Gen 441 : Culture trip
บทบรรณาธิการ ล่องทางนา้ เส้นทางคลองบางกอกใหญ่ ชม ศิลปวัฒนธรรมย้อนรอยอดีตของไทยสมัย ร.3 นี่คือจุดหลักของ การเดินทางครัง้ นี้ การเดินทางท่องเที่ยวทางนา้ ในกรุงเทพฯนัน้ เป็ น ที่นิยมของชาวต่างชาติ ที่เข้ามาเที่ยวในไทย แต่คนไทยเองนัน้ อาจ เพราะคุน้ ชินกับการจราจรทางท้องถนน ทาให้นกั ท่องเที่ยวชาว ไทยที่เดินทางมาเที่ยวทางนา้ นัน้ แทบไม่พบเห็น ทัง้ ที่เส้นทางนา้ นัน้ บางทีอาจจะสะดวกกว่าทางบกที่รถติดอยูม่ ากนัก คลองบางกอกใหญ่หรือคลองบางหลวง มี จุดประสงค์ขดุ ขึน้ เพื่อความสะดวกสบายในการค้าขายกับ ชาวต่างชาติ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการค้าขายกับต่างชาติในอดีตล้วนใช้ เส้นทางๆนา้ ทัง้ สิ้น คงเพราะง่ายต่อการเดินทางไปค้าขายยัง ประเทศต่างๆ ภายในคลองบางกอกใหญ่เองก็มีสถานที่สาคัญ หลายๆแห่งเช่น วัดราชโอรสาราม ซึ่งเป็ นวัดนอกอย่างประจา รัชกาลที่ 3หรือจะเป็ นวัดอินทารามและวัดหงส์รตั นาราม ซึ่งมี เรื่องราวย้อนไปถึงสมัยกรุงธนบุรี หรือหากกล่าวถึงของกินของ ฝากก็ตอ้ งที่ ตลาดพลู ตลาดเก่าแก่ของชาวจีนในสมัยธนบุรี ซึ่ง เดิมมีการปลูกพลูเป็ นที่แพร่หลายในพื้นที่จึงเรียกว่าตลาดพลู จากที่ยกตัวอย่างก็ทาให้เห็นได้ว่าการท่องเที่ยว ทางนา้ มีความน่าสนใจไม่นอ้ ยไปกว่าทางบกเลย ไม่เช่นนัน้ คงไม่ ทาให้ชาวต่างชาติมาท่องสายนา้ เจ้าพระยาหรอกจริงไหม ?
Explore p.1 History p.4 Culture p.10 People p.16 Insight p.17 Food p.20 Believe p.23 Impression p.27
Explore หากกล่าวถึงแม่นา้ ที่สาคัญของ ประเทศไทย คงจะหนีไม่พน้ แม่นา้ เจ้าพระยา แม่นา้ สายหลักที่ไหลผ่านกรุงเทพมหานครลงสู่ อ่าวไทย และในวันนีท้ ีมงานขอนาเสนอ.. การ ล่องเรือสายประวัติศาสตร์ คลองบางกอกใหญ่ ตามประวัติพระเจ้าตากสินมหาราช การนัง่ เรือชมบรรยากาศเช้าๆ ระหว่างการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ซึ่งอาจ เป็ นเป็ นครั้งแรกของใครหลายๆคน ก็สนุกไปอีก แบบ ว่าแล้วก็ลงเรือลุยกันเลย 1
จากท่าเรือสาทร หรือ ท่าเรือสะพานตากสิน ล่องเรือไปยังเส้นทางคลอง บางกอกใหญ่ สถานที่แรก เริ่มจาก วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร วัดนีม้ คี วามโดดเด่น ทางด้านสถาปั ตยกรรมด้วยเป็ นวัดไทยที่มกี ารสร้างโดยใช้สถาปั ตยกรรมแบบจีน วัดราช โอรสาราม ราชวรวิหาร เป็ นวัดประจารัชกาลที่ 3 สถานทีต่ อ่ มานัง่ เรือจาก วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร ไปยังวัดหนังราช วรวิหาร ซึ่งอยู่ไม่ไกลกันมาก มีพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา เป็ น แหล่งเรียนรูว้ ิถีชวี ิตชาวสวน ย่านฝัง่ ธนบุรี เรียนรูภ้ มู ปิ ั ญญาท้องถิ่น จากเครื่องมือ เครื่องใช้ ชาวสวนอย่างตะขาบ พะอง และปลอก เป็ นต้น หลังจากเยี่ยมชมวัดต่างๆในช่วงเช้า ก็มาแวะทานอาหารกันที่ ตลาดพลู นอกจากกุยช่ายขึน้ ชือ่ แล้ว ตลาดพลูยังเป็ นชุมชนโบราณที่เต็มเปี่ ยมไปด้วยวิถีชวี ติ เรื่องราว การค้า และบารมีแห่งองค์สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
2
เมือ่ ท้องอิ่ม ก็ลยุ ต่อกันเลย สถานที่ตอ่ มาที่จะไปช่วงบ่าย นัน่ ก็คือวัดอินทาราม วรวิหาร เรียกได้ว่าเป็ นวัดของ "สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช" ก็ว่าได้ วิหาร พระเจ้าตากยังคงมีพระแท่นบรรทม มีพระแสงดาบ มีพระมาลา จัดตัง้ ให้ ชม หลังคาพระวิหารนี้ ประดับประดาด้วยเครื่องกระเบื้อง สวยและแปลกตาดี สถานที่ตอ่ มา วัดหงส์รตั นาราม เป็ นแหล่งที่พบประวัติศาสตร์ ของพระเจ้าตากสินอีกที่หนึ่งเลยก็ว่าได้ อีกทัง้ ยังมีพระพุทธรูปที่อญ ั เชิญมาจาก เมืองเวียงจันทร์ ประเทศลาว พอได้เข้าภายในพระอุโบสถ วัดหงส์รตั นาราม จะ ได้สมั ผัสกับความสวยงามของพระพุทธรูป จิตรกรรมฝาผนัง สถาปัตยกรรม ต่างๆ มากมาย สถานที่สดุ ท้ายของทริป ก็คือ วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ขณะขึน้ จากเรือก็ได้เห็นเจดียเ์ ด่นมาแต่ไกล ซึ่งเป็ นพระบรมธาตุมหาเจดียอ์ งค์ ใหญ่ ของวัดนี้เลย เมื่อเข้าไปด้านในก็ได้ไปชมพิพิธภัณฑ์พระ ประยูร ภัณฑาคาร ที่มีการจัดแสดงพระกรุและของมีค่าที่คน้ พบบนองค์พระบรมธาตุ มหาเจดีย์
3
History วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร มีฐานะเป็ นพระอารามหลวงชัน้ เอกชนิดราชวรวิหาร เดิมชื่อวัดจอมทอง เป็ นวัดประจารัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว รัชกาลที่ 3 วัดแห่งนี้เคยเป็ นที่ตงั้ ทัพและพิธีเบิกโขลนทวารตามตาราพิชยั สงคราม เมื่อครัง้ พระบาทสมเด็จพระนัง่ เกล้า เจ้าอยูห่ ัวยังดารงพระราชอิสริยยศเป็ นสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ กรมหมื่นเจษฎาบดินทร์ ทรงคุมกองทัพไปสกัดทัพพม่าที่ดา่ นเจดียส์ ามองค์ วัดราชโอรสฯ เป็ น แหล่งเรียนรูผ้ สมผสานระหว่างศิลปะจีนและศิลปะไทยอย่างลงตัว
4
“วัดหนัง” หรือ “วัดหนังราชวรวิหาร” ในปัจจุบันนัน้ มีอายุนบั ย้อนไปได้รว่ มสามร้อยปี ตามประวัติวัดนัน้ สร้างเมื่อ พ.ศ.2260 หรือประมาณรัช สมัยพระเจ้าท้ายสระ มีพระมหาพุทธิรกั ขิตกับหมื่นเพ็ชร์พิจิตรเป็ นผูส้ ร้าง หลักฐานนี้ได้มาจาก จารึกที่ระฆังใบเก่าในวัด สมัยก่อนแถววัดหนังอยูเ่ ขตอาเภอบางขุน เทียน จังหวัดธนบุรี เมื่อรวมธนบุรีเข้ามาเป็ นกรุงเทพฯฝัง่ ตะวันตก วัดหนังก็ยา้ ยเข้ามาอยูใ่ นเขตจอมทอง กรุงเทพมหานคร ยังปรากฏป้ายเก่าของวัดขณะที่ยงั สังกัดจังหวัดธนบุรใี น “พิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษา” ที่จัดขึน้ ภายในวัดโดย พระครูสมุหไ์ พฑูรย์ สุภาฑโร และบรรดาลูกศิษย์ลกู หาในย่านวัดหนังช่วยกันประกอบ สร้างขึน้ ท่านพระครูเล่าเรื่องชื่อของวัดให้ฟังว่า ทีช่ ื่อวัดหนังนัน้ สันนิษฐานได้ 2 เรื่องคือ 1) เมื่อก่อนมีการทาตัวหนัง ที่วัดนี้เป็ นจานวนมาก กับ 2) ตัง้ แต่สมัย สร้างวัดนัน้ มีการทากลองกันอย่างเป็ นลา่ เป็ นสัน ณ บริเวณลานวัดมีหนังตากแห้งเตรียมรอขึน้ หน้ากลองอยูเ่ ต็มลาน ชาวบ้านร้านตลาดจึงเรียนวัดนี้ว่า “วัด หนัง”
5
วัดอินทารามวรวิหาร
เป็ นวัดโบราณที่มีมาตัง้ แต่สมัยอยุธยา ชาวบ้านเรียกว่า "วัดบางยี่เรือนอก" หรือ "บางยี่เรือไทย" หรือ "วัด
สวนพลู" วัดอินทารามเป็ นวัดหลวงสาคัญอันดับหนึ่ง ในแผ่นดินกรุงธนบุรี จัดว่าเป็ นวัดประจารัชกาล ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ซึ่งได้ทรง บูรณะเป็ นพระอารามหลวงชัน้ หนึ่ง ทรงสร้างหมูก่ ฏุ ิและถวายที่ดิน ให้เป็ นธรณีสงฆ์เป็ นจานวนมาก แล้วโปรดให้นิมนต์พระเถระ ฝ่ ายวิปัสสนา มาจาพรรษา เพราะมีพระราชประสงค์ จะให้เป็ นศูนย์กลางฝึ กสมาธิทางวิปัสสนากรรมฐานของประเทศ และใช้ประกอบงานพระราชพิธี สาคัญๆ ต่างๆ มีพระเจดียก์ ชู้ าติค่หู นึ่ง ตัง้ อยูห่ น้าพระอุโบสถหลังเก่า ภายในเชื่อกันว่าบรรจุพระบรมอัฐิ ของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช และพระอัครมเหสี ส่วนพระอุโบสถหลังเก่า มีพระพุทธรูปปางตรัสรูเ้ ป็ นพระประธานของพระอุโบสถ บรรจุพระบรมราชสรีรงั คาร หรือ เถ้า กระดูกของพระองค์
6
วัดหงส์รตั นาราม เดิมเรียกกันว่าวัดเจ๊สวั หง สร้างโดยเศรษฐีชาวจีนใน สมัยอยุธยา ในสมัยกรุงธนบุรีสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงรับไว้ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทรงสถาปนาพระอุโบสถ ศาลาการเปรียญ และกุฏิ ในคราวเดียวกับที่ทรงบูรณปฏิสงั ขรณ์วัดอิน ทารามวรวิหาร(วัดบางยี่เรือนอก) เมื่อสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสวรรคตไปแล้ว ประชาชน ผูเ้ คารพนับถือพระองค์ได้พร้อมใจกันสร้างศาลขึน้ เรียกกันว่า ศาลเจ้าพ่อตากสิน วัดหงส์ เป็ นที่ สักการบูชาของประชาชนโดยทัว่ ไป ต่อมาสมเด็จกรมพระศรีสรุ ิเยนทรามาตย์ พระบาทสมเด็จ พระนัง่ เกล้าเจ้าอยูห่ ัว พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้าเจ้าอยูห่ ัว และพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ ัวทรงปฏิสงั ขรณ์เพิ่มเติมจนสาเร็จบริบรู ณ์
7
ตลาดพล ู ตัง้ อยูบ่ ริเวณถนนเทอดไท เขตธนบุรี แต่เดิมนัน้ เป็ นพื้นที่ของชาวจีนที่มาตัง้ ถิ่นฐานมาตัง้ แต่สมัยกรุง ธนบุรี ต่อมาเมื่อย้ายราชธานีไปยังฝัง่ พระนคร ชาวจีนบางส่วนที่ตลาดพลูจึงได้ยา้ ยไปสาเพ็ง และมีชาวมุสลิมที่เข้ามา แทนที่ ได้ริเริ่มการทาสวนพลูที่นี่ ซึ่งทัง้ ชาวมุสลิมและชาวจีนต่างทาสวนพลูจนเป็ นอาชีพที่แพร่หลาย จนเป็ นตลาดซื้อขาย พลูที่เรียกว่าตลาดพลู จนบัดนี้ ตลาดพลูขนึ้ ชื่ออย่างมากในเรื่องของเป็ นแหล่งขายอาหารที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาหารจีน ที่มีชื่ออย่าง มากคือ ขนมกุ่ยช่าย ซึ่งเป็ นอาหารกินเล่นหรือขนมของชาวแต้จิ๋ว 8
วัดประย ุรวงศาวาสวรวิหาร หรือชื่อที่ชาวบ้านเรียกกันว่า วัดรัว้ เหล็ก เป็ นพระอารามหลวงชัน้ โท ชนิดวรวิหาร ตัง้ อยูใ่ กล้กับเชิงสะพานพระพุทธ ยอดฟ้า ฝัง่ ธนบุรี ซึ่งสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุญนาค) หรือ สมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่ ทรงสร้างขึน้ เมื่อ พ.ศ. 2371 โดยชาวบ้านใน บริเวณวัดเรียกกันว่า วัดรัว้ เหล็ก เพราะสมเด็จเจ้าพระยาองค์ใหญ่สงั ่ รัว้ เหล็กมาจากอังกฤษ เพื่อนามาน้อมเกล้าฯ ถวายรัชกาลที่ 3 ใช้เป็ นกาแพงใน พระบรมมหาราชวัง แต่ทรงไม่โปรด จึงขอรับพระราชทานมาใช้เป็ นกาแพงวัดแทน จนกลายมาเป็ นวัดที่ชาวบ้านให้ความเคารพ ในปัจจุบันวัดแห่งนี้อยูภ่ ายใต้การดูแลของเจ้าอาวาสรูปที่ 14 คือ พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺ มจิตฺโต ปธ.9) โดยภายในวัดออกแบบพระอุโบสถด้วย สถาปัตยกรรมแบบไทย หน้าบันเป็ นลายดอกบุนนาค พระวิหารเป็ นที่ประดิษฐานพระพุทธนาคน้อย ซึ่งนัยว่าอัญเชิญมาจากสุโขทัย รวมทัง้ มีสิ่งก่ อสร้างที่ น่าสนใจอีกหลายอย่าง เช่น รัว้ เหล็กรูปหอก ดาบ และขวาน, พระเจดียใ์ หญ่เป็ นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและอัฐคิ นในตระกูลบุนนาค, ภูเขาจาลองหรือ เขาเต่าก่อด้วยหินอยูข่ า้ งประตูทางเข้าวัด, มีโบสถ์และเจดียข์ นาดเล็กบนยอด, สระนา้ เป็ นที่อาศัยของเต่า, อนุสาวรียร์ ปู ปื นใหญ่ เป็ นอนุสรณ์ถึงเหตุการณ์คราว ฉลองวัดเมื่อ พ.ศ. 2380 เป็ นต้น
9
Culture วัดราชโอรส ตกแต่งด้วยศิลปะจีนเป็ นส่วนมาก นับเป็ นวัดแรกที่เป็ นวัดที่คิดสร้างออกนอกแบบอย่างวัดทัว่ ไป ศิลปกรรมไทย ที่มอี ยู่ในวัดนี้ ถูกสร้างได้อย่างเหมาะสมกลมกลืนงดงาม เช่น โบสถ์ วิหาร ไม่มชี อ่ ฟ้ า ใบระกา หางหงส์ แต่หลังคาโบสถ์เป็ น กระเบื้องเคลือบแบบไทย กุฏิพระสงฆ์เป็ นอาคารตึกแทนเรือนไม้แบบของเดิมการประดับตกแต่งต่างๆ เป็ นแบบจีนผสมไทย เช่น บานประตูหน้าต่างพระวิหารพระพุทธไสยาสน์ ประดับด้วยเสีย้ วกางแทนลายเทพนมหรือลายไทยแบบของเดิม หน้าบัน พระอุโบสถและพระวิหารประดับพระเบื้องเคลือบสี จึงนับเป็ นครั้งแรกที่มีการประยุกต์ศิลปกรรมได้อย่างประณีต เหมาะสม เป็ นสัญลักษณ์แห่งศาสนสถานได้อย่างสง่าและงดงาม
10
วัดหนังราชวรวิหาร ไม่ได้เป็ นวัดที่มีสถาปั ตยกรรมแบบไทยผสมจีนตามแบบพระราชนิยมของรัชกาลที่ 3 แต่เป็ นวัดแบบไทยๆ พระ อุโบสถมีเฉลียงโดยรอบ หน้าเป็ นประดับกระจกเป็ นรูปดอกไม้สวยงาม ส่วนภายในพระอุโบสถประดิษฐานมีพระประธานในพระ อุโบสถเป็ นพระที่สร้างขึน้ ในสมัยสุโขทัย พิพิธภัณฑ์นจี้ ดั ทาขึน้ ในเรือนไทยโบราณ ซึ่งเคยใช้เป็ นกุฏิพระมาก่อน เมือ่ เดินเข้าไปชมที่ชนั้ ล่างจะจัดแสดง ประวัตศิ าสตร์ของพื้นที่เขตจอมทองใน แถบวัดหนังแห่งนี้ บริเวณนีม้ รี ะฆังเก่าแก่ใบหนึง่ ซึ่งเป็ นของชิน้ สาคัญเพราะจารึกบนตัว ระฆังทา ให้เราทราบถึงช่วงเวลาในการเริ่มสร้างวัด ทั้งยังมีกอ้ นอิฐโบราณที่เป็ นฐานรากของวัดมาแต่เดิม รวมไปถึง เครื่องปั้ นดินเผาต่างๆที่ขดุ พบเมือ่ ปฏิสงั ขรณ์วัดอีกด้วย ชาวบ้านในแถบวัดหนังนีใ้ นอดีตส่วนใหญ่ก็ประกอบอาชีพทาไร่ทาสวน ทาเกษตรกรรมต่างๆ จึงมีการจัดแสดงเครื่องไม้ เครื่องมือเกีย่ วกับการเกษตร มีเรือชนิดและขนาดต่างๆ ที่ชาวบ้านใช้เป็ นพาหนะเดินทาง และมีการจาลองเอาสภาพบ้านเรือน ของคนในแถบนีใ้ ห้ดกู นั ด้วย
11
วัดอินทารามวรวิหาร (วัดใต้) เป็ นวัดสาคัญของสมัยกรุงธนบุรีเป็ นราชธานี เป็ นวัดอนุสรณ์สนั ติสถานที่สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี มีโบราณวัตถุที่ เกีย่ วเนือ่ งกับพระองค์เป็ นชีวิตจิตใจหลายอย่าง
12
วัดหงส์รตั นารามราชวรวิหาร เป็ นวัดโบราณสร้างในสมัยอยุธยา ภายในวัดมีปูชนียวัตถุตา่ งๆได้แก่ พระบรมรูปสมเด็จพระเจ้าตากสิน มหาราช พระอุโบสถ มีพาไลแบบศิลปะรัชกาลที่ 3 ซุม้ ประตูลกั ษณะจีนปนฝรัง่ ลายปูนปั้ นที่ซมุ้ ประตูและหน้าต่างได้รับการ ยกย่องในฝี มือมาก ภายในมีภาพจิตรกรรมสีฝุ่น เรื่องรัตนพิมพวงศ์ (ตานานพระแก้วมรกต)
13
วัดประย ุรวงศาวาส ชาวบ้านนิยมเรียกว่า "วัดรั้วเหล็ก" เพราะมีรั้วเหล็กเป็ นกาแพงวัด ซึ่งทาเป็ นรูปอาวุธคือ หอก ดาบ และขวาน มี ลักษณะเป็ นกาแพงและซุม้ ประตูเล็กๆ เป็ นตอนๆ ส่วนหน้าบันเป็ นลายดอกบุนนาค พระอุโบสถ เป็ นสถาปั ตยกรรมไทยหรือ สถาปั ตยกรรมทรงไทย ภายในมีจติ รกรรมฝาผนังเรื่องพุทธประวัติ ส่วนพระวิหารเป็ นสถาปั ตยกรรมทรงไทยเช่นกัน ในพระวิหาร ประดิษฐานพระพุทธนาค (หลวงพ่อนาค) ซึ่งเป็ นพระพุทธรูปหล่อปางมารวิชยั
14
ตลาดพล ู ซึ่งมีทั้งชาวมุสลิมและชาวจีนอาศัยอยู่และต่างทาสวนพลูจนเป็ นอาชีพที่แพร่หลาย จนเป็ นตลาดซือ้ ขายพลู ที่เรียกว่า “ตลาดพลู” ขึน้ ชือ่ อย่างมากในเรื่องของเป็ นแหล่งขายอาหารที่หลากหลาย โดยเฉพาะอาหารจีน ที่มชี อื่ อย่างมากคือ ขนมกุย่ ช่าย
15
People ผูค้ นที่อาศัยอยูใ่ นพื้นที่แห่งนี้สว่ นใหญ่แล้วเป็ น กลุม่ คนชาวไทยเชื้อสายจีนและมุสลิมที่อพยพกันมาจากที่ตา่ งๆ แล้วมาตัง้ ถิ่นฐานขึน้ ที่นี้ตงั้ แต่สมัยอดีตจนถึงปัจจุบัน จานวน ประชากรที่เพิ่มขึน้ จากความเจริญทางการค้าในบริเวณตลาด พลู และ ค่านิยมทางการศึกษาสมัยใหม่เป็ นปัจจัยสาคัญที่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะการเสื่อมความนิยมในการกินหมากและพลู ทาให้ยา่ น ตลาดพลูซึ่งเคยเป็ นแหล่งปลูกพลูที่มชี ื่อเสียงในย่านบางกอกมี สภาพ เปลี่ยนแปลงไปโดยสิ้นเชิง ผลกระทบที่เกิดขึน้ จากการการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมและวัฒนธรรมในย่านตลาดพลู ได้สง่ ผลต่อสถาบัน ครอบครัว และระบบเครือญาติ ทาให้เกิดมีครอบครัวเดี่ยวมาก ขึน้ นอกจากนี้ยงั พบว่าแบบแผนและลักษณะการประกอบอาชีพ ได้เปลี่ยนแปลงไป อย่างไรก็ดีในด้านวัฒนธรรมและประเพณี ของแต่ละกลุม่ ชนในย่านตลาดพลูพบว่า สามารถรักษา เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมและประเพณีไว้ได้เป็ นอย่างดี โดยเฉพาะในกลุม่ ชาวไทยเชื้อสายมุสลิม ส่วนชาวไทยพุทธและ ชาวไทยเชื้อสายจีนได้รบั ผลกระทบที่ก่อให้เกิดการเปลีย่ นแปลง ทางด้านประเพณีและพิธีกรรมต่างๆไปบ้าง โดยมีประเพณี บางอย่างถูกลดความสาคัญลงซึ่งมีเงือ่ นไขมาจากปัจจัยด้าน ค่านิยมและสภาพเศรษฐกิจ 16
Insight ภาพเขียนที่ประกฎอยูบ่ นผนังของพระ อุโบสถ หรือที่เรียกว่าจิตรกรรมฝาผนัง ซึ่งมีลวดลายที่ งดงามและมีเอกลักษณ์ เป็ นศิลปกรรมแบบจีน แถมยังแฝง ด้วยความหมายที่ลึกซึ้งแตกต่างกันไปในแต่ละรูป ซึ่งมีความ โดดเด่นไม่เหมือนใคร ณ วัดราชโอรสารามราชวรวิหาร 17
ย้อนเวลากลับไปสูอ่ ดีต สถานที่ที่จดั แสดงเหมือนกับสภาพแวดล้อมในสมัยก่อนของวัดหนังฯ มีทงั้ วิถีชวี ิต อาหารการกิน เครื่องทามาหากิน ร้านค้า และยังมีตาราเรียน โต๊ะเรียน เครื่องไม้เครื่องมือที่ใช้กันในสมัยก่อน โดยที่ทกุ อย่างเป็ นของจริงที่ถกู เก็บรวบรวมไว้ได้ และยังมีการจัดครัวไทยโบราณเสมือนจริง มีการทาสวนผลไม้ ทีม่ ีประวัตคิ วามเป็ นมายาวนาน ซึ่งทุกๆอย่างได้ถกู เก็บรวมรวมไว้ให้คนรุน่ หลั ง ได้ศึกษาและเรียนรูก้ ันต่อไป
18
พระอุโบสถเป็ นแบบไทย หน้าบันเป็ น ลายดอกบุนนาค พระวิหารเป็ นที่ประดิษฐาน พระพุทธนาคน้อย ซึ่งนัยว่าอัญเชิญมาจาก สุโขทัยและมีสิ่งก่อสร้างที่นา่ ชมอีกหลายอย่าง เช่น รัว้ เหล็กรูปหอก ดาบและขวาน ซึ่งสัง่ มา จากอังกฤษ นอกจากนี้ยงั มีพระเจดียใ์ หญ่เป็ นที่ ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุและอัฐคิ นใน ตระกูลบุนนาค ข้างสระนา้ มีอนุสาวรียร์ ปู ปื น ใหญ่ เป็ นอนุสรณ์ถึงเหตุการณ์คราวฉลองวัด เมื่อ พ.ศ. ๒๓๘๐ ที่แห่งนี้คือวัดประยุรวงศา วาส หรือวัดบุญนาค ตามภาษาชาวบ้าน
19
Food
แล้ว ก็ถึงเวลาอาหารเที่ยง และในตอนนีเ้ ราก็ได้มาอยู่ย่านเก่าใน กรุงเทพฯ “ตลาดพลู” เลยอยาก นาเสนอร้านอาหารอร่อย ๆ แถว “ตลาดพลู” หากมีใครไปเที่ยวแถวนัน้ จะได้ทราบว่ามีอะไรอร่อยบ้าง “ตลาด พลู” มีของอร่อยหลายอย่าง แถมมีที่ จอดรถสะดวกสบายกว้างขวาง หาก เพื่อนๆขับรถมาก็ไม่ตอ้ งกังวลเรื่องที่ จอดรถเลย
20
เริ่มจากตรงฝัง่ ทางรถไฟก่อนนะ ครับ ข้าวหมูแดงตลาดพลู อันนีเ้ ป็ น ที่เลือ่ งลือ นา้ ราดสีแดง ๆ กินกับ พริกดองและซีอิ้วดา ถัดจากข้าวหมู แดง จะมี ร้านบะหมีต่ งเล้ง ร้านนี้ บะหมีเ่ หนียวนุม่ นา้ ซุปอร่อย เค้าจะ ขายคู่กบั ก๋วยจับ๊ นา้ ใส และเกาเหลา เครื่องใน เลยออกมาทางด้านริม ถนนก็จะมี ก๋วยเตีย๋ วเนือ้ ร้านนีเ้ ป็ น ร้านเก่าแก่เปิ ดมากว่า 50 ปี ขาย ก๋วยเตีย๋ วเนือ้ ตุน๋ ชือ่ ร้าน ต. จันทร์ เพ็ญ เรื่องรสชาติกว๋ ยเตีย๋ วเนือ้ ของ ร้าน ต. จันทร์เพ็ญ รับรองอร่อย แน่นอนและครั้งนีผ้ มก็ได้มาชิมสักที
21
เลยขึน้ ไปข้าม ทางรถไฟ โจ๊กตลาดพลู โจ๊กข้น หมูเด้งอร่อย หันหลังกลับไป ตรงหน้า ตอนกลางวันจะ มี กล้วยปิ้ ง แบบที่ปิ้งแล้วเอาไป ทับ กินกับนา้ เชื่อมกะทิ ร้านนีคา ราเมลกะทิ หอมมากครับ ใกล้ๆ กันกับร้านกล้วยปิ้ ง มีขนมหวาน ตลาดพลู มีชื่อเช่นกัน เพราะขนม รสชาติดี ผมชอบขนมชัน้ มาก เข้มข้น หอมมัน แต่ว่าคน เบียดเสียดกันซื้อน่าดู แต่มาครัง้ นี้ผมโชคดีที่ตอนซื้อไม่มีคน ถ้า ใครได้มีโอกาสผ่านมาก็ ลองแวะ มาชิมๆกันดูนะครับ รับลองติดใจ แน่นอน
22
Believe พระประจาวันเกิด ในวัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร มีการประดิษฐ์สถานพระพุทธรูปประจาวันเกิดตามความเชื่อ ให้ผคู้ นได้ไหว้บชู าเพื่อเป็ น สิริมงคลกับตัวเองอีกด้วย ส่วนที่ไปที่มาของการกาหนดพระพุทธรูปแต่ละปางนัน้ ไม่มีปรากฎสมัยทีแ่ น่ชดั กล่าวกันว่าการ สร้างพระพุทธรูปปางต่างๆ ให้เป็ นพระพุทธรูปประจาวันเกิดแต่ละวันนัน้ เป็ นความเชื่อของคนสมัยก่อนที่จะหาที่พึ่งทางใจ และถือว่าการบูชาพระประจาวันเกิดเป็ นมงคลอันสูงยิ่งอีกประการหนึ่ง 23
ตัวอับเฉา ความเชื่อเรื่อง ตัวอับเฉา นัน้ มักจะมีไปในทางลบ แต่แท้จริงแล้วตัวอับเฉา คือ เครื่องป้องกันเรือล่ม กล่าวคือในสมัยรัชกาลที่ 3 เมื่อไทยส่งสินค้าไป ขายยังเมืองจีนหรือยังต่างประเทศ สินค้าจะเป็ นพวก ไม้สกั ข้าวสาร งาช้าง ดีบกุ พลวง ไม้ เครื่องเทศ ซึ่งเป็ นของมีนา้ หนัก เมื่อขายสินค้า แล้ว ขากลับก็จะซื้อสินค้าจากเมืองจีนกลับมา เป็ นพวกผ้าแพร ผ้าไหม แร่ทอง แร่เงิน ไขมุก ซึ่งมีราคสูงและมีนา้ หนักเบา ซึ่งเรือสาเภาที่จะแล่น ฝ่ าคลื่นลมในทะเลได้นนั้ ต้องมีนา้ หนัก ไม่เช่นนัน้ เรือจะโคลงแล่นฝ่ าคลื่น ลมไม่ได้ จึงต้องมีการถ่วงนา้ หนักด้วยตัวอับเฉาใต้ทอ้ งเรือ
ร ูปปั้นเทพเจ้า ในสมัยอดีตผูค้ น มักจะเกรงกลัวพลังธรรมชาติ เทพเจ้า ต่างๆจึงมักจะมีพลังเกี่ยวกับธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ ยกตัวอย่างเช่น พระอินทร์และเทพซ ุส ซึ่งมีสายฟ้าเป็นอาว ุธ 24
25
พระเจ้าตากสินไม่ได้ถกู สาเร็จโทษ การสวรรคตของสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระมหากษัตริยไ์ ทยเพียง พระองค์เดียวในสมัยกรุงธนบุรี เกิดขึน้ เมือ่ พ.ศ. 2325 เป็ นเหตุการณ์ที่ไม่แน่ชดั ในหลักฐานส่วนใหญ่มักถือว่าพระองค์ทรงเสีย สติ หรือสติฟัน่ เฟื อน จึงถูกสาเร็จโทษ แต่ก็มหี ลักฐานปรากฏว่าพระองค์ ทรงเสด็จลงไปทางนครศรีธรรมราชและไม่ได้ถกู สาเร็จโทษแต่อย่างใด
26
Impression ความประทับใจที่พวกเราได้ไปพบเจอในการ เดินทางครั้งนี้ เราได้ความประทับใจจากสถานที่ตา่ งๆที่เราได้ไปกันมา ในที่แรกที่เราได้ไปมานัน้ นัน่ ก็คือวัดราชโอรสที่มีพระพุทธรูปประจาวัน เกิดขนาดใหญ่และนอกจากนีย้ ังทาให้ทราบถึงประวัตริ ัชกาลที่ 3 ซึ่งได้ ทานุบารุงวัดแห่งนี้ วัดต่อมาที่ไปนัน้ คือวัดหนังคือพิพิธภัณฑ์เพื่อ การศึกษาซึ่งได้เก็บของใช้ของผูค้ นเมือ่ ในอดีตไว้อย่างสมบูรณ์ซึ่งทาให้ ทราบถึงวิถีชวี ิตของชาวบ้านในอดีต และต่อมาคือวัดอินทารามคือ การ ที่ทราบถึงประวัตแิ ละที่ไปที่มาของการสร้างพระบรมรูปของพระเจ้าตาก สินมหาราชและยังได้สมั ผัสกับสถานที่ซึ่งเคยเป็ นที่ทรงปฏิบัตกิ รรมฐาน ของพระองค์ แล้วพวกเราก็มาแวะหาอะไรกินกันที่ตลาดพลู ตลาดพลู เป็ นตลาดที่ทาให้นกึ ถึงบรรยากาศของกรุงเทพ ในสมัยเก่าได้เป็ นอย่างดี เนือ่ งจาก บ้านเรือนและร้านค้ายังมีสะท้อนให้เห็นถึงความเป็ นอยู่ของ ผูค้ นในแบบโบราณ เช่น ร้านค้าเปิ ดกว่า 50 ปี และยังมีภาพถ่ายเก่าติด ผนังร้านไว้ เป็ นต้น วัดต่อมาวัดหงส์รัตนารามราชวรวิหาร ซึ่งมีศาล สักการะพระเจ้าตากสินขนาดใหญ่และมีพระพุทธรูปซึ่งมีประติมากรรม แบบลาวประดิษฐานอยู่ และที่สดุ ท้ายที่ได้ไปคือวัดประยุรวงศาวาสได้ ทราบถึงประวัตขิ องตระกูลดังในอดีต คือตระกูลบุนนาค และได้ทราบ ประวัตขิ องการทาสนธิสญ ั ญาในรัชกาลที่ 5 นอกจากนัน้ วัดแห่งนีย้ ัง มี การเก็บของเก่าไว้มากมาย รวมถึงรั้วเหล็กซึ่งมีความเก่าแก่ในสมัย รัชกาลที่ 3 27