L 14 การผลิตบัณฑิตพรอมใชสูตลาดแรงงาน โดยอยู่ภายใต้ข้อตกลงความร่วมมือด้านการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างสาขาวิชา กับโรงแรมโคโม พอยต์ ยามู ภูเก็ต ด้านสาขาวิชาภาษาไทย นางสาวฉัตรชฎา สิทธิบุตร ได้รับคัดเลือกให้ไปฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่บริษัท ออกสื่อ แมเนจเม้นท์ จำกัด ซึ่งเป็น บริษัทชั้นนำของจังหวัดภูเก็ต ดำเนินงานด้านการออกแบบผลิตสื่อและประชาสัมพันธ์ทุกชนิด บริการจัดอบรมเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ อบรมการพูดในที่สาธารณะ และการใช้งานสื่อ ออนไลน์ทุกแพลตฟอร์ม รวมถึงการถ่ายทอดสด Live streaming ผ่านทางช่อง ที่นี่ภูเก็ต ที่ของคนรักภูเก็ต นอกจากนี้ ความสำเร็จที่โดดเด่นด้านการจัดการเรียนการสอนของ สาขาวิชาภาษาจีนเพื่อการสื่อสาร และสาขาวิชาภาษาไทย ส่งผลให้เห็นเชิงประจักษ์ มากยิ่งขึ้นหลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา นักศึกษาได้งานทำ ร้อยละร้อย มีคุณลักษณะ ตรงกับความต้องการของตลาดงานทั้งด้านความรู้ ทักษะ ทัศนคติ และค่านิยม นอกจากศาสตร์ด้านภาษาแล้ว ความสำเร็จที่โดดเด่นด้านการจัดการเรียน การสอนของสาขาวิชานิติศาสตร์ เป็นอีกหนึ่งสาขาที่เป็นความภาคภูมิใจของคณะ โดย สาขาวิชานิติศาสตร์ได้เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ทำให้นักศึกษา ได้เรียนรู้ทั้งทางทฤษฎีกฎหมายจากคณาจารย์ที่มีคุณภาพ ประกอบกับการศึกษาค้นคว้า เรียนรู้เพิ่มเติมด้วยตนเองของนักศึกษา ทำให้นักศึกษาเข้าใจเนื้อหากฎหมายได้อย่างลึกซึ้ง และมีการฝึกปฏิบัติการศาลจำลองในห้องเรียนศาลจำลองสำหรับรายวิชาที่เน้นกระบวนการ ดำเนินคดีในศาล นอกจากนี้ นักศึกษาชั้นปี 4 ทุกคนต้องออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ด้านกฎหมายในหน่วยงานภาครัฐ และสำนักงานทนายความเพื่อให้เกิดการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติงานจริง อีกทั้งสาขาได้เชิญวิทยากรจากเนติบัณฑิตยสภามาบรรยายให้ความร แก่นักศึกษาในกลุ่มวิชากฎหมายวิธีสบัญญัติ และกฎหมายพิเศษ ส่งผลให้บัณฑิตของ สาขาวิชานิติศาสตร์สามารถสอบบรรจุเข้ารับราชการเป็นพนักงานอัยการได้ และบัณฑิต ทุกรุ่นสามารถสอบใบอนุญาตว่าความของสภาทนายความในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ทุกป
ส่งผลให้กรมกิจการผู้สูงอายุมอบโล่เชิดชูเกียรติให้เทศบาลตำบลรัษฎาในฐานะ
ปัจจัยแวดล้อมต่อการสร้างนวัตกรรมที่เอื้อต่อการส่งเสริมและพัฒนาฝีมือแรงงาน
L 15 การเสริมความแกรงชุมชนดวยการวิจัย และบริการวิชาการ เช่นเดียวกับสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ให้ความสำคัญกับกลุ่มผู้สูงอายุ มีผลงานโดด เด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการผู้สูงอายุ โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ กลุ่มเรื่องความเหลื่อมล้ำ ให้ดำเนินการวิจัยเรื่อง การสร้าง นวัตกรรมฝีมือแรงงานผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต ภายใต้แผนงานวิจัยการสร้างนวัตกรรม ฝีมือแรงงานผู้สูงอายุในกลุ่มจังหวัดอันดามัน โดยมีการบูรณาการกับการจัดการเรียน การสอนด้วยการนำนักศึกษาชั้นปีที่ 4 ลงพื้นที่เก็บรวบรวมข้อมูลการวิจัยเพื่อสอบถาม สัมภาษณ์ สำรวจความต้องการประกอบอาชีพ ค้นหาปรากฎการณ์ทางสังคมซึ่งเป็น
ผู้สูงอายุในจังหวัดภูเก็ต ผลผลิตของโครงการคือได้นวัตกรรมทางสังคมที่ส่งเสริม การออกกำลังกายให้กับผู้สูงอายุมีสุขภาพกาย สุขภาพใจที่แข็งแรง ผ่านกิจกรรมยืดเหยียด การวิจัยและบริการวิชาการ เป็นอีกหนึ่งพันธกิจสำคัญที่คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ตระหนักอยู่เสมอว่า การวิจัยและการบริการวิชาการแก่ชุมชน สังคม และประเทศชาติในรูปแบบต่าง ๆ ตามความถนัดและความเชี่ยวชาญของอาจารย์เป็น หน้าที่และความภาคภูมิใจของพวกเรา ชาวคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตัวอย่าง ความสำเร็จที่โดดเด่นด้านการวิจัยและบริการวิชาการ เช่น คณาจารย์สาขาวิชา สารสนเทศศาสตร์และบรรณรักษศาสตร์ดำเนินงานในโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากพื้นที่ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต เพื่อพัฒนา คุณภาพชีวิตของกลุ่มผู้สูงอายุในโรงเรียนผู้สูงอายุเทศบาลตำบลรัษฎา โดยขับเคลื่อน โครงการด้วยกระบวนการวิจัย และการบูรณาการกับการเรียนการสอน ผลผลิตของ โครงการคือ ลายผ้ามัดย้อมจากสีธรรมชาติและผลิตภัณฑ์ที่เป็นอัตลักษณ์ชุมชน แบรนด์ “โอบกัน” และได้นำเสนอในงานนวัตกรรมภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ของกรมกิจการ ผู้สูงอายุ
องค์กรสูงวัยพลังบวก “สังคมดี ด้วยภูมิปัญญา เวลาและความรัก” ประจำปี พ.ศ. 2565
L 16 การเสริมความแกรงชุมชนดวยการวิจัย และบริการวิชาการ นอกจากนี้ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ยังมีความสำเร็จที่โดดเด่น ด้านการวิจัยและบริการวิชาการของสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน ที่มีการบูรณาการการวิจัย และบริการวิชาการด้วยการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการพัฒนาชุมชนสู่การปฏิบัติงานชุมชน โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน สืบสานศาสตร์พระราชา รักษา และต่อยอดภูมิปัญญา พัฒนางาน ภายใต้ความเป็นสังคมพหุวัฒนธรรม มุ่งเน้นการสร้างนักพัฒนาชุมชน สู่การพึ่งตนเอง สอดคล้องกับนโยบายการวางแผนพัฒนาคนของประเทศ มีส่วนร่วมในการสร้าง นวัตกรชุมชน ภายใต้กระบวนการวิศวกรทางสังคม ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ มีทักษะ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนำความรู้ไปพัฒนาตนเองและชุมชนให้มีสันติสุขได อย่างยั่งยืน
ศาสตร์ด้านศิลปะและการออกแบบ นับเป็นศาสตร์ที่ใช้ทักษะและองค์ความรู้เชิงศิลปะ และศาสตร์แห่งความคิดเพื่อการรังสรรค์และพัฒนางานศิลปวัฒนธรรมตามจินตนาการ ของศิลปิน รวมถึงศาสตร์ด้านนวัตกรรมการออกแบบและดิจิทัลอาร์ต
เทคโนโลยีดิจิทัลมาเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่อสร้างจินตนาการความคิดในสังคม โลกออนไลน์
L 17 การเติมเต็มความเปนมนุษยดวย การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม “ศิลปวัฒนธรรม” นับว่าเป็นมรดกภูมิปัญญาทางความคิดและการปฏิบัติ ที่แสดงถึงคุณค่าความเป็นชนชาติ ตลอดจนสะท้อนถึงเอกลักษณ์และรากฐานความเจริญ รุ่งเรืองทางอารยธรรมของประเทศชาติที่สืบทอดกันมาอย่างยาวนาน คณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร์ดำเนินงานด้านการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมภายใต้ฐานคิดที่ว่า “ศิลปกรรม” คือองค์ความรู้ด้านศาสตร์และศิลป์ที่เกิดจากสติปัญญาของมนุษย์ในการถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านการอนุรักษ์ การพัฒนาและความคิดสร้างสรรค์บนฐานศาสตร์และ ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ปัจจุบันงานศิลปกรรมมีบทบาทสำคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ และสังคม โดยเฉพาะการใช้ความรู้ด้านศิลปกรรมและทรัพย์สินทางปัญญาไปเชื่อมโยง กับพื้นฐานทางศิลปวัฒนธรรมให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาท้องถิ่น สังคม และประเทศชาติ โดยผลิตบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะศาสตร์ด้านศิลปะการจัดการแสดง ซึ่งนับว่า เป็นศาสตร์ที่เกิดจากการศึกษาเพื่อการอนุรักษ์โดยการพัฒนาผลงานทางวัฒนธรรม ไปสู่การเคลื่อนไหวของมนุษย์ผสมผสานกับองค์ประกอบศิลป์อย่างเป็นรูปธรรม
เพื่อการพัฒนาต่อยอดผลงานศิลปวัฒนธรรมให้สอดคล้องกับบริบท ทางสังคมและเศรษฐกิจยุคดิจิทัลในปัจจุบัน
ซึ่งเป็นการประยุกต
ด้วยตระหนักอยู่เสมอว่าแม้นศาสตร์ศิลปกรรมจะเป็นศาสตร์และศิลป
ยังคงต้องใช้ทักษะความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในการพัฒนาซึ่งนำไปสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม
L 18
การขับเคลื่อนงานด้านศิลปวัฒนธรรม จึงเป็นพันธกิจหนึ่งของคณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์
ที่ใช้ทักษะการปฏิบัติ ความคิด ความเชี่ยวชาญ และจิตนาการผสมผสานกับศิลปวัฒนธรรม ซึ่งเป็นมรดกภูมิปัญญาของมนุษยชาติที่ทรงคุณค่า แต่อย่างไรก็ตาม ฐานศาสตร์ศิลปกรรม
เพื่อเป็นแนวทางในการอนุรักษ์และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการยกระดับศิลปวัฒนธรรม พร้อมทั้งเกิดองค์ความรู้แห่งสหวิทยาการ ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญในการผลิตบัณฑิตออก สู่โลกกว้างตามพันธกิจเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและการรับใช้สังคม อีกทั้งการนำความร ไปบูรณาการกับเทคโนโลยี และงานศิลปวัฒนธรรมในการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ มหาวิทยาลัย ทั้งในระดับชาติและนานาชาติ ซึ่งเป็นพื้นฐานในการประกอบวิชาชีพตาม สมญานาม “คนของพระราชา ข้าของแผ่นดิน” ได้อย่างเหมาะสมในยุคสมัยปัจจุบัน
การเติมเต็มความเปนมนุษยดวย การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
L 19 อนาคตภาพของคณะมนุษยศาสตร และสังคมศาสตร สรางความเปนมนุษย สูมนุษยที่สมบูรณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ เป็นคณะชั้นนำฝั่งอันดามัน มุ่งเน้น การผลิตบัณฑิตให้เป็นนักคิด สร้างนวัตกรรม มีคุณภาพและคุณธรรม
ท้องถิ่นสู่สากลอย่างยั่งยืน ขับเคลื่อนเยาวชนซึ่งเป็นฟันเฟืองสำคัญในพื้นที่อันดามัน ให้สามารถพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการประกอบวิชาชีพ รวมถึงส่งเสริมอาชีพที่สอง ให้กับเยาวชนและบุคคลทั่วไปภายใต้แนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต ตลอดจนมุ่งเน้น การสร้างองค์ความรู้ด้านมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปวัฒนธรรม โดยใช้การวิจัย เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสามารถ ของชุมชน ท้องถิ่น และสังคม บนพื้นฐานแนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อพัฒนา
“สรางตัวตน
เสริมสร้างสมรรถนะแรงงานในท้องถิ่นให้พร้อมในการทำงานในพื้นที่ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยว
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เริ่มก่อตั้งเมื่อ ปี พ.ศ. 2528 โดยมียุทธศาสตร์สำคัญของคณะคือการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทางด้านการบริหารธุรกิจ การเป็นผู้ประกอบการ การตลาด การจัดการธุรกิจท่องเที่ยว และบริการในทุกมิติ การบัญชี และการสื่อสาร โดยมีจุดเน้นในการสร้างความเป็นมืออาชีพ
ระดับโลก 21 “สรางตัวตน สรางปราชญแหงการจัดการ”
are business supporters สงเสริมธุรกิจในทุกทาง เมื่อโลกเปลี่ยนเราจะปรับ การแข่งขัน เทคโนโลยีและโลกที่เปลี่ยนแปลง คือสิ่งที่ทุกสถาบันการศึกษา ต้องเผชิญหน้า ดังนั้น ไม่ว่าจะเป็นการเตรียมระบบ เตรียมคน และการทุ่มเทเวลา ในการพัฒนาองค์กรจึงเป็นสิ่งสำคัญที่ต้องเตรียมอย่างจริงจังและขาดไม่ได้ คณะวิทยาการจัดการ เรามุ่งมั่นที่จะทำงานภายใต้ค่านิยมองค์กร CCP คือ Creativity สร้างสรรค์ Cognitive Flexibility เปลี่ยนแปลง และ Proactive Working ทำงานเชิงรุก ครอบครัวคณะวิทยาการจัดการ หรือที่เราคุ้นเคยในคำสั้น ๆ ครอบครัว วจก. เน้นทำงาน ด้วยความเชื่อใจ ดูแลความสัมพันธ์ สิ่งสำคัญคือการมีความสุขและเติบโตไปด้วยกัน เพื่อก้าวสู่ ผู้นำด้านการบริการจัดการในอันดามัน สร้างสรรค์พัฒนาสังคม มุ่งสู่มหาวิทยาลัยเพื่อท้องถิ่น เส้นทางการศึกษาที่แท้จริง คือการพัฒนาความเป็นมนุษย์ให้สมบูรณ์ในแบบ ของตัวเองเรานิยามตัวเองว่าเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ ทุกคนเรียนรู้ด้วยกัน ทั้งนักศึกษา อาจารย์ และบุคคลากร โดยให้ความอิสระ(Independent) ภายใต้วินัย ด้วยเชื่อว่าศักยภาพ ของทุกคนในองค์กรเราสามารถไปได้ไกลและหลากหลาย
We
22 01
หลักสูตรสรางความเปนมืออาชีพและ ความคิดสรางสรรค
ๆ ยังเป็นเครือข่ายในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพทั้งในประเทศและ
The best paper award
How local street food vendors responded to the COVID-19 pandemic: a story from Phuket
International Conference on Business and Social Sciences (ICOBUSS)
02 ครูกลาสอนในฐานะผูอำนวยความสะดวก ในการเรียนรูใหนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการมองว่า อาจารย์ไม่ใช่เพียงผู้สอน แต่อยู่ในฐานะผู้อำนวย ความสะดวกในการเรียนรู้ (Facilitator) ให้แก่ผู้เรียน หลักสูตรมีการจัดการเรียน การสอนร่วมกับสถานประกอบการ (Cooperative and Work Integrated Education: CWIE) และสร้างนวัตกรรมการศึกษาร่วมกันผ่านการ บูรณาการการเรียนกับการทำงาน โดยทางคณะวิทยาการจัดการร่วมกับนักวิชาชีพเฉพาะทางจากผู้ประกอบการหรือนักธุรกิจ ด้านต่าง ๆ ในพื้นที่ ในการพัฒนา ถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่นักศึกษา ขณะเดียวกัน องค์กรธุรกิจต่าง
ต่างประเทศ เช่น นักศึกษาสาขาการจัดการธุรกิจโรงแรมชั้นปีที่ 4 ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในต่างประเทศ ณ โรงแรม G Hotel SDN BHD เมืองปีนัง ประเทศมาเลเซีย นักศึกษา สาขาวิชาการเป็นผู้ประกอบการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ณ ประเทศออสเตรเลีย และยัง มีโครงการการยกระดับคุณภาพการศึกษาของบัณฑิตด้านวิชาการ เช่น การเข้าร่วมประชุม วิชาการระดับชาติและนานาชาติอย่างต่อเนื่อง ซึ่งรับประกันคุณภาพด้านวิชาการของ อาจารย์และนักศึกษาผ่านการได้รับรางวัลจากการนำเสนอผลงานวิจัย อาทิ รางวัล
จากบทความวิจัยเรื่อง
ในงานประชุม
เป็นวันที่นักศึกษาของคณะวิทยาการจัดการสามารถใส่ชุดไปรเวทมาเรียนที่มหาวิทยาลัย
คณาจารย์จากหลายหลักสูตรได้พัฒนาบทเรียน Online Platform อย่างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มทางเลือกในการสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้เรียนร
03 ใหทุกวันเปนรันเวย เราสร้างพื้นที่ที่อบอวลด้วยความรัก มิตรภาพและความเป็นอิสระ ในทุกวันศุกร์
เพื่อสร้างและส่งเสริมบุคลิกภาพในการทำงานอย่างมืออาชีพในอนาคต และในยามว่าง จากการเรียนตามปรกติ
นอกชั้นเรียน นักศึกษาและศิษย์เก่าของคณะวิทยาการจัดการจึงสามารถที่ฉายแสง ผ่านการประกวดในเวทีต่าง ๆ ได้อย่างสง่า ดังรางวัลที่ได้รับเป็นที่ประจักษ์อย่างต่อเนื่อง เช่น นายจารุกิตติ์ ยังปาล์ บัณฑิตสาขาวิชาการจัดการธุรกิจโรงแรม ได้รับรางวัลเหรียญทองแดง ระดับประเทศ จากการแข่งขันปรุงอาหารจานหลัก จากวัตถุดิบปริศนาและวัตถุดิบท้องถิ่น ระดับมืออาชีพ Makro HoReCaChallenge 2022 นักศึกษาสาขาวิชาการจัดการทั่วไป ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่สอง การแข่งขันแผนธุรกิจไมซ์ Pitching Contest ภายใต้หัวข้อ “Giving a Wow Incentive Travel in The Next Normal World”
04 อาคารที่สรางจากความใสใจ จุด check in PKRU อาคารคณะวิทยาการจัดการที่สวยงามในรูปแบบชิโนยูโรเปียน ได้รับการตรวจ ประเมินและรับรองแบบอาคารเพื่อการอนุรักษ์พลังงาน บริเวณส่วนกลางของอาคารม หน้าต่างรับลมจากทิศทางที่เหมาะสม มีช่องรับแสงอย่างทั่วถึงทำให้ประหยัดพลังงาน นอกจากนี้ บริเวณส่วนกลางชั้น 1 มีมุมอ่านหนังสือ นั่งท่องโลกอินเทอร์เน็ต ท่ามกลาง ต้นไม้ใบหญ้าที่งดงามให้ความรู้สึกผ่อนคลาย เราอยากให้คำนิยามพื้นที่ในส่วนนี้ว่า เป็น Practical Life คือพื้นที่ในการช่วยจำลองการใช้ชีวิตจริง ให้นักศึกษาต่างสาขาได้ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ได้รู้จักการรับฟังผู้คนด้วยหัวใจที่เปิดกว้าง วางความคิดความเชื่อ ของตัวเองลงและอยู่กับคนตรงหน้าอย่างแท้จริง รวมถึงได้มีเวลาที่จะดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจอย่างสมดุล อันจะนำไปสู่ความเบิกบานสำราญใจ ให้ได้พบความสงบสุขใน ตัวเอง
26 05 กิจกรรมหลากหลาย การลงมือทำคือการเรียนรู้ที่ดีที่สุด คณะวิทยาการจัดการมีกิจกรรมพัฒนา นักศึกษาที่น่าสนใจและหลากหลาย เช่น โครงการเสริมสร้างอัตลักษณ์ของนักศึกษา คณะวิทยาการจัดการด้วยกระบวนการวิศวกรสังคม ผ่านการใช้เครื่องมือทางการจัดการ ที่น่าสนใจ เช่น เครื่องมือนาฬิกาชีวิต เครื่องมือไทม์ไลน์ กระบวนการ กิจกรรมจิตอาสา นอกชั้นเรียน กิจกรรมการพูดในที่สาธารณะ กิจกรรมการสร้างแรงบันดาลใจจาก ผู้ประสบความสำเร็จในสาขาวิชาชีพต่าง ๆ กิจกรรมการเดินแฟชั่นโชว์ รวมทั้งการแสดง ละครของนักศึกษา
การพัฒนาเชิงพื้นที่
คณะวิทยาการจัดการได้ใช้กระบวนการวิศวกรสังคมเป็นกลไกการพัฒนา Soft skill และคุณลักษณะของนักศึกษาและบัณฑิตให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผ่านรูปแบบการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
เช่น โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก
27
ชุมชนใช้ดูแลกันเองต่อไป โดยทั้งนักศึกษาและอาจารย์ของคณะวิทยาการจัดการก็ได้ เรียนรู้ร่วมกันกับทางชุมชน
กระบวนการชุมชน
ผ่านโครงการต่าง ๆ ของแต่ละสาขาวิชา ที่มีเป็นจำนวนมาก
มองไกลไปข้างหน้า Long-termism ดูแลทุกคน
ในทุกมิติ เพราะทุกอย่างล้วนมีความเชื่อมโยงและมีผลต่อกันทั้งหมด ด้วยความเชื่อมั่นว่า
เราจะเป็นคณะที่บูรณาการศาสตร์ด้านการบริหารจัดการ (Management Science)
เป็นที่พึ่งและให้บริการทางวิชาการแก่ท้องถิ่นอันดามัน บนพื้นฐานความรับผิดชอบต่อ
สังคม
28 วจก. กาวไปขางหนา ดวยการมองไกล Long-termism สำหรับอนาคตของคณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ไม่ได้ วัดผลความสำเร็จด้วยตัวเลขเพียงอย่างเดียว เพราะมนุษย์มีศักยภาพที่ซับซ้อนเกินกว่า กรอบกฎเกณฑ์ตัวเลขที่นำมาใช้ประเมินผล เราจึงมุ่งเน้นการบริหารการศึกษาและ การพัฒนาคนด้วยเครื่องมือการจัดการกระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย ด้วยมุ่งหวังใน การสร้างนักศึกษาที่เคารพตนเองและผู้อื่น สร้างพลเมืองโลกที่มีคุณภาพ นำความรู้ด้านการจัดการ ไปประยุกต์ใช้ในการขับเคลื่อนประเทศได้ จึงมีการวางกลยุทธ ในการทำงานที่ใส่ใจในรายละเอียด
ปฐมบทของหนวยงาน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต หรือเดิมชื่อ หมวดวิชาการเกษตร ก่อตั้งขึ้นพร้อม ๆ กับวิทยาลัยครูภูเก็ต โดยมุ่งเน้นการผลิต บัณฑิตให้มีองค์ความรู้และทักษะด้านการเกษตร ตอบสนองต่อสถานการณ์ในประเทศ และสังคม ตลอดระยะเวลา 5 ปีที่ผ่านมา คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้สร้างเครือข่าย และทำงานร่วมกับชุมชนท้องถิ่น โดยบูรณาการทั้งงานวิชาการ การเรียนการสอน งานวิจัย งานทำนุบำรุงศิลปะวัฒนธรรม ทั้งภายในและภายนอกจังหวัดภูเก็ต เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นสู่ยั่งยืน ตอบสนองต่อการเป็นมหาวิทยาลัยเพื่อท้องถิ่น อย่างแท้จริง
ทำให้มีชุมชนที่ได้รับการพัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันที่โดดเด่น และถือเป็นความภาคภูมิใจและรางวัลในการทุ่มเททำงานอย่างตั้งใจ
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางหวานพัฒนา ยังได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 สถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับประเทศ ประเภทกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรอีกด้วย
ความสำเร็จที่เปน Outstanding ในระยะ 5 ป ของคณะ คณะเทคโนโลยีการเกษตรเน้นขับเคลื่อนและบูรณาการการพัฒนา ท้องถิ่นร่วมกับการเรียนการสอน มุ่งผลลัพธ์ในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ ควบคู่กับการสนับสนุนการดำเนินการของชุมชนท้องถิ่น โดยมีชุมชนเป็นห้อง ปฏิบัติการทางสังคมของนักศึกษา ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิดเห็น ประสบการณ์ ทั้งแก่นักศึกษาและชุมชนท้องถิ่น ทำให้เกิดองค์ความรู้และ การพัฒนาศักยภาพชุมชนและนักศึกษาไปพร้อมกัน ซึ่งตลอดระยะเวลา 5 ป ที่ผ่านมา
ทั้งนี้ คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้ถ่ายทอดนวัตกรรมสู่ชุมชนอย่างหลากหลาย อาทิ การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารและผลิตภัณฑ์แปรรูป เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์ จากส้มควาย ร่วมกับกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรบางหวานพัฒนา โดยพัฒนา ผลิตภัณฑ์ชาส้มควายชาส้มควายผสมขิง ชาส้มควายผสมกุหลาบ อันเป็น การเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ เพิ่มโอกาสทางการตลาดให้มากขึ้น รวมทั้งส่งเสริม การผลิตชาส้มควายให้ได้รับการรับรองมาตรฐาน อย. ทำให้ได้รับการคัดเลือก เป็นสินค้าเข้าสู่ OTOP ระดับ 4 ดาว นอกจากนี้
คณะเทคโนโลยีการเกษตรยังได้ถ่ายทอด องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีอาหารสู่ท้องถิ่น โดยร่วมกับชุมชนและผู้ประกอบการ ท้องถิ่นในการการพัฒนาผลิตภัณฑ์ อาทิ นมแพะผงอัดเม็ดสำหรับเด็ก และ นมแพะผงสำหรับเลี้ยงสัตว์ ผลิตภัณฑ์รังนกเพื่อสุขภาพ ผลิตภัณฑ์แกงส้มภูเก็ต (สำเร็จรูป) ผลิตภัณฑ์หมูฮ้องภูเก็ต (สำเร็จรูป) โดยคณะเทคโนโลยีการเกษตร ให้บริการวิเคราะห์คุณค่าทางโภชนาการ ร่วมกับการออกแบบบรรจุภัณฑ์
การจัดการเรียนการสอนของคณะเทคโนโลยีการเกษตรร่วมกับชุมชน
ความสำเร็จที่เปน Outstanding
ในระยะ 5 ป ของคณะ
การพัฒนาศักยภาพเส้นทางท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดภูเก็ต ซึ่ง คณะเทคโนโลยีการเกษตรเป็นหน่วยงานหลักในการดำเนินการร่วมกับคณะมนุษยศาสตร
และสังคมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และคณะวิทยาการจัดการ ภายใต้การกำกับของสถาบันวิจัยและพัฒนา โดยได้มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เป็นปีที่ 4 ในปีแรกได้มีการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว “เที่ยวดูของดีศรีสุนทร” โดยมี การเชื่อมโยงแหล่งท่องเที่ยวภายตำบลศรีสุนทร จาก 3 ชุมชน ได้แก่ ชุมชนลิพอนใต้ ชุมชนลิพอนบางกอก และชุมชนท่าเรือ ต่อมาได้มีการขยายพื้นที่การดำเนินโครงการ ไปยังชุมชนบ้านเคียน ตำบลเทพกระษัตรี เกิดเป็นเส้นทางท่องเที่ยว “เที่ยวทั้งปี เทพกระษัตรี-ศรีสุนทร” โดยมีการเชื่อมโยงเรื่องราวประวัติศาสตร์ ความเชื่อ และวิถีชีวิต ชาวภูเก็ตเข้าด้วยกัน การดำเนินโครงการเน้นการพัฒนาศักยภาพบุคลากรในชุมชน เพื่อให้สามารถพัฒนาต่อยอดด้านการท่องเที่ยวได้อย่างเต็มศักยภาพ และในปีที่ 3 และ 4 ได้ขยายพื้นที่ไปยังชุมชนบ้านสาคู ตำบลศรีสุนทร และบ้านสาคู ตำบลสาค ตามลำดับ 32
ความสำเร็จที่เปน Outstanding ในระยะ 5 ป ของคณะ นอกจากนี้ คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้รับผิดชอบการดำเนิน โครงการมหาวิทยาลัยสู่รากแก้ว หรือ U2T ในพื้นที่ตำบลศรีสุนทร โดยมีการ บูรณาการกับการเรียนการสอนในคณะ ทั้งด้านการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยว การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารจากมะเม่าและกระเจี๊ยบเขียว การส่งเสริมการผลิต ปุ๋ยมูลไส้เดือน โดยได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการสมาคมพันธกิจ มหาวิทยาลัยกับสังคม ให้เป็นโครงการที่มีศักยภาพในการยกระดับชุมชน ลำดับที่ 58 และได้รับการคัดเลือกให้ดำเนินโครงการต่อเนื่องเป็นปีที่ 2 โดยเน้นการพัฒนา การบริการอาหารและเส้นทางการท่องเที่ยว ซึ่งได้รับ การคัดเลือกจากกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมให้เป็น โครงการ U2T ดีเด่น ตัวแทนระดับจังหวัดภูเก็ต คณะเทคโนโลยีการเกษตรได้ดำเนินโครงการค่ายยุวชนอาสาสมัคร พิทักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต
นับตั้งแต่ป
ผ่านการลงมือทำ และต่อยอด กับโรงเรียนในความรับผิดขอบขององค์การบริหารส่วนจังหวัดภูเก็ต 33
ซึ่งคณะเทคโนโลย การเกษตรได้รับผิดชอบดำเนินการมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลา 5 ปี
พ.ศ. 2562 เป็นต้นมา การดำเนินโครงการมุ่งเน้นการสร้างความตระหนักด้าน สิ่งแวดล้อม อาทิ การคัดแยกขยะ การจัดการขยะเป็นศูนย์ การลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก ให้แก่เยาวชนในจังหวัดภูเก็ต
การใช้คลอรีนในการกำจัดโคลิฟอร์ม แบคทีเรีย การพัฒนาศักยภาพธนาคารปูม้า และด้านภูมิทัศน์และพืชสวน เช่น การเจริญเติบโตของผักสลัดในระบบไฮโดรโปนิกส์และอคาโปนิกส์
ความสำเร็จที่เปน Outstanding ในระยะ 5 ป ของคณะ จากการทำงานและเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักศึกษาและชุมชนท้องถิ่น ทำให้นักศึกษาได้ความรู้และพัฒนาทักษะต่าง ๆ ทั้งที่เกี่ยวข้องกับศาสตร์ด้านการเกษตร และทักษะอื่น ๆ เช่น การใช้เครื่องมืออุปกรณ์ การวางแผน การทำงานร่วมกับผู้อื่น การประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในชีวิตประจำวัน และการประกอบอาชีพ โดยคณะเทคโนโลย การเกษตรได้ส่งนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันทักษะวิชาการและวิชาชีพ เข้าร่วมเป็นเครือข่าย เกษตรราชภัฏทั่วประเทศในทุกปี ซึ่งจากรูปแบบการเรียนการสอนและการจัดกิจกรรม ต่าง ๆ ทำให้นักศึกษาได้รับรางวัลอย่างต่อเนื่องทุกปี อาทิ การแข่งขันนวัตกรรมอาหาร การแข่งขันนวัตกรรมเกษตร การแข่งขันแผนธุรกิจเกษตร การแข่งขันตอบปัญหา วิชาการ เป็นต้น นอกจากนี้ ในส่วนของคณาจารย์คณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้รับการพัฒนา องค์ความรู้ผ่านงานด้านวิชาการ งานวิจัย ไม่ว่าจะเป็นด้านการจัดการการท่องเที่ยว การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจ สปาเพื่อสุขภาพ การกำหนดขีด ความสามารถในการรองรับด้านการท่องเที่ยว การศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวโดย ชุมชน ด้านเทคโนโลยีอาหาร เช่น การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มนำ้ส้มลายชูหมัก เสริมวุ้นสวรรค์จากสับปะรดภูเก็ต การยับยั้งเชื้อแบคทีเรียสาเหตุการเน่าของอาหาร ด้วยน้ำผึ้ง ด้านการการเพาะเลี้ยงสัตว์นำ้ เช่น
การผลิตผักลิ้นห่าน ในจังหวัดภูเก็ต เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้สู่นักศึกษา ผู้ประกอบการ และชุมชนท้องถิ่น ต่อไป 34
ฉากทัศนในอนาคต คณะเทคโนโลยีการเกษตร มุ่งมั่นในการพัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย และนวัตกรรมด้านการเกษตรและอาหารสู่การพัฒนาท้องถิ่นอย่างต่อเนื่อง ขับเคลื่อน และพัฒนารูปแบบ วิธีการ และเนื้อหาความรู้ในการศึกษาด้านเกษตรและอาหาร ให้สอดคล้องและตอบสนองต่อความต้องการของกระแสสังคม เปิดโอกาสให้ทุกคน สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ทั้งหมดในคณะเทคโนโลยีการเกษตร และส่งเสริมการเรียนร สำหรับทุกช่วงวัย โดยมีการนำแนวคิดการพัฒนา Soft Skill ด้วยเครื่องมือวิศวกรสังคม มาใช้ เพื่อให้นักศึกษามีทักษะการคิด การสื่อสาร การประสาน และการสร้างนวัตกรรม ต่อไป 35
สรางตัวตน ตามขอบเขต วิทยาศาสตร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ปฐมบทแหงหนวยงาน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เป็นหนึ่ง ในห้าคณะของมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต โดยมีปรัชญาของคณะคือ “คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี พัฒนาคน พัฒนาองค์ความรู้ สู่นวัตกรรม เพื่อชุมชนมั่นคงอย่างยั่งยืน” และกำหนดวิสัยทัศน์ไว้ว่า “ผลิตบัณฑิต เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ถ่ายทอดนวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งสู่ชุมชน” สำหรับพันธกิจ ของคณะนั้นได้กำหนดไว้ว่า “การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำนุ บำรุงศิลปวัฒนธรรม สร้างองค์ความรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อถ่ายทอด นวัตกรรมสู่ท้องถิ่นอันดามัน ปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประกอบด้วย 9 หลักสูตรใน ระดับปริญญาตรี ประกอบด้วย หลักสูตรวิทยาศาตรบัณฑิต 5 สาขาวิชา ได้แก วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ คหกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยีดิจิทัล เทคโนโลยีสถาปัตยกรรม หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต 2 สาขาวิชา ได้แก่ เทคโนโลย
ความสำเร็จที่โดดเดน
ดานการจัดการเรียนการสอน
“What we know is a drop, what we don't know is an ocean” เป็นคำกล่าวที่ เซอร์ ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) นักวิทยาศาสตร์ผู้ค้นพบ กฎของแรงโน้มถ่วง และกฎการเคลื่อนที่ 3 ข้อ อันเป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์และ
เสมอมา โดยไม่ได้มองแค่ว่าการถ่ายทอดองค์ความรู้เกิดขึ้นได้เฉพาะในห้องเรียน เพียงอย่างเดียว โดยยึดหลักว่า “ภูมิปัญญาสู่การแบ่งปัน”
แสดงให้เห็นถึงความโดดเด่นในการสร้างศักยภาพของผู้สอนทั้งในระดับหลักสูตร
คือทำให้บัณฑิตที่จบจากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีงานทำ ร้อยละร้อย โดยมีค่าเฉลี่ยการได้งานทำที่ตรงกับสาขาที่เรียนภายใน 1 ปี ถึงร้อยละ 90 และมีความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
เทคโนโลยีในปัจจุบัน จากคำกล่าวนั้นบอกให้รู้ว่าในโลกนี้มีสิ่งอีกมากมายที่เรายังไม่รู้ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชื่อมั่นเสมอว่า ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมานั้น คณะ ได้ทำหน้าที่เป็นแหล่งศึกษาให้ความรู้ในการผลิตบัณฑิตของทุกสาขาอย่างมีความโดดเด่น
ความโดดเด่นด้าน การเรียนการสอน สำหรับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนั้นมองผลลัพธ์ท ประกอบด้วย ผู้สอน ผู้เรียน และหลักสูตร เมื่อพิจารณาจากปัจจุบันย้อนหลัง 5 ปี พบว่าตำแหน่งทางวิชาการของ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
สำหรับนักศึกษาปัจจุบันนั้นได้สร้างชื่อเสียง เป็นที่ยอมรับ ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตัวอย่างเช่นปี พ.ศ. 2565 นายจตุพร เต็มสังข์ นักศึกษาหลักสูตรเทคโนโลยีดิจิทัล สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ ได้รับคัดเลือกเป็นตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมการแข่งขันในระดับนานาขาติ ในการแข่งขันโครงการ ICDL Asia Digital Challenge 2022 สายเทคโนโลยีท เกิดใหม่ สาขา Artificial Intelligence, Internet of Things, Big Data, Cloud Computing และได้รับรางวัลเหรียญเงิน Silver Award เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2565 และอีกหนึ่งความภาคภูมิใจคือ นางสาว รมย์ชลี ดาวกระจ่าง นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ สาขาชีววิทยา เข้าร่วมแข่งขัน โครงการการกระจายความรู้สู่ผู้ประกอบการยุคใหม่ (From Gen Z to be CEO) 38
เพิ่มขึ้นถึงร้อยละ 17 จากห้าปีที่แล้ว ซึ่ง
ระดับคณะ
และระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งผลลัพธ์เชิงประจักษ์ของคณะที่เกิดจากผู้สอน
มีศักยภาพนั้น
เข้าเรียนทางด้านวิทยาศาสตร์ลดลงในทุกปี แต่เมื่อปรับเปลี่ยนมุมมองความคิดเป็น ใครก็ได้ที่สนใจเรียนทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โอกาสนั้นเกิดขึ้นทันท “มัธยมร่วมวิทย์”
ปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีมีรายได้จากหลักสูตรระยะสั้นทางด้านปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ที่ทำรายได้ต่อป มากกว่าห้าแสนบาทต่อปีการศึกษา มีนักเรียนจากโรงเรียนมัธยมในจังหวัดภูเก็ต พังงา และพัทลุงเข้ามาเป็นผู้เรียน
ความสำเร็จที่โดดเดน ดานการจัดการเรียนการสอน “นักรบการค้ารุ่นใหม่” โดยมีนักศึกษาทั่วประเทศทั้งสิ้น 16,000 คน เข้าร่วมแข่งขัน และสามารถทำคะแนนสูงสุด 100 คนแรก และได้เข้ารับรางวัลจาก นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย เมื่อวันที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2565 นักท่ามกลางวิกฤติย่อมมีโอกาสเสมอ คำกล่าวนี้สะท้อนการปรับตัวทาง ด้านหลักสูตรของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ต้องเจอกับจำนวนนักเรียนที่สนใจ
ซึ่งมีจำนวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ และปัจจุบันทางคณะได้ผลักดัน ให้หลักสูตรนี้เป็นหลักสูตรแบบคลังหน่วยกิตเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต 39
เป็นสิ่งที่จุดประกายสำหรับโอกาสนี้
“การพัฒนาทุนมนุษย์ของประเทศให้มีศักยภาพและมีความพร้อมใน
ประเทศให้มีความมั่นคงมั่งคั่งอย่างยั่งยืน
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนให้ความสำคัญแก่การพัฒนานวัตกรรมเชิงสังคม และนวัตกรรมในเชิงพื้นที่ เพื่อแก้ปัญหาและสร้างโอกาสไปพร้อม ๆ กับการพัฒนา ทุนมนุษย์ ทั้งในด้านวิชาการและวิชาชีพชั้นสูง
ทั้งด้านการเรียนการสอน การบริการวิชาการ
ดังเช่น อาจารย์ ดร. จันทนา แสงแก้ว อาจารย์ประจำหลักสูตรวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร
ความสำเร็จที่โดดเดนดานการวิจัย และบริการวิชาการ ความสำเร็จที่โดดเดนดานงานวิจัย เพราะเราคือ “คนของพระราชา ข้าของแผ่นดิน” คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีภาคภูมิใจและตระหนักต่อหน้าที่นี้ ดังนั้นการวิจัยและการบริการวิชาการจึง เป็นหน้าที่ที่บุคคลากรของคณะทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุนเชื่อว่าเราต้องม
เพื่อชุมชนมั่นคงอย่างยั่งยืน
การพัฒนาคน พัฒนาองค์ความรู้ สู่นวัตกรรม
ตามปรัชญา ของคณะที่ได้กำหนดไว้
การดำเนินชีวิตในศตวรรษที่ 21 เพื่อเป็นพลังสำคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนา
เป็นเป้าหมายสำคัญที่รัฐบาลมุ่งพัฒนา กำลังคนที่ตอบสนองต่อการพัฒนาประเทศ และสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน ในระดับโลกได้ รัฐบาลจึงมีนโยบายให้นำวิทยาศาสตร์ การวิจัย และนวัตกรรม มาใช ในการขับเคลื่อนประเทศ พัฒนาเศรษฐกิจ ชุมชนและสังคม และบูรณาการวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม มาใช้ในเชิงพาณิชย์ในภาคเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และภาคบริการ
เพื่อให้มีความพร้อมสำหรับโลกยุคดิจิตอล และการขับเคลื่อนอุตสาหกรรม 4.0 สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน SDGs” ข้างต้นเป็นคำกล่าวที่กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมได้กล่าวไว้ ซึ่งสอดคล้องกับคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่กำหนด งานวิจัยเป็นฐานรากของการพัฒนาทุกด้าน
และการทำนุศิลปวัฒนธรรม ตัวอย่างความภาคภูมิใจที่เกิดขึ้นจากพัฒนาดังที่กล่าวมานั้น ไม่เพียงแค่ย้อนหลังไป 5 ปี แต่เป็นผลลัพธ์ที่ส่งให้เห็นผลในระยะยาว
วิชาเอกชีววิทยา ร่วมกับทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ค้นพบสาหร่ายทะเล 40
ความสำเร็จที่โดดเดนดานการบริการวิชาการ สีแดงชนิดใหม่ของโลก Gracilaria khanjanapajiae sp. nov. บริเวณหาดนาใต้ จังหวัดพังงา และได้มีการเผยแพร่ผลงานในวารสาร Phycologia Volume 61, Issue 2 ปี 2022 ซึ่งอาจารย์ ดร. จันทนา แสงแก้ว จบการศึกษา ระดับปริญญาตรีจากสาขาชีววิทยา คณะวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต และได้รับทุนไปศึกษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกจาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นอกจากการนั้น ผลงานทางด้านงานวิจัยของอาจารย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยียังส่งผลให้เกิดการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ตัวอย่างเช่น โครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งได้รับการสนับสนุน จากสำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สป.อว.) ภายใต้งานการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ความรู้ โดยใช้องค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในการพัฒนา อีกทั้งยังได้ดำเนินงานหมู่บ้านท่องเที่ยววิถีวิทย์ฯ ณ บ้านโคกไคร ตำบลมะรุ่ย อำเภอทับปุด จังหวัดพังงา ให้เป็นชุมชนอย่างยั่งยืน หากกล่าวถึงด้านภาระกิจการบริการวิชาการ ภายใต้การดำเนินงาน ของบุคลากร คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ช่วงระยะเวลา 5 ปีย้อนหลัง ได้มุ่งเน้นการดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ที่ผนวกและบูรณาการกับภารกิจ การเรียนการสอน ผลงานวิจัย การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 41 ความสำเร็จที่โดดเดนดานงานวิจัย
เพื่อส่งเสริม สร้างความตระหนัก
เทคโนโลยีและยังทำหน้าที่ประสานการจัดทำแผนพัฒนาจังหวัด
วิทยาศาสตร์ วิจัยและ นวัตกรรมอย่างต่อเนื่องตลอด 10 ปีที่ผ่านมา นอกเหนือจากการบริการวิชาการที่ได้ดำเนินงานด้วยบุคลากรของคณะฯ
ด้วยการนำองค์ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม มาเพิ่มศักยภาพภาคการผลิต การบริการและเศรษฐกิจชุมชนให้แก่กลุ่มเป้าหมาย ที่ครอบคลุม ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มชุมชน วิสาหกิจชุมชน ผู้ประกอบการ ภายในพื้นท จังหวัดภูเก็ต พังงาและกระบี่ ส่วนใหญ่ได้ดำเนินงานภายใต้โครงการยุทธศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับประเด็น ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ระดับมหาวิทยาลัย จังหวัด กระทรวงและระดับประเทศ ผลจากการดำเนินงานทำให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความเข้าใจ การเข้าถึง ประยุกต์ใช วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม นำไปสู่การใช้งานทั้งเชิงเศรษฐกิจและเสริม สร้างคุณภาพชีวิต นอกจากนี้ ยังมีศูนย์ปฏิบัติการทดสอบมาตรฐานผลิตภัณฑ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ที่มีภาระกิจให้บริการทดสอบและวิเคราะห์ทางเคมี และชีวภาพ เช่น การทดสอบน้ำเพื่ออุปโภค บริโภค เครื่องดื่ม พืชผัก ตะกอนดิน นำ้เสีย อาหาร ดิน ปุ๋ย แร่ สามารถสร้างรายได้จากการให้บริการวิชาการเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง ในขณะเดียวกัน คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต เป็นทัพด่านหน้า
วิสาหกิจชุมชน
ด้านวิทยาศาสตร์
ด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมกับจังหวัดภูเก็ต โดยคลินิกเทคโนโลย ได้รับงบประมาณจากกองส่งเสริมและประสานเพื่อประโยชน์ทางวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
แล้ว คณะฯ ยังได้มุ่งเน้นการสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกที่ม ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในระดับประเทศ เพื่อให้บริการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม แก่กลุ่มเป้าหมาย อาทิเช่น ความร่วมมือกับกรมวิทยาศาสตร์บริการ เพื่อวิจัย ยกระดับ พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชน อาหารท้องถิ่น ความร่วมมือกับสำนักงานเทคโนโลย นิวเคลียร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 42
วิชาการ
เพื่อให้บริการคำปรึกษาและข้อมูลเทคโนโลยีแก่กลุ่มประชาชน
ทั่วไป ผู้ประกอบการ ชุมชน
สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา
ความสำเร็จที่โดดเดนดานการบริการ
ปลายป พ.ศ. 2558 องค์การยูเนสโก ซึ่งเป็นองค์กรดูแลเกี่ยวกับวัฒนธรรมของโลกและเกี่ยวข้อง กับงานด้านการศึกษาและวิทยาศาสตร์ ได้ประกาศยกย่องให้จังหวัดภูเก็ตเป็นเมือง สร้างสรรค์ด้านวิทยาการอาหาร
เพื่อนำเทคโนโลยีฉายรังสีมาใช้กับอาหารที่เป็นผลิตภัณฑ์ของ ผู้ประกอบการ ความร่วมมือกับสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อร่วมถ่ายทอดความรู้ด้านดาราศาสตร์แก่กลุ่มยุวชน เยาวชน ประชาชนทั่วไป ในพื้นที่ นอกจากนั้น
องค์ความรู้ผ่านรายการ “วิทย์…คิดคุย” และสุดท้ายที่เป็นความภาคภูมิใจในการยกระดับ ทางวิชาการเพื่อการบริการวิชาการของคณะที่เป็นที่ยอมรับคือ การที่วารสาร “PKRU SciTech” ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้รับการจัดอยู่ในกลุ่ม TCI1 ศิลปะและวัฒนธรรมมีผลต่อการดำเนินชีวิตของกลุ่มสังคมที่ชี้ให้เห็นถึง วิถีการดำเนินชีวิตและความดีงามของสังคม การทำนุศิลปวัฒนธรรมกับบทบาทของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นสิ่งที่บูรณาการกันอย่างชัดเจน ตัวอย่างที่น่าภาคภูมิใจ ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านทำนุศิลปวัฒนธรรมที่ก่อให้เกิดผลคือ
(City of Gastronomy) ซึ่งเป็นหนึ่งใน 18 เมืองทั่วโลก รวมทั้งเป็นเมืองแรกของประเทศไทยและของอาเซียน ซึ่งฟันเฟืองหนึ่งในความสำเร็จ 43 ความสำเร็จที่โดดเดนดานการบริการวิชาการ ความสำเร็จที่โดดเดนดานการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้มีการสร้างช่องทางในการเผยแพร
และเทคโนโลยีได้เข้าร่วมจัดนิทรรศการอาหารพื้นเมืองภูเก็ตในการรับเสด็จในครั้งนี้ด้วย
ความสำเร็จที่โดดเดนดานการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม และเทคโนโลยีนั้นไม่ได้มีเพียงแต่ด้านอาหารความโดดเด่นทางด้านการทำนุศิลปวัฒนธรรมของคณะวิทยาศาสตร์
นี้คือ “หลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ต” ที่ได้ร่วมทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมอาหารพื้นเมืองภูเก็ต เช่น หมี่ผัดฮกเกี้ยน กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำเนินมายัง มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ในโอกาสนี้หลักสูตรคหกรรมศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
44
แต่ยังรวมถึงการทำนุศิลปวัฒนธรรม
ทองเจือ อาจารย ประจำหลักสูตรเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม ร่วมกับทีมวิจัยจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ทำวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ขับเคลื่อนนำ เสนอแนวทางอนุรักษ์ตัวบ้านบ้านโบราณในจังหวัดภูเก็ต โดยจัดทำภาพจำลอง 3 มิติ
ทางด้านสถาปัตยกรรม ตัวอย่างเช่น ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ศิวพงศ์
ที่ผ่านมาเราได้สร้างตัวตน
ตามขอบเขตวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ดังที่ได้นำเสนอความโดดเด่น ในแต่ละด้านในข้างต้น และจะสร้าง
ตัวตนต่อไปตามพันธกิจของคณะฯ ที่กำหนดไว้ว่า “การผลิตบัณฑิต การวิจัย การบริการวิชาการ การทำน บำรุงศิลปวัฒนธรรม สร้าง องค์ความรู้
45 ความสำเร็จที่โดดเดนดานการทำนุบำรุงศิลป วัฒนธรรม และโมเดลหุ่นจำลอง พร้อมทั้งจัดนิทรรศการแหล่งเรียนรู้ “บ้านโบราณภูเก็ต” จนได้ รับรางวัลระดับชาติ ตัวอย่างเช่น บ้านยิ่นเต่ง อ.กะทู้ จ.ภูเก็ต ได้รับรางวัล งานอนุรักษ์ มรดกทางสถาปัตยกรรมและชุมชน ระดับสมควรได้รับการเผยแพร่ (ประเภท ก.) ประจำปี 2565 มอบโดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (The Association of Siamese Architects) ติด TOP 10 ของประเทศไทย รับรางวัลพระราชทานจาก สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ
สยามบรมราชกุมาร
ด้านวิทยาศาสตร และเทคโนโลยีเพื่อ ถ่ายทอดนวัตกรรมสู่ ท้องถิ่นอันดามัน” เพื่อบรรลุ วิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ว่า “ผลิตบัณฑิต เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถ่ายทอด นวัตกรรมเพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งสู่ชุมชน”
สรางตัวตน ผานเยาวชน “คนตงหอ” โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตเริ่มเปิดสอนในระดับปฐมวัย ครั้งแรก เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2541 โดยมีจุดเน้นในการจัดการศึกษาคือ การเตรียมความพร้อมทั้งด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา รวมทั้งการนำนวัตกรรมการเรียนการสอนตามแนวทางธรรมชาติของวอลดอร์ฟ (Waldorf Education) และการสอนแบบโครงการ (Project Approach) มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอน ต่อมาในปี พ.ศ. 2556 ขยายการจัดการเรียน การสอนในระดับประถมศึกษา และในปี 2559 เปิดสอนในระดับระดับมัธยมศึกษา ตามลำดับ จนกระทั่งปี พ.ศ. 2563 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตได้ม การปฏิรูปโรงเรียนในทุกมิติเพื่อยกระดับคุณภาพโรงเรียนให้มีมาตรฐานในทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านงานวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษา งานอาคารสถานที่ งานกิจการ นักเรียน มีการการพัฒนาระเบียบว่าด้วยกิจการนักเรียน ระบบงานทะเบียน งานแผนงาน และงบประมาณ งานการเงิน ให้เทียบเท่ากับโรงเรียนมาตรฐานทั่วไปเพื่อเป็นฐาน สรางตัวตน เยาวชน “คนตงหอ”
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ตเป็นโรงเรียนชั้นแนวหน้าของจังหวัดภูเก็ตที่พร้อมก้าวขึ้น
ด้วยการพัฒนากาย
การบริหารงานของโรงเรียนมีระบบโครงสร้างการบริหารงานของงาน แต่ละฝ่ายอย่างเป็นระบบที่ชัดเจน ซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาคุณภาพของคร และนักเรียน การจัดการศึกษาในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัย ราชภัฏภูเก็ตมีผลงานและได้รับรางวัลในระดับต่าง
เป็นโรงเรียนชั้นนำของภาคใต้ฝั่งอันดามัน การจัดการศึกษาในโรงเรียนมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาเด็กไปสู่ความเป็น มนุษย์ที่สมบูรณ์
จิต และจิตวิญญาณให้บรรลุถึงความดี ความงาม ความจริง การจัดการเรียนการสอนด้วยนวัตกรรม วอลดอร์ฟ ในระดับ ปฐมวัยไม่ได้วัดความสำเร็จของการศึกษาจากผลการเรียนรู้ แต่มุ่งดึงศักยภาพ ทำให้เด็กมีอิสระ สามารถพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพที่มีและในระดับปฐมวัย 48 ผลงานของโรงเรียน เปดเลนสสองกลองกับ 4 ความภาคภูมิใจ ซึ่งเปน 4 Smart ของโรงเรียน 1. Smart Curriculum and Instructions
ๆ ซึ่งถือได้ว่าโรงเรียนสาธิต
(Project Approach) เพื่อให้เด็กมีทักษะกระบวนการคิด
การสอนผ่านการบูรณาการโครงงานเป็นฐานเป็นนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน
ที่ได้รับการรับรองจากคณะกรรมการสถานศึกษาและคณะกรรมการอำนวยการโรงเรียน ได้แก่
ทั้งนี้
การศึกษาของโรงเรียนได้รับการประเมินจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกมิติเพื่อปรับเปลี่ยน
ยังมีการจัดการเรียนการสอนด้วยกิจกรรมหลัก
และบูรณาการการสอน ด้วยนวัตกรรมวอลดอร์ฟ
การสอนแบบโครงการ
มุ่งให้เด็กคิดเป็นขั้นตอน แก้ปัญหาเป็น เติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ การจัดการเรียน
6 กิจกรรม
การพัฒนาทักษะสมองส่วนหน้า (EF) และการจัดการเรียน
ที่โดดเด่นของโรงเรียนสาธิตฯ ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยผ่านการทำงานร่วมกันอย่างเข้มข้นระหว่างครูประจำการของโรงเรียนกับคณาจารย
ทำให้โรงเรียนสาธิตฯ เป็นสถานศึกษาแห่งแรกในจังหวัดภูเก็ตที่มีคณาจารย์ของมหาวิทยาลัย ฯ เข้ามา จัดการเรียนการสอนและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับคณะครูเพื่อประโยชน์สูงสุดกับ นักเรียน โดยปัจจุบันในระดับมัธยมศึกษา
และหลักสูตร English Chinese Program สำหรับ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาปีที่ 4 ขึ้นไป และเรายังวางเป้าหมายในการพัฒนาหลักสูตร แบบ 2 ภาษาในทุกระดับในอนาคตอันใกล้เพื่อตอบรับกับการเป็นเมืองท่องเที่ยวและ จุดหมายปลายทางของนักท่องเทียวทั่วโลก
จากคณะต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิในท้องถิ่น
โรงเรียนมีหลักสูตรการศึกษา 4 แผนการเรียน
หลักสูตร Sciences Maths English and Technology สำหรับการศึกษา ภาคบังคับถึงการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ในช่วงสิ้นปีการศึกษา หลักสูตร
พัฒนาให้เท่าทันกับโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว 49 เปดเลนสสองกลองกับ 4 ความภาคภูมิใจ ซึ่งเปน
Smart ของโรงเรียน 1.Smart Curriculum and Instructions
4
2.
มหาวิทยาลัยฯ และการศึกษาต่อ เป็นต้น ต่อยอดองค์ความรู้ของครูด้วยกระบวน การวิจัยในชั้นเรียนที่เน้นการวิจัยและพัฒนา (R&D) โดยในปีการศึกษาที่ผ่านมา ครูประจำการของโรงเรียนริเริ่มทำวิจัยในชั้นเรียนคิดเป็นอัตราร้อยละ 90 ภายใต้ การแนะนำโดยคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญจากคณะครุศาสตร์
"หัวใจสำคัญของครูคือการสอน หัวใจของการสอนคือนักเรียน" ความตระหนักรู้ที่ดังก้องกังวานอยู่ในใจคณะครูโรงเรียนสาธิตฯ ทำให้ครูและอาจารย์ มีการเตรียมความพร้อมก่อนการจัดการเรียนการสอน เช่น ในระดับปฐมวัย คุณครู เน้นการใช้สื่อจากธรรมชาติ เช่น ลูกต้นตีนเป็ด พระเจ้า 5 องค์ ลูกสะบ้า ถ้วยจานไม และเป็นการสอนที่เน้นให้เด็กได้ลงมือปฏิบัติจริง คุณครูและบุคลากรทุกคนภายใน โรงเรียนมีจิตวิญญาณความเป็นครูดูแลเด็กทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน และเปิดโอกาส ให้กับเด็กกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษสามารถเรียนรวมกับเด็กทั่วไปได้ เพื่อสร้าง ความเท่าเทียมทางการศึกษา การได้รับการนิเทศและแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ผ่านชุมชนวิชาชีพ (PLC) อย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ ไม่เพียง เท่านั้น ครูโรงเรียนสาธิตฯ ยังออกแบบโครงการค่ายต่าง ๆ มากมายที่ส่งเสริมสมรรถนะ ให้กับนักเรียน ไม่ว่าจะเป็นค่ายบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และเทคโนโลยี ค่ายเปิดโลกภาษาและวัฒนธรรมจีน ค่ายเตรียมความพร้อมเข้าสู่
มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และจุดเด่นของโรงเรียนในปัจจุบันคือ ครูในโรงเรียนไม่ได้เพียงแค่สอนเฉพาะ ในห้องเรียน แต่ยังสร้างระบบช่วยเหลือนักเรียน (Students support system) อย่างรอบด้าน อาทิ ปัญหาการเรียน ปัญหาสุขภาพ ปัญหาสุขภาวะทางใจ และ เปดเลนสสองกลองกับ
ความภาคภูมิใจ ซึ่งเปน 4 Smart ของโรงเรียน
4
Smart Teachers
เปดเลนสสองกลองกับ 4 ความภาคภูมิใจ ซึ่งเปน 4 Smart ของโรงเรียน
S-CHECK
PKRU ซึ่งเป็นเว็บแอปพลิเคชันที่ทางโรงเรียนจัดทำขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับ ผู้ปกครองในการเป็นครูปลายทางเพื่อติดตามการทำงานของนักเรียนอีกทางหนึ่ง นอกจากจะช่วยอำนวยความสะดวกให้กับผู้ปกครองที่ติดตามภาระงานนักเรียนได้แล้ว ยังอำนวยความสะดวกให้กับนักเรียนที่ขาดเรียนสามารถติดตามการเรียนการสอน ในวันนั้น ๆ และสามารถทำงานหรือกิจกรรมเทียบเท่าเพื่อนที่มาโรงเรียนได้อีกด้วย อีกทั้งยังมีการนำสื่อเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน เพื่อให้กระบวน การเรียนการสอนของนักเรียนมีความเข้าใจได้มากขึ้น มีการนำเทคโนโลยีความเป็นจริง เสริมเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการเรียนในรายวิชาที่ต้องให้นักเรียนได้เรียนรู้และฝึกทักษะ
ด้วยความมุ่งมั่นในการพัฒนาคุณภาพนักเรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้สนับสนุนการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกร่วมกันระหว่างมหาวิทยาลัยกับโรงเรียน และสนับสนุนให้โรงเรียนมีห้องเรียนที่มีอุปกรณ์ต่าง
อุปกรณ์จออัจฉริยะและเครื่องฉายที่พร้อมใช้งาน รวมไปถึงห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ และห้องปฏิบัติการด้านภาษา ทั้งในส่วนที่อยู่ในโรงเรียน และในมหาวิทยาลัย ฯ ที่นักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ทุกระดับสามารถเข้าไปใช้ได้ตลอด ปีการศึกษา นอกจากนี้
ๆครบถ้วนและมีคุณภาพ ห้องเรียนทุกห้องมีเครื่องปรับอากาศที่ช่วยสร้างบรรยากาศชั้นเรียนที่เอื้อต่อการเรียนร
ยังมีการนำเทคโนโลยีเข้ามาบริหารจัดการชั้นเรียน มีการจัด ทำเว็บแอปพลิเคชันเข้ามาใช้ในการตรวจสอบภาระงานของนักเรียนภายใน
3. Smart Classroom and Facilities
4 Smart
3. Smart Classroom and Facilities
โลกของนักเรียนจึงไม่จำกัดแค่ในรั้วของโรงเรียนเท่านั้น แต่โลกของเขา จะกว้างใหญ่ขึ้นเพื่อฝึกการใช้ชีวิตจริง ในทุก ๆ ด้าน ภายใต้คำแนะนำของ Smart teachers ของโรงเรียนสาธิตฯ ดังคำกล่าวที่ว่า "To broaden students horizon, we provide them the opportunities to learn as global citizens in the global community" เพื่อให้โลกทัศน์ของนักเรียนกว้างขึ้น โรงเรียนจึงให้โอกาสนักเรียน ได้เรียนรู้สิ่งต่าง ๆ นอกห้องเรียนในฐานะพลเมืองโลกในสังคมนอกห้องเรียน เช่น การศึกษาในระดับปฐมวัยห้องเรียนของเด็ก มิใช่เฉพาะห้องสี่เหลี่ยม แต่เด็ก ๆ ได้ออก ไปเรียนรู้บริบทชุมชมภายในจังหวัดภูเก็ต แหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ ของจังหวัด สถานที่ ท่องเที่ยว สนามบิน ชายทะเล และศูนย์การเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้เด็กได้เห็นและตระหนัก ถึงความสำคัญความเป็นท้องถิ่นของตนเอง 52 เปดเลนสสองกลองกับ 4 ความภาคภูมิใจ ซึ่งเปน
ของโรงเรียน
4 ความภาคภูมิใจ
4 Smart ของโรงเรียน
4. Smart Students
คณะครูและนักเรียนเทิดไว้เหนือเกล้าเหนือกระหม่อมและ เป็นรางวัลที่สะท้อนถึงความเป็นคนของพระราชา ข้าของแผ่นดินของมหาวิทยาลัย ฯ อย่างเป็นรูปธรรม
หัวใจของการศึกษา หัวใจของคนเป็นครูและหัวใจของการพัฒนา คือ การพัฒนานักเรียนให้สอดคล้องตามศักยภาพของแต่ละช่วงวัย ซึ่งในระดับปฐมวัยนั้น นักเรียนมีคุณลักษณะเป็นผู้ที่มีความกล้าคิด กล้าแสดงออก มั่นใจในตนเอง และ ใฝ่เรียนรู้ ทำให้ในช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ผลงานของนักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ก้าวขึ้นส ระดับ Top Schools ของจังหวัดภูเก็ต ดังนี้ 1) นักเรียนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต ได้รับทุนพระราชทานมูลนิธิทุนการศึกษาพระราชทานสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร (ม.ท.ศ.) รุ่นที่ 14 ประจำปีการศึกษา 2565 เป็นครั้งแรก จาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ณ สวนจิตลดา พระราชวังดุสิต ซึ่งเป็นรางวัลอันทรง เกียรติที่คณะผู้บริหาร
2) นักเรียนระดับมัธยมศึกษาของโรงเรียนสาธิตร้อยละ 70 ผ่านเข้าศึกษา ต่อในมหาวิทยาลัยชั้นนำของประเทศ เช่น จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นต้น 3) ผลงานวิจัยที่เผยแพร่ในระดับนานาชาติในงาน 24th Junior Session of Astronomical Society of Japan รูปแบบออนไลน์ จัดโดยสมาคมดาราศาสตร์ แห่งประเทศญี่ปุ่นของนักเรียนห้องโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา และ เทคโนโลยี รุ่นที่ 3 และการผ่านเข้าสู่โครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมหรือ AFS ของนักเรียนห้องโครงการภาษาอังกฤษและภาษาจีน รุ่นที่ 1 4) รางวัลชนะเลิศ 4 เหรียญทองในการประกวดร้องเพลงและโปรแกรม GSP ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นระดับภาค ในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนครั้งที่ 70 ที่จังหวัดสตูล 5) นักเรียนโรงเรียนสาธิตฯ ทุกระดับมีคะแนนสอบ O-NET สูงกว่าระดับ ประเทศและระดับจังหวัดในทุกกลุ่มสาระวิชา และยังมีผลงานความเป็นเลิศด้านกีฬา ด้านภาษา ด้านเทคโนโลยี 53 เปดเลนสสองกลองกับ
ซึ่งเปน
ภาพในอนาคต
โรงเรียนสาธิตฯ เป็นโรงเรียนต้นแบบด้านการศึกษาในฝั่งอันดามัน และ เป็นโรงเรียนในฝันของนักเรียนและผู้ปกครองทุกคน ยกระดับความสามารถของครู สร้าง Career path ส่งเสริมให้ครูเลื่อนวิทยฐานะ สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย ต่อการเรียนรู้ของนักเรียนให้มากขึ้น ไม่หยุดการพัฒนาและพัฒนาให้โรงเรียนสาธิตฯ เป็นโรงเรียนคุณภาพที่ผลิตพลเมืองคุณภาพหรือวิศวกรสังคมให้กับสังคมภายใต วิสัยทัศน "มุ่งมั่นพัฒนาให้นักเรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก มีความเป็นเลิศ ทางวิชาการ สื่อสารได้อย่างน้อยสองภาษา ล้ำหน้าทางความคิด
54
ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์ และร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก"