้รับความไว้วางใจให้ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ย ตนเองเปรี ยบเสมือนตนเองเป็ นบุคลากรคนหนึ่งขององค์กร โดยมีการควบคุมดูแลแบบกันเองเสมือน ญาติ ตั้งแต่วนั แรกของการฝึ กประสบการณ์จนถึงวันสุ ดท้ายของการฝึ กประสบการณ์เป็ นอย่างดี ทุก คนต่างมีไมตรี จิตที่ดีต่อนักศึกษาฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพ อีกทั้งยังให้คาํ แนะนําและช่วยเหลือในทุกๆ เรื่ อง ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องงานและเรื่ องส่ วนตัวแก่นกั ศึกษาฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพเสมอมา ประโยชน์ ที่ได้ รับจากการเข้ ารับการฝึ กงาน 1.ได้เรี ยนรู ้ถึงกระบวนการทํางานต่างๆของการทํางานหลังจากการที่ได้เข้ารับการฝึ กงานใน หน่วยงานที่ได้รับมอบหมายทําให้ได้ทราบถึงกระบวนการในการทํางานของฝ่ ายอื่นๆอีกด้วยและได้ ทราบถึงบทบาทหน้าที่และความสําคัญของการทํางาน 2. มีความรู ้เกี่ยวกับเทคนิคการใช้โปรแกรมในการออกแบบ illustrator photoshop การขึ้น mock up


3. งานด้านการสื่ อสารเช่น การรับ brief งาน การสื่ อสารระหว่างนักออกแบบกับเจ้าของแบรนด์ ขณะขายงานและการติดต่อสื่ อสารกับแผนกอื่นๆในองค์กร 4. ได้ความรู ้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลผลงานออกแบบเพื่อเป็ นตัวอย่างวิเคราะห์ พัฒนาแนวคิด การออกแบบ กระบวนการคิดของนักออกแบบ ด้ านนักศึกษาผู้ปฏิบัติงาน 1. ได้รับความรู ้ใหม่และประสบการณ์ในสภาวะการทํางานจริ ง 2. ฝึ กให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พัฒนาบุคลิกภาพช่วยสร้างความมัน่ ใจในการทํางานการกล้าแสดงออกและการแสดงความ คิดเห็นมากขึ้น 4. ได้เรี ยนรู ้การทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นและเพิ่มทักษะการเรี ยนรู ้ระบบการทํางานในองค์กร 5. สามารถนําประสบการณ์จากการฝึ กงานไปใช้แก้ปัญหาในชีวติ ประจําวันได้ 6. ฝึ กฝนให้เป็ นคนช่างสังเกตและรู ้จกั ปรับปรุ งการพัฒนาการทํางานของตน 7. เพิม่ พูนทักษะการใช้โปรแกรมทางการออกแบบ 8. เรี ยนรู ้โปรแกรมต่างๆที่องค์กรนํามาใช้ในการทํางาน 9. ฝึ กฝนการปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในการทํางาน 10. สร้างเสริ มสร้างเสริ มลักษณะนิสัยให้เป็ นคนตรงต่อเวลามากยิง่ ขึ้น 14. ทําให้มีความขยันหมัน่ เพียรมากยิง่ ขึ้นการมีบุคลิกภาพที่ดีและการวางตัวที่เหมาะสม 11. มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีมากขึ้น 12. ฝึ กฝนให้เป็ นคนที่มีความรับผิดชอบต่อภาระหน้าที่ ด้ านสถานประกอบการ 1. เปิ ดโอกาสให้องค์กรได้รับนักศึกษาฝึ กงานที่มีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในสิ่ งใหม่เข้ามา ทํางาน 2. องค์กรได้รับการยอมรับจากมหาวิทยาลัยต่างๆในการคัดเลื อกบุคคลเข้ารับการฝึ กงาน


3. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่ วนของการจ้างงานประจํามากขึ้นเนื่องจากการดําเนินงานของนักศึกษา ฝึ กงานมาช่วยทํางานในส่ วนที่สามารถช่วยทําได้ 4. องค์กรมีทางเลือกในการคัดสรรพนักงานที่เหมาะสมกับองค์กรจากโครงสร้างนักศึกษา 5. องค์กรได้รับทราบเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษาของแต่ละมหาวิทยาลัยโดยดูจากนักศึกษาของ แต่ละมหาวิทยาลัย ด้ านมหาวิทยาลัย 1. เกิดความร่ วมมือกันทางวิชาการและความสัมพันธ์ที่ดีกบั สถานประกอบการ 2. มหาวิทยาลัยได้ขอ้ มูลย้อนกลับเพื่อการปรับปรุ งและพัฒนาหลักสู ตรในการเรี ยนการสอน ต่อไป 3. จากการส่ งตัวเข้ารับการฝึ กงานไปยังบริ ษทั ต่างๆช่วยให้มหาวิทยาลัยได้รับการยอมรับจาก ตลาดแรงงานมากขึ้น ข้ อเสนอแนะเพิม่ เติม เนื่องจากผูฝ้ ึ กงานยังเป็ นมือใหม่สาํ หรับงานออกแบบด้านกราฟิ กเพราะฉะนั้นควรฝึ กฝนฝี มือ ด้วยการดูงานออกแบบจากของทั้งในและต่างประเทศเทศเพื่อเป็ นแนวทางในการออกแบบเพราะงาน ออกแบบยังดูไม่ทนั สมัย และฝึ กการใช้โปรแกรมทางด้านกราฟิ กให้มีความชํานาญยิง่ ขึ้นเพื่อให้รวดเร็ ว ในการทํางาน การตอบรับจากที่ฝึกงาน จากการที่เข้าไปฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) ได้รับการตอบรับเป็ นอย่างดี มีการให้ความช่วยเหลือในทุกๆด้าน ไม่วา่ จะเป็ นการให้คาํ แนะนําในการ ใช้งานโปรแกรม เทคนิคทางด้านโปรแกรม การให้ความรู ้ท้ งั ในและนอกสถานที่โดยได้ไปศึกษางาน ในด้านการถ่านทําในสตูดิโอ การทํางานตั้งแต่ข้ นั เริ่ มต้นและนําเสนองานกับพี่เลี้ยงเพื่อฝึ กทักษะการ นําเสนอ ให้เราทํางานจริ ง เสมือนนักศึกษาคือพนักงานคนหนึ่งขององค์กร


ความรู้ สึกที่มีต่อที่ฝึกงาน การฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพศิลปกรรม ณ บริ ษทั เซ็นทรัลพัฒนา จํากัด (มหาชน) นักศึกษามี ความประทับใจและดีใจเป็ นอย่างยิง่ ที่ได้เข้ารับการฝึ กประสบการณ์วชิ าชีพที่องค์กร ที่นี่พนักงานทุก คนจะอยูก่ นั แบบพี่นอ้ ง คอยให้คาํ ปรึ กษาและช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน การทํางานจะทํางานเป็ นทีม ทํา ให้นกั ศึกษาได้เรี ยนรู ้การทํางานร่ วมกับบุคคลอื่นได้เป็ นอย่างดี และการทํางานที่น้ ีนกั ศึกษารู ้สึกว่าได้ ความรู ้ต่างๆ มากมาย นอกเหนือจากการศึกษาในชั้นเรี ยน คือ เกิดการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเอง การ ทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ความรับผิดชอบ และมีความมัน่ ใจในตนเองมากขึ้น ซึ่ งเป็ นคุณสมบัติที่พึงประสงค์ ของสถานประกอบการ ที่สาํ คัญนอกเหนือสิ่ งใด คือ งานที่นกั ศึกษาออกแบบสามารถนํามาใช้ได้จริ ง ซึ่ งถือเป็ นจุดเริ่ มต้นที่ดีต่อการทํางานจริ งต่อไป


บรรณานุกรม http://www.centralplaza.co.th https://www.welovepro.com/tag/spring-summer-collection-2013 http://www.thailandexhibition.com/PR-News/7777


ภาคผนวก หมวด ก. เอกสาร


ภาคผนวก หมวด ข. รู ปภาพ




รู ปภายในงาน นิทรรศการฝึ กประสบการณ์ วิชาชีพ




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.