“ชุมชนท้ องถิ่นเริ่มไม่ ร้ ูจกั ตัวเอง ว่ ามีดอี ะไรบ้ าง หลงลืมความ นมาของตัวเองทําให ไม่ ร้ ูว่ าควร เป็ จะพัฒนาหมู บ้านตัวเอง ไปในทาง ไหนถึงจะมีความสุขทั่วหน าและ ยั่งยืน ปล่ อยให คนภายนอกเข ามาชี ้ทาง ถูกๆ ผิดๆ ให้ เราเดินตาม”
เป็ นการค้ นหาและบันทึกความรู้ที่มีอยูท่ วั่ ไปในชุมชนท้ องถิ่น โดยตัวของชาวบ้ าน เองด้ วยวิธีการศึกษาแบบภูมปิ ั ญญาพื ้นบ้ านเพื่อมุง่ สร้ าง ประโยชน์แก่ชมุ ชนและ คนท้ องถิ่น ซึง่ การค้ นหาความรู้เป็ นเรื่ องปกติและเกิดขึ ้น อยูต่ ลอดเวลาในชุมชน ตังแต่ ้ ปยู่่ าตายาย เพราะชีวติ ความเป็ นอยูแ่ ละการทํามา หากินต้ องอาศัยการ สังเกต เรี ยนรู้ และปรับตัวให้ เข้ ากับธรรมชาติรอบตัวอยู่ ตลอดเวลา ภูมิปัญญา พื ้นบ้ านที่ผา่ นการลองผิดลองถูกด้ วยการทําจริ งในชีวติ ประจําวันถูกบันทึกไว้ ใน หลายรูปแบบไม่วา่ จะเป็ นบทกลอนหรื อเพลงพื ้นบ้ าน นิทาน รูปวาดฝาผนัง หรื อ รูปปั น้
การทํางานวิจยั ของชาวบ้ านไม่ได้ มีความสําคัญเพียงแค่การได้ มาซึง่ ความรู้เพื่อ การจัดการตนเองของชุมชนเท่านัน้ แต่ยงั เป็ นการสร้ างความเข้ มแข็งให้ กบั ชุมชน ด้ วยเพราะการทําวิจยั นี ้เป็ นกระบวนการสร้ างความร่วมมือและประชาธิปไตย พร้ อมไปกับกระบวนการเรี ยนรู้เรื่ องสิทธิ์และความเป็ นธรรมทางสังคม ในยุคสมัย ที่สงั คมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ วทังด้ ้ านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ สิง่ แวดล้ อม การทําวิจยั ของชาวบ้ านเป็ นการสร้ างภูมิค้ มุ กันแก่ชมุ ชนให้ ดาํ รงอยู่ อย่างถูกทิศถูกทางภายใต้ การพัฒนากระแสหลักที่มกั จะให้ ความเป็ นธรรมกับ ชาวบ้ านเป็ นอันดับท้ ายๆ เสมอ
วิจัยไทบ้ าน
เกิดขึ ้นครัง้ แรกปี พ.ศ. 2544 ด้ วยตัวชาวบ้ านริ มฝั่ งแม่นํ ้ามูน เองเพื่อชี ้ให้ เห็นถึงความสําคัญของ ทรัพยากรธรรมชาติและวิถีชีวิตคนลุม่ นํ ้ามูน เพราะพวกเขาหมดความเชื่อมัน่ ต่อความถูกต้ องและชอบ ธรรมของงานวิจยั ของ นักวิชาการที่ถกู ว่าจ้ างโดยภาครัฐผู้เป็ นเจ้ าของโครงการสร้ างเขื่อนปากมูลที่ สร้ าง ผลกระทบให้ กบั พวกเขา หลังจากนันงานวิ ้ จยั ไทบ้ านได้ ถกู เผยแพร่ไปยังพื ้นที่ตา่ งๆ ทังในไทย ้ และอีก 5 ประเทศลุม่ นํ ้าโขง โดยการดําเนินงานขององค์กรแม่นํ ้าเพื่อ ชีวิต (เดิมชื่อเครื อข่ายแม่นํ ้า เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ) และเครื อข่าย
ชุมชนคติชน
ศูนย์วจิ ยั ไทบ้าน
รวบรวมองค์ความรู้ วัฒนธรรม และวิถีชีวิตของชุมชนท้ องถิ่นที่เกี่ยวข้ องผูกโยงกับการใช้ ประโยชน์และการ อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากลายทางชีวภาพในระบบนิเวศต่างๆ ทังใน ้ พื ้นที่ป่าต้ นนํ ้า ป่ าโคก ป่ า บุง่ ป่ าทาม พื ้นที่ชมุ่ นํ ้า หนอง คลอง บึง กุด กระทัง่ ใน ระบบนิเวศลํานํ ้าตามสภาพของพื ้นที่หรื อภูมินิเวศของ ชุมชนนันๆ ้ https://cmsdata.iucn.org/downloads/iucn_tai_baanl_research_thai_final_for_web.pdf
Casae Study
โรงเรี ยนปั ญญาเด่ น
ทังการเรี ้ ยนการสอนในระบบการศึกษา แบบบูรณาการทางเลือกที่ใกล้ ชิด ธรรมชาติและวิถีแห่งชาวพุทธ รวมทังมี ้ สถาปั ตยกรรมที่น่าสนใจ ด้ วยวัสดุที่เป็ น ธรรมชาติตามแนวคิดหลักของโรงเรี ยน จนเราอดไม่ได้ ที่จะนําเสนอผลงาน สถาปั ตยกรรมที่ใช้ วสั ดุธรรมชาติได้ อย่าง สวยงามและสงบแห่งนี ้ พื ้นที่โครงการ: 5,000 ตารางเมตร
โรงเรี ยนวิถีพุทธ ศึกษาทางเลือกที่ตอบโจทย์การแก้ ปัญหา การศึกษาของสังคม ปั จจุบนั และนอกจากนี ้ยัง เป็ นการขยายการศึกษาแบบวิถีพทุ ธไปสู่ ภูมิภาค ซึง่ ได้ แก่ภาคเหนือตอนล่างภาคกลาง ตอนบน ประกอบกับที่ตงของโครงการในจั ั้ งหวัด พิษณุโลกก็เป็ นศูนย์กลางในการให้ ความ รู้ระดับ ภูมิภาคอยูแ่ ล้ ว 65,280 square meters
พื ้นที่เชียงแสน เชียงของ จังหวัดเชียงราย พื ้นที่ลมุ่ นํ ้าสงคราม จังหวัดนครพนม พื ้นที่ลมุ่ นํ ้าสาละวินจังหวัดแม่ฮอ่ งสอน พื ้นที่บงึ โขงหลงจังหวัดหนองคาย พื ้นที่ครุ ะบุรีจงั หวัดพังงา
จีน พม่ า ลาว เขมร และเวียดนาม
USER 1-2-3
PAK MOON
UBON RATCHATHANI
ชุมชนที่มีปัญหา
แม่ นํา้ โขง
ทางเดินเรื อ
ตลาดกลางผลิตผลการเกษตร
อุบลราชธานี
เขื่อนปากมูน
พุทธสถานราชธานีอโศก
130 m.
18 ไร่ 178 m.
140 m.
252 m.
28,800 Sq m.
5%
5%
10%
10%
ศาลาจัดแสดง 20%
10%
ศาลาประชุมหมูบ่ ้ าน งานวิจยั ไทบ้ าน พื ้นฟูสตั ว์นํ ้า
40%
ท่าเรื อ ที่จอดรถ วิจยั พันธุ์ข้าว
5
2
7
4
7
3
1
Plan 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7.
ศาลาจัดแสดง ศาลาประชุมหมู่บ้าน งานวิจยั ไทบ้ าน พืน้ ฟูสัตว์ นํ้า ท่ าเรือ Parking วิจยั พันธุ์ข้าว
6
7
ตัวผมเป็ นเด็กบ้ านนอกแต่เกิดมาใช้ ชีวิตแบบวิถีชีวิตที่สืบทอดมาตังปู่ ้ ย่าตายาย โตมาจนได้ หลงลืมความเป็ นตัวตนของบรรพบุรุษที่สืบต่อกันมา ชุมชนของผมจะรวบรวมวิถีชีวิตของคนในพื ้นที่นนๆ ั ้ หากเรามองย้ อนกลับนึกถึงปู่ ย่าตายาย พ่อเเม่เรา รากเหง้ าเราอยูต่ รงไหน เเล้ วสิง่ ที่พวกเรากําลังทํา มัน สะท้ อนอะไรจากรากเหง้ าตัวเอง
ชุมชนคติชน มีประโยชน์ตอ่ การคนต้ องการจะศึกษาวิถีชีวิตชุมชนที่ได้ มีการวิจยั โดยคนในชุมชนนันๆที ้ ่มีความรู้ มากกว่านักวิจยั เนื่องจากเป็ นชุมชนของตัวเอง