Effects of Generalized System of Preferences of Processed Shrimp Industry in European Union

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุ้ง แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป Effects of Generalized System of Preferences of Processed Shrimp Industry in European Union

โดย นางสาวเกศรา นางสาวพรรณนภา นางสาวนพชนก นางสาวอิงอร

สง่ากอง ตาลกุล อนิลบล สําอางค์

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


ปัญหาพิเศษ โดย นางสาวเกศรา

สง่ากอง

รหัสนิสิต 5230160063

นางสาวพรรณนภา

ตาลกุล

รหัสนิสิต 5230160497

นางสาวนพชนก

อนิลบล

รหัสนิสิต 5230161191

นางสาวอิงอร

สําอางค์

รหัสนิสิต 5230161591

เรื่ อง ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป Effects of Generalized System of Preferences of Processed Shrimp Industry in European Union

ได้รับการตรวจสอบและอนุมตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2556 อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ

______________________________ (อาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์)

อาจารย์ผปู ้ ระสานงานรายวิชา

___________________________ (ผูช้ ่วยศาสตราจารย์พชั นิจ เนาวพันธ์)


รายงานผลการศึกษารายวิชาปั ญหาพิเศษ ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป Effects of Generalized System of Preferences of Processed Shrimp Industry in European Union

โดย นางสาวเกศรา

สง่ากอง

นางสาวพรรณนภา

ตาลกุล

นางสาวนพชนก

อนิลบล

นางสาวอิงอร

สําอางค์

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1)

กิตติกรรมประกาศ ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปใน กลุ่มประเทศสหภาพยุโรปฉบับนี้ ได้มาจากการศึกษาข้อมูล การสื บค้นข้อมูล การอ่านและวิเคราะห์จาก การศึกษา ส่ งผลให้คณะผูจ้ ดั ทําได้รับความรู ้เรื่ องปั ญหาที่เกิดขึ้นจากการตัดสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป รายงานฉบับนี้เกิดขึ้นได้เนื่องจากการได้รับการสนับสนุนและความร่ วมมือจากอาจารย์ และเพื่อนๆ คณะผูจ้ ดั ทําประทับใจและขอขอบพระคุณในการสนับสนุนและความร่ วมมือของทุกคนมาดังนี้ ขอขอบคุ ณ อาจารย์ประไพพิ ศ สวัสดิ์ รั มย์ ที่ ช่ วยถ่ ายทอดวิ ชาความรู ้ แก่ คณะผูจ้ ัดทํา ได้ให้ คําปรึ กษา ข้อชี้แนะ และคอยให้ความช่วยเหลือในหลายสิ่ งหลายอย่างจนกระทัง่ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี ขอขอบคุณ เพื่อนๆ นิ สิต ที่ช่วยเป็ นที่ปรึ กษาและให้การสนับสนุนในเรื่ องต่างๆ รวมถึงกําลังใจ ซึ่ ง ทําให้การจัดทํารายงานการศึกษาฉบับนี้สาํ เร็ จ สุ ดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ บิดา มารดา ของคณะผูจ้ ดั ทําที่ได้มอบชีวิต การศึกษาและอนาคตที่ดี ให้แก่คณะผูจ้ ดั ทํา รวมถึงสมาชิกในครอบครัวทุกคนที่ให้ความช่วยเหลือและกําลังใจกับคณะผูจ้ ดั ทํา ตลอดมา รวมทั้งกลุ่มผูอ้ ยู่เบื้องหลังความสําเร็ จของงานอีกมากมาย ซึ่ งคณะผูจ้ ดั ทําก็ขอขอบคุณมา ณ ที่น้ ีดว้ ย คุณค่าและประโยชน์อนั พึงมีจากรายงานฉบับนี้คณะผูจ้ ดั ทําขอมอบแด่ผมู ้ ีพระคุณทุกท่าน คณะผูจ้ ดั ทํา 28 กุมภาพันธ์ 2556


(2)

คํานํา รายงานเล่มนี้ “ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของ อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป” เป็ นส่ วนหนึ่งของวิชา ปั ญหาพิเศษ ชั้นปี ที่4 โดยมีวตั ถุประสงค์ เพื่อศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) และเพื่อศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป ซึ่งในเล่มนี้ มีเนื้ อหาเกี่ยวกับ ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปที่ได้กล่าวไว้ในแต่บท ผูจ้ ดั ทําจึงได้ เลือกหัวข้อนี้ เนื่องจากเป็ นเรื่ องที่น่าสนใจ ณ ขณะ รวมทั้งเป็ นการส่ งเสริ มและเผยแพร่ ขอ้ มูลต่างๆ ในการจัดทํารายงานฉบับนี้ ผูจ้ ดั ทําขอขอบคุณอาจารย์ประไพพิศ สวัสดิ์รัมย์ ที่ช่วยถ่ายทอด วิชาความรู ้ แก่ คณะผูจ้ ดั ทํา ได้ให้คาํ ปรึ กษา ข้อชี้ แนะ และคอยให้ความช่ วยเหลื อในหลายสิ่ งหลายอย่าง จนกระทัง่ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เพื่อนๆนิ สิตที่ช่วยเป็ นที่ปรึ กษาและให้การสนับสนุ นในเรื่ องต่างๆ รวมถึง กําลังใจ ซึ่งทําให้การจัดทํารายงานการศึกษาฉบับนี้สาํ เร็ จ ผูจ้ ดั ทําหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู ้ และเป็ น ประโยชน์แก่ผอู ้ ่านทุกๆ ท่าน

คณะผูจ้ ดั ทํา


(3)

บทคัดย่ อ ปั ญหาพิเศษ เรื่ อง ศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของ อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป เพื่อศึกษาถึงตั้งแต่หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป และศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบ พิเ ศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป โดยมี วิ ธีก ารศึ ก ษาจากบทบัญ ญัติ ข องกฎหมายไทยจาก ประมวลรั ษฎากร พระราชกฤษฎี กา ประกาศจากกรมการค้า กระทรวงพาณิ ชย์ คําสั่งกระทรวง พาณิ ชย์ วิ ทยานิ พนธ์ งานวิ จยั วารสารและหนังสื ออื่ น ๆที่ เ กี่ ยวข้อง เพื่อนําข้อมูลที่ ไ ด้มาศึ กษา วิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการแก้ไขในปั ญหาจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มประเทศสหภาพยุโรป ผลการศึกษาพบว่า ก่ อนหน้านี้ ประเทศไทยได้รับสิ ทธิ ฯ คือ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป (General Arrangement) คือ ในอุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ ของประเทศไทยเราจากที่ตอ้ ง เสี ยอัตราภาษีร้อยละ20 เมื่อได้รับสิ ทธิ ฯรู ปแบบนี้ น้ ี จึงสามารถเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ4.2 แต่ ณ ปั จ จุ บนั เมื่ อสหภาพยุโรปประกาศหลัก เกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิ เศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) ฉบับใหม่ข้ ึนมา และธนาคารโลกได้จดั ลําดับให้ ประเทศไทยเป็ นประเทศที่มีรายได้อยู่ระด้บปานกลางค่อนข้างสู ง ประเทศไทยเราจึงถูกตัดสิ ทธิ ฯ ตามหลักเกณฑ์คุณสมบัติตอ้ งห้ามที่สหภาพยุโรปได้กาํ หนดไว้ จากการที่สหภาพยุโรปได้ประกาศ หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) ฉบับใหม่ในครั้งนี้ ส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ ของประเทศไทยในสหภาพยุโรป เป็ นอย่างมาก และผลกระทบที่เกิดขึ้นต่ออุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปจากการได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) นั้น เกิดผลกระทบทั้งทางด้านบวกและในด้านลบแก่อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปของไทย ในส่ วนของด้านบวกนั้น คือ ด้านการตลาด ด้านการค้าระหว่างประเทศ ด้านอัตรา ภาษี ด้านการผลิตด้านผูป้ ระกอบการ และด้านการส่ งออก สําหรั บผลกระทบทางด้านลบ คือ คู่ แข่งขัน และด้วยอุตสาหกรรมต่างๆยังได้รับผลกระทบจากภัย ด้านธรรมชาติ ค่าแรงที่เพิ่มสู งขึ้น ยิง่ ส่ งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น ทําให้ราคาของสิ นค้าที่ผลิตในประเทศไทยมีราคาสู งขึ้น ตามไปด้วย


(4)

สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ คํานํา บทคัดย่ อ สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง

(1) (2) (3) (4) (6) (7)

บทที่ 1 บทนํา ที่มาและความสําคัญ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษาค้นคว้า ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ นิยามศัพท์ กรอบแนวคิด

1 3 3 3 3 4 4

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง ความมัน่ คงทางอาหาร ความสําคัญของความมัน่ คงทางอาหาร สถานการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย สาเหตุความไม่มนั่ คงทางอาหารของประเทศไทย ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่มนั่ คงทางอาหาร การพัฒนาที่ยงั่ ยืน หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักการพึ่งพาตนเอง แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

6 9 11 18 19 21 33 36 38


(5)

สารบัญ (ต่อ) งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

หน้ า 58

บทที่ 3 ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับสหภาพยุโรป ความเป็ นมา สถานะและความสําคัญของสหภาพยุโรป ข้อมูลทัว่ ไปเกี่ยวกับสหภาพยุโรป นโยบาย วัตถุประสงค์ ความสัมพันธ์กบั ต่างประเทศ สหภาพยุโรป กับประเทศในแถบเอเชีย ประเทศไทยและสหภาพยุโรป

63 65 65 66 66 67 67

บทที่ 4 ความรู้ ทวั่ ไปเกีย่ วกับอุตสาหกรรมกุ้ง อุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ ในประเทศไทย อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลในสหภาพยุโรป อุตสาหกรรมแปรรู ประหว่างประเทศไทยและสหภาพยุโรป

69 73 78

บทที่ 5 ผลการวิจัย หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษ ทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

85 93

บทที่ 6 บทสรุปและข้ อเสนอแนะ บทสรุ ป ข้อเสนอแนะ

105 107

บรรณานุกรม

108


(6)

สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่

2-1 แสดงถึงความสัมพันธ์ของมิติต่างๆอย่างสมดุลเพื่อนําไป สู่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน

24

4-1 แสดงกุง้ ขาวแวนนาไม

70

4-2 แสดงกุง้ กุลาดํา

71


(7)

สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่

2-1 แสดงประเทศที่เข้าร่ วมโครงการระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

39

2-2 แสดงกลุ่มสิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

42

2-3 แสดงข้อสรุ ปข้อแตกต่างของระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปสหภาพยุโรป ปี 2554 และปี 2555

57

4-1 แสดงตลาดส่ งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็งและแปรรู ปไทย

72

5-1 แสดงประมาณการผลผลิตกุง้ ปี 2548-2554

94

5-2 แสดงการนําเข้าสิ นค้ากุง้ ของโลก

95

5-3 แสดงมูลค่าการนําเข้าสิ นค้าประเภทครัสเตเชียของคู่คา้ ที่ สําคัญของไทย

102


บทที่ 1 บทนํา ทีม่ าและความสํ าคัญ ประเทศไทยถือเป็ นผูน้ าํ ทางด้านการผลิตกุง้ แปรรู ป และเป็ นผูส้ ่ งออกกุง้ แปรรู ปที่สําคัญ ของโลก กุง้ แปรรู ปเป็ นสิ นค้าที่ได้รับความนิ ยมอย่างสู ง และยังเป็ นสิ นค้าที่มีความต้องการเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่ อง การส่ งออกกุง้ ไทยมีความได้เปรี ยบจากการที่ประเทศผูผ้ ลิตกุง้ สําคัญของโลก เช่น อินโดนีเซีย เวียดนาม และจีน ซึ่งประสบกับปัญหาที่ส่งผลกระทบทําให้การผลิตและส่ งออกกุง้ แปร รู ปหยุดชะงักไม่ว่าจะเป็ นจากภัยธรรมชาติ สภาพอากาศแปรปรวน โรคระบาด เหตุการณ์น้ าํ มัน รั่วไหล และอีกมากมาย ทําให้อุปทานของกุง้ แปรรู ปของโลกลดน้อยลง ส่ งผลเชิ งบวกต่อการ ส่ งออกกุง้ ของไทยให้ขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง ราคาส่ งออกกุง้ ของไทยในตลาดหลักสามารถปรับ ราคาสู งขึ้น ในขณะเดียวกันต้นทุนในการผลิตกุง้ แปรรู ปของไทยมีตน้ ทุนที่ต่าํ กว่า จึงทําให้มีการ เพิ่มขึ้นของอุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ เพิ่มมากขึ้น แต่ในช่วงระยะหนึ่งปี ที่ผา่ นมา การส่ งออกกุง้ แปรรู ปของไทยได้รับผลกระทบเช่นเดียวกัน ในช่ วงต้นปี อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปได้รับผลกระทบจากการเกิ ดอุทกภัยในจังหวัดภาคใต้ซ่ ึ งเป็ น แหล่งเพาะเลี้ยงกุง้ ที่ใหญ่ที่สุด ร้อยละ60 ของอุตสาหกรรม ( วารสารสมาคมอาหารแช่เยือกแข็งไทย , 2555 ) ทําให้ไม่สามารถเพาะพันธุ์กุง้ ได้ในประมาณที่ตอ้ งการ หลังจากนั้นในปลายปี 2554 เกิด มหาอุทกภัยครั้ งยิ่งใหญ่ที่สุดในรอบหลายสิ บปี ในจังหวัดภาคกลางส่ งผลกระทบต่อการขนส่ ง วัต ถุ ดิ บ ทํา ให้ ก ารแปรรู ป กุ้ง ของประเทศไทยหยุ ด ชะงัก ไปชั่ว คราว แต่ ถึ ง อย่ า งไรก็ ต ามใน อุ ตสาหกรรมก็ยงั คงการผลิ ตไว้ในประมาณเท่าเดิ ม เพื่อตอบสนองต่ ออุปสงค์ของตลาดโลกที่ เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ส่ งผลให้คุณภาพของการผลิตของไทยในภาพรวมลดตํ่าลงเช่นเดียวกัน ไม่ว่า จะเป็ นด้านความปลอดภัยของอาหาร ที่มีการใช้สารเคมีในการเลี้ยงเพื่อเร่ งการโตของกุง้ หรื อการ รักษาความสดของกุง้ หรื อด้านราคาของกุง้ ที่มีราคาเพิ่มสู งขึ้น ซึ่ งการที่คุณภาพของสิ นค้าตํ่าลงนั้น ส่ งผลกระทบต่อการส่ งออกด้วยเช่นกัน


2

ในประเทศผูน้ ําเข้ากุ้งที่ สําคัญของไทย เช่ น สหภาพยุโรป(EU), สมาคมการค้าเสรี แห่ ง ยุโรป (EFTA) , สหรัฐอเมริ กา เป็ นต้น ได้ต้ งั ระเบียบการนําเข้าอาหารเช่น การให้สิทธิ พิเศษทาง ศุลกากร (GSP) , สิ่ งแวดล้อม , มาตรฐานด้านอนามัยและความปลอดภัย ซึ่ งมาตรฐานต่างๆที่กล่าว มานั้นจะพิจารณาทั้งกระบวนการผลิต การแปรรู ปผลิตภัณฑ์ การคัดสรรวัตถุดิบที่มีความปลอดภัย ที่จะนําไปสู่ ผลิตภัณฑ์สัตว์น้ าํ ที่มีคุณภาพและปลอดภัยสําหรับผูบ้ ริ โภค ซึ่ งในส่ วนนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ ง ที่ในหลายๆประเทศมักจะนํามาใช้เป็ นเครื่ องมือเพื่อการกีดกันทางการค้ามากขึ้นในเวทีการค้าโลก ในปี นี้ พ.ศ. 2555 ประเทศไทยต้องเผชิ ญกับปั ญหาทางการค้า เนื่ องจากสหภาพยุโรป ประกาศปรั บเปลี่ ยนเกณฑ์การให้สิทธิ พิเศษทางศุ ลกากร (GSP) ระบบใหม่ ซึ่ งกระทบต่ อการ ส่ งออกของไทย ปี 2555/2556 ที่สินค้าไทยประมาณ 57 รายการจะไม่ได้รับสิ ทธิ์ GSP อีกต่อไป (อียูตดั สิ ทธิ GSPไทยกระทบ57สิ นค้า, 2555) ตามเงื่อนไขรายได้ต่อหัวของประชากรไทยที่สูงขึ้น และไทยส่ งออกสิ นค้าเกินเพดานกําหนด ซึ่ งสิ นค้ากุง้ ติดหนึ่ งใน 57 รายการ ที่จะถูกตัดสิ ทธิ์ GSP ทั้งหมด ด้วยเหตุผลที่ว่า การที่ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยมีระดับเกินกว่ากลุ่มของประเทศที่ กําลังพัฒนาไปแล้ว ทําให้เกิ ดผลกระทบต่อการส่ งออกของประเทศไทยอย่างรุ นแรงและต่อเนื่ อง ส่ งผลให้ความสามารถในการส่ งออกกุง้ แปรรู ปของไทยลดลง ตลอดจนความมัน่ ใจในการบริ โภค สิ นค้าของผูบ้ ริ โภคทั้งในประเทศและทัว่ โลก ซึ่งนี่เป็ นอีกหนึ่งผลกระทบที่สาํ คัญของการส่ งออกกุง้ แปรรู ปของประเทศไทย และเนื่ องจากการที่สหภาพยุโรปมีมาตรการตรวจสอบคุณภาพสิ นค้ากุง้ แปรรู ป และการ ปรับเปลี่ยนเกณฑ์การให้สิทธิ พิเศษทางศุลกากร (GSP) จึงเป็ นที่มาของการศึกษาเปรี ยบเทียบ และ การวิเคราะห์ขอ้ ได้เปรี ยบและเสี ยเปรี ยบในอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปและการส่ งออกกุง้ แปรรู ป และ เพื่อศึกษาผลกระทบของการปรับเปลี่ยนเกณฑ์การให้สิทธิพิเศษทางศุลกากร (GSP) ที่มีต่อประเทศ ไทยอีกด้วย และด้วยเหตุน้ ี เองจึงทําให้ราคาของสิ นค้ามีการปรับตัวสู งขึ้นเนื่ องจากผลกระทบจากการ ตัดสิ ทธิ พิเศษศุลกากร ส่ งผลกระทบต่อการค้าทั้งของไทย และต่างประเทศ ส่ งผลกระทบต่อระบบ เศรษฐกิจ และสังคม รวมถึงวิกฤตการณ์อาหารอีกด้วย


3

วัตถุประสงค์ ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) 2. เพื่อศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป ขอบเขตของการศึกษา ในการศึกษาครั้ งนี้ จะทําการศึกษาถึ งหลักเกณฑ์ การเปรี ยบเทียบ ของระบบสิ ทธิ พิเศษ ทางการภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป รวมทั้งศึกษาถึงผลกระทบที่เกิ ดขึ้นภายในอุตสาหกรรมการ ส่ งออกกุง้ ไทยในปั จจุบนั วิธีการศึกษาและค้ นคว้ า ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากข้อมูลทุติยภูมิ (secondary data) ซึ่งได้จากการรวบรวมข้อมูลสถิติที่ พิ ม พ์เ ผยแพร่ ข องหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้อ ง เช่ น ตี พิ ม พ์ใ นนิ ต ยสาร วารสาร หรื อ ข้อ มู ล จากทาง อินเตอร์เน็ต เพื่อนําข้อมูลที่ได้มาศึกษาวิเคราะห์ หาข้อสรุ ป ข้อเสนอแนะและวิธีการแก้ไขในปั ญหา ที่เกิดขึ้นจากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของอุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป ประโยชน์ ทคี่ าดว่ าจะได้ รับ 1. ทําให้ทราบถึงหลักเกณฑ์ที่ใช้ในระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป 2. ทําให้ทราบถึงข้อแตกต่างของระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของ สมาคมการค้าแห่ งยุโรป 3. ทําให้ทราบถึงผลกระทบที่ใช้เป็ นข้อมูลในการป้ องกันของอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทย


4

นิยามศัพท์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทั่วไป (Generalised System of Preferences : GSP) หมายถึง สิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปที่ประเทศที่พฒั นาแล้วให้กบั สิ นค้าที่ผลิต ในประเทศที่กาํ ลังพัฒนา โดยลดหรื อยกเว้นภาษีขาเข้าแก่สินค้าที่อยูใ่ นกลุ่มได้รับสิ ทธิ อุตสาหกรรมกุ้ง หมายถึง กระบวนการแปรรู ป หรื อ การผลิตสิ่ งของจากกุง้ ให้เป็ นวัสดุ ใหม่ เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ โดยการใช้เครื่ องจักรหรื อแรงคน เพื่อให้ผลิตได้ครั้ง ละมาก ๆ จนสามารถนําไปขายเป็ นสิ นค้าได้การแยกประเภทอุตสาหกรรม สหภาพยุโรป (European Union : EU) หมายถึง องค์กรความร่ วมมือระหว่างประเทศ ซึ่งพัฒนามาจาก "กลุ่มประชาคมยุโรป" (European Community : EC) ที่ก่อตั้งขึ้นมา พ.ศ. 2500 ใน ปั จจุบนั ประเทศสมาชิ ก EU.

มี 16 ประเทศ มีสํานักงานใหญ่อยู่ที่กรุ งปรัสเซลล์ ประเทศ

เบลเยียม วัตถุประสงค์ของสหภาพยุโรป หรื อ EU คือ การสร้างความร่ วมมือระหว่างประเทศ สมาชิ ก ทั้งทางด้านเศรษฐกิ จและการเมื องระหว่างประเทศ ความร่ วมมื อทางเศรษฐกิ จจะเน้น นโยบายการค้าเสรี ภายในกลุ่ม เช่น ยกเลิกภาษีศุลกากร หรื อเก็บภาษีศุลกากรระหว่างประเทศ สมาชิ กในอัตราตํ่า ยกเลิกข้อจํากัด หรื อข้อกีดกันทางการค้าระหว่างกันให้แรงงานภายในกลุ่ม EU เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี ตลอดจนสร้างอํานาจต่อรองทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม เป็ นต้น ในปั จจุบนั สหภาพ(EU) ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 16 ประเทศ ได้แก่ เบลเยียม เดนมาร์ ก เยอรมนี กรี ซ ฝรั่งเศส ไอร์ แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบอร์ก อังกฤษ เนเธอร์ แลนด์ โปร์ ตุ เกส สเปน สวีเดน ฟิ นแลนด์ ออสเตรี ย และตุรกี กรอบแนวคิด ในการศึกษาครั้งนี้ จะทําการศึกษาถึงหลักเกณฑ์ของระบบสิ ทธิ พิเศษทางการภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป รวมทั้งศึกษาผลกระทบที่เกิดขึ้นภายในอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยในปั จจุบนั นั้น กําหนดให้ใช้ขอ้ มูลเกี่ ยวกับระบบสิ ทธิ พิเศษทางการภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปเป็ นตัวแปร


5

อิสระ(X) และกําหนดผลกระทบที่เกิดขึ้นภายในอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยทั้งด้านบวกและ ด้านลบเป็ นตัวแปรตาม(Y) ตัวแปรอิสระ(X)

ตัวแปรตาม(Y)

หลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษภาษี

ผลกระทบทางบวกของการได้ รับ

ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป

ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากร

1.หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปใหม่ (GSPใหม่) 2. คุณสมบัติตอ้ งห้ามของการได้รับ สิ ทธิตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษ ทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) 3. หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิสิทธิตาม หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) 4. หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิชวั่ คราว สําหรับสิ ทธิตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทั้ง 3 ประเภท 5. การมีผลบังคับใช้ของระบบสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ฉบับใหม่

เป็ นการทัว่ ไป(GSP) ใน อุตสาหกรรมกุ้งแปรรูป 1.ด้านการตลาด 2.ด้านการค้าระหว่างประเทศ 3.ด้านอัตราภาษี 4.ด้านการผลิต 5.ด้านผูป้ ระกอบการ 6.ด้านการส่ งออก ผลกระทบทางลบเมื่อได้ รับระบบ สิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป(GSP)ในอุตสาหกรรมกุ้งแปร รูป 1.คู่แข่ง


บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี และผลงานวิจัยทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาผลกระทบจากระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ของ อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปในกลุ่มสหภาพยุโรป ในครั้งนี้ จะทําการ ศึกษา ค้นคว้า เปรี ยบเทียบ ผลกระทบที่เกี่ยวข้องในด้านต่างๆ เพื่อนํามากําหนดเป็ นกรอบความคิดการดําเนินงานการศึกษา 1. แนวคิดความมัน่ คงทางอาหาร 2. แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป 3. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดความมั่นคงทางอาหาร หลังจากราคาพลังงานได้เพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่องมาเป็ นเวลาหลายปี ตอนนี้โลกกําลังเผชิญกับ ปั ญหาใหม่ ที่อาจจะรุ นแรงมากกว่า คือปัญหาราคาอาหารที่เพิ่มขึ้นอย่างมากมาย และอาจจะถึงขั้น ขาดแคลนอาหาร ทําให้เราต้องหันกลับมาพูดกัน ถึงเรื่ องความมัน่ คงทางอาหารอีกครั้งหนึ่งหลังจาก ที่การพูดถึงเรื่ องความมัน่ คงทางอาหาร ได้ห่างหายไปเป็ นเวลานาน สาเหตุที่ทาํ ให้ปัญหานี้กลับมาทวีความสําคัญมาจากปั จจัยต่างๆ จํานวนมาก เริ่ มตั้งแต่เป็ น ผลมาจากการเพิ่ ม ขึ้ น ของราคานํ้า มัน อย่า งต่ อ เนื่ อ งและรุ น แรง มี ผ ลทํา ให้มี ก ารเปลี่ ย นพื้ น ที่ เพาะปลู ก พื ช อาหาร ไปเป็ นพื ช พลัง งานเพิ่ ม ขึ้ น เพราะพื ช พลัง งานเหล่ า นั้น มี ร าคาเพิ่ ม สู ง ขึ้ น ขณะเดี ยวกันราคาพลังงานที่ เพิ่มสู งขึ้นก็ส่งผลกระทบต่อต้นทุน ในการผลิตของสิ นค้าทางด้าน เกษตรและอุตสาหกรรม การเปลี่ยนแปลงภาวะภูมิอากาศ หรื อที่เราเรี ยกกันสั้นๆ ว่า โลกร้อน ซึ่งมีผลกระทบต่อ สภาพภูมิอากาศ ทั้งฝนแล้ง และอุทกภัย พายุต่างๆ สารพัด ซึ่งกระทบต่อผลผลิตทางการเกษตร ซึ่ง แม้วา่ จะมีการพัฒนาเทคโนโลยีทางการเกษตรเพิม่ มากขึ้น แต่กย็ งั ต้องพึ่งธรรมชาติเป็ นด้านหลัก การสูญเสี ยพื้นที่เพาะปลูกให้กบั การพัฒนาเมืองและภาคอุตสาหกรรม ทําให้พ้ืนที่การเพาะปลูก


7

ลดลง การเติบโตของประชากรโลก ตลอดจนการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมาก ของประเทศที่มี ประชากรรวมกันเกือบครึ่ งโลก อย่างจีนและอินเดีย ปั จจัยเหล่านี้ลว้ นมีส่วนส่ งให้ราคาอาหาร เพิ่มขึ้นเป็ นอย่างมาก ผลกระทบที่มีต่อประเทศไทย ซึ่ งเป็ นประเทศที่ผลิตอาหารที่สําคัญแห่ งหนึ่ งของโลก มี หลายระดับ ในแง่ของผูผ้ ลิตเอง ดูเหมือนว่าจะได้ประโยชน์เพิ่มขึ้น เพราะสามารถขายผลผลิตได้ใน ราคาที่ สูงขึ้ น แต่ก็ข้ ึนอยู่กบั ว่าผลประโยชน์เหล่านั้นไปตกอยู่กบั ใคร ตกอยู่กับชาวนามากน้อย เพียงใด ตกอยูก่ บั โรงสี และผูส้ ่ งออกเป็ นจํานวนเท่าใด ส่ วนในด้านผูบ้ ริ โภคได้รับความเดือดร้อนอย่างแน่นอน แต่จะมากน้อยแค่ไหน อาจจะต้อง กล่าวว่าขึ้นอยูว่ า่ มีฐานะทางเศรษฐกิจอย่างไร คนจนย่อมต้องเดือดร้อนหนัก เพราะรายได้อาจจะไม่ เพิ่มขึ้นหรื อเพิม่ ขึ้นอย่างจํากัด ถ้าดูจากการขึ้นค่าจ้างขั้นตํ่าที่ผา่ นมา จะเห็นได้วา่ ขึ้นน้อยกว่าดัชนี เงินเฟ้ อที่เพิ่มขึ้น ซึ่งก็แสดงว่ารายได้ที่แท้จริ งของคนกลุ่มนี้ลดลง สําหรับบางประเทศ โดยเฉพาะประเทศยากจนที่ตอ้ งซื้ออาหารจากประเทศอื่น ได้รับ ผลกระทบหนักหน่วงรุ นแรงทีเดียว เช่นคนยากจนชาวเฮติจาํ นวนหนึ่งไม่มีเงินที่จะซื้ออาหารที่มี ราคาสู งรับประทานได้ ต้องหันมาบริ โภคคุกกี้ที่ทาํ มาจากดินเพื่อประทังความหิ วโหย ประเทศไทยเมื่อหลายปี ก่อนก็เคยเผชิญกับปัญหานี้มาก่อน เมื่อเด็กเล็กๆ ในครอบครัวที่ ยากจน ไม่มีอะไรจะกิน ก็กินดินแทน นํามาสู่โรคภัยสารพัด หรื อการประท้วง จลาจลในอีกหลายๆ ประเทศที่มีฐานะยากจน ที่เกี่ยวเนื่องกับวิกฤตทางด้านอาหาร มีขอ้ สรุ ปร่ วมกันว่าระดับการบริ โภคอาหารมีความสัมพันธ์กบั ความยากจน ไม่ใช่เรื่ อง ปริ มาณอาหารเพียงอย่างเดียว นัน่ หมายความว่าเมื่อเกิดวิกฤตราคาอาหารแพงขึ้น คนจนก็จะเป็ น กลุ่มแรกๆ ที่จะได้รับความเดือดร้อนอย่างหนัก เพราะแม้ในช่วงที่โลกไม่ได้เผชิญกับปั ญหาวิกฤต ทางด้านอาหารเหมือนปั จจุบนั ประชากรจํานวนไม่นอ้ ยกว่า 800 ล้านคน อยูใ่ นภาวะอดอยาก และ หิ วโหย และประเด็นปั ญหาไม่ได้อยูท่ ี่ เราไม่มีอาหารพอที่จะเลี้ยงคนทั้งโลกได้ แต่อยูท่ ี่คนยากจน เหล่านั้น ไม่มีเงินที่จะซื้ออาหาร ทั้งนี้ เป็ นผลมาจากการที่โลกไม่สามารถจะกระจาย ผลของการ พัฒนาไปสู่ประชากรโลกได้อย่างทัว่ ถึง มีการกระจุกอยูใ่ นมือของคนกลุ่มหนึ่งที่สามารถสะสม ความมัง่ คัง่ ไว้ได้ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีกลายเป็ นเครื่ องมือของประเทศพัฒนาแล้วที่จะดูด ทรัพยากรโลกมาอยู่ มาใช้อย่างฟุ่ มเฟื อยในประเทศของตนเองและเมื่อวิกฤตทางด้านอาหารมาเยือน


8

จํานวนผูค้ นที่อดอยากหิ วโหยจะเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ปัญหาเสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจ และ สังคมก็จะตามมา ความมัน่ คงทางอาหารในระดับประเทศคืออะไร องค์การอาหารโลกได้ให้ภาพรวมไว้ว่า หมายถึงการมีปริ มาณอาหารสําหรับบริ โภคภายในครอบครัว และชุมชน อย่างเพียงพอ ปลอดภัย และมีคุณภาพ ตลอดเวลาอย่างต่อเนื่ อง ซึ่ งในความหมายนี้ รวมถึงการมีระบบการจัดการผลผลิตที่ เกื้อหนุ นต่อความยัง่ ยืน และความมัน่ คงทางการผลิตทั้งที่ดิน นํ้า และทรัพยากรเพื่อการผลิตอื่นๆ และมี ร ะบบการกระจายผลผลิ ต ที่ เ ป็ นธรรม และเหมาะสมทั้ง ในระดับ ครั ว เรื อน ชุ ม ชน และ ประเทศ กลุ่มที่ศึกษาเกี่ยวกับเกษตรยัง่ ยืน ได้เสนอให้การทําเกษตรแบบยัง่ ยืน เป็ นการสร้างความ มัน่ คงทางด้านอาหาร ทั้งนี้ เพราะเกษตรแบบยัง่ ยืนให้ความสําคัญกับการจัดการทรัพยากรการผลิต แบบยัง่ ยื น ไม่ มุ่ ง เน้น ปั จ จัย ทางด้า นการตลาดมากจนเกิ น ไป แต่ เ น้น ในเรื่ อ งความสมดุ ล ทาง ธรรมชาติ และความหลากหลายทางชี ว ภาพ และยุ ติ ก ารผลิ ต ที่ ท ํา ร้ า ยธรรมชาติ เป็ นภัย ต่ อ สิ่ งแวดล้อม มนุษย์และสิ่ งมีชีวิต เมื่ อ ปลายเดื อ นเมษายนที่ ผ่า นมา สํา นัก งานคณะกรรมการพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คม แห่งชาติ ได้เสนอให้จดั ทําวาระเร่ งด่วน เรื่ อง "การจัดทํายุทธศาสตร์รองรับสถานการณ์วิกฤตอาหาร และพลังงาน" ซึ่ งคณะรั ฐมนตรี เห็ นชอบ และได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการบริ หารจัดการเรื่ อง อาหารและพลังงานขึ้นมาชุดหนึ่ ง โดยทําหน้าที่กาํ หนดมาตรการและแนวทางพัฒนาการผลิตและ การตลาดของสิ นค้าอาหารและพลังงานรวมถึงการศึกษาวิจยั แปรรู ปเพิ่มมูลค่าสิ นค้าเกษตร และ กําหนดพื้นที่เพาะปลูกที่ชดั เจนระหว่างพืชอาหารและพืชพลังงาน ดูแลเกษตรกรให้ได้รับความเป็ น ธรรมจากการเช่ าพื้นที่ ทาํ การเกษตร ควบคุมปริ มาณการผลิตออกสู่ ตลาด ตลอดจนราคาอาหาร สํา หรั บ ผูบ้ ริ โ ภคที่ เ หมาะสมซึ่ ง ดู เ หมื อ นว่ า คณะกรรมการชุ ด นี้ จะได้รั บ มอบอํา นาจหน้า ที่ ที่ ครอบคลุมทั้งวงจรการผลิต จนถึงการบริ โภค และดูพร้อมๆ กันทั้งพืชอาหารและพืชพลังงาน แต่ก็ เป็ นภาระหน้าที่ที่หนัก และใหญ่มาก และอาจจะต้องเข้าไปแทรกแซงกลไกตลาดในบางจุด ซึ่งการ แทรกแซงกลไกตลาดเป็ นเรื่ องที่เสี่ ยงเอามากๆ เพราะอาจจะทําแล้วได้ผลดีแต่ขณะเดียวกันก็อาจ บิ ด เบื อ นกลไกตลาดไปในทิ ศ ทางที่ เ ลวร้ า ยลงอย่ า งมาก คงเป็ นการบ้ า นที่ ห นั ก สํ า หรั บ คณะกรรมการเองว่าจะทําอย่างไรที่จะทําแต่พอดีและขณะเดี ยวกันต้องไม่ลืมว่า ยังมีคนจนอยู่ใน ประเทศอีกจํานวนมากที่ไม่ได้อยูใ่ นภาคเกษตร และความสามารถในการเพิ่มรายได้มีอยูอ่ ย่างจํากัด


9

ทําอย่างไรที่รัฐบาลจะทําให้คนกลุ่มนี้ มีรายได้เพิ่มสู งขึ้น เพื่อลดผลกระทบจากการที่ราคาอาหาร และพลังงานสู งขึ้น ความสํ าคัญของความมั่นคงทางอาหาร เชษฐา มัน่ คง (2551: 16) กล่าวว่า อาหารที่มีคุณภาพและความปลอดภัยเป็ นปั จจัยสําคัญ อย่างหนึ่ งต่อการดํารงสุ ขภาวะที่ดีของประชาชนซึ่ งนอกจากจะส่ งผลให้เกิดการพัฒนาศักยภาพใน ทุกด้านอย่างมีประสิ ทธิ ภาพแล้ว ยังมีผลต่อการค้าและเศรษฐกิจของประเทศด้วย ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพและอุดมสมบูรณ์จนสามารถผลิตอาหารได้อย่างเพียงพอ เพื่อเลี้ยงประชากรภายในประเทศ และส่ งออกนํารายได้มหาศาลสู่ ประเทศ อย่างไรก็ตามจากสภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมที่เปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็ นอันมาก อีกทั้งภายใต้กระแสโลกาภิวฒั น์ การเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี การเกิ ดขึ้นของโรคและภัยคุกคามใหม่ ๆ สถานการณ์ความ เสื่ อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ และภาวะโลกร้อน ตลอดจนความจําเป็ นในการปฏิบตั ิตามกฎ กติ กาสากลด้านการค้าระหว่างประเทศ และการเปิ ดการค้าเสรี ปั จจัยต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนส่ งผล กระทบต่อสถานการณ์ความมัน่ คง และยัง่ ยืนด้านอาหารของประเทศได้ หากไม่สามารถดูแลจัดการ ระบบอาหารของประเทศตลอดห่ วงโซ่อาหารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล ประเทศไทยมีความอุดมสมบูรณ์ทางอาหารมาแต่อดีต สวนครัวรอบบ้านที่ปลูกไว้เพื่ออยู่ เพื่อกินเป็ นระบบนิ เวศเชิ งซ้อนที่ทาํ ให้ชีวิตความเป็ นอยู่ของครอบครัวไทยมัน่ คง สภาวะภูมินิเวศ ของไทยมี พืชพันธ์ธัญญาหารที่ หลากหลายมาช้านาน ประชาชนไทยได้สั่งสม ถ่ายทอดความรู ้ ประสบการณ์จนกลายเป็ นวัฒนธรรมทางอาหาร ซึ่ งเป็ นวิถีชีวิตของคนไทย ตั้งแต่การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การประมง จนถึงการประกอบและบริ โภคอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ ทั้งมี คุณประโยชน์ต่อร่ างกาย มีความสวยงามวิจิตร เชื่อมสายสัมพันธ์ในครอบครัวและชุมชน มีรสชาติ อันเป็ นเอกลักษณ์ไทย อาหารและการเกษตรจึงเป็ นฐานรากทางวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของคนไทย ทั้งชาติ นอกจากนั้นอาหารไทยยังเป็ นปัจจัยหลักในการสร้างรายได้ให้แก่ประเทศ โดยมีการผลิตทั้ง เพื่อบริ โภคภายในประเทศ และส่ งออกเป็ นรายได้หลัก ถ้าพิจารณาแนวโน้มแห่ งวิถีการผลิตที่กาํ ลัง ก่อวิกฤติของปั ญหาในด้านความมัน่ คงของระบบอาหาร และภาวะสุ ขภาพของคนไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ.2512 ที่เริ่ มมีการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีกาํ จัดศัตรู พืช การนําเข้าสารเคมีเพื่อการเกษตรที่เพิ่ม มากขึ้นเรื่ อยๆ มีการสร้างระบบชลประทานและเขื่อนขนาดใหญ่ ใช้เครื่ องจักรกลขนาดใหญ่ทาง การเกษตรเพื่อส่ งเสริ มการปลูกพืชเชิ งเดี่ ยวเพื่อการค้า สังคมไทยจึ งเปลี่ยนแปลงจากสภาพการ พึ่งตนเองภายใต้สังคมเกษตรกรรม ที่เกษตรกรผลิตเพื่อบริ โภคในครัวเรื อนเป็ นหลัก มาเป็ นการ


10

ผลิตเพื่อการค้าในเชิงพาณิ ชย์ ระบบการผลิตลักษณะนี้ได้ลดทอนความสามารถในการพึ่งตนเองใน การผลิตอาหารเป็ นอย่างมาก โดยต้องพึ่งพิงปั จจัยการผลิตจากภายนอก ทั้งด้านเงินทุน เมล็ดพันธ์ เทคโนโลยี พลังงานเชื้ อเพลิง และระบบตลาด กลไกราคากลายเป็ นเงื่อนไขสําคัญในการซื้ อขาย อาหารเพื่อการบริ โภคมากขึ้น สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ (2551: 8) กล่าวว่า ในปี พ.ศ. 2551 ราคาอาหารที่ เพิ่มขึ้นกระทบผูม้ ีรายได้น้อยและคนในชนบทมากกว่าผูบ้ ริ โภคทัว่ ไป เนื่ องจากสัดส่ วนการบริ โภคอาหารต่อการบริ โภครวมสู งกว่า และคนในชนบทมีโอกาสการเข้าถึง แหล่งจําหน่ ายสิ นค้าราคาถูกน้อยกว่าคนเมือง ขณะที่ค่าครองชี พโดยเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.4 ค่า ครองชีพของกลุ่มผูม้ ีรายได้นอ้ ยเพิ่มขึ้นมากกว่าเล็กน้อยที่ร้อยละ 5.7 และค่าครองชีพชนบทเพิ่มขึ้น ร้อยละ 7.8 สัดส่ วนคนจนสู งสุ ดในภาคตะวันออกเฉี ยงเหนื อ ทั้งนี้ ภาวะความยากจนและหนี้ สิน ขึ้นกับราคาพืชผลทางการเกษตรเป็ นสําคัญโดยเฉพาะครัวเรื อนที่ทาํ การเกษตรโดยไม่มีอาชีพรอง ความแตกต่างระหว่างคนรวยกับคนจนมีระยะห่ างกันมากขึ้น ขณะที่การกระจายผลประโยชน์จาก ความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจกลับพบว่าคนจนจะได้รับประโยชน์ต่อเมื่อคนรวยเริ่ มใช้จ่ายและ กลุ่มที่ได้รับผลกระทบกระเทือนมากที่สุดในสังคมไทยคือกลุ่มแรงงานรับจ้างที่ไม่มีที่ดินและมี หนี้ สิน พืชเศรษฐกิจที่ตอ้ งพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมี ทําให้เกิดการสู ญเสี ยความหลากหลายทางชีวภาพ ความอุดมสมบูรณ์ของดินลดลง ต้นทุนการผลิตสู งขึ้น เกษตรกรต้องเผชิญปั ญหาความไม่แน่นอน ของผลผลิตจากความแปรปรวนของดินฟ้ าอากาศ ความไม่แน่ นอนของรายได้จากความผันผวน ของราคาพืชผล ภาวะทุพโภชนาการของประชากรไทยยังคงเป็ นปั ญหา และเป็ นเครื่ องชี้วดั หนึ่ งของความ ไม่เท่าเที ยมกันในการเข้าถึ งอาหารและการกระจายอาหารของประเทศ ความเจ็บป่ วยจากการ บริ โภคอาหารที่ ไ ม่ ปลอดภัยยังปรากฏอย่างต่อเนื่ อง กองระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุ ข รายงานว่า ระหว่างปี พ.ศ. 2532-2541 โรคอุจจาระร่ วงเฉี ยบพลันและโรคอาหารเป็ นพิษยังคงมี แนวโน้มสูงขึ้น พบมากในกลุ่มเกษตรกร ผูใ้ ช้แรงงาน นักเรี ยน และเด็กวัยก่อนเรี ยน (แรกเกิด-5ปี ) สารเคมีปนเปื้ อนในอาหารอันเกิ ดจากสารเคมีกาํ จัดศัตรู พืช วัตถุเจื อปนในอาหาร สารปรุ งแต่ ง อาหารซึ่ งพบจากการวิเคราะห์ พบสารเคมีกาํ จัดศัตรู พืชในตัวอย่างผัก-ผลไม้สูงถึงร้อยละ 30-80 ตรวจพบสารฟอกสี สารฟอกขาว และซัคคารี นในตัวอย่างอาหารสู งถึงร้อยละ 73 – 93.57 รวมทั้ง การพบสารเคมีและโลหะหนัก และสารปฏิชีวนะในอาหารซึ่ งแม้จะไม่เกินมาตรฐานแต่แสดงถึง แนวโน้มความไม่ปลอดภัยของอาหารมากขึ้น ขณะเดียวกัน ในระยะเวลา 10 ปี ที่ผา่ นมา คนไทยเริ่ ม พบปั ญหาใหม่ คือ ภาวะโภชนาการเกิน และก่อให้เกิดโรคสื บเนื่ องที่มีแนวโน้มปั ญหาสู งขึ้นทุก


11

กลุ่ ม อายุ โรคเบาหวานเพิ่ ม ขึ้ น ถึ ง ร้ อ ยละ 342.04 ไขมัน ในเส้ น เลื อ ดสู ง ความดัน โลหิ ต สู ง โรคมะเร็ ง โรคหัวใจเพิ่มขึ้น ร้ อยละ 197.34 และโรคอ้ว น ผลการสํารวจภาวะโภชนาการของ ประชากรไทยครั้งล่าสุ ดในปี พ.ศ. 2542 พบภาวะทุพโภชนาการซึ่งแสดงถึงสุ ขภาพโดยพื้นฐานของ ประชากรดังนี้ ปั ญหาการขาดโปรตีนและพลังงานในเด็กแรกเกิด-5ปี ระดับ 1 ร้อยละ 8.49 ระดับ 2 ร้อยละ 0.65 และระดับ 3 ร้อยละ0.59 ในเด็กนักเรี ยนระดับประถม พบเด็กนักเรี ยนที่มีน้ าํ หนักตัว ตามอายุต่าํ กว่าเกณฑ์ ร้อยละ 10.57 การสํารวจในปี เดียวกันพบเด็กทารกซึ่ งนํ้าหนักแรกเกิดตํ่ากว่า 2,500 กรัมร้อยละ 8.46 โดยสูงสุ ดในภาคเหนือร้อยละ9.43 ภาวะโลหิ ตจางจากการขาดธาตุเหล็กใน เด็กวัยเรี ยน ร้อยละ 12.88 และคอพอกจากการขาดสารไอโอดีนในเด็กนักเรี ยน ร้อยละ 2.24 ถึงแม้ ประเทศไทยจะได้รับการยกย่องว่าเป็ นประเทศที่ผลิตอาหารเลี้ยงชาวโลก และมีรายได้เข้าประเทศ จากการส่ งออกสิ นค้าอาหารในปี ละหลายแสนล้านบาท แต่กลับได้รับการจัดอันดับว่าเป็ นประเทศที่ มีความมัน่ คงทางอาหารในระดับปานกลางค่อนข้างตํ่า เนื่องจากเรายังไม่สามารถแก้ไขปั ญหาภาวะ ทุพโภชนาการในกลุ่มประชากรเป้ าหมาย คือเด็กวัยก่อนเรี ยน และเด็กวัยเรี ยน รวมทั้งปั ญหาความ ไม่ปลอดภัยของอาหารให้ได้ สถานการณ์ ความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย เฮลนา นอร์ เบอร์ ก-ฮอดจ์, ทอดด์ เมอรี ฟิลด์, และสตีเวน กอร์ ลิค (2545: 16) อาหารเป็ น ปั จจัยในการดํารงชีพที่สาํ คัญที่สุด เนื่องจากตั้งแต่เกิดจนตายมนุษย์ตอ้ งได้รับอาหารที่เพียงพอทั้งใน แง่ของปริ มาณและคุณภาพเพื่อการดํารงชี วิตอย่างมีคุณภาพ การขาดแคลนอาหาร หรื อ ตกอยู่ใน ภาวะทุ พ โภชนาการ สามารถกระทบกระเทื อนต่ อ ความมมัน่ คงของมนุ ษ ย์แ ละสัง คมได้อย่า ง มหาศาล จากการศึกษาวิจยั ขององค์กรต่างๆ รวมถึงองค์การอาหารและเกษตรแห่งประชาชาติซ่ ึงเป็ น องค์การระหว่างประเทศที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องโดยตรง พบว่า ภาวะขาดแคลนอาหาร ได้ส่งผลกระทบ ต่อปั จจัยต่างๆอย่างมาก


12

วิเคราะห์ ปัญหาความไม่ มนั่ คงทางอาหาร 1) ปั ญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร ตลอดการพัฒนาทางเศรษฐกิจหลาย ทศวรรษที่ผา่ นมา แม้ประเทศไทยจะมีการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจจนทําให้ประเทศกลายเป็ น ประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (Medium income country) แต่กต็ อ้ งแลกกับความเสื่ อมโทรมของฐาน ทรัพยากรธรรมชาติในด้านต่างๆ เช่น การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ป่าไม้ของประเทศลดลงอย่าง รวดเร็ ว ที่ผา่ นมาพื้นที่ป่าไม้ในประเทศไทยได้ลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทย มีพ้ืนที่ป่าไม้ 171 ล้านไร่ หรื อร้อยละ 53.3 ของพื้นที่ประเทศ และลดลงเหลือประมาณ 25 ล้านไร่ หรื อประมาณ 81 ล้านไร่ หรื อร้อยละ 25.3 ของพื้นที่ประเทศเท่านั้นในปัจจุบนั โดยในส่ วนของป่ า ชายเลนนั้นประเทศไทยเคยมีป่าชายเลนเมื่อปี 2504 ถึง 3,679 ตารางกิโลเมตร ( ประมาณ 2.3 ล้าน ไร่ ) แต่หลังจากนั้นได้ถูกทําลายลงอย่างรวดเร็ ว โดยเฉพาะในช่วงหลังปี 2521 พื้นที่ป่าชายเลน ลดลงเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของการทํานากุง้ ปั จจุบนั คาดว่าพื้นที่ป่าชายเลนเหลืออยูเ่ พียงประมาณ 1,500 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น (ข้อมูลจากกรมป่ าไม้) การลดลงของพื้นที่ป่าไม้ส่งผลกระทบต่อความ อุดมสมบูรณ์ของดิน การลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปจนถึงปั ญหาเกี่ยวกับความ แห้งแล้งด้วย ปั ญหาของทรัพยากรนํ้า แม้วา่ ประเทศไทยจะมีปริ มาณนํ้าหมุนเวียนที่ใช้ได้ใน ประเทศ (internal renewable water resource) ในระดับที่มากกว่าเกณฑ์เฉลี่ยที่ยอมรับได้ของ องค์การสหประชาชาติ แต่เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ประเทศไทยถือว่ามีปริ มาณนํ้า หมุนเวียนที่ใช้ได้ในประเทศค่อนข้างน้อย โดยปริ มาณนํ้าฝนเฉลี่ยของประเทศไทยในช่วง 45 ปี ที่ ผ่านมามีแนวโน้มลดลงในอัตราร้อยละ 0.4 ต่อปี โดยปัญหาที่สาํ คัญที่สุดคือการจัดการเรื่ องนํ้า เพราะแม้วา่ ประเทศไทยมีปริ มาณนํ้าท่าเพียงพอต่อความต้องการ แต่มกั จะประสบปั ญหาขาดแคลน นํ้าในฤดูแล้งและประสบอุทกภัยในฤดูฝน และมีโอกาสมากยิง่ ขึ้นที่ปัญหาการเปลี่ยนแปลงของ ภูมิอากาศที่จะกระทบต่อไทยยิง่ กว่าหลายประเทศในภูมิภาคนี้ การเสื่ อมโทรมของดิน ที่ดินเป็ น ปั จจัยการผลิตที่สาํ คัญในการผลิตอาหารของประเทศ แต่ที่ผา่ นมามีการใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ดินอย่างไม่เหมาะสม เกิดปัญหาชะล้างพังทลายของดินในอัตราสูง มีการใช้ปุ๋ยเคมีอย่างไม่ เหมาะสมและเพิ่มขึ้น พื้นที่ดินของประเทศเกิดปั ญหาความเสื่ อมโทรม เช่น การเกิดดินเค็ม ดิน เปรี้ ยว และดินขาดอินทรี ยวัตถุ จนอาจกล่าวได้วา่ ประเทศไทยมีสภาพปัญหาการเสื่ อมโทรมของ ทรัพยากรดินรุ นแรงยิง่ กว่าประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดในภูมิภาคนี้ โดยพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของ ประเทศอยูใ่ นสภาวะเสี่ ยงหากไม่มีการจัดการฟื้ นฟูดินอย่างเร่ งด่วน 2) ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน ระบบการผลิตอาหารของไทยซึ่ งในอดีตเป็ น ระบบการผลิตแบบผสมผสาน ได้ค่อยๆเปลี่ยนเป็ นการผลิตเชิ งเดี่ยวที่มีการปลูกพืชหรื อเลี้ยงสัตว์


13

อย่างเดี ยวไม่กี่ชนิ ดในพื้นที่ ขนาดใหญ่หรื อมี ปริ มาณมากๆ ทําให้เกิ ดปั ญหาต่ างๆตามมาหลาย ประการ เช่น การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร เกษตรกรต้องพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตรซึ่ ง ส่ วนใหญ่เป็ นผลิตภัณฑ์จากซากฟอสซิ ล จากข้อมูลพบว่า ในปี 2514 ประเทศไทยใช้ปุ๋ย 128,139 ตัน และเพิ่มขึ้นเป็ น 321,700 ในปี 2525 หลังจากนั้นเป็ นต้นมา การเพิ่มการใช้ปุ๋ยในประเทศไทยได้ เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด โดยเพิ่มขึ้นสู งถึง 1,763,028 ในปี 2542 ตัวเลขปี 2550 พบว่า มีการนําเข้า ปุ๋ ยปี ละ 3.4 ล้านตัน คิดเป็ นมูลค่า 45,136 ล้านบาท มีการนําเข้าสารกําจัดศัตรู พืชปี ละ 116,322 ตัน มูลค่า 15,025 ล้านบาท เกื อบทั้งหมดนําเข้าจากต่างประเทศ ต้นทุนการใช้ปุ๋ยเคมีและสารกําจัด ศัตรู พืชกลายเป็ นต้นทุ นสําคัญของการผลิ ตในภาคการเกษตรของไทย จากผลการสํารวจพบว่า ต้นทุนดังกล่าวมีมูลค่าสู งมากกว่า 1/3 ของต้นทุนการปลูกพืชทั้งหมดของเกษตรกร ระบบอาหารที่ ผูกติดกับการใช้ปุ๋ยและสารเคมีการเกษตรเช่นนี้มีอนาคตที่มืดมน เนื่องจากผูกติดกับการใช้เชื้อเพลิง ฟอสซิ ลซึ่ งจะมีราคาแพงมากขึ้นๆทุกที หากในอนาคตนํ้ามันปิ โตรเลียมจะหมดไปจากโลกใน 3040 ปี ข้างหน้า เกษตรกรรมที่ ผูกติดกับเชื้ อเพลิงเหล่านี้ ก็จะหมดอนาคตตามลงไปด้วย ปั ญหา พันธุกรรมในการผลิตอาหาร ระบบอาหารที่เป็ นอยูป่ ั จจุบนั เผชิญกับปั ญหาสองประการที่เกี่ยวข้อง กันคือ ในด้านหนึ่งเป็ นการลดลงของความหลากหลายของพืชและสัตว์เนื่องจากระบบการผลิตแบบ เชิงเดี่ยว ดังที่เห็นได้จากพื้นที่ปลูกข้าวของไทยมากกว่า 90% ใช้พนั ธุ์ขา้ วประมาณ 10 สายพันธุ์ เท่านั้น หรื อการเลี้ยงสัตว์แบบอุตสาหกรรมนั้นทําให้ความหลากหลายของพันธุ์ไก่ เป็ ด และสัตว์ เลี้ยงอื่นๆหดหายลงเป็ นลําดับ ในอีกด้านหนึ่ งทําให้เกิดการผูกขาดพันธุ์พืชโดยบริ ษทั ขนาดใหญ่ และบรรษัทข้ามชาติ ตัวอย่างเช่น เมล็ดพันธุ์ผกั และเมล็ดพันธุ์ขา้ วโพดในประเทศไทยทั้งหมดอยู่ ในมือของบริ ษทั ขนาดใหญ่ไม่ถึง 5 บริ ษทั เมล็ดพันธุ์ส่วนใหญ่ดงั กล่าวเป็ นเมล็ดพันธุ์ลูกผสมซึ่ งไม่ สามารถเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์เอาไว้ได้เอง เป็ นการทําลายวัฒนธรรมของการสร้างความหลากหลาย ของวิถีเกษตรกรและชุมชนท้องถิ่น นอกเหนือจากนี้ยงั มีแนวโน้มว่าอิทธิ พลของบรรษัทขนาดใหญ่ จะขยายตัวออกไปมากยิง่ ขึ้น จากการส่ งเสริ มการใช้เมล็ดพันธุ์ขา้ วลูกผสม และการผลักดันพืชจีเอ็ม โอให้สามารถปลูกเพื่อการค้าในประเทศไทย โดยขณะนี้ปัญหาการปนเปื้ อนทางพันธุกรรมของพืช จีเอ็มโอกับพืชทัว่ ไป ในสัดส่ วนที่จะส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหารได้ปรากฏขึ้นแล้ว ดัง ผลการสุ่ มตรวจตัวอย่างของแผนงานฐานทรัพยากรอาหารพบว่ามีพืช 5 ชนิ ดปนเปื้ อน คิดเป็ น ค่าเฉลี่ย 2-4 % การลดลงของเกษตรกรรายย่อยและการขยายตัวของธุ รกิจการเกษตรขนาดใหญ่ เกษตรกรรายย่อยซึ่ งมี สัดส่ วนมากที่ สุดของประชากรของประเทศ มี แนวโน้มลดลงเป็ นลําดับ เนื่ องจากปั ญหาหนี้ สินซึ่ งเกิดจากต้นทุนการผลิตสู งแต่ขายผลผลิตการเกษตรได้ในราคาตํ่า ตัวเลข หนี้ สินของเกษตรกรในระบบทั้งหมดสู งถึง 450,000-750,000 ล้านบาท ในขณะที่อายุเฉลี่ยของ เกษตรกรมากขึ้นอยู่ระหว่าง 45-51 ปี เพราะลูกหลานเกษตรกรและคนรุ่ นใหม่ไม่ตอ้ งการทํา การเกษตรอีกต่อไป ในทางตรงกันข้ามกลับมีแนวโน้วว่าการผลิตแบบพันธสัญญาซึ่งส่ วนใหญ่เป็ น


14

สัญญาที่ไม่ชอบธรรมกลับเพิ่มขึ้น เช่นเดียวกับที่มีแนวโน้มว่ากลุ่มธุรกิจการเกษตรขนาดใหญ่ และ นักลงทุนรายใหญ่ได้เข้ามาลงทุนในภาคเกษตรมากขึ้นนับตั้งแต่ปี 2551 เป็ นต้นมา รวมทั้งบริ ษทั ที่ ทําธุรกิจอื่น เช่น ธุรกิจนํ้าเมา เป็ นต้น 3) ปั ญหาโครงสร้างของที่ดินทํากินและสิ ทธิในการเข้าถึงทรัพยากร ปั ญหาโครงสร้างการ เข้าถึงและสิ ทธิ ในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรเป็ นปั ญหาใหญ่และเป็ นปั ญหารากฐาน สําคัญ เป็ นทั้งต้นเหตุและผลพวงของปั ญหาความเหลื่ อมลํ้าทางสังคม ดังที่ตวั เลขทางสถิติของ สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรระบุว่าเกษตรกรประมาณ 60 % ต้องเช่าที่ดินทํากิน มีเกษตรกรที่เป็ น ผูท้ ี่ไร้ที่ดินทํากินกว่า 800,000 ครอบครัว และมีเกษตรกรที่มีที่ดินขนาดเล็กไม่เพียงพอต่อการทํากิน ประมาณ 1,000,000 ครอบครั ว โดยในส่ วนของชาวนาที่ ไม่มีที่นาเป็ นของตนเองมีสูงถึง 40 เปอร์ เ ซ็ น ต์ข องชาวนาทั้งหมด ในขณะที่ ใ นพื้น ที่ ภ าคกลางสัด ส่ ว นชาวนาไร้ ที่ดิ น สู งถึ ง 70-90 เปอร์ เซ็นต์ ซํ้าร้ายเมื่อราคาข้าวและอาหารมีแนวโน้มสู งขึ้น เจ้าของที่ดินก็จะเพิ่มราคาค่าเช่าสู งขึ้น เช่น ในระหว่างปี 250-2551 ราคาค่าเช่านาได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยเป็ น 2 เท่า หรื อไม่เจ้าของที่ดินก็จะเรี ยก คืนที่ดินมาทําการผลิตเอง ในช่วง 2-3 ปี ที่ผา่ นมา ความขัดแย้งเกี่ยวกับปั ญหาที่ดินได้ปรากฏมากขึ้น อย่างเห็นได้ชดั ตัวอย่างเช่น ปรากฎการณ์ที่เกษตรกรเข้าไปยึดครองที่ดินจากสวนปาล์มของนายทุน ที่จงั หวัดสุ ราษฎร์ธานีและการที่เจ้าของที่ดินขับไล่ชาวนาออกจากที่นาในจังหวัดพระนครศรี อยุธยา เป็ นต้น 4) บทบาทของค้าปลีกขนาดใหญ่และโมเดอร์ นเทรดที่มีบทบาทมากขึ้นในระบบกระจาย อาหาร นอกเหนื อจากระบบการผลิตแล้ว ระบบการตลาด โดยเฉพาะอย่างยิ่งระบบค้าปลีกได้ถูก ครอบครองโดยบรรษัท ดิสเคาท์สโตร์ และคอนวีเนี่ ยนสโตร์กระจายยึดครองถนนและสี่ แยกสําคัญ ในกรุ งเทพ ขยายเข้าไปในท้องถิ่นและรุ กคืบเข้าไปถึงระดับหมู่บา้ น ประมาณการว่าตลาดมากกว่า ครึ่ งหนึ่ งของสิ นค้าโภคภัณฑ์ท้ งั หลายอยู่ในมือของ "โมเดอร์ เทรด" เหล่านี้ แล้ว และกําลังขยาย ออกไปควบคุมตลาดส่ วนใหญ่ได้ภายในระยะเวลาไม่ถึง 10 ปี ข้างหน้า ร้านค้าปลีกรายย่อย ตลาด สด ตลาดนัด แผงข้างถนน ถูกเบียดขับออกไปอย่างรวดเร็ ว ขณะนี้ บรรษัทเหล่านี้ กาํ ลังผลิตสิ นค้า ยีห่ อ้ ของตัวเองในสัดส่ วนมากขึ้นๆ เช่นเดียวกับเริ่ มต้นจ้างให้เกษตรกรทําการเกษตรในระบบพันธ สัญญาเพื่อป้ อนตลาดของตน นอกเหนื อจากนี้ การควบคุมระบบการตลาดดังกล่ าวจะส่ งผลต่อ ระบบอาหารและวัฒนธรรมอาหารของท้องถิ่นทั้งระบบ เช่ น ไม่มีพ้ืนที่สําหรับผักพื้นบ้านต่างๆ การลดลงของความหลากหลายของอาหารท้องถิ่น รวมถึงพฤติกรรมการบริ โภคที่จะถูกปรับเปลี่ยน ไปตามการกําหนดของบรรษัท สถานะของระบบอาหารและวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่ นจะเป็ น อย่างไรท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงนี้


15

5) การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร การขยายตัวของ ระบบเศรษฐกิจโลก กระตุน้ ให้เกิดการบริ โภคและการผลิตอย่างขนานใหญ่ กิจกรรมการผลิตและ การบริ โภคที่เพิ่มขึ้นนําไปสู่ การใช้เชื้อเพลิงดึกดําบรรพ์ มีการปลดปล่อยคาร์ บอนไดออกไซด์ไปสู่ บรรยากาศโลก จนเกิ ดภาวะโลกร้ อน ในขณะที่ การลดลงของพื้ นที่ ป่าไม้จากการขยายตัว ของ อุ ต สาหกรรมและเมื อ ง ตลอดจนกิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ ต่ า งๆ ทํา ให้ ค วามสามารถที่ ดู ด ซั บ คาร์บอนไดออกไซด์ลดลง เป็ นการเร่ งภาวะเรื อนกระจก จากการศึกษาของคณะกรรมการศึกษาการ เปลี่ยนแปลงสภาพอากาศโลกระหว่างประเทศ(IPCC)คาดการณ์ว่า ในปี ค.ศ.2100 อุณหภูมิโลกจะ สู งขึ้น 1.4 – 5.8 องศาเซลเซียส และจะทําให้น้ าํ ทะเลสู งขึ้นประมาณ 0.9 เมตร เพราะการละลายของ นํ้าแข็งขั้วโลก ทําให้เกิดภาวะนํ้าท่วมบางแห่ งและฝนแล้งในบางประเทศ คณะกรรมการฯ คาดว่า ในอนาคตอีกประมาณไม่ถึง 20 ปี ข้างหน้า พื้นที่เกษตรกรรม 70% ในจีน อินเดีย เอเชี ยกลาง ตะวันออกกลาง และอเมริ กา จะกลายเป็ นพื้นที่แห้งแล้ง ประเทศริ มฝั่งทะเลอาจจะประสบปั ญหานํ้า ท่วม รวมทั้งผลกระทบต่อการเจริ ญเติบโตของพืชและความหลากหลายทางชีวภาพ คณะกรรมการฯ ยังประเมินว่า เกษตรกรรายย่อยในภูมิภาคเอเชียซึ่งมีมากถึงร้อยละ 87 ของเกษตรกรรายย่อยจํานวน 400 ล้านรายทัว่ โลกจะได้รับผลกระทบอย่างหนักจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ เนื่ องจาก ต้องพึ่งพาฝนตามฤดูกาล ในกรณี ของประเทศไทยนั้น คาดว่าการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศจะ ส่ งผลกระทบต่อการผสมเกสรของพืชเกษตรลดลง ปั ญหาการรุ กคืบของนํ้าทะเละและการพังทลาย ของพื้นที่ชายฝั่ง รวมทั้งอาจต้องเผชิญกับการแปรปรวนของสภาพการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ จนเกิดความเสี ยหายต่อการผลิตอาหาร 6) ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร การ เปิ ดเสรี การเกษตรภายใต้ขอ้ ตกลงการค้ากับต่างประเทศ โดยที่ไม่มีนโยบายความมัน่ คงทางอาหาร การวางหลักเกณฑ์สุขอนามัย และการคุม้ ครองเกษตรกรอย่างเพียงพอ ส่ งผลให้เกษตรกรจํานวนไม่ มากนัก ที่ ได้รับประโยชน์ แต่ เกษตรกรส่ วนใหญ่ของประเทศได้รับผลกระทบ การเปิ ดเสรี กับ ประเทศสหรัฐอเมริ กา ยุโรป และญี่ปุ่น จะทําให้ประเทศไทยต้องยอมรับกฎหมายทรัพย์สินทาง ปั ญญาที่ทาํ ให้เกิ ดการผูกขาดเรื่ องพันธุ์พืช การจดสิ ทธิ บตั รสิ่ งมีชีวิต การเข้ามาใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรชีวภาพของไทย และอาจรวมถึงการเข้ามาลงทุนในภาคการเกษตรของคนต่างชาติการเปิ ด เสรี ภายใต้ขอ้ ตกลงในระดับภูมิภาคเช่น “อาฟต้า” (AFTA-ข้อตกลงเขตการค้าเสรี อาเซี ยน) “แอค เมค”(ACMECS -ยุทธศาสตร์ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ อิระวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง หรื อ Ayeyawady - Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy) ทําให้สินค้าเกษตรราคาถูก เช่ น ข้าว ข้าวโพด ถัว่ เหลื อง ฯลฯ จากประเทศเขมร ลาว และพม่ าหลัง่ ไหลข้ามพรมแดนมายัง ประเทศไทย นอกเหนือจากนี้ เกษตรกรที่ปลูกปาล์น้ าํ มัน พืชผักเมืองหนาว เลี้ยงวัว องุ่น มันฝรั่ง จะ


16

ได้รับผลกระทบจากสิ นค้าเกษตรราคาถูกจากจีน มาเลเซี ย ออสเตรเลีย และนิ วซี แลนด์ ตัวอย่างผล ผลผลิตที่เคยคาดว่าเมื่อเปิ ดเสรี จะทําให้เกษตรกรไทยขายผลผลิตมีราคาดีข้ ึน เช่น ราคาไม้ผลของ ไทย เช่น ทุเรี ยน มังคุด เงาะ ลําไย ลิ้นจี่ ล้วนแล้วแต่มีราคาตํ่าสมํ่าเสมอ ทั้งๆที่ประเทศไทยลงนาม ความตกลงเขตการค้าเสรี กบั จีน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และญี่ปุ่น มานาน 2-6 ปี แล้วก็ตาม 7) ปั ญหาสุ ขภาวะที่เกิ ดจากระบบอาหาร การใช้สารเคมีทางการเกษตรทําให้เกษตรกร ได้รับพิษภัยสะสมในร่ างกาย โดยเมื่อปี 2541 กรมอาชีวอนามัย กระทรวงสาธารณสุ ข พบว่า มี เกษตรกรที่ผลการตรวจเลือดอยู่ในเกณฑ์ไม่ปลอดภัยและเสี่ ยงต่อการเกิดพิษ เป็ นจํานวน 77,789 คน จากจํานวนเกษตรกรที่ตรวจเลือด 369,573 คน หรื อคิดเป็ นร้อยละ 21 ของเกษตรกรทั้งหมด ใน ปั จจุบนั ผลการตรวจระดับของสารเคมีทางการเกษตรในเลือดของเกษตรกรเพิ่มสู งขึ้นอย่างมาก โดยผลการตรวจเกษตรกรที่จงั หวัดเชี ยงใหม่จาํ นวน 924 คน พบว่ามีเกษตรกรและแม่บา้ นที่มี สารเคมีตกค้างในระดับที่ไม่ปลอดภัยและเสี่ ยงจํานวนรวมกันถึง 75% ในขณะที่กลุ่มผูบ้ ริ โภคซึ่ ง รั บ ประทานผัก และผลิ ต ภัณ ฑ์ที่ มี ส ารเคมี ป นเปื้ อนมี แ นวโน้ม ที่ จ ะได้รั บ สารพิ ษ พอๆกัน หรื อ มากกว่าเกษตรกรผูผ้ ลิตเสี ยอีก ดังผลการสุ่ มตรวจกลุ่มผูบ้ ริ โภคในจังหวัดเชี ยงใหม่จาํ นวน 1,412 คน ครอบคลุมนักศึกษา อาจารย์ และประชาชนทัว่ ไปพบว่า มีผไู ้ ด้รับสารพิษในระดับที่ไม่ปลอดภัย และมีความเสี่ ยงรวมกันถึง 89% 8) การแผ่ขยายของอาณานิ คมทางอาหาร วิกฤติอาหารและพลังงานที่เกิดขึ้นเมื่อปี 25502551 ทําให้เกิ ดความไม่มนั่ คงทางอาหารขึ้นในหลายประเทศ ประเทศผูผ้ ลิ ตนํ้ามัน ประเทศ อุตสาหกรรม และประเทศที่ไม่สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ เริ่ มกระบวนการเข้ามาเช่าที่ดิน และ ลงทุนทําการเกษตรในต่างประเทศอย่างขนานใหญ่ ประเทศไทยก็เป็ นเป้ าหนึ่งของการเข้ามาลงทุน ของต่างชาติ เช่นเดียวกัน ซาอุดีอาระเบียกําลังหาลู่ทางสร้างร่ วมมือกับบริ ษทั ยักษ์ใหญ่ดา้ นพลังงาน ของประเทศอินโดนี เซี ย คือ Medco Group ในการที่จะใช้ที่ดินบริ เวณ Papua ประมาณ ไม่ต่าํ กว่า 6.25 ล้านไร่ เพื่อปลูกข้าว ) บริ ษทั แดวูโลจิสติกส์ของเกาหลีวางแผนจะเช่าที่ดินขนาด 6.25 ล้านไร่ นาน 99 ปี ในประเทศมาดากัสการ์ เพื่อปลูกข้าวโพด และปาล์มนํ้ามัน จีนก็กาํ ลังพยายามซื้ อหรื อเช่า ที่ดินในแอฟริ กาและเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้เพื่อปลูกถัว่ เหลืองและพืชนํ้ามัน โดยขณะนี้ ได้ตกลง กับรัฐบาลลาวในการใช้พ้ืนที่ประมาณ 2 ล้านแฮกตาร์ กลุ่มทุนตะวันออกกลางได้เข้ามาหาลู่ทาง และแสดงเจตจํา นงหลายครั้ งในการใช้พ้ื น ที่ ข องประเทศไทยในการผลิ ต อาหารเพื่ อ สร้ า ง หลักประกันความมัน่ คงทางอาหารของตน เช่น เดินทางเข้ามาพร้อมกับอดีตนายกทักษิณเพื่อขอเช่า นาและรั บจัดการผลผลิ ตข้าวของไทย กลุ่มประเทศคณะมนตรี ความมัน่ คงอ่าวอาหรั บ (จี จีซี) 6 ประเทศ ทําหนังสื อถึงทางการไทย แสดงความสนใจในการเข้าทําฟาร์มเลี้ยงสัตว์และทํานาปลูกข้าว


17

ในประเทศไทย กลุ่มทุนบาห์เรนตกลงร่ วมกับบริ ษทั ยักษ์ใหญ่การเกษตรของไทยจัดทําโครงการ เลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ภาคใต้ของประเทศไทย เป็ นต้น 9) วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงําวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น การเปิ ดกว้างทางวัฒนธรรม ผ่านนโยบายทางการค้า และการเปิ ดรับสื่ อทําให้วฒั นธรรมการบริ โภคอาหารแบบอุตสาหกรรม และการบริ โภคอาหารจากวัฒนธรรมต่างชาติมีบทบาทในสังคมไทยมากขึ้นๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กลุ่มเด็ก เยาวชน และคนรุ่ นใหม่ จากการศึกษาของศูนย์วิจยั กสิ กรไทยพบว่ามูลค่าตลาดของธุ รกิจ ฟาสต์ฟู้ดในปี 2550 สู งถึง 1.4 หมื่นล้านบาท หรื อมีสัดส่ วนคิดเป็ นประมาณร้อยละ 67 ของมูลค่า ธุรกิจร้านอาหารบริ การด่วนทั้งหมด แบ่งเป็ น ฟาสต์ฟดประเภทไก่ ู้ 50% แฮมเบอร์เกอร์ 21.4% และ ประเภทพิซซ่า 28.6% อาหารญี่ปุ่นก็เติบโตอย่างรวดเร็ วในประเทศไทยโดยตัวเลขเมื่อปี 2550 นั้น มี มูลค่า 6,000 ล้านบาท และมีอตั ราการขยายตัวประมาณร้อยละ 10-15 ในปี 2550 ซึ่ งจํานวน ร้านอาหารญี่ปุ่นในไทยนั้นมากเป็ นอันดับ 5 ของโลก เป็ นรองเพียงสหรัฐฯ จีน เกาหลีใต้และ ไต้หวันเท่านั้น ความนิ ยมในอาหารญี่ปุ่นที่พ่งุ สู งขึ้น ส่ งผลให้ประเทศไทยติดอันดับ 6 ของประเทศ ที่นาํ เข้าอาหารญี่ปุ่นสู งสุ ดของโลก โดยไทยนําเข้าผลิตภัณฑ์อาหารกว่า 100 ประเภท รวม 4,000 รายการ และคาดว่าหลังข้อตกลงความร่ วมมือทางเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) มีผลบังคับใช้ จะ ส่ งผลให้ตวั เลขนําเข้าอาหารญี่ ปุ่นเพิ่มสู งขึ้น ผูเ้ ชี่ ยวชาญอาหารญี่ ปุ่นยังคาดการณ์ ด้วยว่าตลาด อาหารญี่ปุ่นในประเทศไทยจะโตขึ้นเป็ นหนึ่งในสามอันดับแรกของโลกในไม่ชา้ 10) การขาดนโยบายเกี่ ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร โดยภาพรวมประเทศไทยยังขาด นโยบายและความตระหนักเกี่ยวกับอาหารที่ชดั เจน ประเด็นเรื่ องความมัน่ คงทางอาหารไม่ปรากฏ อยูใ่ นรัฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย หรื อในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติในหลาย ฉบับที่ผ่านมา ความคืบหน้าอย่างหนึ่ งคือ การออกกฎหมาย พ.ร.บ.คณะกรรมการอาหารแห่ งชาติ พ.ศ. 2551 ซึ่ งได้ให้อาํ นาจคณะกรรมการในการเสนอนโยบายและยุทธศาสตร์ ดา้ นอาหารของ ประเทศ การจัด ทํา ระบบเตื อ นภัย รวมถึ ง การเสนอแนะให้ ค ณะรั ฐ มนตรี ก ํา หนดเขตพื้ น ที่ ที่ จําเป็ นต้องสงวนไว้เพื่อประโยชน์ดา้ นความมัน่ คงด้านอาหารเป็ นการชัว่ คราว เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม ยังไม่มีความก้าวหน้าที่เห็นได้ชดั เจนในการดําเนิ นการของพ.ร.บ.ฉบับดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การมีส่วนร่ วมของประชาชนซึ่ งเป็ นผูเ้ กี่ ยวข้องโดยตรงกับระบบอาหาร นโยบายเกี่ ยวกับความ มัน่ คงทางอาหารยังเกี่ยวข้องกับกฎหมายฉบับต่างๆอีกหลายฉบับซึ่ งอาจสําคัญยิ่งไปกว่านโยบาย/ กฎหมายที่ ไ ด้ก ล่ า วไปแล้ว เช่ น กฎหมายที่ เ กี่ ย วกับ ทรั พ ย์สิ น ทางปั ญ ญาในพื ช และสิ่ ง มี ชี วิ ต กฎหมายป่ าชุมชน ร่ างกฎหมายการเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ร่ างกฎหมายว่าด้วยพืชดัดแปลง


18

พันธุกรรม ร่ างกฎหมายเพื่อคุม้ ครองที่ดินเพื่อเกษตรกรรม นโยบายการปฏิรูปที่ดิน นโยบายว่าด้วย การเจรจาการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ นโยบายเกษตรกรรมอินทรี ย ์ ฯลฯ สาเหตุความไม่ มั่นคงทางอาหารของประเทศไทย ภัยพิบตั ิ ทางธรรมชาติ ในปั จจุ บนั ส่ งผลกระทบไปทัว่ ทุ กมุมโลก รวมถึ งส่ งผลต่อความ มัน่ คงทางอาหารด้วยเช่นกัน ไม่ใช่เพียงแต่ภยั พิบตั ิจากธรรมชาติเท่านั้น แต่ดว้ ยความคิดที่ยดึ ติดกับ ความสะดวกสบายของมนุษย์เรา ยังส่ งผลให้เกิดวิกฤตการณ์ทางด้านอาหารด้วยเช่นกัน รายงานจาก องค์การสหประชาชาติ เดื อนกันยายน 2553 กล่าวว่า คนทัว่ โลกกว่า 1,000 ล้านคน ยังคงหิ วโหย และขาดแคลนอาหาร ส่ งผลให้เราตระหนักถึงภาวะความมัน่ คงทางอาหาร หากสังคมโลกไม่มีการ ปฏิวตั ิเกษตรกรรมครั้งยิง่ ใหญ่อีกครั้งหนึ่ ง ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและสิ่ งแวดล้อม โลก และการเพิ่มจํานวนประชากรโลกที่ดูเหมือนจะไม่ลดลงโดยเฉพาะในประเทศที่ยงั ไม่พฒั นา และไร้ซ่ ึ งความมัน่ คงทางอาหาร วงจรความสัมพันธ์ระหว่างความยากจน อาหารขาดแคลน และ โรคภัย ไข้เ จ็บ การทํา ลายธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ ม ความเสื่ อ มโทรมของฐานทรั พ ยากร จะ กลายเป็ นศูนย์กลางของความวิกฤติ ในปฏิสมั พันธ์ระหว่างมนุษย์กบั สิ่ งแวดล้อม สําหรับประเทศไทย สัญญาณของความไม่มน่ั คงทางอาหารเริ่ มมีให้เห็นเป็ นระยะ ตั้งแต่ เกิดการคลาดแคลนของอาหาร และราคาของสิ นค้าบริ โภคที่มีแนวโน้มจะสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทําให้ หลายฝ่ าย ทั้งภาครัฐและเอกชนเริ่ มที่จะตระหนักถึงวิกฤติการในครั้งนี้ ซึ่งความไม่มน่ั คงทางอาหาร เกิ ดจากหลายสาเหตุ จากการสํารวจและรวบรวมข้อมูล เราจะพบว่าสาเหตุหลักที่ส่งผลต่อความ มัน่ คงทางอาหาร มีไหลายประการ ดังเช่นต่อไปนี้ 1. ปั ญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหารการลดลงของพื้นที่ป่าไม้การเสื่ อม โทรมของดินปั ญหาของทรัพยากรนํ้า 2. ปั ญหาของระบบการผลิ ตอาหารที่ ไ ม่ยงั่ ยืนปั ญหาพันธุ กรรมในการผลิ ตอาหารการ พึ่ ง พาปุ๋ ยและสารเคมี ก ารเกษตรการลดลงของเกษตรกรรายย่ อ ยและการขยายตัว ของธุ ร กิ จ การเกษตรขนาดใหญ่


19

3. ปั ญหาโครงสร้างของที่ดินทํากินและสิ ทธิในการเข้าถึงทรัพยากร 4. บทบาทของค้าปลีกขนาดใหญ่และโมเดิร์นเทรดที่มีบทบาทมากขึ้นในระบบกระจาย อาหาร 5. การเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลกและผลกระทบต่อการผลิตอาหาร 6. ผลกระทบจากการเปิ ดเสรี การค้าและความตกลงระหว่างประเทศต่อระบบอาหาร 7. ปั ญหาสุ ขภาวะที่เกิดจากระบบอาหาร 8. การแผ่ขยายของอาณานิคมทางอาหาร 9. วัฒนธรรมอาหารต่างชาติครอบงําวัฒนธรรมอาหารท้องถิ่น 10. การขาดนโยบายเกี่ยวกับความมัน่ คงทางอาหาร ไม่ว่าสาเหตุ ของความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทยจะเกิ ดจากเหตุผลใดก็ตาม แต่ ทั้งหมดทั้งมวลก็ได้แสดงให้เราเห็นถึงสิ่ งที่กาํ ลังจะเกิดขึ้นกับทั้งในประเทศของเรา และโลกใบนี้ และเป็ นสิ่ งที่ยากจะคาดเดาได้ถึงความโหดร้ายของสภาพสังคมในอนาคต หากแต่เราจะหาวิธีทาง และกระบวนการในการแก้ไขวิกฤตการณ์ทางอาหาร เพื่อที่จะลดผลกระทบต่อมวลมนุ ษย์ชาติใน อนาคต เพื่อความมัน่ คงทางอาหารของประเทศไทย และของโลก โดยการร่ วมมือกันที่จะแก้ไข และทําให้เกิดความมัน่ คงทางด้านอาหารขึ้นมาอีกครั้ง


20

ผลกระทบอันเนื่องมาจากความไม่ มั่นคงทางอาหาร ผลกระทบที่เกิดจากสถานการณ์ความไม่มน่ั คงทางอาหารที่สาํ คัญคือราคาพืชผลการเกษตร ที่พงุ่ สูงขึ้นเป็ นประวัติการณ์ในรอบ 30 ปี ซึ่งองค์การอาหารและการเกษตรแห่ งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization of the United Nations – FAO) ออกมาเปิ ดเผยว่าดัชนีราคา อาหารโลกทั้งข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ธัญพืชอื่นๆ นํ้าตาล และเนื้อสัตว์ มีราคาพุง่ สูงขึ้นกว่าครั้งที่ เกิดวิกฤตการณ์ครั้งก่อนเมื่อเดือนมิถุนายน 2551 ซึ่งส่ งผลให้หลายหลายประเทศต้องวางมาตรการ ห้ามส่ งออกและมีการเรี ยกเก็บภาษีส่งออกทั้งข้าวและอาหาร เช่น ประเทศอินเดีย ยูเครน รัสเซีย คาซัคสถาน รวมทั้งประเทศเพื่อนบ้านของเราได้แก่ เวียดนาม อินโดนีเซีย และกัมพูชา ฟิ ลิปปิ นส์ เป็ นต้น จากวิกฤตการณ์ความไม่มนั่ คงทางอาหารที่เกิดขึ้นมาครั้งใหม่น้ ี คาดการณ์ว่าประเทศที่จะ ได้รับผลกระทบจากราคาสิ นค้าที่ถีบตัวสู งขึ้นและภาวะเงินเฟ้ อรุ นแรง คือ กลุ่มประเทศตลาดเกิด ใหม่ที่ประกอบด้วย บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน (BRIC) รวมถึงประเทศกําลังพัฒนาและประเทศ ยากจนในเอเชียและแอฟริ กา ปั ญหาที่จะตามมานัน่ คือการก่อจลาจล การประท้วงขับไล่รัฐบาล และ อาจก่อให้เกิดสงครามกลางเมืองขึ้น ซึ่งหากวิกฤตการณ์ที่เกิดขึ้นในประเทศแถบตะวันออกกลางยัง ไม่ยตุ ิลงโดยเร็ วนั้นหลายฝ่ ายคาดการณ์วา่ อาจส่ งผลให้ราคานํ้ามันดิบทะยานพุ่งสู งทะลุ 100 เหรี ยญ สหรัฐอเมริ กาต่อบาร์เรล ราคาทองคําจะทะลุ 1,500 เหรี ยญสหรัฐต่อออนซ์และนัน่ จะส่ งผลให้ราคา สิ นค้าทุกหมวดต้องขึ้นราคาตามด้วย โดยในหลายประเทศถูกซํ้าเติมด้วยปั ญหาสิ นค้าขาดแคลน อัตราการว่างงานเพิ่มขึ้น คนยากจนทุกข์ยากมากขึ้น วิก ฤตการณ์ ความไม่ มนั่ คงทางอาหารที่ เ กิ ด ขึ้ นส่ งผลให้ปริ มาณอาหาร

และความ

หลากหลายทางอาหารลดลง ปั จจัยนี้ ก่อให้เกิดการนําแนวคิดการดัดแปลงพันธุกรรมพืชขึ้นมาหรื อ ที่เรี ยกว่า Genetically Modified Organisms (GMOs) ซึ่งการดัดแปลพันธุกรรมพืชอาจก่อให้เกิด อันตรายต่อมนุษย์ท้ งั ในด้านสุ ขภาพ ด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจและสังคม


21

ในด้านผลกระทบที่เกิดกับสุ ขภาพนั้นเกิดสารเคมีที่ใช้ในการดัดแปลงพันธุ กรรมอาจเข้า ไปก่ อตัวและสะสมในร่ างกายซึ่ งอาจก่ อให้เกิ ดโรคร้ ายได้ในอนาคต รวมถึงอาจก่ อให้เกิ ดโรค ภูมิแพ้และการดื้อยาปฏิชีวนะขึ้น ในด้านสิ่ งแวดล้อมอาจเกิดจากสารเคมีบางชนิด เช่น Bt toxin ที่มีอยูใ่ น GMOs บางชนิ ด อาจมีผล กระทบต่อแมลงที่มีประโยชน์ชนิ ดอื่นๆ และอาจส่ งผลกระทบต่อความหลากหลายทาง ชีวภาพเนื่ องจากอาจก่อให้เกิดสิ่ งมีชีวิตที่เหนื อกว่าสายพันธุ์เดิมในธรรมชาติ หรื อลักษณะที่ไม่พึง ประสงค์ที่ถูกถ่ายทอดไปยังสายพันธุ์ ในด้านเศรษฐกิจ และสังคมอาจก่อให้เกิดการครอบงําโดยบริ ษทั ข้ามชาติที่มีสิทธิ บตั รถือ ครองสิ ทธิ์ ในทรัพย์สินทางปั ญญาที่เกี่ยวข้องกับ GMOs ทําให้เกิดความกังวลเกี่ยวกับความมัน่ คง ทางอาหาร ตลอดจนปั ญหาความสามารถในการพึ่งตนเองของประเทศในอนาคต ที่มกั ถูกหยิบ ยกขึ้นมากล่าวถึงโดย NGOs และปั ญหาในเรื่ องการกีดกันสิ นค้า GMOs ในเวทีการค้าระหว่าง ประเทศ ซึ่งเป็ นประเด็นปั ญหาของ ประเทศไทยอยูใ่ นปั จจุบนั การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน พัฒนพัฒน์พิชญธรรมกุล (ม.ป.ป.) ได้กล่าวไว้ว่าการพัฒนาที่ยงั่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่บูรณา การให้เกิดองค์รวมคือ องค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะมาประสานกันครบองค์และมีลกั ษณะอีก อย่างหนึ่งคือมีดุลยภาพ กล่าวคือ ธรรมชาติแวดล้อมกับเศรษฐกิจจะต้องบูรณาการเข้าด้วยกันจะทํา ให้เกิดสภาพที่เรี ยกว่าเป็ นภาวะยัง่ ยืนทั้งในทางเศรษฐกิจและในทางสภาพแวดล้อม การคุม้ ครอง สภาพแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยใช้มนุษย์เป็ นแกนกลางการพัฒนาเพื่อสร้างให้ เกิ ดความสมดุ ล ระหว่างคนธรรมชาติ และสรรพสิ่ ง เพื่อให้อยู่ร่วมกันด้วยความเกื้ อกูลกัน ไม่ ทําลายล้างกันทุกสิ่ งในโลกก็จะอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข ส่ งผลต่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนอย่างแท้จริ ง


22

G.H. Brundland (อ้างในสุ ภิญญาอนุกานนท์, 2547: 134) ให้คาํ จํากัดความไว้วา่ การพัฒนา แบบยัง่ ยืน คือ การพัฒนาที่รับประกันว่าสามารถจะสนองความต้องการทั้งหลายในปั จจุบนั ได้โดย ไม่ทาํ ให้ความสามารถที่จะสนองความต้องการของรุ่ นต่อๆไปในอนาคตเสื่ อมเสี ย คณะกรรมาธิการแห่ งโลกด้านสิ่ งแวดล้อมและการพัฒนาของสหประชาชาติ (UN World Commission on Environment and Development) ให้ความหมายของการพัฒนาแบบยัง่ ยืนว่าการ พัฒนาแบบยัง่ ยืนคือการพัฒนาที่สามารถจะบรรลุความต้องการทั้งหลายในปัจจุบนั โดยที่การพัฒนา นี้จะไม่ทาํ ให้เกิดผลเสี ยหายต่อความสามารถในการพัฒนาของคนรุ่ นต่อไปในอนาคต Edward B. Barbier (อ้างในวราพรศรี สุพรรณ, 2543: 104) ได้เสนอว่าการพัฒนาเศรษฐกิจ แบบยัง่ ยืน (sustainable economic development) เป็ นรู ปแบบการพัฒนาที่สามารถตอบสนองต่อ เป้ าหมายของระบบ 3 ระบบด้วยกันคือระบบทางชีววิทยาระบบเศรษฐกิจและระบบสังคมโดยที่แต่ ละระบบสามารถพัฒนาไปสู่ เป้ าหมายของตนเองได้  เป้ าหมายของระบบทางชี ววิทยา คือ การนําไปสู่ ความหลากหลายทางพันธุ กรรม (Genetic Diversity) ความสามารถในการกลับคืนสู่ สมดุลในกรณี ที่ถูกรบกวนหรื อถูกใช้ไป (Resiliance) และความสามารถในการให้ผลผลิตทางชีวภาพ (Biological productivity)  เป้ าหมายของระบบเศรษฐกิจคือการนําไปสู่ การได้รับความต้องการขั้นพื้นฐานอย่าง เพียงพอส่ งเสริ มให้เกิดความเท่าเทียมกัน (equity-enhancing) มีสินค้าและบริ การเพิ่มขึ้น  เป้ าหมายต่างๆในสังคมของระบบสังคมคือการนําไปสู่ ความหลากหลายในวัฒนธรรม (cultural diversity) มีสถาบันที่ยงั่ ยืนยาวนานมีความเป็ นธรรมทางสังคม และมีส่วนร่ วมจากผูค้ น จากแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนที่ได้กล่าวมาข้างต้นนั้น สามารถสรุ ปความหมาย ของคําว่าการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนได้คือเป็ นการพัฒนาที่บูรณาการให้เกิ ดองค์รวมคือ องค์ประกอบ ทั้งหลายที่เกี่ยวข้องจะมาประสานกันครบองค์และประกอบไปด้วยความสมดุลระหว่าง 3 ระบบคือ ระบบทางสังคม (Social Coals) เศรษฐกิจ (Economic Coals) และสิ่ งแวดล้อม (Environmental Coals) จะต้องบูรณาการเข้าด้วยกันจะทําให้เกิดสภาพที่เรี ยกว่าเป็ น ภาวะยัง่ ยืนทั้งในทางเศรษฐกิจ และในทางสภาพแวดล้อม เป็ นการพัฒนาที่ตอบสนองความต้องการของคนในรุ่ นปั จจุบนั โดยไม่ทาํ ให้ความสามารถในการพัฒนาของคนรุ่ นต่อไปในอนาคตเสื่ อมเสี ยการพัฒนาแบบยัง่ ยืน เป็ น


23

ขบวนการที่มีการเปลี่ยนแปลงได้แต่จะต้องสอดคล้องกับอนาคตเช่นเดียวกับปั จจุบนั โดยการพัฒนา ยังคงยึดมัน่ ในการคุม้ ครองสภาพแวดล้อมควบคู่ไปกับการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยใช้มนุ ษย์เป็ น แกนกลางการพัฒนาเพื่อสร้างให้เกิดความสมดุล ระหว่างคนธรรมชาติ และสรรพสิ่ ง เพื่อให้อยู่ ร่ วมกันด้วยความเกื้อกูลกัน ไม่ทาํ ลายล้างกันทุกสิ่ งในโลกก็จะอยูร่ ่ วมกันอย่างสงบสุ ข ส่ งผลต่อการ พัฒนาที่ยงั่ ยืนอย่างแท้จริ ง เป้าหมายของการพัฒนาแบบยัง่ ยืน สุ ภิญญาอนุกานนท์ (2547: 140-141) ได้แบ่งเป้ าหมายการพัฒนาแบบยัง่ ยืนเป็ น3ข้อดังนี้ 1. เป้ าหมายทางสังคมในการพัฒนาชนบทเพื่อจะให้ได้ผลเป็ นรู ปธรรมนั้นต้องเข้าใจ รู ปแบบของสังคมชนบทที่อยูใ่ นพื้นที่น้ นั ๆ 2. เป้ าหมายทางเศรษฐกิ จต้องเข้าใจปั จจัยต่างๆที่จะมีผลต่อระบบเศรษฐกิ จของสังคม ชนบทและในการพัฒนาระบบเศรษฐกิจดังกล่าวต้องนําเอาปั ญหาจากผลกระทบที่มีต่อสิ่ งแวดล้อม มาพิจารณาด้วย 3. เป้ าหมายทางด้านสิ่ งแวดล้อม (ทรัพยากรธรรมชาติ) การศึกษาเป้ าหมายทางด้าน สิ่ งแวดล้อมของทรั พยากรธรรมชาติเราจําเป็ นต้องเข้าใจถึงผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมในการ พัฒนาชนบท สําหรั บประเทศไทยได้นาํ แนวคิดของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนเข้ามาเป็ นกระแสหลักของการ พัฒนาประเทศตั้งแต่ปีพ.ศ.2535 หลังจากที่เข้าร่ วมการประชุมสหประชาชาติวา่ ด้วยสิ่ งแวดล้อมและ การพัฒนา (The United Nations Conference on Environment and Development : UNCED) ณกรุ งริ โอเดอจาเนโรประเทศบราซิ ลและได้รับรองเอกสาร "แผนปฏิบตั ิการ 21" หรื อ Agenda 21 ซึ่งเป็ น หนึ่ งในผลจากการประชุ มให้เป็ นแผนแม่บทโดยเอกสารนี้ ได้กาํ หนดแนวทางการดําเนิ นการใน สาขาต่ างๆทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิ จสังคมและสิ่ งแวดล้อมให้ดาํ เนิ นไปด้วยกันอย่างสมดุ ล ประเทศต่างๆทัว่ โลกที่ให้การรับรองจะร่ วมกันใช้แผนปฏิบตั ิการ 21 นี้ เป็ นแนวทางปฏิบตั ิร่วมกัน เพื่อพิทกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในศตวรรษที่ 21 โดยนําไปปรับใช้ตามลําดับ ความสําคัญของแต่ละประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วย


24

การพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่มุ่งเน้นการสร้างความสมดุลใน 3 มิติได้แก่ 1) สังคม 2) เศรษฐกิจและ 3) สิ่ งแวดล้อมโดยการพัฒนาทุกด้านล้วนแล้วแต่มีความสัมพันธ์และเกี่ยวเนื่องกัน แสดงได้ดงั แผนภาพต่อไปนี้

ภาพที่ 2-1 แสดงถึงความสัมพันธ์ของมิติต่างๆอย่างสมดุลเพื่อนําไปสู่ การพัฒนาอย่างยัง่ ยืน ซึ่งสามารถอธิบายความสําคัญของแต่ละมิติได้ดงั นี้ 1. มิติการพัฒนาสั งคม หมายถึงการพัฒนาคนและสังคมให้เชื่ อมโยงกับการพัฒนา เศรษฐกิจทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้อย่างสมดุลโดยพัฒนาคนไทยให้มีผลิตภาพสู งขึ้น ปรับตัวรู ้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงมีจิตสํานึ กและวิถีชีวิตที่เกื้อกูลต่อธรรมชาติมีสิทธิ และโอกาสที่จะ ได้รับการจัดสรรทรัพยากรและผลประโยชน์จากการพัฒนาและคุม้ ครองอย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรม พึ่งพาตนเองได้อย่างมัน่ คงมีระบบการจัดการทางสังคมที่สร้างการมีส่วนร่ วมจากทุกฝ่ ายรวมทั้งมี การนําทุนทางสังคมที่มีอยู่หลากหลายมาใช้อย่างเหมาะสมเพื่อสร้ างสังคมไทยให้เป็ นสังคมที่มี คุณภาพมีการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิตและมีความสมานฉันท์เอื้ออาทร 2. มิติทางเศรษฐกิจหมายถึงระบบเศรษฐกิจที่มีเสถียรภาพอย่างต่อเนื่ องในระยะยาวและ เป็ นการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพการพัฒนาทางเศรษฐกิจจะต้องเป็ นไปอย่างสมดุลและ เอื้ อ ประโยชน์ ต่ อ คนส่ ว นใหญ่ เ ป็ นระบบเศรษฐกิ จ ที่ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขัน และการ


25

เจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นจะต้องมาจากกระบวนการผลิตที่ใช้เทคโนโลยีสะอาดลดปริ มาณของ เสี ยไม่ทาํ ลายสภาพแวดล้อมและไม่สร้างมลพิษที่จะกลายมาเป็ นต้นทุนทางการผลิตระยะต่อไป รวมทั้งเป็ นข้อจํากัดของการพัฒนาเศรษฐกิจอย่างมีประสิ ทธิภาพอย่างยัง่ ยืน 3. มิติทางสิ่ งแวดล้ อมหมายถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในขอบเขตที่ คงไว้ซ่ ึงความหลากหลายทางชีวภาพและสามารถพลิกฟื้ นให้กลับคืนสู่ สภาพใกล้เคียงกับสภาพเดิม ให้มากที่สุดเพื่อให้คนรุ่ นหลังได้มีโอกาสและมีปัจจัยในการดํารงชีพซึ่ งจะต้องปรับเปลี่ยนทัศนคติ ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มุ่งจัดการให้เกิดสมดุลระหว่างการใช้ทรัพยากรธรรมชาติได้อย่าง เกื้ อกูลรวมถึ งการชะลอการใช้และการนําเทคโนโลยีสะอาดมาใช้ให้มากที่ สุด (สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2547) หลักการของการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน Becky J. Brownและคณะ (อ้างในวราพรศรี สุพรรณ, 2543: 296) ได้เสนอลักษณะของการ พัฒนาแบบยัง่ ยืนไว้ดงั นี้ 1. มีความต่อเนื่องของเผ่าพันธุม์ นุษย์บนโลกโดยมีการให้กาํ เนิดชีวิตใหม่และผูท้ ี่เกิดใหม่ สามารถอยูร่ อดเติบโตมีลูกหลานต่อเนื่องไปในสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 2. สามารถรักษาปริ มาณสํารอง (stock) ของทรัพยากรทางชีวภาพและสามารถให้ผลผลิต ทางการเกษตรได้อย่างต่อเนื่องยาวนาน 3. มีจาํ นวนประชากรมนุษย์คงที่ 4. สามารถจํากัดการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ 5. เน้นการพัฒนาในระดับ small-scale และในรู ปแบบการพึ่งตนเองได้ (self-reliance) 6. สามารถรักษาระบบนิเวศและคุณภาพของสิ่ งแวดล้อมได้อย่างต่อเนื่อง


26

วินยั วีระวัฒนานนท์ (2538: 95-100) ได้มีแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาที่ยงั่ ยืนซึ่งหมายถึงการ พัฒนาที่จะส่ งผลต่อมนุษย์และมวลมนุษย์ได้อย่างถาวรมัน่ คงโดยมีหลักการดังนี้ 1. มนุษย์จะยังต้องอาศัยปั จจัยในการดํารงชีวิตจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่ มีอยูใ่ นโลกนี้เท่านั้น 2. การดํา รงชี วิ ต ของมนุ ษ ย์ด้ว ยกัน การดํา รงชี วิ ต ของสิ่ ง มี ชี วิ ต อื่ น ๆสิ่ ง แวดล้อ มทาง ธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้นจะต้องเกื้อกูลซึ่งกันและกัน 3. การพัฒนาคุณภาพสิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติจะเป็ นพลังสําคัญในการพัฒนา สิ่ งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่เสื่ อมโทรมจะต้องได้รับการพัฒนาอย่างเร่ งด่วน 4. การพัฒนาคุณภาพประชากรและกรใช้ทรัพยากรจะเพิ่มขึ้นได้ในปริ มาณที่จาํ กัดเท่านั้น โดยนโยบายของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนต้องก่ อให้เกิ ดผลที่ยงั่ ยืนยาวนานไม่ก่อให้เกิ ดความ เสื่ อมโทรมแก่คุณภาพสิ่ งแวดล้อมและต้องกระทําอย่างจริ งจังซึ่ งมีวิธีการคือการควบคุมการเพิ่ม ประชากรการฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมการป้ องกันกําจัดสารพิษการวางแผนการใช้ที่ดินและนํ้าการ ประหยัดการใช้ทรัพยากรการพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมค่านิ ยมและวัฒนธรรมที่เหมาะสมการ ควบคุมอาวุธสงครามและการให้การศึกษา ปรี ชาเปลี่ยนพงศ์สานต์ (2547: 83) ได้กล่าวว่าการพัฒนาแบบยัง่ ยืนยาวนานคือการพัฒนาที่ สนองความต้องการและความใฝ่ ฝั นของผูค้ นรุ่ นปั จจุบนั โดยไม่ทาํ ลายโอกาสความสามารถและ อนาคตของชนรุ่ นหลังของเราโดยมีหลักการพื้นฐานที่ตอ้ งเน้นมากที่สุด 2 ข้อด้วยกันคือ 1. จะต้องมีการสนองความต้องการของมวลชนผูย้ ากไร้ซ่ ึ งถูกละเลยหรื อถูกทอดทิ้งมา ตลอดในกระบวนการพัฒนาที่ผา่ นมา 2. จะต้องมีการวางขีดจํากัดบางอย่างเพื่อปกป้ องพิทกั ษ์ฐานทรัพยากรธรรมชาติในระบบ สิ่ งแวดล้อมของเรา


27

สรุ ปได้ง่ายๆคือการพัฒนา (การผลิตและการบริ โภคการดํารงชีวิต) จะต้องมีบรรทัดฐาน และวิถีทางภายใต้ขอบเขตของความเป็ นไปได้ทางนิ เวศเมื่อเป็ นเช่นนี้ เศรษฐกิจและสิ่ งแวดล้อมจะ แยกออกจากกันไม่ได้เลยเศรษฐศาสตร์ และนิ เวศวิทยาจะต้องรวมเข้ากันเป็ น “ศาสตร์ แห่ งการ พัฒนาแบบยัง่ ยืนยาวนาน” ดังนั้นยุทธศาสตร์ การพัฒนาแบบยัง่ ยืนยาวนานจะต้องครอบคลุม “หลักการพื้นฐาน” ดังต่อไปนี้ 1. ต้องถือว่าการสร้างวัตถุเป็ นปั จจัยที่สําคัญปั จจัยหนึ่ งในการยกระดับชี วิตเป็ นอยู่ของ มวลชนผูย้ ากไร้ความยากจนที่ดาํ รงอยูม่ ีส่วนสําคัญในการก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่าง ไม่ถูกต้อง 2. การสนองความต้องการพื้นฐานของมวลชนเป็ นภารกิจที่สาํ คัญและสามารถทําได้โดย ไม่ตอ้ งมีการทําลายล้างทรัพยากรและสิ่ งแวดล้อม 3. ต้องมีการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติซ่ ึ งหมายความว่าจะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิถีการ ผลิตและการบริ โภคเพื่อลดแรงกดดันที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติ 4. วิ ถี ท างพัฒ นาแบบใหม่ จ ะต้อ งใช้ พ ลัง งานแบบน้ อ ยลงและอย่ า งประหยัด ใน ขณะเดียวกันเทคโนโลยีที่เหมาะสมจะเป็ นปั จจัยสําคัญในการสนองความต้องการของประชาชน ได้มากขึ้นโดยใช้พลังงานในขอบเขตจํากัด 5. จะต้องรักษาความสมดุลระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมการขยายตัวประชากรและ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง หลักการ 5 ข้อนี้ ถือได้ว่าเป็ นหลักการพื้นฐานที่จะเป็ นต้องมีและจะต้องได้รับการ ปฏิบตั ิเพื่อบรรลุเป้ าหมาย “การพัฒนาแบบยัง่ ยืนยาวนาน”


28

นโยบายการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน วินยั วีระวัฒนานนท์ (2541: 51) ได้กล่าวว่าการพัฒนาที่จะก่อให้เกิดผลที่ยงั่ ยืนยาวนานคือ การพัฒนาที่ไม่ก่อให้เกิดความเสื่ อมโทรมแก่คุณภาพสิ่ งแวดล้อมและต้องกระทําอย่างจริ งจังโดย ดําเนินการในด้านต่างๆดังนี้ 1. การควบคุ ม การเพิ่ ม ประชากรการเพิ่ ม ประชากรทํา ให้เ กิ ด การใช้ท รั พ ยากรอย่า ง กว้างขวางต้องมีการผลิ ตอาหารเพิ่มขึ้นต้องการที่อยู่อาศัยต้องการนํ้าดื่ มนํ้าใช้เพิ่มขึ้นฯลฯความ ต้องการที่เพิ่มขึ้นเหล่านี้ ได้ก่อให้เกิดการร่ อยหรอขาดแคลนทรัพยากรเกิ ดสารพิษในสิ่ งแวดล้อม และทําให้ธรรมชาติหรื อสิ่ งแวดล้อมขาดความสมดุลในที่สุดการหยุดยั้งการเติบโตหรื อการหยุดยั้ง การเพิ่ ม ประชากรมนุ ษ ย์จ ะช่ ว ยลดความเสื่ อ มโทรมของสิ่ ง แวดล้อ มและลดปริ ม าณการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติลง 2. การฟื้ นฟูสภาพแวดล้ อมสภาพแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที่อยู่ในสภาพเสื่ อม โทรมเช่ นป่ าไม้แหล่งนํ้าการพังทลายของหน้าดิ นจะต้องได้รับการป้ องกันมิ ให้เกิ ดสภาพเสื่ อม โทรมขึ้นต่อไปและจะต้องฟื้ นฟูพฒั นาปลูกป่ าขุดลอกหาแหล่งนํ้าการใช้ที่ดินเพื่อกิจการต่างๆต้อง เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เป็ นต้น 3. การป้องกันกําจัดสารพิษสารพิษที่ แพร่ กระจายในอากาศแหล่งนํ้าและที่อยู่ในวงจร อาหารจะต้อ งกํา จัด ออกไปโดยการป้ องกัน ควบคุ ม การใช้ส ารพิ ษ เหล่ า นั้น ทั้ง ในการเกษตร อุตสาหกรรมและในบ้านเรื อนมีแหล่งรวบรวมจัดการและขจัดสารพิษเหล่านั้นมิให้แพร่ กระจาย ออกไป 4. การวางแผนการใช้ ที่ดินและนํ้าที่ดินที่มีอยูท่ วั่ ประเทศทั้งในชนบทและในเมืองจะต้อง มีการจัดสรรการใช้ให้เหมาะสมกับสมรรถนะของดินไม่ว่าจะเพื่อประโยชน์ทางเกษตรกรรมหรื อ อุตสาหกรรมการใช้เป็ นชุ มชนที่ อยู่อาศัยและการใช้เพื่อการสาธารณู ปโภคจะต้องเป็ นไปอย่าง สอดคล้องเหมาะสมและให้ประโยชน์สูงสุ ดนํ้าที่ใช้ท้ งั เพื่อการเกษตรอุตสาหกรรมและอุปโภค จะต้องมีการวางแผนการใช้ให้เกิดความเป็ นธรรมพอเหมาะแก่ฤดูกาลและเหมาะกับวัตถุประสงค์ ของการใช้ท้ งั ป้ องกันมิให้มีการแพร่ กระจายสารพิษหรื อป้ องกันนํ้าเสี ยมิให้แพร่ กระจายไปสู่ แหล่ง นํ้าธรรมชาติ


29

5. การประหยัด การใช้ ทรั พ ยากรการใช้ทรั พยากรทุ ก ชนิ ด ไม่ ว่า จะเป็ นนํ้า ไฟฟ้ าหรื อ พลังงานอื่นๆการกินและการใช้เครื่ องใช้ในชีวิตประจําวันทุกชนิดจะต้องเป็ นไปอย่างประหยัดและ ใช้ประโยชน์ให้ได้นานคุม้ ค่ามากที่สุด 6. การพั ฒ นาเทคโนโลยี ที่ เ หมาะสมเทคโนโลยี ที่ จ ะนํ า มาใช้ ท้ ั งในภาคเกษตร อุตสาหกรรมการสื่ อสารคมนาคมและในครัวเรื อนจะต้องเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและไม่ส่งผล กระทบต่อคุณภาพสิ่ งแวดล้อมทั้งจะต้องมีการพัฒนาเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิ ภาพในการแก้ไขและ ฟื้ นฟูสภาพแวดล้อมได้ดว้ ย 7. ค่ านิยมและวัฒนธรรมที่เหมาะสมค่านิ ยมและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับการดํารงชีวิต และการใช้ปัจจัยในการดํารงชีวิตจะต้องเป็ นไปอย่างพอเหมาะกับกําลังการผลิตที่เกิดขึ้นในระบบ นิ เวศน์การโฆษณาประชาสัมพันธ์ที่ก่อให้เกิดค่านิยมฟุ่ มเฟื อยควรถือว่าเป็ นการมุ่งทําลายการดํารง อยูข่ องมนุษยชาติโดยส่ วนรวม 8. การควบคุมอาวุธสงครามอาวุธที่ใช้ทาํ สงครามและเพื่อประโยชน์ในการทําลายล้างกัน จะต้องถูกควบคุมจํากัดการสร้างการใช้และการซื้อขายกันเพื่อป้ องกันการข่มขู่รุกรานการได้เปรี ยบ ในการใช้ทรัพยากรและผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นจากการใช้อาวุธสงครามเหล่านั้น 9. การให้ การศึ กษาโดยเฉพาะการให้การศึกษาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศสังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยีหรื อวิชาการด้านอื่นๆจะก่อให้เกิดความรู ้ความเข้าใจในชีวิต และธรรมชาติอย่างรอบด้านและก่อให้เกิดทักษะที่จาํ เป็ นแก่การดํารงชีวิตที่แท้จริ ง ความเชื่อมโยงของเหตุปัจจัยของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน กรอบแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (2550: 1-3) การพัฒนาที่ผา่ นมาทําให้เกิดความไม่สมดุล ระหว่างการพัฒนาเศรษฐกิ จสังคมทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมซึ่ งทําให้เกิ ดปั ญหาต่างๆ ตามมาดังนี้ 1. ความต้ องการบริ โภคสิ นค้ าและบริ การที่ไม่ สมเหตุสมผลฟุ่ มเฟื อยเป็ นเหตุให้เกิดการ นําทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ในการผลิตและบริ การที่เกินพอดีเกินความต้องการของการดําเนินชีวิต


30

แบบพอเพียงมีของเหลือทิ้งเป็ นมลพิษสู่ ส่ิ งแวดล้อมมากและทําให้คุณภาพทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมขาดสมดุลแม้จะส่ งผลให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจก็ตาม 2. การทีช่ ุ มชนไม่ เข้ มแข็งรับวัฒนธรรมและแนวความคิดผิดๆมาจากต่างประเทศเกี่ยวกับ ความฟุ่ มเฟื อยวัตถุนิยมและบริ โภคนิ ยมทั้งยังขาดการอบรมละทิ้งขนบธรรมเนี ยมประเพณี ด้ งั เดิม ทําให้สังคมเปลี่ยนเป็ นสังคมบริ โภคกอบโกยสะสมเกิดการลงทุนทางธุรกิจที่สูญเปล่าทําให้เกิดผล เสี ยทางเศรษฐกิจเกิดความขัดแย้งทางสังคมและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมถูกทําลายอย่าง รุ นแรง 3. การเคลือ่ นย้ ายทุนจากต่ างประเทศส่ งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อระบบเศรษฐกิจและ สิ่ งแวดล้อมขึ้นอยู่กบั ความสามารถในการแข่งขันและเครื อข่ายทางธุ รกิ จของประเทศการพัฒนา เศรษฐกิจที่พ่ ึงพิงอยู่กบั ทุนต่างประเทศโดยขาดรากฐานที่มนั่ คงภายในทําให้เกิดการล่มสลายของ ระบบอย่างไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนทําให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมเสื่ อมโทรมอย่างรวดเร็ ว 4. นโยบายการเร่ งรัดพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐในอดีตทําให้มีการลงทุนโครงสร้างพื้นฐาน และโครงการขนาดใหญ่จาํ นวนมากโดยขาดการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่ งแวดล้อมมีการใช้ทรัพยากร เป็ นฐานการผลิตอย่างฟุ่ มเฟื อยเกินอัตราการฟื้ นตัวของระบบธรรมชาติสงผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม และความยัง่ ยืนของระบบนิเวศ 5. การที่ทรั พยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อมเสื่ อมโทรมอย่ างรวดเร็ วและรุ นแรงนีเ้ องทํา ให้เกิดเสี ยงเรี ยกร้องของสังคมทั้งจากภายในและนอกประเทศผลักดันให้รัฐบาลดําเนิ นมาตรการ ใดๆที่ มี ผ ลในการอนุ รั ก ษ์แ ละฟื้ นฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้อ มซึ่ ง รวมถึ ง การแก้ไ ข กฎหมายและทบทวนนโยบายของรัฐที่เกี่ยวข้องซึ่ งจะเป็ นการเสริ มสร้างความเข้มแข็งของสังคม และเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาวและรักษาต้นทุนทางทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมไว้ ได้อย่างยัง่ ยืนสําหรับคนรุ่ นต่อไป 6. ยุทธศาสตร์ การแก้ ไขปั ญหาความยากจนและยุทธศาสตร์ เพิ่มทุนทางสั งคมโดยเน้น การมีส่วนร่ วมของประชาชนเมื่อเกิดการบริ หารจัดการที่ดีก็เกิดการแบ่งสรรทรัพยากรที่ใช้ในการ ผลิตที่ยตุ ิธรรมและเกิดการกํากับดูแลด้านอุปสงค์ที่สมเหตุสมผลและไม่ฟุ่มเฟื อยลดความขัดแย้งใน สังคมเปิ ดโอกาสให้สงั คมเรี ยนรู ้พฒั นาความคิดและจิตใจจนทําให้เกิดสังคมพึ่งและพัฒนาตัวเองได้ ในที่สุด


31

7. ยุทธศาสตร์ เพิม่ ความสามารถในการแข่ งขันนอกจากจะทําให้ประเทศสามารถควบคุม การเคลื่อนย้ายทุนจากต่างประเทศเพื่อลดความสู ญเสี ยที่อาจเกิดกับระบบเศรษฐกิจและสิ่ งแวดล้อม ของประเทศยังจะเป็ นกลไกขับเคลื่อนให้เกิดการขยายการผลิตและการตลาดที่เหมาะสมที่จะทําให้ เศรษฐกิจเติบโตแบบยัง่ ยืน การพัฒนาอย่ างยัง่ ยืนตามแนวคิดเชิงพุทธศาสตร์ แนวคิดของพระธรรมปิ ฎก (2539: 58-59) กล่าวว่าหัวใจของการพัฒนาที่ยงั่ ยืนนั้น ประกอบด้วยคําศัพท์ที่นาํ มาจับคู่กนั 2 คู่คือการพัฒนา (Development) กับสิ่ งแวดล้อม (Environment) และเศรษฐกิจ (Economy) กับนิเวศวิทย์ (Ecology) โดยเห็นว่าควรให้ความเจริ ญทาง เศรษฐกิ จอยู่ภายใต้เงื่ อนไขของการอนุ รักษ์สภาพแวดล้อมหมายความว่าต้องให้การพัฒนาหรื อ ความเติบโตทางเศรษฐกิจนั้นอยูใ่ นภาวะที่สิ่งแวดล้อมรองรับไหวด้วยหรื อว่าเจริ ญไปโดยไม่รังแก ธรรมชาติ ประยุทธปยุตโต (2539: 62-63) การพัฒนาที่ยงั่ ยืนนี้มีลกั ษณะเป็ นการพัฒนาที่เป็ นบูรณา การ (integrated) คือทําให้เกิดเป็ นองค์รวม (holistic) หมายความว่าองค์ประกอบทั้งหลายที่เกี่ยวข้อง จะต้องมาประสานกันครบองค์และมีลกั ษณะอีกอย่างหนึ่งคือมีดุลยภาพ (balanced) สําหรับการพัฒนาจะสําเร็ จได้น้ นั พระธรรมปิ ฎกเห็นว่าคนต้องมีจริ ยธรรมเนื่องจากปั จจุบนั มนุ ษ ย์มี นิ สั ย ที่ เ ป็ นสั ง คมบริ โ ภคประสบกับ ปั ญ หาสั ง คมและชี วิ ต จิ ต ใจจนกระทั่ง เกิ ด ปั ญ หา สิ่ งแวดล้อมขึ้นจึงต้องนําเอาจริ ยธรรมมาช่วยแก้ปัญหาอย่างจริ งจังโดยการพัฒนาให้คนมีจริ ยธรรม นั้นจะสําเร็ จได้ดว้ ยการศึกษาอย่างน้อยจะต้องรู ้ เท่าทันปั ญหาเมื่อพัฒนาคนขึ้นไปแล้วจึ งจะเกิ ด จริ ยธรรมที่แท้จริ งคือเป็ นจริ ยธรรมแห่ งความพอใจและความสุ ข แนวคิดของพระราชวรมุนี (ประยูรธมฺ มจิตฺโต: 2542) กล่าวถึงการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนว่าใน ภาษาพระไตรปิ ฎกหรื อภาษาบาลีจะปรากฏในคํา 2 คําคือ“ภาวนา”กับ“พัฒนา”โดยให้ความหมาย ของคําทั้งสองนี้วา่ พัฒนาหรื อวัฒนาหมายถึงการเติบโตเช่นต้นไม้งอกเป็ นการเติบโตที่ไม่มีการควบคุมไม่มี การกําหนดเป้ าหมายซึ่งอาจจะยัง่ ยืนหรื อไม่ยงั่ ยืนก็ได้


32

ภาวนาหมายถึงเจริ ญเป็ นความเจริ ญที่ยงั่ ยืนมีการควบคุมและกําหนดเป้ าหมายซึ่ งคาว่า ภาวนานี้ใช้ในการพัฒนามนุษย์คือกายภาวนาจิตภาวนาศลภาวนาและปัญญาภาวนาโดยการพัฒนาที่ ยัง่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่สมั พันธ์กบั มนุษย์มีมนุษย์เป็ นตัวตั้งในการพัฒนา ซึ่ งหากมองไปว่าการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนเป็ นการพัฒนาที่สัมพันธ์กบั โลกและสิ่ งแวดล้อม ส่ วนใหญ่หมายถึ งการรั กษามรดกของโลกสิ่ งแวดล้อมของโลกให้คงอยู่ชั่วลูกชั่วหลานจะเป็ น แนวคิดที่สัมพันธ์กบั สิ่ งแวดล้อมอย่างเดียวนอกจากนี้ แนวคิดทางพระพุทธศาสนายังถือว่ามนุ ษย์ เป็ นองค์ประกอบที่สาํ คัญคือให้คนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนาเพื่อให้การพัฒนาเป็ นไปเพื่อการ สร้ า งสั น ติ สุ ข การอยู่ ร่ ว มกัน ระหว่ า งมนุ ษ ย์กับ ธรรมชาติ โ ดยใช้ก ารศึ ก ษาเป็ นกลไกในการ ดําเนินการและมีหลักธรรมทางพุทธศาสนาเป็ นเครื่ องมือเป็ นการใช้วิถีชีวิตของคนเป็ นฐานความคิด ในการพัฒ นาคื อ จะมุ่ งไปที่ ก ารพัฒ นาระบบการดํา เนิ น ชี วิต ของคนชุ ม ชนและสัง คมตลอดจน สภาพแวดล้อมให้ดาํ รงอยูด่ ว้ ยดีต่อเนื่องเรื่ อยไป จุดมุ่งหมายปลายทางของการพัฒนาทีย่ งั่ ยืน กรอบแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (2550: 3-4) การที่ให้ความสําคัญต่อการพัฒนาคนให้ “คน เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” และดุลยภาพเป็ นเงื่อนไขของความยัง่ ยืนดังนั้นจุดหมายปลายทางของ การพัฒนาที่ยงั่ ยืนคือ “การพัฒนาที่ทาํ ให้เกิดดุลยภาพของเศรษฐกิจสังคมทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมเพื่อการอยูด่ ีมีสุขของประชาชนตลอดไป” เศรษฐกิ จ ที่ ท ํา ให้ เ กิ ด ดุ ล ยภาพของการพัฒ นาคื อ เศรษฐกิ จ ที่ มี ร ากฐานมั่น คงมี ขี ด ความสามารถในการแข่งขันและสามารถพึ่งตนเองได้โดยมีเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดําริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั เป็ นแนวคิดหลัก สั งคมให้รวมหมายถึงวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นซึ่ งเป็ นระเบียบวิถีชีวิตของสังคมที่ ทําให้มนุษย์ปรับตัวและดํารงชีวิตอยูก่ บั สิ่ งแวดล้อมของท้องถิ่นได้โดยไม่ทาํ ลายสิ่ งแวดล้อมและให้ รวมถึงศาสนธรรมซึ่งเป็ นระเบียบจิตใจของคนในสังคมที่ทาํ ให้สงั คมอยูไ่ ด้โดยสงบสุ ข ทรั พยากรธรรมชาติหมายถึงทรัพยากรของประเทศทั้งที่สามารถหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ ได้เช่นนํ้าและฝูงปลาในทะเลและที่ไม่สามารถหมุนเวียนกลับมาใช้ใหม่ได้เช่นก๊าซธรรมชาติและ ถ่านหิ น


33

สิ่ งแวดล้ อมหมายถึ งทุกสิ่ งทุกอย่างที่อยู่รอบตัวมนุ ษย์ท้ งั ที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตเกี่ ยวโยง สัมพันธ์กนั เป็ นระบบนิ เวศน์ที่สามารถให้คุณและให้โทษต่อมนุ ษย์ได้ข้ ึนกับความสมดุลหรื อไม่ สมดุลของระบบนิ เวศความสมดุลและเชื่ อมโยงระหว่างเศรษฐกิ จสังคมทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ งแวดล้อมกับจุดหมายการพัฒนาที่ทาํ ให้ประชาชนอยูด่ ีมีสุขตลอดไป การดําเนินงานให้ เกิดการพัฒนาอย่ างยัง่ ยืน กรอบแนวทางการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (2550: 5) การพัฒนาที่ยงั่ ยืนเกี่ยวข้องกับคนทุกคน หน่ วยงานทั้งภาครั ฐและเอกชนทุกหน่ วยงานเป็ นภารกิ จที่ ใหญ่ หลวงซึ่ งจะทําให้สําเร็ จได้ตอ้ ง ประกอบด้วย 1. การพัฒนาความรู ้ท้ งั เชิงทฤษฎีและปฏิบตั ิที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 2. กระตุน้ ให้เกิดการตื่นตัวของสังคมที่ทวั่ ถึงและต่อเนื่อง 3. มีความต้องการทางการเมืองที่ชดั เจนและต่อเนื่อง การพัฒนาที่ ยงั่ ยืนของประเทศจะเป็ นผลสําเร็ จได้ตอ้ งเกิ ดจากการพัฒนาระดับชุ มชนที่ ยัง่ ยืนและทัว่ ถึงทั้งระดับหมู่บา้ นตําบลและจังหวัดจึงจะทําให้ประเทศมีการพัฒนาที่ยงั่ ยืนได้ หลักเศรษฐกิจพอเพียง การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คือ การพัฒนาที่ต้ งั อยูบ่ นพื้นฐานของทางสายกลาง และความไม่ประมาท โดยคํานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู ้ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบการวางแผน การตัดสิ นใจและการกระทํา ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วยคุณลักษณะพร้อมๆกันดังนี้ 1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียน ตนเองและผูอ้ ื่น

เช่นการผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ


34

2.ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไป อย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการ กระทํานั้นๆอย่างรอบคอบ 3.การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลง ด้านต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นใน อนาคตทั้งใกล้และไกล สํานักงานคณะกรรมการพัตนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2550: 3) ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทางการดําเนินชีวิตและวิถีปฏิบตั ิที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั มีพระ ราชดํารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 30 ปี และได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางพัฒนาที่ ตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมี เหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันในตัวที่ดี ตลอดจนใช้ความรู ้ และคุณธรรมเป็ นพื้นฐานในการดํารงชีวิต การป้ องกันให้รอดพ้นจากวิกฤต

และให้สามารถดํารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้กระแส

โลกาภิวตั น์และความเปลี่ยนแปลงต่างๆ

“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยู่และปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุก ระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ ดําเนิ นไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อยุคโลกาภิวฒั น์ ความ พอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กัน ในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิ่งในการนําวิชาการต่างๆมาใช้ ในการวางแผนและการดําเนิ นการทุกขั้นตอน และขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของ คนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎีและนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสาํ นึกในคุณธรรม ความ ซื่ อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสมดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปั ญญา และความรอบคอบ เพื่ อ ให้ส มดุ ล และพร้ อ มต่ อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว และ กว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี


35

ดร. อําพน กิตติอาํ พน (2550 :25) หลักความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผลรวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน

กลุ่มพัฒนากรอบแนวคิดทางทฤษฎี เศรษฐศาสตร์ ปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง (2546) เศรษฐกิ จ พอเพี ย ง หมายถึ ง การพยายามพึ่ ง ตนเองช่ ว ยตัว เองให้ ม ากที่ สุ ด เท่ า ที่ จ ะทํา ได้ ให้ พอมีพอกิน โดยเฉพาะอาหารและที่อยูอ่ าศัย ส่ วนที่ไม่สามารถผลิตเองได้ ก็แลกเปลี่ยนหรื อซื้อจาก ภายนอกบ้าง แต่ควรซื้อและใช้ของจากที่ผลิตได้ในท้องถิ่นหรื อในประเทศมากที่สุด พยายามก่อหนี้ ให้น้อยที่สุดและควรมีชีวิต ความเป็ นอยู่ที่เรี ยบง่าย และพอใจในสิ่ งที่ได้รับมาโดยชอบธรรม ไม่ ฟุ้ งเฟ้ อ ฟุ่ มเฟื อย เพื่อให้รายจ่ายไม่เกินรายรับ เศรษฐกิจพอเพียง คือการยึดเส้นทางสายกลาง (มัชฌิมาปฏิปทา) ในการดํารงชีวิต โดยใช้ หลักการพึ่งตนเอง 5 ประการ 1. พึ่งตนเองทางจิตใจ 2. พึ่งตนเองทางสังคม 3. พึ่งตนเองได้ทางทรัพยากรธรรมชาติ 4. พึ่งตนเองได้ทางเทคโนโลยี 5. พึ่งตนเองได้ในทางเศรษฐกิจ คณะอนุ กรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง (2548) เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาชี้ถึง แนวการดํารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึง ระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศในดําเนิ นไปใน ทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนา


36

เศรษฐกิจเพื่อให้กา้ วทันต่อยุคโลกาภิวฒั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการมีผลกระทบใดๆ อันเกิด จากการเปลี่ยแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้ จะต้องอาศัย ความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความ ระมัดระวังอย่างยิง่ ในการนําวิชาการต่างๆมาใช้ในการวางแผนและการดําเนิ นการทุกขั้นตอน และ ขณะเดียวกันจะต้องเสริ มสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่รัฐ นักทฤษฎีและนัก ธุ รกิ จในทุกระดับ ให้มีสํานึ กในคุ ณธรรม ความซื่ อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญา และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อ การรองรั บ การเปลี่ ย นแปลงอย่า งรวดเร็ ว และกว้า งขวาง ทั้งด้า นวัต ถุ สังคม สิ่ ง แวดล้อม และ วัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี

เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดํารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ควร จะเป็ น โดยมีพ้ืนฐานมาจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทย และสามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้กบั การ ปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับตามทางสายกลาง ซึ่ งเป็ นหัวใจสําคัญของปรัชญาเศรษฐกิ จ พอเพียงในการนําสังคมให้สามารถรอดพ้นวิกฤตและดํารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืน หลักการพึง่ พาตนเอง สุ นทร กุลวัฒนวรพงศ์ (2544) “คนเราถ้าพอในความต้องการ มันก็มีความโลภน้อย เมื่อมี ความโลภน้อยก็เบี ยดเบี ยนคนอื่ นน้อย ถ้าประเทศใดมี ความคิดอันนี้ มี ความคิดว่าทําอะไรต้อง พอเพียง หมายความว่า พอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก คนเราก็อยูเ่ ป็ นสุ ข” เศรษฐกิ จ พอเพี ย งหรื อระบบเศรษฐกิ จ ที่ พ่ ึ ง ตนเองได้ ต ามแนวพระราชดํา ริ ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั นั้นอาจมองได้ 2 ลักษณะใหญ่ๆ คือ เศรษฐกิจพอเพียงหมายถึงความสามารถของชุมชนเมือง รัฐ ประเทศหรื อภูมิภาคหนึ่งๆ ใน การผลิตสิ นค้าและบริ การทุกชนิ ดเพื่อเลี้ยงสังคมนั้นๆ ได้โดยไม่ตอ้ งพึ่งพาปั จจัยต่างๆ ที่เราไม่ได้ เป็ นเจ้าของ


37

เศรษฐกิจพอเพียงในระดับบุคคล คือ ความสามารถในการดํารงชีวิตได้อย่างไม่เดือดร้อนมี ความเป็ นอยูอ่ ย่างประมาณตนตามฐานะตามอัตภาพ ที่สาํ คัญไม่หลงใหลไปตามกระแสวัตถุนิยม มี อิสรภาพ เสรี ภาพ ไม่พนั ธนาการอยูก่ บั สิ่ งใด กล่าวโดยสรุ ป คือ หันกลับมายึดเส้นทางสายกลางในการดํารงชีวิต โดยหลักการพึ่งพา ตนเองอาจจะแยกแยะโดยยึดหลักสําคัญอยู่ 5 ประการ คือ 1. ด้านจิ ตใจ ทําตนให้เป็ นที่พ่ ึงตนเอง มีจิตสํานึ กที่ดี สร้างสรรค์ให้ตนเองและชาติ โดยรวม มีจิตใจเอื้ออาทร ประนีประนอม เห็นประโยชน์ส่วนรวมเป็ นที่ต้ งั 2. ด้านสังคม แต่ละชุ มชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน เชื่ อมโยงกันเป็ นเครื อข่ายชุมชนที่ แข็งแรงเป็ นอิสระ 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้งหาทาง เพิ่มมูลค่า โดยยึดอยูบ่ นหลักการของความยัง่ ยืน 4. ด้านเทคโนโลยี จากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงรวดเร็ ว เทคโนโลยีที่เข้ามาใหม่มีท้ งั ดี และไม่ดี จึงต้องแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปัญญาของชาวบ้านและเลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับ ความต้องการตามสภาพแวดล้อมและควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปัญญาของเราเอง 5. ด้านเศรษฐกิจ แต่เดิมนักพัฒนามักมุ่งที่การเพิ่มรายได้และไม่มีการลดรายจ่ายในภาวะที่ เศรษฐกิจวิกฤตเช่นเวลานี้ จึงต้องปรับทิศการพัฒนาใหม่คือมุ่งลดรายจ่ายก่อนเป็ นสําคัญ โดยยึด หลักพออยู่ พอกิน พอใช้


38

แนวคิดและทฤษฎีเกีย่ วกับระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ความหมายของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP เป็ นชื่อย่อของ Generalized System of Preferences หมายถึง ระบบการให้สิทธิ พิเศษ ทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปที่ประเทศที่พฒั นาแล้วให้แก่สินค้าที่มีแหล่งกําเนิ ดใน ประเทศที่ กําลังพัฒนา โดยลดหย่อนหรื อยกเว้นอากรขาเข้าแก่สินค้าที่มีอยูใ่ นข่ายได้รับสิ ทธิ พิเศษทางการค้า ทั้งนี้ประเทศผูใ้ ห้สิทธิพิเศษฯ จะเป็ นผูใ้ ห้แต่เพียงฝ่ ายเดียวไม่หวังผลตอบ แทนใดๆทั้งสิ้ น ความเป็ นมาของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ภายหลัง สงครามโลกครั้ งที่ 2 เศรษฐกิ จ โลกประสบกับ ภาวะเศรษฐกิ จ ตกตํ่า ความ เสี ยเปรี ยบใน การแข่งขันของสิ นค้าจากประเทศที่กาํ ลังพัฒนาเป็ นอุปสรรคต่อการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของ ส่ วนรวม แนวความคิดเกี่ยวกับระบบ GSP จึงเกิดขึ้นในคราวประชุมขององค์การ สหประชาชาติ ว่าด้วยการค้าและการพัฒนาสมัยที่ 1 ที่ นครเจนี วา เมื่อปี 2507 มีความมุ่ งหมาย เพื่อที่จะยก ระดับฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศกําลังพัฒนา โดยการมีรายได้จากการค้าแทนที่จะ ได้รับ ในรู ปของเงินช่วยเหลือ เพราะ การประชุมสหประชาชาติว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรื อ อังค์ถดั ( United Nations Conference on Trade and Development : UNCTAD ) ได้ศึกษาและพบว่า ปั ญหาที่สําคัญของประเทศกําลัง พัฒนาในการ พัฒนาเศรษฐกิจคือ ความเสี ยเปรี ยบทางด้านการ แข่งขันทางการค้ากับประเทศ คู่แข่งที่เป็ นประเทศ พัฒนาแล้ว รายได้ที่เกิ ดจากการส่ งออกของ ประเทศที่กาํ ลังพัฒนาจะถูก หมุนเวียนนํากลับไปโดยการซื้อสิ นค้าอุปโภคและบริ โภคจากประเทศ ที่พฒั นาแล้ว วิธีการช่วย เหลือทางการค้าได้แก่ การที่ประเทศพัฒนาแล้วช่วยเพิ่มความสามารถใน การแข่งขันของสิ นค้า โดยลดหย่อนภาษีขาเข้าแก่ สินค้าที่นาํ เข้าจากประเทศกําลังพัฒนาจึ งเป็ น สิ่ งจําเป็ นดังนั้น ในการประชุมUNCTAD สมัยที่ 2 ณ กรุ งนิวเดลฮี ประเทศอินเดีย เมื่อต้นปี 2511 ที่ ประชุม จึงมีมติยอมรับระบบ GSP โดยในปั จจุบนั มีประเทศพัฒนาแล้วเข้าร่ วมโครงการ รวม 28 ประเทศ


39

ตารางที่ 2-1 ประเทศที่เข้าร่ วมโครงการระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ประเทศ ออสเตรเลีย กลุ่มสหภาพยุโรป (15 ประเทศ) ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ แคนาดา สหรัฐอเมริ กา สมาคมการค้าเสรี แห่ งยุโรป (EFTA) นอร์เวย์ สวิตเซอร์แลนด์ สังคมนิยมยุโรปตะวันออก รัสเซีย ฮังการี บัลกาเรี ย สาธารณรัฐเชคและสโลวาเกีย โปแลนด์ ทีม่ า: กรมการค้าต่างประเทศ, 2555

วันที่เริ่ มให้ GSP 1 กรกฎาคม 2509 1 กรกฎาคม 2514 1 สิ งหาคม 2514 1 มกราคม 2515 1 กรกฎาคม 2517 1 มกราคม 2519 1 ตุลาคม 2514 1 มีนาคม 2515 1 มกราคม 2508 1 มกราคม 2515 1 เมษายน 2515 28 กุมภาพันธ์ 2515 1 มกราคม 2519

วัตถุประสงค์ของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป 1. เพื่อเพิ่มรายได้จากการส่ งออกให้กบั ประเทศที่กาํ ลังพัฒนา 2. เพื่อส่ งเสริ มอุตสาหกรรมของประเทศที่กาํ ลังพัฒนา 3. เพื่อเพิ่มอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจประเทศกําลังพัฒนา


40

สาระสํ าคัญของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ในปั จจุบนั ประเทศให้ GSP รวม 28 ประเทศ แบ่งออกเป็ น 13 ระบบ สาระสําคัญของ ระบบGSPโดยทัว่ ไปมี ดังนี้ 1. ระยะเวลาของโครงการ กําหนดอายุของโครงการอาจจะเป็ น 8 หรื อ 10 ปี เช่น โครงการ ของสหภาพยุโรปและญี่ปุ่นมีอายุ 10 ปี สหรัฐอเมริ กา 8.5 ปี เป็ นต้น 2. ขอบเขตของสิ นค้า ทุกโครงการจะกําหนดรายชื่อสิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิ GSP สิ นค้า ที่ให้สิทธิ พิเศษฯจะเน้นการให้สิทธิ พิเศษฯ แก่สินค้าอุตสาหกรรม ทั้งนี้ ได้สงวนสิ ทธิ ไม่ให้GSPสิ นค้าบาง รายการ รายการสิ นค้าที่ให้สิทธิ GSP ของระบบสําคัญๆมีดงั นี้ 2.1 สหภาพยุโรป ให้สิทธิ GSP แก่สินค้าอุตสาหกรรมเกือบทุกรายการ ส่ วนสิ นค้าเกษตร ให้สิทธิพิเศษฯ บางรายการ สิ นค้าที่ไม่ได้รับสิ ทธิ GSP ส่ วนมากเป็ นสิ นค้าผลิตภัณฑ์ทางเกษตร 2.2

สหรัฐอเมริ กา ให้สิทธิ พิเศษฯ สิ นค้าเกษตรและสิ นค้าอุตสาหกรรมประมาณ 4,400

รายการสิ นค้าที่ไม่อยูใ่ นข่ายได้รับสิ ทธิ GSP ได้แก่ สิ่ งทอ,และผลิตภัณฑ์สิ่งทอ รองเท้า,เครื่ องแก้ว, เหล็กและผลิตภัณฑ์เหล็ก,ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม,สิ นค้า เกษตร บางรายการเป็ นต้น 2.3 ญี่ปุ่น ให้ GSP ทั้งสิ นค้าเกษตรและสิ นค้าอุตสาหกรรม สําหรับสิ นค้าที่ ไม่ได้สิทธิ GSP ส่ วนมากเป็ นสิ นค้าผลิตภัณฑ์ทางเกษตร 3. ภาษีที่ได้รับการลดหย่อน สิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิพิเศษฯ จะถูกเรี ยกเก็บนําเข้าตํ่ากว่าอัตรา ปกติ หรื อได้รับการยกเว้นภาษีนาํ เข้า 4. กฎว่าด้วยแหล่งกําเนิ ดสิ นค้า (Rules of Origin) สิ นค้าที่มีสิทธิจะได้รับ GSP จะต้องผลิตตาม เงื่อนไขของแต่ละระบบที่กาํ หนดไว้ โดยมีหลักเกณฑ์สาํ คัญ ๆ ดังนี้


41

4.1 หลักเกณฑ์วา่ ด้วยแหล่งกําเนิด (Origin criteria) โดยกําหนดเงื่อนไข ดังนี้ 4.1.1 เป็ นสิ นค้าที่ผลิตขึ้นโดยใช้วตั ถุดิบที่เกิดขึ้นภายในประเทศทั้งหมด หรื อ 4.1.2 สิ นค้าที่ผลิตจากวัตถุดิบนําเข้า ซึ่งสิ นค้าเหล่านี้จะมีคุณสมบัติถูกต้อง ก็ต่อเมื่อได้ ผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอภายในประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP และจะต้องใช้วตั ถุดิบนําเข้าใน สัดส่ วนที่กาํ หนดไว้เท่านั้น 4.2 เงื่อนไขการส่ งมอบสิ นค้า สิ นค้าที่มีแหล่งกําเนิ ดในประเทศจะต้องส่ งมอบโดยตรงจาก ประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP ไปยังประเทศผูใ้ ห้สิทธิ GSP เป็ นลักษณะสําคัญของกฎว่า ด้วยแหล่งกําเนิด สิ นค้าของระบบ GSP เกือบทุกระบบ 4.3 เอกสารสําหรับใช้เป็ นมาตรฐาน สิ นค้าที่จะได้รับสิ ทธิ GSP จะต้องมีหนังสื อรับรอง แหล่งกําเนิ ดสิ นค้าแบบ เอ หรื อ Form A ซึ่ งออกให้โดยส่ วนราชการ(ยกเว้นสหรัฐ อเมริ กา ,ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์) ไปแสดงต่อศุลกากรประเทศปลายทาง 3. การจํากัดการให้ GSP ประเทศที่ให้สิทธิ GSP ต่างกําหนดมาตรการการจํากัดการให้ สิ ทธิ GSP เพื่อคุม้ ครองอุตสาหกรรมภายในประเทศและการกระจายผลประโยชน์ที่ได้จากการ ได้รับการ ลด หย่อนภาษีนาํ เข้าให้กบั ประเทศที่ได้รับสิ ทธิ พิเศษฯ อื่น ๆ มาตรการจํากัดการให้สิทธิ พิเศษฯ โดยทัว่ ไปจะกําหนด เพดานหรื อโควต้า GSP ซึ่ งในปั จจุบนั ระบบ GSP ที่ใช้มาตรการนี้ ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา,ญี่ปุ่นและนิวซีแลนด์ ประโยชน์ ของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ในภาวะที่การค้าต่างประเทศต้องประสบปั ญหาด้านการแข่งขันอย่างรุ นแรงทั้งด้านราคา และ คุณภาพและในฐานะที่ไทยกําลังอยู่ในระหว่างการพัฒนาการผลิตเพื่อการส่ งออกโดยเฉพาะ สิ นค้าอุสาหกรรม GSP จึงนับได้ว่าเป็ นมาตรการหนึ่ งในการส่ งเสริ มการส่ งออกของไทยเพราะ


42

GSPจะเป็ นการลดต้นทุนการนําเข้าย่อมจะจูงใจให้ผซู ้ ้ื อในต่างประเทศที่ให้สิทธิ GSP เพิ่มการ นําเข้าจากไทย ซึ่งจะเป็ นผลดีต่อเศรษฐกิจโดยส่ วนรวม ฉะนั้นประโยชน์ของ GSP อาจสรุ ปได้ดงั นี้ 1. ส่ งเสริ มการส่ งออก และเปิ ดโอกาสให้สินค้าใหม่ ๆ สามารถเข้าสู่ ตลาดเหล่านี้ ได้โดย อาศัย สิ ทธิพิเศษเป็ นเครื่ องมือในการเจาะตลาด 2. ส่ งเสริ มด้านการผลิต โดยเฉพาะสิ นค้าอุตสาหกรรม ซึ่งจะนําไปสู่ การเพิ่มการลงทุน การ จ้างงานและอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศโดยส่ วนรวม 3. ส่ งเสริ มให้มีการใช้วตั ถุดิบภายในประเทศ ทั้งนี้เพื่อให้เป็ นไปตามเงื่อนไขของกฎว่าด้วย แหล่งกําเนิดสิ นค้า ตารางที่ 2-2 กลุ่มสิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ตอนที่

รายละเอียดสิ นค้า

1 2 3 4

สัตว์มีชีวิต เนื้อสัตว์และส่ วนอื่นของสัตว์ที่บริ โภคได้ ปลา สัตว์น้ าํ จําพวกครัสตาเซีย โมลลุสก์ และสัตว์น้ าํ ที่ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ผลิตภัณฑ์นม ไข่สตั ว์ปีก นํ้าผึ้งธรรมชาติ ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ที่บริ โภคได้ ซึ่งไม่ได้ ระบุหรื อรวมไว้ในที่อื่น ผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ที่ไม่ได้ระบุหรื อรวมไว้ในที่อื่น ต้นไม้และพืชอื่น ๆ ที่มีชีวิต หัว ราก และสิ่ งที่คล้ายกัน ดอกไม้ และใบไม้ที่ใช้ ประดับ พืชผักรวมทั้งราก และหัวบางชนิดที่บริ โภคได้ ผลไม้และลูกนัตที่บริ โภคได้ เปลือกผลไม้ ประเภทส้ม หรื อเปลือกแตง กาแฟ ชา ชามาเต้ และเครื่ องเทศ ธัญพืช ผลิตภัณฑ์ของอุตสาหกรรมโม่สีเมล็ดธัญพืช มอลต์ สตาร์ช อินูลิน และกลูเทน

5 6 7 8 9 10 11


43

ตารางที่ 2-2 (ต่อ) ตอนที่ 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27 28 29 30 31 32

รายละเอียดสิ นค้า

เมล็ดพืชและผลไม้ ที่มีน้ าํ มัน เมล็ดธัญพืช เมล็ดพืชและผลไม้เบ็ดเตล็ด พืชที่ใช้ใน อุตสาหกรรมหรื อใช้เป็ นยา ฟาง และหญ้าแห้งที่ใช้เป็ นอาหารสัตว์ ครั่ง รวมทั้งกัม เรซิน นํ้าเลี้ยง (แซป) และสิ่ งสกัดอื่น ๆ จากพืช วัตถุจากพืชที่ใช้ถกั สาน ผลิตผลจากพืชที่ไม่ได้ระบุหรื อรวมไว้ในที่อื่น ไขมันและนํ้ามันที่ได้จากสัตว์หรื อพืช และผลิตภัณฑ์ที่แยกได้จากไขมันและนํ้ามัน ดังกล่าว ไขมันที่บริ โภคได้ ซึ่งจัดทําแล้ว ไขที่ได้จากสัตว์หรื อพืช ของปรุ งแต่งจากเนื้อสัตว์ ปลา หรื อสัตว์น้ าํ จําพวกครัสตาเซีย โมลลุสก์ หรื อจาก สัตว์ นํ้าที่ไม่มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ นํ้าตาลและขนมทําจากนํ้าตาล (ชูการ์คอนเฟกชันเนอรี ) โกโก้และของปรุ งแต่งที่ทาํ จากโกโก้ ของปรุ งแต่งจากธัญพืช แป้ ง สตาร์ช หรื อนม ผลิตภัณฑ์อาหารจําพวกเพสทรี ของปรุ งแต่งทําจากพืชผัก ผลไม้ ลูกนัต หรื อจากส่ วนอื่นของพืช ของปรุ งแต่งเบ็ดเตล็ดที่บริ โภคได้ เครื่ องดื่ม สุ รา นํ้าส้มสายชู กากและเศษที่เหลือจากอุตสาหกรรมผลิตอาหาร อาหารที่จดั ทําไว้สาํ หรับเลี้ยงสัตว์ ยาสู บและผลิตภัณฑ์ที่ใช้แทนยาสูบ เกลือ กํามะถัน ดิน และหิ น วัตถุจาํ พวกปลาสเตอร์ ปูนขาว และซีเมนต์ สิ นแร่ ตะกรัน และเถ้า เชื้อเพลิงที่ได้จากแร่ นํ้ามันแร่ และผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลัน่ สิ่ งดังกล่าว สารบิทู มินสั ไขที่ได้จากแร่ เคมีภณ ั ฑ์อนินทรี ย ์ สารประกอบอินทรี ยห์ รื อสารประกอบอนินทรี ยข์ องโลหะมีค่า ของโลหะจําพวกแรร์เอิร์ท ของธาตุกมั มันตรังสี หรื อของไอโซโทป เคมีภณ ั ฑ์อินทรี ย ์ ผลิตภัณฑ์ทางเภสัชกรรม ปุ๋ ย สิ่ งสกัดที่ใช้ฟอกหนังหรื อย้อมสี แทนนินและอนุพนั ธ์ของแทนนิน สี ยอ้ มสารสี (พิก


44

ตารางที่ 2-2 (ต่อ) ตอนที่

รายละเอียดสิ นค้า

เมนต์) และวัตถุแต่งสี อื่น ๆ สี ทาและวาร์นิช พัตตี้ และมาสติกอื่น ๆ รวมทั้งหมึก 33

เอสเซนเชียลออยล์และเรซินนอยด์ เครื่ องหอม เครื่ องสําอาง หรื อสิ่ งปรุ งแต่งสําหรับ ประทินร่ างกายหรื อประเทืองโฉม (ทอยเล็ตเพรพาเรชัน)

34

สบู่ สารอินทรี ยท์ ี่เป็ นตัวลดแรงตึงผิว สิ่ งปรุ งแต่งที่ใช้ซกั ล้าง สิ่ งปรุ งแต่งที่ใช้หล่อลื่น ไขเทียม ไขปรุ งแต่ง สิ่ งปรุ งแต่งที่ใช้ขดั เงาหรื อขัดถู เทียนไขและของที่คล้ายกัน เพสต์สาํ หรับทําแบบ "ไขที่ใช้ทางทันตกรรม" สิ่ งปรุ งแต่งทางทันตกรรมซึ่งมี ปลาสเตอร์เป็ นหลัก สารแอลบูมินอยด์ โมดิไฟด์สตาร์ช กาว เอนไซม์

35 36 37 38 39 40 41 42 43 44 45 46

วัตถุระเบิด ผลิตภัณฑ์จาํ พวกดอกไม้เพลิง ไม้ขีดไฟ แอลลอยที่ทาํ ให้เกิดประกายไฟ สิ่ งปรุ งแต่งที่สนั ดาปได้บางชนิด ของที่ใช้ในการถ่ายรู ปหรื อถ่ายภาพยนตร์ เคมีภณ ั ฑ์เบ็ดเตล็ด พลาสติกและของที่ทาํ ด้วยพลาสติก ยางและของทําด้วยยาง หนังดิบ (นอกจากหนังเฟอร์) และหนังฟอก เครื่ องหนัง เครื่ องอานและเครื่ องเทียมลาก เครื่ องใช้สาํ หรับเดินทาง กระเป๋ าถือ และ ภาชนะที่คล้ายกัน ของที่ทาํ ด้วยไส้สตั ว์ (นอกจากไส้ตวั ไหม) หนังเฟอร์ เฟอร์เทียม และผลิตภัณฑ์ของของดังกล่าว ไม้และของทําด้วยไม้ ถ่านไม้ ไม้ก๊อกและของทําด้วยไม้ก๊อก ผลิตภัณฑ์ทาํ ด้วยฟาง ทําด้วยเอสพาร์โตหรื อวัตถุถกั สานอื่น ๆ เครื่ องจักสาน หรื อ เครื่ องสาน

47

เยือ่ ไม้หรื อเยือ่ ที่ได้จากวัตถุจาํ พวกเส้นใยเซลลูโลสอื่น ๆ เศษและของที่ใช้ไม่ได้ ที่ เป็ นกระดาษหรื อกระดาษแข็ง

48

กระดาษและกระดาษแข็ง ของทําด้วยเยือ่ กระดาษหรื อทําด้วยกระดาษหรื อ กระดาษ แข็ง


45

ตารางที่ 2-2 (ต่อ) ตอนที่ รายละเอียดสิ นค้า 49 หนังสื อที่พิมพ์เป็ นเล่ม หนังสื อพิมพ์ รู ปภาพ และผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของ อุตสาหกรรม การพิมพ์ ต้นฉบับที่เขียนหรื อดีดพิมพ์และแปลน 50 ไหม 51 ขนแกะ ขนละเอียดหรื อขนหยาบของสัตว์ ด้ายขนม้า และผ้าทอ 52 ฝ้ าย 53 เส้นใยสิ่ งทอที่ได้จากพืชอื่น ๆ ด้ายกระดาษ และผ้าทอจากด้ายกระดาษ 54 ใยยาวประดิษฐ์ 55 เส้นใยสั้นประดิษฐ์ 56 แวดดิ้ง สักหลาดและผ้าไม่ทอ ด้ายชนิดพิเศษ เชือกชนิดทไวน์ ชนิดคอร์เดจ ชนิดโรป 57 58 59 60 61 62 63 64 65 66 67 68

และเคเบิล และของทําด้วยสิ่ งดังกล่าว พรมและสิ่ งทอปูพ้ืนอื่น ๆ ผ้าทอชนิดพิเศษ ผ้าสิ่ งทอที่ทาํ ปุยแบบทัฟต์ ผ้าลูกไม้ เทเพสตรี ผ้าที่ใช้ตกแต่ง ผ้าปัก ผ้าสิ่ งทอ ที่อาบซึม เคลือบ หุม้ หรื ออัดเป็ นชั้น ของทําด้วยสิ่ งทอชนิดที่เหมาะ สําหรับ ใช้ในอุตสาหกรรม ผ้าถักแบบนิตหรื อแบบโครเชต์ เครื่ องแต่งกายและของที่ใช้ประกอบกับเครื่ องแต่งกาย ถักแบบนิตหรื อแบบโครเชต์ เครื่ องแต่งกายและของที่ใช้ประกอบกับเครื่ องแต่งกาย ที่ไม่ได้ถกั แบบนิตหรื อ โคร เชต์ ของทําด้วยสิ่ งทอที่จดั ทําแล้วอื่น ๆ ของเป็ นชุด เสื้ อผ้าที่ใช้แล้วและของที่ใช้แล้วทํา ด้วยสิ่ งทอ ผ้าขี้ริ้ว รองเท้า สนับแข้งและของที่คล้ายกัน รวมทั้งส่ วนประกอบของของดังกล่าว เครื่ องสวมศีรษะ และส่ วนประกอบของเครื่ องสวมศีรษะ ร่ ม ร่ มปั กกันแดด ไม้เท้า ไม้เท้าที่เป็ นที่นง่ั แส้ (วิป) แส้ขี่มา้ และส่ วนประกอบของ ของดังกล่าว ขนแข็งและขนอ่อนของสัตว์ปีกที่จดั เตรี ยมแล้ว และของทําด้วยขนดังกล่าว ดอกไม้ เทียม ของทําด้วยผมคน ของทําด้วยหิ น ปลาสเตอร์ ซีเมนต์ แอสเบสทอส ไมกาหรื อวัตถุที่คล้ายกัน


46

ตารางที่ 2-2 (ต่อ) ตอนที่ 69 70 71

72 73 74 75 76 77 78 79 80 81 82 83 84

86

87

รายละเอียดสิ นค้า ผลิตภัณฑ์เซรามิก แก้วและเครื่ องแก้ว ไข่มุกธรรมชาติหรื อไข่มุกเลี้ยง รัตนชาติหรื อกึ่งรัตนชาติ โลหะมีคา่ โลหะที่หุม้ ติด ด้วยโลหะมีค่า และของที่ทาํ ด้วยของดังกล่าว เครื่ องเพชรพลอยและรู ปพรรณที่เป็ น ของเทียม เหรี ยญกษาปณ์ เหล็กและเหล็กกล้า ของทําด้วยเหล็กหรื อเหล็กกล้า ทองแดงและของทําด้วยทองแดง นิกเกิลและของทําด้วยนิกเกิล อะลูมิเนียมและของทําด้วยอะลูมิเนียม (เว้นว่างไว้เพือ่ ประโยชน์ในภายหน้า) ตะกัว่ และของทําด้วยตะกัว่ สังกะสี และของทําด้วยสังกะสี ดีบุกและของทําด้วยดีบุก โลหะสามัญชนิดอื่น เซอร์เมต และของทําด้วยของดังกล่าว เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ของใช้ชนิดมีคม ช้อนและส้อม ทําด้วยโลหะสามัญ ส่ วนประกอบ ของของดังกล่าวทําด้วยโลหะสามัญ ของเบ็ดเตล็ดทําด้วยโลหะสามัญ เครื่ องจักรไฟฟ้ า เครื่ องอุปกรณ์ไฟฟ้ า และส่ วนประกอบของเครื่ องดังกล่าว เครื่ อง บันทึกเสี ยงและเครื่ องถอดเสี ยง เครื่ องบันทึกและเครื่ องถอดภาพและเสี ยงทางรวมทั้ง ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของเครื่ องดังกล่าว หัวรถจักรของรถไฟหรื อรถราง รถที่เดินบนราง และส่ วนประกอบของของดังกล่าว สิ่ งติดตั้งถาวรและอุปกรณ์ติดตั้งสําหรับรางรถไฟหรื อรถรางและส่ วนประกอบของ สิ่ งดังกล่าว เครื่ องอุปกรณ์กล (รวมถึงที่เป็ นเครื่ องกลไฟฟ้ า) สําหรับให้สญ ั ญาณทาง จราจรทุกชนิดโทรทัศน์ ยานบกนอกจากรถที่เดินบนรางรถไฟหรื อรางรถราง ส่ วนประกอบและอุปกรณ์


47

ตารางที่ 2-2 (ต่อ) ตอนที่ 88 89 90

91 92 93 94

95

รายละเอียดสิ นค้า อากาศยาน ยานอากาศ และส่ วนประกอบของยานดังกล่าว เรื อและสิ่ งก่อสร้างลอยนํ้า อุปกรณ์และเครื่ องอุปกรณ์ที่ใช้ในการทัศนศาสตร์ การถ่ายรู ป การถ่ายทําภาพยนตร์ การวัด การตรวจสอบ การวัดความเที่ยง การแพทย์หรื อศัลยกรรม รวมทั้ง ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของของดังกล่าว นาฬิกาชนิดคล็อกและชนิดวอตซ์ และส่ วนประกอบของนาฬิกาดังกล่าว เครื่ องดนตรี รวมทั้งส่ วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของเครื่ องดนตรี อาวุธและกระสุ น รวมทั้งส่ วนประกอบและอุปกรณ์ประกอบของของดังกล่าว เฟอร์นิเจอร์ เครื่ องเตียง ฟูก ฐานรองฟูก เบาะ และสิ่ งตกแต่งยัดไส้ที่คล้ายกัน เครื่ อง ประทีปโคมไฟที่ไม่ได้ระบุหรื อรวมไว้ในที่อื่น เครื่ องหมายที่มีแสงสว่าง แผ่นป้ ายชื่อ ที่มีแสงสว่างและของที่คล้ายกัน รวมทั้งอาคารสําเร็ จรู ป

ของเล่น ของเล่นเกม และของใช้ที่จาํ เป็ นในการเล่นกีฬา ส่ วนประกอบและอุปกรณ์ ประกอบของของดังกล่าว 96 ผลิตภัณฑ์เบ็ดเตล็ด 97 ศิลปกรรม ของที่นกั สะสมรวบรวม และโบราณวัตถุ ทีม่ า: กรมการค้าต่างประเทศ, 2555


48

แนวคิดระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สหภาพยุโรป (กรมการค้ าต่ างประเทศ: 2554) ข้ อมูลทัว่ ไป วันเริ่ มโครงการ สหภาพยุโรปเริ่ มให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ครั้งแรกในปี 2514 แก่ประเทศกําลังพัฒนา ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด และดินแดนในเขตปกครองต่างๆ รวมทั้งสิ้ น 176 ประเทศ สหภาพฯ กําหนดอายุโครงการ GSP รอบละ 10 ปี โดยปั จจุบนั เป็ นโครงการที่ 4 (พ.ศ. 2549-2558 ) ซึ่งคณะกรรมาธิการยุโรปได้กาํ หนดให้แบ่งโครงการเป็ น 3 ช่วง ดังนี้ ช่วงที่ 1 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2549- 31 ธันวาคม 2551 ช่วงที่ 2 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2552- 31 ธันวาคม 2554 (มีผลบังคับใช้ตาม Council Regulation No 732/2008 **) ช่วงที่ 3 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555- 31 ธันวาคม 2558 รู ปแบบการให้ สิทธิ การให้สิทธิแบ่งเป็ น 3 แบบ คือ แบบที่ 1: สิ ทธิพเิ ศษทัว่ ไป (General Arrangement) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ ประเทศกําลังพัฒนากว่า 176 ประเทศทัว่ โลกโดยการยกเว้นหรื อการลดอัตราภาษีศุลกากรลงจาก อัตราปกติ (MFN Duty Rate) ซึ่งครอบคลุมสิ นค้า 6,244 รายการ โดยพิจารณาให้สิทธิ GSP ตาม ความอ่อนไหว (sensitivity) ของสิ นค้า ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ


49

1. กลุ่มสิ นค้าอ่อนไหว (Sensitive product) รวม 3,200 รายการ มีการลดภาษีดงั นี้ 1.1 สิ นค้าที่จดั เก็บภาษีตามมูลค่า (Ad valorem rate) ลดภาษีลง 3.5 หน่วยเปอร์เซ็นต์ จากอัตราภาษีปกติ (MFN) ยกเว้นสิ นค้าในกลุ่มสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่มในตอนที่ 50-63 ลดภาษีลง ร้อยละ 20 ของอัตราภาษีปกติ 1.2 สิ นค้าที่จดั เก็บตามสภาพ (specific rate) เช่น ตามขนาดนํ้าหนัก ลดภาษีลงร้อยละ 30 ของอัตราภาษีปกติ 2. กลุ่มสิ นค้าไม่อ่อนไหว (Non-sensitive product) ได้รับการยกเว้นภาษี แบบที่ 2: สิ ทธิพเิ ศษสํ าหรับประเทศพัฒนาน้ อยที่สุด (Special Arrangements for Least Developed Countries: LDCs) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดตาม คําจํากัดความขององค์การสหประชาชาติซ่ ึ งมี 49 ประเทศ โดยประเทศเหล่านี้ จะได้รับยกเว้นภาษี นําเข้าสําหรับสิ นค้าทุกชนิ ดที่มีการผลิตเป็ นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิ ดสิ นค้าของสหภาพยุโรป ยกเว้น Chapter 93 อาวุธและกระสุ นรวมทั้งส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของดังกล่าวภายใต้โครงการ (Everything But Arms: EBA) แบบที่ 3: สิ ทธิพเิ ศษทางภาษีฯ เพือ่ ส่ งเสริมการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและหลักการธรรมาภิบาลที่ดี (Special Intensive Arrangements: GSP+) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้กบั ประเทศที่มีความ จําเป็ นในการพัฒนาเป็ นพิเศษ (Vulnerable

Countries)

โดยยกเว้นภาษีนาํ เข้าแก่ สินค้าที่มี

แหล่ งกําเนิ ดในประเทศที่ ได้ให้สัตยาบันและมีการปฏิ บตั ิ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพตามอนุ สัญญาที่ ก่อให้เกิ ดการพัฒนาที่ยงั่ ยืนทั้งในด้านของการจัดการสิ่ งแวดล้อม สิ ทธิ แรงงานและการจัดการยา เสพติ ด โดยประเทศที่ จะได้รับสิ ทธิ พิเศษประเภทนี้ จะต้องเป็ นประเทศที่ มีความจําเป็ นในการ พัฒนาเป็ นพิเศษเนื่ องจากการพัฒนาเศรษฐกิ จของประเทศยังพึ่งพิงกับการผลิต และการส่ งออก สิ นค้าเพียงน้อยรายการ ปั จจุบนั มีประเทศที่ได้รับสิ ทธิ GSP+ ทั้งหมด 15 ประเทศ


50

กฎแหล่งกําเนิดสิ นค้ า (Rules of Origin) สิ นค้าที่จะขอใช้สิทธิ GSP ส่ งออกไปสหภาพยุโรปจะต้องผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกําเนิด สิ นค้าภายใต้ระบบ GSP สหภาพยุโรป ดังนี้ 1. ผลิตโดยใช้วตั ถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly-Obtained: WO) ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ น สิ นค้าเกษตรและเกษตรแปรรู ป 2. สิ นค้าที่ผลิ ตโดยมี วตั ถุดิบนําเข้าจะต้องผ่านเกณฑ์การแปรสภาพอย่างพอเพียงตามที่ กําหนดไว้สาํ หรับแต่ละพิกดั สิ นค้า ได้แก่ 3. ผ่านกระบวนการผลิตจนมีการเปลี่ยนพิกดั (Change in Tariff Classification) ในระดับ 4 หลัก หรื อ 4. มีการใช้วตั ถุดิบนําเข้าในการผลิตไม่เกินอัตราสูงสุ ดที่กาํ หนด (Maximum permitted content of non-originating materials) การสะสมแหล่ งกําเนิดสิ นค้ า (Cumulation) สหภาพยุโรปอนุญาตให้ประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ นําวัตถุดิบที่มีแหล่งกําเนิดในประเทศอื่นมาใช้ ในกระบวนการผลิตได้เสมือนวัตถุดิบนั้นมีแหล่งกําเนิดในประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ เอง โดยประเทศไทย สามารถสะสมแหล่งกําเนิดได้กบั ประเทศต่างๆ ดังนี้ 1. ประเทศในกลุ่มอาเซียนทุกประเทศ (ยกเว้นสหภาพพม่า) 2. ประเทศสมาชิกสหภาพฯ สวิตเซอร์ แลนด์ นอร์ เวย์ และตุรกี โดยต้องมีเอกสารรับรอง แหล่งกําเนิดฟอร์ม EUR.1 กํากับมาด้วย


51

3. ประเทศที่มีความตกลง FTA กับสหภาพฯ และประเทศในกลุ่ม SAARC โดยต้องยืน่ คํา ร้องขอสะสมแหล่งกําเนิดฯ ต่อคณะกรรมาธิการยุโรปเพือ่ พิจารณาอนุญาตก่อน สิ นค้ าทีม่ ีมาตรการปกป้ องพิเศษ (Safeguard Measures) หากการนําเข้าสิ นค้าภายใต้สิทธิ GSP เป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรง (เช่น การ ลดลงของส่ วนแบ่งตลาด สิ นค้าคงคลังมากขึ้น การจ้างงานลดลง ราคาสิ นค้าตํ่าลง เป็ นต้น) ต่อ อุ ตสาหกรรมภายในของสหภาพยุโรปที่ ผลิ ตสิ น ค้าชนิ ด เดี ยวกันหรื อมี การแข่งขัน กันโดยตรง สหภาพยุโรปอาจระงับสิ ทธิ GSP และเก็บภาษีนาํ เข้าในอัตราปกติกรณี ที่ประเทศสมาชิกร้องขอ หรื อเมื่อคณะกรรมาธิการยุโรปเห็นสมควร การระงับสิ ทธิ GSP ชั่วคราว (Temporary withdrawal) สหภาพยุโรปอาจระงับสิ ทธิ GSP ทั้งหมดหรื อบางส่ วนเป็ นการชัว่ คราว (เป็ นเวลา 3 เดือน หรื ออาจมากกว่า 3 เดื อน) หากประเทศผูร้ ั บสิ ทธิ ฯ ปฏิบตั ิ หรื อดําเนิ นการต่าง ๆ เช่ น ปฏิ บตั ิต่อ แรงงานเยี่ยงทาส ละเมิดเสรี ภาพในการรวมเป็ นสมาคม เช่นสหภาพแรงงาน ส่ งออกสิ นค้าโดยใช้ แรงงานนักโทษ ละเลยหรื อบกพร่ องในการควบคุมการส่ งออกหรื อส่ งผ่านยาเสพติด เป็ นต้น การตัดสิ ทธิ (GSP Graduation) เกณฑ์การพิจารณาการตัดสิ ทธิมี 2 รู ปแบบ คือ 1. การตัดสิ ทธิท้ งั ประเทศ: ประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ อาจถูกตัดสิ ทธิฯ ในกรณี ที่ 1.1 มีรายได้อยูใ่ นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงตามการจัดอันดับของธนาคารโลก


52

1.2 มีมูลค่าการนําเข้าภายใต้สิทธิพิเศษ GSP ของสหภาพยุโรปในกลุ่มสิ นค้าสําคัญ 5 กลุ่ม น้อยกว่าร้อยละ 75 เป็ นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน 2. การตัดสิ ทธิเป็ นกลุ่มสิ นค้า: เกิดขึ้นในกรณี ที่สินค้าใดก็ตามที่สหภาพยุโรปนําเข้ามีมูลค่า เฉลี่ย 3 ปี ติดต่อกัน เกินกว่าร้อยละ 15 (หรื อร้อยละ 12.5 สําหรับสิ นค้าในหมวดสิ่ งทอและ เครื่ องนุ่งห่ ม) ของมูลค่านําเข้าสิ นค้ารวมในหมวดนั้น ๆ จากทุกประเทศที่ได้รับสิ ทธิ ฯ เอกสารหลักฐาน 1. หนังสื อรับรองแหล่งกําเนิ ดสิ นค้า Form A ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ 2. กรณี ส่ิ งของส่ งไปยังสหภาพยุโรปสําหรับใช้ส่วนตัวที่มูลค่าไม่เกิน 500 ยูโร หรื อกรณี นักท่องเที่ยวที่มีส่ิ งของมูลค่าไม่เกิน 1,200 ยูโร ไม่จาํ เป็ นต้องขอ Form A แนวคิดระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สหภาพยุโรป (กรมการค้ าต่ างประเทศ :2555) ข้ อมูลทัว่ ไป สหภาพยุโรปเริ่ มให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ครั้งแรกในปี 2514 แก่ ประเทศกําลังพัฒนา ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด และดินแดนในเขตปกครองต่างๆ รวมทั้งสิ้ น 89 ประเทศ และคณะกรรมาธิการยุโรปได้ออกระเบียบ Regulation (EU) No. 978/2012 เพื่อรองรับ GSP โครงการปั จจุบนั ซึ่ งมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2555 จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566


53

รู ปแบบการให้ สิทธิ การให้สิทธิแบ่งเป็ น 3 แบบ คือ แบบที่ 1: สิ ทธิพเิ ศษทัว่ ไป (General Arrangement) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ ประเทศกําลังพัฒนากว่า 40 ประเทศ โดยการยกเว้นหรื อการลดอัตราภาษีศุลกากรลงจากอัตราปกติ (MFN Duty Rate) ซึ่งครอบคลุมสิ นค้ากว่า 6,200 รายการ โดยพิจารณาให้สิทธิ GSP ตามความ อ่อนไหว (sensitivity) ของสิ นค้า ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ 1. กลุ่มสิ นค้าอ่อนไหว (Sensitive product) รวม 3,800 รายการ มีการลดภาษีดงั นี้ 1.1 สิ นค้าที่จดั เก็บภาษีตามมูลค่า (Ad valorem rate) ลดภาษีลง 3.5 หน่วยเปอร์เซ็นต์ จากอัตราภาษีปกติ (MFN) ยกเว้นสิ นค้าในกลุ่มสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่มในตอนที่ 50-63 ลดภาษีลง ร้อยละ 20 ของอัตราภาษีปกติ ํ ก ลดภาษีลงร้อยละ 1.2 สิ นค้าที่จดั เก็บตามสภาพ (specific rate) เช่น ตามขนาดน้าหนั 30 ของอัตราภาษีปกติ 2. กลุ่มสิ นค้าไม่อ่อนไหว (Non-sensitive product) รวม 2,400 รายการ ได้รับการยกเว้น ภาษี แบบที่ 2: สิ ทธิพเิ ศษสํ าหรับประเทศพัฒนาน้ อยที่สุด (Special Arrangements for Least Developed Countries: LDCs) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ประเทศพัฒนาน้อยที่สุดตามคํา จํากัดความขององค์การสหประชาชาติซ่ ึ งมี 49 ประเทศ โดยประเทศเหล่านี้ จะได้รับยกเว้นภาษี นําเข้าสําหรับสิ นค้าทุกชนิ ดที่มีการผลิตเป็ นไปตามกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิ ดสิ นค้าของสหภาพยุโรป ยกเว้น Chapter 93 อาวุธและกระสุ นรวมทั้งส่ วนประกอบและอุปกรณ์ของดังกล่าวภายใต้โครงการ (Everything But Arms: EBA)


54

แบบที่ 3: สิ ทธิพเิ ศษทางภาษีฯ เพือ่ ส่ งเสริมการพัฒนาทีย่ งั่ ยืนและหลักการธรรมาภิบาลทีด่ ี (Special Intensive Arrangements: GSP+) เป็ นสิ ทธิพิเศษที่สหภาพยุโรปให้กบั ประเทศที่มีความ จําเป็ นในการพัฒนาเป็ นพิเศษ (Vulnerable

Countries)

โดยยกเว้นภาษีนาํ เข้าแก่ สินค้าที่มี

แหล่งกําเนิ ดในประเทศที่ ได้ให้สัตยาบันและมีการปฏิ บตั ิ อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพตามอนุ สัญญาที่ ก่อให้เกิ ดการพัฒนาที่ยงั่ ยืนทั้งในด้านของการจัดการสิ่ งแวดล้อม สิ ทธิ แรงงานและการจัดการยา เสพติ ด โดยประเทศที่ จะได้รับสิ ทธิ พิเศษประเภทนี้ จะต้องเป็ นประเทศที่ มีความจําเป็ นในการ พัฒนาเป็ นพิเศษเนื่ องจากการพัฒนาเศรษฐกิ จของประเทศยังพึ่งพิงกับการผลิต และการส่ งออก สิ นค้าเพียงน้อยรายการ ขณะนี้สหภาพยุโรปอยูร่ ะหว่างการพิจารณาโดยเปิ ดโอกาสให้ประเทศผูร้ ับ สิ ทธิ GSP ทุกประเทศสามารถยื่นคําร้องขอรับสิ ทธิพิเศษดังกล่าวได้ ยกเว้น จีน อินเดีย โคลัมเบีย อินเดี ย อิ นโดนี เซี ย ไทย และเวียดนาม เนื่ องจากประเทศเหล่านี้ ไม่ถือว่าเป็ นประเทศที่ มีความ อ่อนแอทางเศรษฐกิจ (Vulnerable Countries) เช่นเดียวกับประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ อื่นๆ กฎแหล่งกําเนิดสิ นค้ า (Rules of Origin) สิ นค้าที่จะขอใช้สิทธิ GSP ส่ งออกไปสหภาพยุโรปจะต้องผลิตถูกต้องตามกฎแหล่งกําเนิด สิ นค้าภายใต้ระบบ GSP สหภาพยุโรป ดังนี้ 1. ผลิตโดยใช้วตั ถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly-Obtained: WO) ซึ่งส่ วนใหญ่เป็ น สิ นค้าเกษตรและเกษตรแปรรู ป 2.

สิ นค้าที่ผลิตโดยมีวตั ถุดิบนําเข้าจะต้องผ่านเกณฑ์การแปรสภาพอย่างพอเพียงตามที่

กําหนดไว้สาํ หรับแต่ละพิกดั สิ นค้า ได้แก่ 2.1 ผ่านกระบวนการผลิตจนมีการเปลี่ยนพิกดั (Change in Tariff Classification) ใน ระดับ 4 หลัก หรื อ


55

2.2

มี การใช้ว ตั ถุ ดิบนําเข้าในการผลิ ตไม่ เกิ น อัตราสู งสุ ด ที่ กาํ หนด (Maximum

permitted Content of non-originating materials) การสะสมแหล่งกําเนิดสิ นค้ า (Cumulation) สหภาพยุโรปอนุญาตให้ประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ นําวัตถุดิบที่มีแหล่งกําเนิดในประเทศอื่นมาใช้ ในกระบวนการผลิตได้เสมือนวัตถุดิบนั้นมีแหล่งกําเนิดในประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ เอง โดยประเทศไทย สามารถสะสมแหล่งกําเนิดได้กบั ประเทศต่างๆ ดังนี้ 1. ประเทศในกลุ่มอาเซียนทุกประเทศ (ยกเว้นสหภาพพม่า) 2. ประเทศสมาชิกสหภาพฯ สวิตเซอร์แลนด์ นอร์เวย์ และตุรกี โดยต้องมีเอกสารรับรอง กําเนิดฟอร์ม EUR.1 กํากับมาด้วย 3. ประเทศที่มีความตกลง FTA กับสหภาพฯ และประเทศในกลุ่ม SAARC โดยต้องยืน่ คําร้อง ขอสะสมแหล่งกําเนิดฯ ต่อคณะกรรมาธิการยุโรปเพื่อพิจารณาอนุญาตก่อน สิ นค้ าทีม่ ีมาตรการปกป้ องพิเศษ (Safeguard Measures) หากการนําเข้าสิ นค้าภายใต้สิทธิ GSP เป็ นเหตุให้เกิดความเสี ยหายอย่างร้ายแรง (เช่น การ ํ เป็ นต้น) ต่อ ลดลงของส่ วนแบ่งตลาด สิ นค้าคงคลังมากขึ้น การจ้างงานลดลง ราคาสิ นค้าต่าลง อุ ตสาหกรรมภายในของสหภาพยุโรปที่ ผลิ ตสิ น ค้าชนิ ด เดี ยวกันหรื อมี ก ารแข่ งขัน กันโดยตรง สหภาพยุโรปอาจระงับสิ ทธิ GSP และเก็บภาษีนาํ เข้าในอัตราปกติกรณี ที่ประเทศสมาชิกร้องขอ หรื อเมื่อคณะกรรมาธิการยุโรปเห็นสมควร


56

การระงับสิ ทธิ GSP ชั่วคราว (Temporary withdrawal) สหภาพยุโรปอาจระงับสิ ทธิ GSP ทั้งหมดหรื อบางส่ วนเป็ นการชัว่ คราว (เป็ นเวลา 3 เดือน หรื ออาจมากกว่า 3 เดื อน) หากประเทศผูร้ ั บสิ ทธิ ฯ ปฏิบตั ิหรื อดําเนิ นการต่าง ๆ เช่ น ปฏิบตั ิต่อ แรงงานเยี่ยงทาส ละเมิดเสรี ภาพในการรวมเป็ นสมาคม เช่นสหภาพแรงงาน ส่ งออกสิ นค้าโดยใช้ แรงงานนักโทษ ละเลยหรื อบกพร่ องในการควบคุมการส่ งออกหรื อส่ งผ่านยาเสพติด เป็ นต้น การตัดสิ ทธิ (GSP Graduation) เกณฑ์การพิจารณาการตัดสิ ทธิมี 2 รู ปแบบ คือ 1. การตัดสิ ทธิท้ งั ประเทศ: ประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ อาจถูกตัดสิ ทธิฯ ในกรณี ที่ 1.1 เป็ นประเทศที่ถูกจัดอันดับโดยธนาคารโลกให้อยูใ่ นกลุ่มที่มีรายได้ประชาชาติต่อ หัวอยูใ่ นกลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง (High Income Countries) และกลุ่มประเทศที่มีรายได้ปานกลาง ค่อนข้างสู ง (Upper Middle Income Countries) เป็ นเวลา 3 ปี ติดต่อกัน โดยประเทศที่ถูกตัดสิ ทธิฯ ตามหลักเกณฑ์น้ ีจะมีระยะเวลาในการปรับตัว 1 ปี หลังจากการประกาศผลการพิจารณาตัดสิ ทธิฯ 1.2 เป็ นประเทศที่ ไ ด้รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ภ ายใต้ข ้อ ตกลงทางการค้า อื่ น ๆ จาก สหภาพยุโรปที่ให้สิทธิ ฯ เที ยบเท่ากับหรื อมากกว่าระบบ GSP

ทั้งนี้ ประเทศที่ถูกตัดสิ ทธิ ฯ

เนื่ องจากมีความตกลงทางการค้าอื่นๆ กับสหภาพยุโรปอยู่แล้ว จะมีระยะเวลาในการปรับตัว 2 ปี หลังจากที่ความตกลงทางการค้าดังกล่าวมีผลบังคับใช้ 1.3 สหภาพยุ โ รปจะพิ จ ารณาทบทวนรายชื่ อ ประเทศผูร้ ั บ สิ ท ธิ ฯ ภายในวัน ที่ 1 มกราคม ของทุกปี โดยคณะกรรมาธิการยุโรปจะแจ้งผลการพิจารณาให้ประเทศที่เกี่ยวข้องทราบ


57

2. การตัดสิ ทธิ เป็ นกลุ่มสิ นค้า: สิ นค้าในแต่ละหมวดจะถูกตัดสิ ทธิฯ กรณี ที่สหภาพยุโรปมี มูลค่าการนําเข้าสิ นค้าในหมวดนั้นจากประเทศผูร้ ับสิ ทธิฯ เฉลี่ย 3 ปี ติดต่อกัน เกินร้อยละ 17.5 ของ มูลค่าการนําเข้าสิ นค้าทั้งหมดในหมวดนั้นๆ จากทุกประเทศผูร้ ั บสิ ทธิ ฯ ทั้งนี้ สิ นค้าสิ่ งทอและ เครื่ องนุ่งห่ มจะถูกตัดสิ ทธิฯ เมื่อมูลค่าการนําเข้าเกินร้อยละ 14.5 เอกสารหลักฐาน 1. หนังสื อรับรองแหล่งกําเนิดสิ นค้า Form A ที่ออกโดยกรมการค้าต่างประเทศ กระทรวง พาณิ ชย์ 2. กรณี สินค้าส่ งออกมูลค่าไม่เกิน 6,000 ยูโร ผูส้ ่ งออกสามารถใช้ Invoice Declaration ได้ 3. กรณี สิ่งของส่ งไปยังสหภาพยุโรปสําหรับใช้ส่วนตัวที่มูลค่าไม่เกิน 500 ยูโร หรื อกรณี นักท่องเที่ยวที่มีสิ่งของมูลค่าไม่เกิน 1,200 ยูโร ไม่จาํ เป็ นต้องขอ Form A ตารางที่ 2-3 ข้อสรุ ปข้อแตกต่างของระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สหภาพ ยุโรป ปี 2554 และปี 2555 ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สหภาพยุโรป 2554 (GSP) สหภาพยุโรป 2555 มีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 20 พฤศจิกายน 2555 มีผลบังคับใช้สามช่วงคือ จนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2566 - ช่วงที่ 1 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2549- 31 ธันวาคม 2551 - ช่วงที่ 2 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2552- 31 ธันวาคม 2554 (มีผลบังคับใช้ตาม Council Regulation No 732/2008 **) - ช่วงที่ 3 ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2555- 31 ธันวาคม 2558


58

ตารางที่ 2-3 (ต่อ) ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สหภาพยุโรป 2554 (GSP) สหภาพยุโรป 2555 รู ปแบบการให้สิทธิแบบสิ ทธิพิเศษทัว่ ไป ครอบคลุมสิ นค้า 6,244 รายการ

รู ปแบบการให้สิทธิแบบสิ ทธิพิเศษทัว่ ไป ครอบคลุมสิ นค้ากว่า 6,200 รายการ กลุ่มสิ นค้าอ่อนไหว มี 3,800 รายการ

กลุ่มสิ นค้าอ่อนไหว มี 3,200 รายการ กลุ่มสิ นค้าไม่อ่อนไหว (Non-sensitive product) กลุ่มสิ นค้าไม่อ่อนไหว (Non-sensitive product) ได้รับการยกเว้นภาษี รวม 2,400 รายการ ได้รับการยกเว้นภาษี แนวคิดงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้ อง กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์ (1999: 1-3) ได้ศึกษา “ทําไม…สิ นค้าไทยถูกตัด สิ ทธิ GSP” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการสร้างความรู ้ความเข้าใจให้แก่ผสู ้ ่ งออก และ ผูท้ ี่เกี่ ยวข้อง รวมทั้งผูท้ ี่สนใจทัว่ ไปในเรื่ องระบบ GSP ของสหภาพยุโรป และ เพื่อใช้ประกอบ พิจารณาในการดําเนิ นการแก้ไขปั ญหาในฐานะที่กรมการค้าต่างประเทศเป็ นหน่ วยงานของรัฐที่ รับผิดชอบโดยตรง ผลการศึกษาพบว่า การพิจารณาตามหลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิ GSP ของสหภาพยุโรป ทําให้ ไทยถูกตัด GSP รวม9กลุ่มสิ นค้า ซึ่งแบ่งเป็ นสิ นค้าเกษตร3กลุ่ม และสิ นค้าอุตสาหกรรม6กลุ่ม การ ถู ก ตัด สิ ท ธิ ดัง กล่ า วส่ ง ผลกระทบต่ อ การส่ ง ออกของไทย โดยเฉพาะสิ น ค้า เกษตร3กลุ่ ม สื บ เนื่ องมาจากสหภาพยุโรปใช้มาตรการกีดกันทางการค้ากับไทย และระบบGSP นับเป็ นระบบที่มี ความซับซ้อนมากที่สุด และสหภาพยุโปรได้มีการปรับเปลี่ยน พร้อมทั้งเพิ่มความเข้มงวดในการให้ สิ ทธิ GSP มากขึ้นเช่นเดียวกับสหรัฐอเมริ กา โดยเฉพาะโครงการ GSP โครงการที่3 นายธรรมวิทย์ เทอดอุดมธรรม และชนิ นทร์ มีโภคี (2540: 5) ได้ศึกษา “ผลกระทบจากการ ที่สหภาพยุโรปตัดสิ ทธิ GSP

สิ นค้าไทย 9 กลุ่มสิ นค้า” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อต้องการศึกษา

ผลกระทบของการตัดสิ ทธิ GSP ของสหภาพยุโรปต่อการส่ งออก การผลิต การลงทุน และการจ้าง


59

งาน และเศรษฐกิ จโดยรวม และทําการศึกษาถึงแนวทางในการปรับตัวเพื่อลดความเสี ยหายที่จะ เกิดขึ้นจากการตัดสิ ทธิ GSP ของสหภาพยุโรป ผลการศึกษาพบว่า การตัดสิ ทธิ GSP ใน9กลุ่มสิ นค้านี้มีผลกระทบต่อไทยอยูบ่ า้ ง โดยทําให้ การส่ งออกของไทยลดลงไม่มากนักเมื่ อเที ยบกับการส่ งออกรวมของไทย และมี ผลกระทบต่อ รายได้ประชาชาติ การลงทุนและการจ้างแรงงานอยูบ่ า้ ง ดังนั้น จากการที่สหภาพยุโรปลดสิ ทธิ GSP ของไทยลงร้อยละ 50 ในครั้งนี้ (1 มกราคม 1997) โดยรวมแล้วจึงทําให้ไทยได้รับผลกระทบต่อการ ส่ งออก การผลิต การลงทุน และการจ้างงานในระดับที่ไม่สูงนัก นายปรี ชา วงศ์อรุ ณ (วิทยานิพนธ์รัฐศาสตร์มหาบัณฑิตม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ,2537 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษา “ยุทธศาสตร์ ทางเศรษฐกิจในความสัมพันธ์ไทย-ประชาคมยุโรป (ค.ศ.19871992)” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อความเข้าใจและประมวลผลของปั จจัยต่างๆ และคาดการณ์ภาวะการ เปลี่ยนแปลงต่างๆ ว่าส่ งผลกระทบประเทศไทยและสัมพันธภาพที่มีต่อประชาคมยุโรปอย่างไรบ้าง โดยเฉพาะนับตั้งแต่ประชาคมยุโรปก้าวไปสู่ความเป็ นยุโรปตลาดเดียวในปี ค.ศ.1993 แล้วภาวะการ ส่ งออกสิ นค้าไทยไปยังประชาคมยุโรปจะมีการเปลี่ยนแปลงในแง่ผลกระทบหรื อโอกาสมากน้อย เพียงใด ประการสําคัญคือ ไทยควรที่จะกําหนดและดําเนิ นยุทธศาสตร์ ทางเศรษฐกิ จอย่างไร จึ ง สามารถสร้างเสริ มความสัมพันธ์ระหว่างประชาคมยุโรป และประเทศไทยให้แน่ นเฟ้ นยิ่งขึ้น เพื่อ ทําให้ประเทศไทยได้รับผลกระทบน้อยที่สุด ผลการศึกษาพบว่า การรวมเป็ นยุโรปตลาดเดียว มีความสําคัญต่อการส่ งออกสิ นค้าไทยไป ยังประชาคมยุโรปนับตั้งแต่ ปี ค.ศ.1993 ซึ่งประเทศไทยจะต้องผลิตสิ นค้าให้ได้มาตรฐานตรงตามที่ ประชาคมยุโรปกําหนดไว้ จึงสามารถส่ งออกได้มากขึ้น แต่ขอ้ เท็จจริ งการปรับตัวของไทยเป็ นไป อย่างล่ าช้าและขาดซึ่ งประสิ ทธิ ภาพ เพราะเป็ นผลมาจากสาเหตุใหญ่ 2 ประการคือ หน่ วยงาน ราชการขาดความเป็ นเอกภาพ และปั ญหาการเปลี่ยนแปลงวิกฤตการณ์ ทางการเมืองของไทย ที่ เกิดขึ้นในช่วงปี ค.ศ.1990-1992 ขณะเดี ยวกันประเทศไทยก็มีขอ้ พิพาททางการค้ากับประชาคม ยุโรปหลายๆกรณี โดยที่กรณี พิพาทเหล่านี้ ประชาคมยุโรปล้วนเป็ นผูก้ ล่าวหาทั้งสิ้ น และการเจรจา เพื่อยุติขอ้ พิพาทดังกล่าว ข้อสรุ ปของหลายๆกรณี เป็ นไปในทางเดี ยวกัน คือ ประเทศไทยต้อง


60

ยอมรับและปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่ประชาคมยุโรปเป็ นฝ่ ายกําหนด ซึ่งเป็ นผลมาจากประเทศไทยขาด อํานาจต่อรองใดๆกับฝ่ ายประชาคมยุโรป นางสาวปรี ยา ประทืปจินดา (2533: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา “การค้าของประเทศไทยกับ ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป พิจารณาผลการลดการกีดกันทางการค้าภายใต้ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์นโยบายการให้ความช่วยเหลือทางการค้า และผลของหารให้ความช่วยเหลือ ตลอดจนอุปสรรคและข้อจํากัดต่างๆ ในการใช้สิทธิ พิเศษทาง ภาษีศุลกากรของกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจยุโรปที่มีต่อการส่ งออกสิ นค้าไทย ผลการศึกษาพบว่า การลดหย่อน และการยกเว้นภาษีศุลกากรแก่สินค้าไทย มีผลทําให้ราคา เปรี ยบเทียบระหว่างสิ นค้าออกไทยเมื่อเปรี ยบเทียบกับคู่แข่งลดลง ผูบ้ ริ โภคECCจะมีอุปสงค์ต่อ สิ นค้าไทยเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันผูส้ ่ งออกไทยสามารถขยายสิ นค้าได้ราคาสุ ทธิ สูงขึ้น ผูส้ ่ งออกจะมี อุ ปทานการส่ งออกเพิ่มขึ้น การได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรโดยการลดหย่อนยกเว้นภาษี ศุลกากรจาก ECC ทําให้เกิดการขยายตัวการค้าใน 2 ลักษณะ คือ Trade Expansion Effect เป็ นการ ขยายตัวของสิ นค้าออกไทยในตลาด ECC เพื่อทดแทนการผลิตใน ECC และ Trade Substitution Effect เป็ นการขยายตัวของสิ นค้าส่ งออกเพื่อทดแทนการนําเข้าสิ นค้า จากประเทศคู่แข่ง ซึ่ งไม่ได้ รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ลกากร อย่า งไรก็ต ามในการศึ ก ษาพบว่า แม้จ ะให้สิท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุลกากรแก่สินค้าส่ งออกของไทยทั้งประเภทเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมสิ่ งทอ แต่การให้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร ดังกล่าวยังมีขอ้ จํากัดอีกหลายประการ ซึ่ งเป็ นอุปสรรคต่อการส่ งออกไทย ดังนั้นจึงควรได้รับการพิจารณาหาแนวทางแก้ไขปัญหา ลดข้อจํากัดต่างๆเพื่อให้การใช้นโยบายการ ให้ความช่วยเหลือดังกล่าวบรรลุวตั ถุประสงค์อย่างแท้จริ ง นายสุ รพล เหลี่ยมสูงเนิน” (2534: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา “ความสัมพันธ์ทางการค้าระหว่าง ไทยกับประชาคมยุโรป: การศึกษายุโยปตลาดเดียวหลังปี 1992” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาการ วิเคราะห์ผลกระทบที่เป็ นไปได้ต่อการส่ งออกสิ นค้าไทย เพราะประชาคมยุโรปเป็ นตลาดที่ส่งออก ที่สาํ คัญของไทย


61

ผลการศึกษาพบว่า การรวมตัวเป็ นตลาดเดียวจะส่ งผลกระทบต่อการค้าของไทยด้วยเหตุ ที่ว่าหลังจากการรวมตัวเป็ นยุโรปตลาดเดียวจะทําให้มาตารฐานสิ นค้าของประเทศไทยสมาชิกของ ประชาคมยุโรปเป็ นระบบเดียวกันหมด โดยเฉพาะเรื่ องของคุณสมบัติทางเคมีในสิ นค้าของเล่น และ เรื่ องของวัตถุเจื อปนอาหารในสิ นค้าอาหารประป๋ อง ดังนั้นประเทศไทยควรสร้ างความร่ วมมือ ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชนให้มากขึ้น ในการที่จะเจาะตลาดเดียวของประชาคมยุโรป โดยให้ เอกชนเป็ นผูน้ าํ และมีภาครัฐเป็ นผูส้ นับสนุนกิจกรรมต่างๆของภาคเอกชน สาย สมชาย เอกสุ วรรณ (2534 :บทคัดย่อ) ได้ศึกษา “วิเคราะห์ผลกระทบของระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรที่มีต่อการส่ งออกของกลุ่มอาเซียน” โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะวัดผลประโยชน์ ที่ ก ลุ่มอาเซี ยนได้รับจากระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุ ลกากรว่ามี มากน้อยเพียงไร เพื่อใช้ในการ ประเมิ นผลกระพบที่ อาจเกิ ดขึ้นในการดําเนิ นนโยบายทางการค้าของรั ฐภายใต้แรงกดดันจาก ประเทศคู่คา้ ที่สาํ คัญที่ให้สิทธิ พิเศษแก่กลุ่มประเทศอาเซี ยนที่ตอ้ งการให้ประเทศสมาชิกทําการเปิ ด ตลอดการนําเข้าแก่สินค้าจากประเทศเหล่านั้น ผลการศึ กษาพบว่า การวิเคราะห์ ช้ ี ใ ห้เห็ นผลประโยชน์ที่กลุ่มอาเซี ยนได้รับมี ค่าอยู่ใ น ระดับสู งทั้ง 3 ตลาดการนําเข้าที่สําคัญ อันประกอบด้วย กลุ่มประชาคมยุโรปประเทศญี่ปุ่น และ ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ดังนั้นรั ฐบาลของแต่ละประเทศสมาชิ กในกลุ่มอาเซี ยน ควรที่จะดําเนิ น นโยบายการใช้ประโยชน์จากระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด นางสาวอัญชัญรัตย์ ถักดีพลเกฒม์ (2532: บทคัดย่อ) ได้ศึกษา “ระบบการให้สิทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปของประชาคมเศรษฐกิจยุโรป สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น และผลที่มีต่อ การส่ งออกของไทย” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความหมาย ความเป็ นมาวัตถุประสงค์ และ ประโยชน์ของระบบสิ ทธิพิเศษฯ รวมทั้งศึกษาถึงระบบการให้สิทธิพิเศษฯ ที่ไทยใช้สิทธิพิเศษ มี มูลค่าสู งสุ ด 3 ระบบแรก คือประชาคมเศรษฐกิจยุโรปสหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น ตลอดจนศึกษาและ วิเคราะห์ถึงปัญหาและผลกระทบที่ไทยจะได้รับถ้ามีการเพิกถอนสิ ทธิพิเศษของทั้ง 3 ระบบนี้ และ ได้เสนอแนวทางในการแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึ้น


62

ผลการศึกษาพบว่า ถ้าทั้ง 3 ระบบทําการยกเลิกหรื อเพิกถอนการให้สิทธิพิเศษฯ ที่ให้แก่ ไทยในปี 1987 จะมีผลกระทบต่อการส่ งออกของไทยไม่รุนแรงนัก หรื อทั้ง 3 ระบบ จะยังนําสิ นค้า จากไทยต่อไปในมูลค่าที่ลดลงไม่มากนัก กล่าวคือ มูลค่าของการส่ งออกของไทยภายใต้สิทธิพิเศษฯ ไปประชาคมฯ สหรัฐอเมริ กา และญี่ปุ่น ในปี 1987 จะลดลง 48.36 19.75 และ 7.15 ล้านเหรี ยญ สหรัฐ หรื อลดลงร้อยละ 5.63 4.59 3.49 ตามลําดับ ทั้งนี้เนื่องจากสิ นค้าตัวอย่างมีปัจจัยที่นาํ มาใช้ใน การคํานวนค่าค่อนข้างตํ่าเป็ นส่ วนใหญ่ กล่าวคือ 1) อยูใ่ นช่วงอากรขาเข้าภายใต้ MFN ค่อนข้างตํ่า โดยจะอยุใ่ นช่วงไม่เกินร้อยละ 10.00 เป็ นส่ วนใหญ่ 2) มีส่วนต่างระหว่างอากรขาเข้าภายใต้ MFN และ GPS ไม่แตกต่างกันมากนัก โดยมีส่วนต่างไม่เกินร้อยละ 10.00 เป็ นส่ วนใหญ่ 3) มีค่าความ ยืดหยุน่ ของอุปสงค์ต่อราคาค่อนข้างตํ่า โดยมีค่าความยืดหยุน่ ไม่เกิน 10.00 เป็ นส่ วนใหญ่


บทที่ 3 สหภาพยุโรป ( European Union - EU ) ความเป็ นมา ถูกก่อตั้งหลังจากเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 ( Basic information on the European Union.,2555) เพื่อส่ งเสริ มให้เกิดความร่ วมมือกันทางเศรษฐกิจ ด้วยความคิดที่ว่า การพึ่งพากัน ระหว่างประเทศ และเพื่อหลีกเลี่ยงความขัดแย้งที่จะเกิดขึ้น ในช่วงระยะแรกเกิดขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2493 ประเทศฝรั่งเศสมีโครงการจะก่อตั้งประชาคมถ่านหิ นและเหล็กกล้ายุโรป (The European Coal and Steet Community : ECSC) ขึ้น เพื่อช่วยยกฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในยุโรปแล้ว และยังเป็ น การสร้ า งพื้ น ฐานในการที่ จ ะก้า วไปสู่ ก ารเป็ นสหพัน ธ์รั ฐ ในอนาคต โดยขอความร่ ว มมื อ จาก ประเทศต่างๆ ในทวีปยุโรป โดยการแถลงการณ์ต่อบรรดาผูแ้ ทนของหนังสื อพิมพ์ทว่ั โลก และเมื่อ ฝรั่งเศสแถลงการณ์ออกไปแล้ว ประเทศเยอรมนี เบลเยียม อิตาลี ลักเซมเบอร์ ก และเนเธอร์ แลนด์ ได้ตกลงร่ วมมือสมัครเข้าเป็ นสมาชิก และได้จดั ตั้งเป็ นองค์การ ECSC อย่างเป็ นทางการเมื่อวันที่ 18 เมษายน พ.ศ.2494 ในเวลาต่อมาผูน้ าํ ประเทศทั้ง 6 ได้ร่วมกันจัดตั้งองค์การป้ องกันยุโรป (European Defence Council : EDC) ( European Union, 2555) ขึ้นอีกองค์การหนึ่ง เป็ นความร่ วมมือกันทางการเมือง เพื่อเป็ นการสนับสนุนองค์การนาโตด้วย แต่ EDC ก็ไม่สามารถดําเนิ นงานไปได้ เพราะรัฐสภาของ ฝรั่งเศสไม่ยอมให้ ดังนั้น EPC จึงต้องยกเลิกไป ต่อมาประเทศทั้ง 6 ก็เปลี่ยนแนวทางจากการรวมตัวทางการเมืองมาเป็ นการรวมตัวทาง เศรษฐกิจแทน และได้ร่วมมือกันก่อตั้งกลุ่มประชาคมเศรษฐกิ จยุโรป หรื อตลาดร่ วมยุโรป (The European Economic Community : EEC ) และประชาคมพลังงานปรมาณูยโุ รป หรื อยูเรตอม (European Atomic Energy Community : EAEC หรื อ Euratom) ขึ้นใน พ.ศ.2500 การก่อตั้งองค์การ ทั้ง 2 นี้ แสดงให้เห็ นถึงความสําเร็ จในการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่สําคัญของยุโรปตะวันตก คือ ECSC, EEC และ EAEC โดยเฉพาะองค์การ EEC และ EACE นี้ มีลกั ษณะคล้ายคลึงกับ ECSC มาก แต่มีอาํ นาจน้อยกว่า และเพื่อเป็ นการเสริ มสร้างความมัง่ คงให้แก่ทวีปยุโรป จึงมีการรวมองค์การ


64

บริ หารของ ECSC, EEC และ EAEC เข้าด้วยกัน ใช้ชื่อว่า ประชาคมยุโรป (European Community) : EC) ในพ.ศ. 2510 เพื่อผลประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจ ต่อมาวันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ.2536 EC เปลี่ยนชื่ อเป็ น สหภาพยุโรป (European Union : EU) เพราะนอกจากจะร่ วมมือกันทางด้าน เศรษฐกิจแล้ว ยังเป็ นองค์การความร่ วมมือทางด้านการเมืองระหว่างประเทศสมาชิกด้วย ในปั จจุบนั สหภาพยุโรปมีรัฐสมาชิ กทั้งสิ้ น 27 ประเทศ ประกอบไปด้วยรั ฐสมาชิ ก 27 ประเทศ คือ ออสเตรี ย เบลเยีย่ ม บัลแกเรี ย, ไซปรัส, สาธารณรัฐเช็ก เดนมาร์ก เอสโตเนีย ฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรี ซ ฮังการี ไอร์ แลนด์ อิตาลี ลัตเวีย ลิทวั เนี ย ลักเซมเบิร์ก มอลตา เนเธอร์ แลนด์ โปแลนด์ โปรตุ เ กส โรมาเนี ย สโลวาเกี ย สโลวี เ นี ย สเปน สวี เ ดน และสหราชอาณาจัก ร มี สํานักงานใหญ่ต้ งั อยูท่ ี่ กรุ งบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยีย่ ม การขยายตัวของสหภาพยุโรป (วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรป, 2555) หลายประเทศ ในแถบยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกต่างก็มีความเห็นว่าว่าการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกของ สหภาพ ยุโรป จะเป็ นหนทางสู่ การสร้างความมัน่ คง และยังเป็ นการพัฒนาประเทศ ของตนให้ทนั สมัย เป็ น ผลให้การปรับเปลี่ยนไปสู่ ระบอบการปกครองแบบประชาธิ ปไตย และระบบเศรษฐกิจตลาดเสรี อย่างมีเสถียรภาพ สหภาพยุโรปให้ความสําคัญกับประโยชน์ในทางการเมืองมากกว่าประโยชน์ใน ทางเศรษฐกิ จ คือ การขยายตลาดเดียวแห่ งยุโรป ดังนั้นเมื่อสงครามเย็นสิ้ นสุ ดลงสหภาพยุโรปจึง พบว่าตนเองจําเป็ นต้องมีบทบาท สําคัญในการเผยแพร่ โครงสร้างทางสังคมบนความมัน่ คง ความ เจริ ญรุ่ งเรื่ อง ความเสมอภาคทางสังคม และความเป็ นประชาธิ ปไตย ให้ขยายไปทัว่ ทวีปยุโรป ประเทศในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกนั้นได้ดาํ เนินการใน 4 แนวทางที่มีความเชื่อมโยงกันใน การบรรลุเป้ าหมายเพื่อให้ได้เข้าเป็ นสมาชิกของสหภาพยุโรปดังนี้คือ 1. ดําเนินการตามข้อบังคับที่ปรากฏอยูใ่ นข้อตกลงยุโรปซึ่งเป็ นข้อตกลง แบบทวิภาคี และ ใช้โอกาสในการสร้างความร่ วมมือและการจัดตั้งระบบคู่เจรจา 2. ดําเนินการตามโครงการของแต่ละประเทศในการปรับโครงสร้างตามที่ระบุไว้ใน “สมุด ปกขาว” (White paper) ของสหภาพยุโรป เพื่อเตรี ยมกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกให้พร้อมสําหรับ การเข้าสู่ ตลาดเดียวแห่ ง ยุโรป


65

3. เข้าร่ วมในการดําเนินความสัมพันธ์กบั สถาบันต่าง ๆ ของสหภาพยุโรป เช่น ในกิจกรรม และนโยบายต่ า ง ๆ ของสถาบัน ที่ เ ป็ นเสาหลัก ทั้ง สามของสหภาพ นอกจากนี้ ประเทศยุโ รป ตะวันออกยังสามารถเข้าร่ วมการเจรจาแบบพหุ ภาคีต่างๆ ของสหภาพยุโรปได้เป็ นครั้งคราว 4. การดําเนิ นการสมัครเป็ นสมาชิกซึ่ งเริ่ มขึ้นด้วยการยื่นใบสมัคร และ ปฏิบตั ิตนตาม เงื่อนไขต่าง ๆ ของการเข้าเป็ นสมาชิกของสหภาพยุโรป สถานะและความสํ าคัญของสหภาพยุโรป เป็ นการรวมกลุ่ มระดับภู มิภาคที่ ใหญ่ที่สุดและก้าวหน้าที่ สุดในโลก บทบาทสําคัญต่ อ ทิศทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมระดับโลก ด้านเศรษฐกิจ สหภาพยุโรปมี GDP สู ง ที่สุดใน โลก เป็ นตลาดสิ นค้าและบริ การ ตลาดการเงิน และผูล้ งทุนในต่างประเทศที่สาํ คัญ รวมทั้งมีบริ ษทั ข้ามชาติระดับโลกเป็ นจํานวนมากที่สุด บูรณาการ ของสหภาพยุโรปมีความเข้มแข็งยิง่ ขึ้นภายหลัง สนธิ สัญญาลิสบอนมีผลใช้บงั คับ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม ค.ศ. 2009 ซึ่ งทําให้สหภาพยุโรปมีสถานะ ทางกฎหมายอย่างสมบูรณ์ ข้ อมูลทัว่ ไปเกีย่ วกับสหภาพยุโรป กลุ่มสหภาพยุโรปประกอบด้วย ที่ต้ งั 27 ประเทศในทวีปยุโรป ได้แก่ ออสเตรี ย เบลเยียม เดนมาร์ ก ฟิ นแลนด์ ฝรั่งเศส เยอรมนี กรี ซ ไอร์ แลนด์ อิตาลี ลักเซมเบิร์ก เนเธอร์ แลนด์ โปรตุเกส สเปน สวีเดน สหราชอาณาจักร ไซปรัส เช็ก เอสโตเนี ย ฮังการี ลัตเวีย ลิทวั เนี ย มอลตา โปแลนด์ สโลวีเนี ย สโลวะเกีย โรมาเนี ยและบัลแกเรี ย มีพ้ืนที่ท้ งั หมด 4.325 ล้าน ตารางกิโลเมตร ถือเป็ น 8.4 เท่าของประเทศไทย มีประชากรประมาณ 502.47 ล้านคน โดยที่ต้ งั สํานักงานใหญ่อยู่ที่ กรุ ง บรัสเซลส์ (Brussels) ประเทศเบลเยียม


66

นโยบาย วัตถุประสงค์ สิ ทธิ มนุ ษยชน ประชาธิ ปไตย และนิ ติธรรมเป็ น คุณค่าหลัก ของสหภาพยุโรป สหภาพ ยุโรปต้องการสร้างความเชื่อมัน่ ว่า สิ ทธิมนุษยชนทุกด้าน ทั้งของพลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม จะได้รับการเคารพในทุกที่ ดังที่ระบุไว้ในปฏิญญาสากลว่าด้วยสิ ทธิ มนุษยชน และ ตามที่ได้มีการยืนยันอีกครั้งในการประชุมโลกว่าด้วยสิ ทธิ มนุ ษยชนในปี พ.ศ. 2536 นอกจากนี้ สหภาพยุโ รปยังส่ ง เสริ มสิ ทธิ ส ตรี เด็ก ชนกลุ่ มน้อ ยและผูพ้ ลัด ถิ่ น สหภาพยุโ รปใช้ห ลัก สิ ท ธิ มนุ ษ ยชนและประชาธิ ป ไตย เป็ นแนวทางหลัก ในการดํา เนิ น นโยบายความสั ม พัน ธ์ กั บ ต่างประเทศ โครงการและกิจกรรมต่างๆ ที่กาํ ลังดําเนินการอยู่ ในส่ วนของวัตถุประสงค์ของสหภาพยุโรป หรื อ EU คือ การสร้างความร่ วมมือระหว่าง ประเทศสมาชิก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและการเมืองระหว่างประเทศ ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจจะ เน้นนโยบายการค้าเสรี ภายในกลุ่ม เช่น ยกเลิกภาษีศุลกากร หรื อเก็บภาษีศุลกากรระหว่างประเทศ สมาชิ ก ในอัต ราตํ่า ยกเลิ ก ข้อ จํา กัด หรื อ ข้อ กี ด กัน ทางการค้า ระหว่ า งกัน ให้แ รงงานภายใน กลุ่ม EU เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรี ตลอดจนสร้างอํานาจต่อรองทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่ม ความสั มพันธ์ กบั ต่ างประเทศ ความร่ วมมือทางนโยบายทางการต่างประเทศ เกิดขึ้นเมื่อปี 1957 ( Foreign relation, 2555 ) เหล่าสมาชิกมีการเจรจากันถึงเรื่ องการค้าระหว่างประเทศภายใต้นโยบายการพาณิ ชย์สามัญ โดยมี สถานประกอบการของยุ โ รปให้ ค วามร่ ว มมื อ โดยมี จุ ด ประสงค์เ พื่ อ สร้ า งนโยบายทางการ ต่างประเทศร่ วมกันโดยใช้ชื่อว่า European Political Cooperation (EPC) แต่ยงั ไม่ได้รับการรับรอง อย่างเป็ นทางการ จนกระทัง่ ปี 1987 กรอบความร่ วมมือทางการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพ ยุโรปได้ถูกประกาศออกมาอย่างเป็ นทางการและได้ถูกเปลี่ยนชื่ อเป็ น Common Foreign and Security Policy (CFSP) โดยมีจุดมุ่งหมายในการส่ งเสริ มในเรื่ องต่างๆให้แก่ประเทศสมาชิกและ ต่างประเทศ ทั้งในเรื่ องการเมืองสังคม และเศรษฐกิจ รวมทั้งการผลักในเรื่ องของสิ ทธิ มนุ ษยชน และประชาธิปไตย


67

สหภาพยุโรป กับประเทศในแถบเอเชีย ประเทศในแถบเอเชียถือว่ามีบทบาทที่สาํ คับต่อสหภาพยุโรป เนื่ องด้วยการเจริ ญเติบโตทั้ง ทางด้านเศรษฐกิ จ และสังคม วัฒนธรรมของประเทศในแถบนี้ ทําให้เข้าไปมีบทบาทในสหภาพ ยุโรปมากขึ้น เนื่ องจากเอเชียถือเป็ นแหล่งการค้าที่สาํ คัญ และเป็ นแหล่งผลิตสิ นค้าที่สาํ คัญและมี ความจําเป็ นส่ งออกไปยังสหภาพยุโรปเป็ นอันดับต้นๆ เป็ นทวีปที่ประกอบไปด้วยเขตอุตสาหกรรม ที่มีรายได้สูง และมีศกั ยภาพในการผลิต สหภาพยุโรปจึงมีความจําเป็ นที่จะต้องติดต่อทําการค้ากับ เอเชีย รวมถึงความร่ วมมือทางด้านความมัน่ คง ทางการเมือง และเศรษฐกิจอีกด้วย ประเทศไทยและสหภาพยุโรป โดยภาพรวมแล้วความตกลงระหว่างอาเซี ยนและประชาคมยุโรป พ.ศ. 2523 เป็ นกรอบ กฎหมายสําหรับความสัมพันธ์กบั ประเทศไทย นั้นได้มีการเจรจาอย่างไม่เป็ นทางการอย่างต่อเนื่ อง ผ่านการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสประชาคมยุโรป-ไทย การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสครั้งแรกจัดขึ้นใน วันที่ 6 มีนาคม 2535 และการประชุมครั้งล่าสุ ด (ครั้งที่ 10) จัดขึ้นเมื่อวันที่ 21 พฤษภาคม 2553 ณ กรุ งบรั สเซลส์ เนื่ องจากความความตกลงระหว่างอาเซี ยนและประชาคมยุโรป พ.ศ. 2523 นั้น ล้าสมัยและไม่สอดคล้องกับพื้นฐานความสัมพันธ์ ยุทธศาสตร์ สําหรับเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ปี พ.ศ. 2546 ของคณะกรรมาธิ การยุโรป (2003 Commission Strategy for Southeast Asia) จึงเสนอ ความความตกลงแบบทวิภาคีแก่ประเทศในภูมิภาคที่สนใจ ความตกลงทวิภาคีเช่ นนี้ จะส่ งเสริ ม ความสัมพันธ์ซ่ ึ งอยู่บนพื้นฐานของนโยบายสมัยใหม่ดว้ ยกรอบเชิงสถาบันที่เหมาะสมและเอื้อให้ เกิดการเจรจาเชิงนโยบายในประเด็นที่กว้างมากขึ้น ในเดื อนพฤศจิกายน 2547 คณะมนตรี ยุโรปจึงได้อนุ มตั ิระเบียบการเจรจาความตกลงว่า ด้วยความเป็ นหุ น้ ส่ วนและความร่ วมมือ (Partnership and Co-operation Agreement) แบบทวิภาคี กับบางประเทศในภูมิภาคเอเชี ยตะวันออกเฉี ยงใต้ที่ยงั ไม่มีความตกลงทวิภาคีกบั ประชาคมยุโรป ซึ่งประเทศไทยเป็ นหนึ่ งในประเทศดังกล่าว และได้มีการประกาศเจตนารมณ์เพื่อเริ่ มต้นการเจรจา กับประเทศไทย ระหว่างนายโปรดี ประธานคณะกรรมาธิการยุโรปและอดีตนายกรัฐมันตรี ทักษิณ ชินวัตร ในการประชุมระดับผูน้ าํ อาเซม (ASEM Summit) เมื่อเดือนตุลาคม 2547 ณ กรุ งฮานอย การ ริ เริ่ มเช่นนี้ย้าํ ให้เห็นถึงความตั้งใจของสหภาพยุโรปในการเสริ มสร้างความสัมพันธ์ในระดับทวิภาคี


68

และพันธกรณี ในการกระชับความสัมพันธ์กบั ประเทศไทย ทั้งนี้ ท้ งั สองฝ่ ายยังอยู่ในระหว่างการ ดําเนินการเจรจา การค้าระหว่างสหภาพยุโรปและประเทศไทยมีมูลค่ามหาศาลถึงประมาณ 2.7 หมื่นล้านยู โร (1.15 แสนล้านบาท) (ความสัมพันธ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ, 2555 ) ในปี 2553 ทั้งนี้ สหภาพ ยุโรปเป็ นตลาดส่ งออกอันดับสองของประเทศไทยรองจากอาเซียน การส่ งออกของประเทศไทยไป ยังสหภาพยุโรปมีมูลค่ารวม 1.7 หมื่นล้านยูโร (ประมาณ 7.25 แสนล้านบาท) ความเข้มแข็งของภาค การส่ งออกของไทยทําให้ไทยได้เปรี ยบดุลการค้ามหาศาลกับสหภาพยุโรป โดยในช่วงปี พ.ศ. 25502553 ไทยได้เปรี ยบดุลการค้ากับสหภาพยุโรปเฉลี่ยอยูท่ ี่ประมาณ 5.5 พันล้านยูโรต่อปี (ประมาณ 2.2 แสนล้านบาท) มากกว่าครึ่ งหนึ่งของสิ นค้าไทยที่ส่งออกไปยังสหภาพยุโรปได้รับสิ ทธิพิเศษทางการค้า ไม่ ว่าจะเป็ นทั้งจากการปฏิบตั ิเยีย่ งชาติที่ได้รับความอนุเคราะห์ยงิ่ (Most Favoured Nation - MFN) และการยกเว้น ภาษี ท้ งั หมดหรื อเสี ยภาษี เ พี ย งบางส่ ว นภายใต้ระบบการให้สิทธิ พิ เศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปหรื อจีเอสพี (Generalized Scheme of Preferences - GSP) ทั้งนี้ ในบรรดา ประเทศคู่คา้ ของสหภาพยุโรป ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ได้รับประโยชน์จากจีเอสพีเป็ นอันดับ สองรองจากอินเดีย


บทที4่ อุตสาหกรรมแปรรู ปกุ้ง อุตสาหกรรมแปรรู ปกุ้งในประเทศไทย ประเทศไทยถือเป็ นผูน้ าํ การผลิตกุง้ ไทยมีผลผลิตกุง้ เป็ นอันดับสองของโลก คิดเป็ นร้อยละ 24.29 ของผลผลิตโลก กุง้ ทะเลที่เพาะเลี้ยงมี 2 ชนิ ด คือ กุง้ ขาวแวนาไมและกุง้ กุลาดา ในสัดส่ วน 99:1 และเป็ นผูส้ ่ งออกกุง้ เป็ นอันดับหนึ่งของโลกส่ วนใหญ่ส่งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็งและกุง้ ปรุ งแต่ง คิดเป็ น 1.6% ของการส่ งออกรวมของไทย ซึ่ งกุง้ แช่เย็นแช่แข็ง ไทยส่ งออกเป็ นอันดับ 1 ของโลก คิดเป็ นมูลค่า 1,732.5 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (15.5%) รองลงมา ได้แก่ อินเดีย (13.9%), เอควาดอร์ (10.6%), จีน (10.3%) และอินโดนี เซี ย (9.0%) และกุง้ ปรุ งแต่ง ไทยส่ งออกเป็ นอันดับ 1 ของโลก เช่ นกัน คิดเป็ นมูลค่า 1,897.1 ล้านเหรี ยญสหรัฐ (42.0%) รองลงมา ได้แก่ จีน (23.1%) เดนมาร์ ก (6.9%) อินโดนี เซี ย (6.3%) และเนเธอร์ แลนด์ (5.9%) ตลาดส่ งออกสาคัญ ประเทศที่นาํ เข้ากุง้ ของ ไทยมากเป็ นอันดับ 1 คือ สหรั ฐอเมริ กา (46.4%) รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น (21.9%) สหภาพยุโรป (14.6%) และแคนาดา (6.0%) ประเทศคู่แข่งสําคัญ ได้แก่ อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย และเอค วาดอร์ เริ่ มต้นจากการเพาะเลี้ยงกุง้ กุลาดําเป็ นหลัก ต่อมาเมื่อเลี้ยงกันมากขึ้นทําให้พ่อแม่พนั ธุ์จาก ธรรมชาติมีไม่เพียงพอต่อความต้องการประกอบกับขาดการพัฒนาสายพันธุ์ ส่ งผลให้ผลผลิตกุง้ กุลาดําที่ได้มีขนาดเล็กลงโตช้า และมีตน้ ทุนการเลี้ยงสู งขึ้นในขณะที่ราคากุง้ กลับถูกลงจนกระทัง่ ได้มีการนํากุง้ ขาวแวนนาไมจากทวีปอเมริ กาใต้ ที่มีการพัฒนาสายพันธุ์เป็ นอย่างดีเลี้ยงง่ายโตเร็ ว ต้นทุนการผลิตตํ่ากว่า และเสี ยค่าบริ หารจัดการน้อย แต่ได้ผลผลิตสู งจึงทําให้คนไทยหันมาเลี้ยงกุง้ ขาวกันมากขึ้นเรื่ อยๆ จนกระทัง่ ปัจจุบนั ประเทศไทยเลี้ยงกุง้ ขาวแวนนาไมที่สดั ส่ วนร้อยละ 99 และ กุง้ กุลาดําเพียงร้อยละ 1


70

กุ้งขาวแวนนาไม กุง้ ขาวลิโทพีเนี ยส แวนนาไม หรื อที่เรี ยกกันว่า "กุง้ ขาว หรื อ กุง้ แวนนาไม" มี 8 ปล้องตัว ลําตัวสี ขาว กรี ดา้ นบนมี 8 ฟั น กรี ดา้ นล่างมี 2 ฟัน ขนาดตัวโตที่สมบูรณ์เต็มที่ของกุง้ สายพันธุ์น้ ี จะ มีขนาดที่เล็กกว่ากุง้ กุลาดํา มีนิสยั ที่ไวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะ และตื่นตกใจง่าย

ภาพที4่ .1 กุ้งขาวแวนนาไม ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/,2555 กุ้งกุลาดํา เป็ นกุง้ ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงศ์ Penaeidae ด้านบนของกรี มีฟัน 7-8 ซี่ ด้านล่างมี 3 ซี่ ลําตัวสี แดงอมนํ้าตาลถึงนํ้าตาลเข้ม ซึ่ งอาศัยอยู่ในเขตร้อน ชอบอาศัยอยู่ในบริ เวณนํ้าลึก ห่ างออก จากฝั่ งและชอบพื้ นทะเลที่ เ ป็ นดิ น ทราย สามารถเจริ ญเติ บ โตได้อย่า งรวดเร็ ว ทนอยู่ใ นนํ้าที่ มี อุณหภูมิสูงและความเค็มตํ่า เช่น บริ เวณป่ าชายเลน ได้ดี

กุง้ กุลาดํามีถิ่นอาศัยแถบน่ านนํ้าของ

ไต้หวัน ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ ออสเตรเลียและอินเดีย


71

ภาพที่ 4.2 กุ้งกุลาดํา ที่มา : http://shriempthai.blogspot.com/2009/07/blog-post_14.html,2555 สถานการณ์ การผลิตของกุ้งไทย ปี 2554 ประเทศผูผ้ ลิตกุง้ หลายประเทศ เช่น จีน อินโดนีเซีย มาเลเซีย เวียดนาม เม็กซิโก ฯลฯ ประสบ ปั ญหาเรื่ องโรค สภาพอากาศแปรปรวนทาให้ผลผลิตกุง้ ลดลง ส่ งผลทางบวกต่อราคากุง้ ไทย ใน พื้นที่ภาคใต้ เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ ช่วงปลายปี 2553 ต่อต้นปี 2554 และช่วงเดือนเมษายน ส่ งผลต่อ การผลิตกุง้ โดยเฉพาะในช่วงไตรมาสแรก ลดลง 14% พื้นที่ภาคกลาง และตะวันออก ได้รับ ผลกระทบจากสภาพอากาศแปรปรวน มีฝนมาก อากาศเย็นกว่าปี ที่ผา่ นมา ส่ งผลต่อผลผลิตกุง้ ที่ได้ ในไตรมาสที่ 3 และ 4 ลดลง 4% คาดว่าปี 2554 ผลผลิตกุง้ ที่ได้จากการเลี้ยงของไทย จะอยูท่ ี่ ประมาณ 600,000 ตัน ลดลง 6% เมื่อเทียบกับปี 2553 ราคาพอใช้และมีเสถียรภาพ โดยภาพรวม การ ส่ งออกกุง้ ของไทยปี 2554 อยูใ่ นเกณฑ์ดี จากข้อมูลเดือนมกราคม- พฤศจิกายน 2554 ปริ มาณ ส่ งออกรวมอยูท่ ี่ 361,460 ตัน มูลค่า 101,138 ล้านบาท เมื่อเทียบกับปี 2553 ในช่วงเวลาเดียวกัน ปริ มาณส่ งออกลดลง 8% แต่มูลค่าเพิ่มขึ้น 10% ยังมีความต้องการบริ โภค (แม้สหรัฐอเมริ กา ยุโรป และหลายประเทศประสบวิกฤตเศรษฐกิจ) ทั้งขายได้ราคาดี โดยเฉพาะการส่ งออกสิ นค้าเพิ่มมูลค่า (Value Added) ที่เริ่ มมากขึ้น อย่างไรก็ตาม สิ่ งที่น่าห่ วงคือ มาตรการทางการค้าที่ไม่เป็ นธรรมอาจถูกนามาใช้/ทวีความ รุ นแรงมากขึ้น เนื่องจากหลายประเทศประสบปัญหาเศรษฐกิจรุ นแรง (อุตสาหกรรมกุง้ ไทย : 2554)


72

ตารางที่ 4-1 แสดงตลาดส่ งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็งและแปรรู ปไทย หน่วย : ตัน / ล้านบาท

2553

ประเทศ ปริ มาณ มูลค่า ปริ มาณ สหรัฐอเมริ กา 191,684.60 46,756.20 176,861.10 ญี่ปุ่น 74,525.90 19,930.60 77,830.20 สหภาพยุโรป 66,111.10 14,847.20 58,758.90 แคนาดา 22,085.60 5,324.80 22,394.30 เกาหลีใต้ 9,389.00 1,821.40 10,274.00 ตลาดอื่นๆ 52,342.80 9,564.90 41,054.40 ส่ งออกรวม 416,139.00 98,245.10 387,172.90 % yoy 8.6 9.3 -7 ที่มา : กรมศุลกากร ประมวลผลโดย ธปท.สํานักงานภาคใต้ ,2555

2554 มูลค่า 50,380.30 24,038.60 15,755.70 6,377.40 2,316.90 9,424.00 108,292.90 10.2

ความต้องการกุง้ ในตลาดส่ งออกยังมีอยู่อย่างต่อเนื่ อง แม้ว่าเศรษฐกิจในตลาดหลักทั้ง สหรัฐอเมริ กาและยุโรปจะอยูใ่ นภาวะชะลอตัว โดยในปี 2554 ไทยมีปริ มาณการส่ งออกผลิตภัณฑ์ กุง้ แช่เย็นแช่แข็งและแปรรู ป(ไม่รวมกุง้ กระป๋ อง) จํานวน 387,172.9 ตัน คิดเป็ นมูลค่า 108,292.9 ล้านบาทซึ่ งแม้ปริ มาณจะลดลงจากปี 2553 ร้อยละ 7.0 เนื่องจากผลผลิตกุง้ ไทยได้รับความเสี ยหาย จากภาวะอุทกภัยต้นปี แต่ทว่ามูลค่าการส่ งออกปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.2 สะท้อนถึงราคาผลิตภัณฑ์ที่ สู งขึ้น เนื่ องจากในปี นี้ไทยเราส่ งออกผลิตภัณฑ์กุง้ แปรรู ป (Prepared or Preserved Shrimp or Prawnnot canned) เพิ่มขึ้นจากปี ก่อนร้อยละ 6.4 ขณะที่มีการส่ งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็ง (Shrimp Fresh andFrozen) ลดลงจากปี ก่อนร้อยละ 16.5 ซึ่งส่ วนหนึ่ง เป็ นผลมาจากความต้องการของผูซ้ ้ือ โดยเฉพาะในตลาดญี่ปุ่นที่ผบู ้ ริ โภคปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหันไปนิ ยมสิ นค้าแปรรู ปเพิ่มมูลค่ามาก ขึ้น ประกอบกับผูส้ ่ งออกไทยที่ประสบปั ญหาขาดแคลนวัตถุดิบจากอุทกภัยช่วงต้นปี ส่ วนหนึ่ ง ปรับตัวหันมาเน้นผลิตผลิตภัณฑ์แปรรู ปเพิ่มมูลค่าเพิ่มมากขึ้น เนื่ องจากใช้วตั ถุดิบกุง้ น้อยกว่าแต่ จําหน่ายได้ราคาดี


73

อย่างไรก็ตามใน ปี 2555 ยังมีปัจจัยเสี่ ยงที่ตอ้ งระมัดระวัง 1. สภาพอากาศแปรปรวน ภัยธรรมชาติ 2. ปั ญหาโรคระบาดทั้งจากโรคตัวแดงดวงขาว และโรคขี้ขาว เป็ นต้น 3. ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นจากประเทศคู่แข่ง อาทิอินโดนี เซี ยที่ปรับตัวจากปั ญหาโรคระบาดได้ ระดับหนึ่ง 4. แล้ว ยังมีประเทศที่น่าจับตามอง คือ อินเดียที่หนั มาเลี้ยงกุง้ ขาวเพิ่มขึ้น และสามารถครอง ส่ วนแบ่งในตลาดสําคัญเพิ่มขึ้นในปี นี้ 5. สถานการณ์เศรษฐกิจโลกที่มีความไม่แน่นอนสู ง และปั ญหาหนี้สินในยุโรปที่ยงั ไม่ชดั เจน ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่อเศรษฐกิจทัว่ โลกให้ชะลอตัวตามไปด้วย 6. ปั ญหาการกี ดกันทางการค้า ซึ่ งเป็ นที่น่าจับตามองว่าตลาดหลักมีความพยายามนําเอา มาตรการกีดกันทางการค้ามาใช้มากขึ้นในปี นี้ อาทิ มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาด(Anti-dumping : AD) ของสหรัฐอเมริ กาซึ่ งปั จจุบนั ไทยถูกเก็บที่อตั รา 0.73 ขณะที่คู่แข่งจีน และเวียดนาม มี แนวโน้มจะหลุดจากภาษีน้ ี ในระยะต่อไปซึ่ งจะส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันได้ นอกจากนั้น ไทยอาจถูกสหภาพยุโรประงับการให้สิทธิ GSP ซึ่งจะทําให้กุง้ แช่เย็นแช่แข็งของไทย ถูกเรี ยกเก็บภาษีนาํ เข้าเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 4.2 เป็ นร้อยละ 12.0 และกุง้ แปรรู ปเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 7.0 เป็ นร้อยละ 20.0 (มองตลาดกุง้ ไทยในตลาดส่ งออกหลัก, 2555) อุตสาหกรรมแปรรูปอาหารทะเลในสหภาพยุโรป (EU) อุตสาหกรรมกรรมแปรรู ปอาหารทะเลในสหภาพยุโรป(EU) ได้มีผลสรุ ปออกมาว่า จาก การสํารวจอุตสาหรรมแปรรู ปอาหารทะเล ประเทศอังกฤษที่จดั ทําโดยองค์กร Seafish ในปี 2008 ภายใต้หวั ข้อ “2008 Survey of the UK Seafood Processing Industry” แล้วนําผลที่ได้มาเปรี ยบเทียบ ตัวเลขจากการศึกษาในทํานองเดียวกันเมื่อปี 2004 พบว่า


74

1. อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลของ UK มีขนาดเล็กลง เนื่องจากตัวเลขของจ้างงานใน ภาคอุตสาหกรรมมีแนวโน้มลดลง (-20%) และจํานวนโรงงานแปรรู ปก็ลดลงเช่นกัน (-15%) การ จ้างงานส่ วนใหญ่เกิดจากกิจการแปรรู ปอาหารทะเลขนาดใหญ่ที่มีจาํ นวนอยูไ่ ม่มากนัก แต่จา้ งงาน เกือบ 50% จากทั้งหมด 2. เกิดปั ญหาขาดแคลนวัตถุดิบ ผูป้ ระกอบการแปรรู ปอาหารทะเลของ UK กําลังเผชิญกับ วิกฤตการณ์ขาดแคลนวัตถุดิบ ส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการรายใหญ่ตอ้ งหันไปพึ่งการนําเข้าอาหารทะเล ที่ผา่ นการแปรรู ปแล้วบางส่ วน (partially processed seafood) จากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น ส่ วนผู ้ แปรรู ป รายย่อยก็เ ผชิ ญ กับปั ญหาแหล่ งวัตถุ ดิ บ ไม่ เ พี ย งพอเช่ น เดี ย วกัน ปั ญ หาดังกล่ า วเกิ ด ขึ้ น เนื่องจาก 2.1. อุปทานสัตว์น้ าํ ลดลง เพราะเรื อประมงของ UK จับสัตว์น้ าํ หน้าดิน (demersal species) และสัตว์น้ าํ ผิวนํ้า (pelagic species) ได้ลดลง หากแต่การจับ shellfish (จําพวกหอย ปู กุง้ ) เพิ่มขึ้น 2.2. ต้นทุนวัตถุดิบมีราคาสูงขึ้น เปรี ยบเทียบจากสัดส่ วนค่าใช้จ่ายที่ผปู ้ ระกอบการ ใช้ในการซื้อวัตถุดิบกับรายได้ที่ได้รับ (sales revenue) พบว่า ต้นทุนค่าวัตถุดิบในปี 2007 ของผูแ้ ปร รู ปขั้นที่สอง (secondary processors) และผูแ้ ปรรู ปแบบผสมเพิ่มขึ้นกว่าตัวเลขในปี 2004 แต่ ในขณะที่ผแู ้ ปรรู ปขั้นต้น (primary processors) มีค่าใช้จ่ายในการซื้อวัตถุดิบลดลงเล็กน้อย 3.

เป็ นธุ รกิจที่ให้ผลกําไรตํ่า อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลของ UK เป็ นธุ รกิจที่มี

ต้นทุนประกอบการสู ง เพราะมีท้ งั ต้นทุนทางตรง (direct cost) ที่คิดเป็ นสัดส่ วนสู งถึง 85% และ ต้นทุนทางอ้อม (indirect cost) อีก 11% ดังนั้น ธุ รกิจจึงเหลือผลกําไรในสัดส่ วนที่ต่าํ มากและยังมี แนวโน้มลดลง ซึ่ งส่ งผลต่อกระทบต่อความน่ าลงทุนของธุ รกิ จ จํากัดโอกาสในการพัฒนาและ นวัตกรรมใหม่ๆ ของสิ นค้า ทั้งนี้ กําไรของภาคธุรกิจแบ่งออกเป็ น


75

3.1. กําไรจากการดําเนิ นงาน (operating profit) ตัวเลขลดลงจาก 4.3% ในปี 2004 เหลือ 3.4% ในปี 2007 และหากแบ่งตามประเภทของผูแ้ ปรรู ปพบว่า ผูแ้ ปรรู ปขั้นต้นมีกาํ ไรจากการ ดําเนินงานสูงสุ ด (4.1%) ถัดมา คือ ผูแ้ ปรรู ปแบบผสม (3.4%) และผูแ้ ปรรู ปขั้นที่สอง (1.1%) 3.2. กําไรสะสม (retained profit) มีตวั เลขที่สอดคล้องกับกําไรจากการดําเนิ นงาน นัน่ คือ ผูแ้ ปรรู ปขั้นต้นมีกาํ ไรสะสมสูงสุ ด (3.9%) แต่ในขณะที่ผแู ้ ปรรู ปขั้นที่สองมีกาํ ไรสะสมน้อย ที่สุด (0.5%) และหากเปรี ยบเทียบตามขนาดของกิจการพบว่า ธุรกิจแปรรู ปขนาดเล็กมีกาํ ไรสะสม โดยเฉลี่ยสูงสุ ด (4.7%) ตามด้วยธุรกิจขนาดใหญ่ (1.4%) และธุรกิจแปรรู ปขนาดกลางมีกาํ ไรสะสม ลดลง (-0.2%) 4. อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลของ UK ต้องพึ่งการนําเข้าวัตถุดิบเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะผู ้ แปรรู ปแบบผสมที่แม้มีจาํ นวนอยูไ่ ม่มากนักใน UK แต่เป็ นกิจการที่มีขนาดใหญ่และมีความสําคัญ ต่อภาคอุตสาหกรรม จากการสํารวจพบว่า ผูแ้ ปรรู ปแบบผสมนําเข้าวัตถุดิบโดยตรงจากต่างประเทศ เพิ่มขึ้นจาก 15% ในปี 2004 เป็ น 58% ในปี 2007 ในขณะที่การใช้วตั ถุดิบที่มาจากการทําสัญญา โดยตรงกับเรื อประมงของ UK ลดลงจาก 48% เหลือ 15% สําหรับอาหารทะเลที่นาํ เข้าเพิ่มขึ้นนั้น (เช่น ปลาทูน่าหรื อกุง้ ) ส่ วนใหญ่ไม่ตอ้ งผ่านการแปรรู ปอีก แต่เป็ นการนําเข้าแบบแช่แข็งเพื่อนําไป จําหน่ายต่อให้กบั ผูค้ า้ ส่ งหรื อธุรกิจอาหารต่อไป 5. ตลาดอาหารทะเลมีความเป็ นสากลเพิ่มขึ้น (internationalization) ทําให้การค้าอาหาร ทะเลระหว่างประเทศคิดเป็ นสัดส่ วนสู ง ดังเช่น ผูแ้ ปรรู ปขั้นต้นของ UK ส่ งออกสิ นค้าอาหารทะเล ไปขายทั้งในและนอก EU สู งถึง 32% จากยอดขายทั้งหมด นอกจากนี้ ความเป็ นสากลของตลาด อาหารทะเลยังทําให้ผแู ้ ปรรู ปรายใหญ่มีแหล่งวัตถุดิบที่หลากหลายขึ้นด้วย 6. ผลกระทบจากประเด็นด้านสิ่ งแวดล้อมและความยัง่ ยืนต่อภาคธุรกิจ


76

6.1. ประเด็นด้านสิ่ งแวดล้อม แทบจะไม่มีผลกระทบต่อภาคธุ รกิจ หากแต่เป็ น ปั จจัยขับเคลื่อนที่สาํ คัญสําหรับการวางแผนธุรกิจต่อไปในอนาคต อย่างไรก็ตาม มีผปู ้ ระกอบการ บางส่ วนเห็นว่ากฏระเบียบที่เพิ่มขึ้นที่เกี่ยวข้องกับการกําจัดนํ้าเสี ยและของเสี ย ภาระการจัดการและ ต้นทุนที่เพิ่มขึ้น เหล่านี้ลว้ นมีผลกระทบต่อธุรกิจ 6.2. ประเด็นด้านความยัง่ ยืน (sustainable)

มีผลกระทบกับผูแ้ ปรรู ปรายใหญ่

มากกว่ารายย่อย เนื่ องจากผูแ้ ปรรู ปรายใหญ่จาํ หน่ายสิ นค้าให้กบั ร้านค้าปลีกจํานวนมากที่เรี ยกร้อง เกี่ยวกับประเด็นด้านความยัง่ ยืนตามความต้องการของผูบ้ ริ โภค ดังนั้น ธุ รกิจแปรรู ปอาหารทะเล รายใหญ่ส่วนใหญ่ (75%) จึงเลือกซื้อวัตถุดิบจากแหล่งผ่านการรับรองแล้ว (accredited source) ในเรื่ องนี้ สํานักงานที่ปรึ กษาการเกษตรต่างประเทศ ประจําสหภาพยุโรปขอเรี ยนข้อสังเกต และข้อเสนอแนะ ดังนี้ ก) จากการสํ า รวจตัว เลขในปี 2008 และเปรี ยบเที ย บกั บ ปี 2004 ได้ ข ้อ สรุ ปว่ า “ผูป้ ระกอบการแปรรู ปอาหารทะเลของ UK ต้องประสบปั ญหาหลายอย่าง ทั้งวัตถุดิบมีปริ มาณ ลดลงและมีราคาสู งขึ้น ส่ งผลให้ธุรกิจขนาดใหญ่หันไปพึ่งการนําเข้าวัตถุดิบจากต่างประเทศมาก ขึ้น ในขณะที่ธุรกิจขนาดกลางและย่อยต้องเผชิญกับปั ญหาขาดแคลนวัตถุดิบภายในประเทศต่อไป หรื อยอมรับกับต้นทุนที่เพิ่มขึ้น นอกจากนี้ อุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลของ UK ยังเป็ นธุรกิจที่ มีตน้ ทุนประกอบการสู ง โดยเฉพาะต้นทุนทางตรง จึงเหลือผลกําไรคิดเป็ นสัดส่ วนตํ่า ซึ่ งส่ งผล กระทบต่อความน่าลงทุนธุรกิจและพัฒนาการต่อไปในอนาคต” ในระยะยาวหากไม่มีการแก้ปัญหาดังกล่าว อาจทําให้ผูป้ ระกอบการแปรรู ปอาหารทะเล บางส่ วนตัดสิ นใจล้มเลิ กกิ จการไป หรื อเปลี่ยนสภาพจากผูแ้ ปรรู ป (processors)

ไปเป็ นผูค้ า้

(traders) อาหารทะเลมากขึ้นแทน อันจะกระทบต่อความอยูร่ อดของอุตสาหกรรมแปรรู ปอาหาร ทะเลของ UK รวมทั้งอํานวยชาวประมงที่มีความสามารถในการแข่งขันลดลง ก็จะเลิกหรื อเปลี่ยน อาชีพ ทําให้ปริ มาณผลผลิตในประเทศลดลง


77

ข) การศึกษานี้ ได้ทาํ ขึ้นก่อนเริ่ มต้นเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจในปลายปี 2008 ซึ่ งเป็ น เหตุการณ์ที่ทาํ ให้ธุรกิจเกือบทุกประเภทประสบปั ญหาขาดแคลนสภาพคล่องทางการเงิน อุปสงค์ ในตลาดลดลงเพราะผูบ้ ริ โ ภคมี ก าํ ลัง ซื้ อ ลดลง หรื อ ผูล้ งทุ น ตัด สิ น ใจเลื่ อ นการลงทุ น ออกไป นอกจากนี้ ยังมีวิกฤตการณ์ราคานํ้ามันพิ่มสู งขึ้นร่ วมด้วยตั้งแต่ปลายปี 2007 เป็ นต้นมา ซึ่ งส่ งผล กระทบทางด้านต้นทุนวัตถุดิบ (สิ นค้าประมง) และต้นทุนการขนส่ ง วิกฤตการณ์ท้ งั สองนี้ น่าจะยิ่ง ส่ งผลกระทบในทางลบต่ออุตสาหกรรมแปรรู ปอาหารทะเลของ UK ไม่มากก็นอ้ ย ค) สหภาพยุโรปมีกฏระเบียบที่ควบคุมการทําประมงอย่างเข้มงวด ทั้งนี้ เพื่อวัตถุประสงค์ ในการทําประมงอย่างยัง่ ยืนและเพื่อประโยชน์ดา้ นสิ่ งแวดล้อม (เช่น การกําหนดโควต้าการจับปลา, กําหนดช่วงระยะเวลาที่อนุ ญาตให้จบั ปลาได้ หรื อ ควบคุมขนาดของปลาที่จบั ได้) ในแง่หนึ่ ง กฏ ระเบียบเหล่านี้ทาํ ให้เกิดผลดีต่อชาวประมงและอุตสาหกรรมประมงในระยะยาว แต่ในอีกด้านหนึ่ง กลับทําให้ผแู ้ ปรรู ปอาหารทะเลรู ้สึกว่ากฏระเบียบที่ควบคุมอย่างเข้มงวด ทําให้ปริ มาณสัตว์น้ าํ ที่จบั ได้ลดลงและอุปทานสัตว์น้ าํ ที่เป็ น “black fish” หมดไปจากตลาด ดังนั้น ปั ญหาขาดแคลนวัตถุดิบ จึงเกิดขึ้น ง) จากประเด็นแนวโน้มปั ญหาการขาดแคลนวัตถุดิบสิ นค้าประมงใน UK คาดว่าจะมีผล เชื่อมโยงกับกฎระเบียบ IUU ของ EU ที่จะมีผลปรับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2010 (กําหนดให้ สิ นค้าประมงต้องมี Catch certificate กํากับ) โดยกฎระเบียบใหม่น้ ี จะส่ งผลทางอ้อมให้ตน้ ทุนการ ผลิตในภาคประมงของประเทศที่สามสู งขึ้น และทําให้ราคาต้นทุนสิ นค้านําเข้า ซึ่งจะทําให้สินค้าที่ ผลิตใน EU สามารถแข่งขันด้านราคาได้ ดังนั้น ถ้าไทยมองจากประเด็นนี้ จึงน่าจะเป็ นโอกาสที่ดี ของไทยในการขยายการส่ งออกสิ นค้าประมงจําพวกกุง้ แช่ แข็ง หรื อ เนื้ อปลาแช่ แข็ง ไปยังตลาด ดังกล่าว โดยเฉพาะหากไทยสามารถควบคุมต้นทุนการจัดการ IUU ให้อยูใ่ นระดับตํ่า สิ นค้าไทยก็ จะสามารถแข่งขันได้ท้ งั ระดับราคาและเป็ นสิ นค้าที่ปราศจากการทําประมงผิดกฎหมาย ช่องทาง ตลาดก็จะเปิ ดรับมากขึ้น (สํานักงานที่ปรึ กษาการเกษตรต่างประเทศ ประจําสหภาพยุโรป, 2552) ผลสรุ ป ที่ ไ ด้ก ล่ า วมาข้า งต้น นั้น จวบจนปั จ จุ บ ัน นี้ ก็ ย งั คงประสบปั ญ หานี้ อยู่เ ช่ น กัน IBISWorld, 2012 ได้กล่าวไว้ว่า อุตสาหกรรมอาหารทะเลแปรรู ปในสหราชอาณาจักรพยายามมา


78

นานกว่า5ปี จวบจนปี 2012-13 หลังจากอยูภ่ ายใต้ความกดดันที่มีมากขึ้นจากวัตถุดิบนําเข้าที่มีราคา สูง และภาวะเศรษฐกิจถดถอย รายได้จากอุตสาหกรรมคาดการณ์วา่ จะเติบโตเพียง 1.9% ต่อปี ตลอด ช่วงระยะเวลา และจํานวนของรายได้จะอยูท่ ี่ £ 298000000 ในปี 2012-13 IBISWorld ประมาณการ ไว้ว่ารายได้จากอุตสาหกรรมจะหดตัวถึง 0.4% ในปี 2012-13 ดังนั้นผูป้ ระกอบการอาจประสบกับ การปรับโคงสร้างใหม่ และทําให้บริ ษทั มัน่ คงยิง่ ขึ้น อุตสาหกรรมแปรรูประหว่ างประเทศไทยและสหภาพยุโรป (EU) กุง้ ถือเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่มีศกั ยภาพเป็ นลําดับต้น ๆ ของประเทศไทย ในปี 2549 ไทย ส่ งออกสิ นค้ากุง้ ทั้งหมดประมาณ 350,000 ตัน คิดเป็ นมูลค่ากว่า 70,000 ล้านบาท โดยตลาดสหภาพ ยุโรปเป็ นหนึ่งในตลาดหลักสําหรับกุง้ ไทย แต่เมื่อเทียบกับประเทศคู่คา้ อื่น ๆ ของสหภาพยุโรปแล้ว ไทยเป็ นผูส้ ่ งออกลําดับที่ 17 ซึ่ งจากการวิเคราะห์ของ UN Globefish ระบุว่า ไทยเป็ นประเทศที่มี ศักยภาพการผลิตกุง้ ที่สูงถึงปริ มาณร้อยละ 25 ของการผลิตกุง้ ทั้งหมดทัว่ โลก ดังนั้นตลาดสหภาพ ยุโรปจึงเป็ นตลาดที่ยงั มีโอกาสที่ดีสาํ หรับการส่ งออกกุง้ ของไทยอีกมาก และยิง่ ประเทศไทยได้รับ สิ ทธิ GSP กลับคืนมายิ่งส่ งผลให้การส่ งออกกุง้ ไทยในตลาดยุโรปดูมีแนวโน้มสดใสยิ่งขึ้น ที่สาํ คัญ สหภาพยุโรปเป็ นภูมิภาคที่มีปริ มาณการบริ โภคกุง้ มากที่สุดในโลก คิดเป็ นประมาณ 700,000 ตัน ต่อปี โดยร้อยละ 50 เป็ นการนําเข้ากุง้ จากต่างประเทศ นอกจากนี้ ตลาดยุโรปยังมีลกั ษณะเป็ นตลาด ร่ วมของประเทศสมาชิกรวมแล้วถึง 27 ประเทศ และมีประชากรกว่า 450 ล้านคน โดยล่าสุ ดตลาด ยุโรปได้ขยายตัวออกไปในประเทศยุโรปตะวันออก ซึ่งยังมีโอกาสทางการตลาดอีกมาก ดังนั้นหาก ผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสามารถเข้าถึงตลาดสหภาพยุโรปได้น่ันหมายถึงการเข้าถึงกําลังซื้ อกุง้ ทัว่ ทั้ง ภูมิภาคยุโรปนัน่ เอง ถึงแม้สหภาพยุโรปเป็ นตลาดใหญ่ที่มีปริ มาณการบริ โภคกุง้ มากที่สุดในโลก ขณะเดียวกัน ก็ให้ความสําคัญกับการพัฒนามาตรฐานด้านคุ ณภาพและสุ ขอนามัยมากที่สุดเช่ นกัน เนื่ องจาก สหภาพยุโรปเคร่ งครัดกับคุณภาพและความปลอดภัยของสิ นค้าอาหารทุกประเภทรวมทั้งกุง้ และ สิ นค้าอาหารทะเลอื่น ๆ เป็ นอย่างมาก โดยจะนําเข้าเฉพาะจากผูผ้ ลิต/ผูส้ ่ งออกที่เชื่ อถือได้ในด้าน คุณภาพ สิ นค้าประมงที่จะส่ งมายังสหภาพยุโรปต้องมีใบรับรองสุ ขภาพที่ออกโดยกรมประมง และ ฟาร์ ม และโรงงานที่แปรรู ปเพื่อการส่ งออกก็ตอ้ งมี มาตรฐานของฟาร์ มและโรงงานที่ได้รับการ รับรองจากสหภาพยุโรป นอกจากนั้น ยังมีการนําระเบียบการตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) มา


79

ใช้ และระบบ EU Rapid Alert System on Food and Feed ซึ่งเป็ นระบบการเตือนภัยเร่ งด่วนสําหรับ อาหารและอาหารสัตว์ เพื่อให้หน่ วยงานที่ มีอาํ นาจควบคุ ม และรั บผิดชอบความปลอดภัยของ อาหารในประเทศสมาชิกได้รับทราบ และแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็ วในกรณี ที่มี การพบเชื้ อโรค สารปนเปื้ อน หรื อสารตกค้างในกุ้งที่ ส่งเข้ามา โดยจะมี การส่ งข่าวถึ งกันอย่าง รวดเร็ วและสามารถออกมาตรการในการตรวจสอบแบบเข้มงวดเพื่อระงับการส่ งออกมายังประเทศ สหภาพยุโรปทุกประเทศได้อีกด้วย ในด้านการแข่งขันของสิ นค้ากุง้ ที่ส่งไปยังสหภาพยุโรป นับได้ว่ามีการแข่งขันสู งเพราะ ไม่ ว่ า คู่ แ ข่ ง จากเอเชี ย เอง หรื อ จากทวี ป ลาติ น อเมริ ก า โดยเฉพาะสิ น ค้า กุ้ง ที่ เ ป็ น Commodity Product หรื อสิ นค้ากุง้ สดแช่เย็น และแช่แข็งต้องประสบกับการแข่งขันที่สูงโดยเฉพาะอย่างยิ่ง กุง้ ขาวแช่ แข็งต้องแข่งขันทั้งด้านราคา และคุณภาพกับคู่แข่ง อาทิ เอควาดอร์ และบราซิ ลที่บางครั้ง สามารถผลิ ต ในต้น ทุ น ที่ ต่ ํา กว่ า ไทย ดัง นั้ น นอกจากการส่ ง ออกสิ น ค้า กุ้ง แบบ Commodity product แล้ว เกษตรกรผูผ้ ลิตกุง้ และผูป้ ระกอบการส่ งออกกุง้ จึงควรหันมาสร้างความหลากหลาย และสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้ากุง้ ไทยให้มากขึ้น โดยการปรับเปลี่ยนจากกุง้ สดแช่แข็งให้เป็ นกุง้ แปรรู ปในลักษณะต่าง ๆ อาทิ กุง้ ปรุ งสุ กที่เหมาะแก่การประกอบอาหารของชาวยุโรป เช่น กุง้ ใส่ สลัด กุง้ ที่เป็ นส่ วนประกอบสําหรับการประกอบอาหารไทย อาหารไทยสําเร็ จรู ปแบบแช่แข็งที่มี ส่ วนประกอบที่ทาํ มาจากกุง้ เช่น ข้าวกระเพรากุง้ ผัดไทยกุง้ ผัดสปาเก็ตตี้กุง้ ฯลฯ ซึ่ งปั จจุบนั ก็มี บริ ษทั ไทยหลายบริ ษทั ที่ประสบความสําเร็ จจากการส่ งออกสิ นค้ากุง้ แปรรู ปและอาหารไทยแช่แข็ง ที่มีส่วนประกอบมาจากกุง้ สู่ ตลาดยุโรปแล้ว การนํา Concept ของการปรุ งอาหารแบบไทย และ อาหารไทยมาผสมผสานเป็ นผลิตภัณฑ์กุง้ ใหม่ ๆ คือเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ นค้ากุง้ ด้วยภูมิ ปั ญญาของคนไทย ซึ่งจะเป็ นการเพิ่มโอกาสทางการตลาดของสิ นค้ากุง้ ไทยที่มีศกั ยภาพอยูแ่ ล้วให้ดี ยิ่งขึ้น ที่สาํ คัญการออกแบบหี บห่ อ (packaging) ให้ดึงดูด ดูดี แปลกตา น่ าซื้ อหา และมีคุณภาพใน การเก็บรักษาอาหารให้คงสภาพสดอยูเ่ สมอ ก็เป็ นปั จจัยสําคัญ โดยบนหี บห่ ออาจมีการชูความเป็ น กุง้ ไทยซึ่งเหมาะกับการประกอบอาหารไทย (ซึ่งชาวยุโรปรู ้จกั และนิยมชมชอบอาหารไทยมาก) ซึ่ง เป็ นการสร้างจุดเด่นแก่สินค้ากุง้ ไทยในตลาดยุโรปได้อีกด้วย นอกจากนี้ตลาดสหภาพยุโรปยังมีความต้องการกุง้ กุลาดํา และกุง้ ก้ามกรามอีกมาก แม้จะ มีราคาสู งแต่กเ็ ป็ นที่นิยมในตลาดยุโรปมาก เพราะมีเนื้ อแน่นและสี สันสวยงาม โดยเฉพาะในวงการ ภัตตาคาร และโรงแรมชั้นนํา อีกทั้งผูบ้ ริ โภคยุโรปมีกาํ ลังซื้ อสู ง เน้นของดี มีคุณภาพ กุง้ กุลาดําจาก


80

ประเทศไทยเป็ นที่รู้จกั ดีในยุโรป และยังมีช่องทางตลาดอีกมาก จึงควรมีการส่ งเสริ มเกษตรกรไทย ให้หนั มาเพาะเลี้ยงกุง้ กุลาดํา และกุง้ ก้ามกรามให้มากขึ้น ความตื่ นตัวและความเป็ นหนึ่ งเดี ยวกันของผูเ้ กี่ ยวข้องทุกฝ่ ายไม่ว่าจะเป็ นภาครั ฐ หรื อ เอกชนในแวดวงอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยเป็ นปั จจัยสําคัญในการส่ งเสริ มศักยภาพของกุง้ ไทยในตลาดยุโรปจะเห็นได้จากงานแสดงสิ นค้า European Seafood Exposition ซึ่งเป็ นงานแสดง สิ นค้าอาหารทะเลและประมงที่ใหญ่ที่สุดงานหนึ่งของยุโรป โดยมีผมู ้ าร่ วมงานจากทัว่ ทุกมุมโลก ก็ เป็ นโอกาสอันดีในการพบปะระหว่างผูป้ ระกอบการ และผูส้ ่ งออกของไทยกับตัวแทนจําหน่ายและ ผูซ้ ้ือของยุโรป อย่างไรก็ตามแม้จะมีการจัดงานมาหลายปี แล้ว และไทยมีผปู ้ ระกอบการเข้าร่ วมทุกปี แต่ผปู ้ ระกอบการของไทยเข้าร่ วมแสดงสิ นค้ามีจาํ นวนเพียงไม่กี่รายเมื่อเทียบกับประเทศอื่น ๆเช่น เวียดนาม อินโดนี เซี ย มาเลเซี ย จีน ทั้ง ๆ ที่ไทยมีศกั ยภาพในการส่ งออกอาหารทะเลเป็ นอันดับต้น ๆ ของโลก นอกจากนั้นในการออกงานภาครัฐและเอกชนไทยควรรวมตัวกันจัดตั้งบูธใหญ่ร่วมกัน เป็ นบูธสําหรับประเทศไทยเพื่อเพิ่มความสนใจของบูธ และเป็ นการสร้างเอกภาพและเอกลักษณ์ ของความเป็ นไทยซึ่ งเป็ นส่ วนที่ประเทศคู่แข่งของไทยหลาย ๆ ประเทศผนึ กกําลังกันอย่างเห็นได้ ชัด จากที่กล่าวมาทั้งหมดนี้ เห็นได้ว่าทั้งเกษตรกรผูผ้ ลิต ผูส้ ่ งออก รวมทั้งผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้อง ในวงการกุง้ ไทยควรใช้โอกาสทองที่ ถูกหยิบยื่นให้ผ่านสิ ทธิ พิเศษทางภาษีที่เรี ยกว่า GSP อย่าง คุ ม้ ค่า เพื่อสร้ างความมัน่ คงสําหรั บการส่ งออกสิ นค้ากุ้ง และสามารถต่อยอดได้เมื่ อสิ ทธิ พิเศษ ดังกล่าวจะต้องหมดไป ที่สาํ คัญควรตระหนักว่า ไม่มีผใู ้ ดหรื อประเทศใดที่จะดําเนินธุรกิจด้วยความ ช่วยเหลือหรื อสิ ทธิ พิเศษจากคู่คา้ ได้ตลอดไป แต่การพัฒนาศักยภาพ การรักษาคุณภาพของสิ นค้า การสร้างมูลค่าเพิ่มสิ นค้า การสร้างแบรนด์ และสร้างความเชื่อมัน่ ของสิ นค้าประมงและกุง้ ไทยให้ ติดตลาดโลก บนพื้นฐานของการผลิตด้วยวิสัยทัศน์ที่กว้างไกลและมีการศึกษาความต้องการของ ตลาดเป็ นปั จจัยสําคัญที่ จะส่ งเสริ มให้อุตสาหกรรมกุ้งไทยพัฒนาได้อย่างยัง่ ยืน และมีศกั ยภาพ ต่อไป(คณะผูแ้ ทนไทยประจําประชาคมยุโรปและสํานักงานที่ปรึ กษาการเกษตรต่างประเทศประจํา สหภาพยุโรป) ตลาดสําคัญในกลุ่มสหภาพยุโรป (EU) ได้แก่ สหราชอาณาจักร สเปน เยอรมัน ฝรั่งเศส เบลเยีย่ ม เนเธอร์แลนด์ และอิตาลี โดยภาพรวมการนําเข้ากุง้ ของประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรปในปี 2011 มี ปริ มาณเพิ่มขึ้น แม้ว่าจะประสบปั ญหาเศรษฐกิ จก็ตาม โดยส่ วนใหญ่เป็ นการนําเข้าจาก


81

อาร์ เจนติ นา เอกวาดอร์ จี น และไทย ทั้งนี้ ในปี 2012คาดว่าตลาดกุง้ ในสหภาพยุโรปคงมี การ ขยายตัวไม่มากนัก จากปัจจัยเสี่ ยงด้านเศรษฐกิจของประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป โดยเฉพาะปั ญหา หนี้ สาธารณะที่ ยงั ไม่คลี่คลายทั้งนี้ จากการที่ ผูส้ ่ งออกหลัก ได้แก่ ไทย เวียดนาม และอินเดี ย มี ตลาดส่ งออกหลักอยู่ ในกลุ่มเดี ยวกัน คือสหรั ฐอเมริ กา ญี่ปุ่น และสหภาพยุโรป ทําให้เกิ ดการ แข่งขันกันสู ง โดยเฉพาะด้านราคาและคุณภาพของสิ นค้า ซึ่ งกุง้ ของไทยเป็ นกุง้ คุณภาพดี แต่อาจมี ราคาสู งกว่าแหล่งผลิตในภูมิภาคเอเชียด้วยกัน ดังนั้น ตลาดรับซื้ อกุง้ ของไทย โดยเฉพาะในยุโรป จะเน้นไปที่ผบู ้ ริ โภคขนาดใหญ่ เช่น โรงงานผูผ้ ลิตอาหารสําเร็ จรู ป โรงแรม ร้านอาหารขนาดใหญ่ เนื่องจากมีคุณภาพดีกว่ากุง้ นําเข้าจากแหล่งอื่นๆ ในขณะที่กงุ้ จากบังคลาเทศ เวียดนาม และจีน จะมี ราคาถูกกว่า และเป็ นที่นิยมวางจําหน่ายในร้านค้าของชําสิ นค้าเอเชีย หรื อตามซุปเปอร์มาเก็ต การพัฒนาศักยภาพกุง้ ไทยสู่ ตลาดยุโรปควรดําเนินการในหลายแนวทางพร้อมๆ กัน ได้แก่ 1. การพัฒนามาตรฐานด้านคุณภาพและสุ ขอนามัยการควบคุมและรักษามาตรฐานด้าน คุณภาพและสุ ขอนามัยถือเป็ นประเด็นสําคัญที่สุดที่ผผู ้ ลิตและผูส้ ่ งออกกุง้ ไทยมายังตลาดสหภาพ ยุโรปต้องให้ความสําคัญ เนื่ องจากสหภาพยุโรปเคร่ งครัดกับคุณภาพและความปลอดภัยของสิ นค้า อาหารทุกประเภทรวมทั้งกุง้ และสิ นค้าอาหารทะเลอื่นๆ เป็ นอย่างมาก โดยจะนําเข้าเฉพาะจาก ผูผ้ ลิต/ผูส้ ่ งออกที่เชื่อถือได้ในด้านคุณภาพ สิ นค้าประมงที่จะส่ งมายังสหภาพยุโรปต้องมีใบรับรอง สุ ขภาพที่ออกโดยกรมประมง และฟาร์ มและโรงงานที่แปรรู ปเพื่อการส่ งออกก็ตอ้ งมีมาตรฐานของ ฟาร์ ม และโรงงานที่ ไ ด้รั บ การรั บ รองจากสหภาพยุโ รป นอกจากนั้น ยัง มี ก ารนํา ระเบี ย บการ ตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) มาใช้ ซึ่ งได้แก่การที่ผสู ้ ่ งออกจะต้องสามารถตรวจสอบและ ติดตามการเปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่อาหารสัตว์ กระบวนการผลิต การแปรรู ป การจําหน่าย การขนส่ ง และการขายปลีก อันจะส่ งผลให้ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องต้องบันทึกข้อมูลตลอดห่ วงโซ่ การผลิตที่ สําคัญ 2. การสร้างความหลากหลายและการสร้างมูลค่าเพิ่มของสิ นค้า แม้ตลาดยุโรปจะมีความ ต้องการสิ นค้ากุง้ สู ง แต่ก็เป็ นตลาดที่มีการแข่งขันสู งเช่นกัน ไม่ว่าจะคู่แข่งจากเอเชี ยเองหรื อจาก ทวีปลาตินอเมริ กา โดยเฉพาะสิ นค้ากุง้ ที่เป็ น commodity product หรื อสิ นค้ากุง้ สดแช่เย็นและแช่ แข็งต้องประสบกับการแข่งขันที่สูง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กุง้ ขาวแช่แข็งต้องแข่งขันทั้งด้านราคาและ คุณภาพกับคู่แข่ง อาทิ เอควาดอร์ และบราซิ ลที่บางครั้งสามารถผลิตในต้นทุนที่ต่าํ กว่าไทย ดังนั้น


82

นอกจากการส่ งออกสิ นค้ากุง้ แบบ commodity product แล้ว เกษตรกรผูผ้ ลิตกุง้ และผูป้ ระกอบการ ส่ งออกกุง้ ของไทยจึงควรหันมาสร้างความหลากหลายและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่สินค้ากุง้ ไทยให้ มากขึ้น โดยการปรับเปลี่ยนจากกุง้ สดแช่แข็งให้เป็ นกุง้ แปรรู ปในลักษณะต่างๆ อาทิ กุง้ ปรุ งสุ กที่ เหมาะแก่การประกอบอาหารของชาวยุโรป เช่น กุง้ ใส่ ในสลัด กุง้ ที่เป็ นส่ วนประกอบสําหรับการ ประกอบอาหารไทย อาหารไทยสําเร็ จรู ปแบบแช่แข็งที่มีส่วนประกอบที่ทาํ มาจากกุง้ เช่น ข้าวกระ เพรากุง้ ผัดไทยกุง้ ผัดสปาเก็ตตี้กุง้ แกงเขียวหวานกุง้ ฯลฯ ซึ่ งปั จจุบนั ก็มีบริ ษทั ไทยหลายบริ ษทั ที่ ประสบความสําเร็ จจากการส่ งออกสิ นค้ากุง้ แปรรู ปและอาหารไทยแช่แข็งที่มีส่วนประกอบมาจาก กุง้ สู่ ตลาดยุโรปแล้ว การนํา concept ของการปรุ งอาหารแบบไทยและอาหารไทยมาผสมผสานเป็ น ผลิตภัณฑ์กงุ้ ใหม่ๆ ถือเป็ นการสร้างมูลค่าเพิม่ ของสิ นค้ากุง้ ด้วยภูมิปัญญาของคนไทย ซึ่งจะเป็ นการ เพิ่มโอกาสทางการตลาดของสิ นค้ากุง้ ไทยที่มีศกั ยภาพอยูแ่ ล้วให้ดียงิ่ ขึ้น ที่สาํ คัญ การออกแบบหี บ ห่ อ (packaging) ให้ดึงดูด ดูดี แปลกตา น่าซื้อหา และมีคุณภาพในการเก็บรักษาอาหารให้คงสภาพ สดอยูเ่ สมอ ก็เป็ นปั จจัยสําคัญ โดยบนหี บห่ ออาจมีการชูความเป็ นกุง้ ไทยซึ่งเหมาะกับการประกอบ อาหารไทย (ซึ่งชาวยุโรปรู ้จกั และนิ ยมชมชอบอาหารไทยมาก) ซึ่ งเป็ นการสร้างจุดเด่นแก่สินค้ากุง้ ไทยในตลาดยุโรปได้อีกด้วย 3. เพิ่มการผลิตกุง้ กุลาดําและกุง้ ก้ามกรามจะเห็นได้ว่าทิศทางอุตสาหกรรมกุง้ ไทยคือเน้น การเลี้ยงและการส่ งออกกุง้ ขาว (Penaeus Vannamei) เพิ่มมากขึ้น แต่การเลี้ยงและส่ งออกกุง้ กุลาดํา กลับลดน้อยลง เหลือเพียงร้อยละ 3 ในปี 2548 เนื่องจากเกษตรกรหันไปเลี้ยงกุง้ ขาวเพิ่มขึ้น เพราะ เลี้ ย งง่ ายและทนต่ อโรคระบาด หากแต่ ต ลาดสหภาพยุโรปยังมี ความต้องการกุ้งกุลาดํา และกุ้ง ก้ามกรามอี กมาก แม้จะมี ราคาสู งแต่ก็เป็ นที่ นิยมในตลาดยุโรปมาก เพราะมี เนื้ อแน่ นและสี สัน สวยงาม โดยเฉพาะในวงการภัตราคารและโรงแรมชั้นนํา อีกทั้งผูบ้ ริ โภคยุโรปมีกาํ ลังซื้ อสู ง เน้น ของดี มีคุณภาพ กุง้ กุลาดําจากประเทศไทยเป็ นที่รู้จกั ดีในยุโรปและยังมีช่องทางตลาดอีกมาก จึง ควรมีการส่ งเสริ มเกษตรกรไทยให้หนั มาเพาะเลี้ยงกุง้ กุลาดําและกุง้ ก้ามกรามเพื่อส่ งออกมายังตลาด ยุโ รปให้ ม ากขึ้ น ซึ่ ง นอกจากจะมี ร าคาที่ สู ง กว่ า กุ้ง ขาวแล้ว ยัง มี ก ารแข่ ง ขัน ที่ น้อ ยกว่ า กุ้ง ขาว เกษตรกรไทยบางกลุ่มยังมีความพยายามที่จะเลี้ยงกุง้ กุลาดําอยู่ เช่น จังหวัดจันทบุรี เป็ นต้น จึงควร ได้รับการส่ งเสริ มจากภาครัฐให้เพิ่มผลผลิตให้ได้มาก โดยให้ใช้เทคโนโลยีที่ทนั สมัยเพื่อพัฒนา คุณภาพและความปลอดภัยของสิ นค้ากุง้ ให้คงที่และสอดคล้องกับมาตรฐานและความต้องการของ ตลาดสหภาพยุโรป


83

4. ข้อเสนอแนะสําหรับผูผ้ ลิตและผูป้ ระกอบการในอุตสาหกรรมกุง้ ไทย คือ ผูผ้ ลิตควรยึด ความต้องการของตลาดเป็ นหลัก โดยไม่เลือกผลิตสิ นค้าโดยใช้ความสะดวกและความง่ายของ ผูผ้ ลิตเป็ นตัวตั้ง และควรทําการศึกษาทิศทางความต้องการของตลาดเพื่อวางแผนการผลิต เพราะ ต้องเข้าใจว่า ไทยมิได้เป็ นผูส้ ่ งสิ นค้ากุง้ ไปยังสหภาพยุโรปเพียงประเทศเดียว แต่ยงั มีประเทศคู่แข่ง อีกมากที่นบั วันจะแข็งแกร่ งขึ้นทุกขณะ โดยประเทศคู่แข่งเหล่านี้ศึกษาทิศทางตลาดยุโรป พยายาม พัฒนาเทคนิคการผลิต และขยายลู่ทางการตลาดให้สินค้ากุง้ เหมาะกับความต้องการของคนยุโรปได้ อย่างดี 5. กุง้ อินทรี ย ์ หรื อกุง้ organic เป็ นอีกแนวโน้มตลาดหนึ่งที่น่าจับตา ที่อาจเป็ นโอกาสใหม่ๆ สําหรับสิ นค้ากุง้ ไทยในตลาดสหภาพยุโรป ในช่วงหลายปี ที่ผา่ นมาดูเหมือนในยุโรปจะมีแนวโน้ม ความนิยมการบริ โภคสิ นค้าอาหาร organic หรื อ สิ นค้าอาหารอินทรี ยม์ ากขึ้น กุง้ ก็เป็ นสัตว์น้ าํ หนึ่ ง ที่อาจใช้วิธีการเพราะเลี้ยงสัตว์น้ าํ แบบอินทรี ย ์ (organic aquaculture) และอาจสามารถส่ งออกมาใน ตลาดสหภาพยุโรปเป็ นสิ นค้า Organic ได้ สํานักงานที่ปรึ กษาการเกษตรต่างประเทศ ประจํา สหภาพยุโรปให้ขอ้ เสนอแนะว่า การเพาะเลี้ยงกุง้ อินทรี ยอ์ าจเป็ นทางเลือกหนึ่ งที่น่าสนใจที่ไทย ควรให้ความสําคัญต่อการพัฒนาการผลิตสิ นค้าเกษตรอินทรี ยเ์ พื่อการส่ งออก เพราะนอกจากการทํา ฟาร์ มแบบเกษตรอินทรี ยจ์ ะสามารถช่วยลดมลพิษและรักษาสิ่ งแวดล้อมของประเทศแล้ว ยังเป็ น การเพิ่มศักยภาพการขายสิ น ค้าเกษตรเพื่อภาพลักษณ์ ที่ดี นับได้ว่าการเพาะเลี้ ยงสัตว์น้ าํ และกุ้ง อินทรี ยเ์ พื่อการส่ งออกอาจเป็ นลู่ทางหนึ่ งที่จะช่วยส่ งเสริ มเสถียรภาพการส่ งออกสิ นค้าเกษตรไทย ให้โดดเด่นในตลาดโลก พร้อมกันนั้นก็ตอบรับกับแนวทางการส่ งเสริ มอาหารไทยในฐานะอาหาร สุ ขภาพสู่ครัวโลกอีกด้วย( http://www.shrimpcenter.com/shrimp001497.html ,2555) ในปี 2012 นี้ หากไม่มีปัจจัยที่ส่งผลกระทบรุ นแรงต่อการผลิตสิ นค้าประมง โดยเฉพาะ ปั ญหาภัยธรรมชาติ โรคระบาดในกุง้ มาตรการทางการค้าที่ประเทศคู่คา้ ใช้กบั ไทย รวมทั้ง อัตรา แลกเปลี่ยนยังเคลื่อนไหวอยู่ที่ประมาณ 31-32 บาท ต่อดอลลาร์ สหรัฐ ก็ยงั เชื่ อว่าการส่ งออกกุง้ ไทยยังมีทิศทางในเชิ งบวก ทั้งนี้ ยงั มีปัจจัยสนับสนุ นการส่ งออกกุง้ ไทย ได้แก่ แหล่งผลิตกุง้ อื่นๆ ได้รับผลกระทบจากปั ญหาภัยธรรมชาติและโรคระบาด ส่ งผลให้มีผลผลิตเพื่อการส่ งออกลดลง ประกอบกับตลาดต่างประเทศมีความต้องการบริ โภคเพิ่มขึ้น อาทิ ญี่ปุ่น เป็ นตลาดของผลิตภัณฑ์ แปรรู ปเพิ่มมูลค่า จีน เป็ นตลาดใหม่ มีแนวโน้มการบริ โภคเพิ่มขึ้น รวมทั้ง เกาหลีใต้ ที่คาดว่าจะมี ความต้องการเพิ่มขึ้นจากการเป็ นเจ้าภาพจัดงาน World Expo ในช่ วงกลางปี 2012 ขณะที่


84

สหรัฐอเมริ กาและยุโรปซึ่ งเป็ นตลาดหลัก แม้จะประสบปั ญหาเศรษฐกิจชะลอตัว แต่ปัจจุบนั ราคา กุง้ อยูใ่ นระดับที่ผบู ้ ริ โภครับได้ ความต้องการจึงมีอย่างต่อเนื่องเช่นกันสําหรับตลาดภายในประเทศ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เป็ นผลมาจากราคาเนื้ อหมูและเนื้ อไก่ที่ขยับสู งขึ้นมาใกล้เคียงกับราคากุง้ ส่ งผล ให้ตลาดในประเทศขยายตัวเพิ่มขึ้น ประกอบกับพฤติกรรมการบริ โภคของคนเมืองเริ่ มเปลี่ยนไป จากที่เคยซื้ อกุง้ จากตลาดสดมาแกะเปลือก เปลี่ยนมาซื้ อกุง้ แช่ แข็งพร้อมปรุ งแทน ซึ่ งไม่ต่างจาก สหรัฐอเมริ กาหรื อญี่ปุ่น ดังนั้น จากปัจจัยดังกล่าวส่ งผลให้การค้ากุง้ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ของไทยมีทิศทางที่ดี แม้ว่าปริ มาณการส่ งออกกุง้ ของไทยจะลดลง แต่มูลค่าการค้าน่ าจะยังอยู่ใน ระดับที่น่าพอใจ


บทที่ 5 ผลการศึกษา โดยทัว่ ไปไทยมีผลผลิตกุง้ เป็ นอันดับ 2 ของโลก และการส่ งออก ไทยส่ งออกกุง้ เป็ นอันดับ 1 ของโลก ส่ ว นใหญ่ ตลาดส่ ง ออกสํา คัญ ประเทศที่ นํา เข้า กุ้ง ของไทยมากเป็ นอัน ดับ 1 คื อ สหรัฐอเมริ กา (46.4%) รองลงมาได้แก่ ญี่ปุ่น (21.9%) สหภาพยุโรป (14.6%) และแคนาดา (6.0%) สหภาพยุโรป ยังมีมาตรการเฉพาะกับประเทศไทย โดยมี การกําหนดเงื่ อนไขพิเศษเกี่ ยวกับการ นําเข้าจากประเทศไทยคือหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) และ สหภาพยุโรป ให้ GSP กับลาวและกัมพูชามากกว่าไทย (ภายใต้ EBA: Everything But Arms) โดย ยกเว้นภาษีนาํ เข้าและไม่มีขอ้ จํากัดด้านปริ มาณ ขณะที่อตั ราภาษีภายใต้ GSPใหม่ที่ไทยโดนตัดสิ ทธิ นั้นเพิ่มสูงขึ้น หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรจึงถือว่าเป็ นส่ วนที่สาํ คัญควรจะศึกษาทํา ให้ทางผูจ้ ดั ทําได้แบ่งการศึกษาออกเป็ น 2 ส่ วน ดังนี้ ส่ วนที่ 1 ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ส่ วนที่ 2 ศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป ส่ วนที่ 1 ศึกษาถึงหลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences

หรื อ GSP) คื อ ประเทศพัฒนาแล้วให้สิทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรแก่ สิน ค้าที่ มี

แหล่งกําเนิ ดในประเทศที่ กาํ ลังพัฒนาโดยลดหย่อนหรื อยกเว้นอากรขาเข้าแก่ สินค้าที่อยู่ในข่าย ได้รับสิ ทธิ พิเศษทางการค้า ทั้งนี้ ประเทศผูใ้ ห้สิทธิ พิเศษฯ จะเป็ นผูใ้ ห้แต่เพียงฝ่ ายเดี ยว ไม่หวัง ผลตอบแทนใด ๆ ทั้งสิ้ น โดย จะมีเนื้อหาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาํ หนด แบ่งออกได้เป็ น 4 ด้าน คือ 1. หลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปใหม่ (GSPใหม่)


86

2. คุณสมบัติตอ้ งห้ามของการได้รับสิ ทธิตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป (GSP) 3. หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิสิทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป (GSP) 4. หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิชวั่ คราวสําหรับสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทั้ง 3 ประเภท 5. การมีผลบังคับใช้ของระบบสิ ทธิตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป (GSP) ฉบับใหม่ โดยทั้ง 5 ด้านนี้ จะมีรายละเอียดและเงื่อนไขที่กาํ หนดไว้ ดังนี้ 1. หลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปใหม่ (GSPใหม่ ) สหภาพยุโรปให้สิทธิ พิเศษทางศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) แก่ประเทศกําลังพัฒนา ประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries: LDCs) และดินแดนในเขตปกครองต่างๆ โดยมีรูปแบบระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรของ EU: การให้สิทธิ ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ของ EU 3 ประเภท ได้แก่ 1.1 สิ ทธิ พิเศษภายใต้มาตรการสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร เป็ นการทัว่ ไป GSP ปกติ (General Arrangement) หรื อ GSP เป็ นสิ ทธิ พิเศษที่สหภาพยุโรปให้แก่ ประเทศที่ได้รับอนุ ญาตให้ใช้สิทธิ พิเศษรู ปแบบนี้ โดยการยกเว้นหรื อการลดอัตราภาษีศุลกากรลง จากอัตราปกติ (MFN Duty Rate)สิ นค้า จะมีการกําหนดคุณลักษณะของประเทศที่มีสิทธิ์ ใช้สิทธิ พิเศษรู ปแบบนี้ ไว้ดงั นี้


87

1.1.1 การจัดกลุ่มประเทศ โดยกําหนดไว้ว่าจะต้องเป็ นประเทศที่ไม่อยูใ่ นกลุ่ม ประเทศที่มีรายได้สูง (High Income) และประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสู ง(Upper-Middle Income) ตามการจัดกลุ่มของธนาคารโลก 3 ปี ติดต่อกันก่อนหน้าที่โครงการ GSP ใหม่จะมีผลใช้ บังคับ แต่จะมีระยะเวลาปรับตัว 1 ปี ตัวอย่างเช่นประเทศเวียดนาม เป็ นประเทศที่มีสิทธิ์ ในการใช้ สิ ทธิรูปแบบนี้ 1.1.2 เงื่อนไขสิ ทธิ จะต้องเป็ นประเทศที่ได้รับสิ ทธิประโยชน์หรื อสิ ทธิพิเศษทาง การค้าจากการจัดทําข้อตกลงที่ให้สิทธิ พิเศษเพื่อการเข้าสู่ ตลาด(preferential market access arrangement)กับสหภาพฯ ที่เทียบเท่ากับสิ ทธิ ประโยชน์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป GSP ใหม่หรื อมากกว่า จะไม่ได้รับสิ ทธิประโยชน์ภายใต้โครงการระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ใหม่น้ ี ยกเว้นประเทศที่ได้ลงนามย่อความตกลงกับสหภาพฯ ภายใน 20 พฤศจิกายน 2555 จะได้รับระยะเวลาปรับตัว 2 ปี นับจากความตกลงฯ มีผลใช้บงั คับ 1.1.3

ประเภทสิ นค้า พิจารณาให้สิทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษี

ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ตามความอ่อนไหว (sensitivity) ของสิ นค้า ซึ่งแบ่งเป็ น 2 กลุ่ม คือ 1.1.3.1 สิ นค้าอ่อนไหว (sensitive products) เป็ นสิ นค้าที่มีความสําคัญ และมีผลกระทบกับประเทศสู ง เช่น สิ นค้าเกษตร สิ่ งทอ เสื้ อผ้าและเครื่ องแต่งกาย พรม และรองเท้า เป็ นต้น โดยมีการลดภาษี 2กรณี ตามลักษณะของสิ นค้าอ่อนไหว ดังนี้ 1.1.3.1.1 สิ นค้าที่จดั เก็บภาษีตามมูลค่า (Ad valorem rate) จะ ลดลงร้อยละ3.5 จากอัตราภาษีปกติ (Most Favored Nation หรื อ MFN) ยกเว้นสิ นค้าในกลุ่มสิ่ งทอ และเครื่ องนุ่งห่ม จะลดภาษีลงร้อยละ 20 ของอัตราภาษีปกติ 1.1.3.1.2

สิ นค้าจัดเก็บภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ

(Specific Rate) จะลดลงร้อยละ30 แต่หากสิ นค้าอ่อนไหวที่ตอ้ งเสี ยทั้งภาษีตามมูลค่า(Ad valorem


88

rate) และภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) สิ นค้านั้นจะไม่ได้รับการลดภาษี นําเข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) นอกจากนี้ ยงั ให้มีการยกเว้นการกําหนดอัตราภาษี ขั้นตํ่า(minimum duty) แต่จะไม่มีการลดอัตราภาษีข้ นั สู งสุ ด(maximum duty) และหากภาษีตาม มูลค่า(Ad valorem rate)เท่ากับร้อยละ1 หรื อน้อยกว่า และภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ (Specific Rate) เท่ากับ 2 ยูโรหรื อน้อยกว่าก็ให้ยกเว้นภาษีเช่นกัน 1.1.3.2 สิ นค้าไม่อ่อนไหว (non-sensitive products) เช่น ถุงมือยาง เป็ น ต้น จะได้รับการยกเว้นภาษีท้ งั หมด 1.1.4

การพิจารณาตัดสิ ทธิ (Graduation) การพิจารณาตัดสิ ทธิ คาํ นวณจากสถิติ

เฉลี่ย 3 ปี ติดต่อกัน โดยสัดส่ วนมูลค่าการนําเข้าสิ นค้าแต่ละชนิ ดหนวดหมู่ จะต้องไม่เกินระดับที่ กํา หนด(threshold)ที่ ร้อ ยละ14.5 ซึ่ งคํา นวณจากสถิ ติมู ล ค่า การนํา เข้า สิ น ค้า ของสหภาพฯ จาก ประเทศที่ได้รับสิ ทธิประโยชน์ GSP ทั้งหมด โดยใช้สถิติ ณ วันที่ 1 กันยายน ของปี ที่มีการพิจารณา และ 2 ปี ก่อนหน้า 1.2 สิ ทธิ พิเศษภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล (Special Incentive Arrangement for Sustainable Development & Good Governance) หรื อ GSP+ เป็ นสิ ทธิ พิเศษที่สหภาพยุโรปให้กบั ประเทศที่มีความจําเป็ นในการพัฒนาเป็ นพิเศษ (Vulnerable Countries) โดยยกเว้นภาษีนาํ เข้าแก่สินค้าที่มีแหล่งกําเนิ ดในประเทศที่ได้ให้สัตยาบันและมีการปฏิบตั ิอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพตามอนุ สัญญา จะมีการกําหนดคุณลักษณะของประเทศที่มีสิทธิ์ ใช้สิทธิ พิเศษรู ปแบบ นี้ ไว้ดงั นี้ 1.2.1 การจัดกลุ่มประเทศ จะกําหนดไว้ว่าต้องเป็ นประเทศที่อยูใ่ นบัญชีรายชื่อผู ้ ได้รับสิ ทธิประโยชน์ประเภท GSP+ เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยมีเงื่อนไข คือ


89

1.2.1.1 ประเทศที่ไม่มนั่ คง (vulnerable) เนื่องจากขาดความหลากหลาย ในสิ นค้าส่ งออก 1.2.1.2 ขาดการบูรณาการที่เพียงพอในระบบการค้าระหว่างประเทศ 1.2.2 เงื่อนไขสิ ทธิ มีการคํานวณจากมูลค่าการนําเข้าสิ นค้าใน 7 GSP sections ที่ ใหญ่ที่สุดของประเทศนั้นมายังสหภาพฯ เฉลี่ย 3 ปี มีสดั ส่ วนมากกว่า ร้อยละ75 ของมูลค่าการนําเข้า สิ นค้าทั้งหมด ในทุกสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) sections และมูลค่าของการนําเข้าสิ นค้าภายใต้สิทธิประโยชน์เฉลี่ย 3 ปี มีสัดส่ วนน้อยกว่าร้อยละ 2 ของมู ล ค่ า การนํา เข้า สิ น ค้า ภายใต้สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท้ ัง หมดของสหภาพฯ และต้อ งปฏิ บ ัติ ต าม สนธิ สัญญาระหว่างประเทศ เรื่ องสิ ทธิ มนุ ษยชน สิ ทธิ แรงงาน การปกป้ องและรักษาสิ่ งแวดล้อม และหลักธรรมาภิบาลทั้ง 27 ฉบับ ตามที่ระบุในข้อกําหนดเกี่ยวกับมาตรฐานข้อมูลสารเคมีที่ผลิต หรื อนําเข้า ในปริ มาณตั้งแต่ 1 ตัน หรื อมากกว่า( Annex VII) ตัวอย่างเช่นในกรณี ของประเทศ ฟิ ลิปปิ นส์ ยังคงอยู่ในรายชื่อประเทศผูไ้ ด้รับสิ ทธิ ประโยชน์ภายใต้สิทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) และสามารถขอรับสิ ทธิประโยชน์ภายใต้ GSP+ ได้ แต่ จะต้องปฏิบตั ิตามเงื่อนไข โดยจะต้องปฏิบตั ิตามสนธิ สัญญาระหว่างประเทศเพื่อสิ ทธิ มนุ ษยชน สิ ทธิแรงงาน การปกป้ องและรักษาสิ่ งแวดล้อม และหลักธรรมาภิบาล 1.2.3 ประเภทสิ นค้า จะต้องเป็ นสิ นค้าที่ตอ้ งเสี ยภาษีตามมูลค่า(Ad valorem rate) หรื อภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) อย่างใดอย่างหนึ่งจะได้รับการยกเว้นภาษี และสิ นค้าที่ตอ้ งเสี ยทั้งภาษีตามมูลค่า(Ad valorem rate) และภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ (Specific Rate) สิ นค้านั้นจะไม่ได้รับการยกเว้นภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) ยกเว้นสิ นค้าภายใต้พิกดั ศุลกากร (CN code 1704 10 907) ได้แก่ Chewing gum whether or not sugar-coated อัตราภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) จะกําหนดอยูท่ ี่ร้อยละ 16 ของมูลค่าที่จะต้องเสี ยภาษีหากภาษีตามมูลค่า(Ad valorem rate) เท่ากับร้อยละ1 หรื อน้อยกว่า และภาษีนาํ เข้าตามสภาพหรื อตามปริ มาณ(Specific Rate) เท่ากับ 2 ยูโรหรื อน้อยกว่าก็ให้ยกเว้นภาษี เช่นกัน


90

1.2.4 การพิจารณาตัดสิ ทธิ (Graduation) ในรู ปแบบนี้จะไม่มีการพิจารณาตัดสิ ทธิ คณะกรรมาธิ การยุโรปจะทบทวนสถานะการให้สัตยาบันและการปฏิบตั ิตามสนธิ สัญญาระหว่าง ประเทศ โดยจะต้องรายงานต่อรัฐสภาพยุโรปและคณะมนตรี ยุโรปทุกๆ 2 ปี เริ่ มตั้งแต่ 1 มกราคม 2559 หากประเทศที่ได้รับ GSP+ไม่ปฏิบตั ิตามเงื่อนไขที่กาํ หนด คณะกรรมาธิการก็จะพิจารณาถอน สิ ทธิ ชวั่ คราว สําหรับบางรายการสิ นค้าหรื อทั้งหมด และอาจถอนชื่อประเทศนั้นๆ จากบัญชีรายชื่อ ประเทศผูไ้ ด้รับ GSP+ 1.3 สิ ทธิ พิเศษสําหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด หรื อ Everything But Arms (EBA) เป็ น สิ ท ธิ พิ เ ศษที่ ส หภาพยุ โ รปให้ แ ก่ ป ระเทศพัฒ นาน้ อ ยที่ สุ ด ตามคํา จํา กั ด ความขององค์ ก าร สหประชาชาติ โดยประเทศเหล่านี้ จะได้รับยกเว้นภาษีนาํ เข้าสําหรั บสิ นค้าทุกชนิ ดที่มีการผลิต เป็ นไปตามกฎหรื อเงื่อนไขตามข้อตกลงที่ระบุเอาไว้ จะมีการกําหนดคุณลักษณะของประเทศที่มี สิ ทธิ์ใช้สิทธิพิเศษรู ปแบบนี้ ไว้ดงั นี้ 1.3.1 การจัดกลุ่มประเทศ มีการระบุไว้อย่างชัดเจนว่าประเทศที่ได้รับสิ ทธิ EBA จะต้องได้รับการระบุ ว่า เป็ นประเทศพัฒนาน้อยที่ สุดโดยองค์การสหประชาชาติ ตัวอย่างเช่ น ประเทศกัมพูชาและลาว ยังคงได้รับสิ ทธิประโยชน์ภายใต้ Everything But Arms (EBA) 1.3.2 เงื่อนไขสิ ทธิ ได้ระบุไว้ว่าตั้งแต่ 1 มกราคม 2557จนถึง 30 กันยายน 2558 การนํา เข้าสิ น ค้า ประเภทนํ้า ตาลที่ ไ ด้จ ากอ้อ ยหรื อหัว บี ต และซู โครสที่ บริ สุ ทธิ์ ในทางเคมี ใน ลักษณะของแข็ง (Tariff heading 1701) จะต้องขอใบอนุญาตนําเข้า 1.3.3 ประเภทสิ นค้า สิ นค้าทุกประเทศ ยกเว้นสิ นค้าอาวุธ จะได้รับการยกเว้นภาษี ทั้งหมด 1.3.4 การพิจารณาตัดสิ ทธิ(Graduation) หากประเทศที่ได้รับสิ ทธิมีการพัฒนาและ ไม่ได้รับการระบุเป็ นประเทศพัฒนาน้อยที่สุดแล้วนั้น คณะกรรมาธิ การฯ ก็จะถอนชื่อประเทศนั้น จากบัญชีประเทศผูไ้ ด้รับ EBA และได้รับระยะเวลาปรับตัว 3 ปี


91

2. คุณสมบัติต้องห้ ามของการได้ รับสิ ทธิตามหลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป ดังนี้ คุณสมบัติตอ้ งห้ามนั้น คือ ประเทศที่ถูกจัดลําดับโดยธนาคารโลกให้เป็ นประเทศที่มี รายได้สูง (high-income) หรื อประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสู ง (upper-middle income) เป็ น เวลาต่อเนื่ องกัน 3 ปี ก่อนการพิจารณาจัดทําบัญชีประเทศที่รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ทั้งนี้ ประเทศที่ จะผ่านเกณฑ์ดงั กล่าว จะต้องมีรายได้ประชาชาติต่อจํานวนประชากร (GNI per capita) ไม่เกินไป กว่า 3,975 ดอลลาร์สหรัฐฯ หรื อ ประเทศที่ได้รับประโยชน์จากความตกลงว่าด้วยการเข้าสู่ ตลาดที่ เป็ นพิเศษ (Preferential Market Access Arrangement) กับ EU เช่น ประเทศที่มี FTA กับ EU เป็ น ต้น ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยปั จจุบนั ถูกจัดอยู่ในประเทศที่มีรายได้ปานกลางค่อนข้างสู ง (uppermiddle income)เป็ นเวลา 2 ปี ประเทศบรู ไน ถูกตัดสิ ทธิ รายประเทศ เนื่ องจากเป็ นประเทศที่มี รายได้สูงอยูใ่ นระดับ High Income ติดต่อกันเกิน 3 ปี และประเทศมาเลเซีย ถูกตัดสิ ทธิรายประเทศ เนื่ อ งจากเป็ นประเทศที่ มี ร ายได้สู ง อยู่ใ นระดับ ปานกลางค่ อ นข้า งสู ง (Upper-Middle Income) ติดต่อกันเกิน 3 ปี ทั้งนี้ คณะกรรมาธิ การยุโรปจะทบทวนบัญชี ประเทศที่จะรับสิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ทุกวันที่ 1 มกราคม ของทุกปี และหากประเทศใด ถูกตัดสิ ทธิกจ็ ะต้องเสี ยภาษีนาํ เข้าในอัตราทัว่ ไปใน 1 ปี หลังจากนั้น 3 หลักเกณฑ์ การตัดสิ ทธิระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิสิทธิตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) มีดงั นี้ 3.1 เมื่อส่ วนแบ่งตลาดสิ นค้าของประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP เกิน 17.5% ของมูลค่าการนําเข้า รวมจากประเทศผูร้ ับสิ ทธิ GSP ทัว่ โลก


92

3.2 สิ นค้ากลุ่มสิ่ งทอและเครื่ องนุ่งห่ มในหมวด 11 (เอ) และ 11 (บี) จะตัดสิ ทธิ สินค้าที่มี ส่ วนแบ่งตลาดเกิน 14.5% 3.3 การทบทวนการตัดสิ ทธิมีข้ ึนทุก 3 ปี โดยคํานวณจากสถิติการนําเข้า 3 ปี ต่อเนื่ องที่ผา่ น มา ซึ่ งเป็ นข้อมูลนําเข้าตั้งแต่วนั ที่ 1 กันยายน และคํานวณจากมูลค่าการนําเข้าสุ ทธิ ของสิ นค้าแต่ละ รายการ (line-by-line) แม้จะเป็ นการนําเข้าที่ไม่ใช้สิทธิ GSP (รวม MFN imports) ก็ตาม 4. หลักเกณฑ์ การตัดสิ ทธิชั่วคราวสํ าหรับสิ ทธิตามหลักเกณฑ์ ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป (GSP) หลักเกณฑ์การตัดสิ ทธิ ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปชัว่ คราวสําหรั บ GSPทั้ง 3ประเภทคือ สิ ทธิ พิเศษทางศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) สิ ทธิพิเศษภายใต้มาตรการจูงใจ เพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล (Special Incentive Arrangement for Sustainable Development & Good Governance) หรื อ GSP+ และ สิ ทธิพิเศษสําหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด หรื อ Everything But Arms (EBA) จะมีกรณี ดงั ต่อไปนี้ 3.1

การละเมิดพันธกรณี ในอนุ สัญญาที่สหภาพยุโรป (EU) กําหนดอย่างรุ นแรง เช่น

อนุสัญญาพันธุ ฆาต และอนุ สัญญาแรงงานบังคับ เป็ นต้น ตัวอย่างเช่น กรณี ประเทศพม่า สหภาพฯ ได้ถูกตัดสิ ทธิ์จากประเด็นการใช้แรงงาน และได้ยกเลิกมาตรการควํ่าบาตรต่อพม่าเมื่อเดือนเมษายน 2555 ณ ปั จจุบนั นี้กาํ ลังพิจารณาคืนสิ ทธิ GSP ให้แก่พม่า โดยการพิจารณาจะอยูบ่ นพื้นฐานของการ ประเมินประเด็นเรื่ องการใช้แรงงานบังคับในพม่าโดยองค์กรแรงงานโลก (International Labor Organization : ILO) 3.2 การส่ งออกสิ นค้าที่ผลิตจากแรงงานนักโทษ


93

3.3 การบกพร่ องในการควบคุมการผ่านแดนหรื อการส่ งออกยาเสพติด หรื อไม่ปฏิบตั ิตาม กฎกติการะหว่างประเทศเรื่ องการต่อต้านการร้ายและการฟอกเงิน 3.4 การค้าที่ไม่เป็ นธรรมอย่างรุ นแรงซึ่ งรวมถึงการจํากัดการส่ งออกวัตถุดิบที่จาํ เป็ นต่อ อุตสาหกรรมของสหภาพยุโรป EU (export restriction) 3.5 การละเมิดวัตถุประสงค์ขององค์การประมงภูมิภาค (Regional Fishery Organizations) หรื อความตกลงว่าด้วยการบริ หารทรัพยากรทางการประมงที่ EU เป็ นสมาชิก 5. การมีผลบังคับใช้ ของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป GSP ฉบับใหม่ 4.1 กฎระเบียบเรื่ องระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ฉบับใหม่ จะมี ผลบังคับใช้ใน 20 วันหลังจากวันที่ติดประกาศใน Official Journal 4.2 ระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีท้ งั 3 ประเภท จะมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2557 แม้วา่ กฎระเบียบใหม่จะมีผลใช้บงั คับในปลายปี 2555 และอัตราภาษีใหม่จะมีผลใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2557 แต่สหภาพฯ ตระหนักถึงผลกระทบต่อผูน้ าํ เข้าของตนและผูส้ ่ งออกของประเทศคู่ ค้า ที่ อาจปรั บตัว ไม่ ทนั ระบบใหม่ อัน จะทําให้การค้าขาดความแน่ น อน จึ ง ได้กาํ หนดเงื่ อนไข เพิ่มเติมว่า จะไม่มีการตัดสิ ทธิ ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) รายสิ นค้า ในช่วงปี 2556 เพื่อคงเสถียรภาพของการค้าขายไว้ ไม่ให้เกิดความปั่ นป่ วน แต่จะเริ่ มตัดสิ ทธิ ราย สิ นค้าและรายประเทศพร้ อมกันในวันที่ 1 มกราคม 2557 เป็ นต้นไป โดยใช้ตวั เลขนําเข้าของปี 2552-2554 เป็ นปี ฐานในการคํานวณ นอกจากนี้ ประเทศที่ถูกตัดสิ ทธิ ท้ งั ประเทศ จะมีระยะเวลา ปรับตัว 1 ปี


94

ส่ วนที่ 2 ศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุ้งไทยต่ อระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป จากข้างต้นระบบพิเศษภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมกุง้ ไทยในด้านบวกอยู่หลายด้าน แต่ก็ยงั คงไว้ซ่ ึ งผลเสี ยบางประการ เพราะกุง้ ไทยเป็ นสิ นค้าส่ งออก สําคัญที่มีศกั ยภาพของไทยสู่ตลาดสหภาพยุโรป และตั้งแต่เดือนสิ งหาคม 2548 ไทยได้รับอัตราภาษี พิเศษ และตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม 2549 ได้รับสิ ทธิ GSP นับเป็ นข่าวดีสาํ หรับเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงกุง้ และ ผูส้ ่ งออกกุง้ ไทยเป็ นอย่างยิง่ ซึ่งจะทําให้ได้ใช้ประโยชน์จากการได้รับสิ ทธิทางระบบสิ ทธิพิเศษทาง ภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป เป็ นโอกาสและช่องทางสําหรับกุง้ ไทยในตลาดสหภาพยุโรป การศึกษา ผลกระทบอุตสาหกรรมจะแบ่งผลกระทบออกเป็ น 2 ด้าน คือ ผลกระทบทางบวกและผลกระทบ ทางลบ ดังนี้ 1. ผลกระทบทางบวกของการได้ รับระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทั่วไป (GSP) ในอุตสาหกรรมกุ้งแปรรูป ด้ านการตลาด กุง้ ไทยถือเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่มีศกั ยภาพเป็ นลําดับต้นๆ ดังตารางที่ 5.1 ประเทศไทยผลิต กุ้งเพื่อการส่ งออกมากกว่าการบริ โภคภายในประเทศ ในปี 2554 ไทยส่ งออกสิ นค้ากุ้งทั้งหมด ประมาณ 600,000 ตัน คิดเป็ นมูลค่ากว่า 120,000 ล้านบาท โดยตลาดสหภาพยุโรปเป็ นหนึ่งในตลาด หลักสําหรับกุง้ ไทย (ควบคู่กบั การส่ งออกไปยังสหรัฐอเมริ กาและญี่ปุ่น) ตลาดสหภาพยุโรปจึงเป็ น ตลาดที่ยงั มีโอกาสที่ดีสาํ หรับการส่ งออกกุง้ ของไทยอีกมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อไทยได้รับ สิ ทธิ ตามหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ส่ งผลให้การส่ งออกกุง้ ไทย ในตลาดยุโรปดู มีแนวโน้มสดใสยิ่งขึ้น หลังจากที่ ตอ้ งประสบปั ญหาภาวะซบเซาและยอดการ ส่ งออกลดลงในช่วงหลายปี ก่อนหน้านั้น


95

ตารางที่ 5-1 แสดงประมาณการผลผลิตกุ้ง ปี 2548-2554

ประเทศ/ปี 2548 ไทย 380 จีน 380 เวียดนาม 115 อินโดนีเซีย 230 อินเดีย 100 มาเลเซีย 32 ฟิ ลิปปิ นส์ 35 อเมริ กากลาง-ใต้ 304 อื่นๆ 125 รวม 1,702 ที่มา : สมาคมกุง้ ไทย,2556

2549 500 400 150 260 103 42 36 395 55 1,941

2550 530 480 170 210 110 62 38 495 55 2,150

2551 495 523 200 230 87 68 29 397 55 2,084

2552 563 560 220 180 100 78 35 382 50 2,168

หน่วย :พันตัน 2553 2554 640 600 600 565 215 240 140 150 137 170 105 73 41 20 410 452 64 65 2,353 2,335

สหภาพยุโ รปเป็ นภู มิ ภ าคที่ มีป ริ ม าณการบริ โ ภคกุ้ง มากที่ สุ ด ในโลก คิ ด เป็ นประมาณ 700,000 ตันต่อปี โดยร้อยละ 50 เป็ นการนําเข้ากุง้ จากต่างประเทศ ตลาดยุโรปยังมีลกั ษณะเป็ น ตลาดร่ วมของประเทศสมาชิกรวมแล้วถึง 27 ประเทศ และมีประชากรกว่า 450 ล้านคนโดยล่าสุ ด ตลาดยุโรปได้ขยายตัวออกไปในประเทศยุโรปตะวันออก ดังนั้นหากผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสามารถ เข้าถึงตลาดสหภาพยุโรปได้นนั่ หมายถึงการเข้าถึงกําลังซื้ อกุง้ ทัว่ ทั้งภูมิภาคยุโรป ตลาดสหภาพ ยุโรปจึงเป็ นโอกาสที่เปิ ดกว้างสําหรับกุง้ ไทย


96

ตารางที่ 5-2 แสดงการนําเข้าสิ นค้ากุง้ ของโลก

ประเทศ

2552

2553

รวม 13,862.0 15,599.2 สหภาพยุโรป 5,457.9 5,916.5 สหรัฐฯ 3,780.7 4,301.0 ญี่ปุ่น 2,312.2 2,597.3 แคนาดา 391.0 434.2 อื่นๆ 1,920.2 2,350.2

มูลค่า(ล้านเหรี ยญสหรัฐ) 2554 มูลค่า % ±(%) 18,180.3 100.0 16.5 6,634.5 36.5 12.1 5,165.7 28.4 20.1 3,014.4 16.6 16.1 519.8 2.9 19.7 2,745.8 15.6 21.10

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2555

ดังนั้นหากประเทศไทยได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปแล้ว จะทําให้ผู ้ ส่ งออกกุง้ ของไทยได้รับผลกระทบทางบวกคือการที่สามารถขยายวงกว้างของตลาดได้มากขึ้น จาก ในตอกแรกที่สามารถส่ งออกไปได้แค่ภายในตลาดยุโรปตะวันตกเพียงอย่างเดียว และด้วยลักษณะ ทางกายภาพของตลาดยุโรปที่มีลกั ษณะเป็ นตลาดร่ วมจึงทําให้ไทยสามารถขยายวงกว้างออกไปได้ ง่ายยิง่ ขึ้น เป็ นการเพิ่มศักยภาพของการส่ งออกกุง้ ไทย

ด้ านการค้ าระหว่ างประเทศ ระบบภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทําให้ภาษีนาํ เข้าผลิตภัณฑ์กงุ้ ของไทยเท่าเทียมกับ ประเทศคู่แข่งอื่นๆโดยเฉพาะมาเลเซี ย อินเดียและอินโดนี เซี ย กล่าวคือ เมื่อไทยได้รับสิ ทธิ พิเศษ ทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทําให้ไทยได้รับอัตราภาษีนาํ เข้าอยูท่ ี่ร้อยละ 4.2 สําหรับกุง้ แช่แข็ง และร้อยละ 7 สําหรับกุง้ ปรุ งแต่ง โดยไม่มีการจํากัดโควตาการนําเข้า ทั้งนี้เดิมผลิตภัณฑ์กงุ้


97

ไทยต้องเสี ยภาษีนาํ เข้าสหภาพยุโรปในอัตราสู งสุ ดเพียงประเทศเดียวที่ร้อยละ 12.0-13.2 สําหรับกุง้ สดแช่ เย็นแช่แข็งและร้อยละ 20 สําหรับกุง้ ปรุ งแต่ง เท่ากับว่าผลิตภัณฑ์กุง้ จากไทยจะสามารถ แข่งขันทางด้านราคาได้อย่างเป็ นธรรมขึ้นในตลาดสหภาพยุโรป ด้ านอัตราภาษี GSP คือ โครงการสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences) เป็ นโครงการที่ประเทศพัฒนาแล้วให้แก่ประเทศกําลังพัฒนา โดยการให้การลดหย่อน หรื อยกเว้นภาษีนาํ เข้า ได้แก่ สิ นค้าประเภทกุง้ เช่น กุง้ แช่เย็น กุง้ แช่แข็ง กุง้ ปรุ งแต่งที่ไทยส่ งไปยัง สหภาพยุโรป ก็เป็ นสิ นค้าที่ได้รับสิ ทธิ GSP จากสหภาพยุโรปด้วย โดยกุง้ แช่ เย็นและกุง้ แช่แข็ง ได้รับการลดหย่อนเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 4.2 จากอัตราปกติที่ตอ้ งเสี ยร้อยละ 12 และกุง้ ปรุ งแต่ง ได้รับการลดหย่อนเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 7 จากอัตราปกติร้อยละ 10 ด้ านการผลิต ผลิ ตภัณฑ์กุง้ เป็ นสิ นค้าเกษตรที่มีการบริ โภคมากที่สุดในตลาดสหภาพยุโรป เมื่อได้รับ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) จะทําให้ลดหย่อนภาษีได้มากขึ้น และมีการขยาย การส่ งออก เมื่อคาดว่าการผลิตของไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นผลมาจากราคากุง้ ที่อยูใ่ นเกณฑ์ดีทาํ ให้มี ปริ มาณการเลี้ยงเพิ่มขึ้น ประกอบกับทางสหภาพยุโรปเป็ นภูมิภาคที่มีปริ มาณการบริ โภคกุง้ มาก ที่สุดในโลก ทําให้การนําเข้ากุง้ จากต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น โดยที่ตลาดสหภาพยุโรปเป็ นหนึ่ งใน ตลาดหลักสําหรับกุง้ ไทย จึงส่ งผลให้ผผู ้ ลิตกุง้ ในไทยต้องเพิ่มการผลิตให้มากยิง่ ขึ้นไปด้วย ด้ านผู้ประกอบการ กุ้งสดแช่ เย็นแช่ แข็งและแปรรู ป นับว่าเป็ นสิ นค้าส่ งออกที่ สําคัญในกลุ่มสิ นค้าประมง สามารถสร้างรายได้ในการส่ งออกปี ละไม่ต่าํ กว่า 3 พันล้านเหรี ยญสหรัฐฯ จากการที่ได้รับโครงการ


98

สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ทําให้ผปู ้ ระกอบการเสี ยภาษีนอ้ ยลง โดยกุง้ แช่เย็น และกุง้ แช่แข็ง จากที่ปกติตอ้ งเสี ยอัตราร้อยละ 12 เหลืออัตราร้อยละ 4.2 และกุง้ ปรุ งแต่งเสี ยภาษี อัตราปกติร้อยละ 10 เหลือเสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 7 เมื่อได้ลดหย่อนภาษีจึงทําให้ลดต้นทุนในการ ส่ งออกด้วย อีกทั้งมีการผลิตที่เพิ่มมากขึ้น จึงทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยลดลง ช่วยส่ งผลให้ผปู ้ ระกอบการมี กําไรสู งขึ้น และสามารถเพิ่มผลผลิตต่อปี สูงขึ้นกว่าเดิม ด้ านการส่ งออก แนวโน้มการส่ งออกกุง้ สดแช่แข็งและแปรรู ปของไทยในปี 2556 น่าจะขยายตัวร้อยละ 3-7 โดยปรับตัวในทิศทางที่ดีข้ ึน จากที่คาดว่าการส่ งออกกุง้ ในปี 2555 หดตัวลงถึงร้อยละ 14 เนื่องจาก ปั จจัยเสี่ ยงทางด้านเศรษฐกิจของสหรัฐฯ และสหภาพยุโรป ซึ่งเป็ นตลาดส่ งออกกุง้ หลักของไทย มี ทิศทางที่ฟ้ื นตัวอย่างต่อเนื่ อง คาดว่าจะช่วยกระตุน้ ให้กาํ ลังซื้ อของตลาดหลักกลับคืนมา ประกอบ กับปั ญหาต่ างๆ ที่ กระทบต่ ออุตสาหกรรมกุ้งตั้งแต่ปี 2555 ที่ หากคลี่ คลายได้ อาจส่ งผลให้การ ส่ งออกค่อยๆ กลับมาเพิ่มขึ้นภายในช่วงครึ่ งปี หลัง สรุปผลกระทบทางบวกของการได้ รับสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป ดังนั้นหากประเทศไทยได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป จะทําให้ผสู ้ ่ งออก กุง้ ของไทยได้เพิ่มศักยภาพ ประสิ ทธิ ภาพในหลายๆด้าน ทั้งทางด้านตลาด ด้านการค้าระหว่าง ประเทศ ด้า นภาษี ด้า นการผลิ ต ด้า นผูป้ ระกอบการ และ ด้า นการส่ ง ออก ซึ่ ง แสดงให้เ ห็ น ว่ า หลังจากการได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรจากสหภาพยุโรปแล้วนั้น ทําให้อุตสาหกรรมกุง้ แปร รู ปของไทยมีแนวโน้มที่ดีข้ ึน ดูจากการที่ประเทศไทยสามารถส่ งออกสิ นค้ากุง้ แปรรู ปได้มากขึ้น และมีแนวโน้มที่จะสู งขึ้นเรื่ อยๆ อีกทั้งยังมีสัญญาณที่ดีทางด้านความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทย และประเทศคู่คา้ ที่สาํ คัญๆ อย่างสหภาพยุโรป


99

2. ผลกระทบทางลบเมื่อได้ รับระบบสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทั่วไป (GSP) ใน อุตสาหกรรมกุ้งแปรรูป คู่แข่ ง เมื่อพิจารณาถึงแนวโน้มสถานะการได้รับสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) จากสหภาพยุโรป(EU) ภายใต้ระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP)ใหม่ของประเทศใน อาเซี ยน อาจจําแนกประเทศออกได้เป็ น 4 กลุ่ม ได้แก่ประเทศที่คาดว่าจะไม่ได้รับสิ ทธิ GSP โดย ปั จจุบนั สิ งคโปร์ มาเลเซี ย และบรู ไน อยู่ในสถานะที่ไม่ได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป(GSP) ส่ วนไทยอาจจะไม่ ไ ด้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ภายใต้ หลัก เกณฑ์ ใ หม่ ป ระเทศที่ ย ัง คงได้รั บ สิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากรเป็ นการทั่ว ไป (General Arrangement) คือ อินโดนี เซี ยและเวียดนาม ประเทศที่อาจได้รับสิ ทธิพิเศษเพิ่มเติมภายใต้มาตรการ จูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล (Special Incentive Arrangement for Sustainable Development & Good Governance) หรื อ GSP Plus คือ ฟิ ลิปปิ นส์ โดยกรอบสิ ทธิพิเศษเพิ่มเติม ภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิบาล (Special Incentive Arrangement for Sustainable Development & Good Governance)หรื อ GSP Plus จะให้สิทธิพิเศษมากกว่าระบบ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP ทัว่ ไป) ซึ่งฟิ ลิปปิ นส์สามารถยืน่ ขอรับสิ ทธิ น้ ีเนื่ องจาก เป็ นประเทศที่ยงั มีสัดส่ วนในการใช้ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ของ สหภาพยุโรป (EU) น้อยอยู่ (ไม่เกินร้อยละ 2 ของมูลค่าการนําเข้าของสหภาพยุโรป (EU) ภายใต้ ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP)จากทุกประเทศ) ประเทศที่ได้รับสิ ทธิ พิเศษ สําหรับประเทศพัฒนาน้อยที่สุด (Least Developed Countries: LDCs) ได้แก่ ลาวและกัมพูชา ซึ่ ง ประเทศกลุ่มนี้จะได้รับยกเว้นภาษีศุลกากรในทุกรายการสิ นค้า ยกเว้นอาวุธ (Everything but Arms: EBA) แต่สาํ หรับพม่านั้น ปั จจุบนั ยังไม่ได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) จาก สหภาพยุโรป (EU)


100

คู่แข่งในช่ วงระยะเพียงไม่กี่ปี ได้แก่ เวียดนามซึ่ งก้าวขึ้นมาเป็ นผูส้ ่ งออกสิ นค้าสัตว์น้ าํ สู่ ตลาดสหภาพยุโรปในอันดับต้นๆ เวียดนามจึงเป็ นคู่แข่งของสิ นค้าประมงและกุง้ ของไทยที่น่ากลัว ไม่นอ้ ยทั้งนี้ และเวียดนามประเทศที่ยงั คงได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ต้องยอมรับว่าภายใต้ระบบพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ใหม่ สิ นค้าไทยส่ วนใหญ่จะ มีราคาในตลาดสหภาพยุโรป (EU) สูงขึ้นจากเดิมไม่เกินร้อยละ 5 อย่างไรก็ตาม สิ นค้าหลายรายการ ในจํานวนนั้นเป็ นสิ นค้าที่ไทยประสบปัญหาการแข่งขันด้านราคาอยูก่ ่อนแล้ว โดยเฉพาะกลุ่มสิ นค้า ที่พ่ ึงพาแรงงานเข้มข้นในกระบวนการผลิต ท่ามกลางภาวะที่ค่าจ้างแรงงานของไทยปรับตัวสู งขึ้น อย่างก้าวกระโดดในปี นี้ และจะปรับขึ้นอีกในปี 2556 ขณะที่เวียดนามคู่แข่งของไทยยังคงได้รับ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ในตลาดสหภาพยุโรป (EU) ดังนั้น ส่ วนต่างราคา กับประเทศคู่แข่งที่ จะยิ่งกว้างขึ้นนี้ จึงมีความสําคัญไม่น้อยต่อความสามารถในการแข่งขันของ อุตสาหกรรมกุง้ ข้ อจํากัดทีย่ งั คงเกิดขึน้ แม้ ไทยจะได้ รับสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) การปรับค่ าจ้ างแรงงานขั้นตํ่า 300 บาท การปรับค่าจ้างแรงงานขั้นตํ่า 300 บาท ทัว่ ประเทศ เป็ นปั จจัยเสี่ ยงที่อาจกระทบต่อต้นทุน ของผูป้ ระกอบการ เนื่ องจากอุตสาหกรรมกุง้ จําเป็ นต้องใช้แรงงานภายในอุตสาหกรรมจํานวนมาก และประกอบกับต้องเสี ยภาษี ส่งออกกุ้งไปยังยุโรปยิ่งทําให้ตน้ ทุนของราคากุ้งเพิ่มมากขึ้นด้วย อย่างไรก็ตาม การปรับขึ้นค่าแรงอาจมีผลกระทบเฉพาะผูป้ ระกอบการในพื้นที่ภาคตะวันออก และ ภาคใต้ ที่ในช่วงที่ผา่ นมาอาจยังมีการจ่ายค่าจ้างแรงงานโดยเฉลี่ยไม่ถึง 300 บาทต่อวัน การควบคุมต้ นทุนการผลิต ต้นทุนค่าแรงเพาะเลี้ยงกุง้ อยูใ่ นระดับสู ง เมื่อเทียบกับจีนและเวียดนาม ถึงแม้ไทยจะได้รับ สิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) เพราะต้นทุนการผลิตเป็ นตัวตัดสิ นความอยูร่ อด


101

ของเกษตรกร และเป็ นตัวกําหนดราคาขั้นตํ่าในการส่ งออก ซึ่ งก็เป็ นตัวกําหนดการแข่งขันกับ ประเทศผูส้ ่ งออกผลิตภัณฑ์กุง้ รายอื่นๆ ราคากุง้ ดิบคิดเป็ นสัดส่ วนถึงร้อยละ 80 ของต้นทุนรวมเมื่อ ออกจากโรงงาน โดยอาหารสัตว์เป็ นต้นทุนสําคัญของเกษตรกรผูเ้ ลี้ยงกุง้ ซึ่ งควรพิจารณาภาพรวม คือคิดราคาต่อนํ้าหนักกุง้ ที่ได้ แทนที่จะดูแต่ราคาอาหารเบื้องต้นเพียงอย่างเดียว อาหารสัตว์คุณภาพ ดี กุง้ โตเร็ วได้น้ าํ หนักมากกว่า ไม่เป็ นโรค ย่อมดีกว่าอาหารราคาถูก แต่กุง้ กินแล้วไม่โต ป่ วยเป็ น โรคง่าย ดังนั้น การควบคุมต้นทุนการผลิตนับว่าเป็ นประเด็นสําคัญในการเพิ่มความสามารถในการ แข่งขันในตลาดโลก ความไม่ แน่ นอนของระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) ความไม่แน่ นอนจากการได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ที่เป็ นการให้ฝ่ายเดียว ของสหภาพยุโรป คือ เมื่อทางสหภาพยุโปรมีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ต่างๆ เราไม่สามารถคาด การได้ว่าเราจะโดนตัดสิ ทธิ เมื่อไหร่ จากข้อกําหนดในระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการ ทัว่ ไป (GSP) ความไม่ แน่ นอนของเศรฐกิจในสหภาพยุโรป เมื่อเศรษฐกิจของสหภาพยุโรปซึ่ งเป็ นตลาดส่ งออกกุง้ แช่เย็นแช่แข็งอันดับสามของไทยมี แนวโน้มไม่สดใส ประกอบกับเงิ นยูโรเริ่ มอ่อนค่าลง จะทําให้กาํ ลังซื้ อของผูบ้ ริ โภคในสหภาพ ยุโรปลดลง ส่ งผลให้การส่ งออกกุ้งไทยไปในตลาดสหภาพยุโรปลดลงด้ว ย และถ้าการนํา เข้า สหภาพยุโรปในอัตราที่สูงขึ้น ส่ งผลให้ความสามารถในการแข่งขันของสิ นค้าไทยลดลง ราคาของ สิ นค้าไทยในตลาดสหภาพยุโรปจะสู งขึ้น เมื่อเปรี ยบเทียบกับประเทศคู่แข่งขันอื่นๆที่ยงั คงได้รับ สิ ทธิ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สิ นค้าเกษตร เนื่องจากสิ นค้าเกษตรส่ วนใหญ่จะมีลกั ษณะสิ นค้ามีลกั ษณะ ใกล้เคียงกันมาก หรื อเป็ นสิ นค้าที่เหมือนกันทุกประการ (Homogeneous Products)

ดังนั้น ราคา

จึงถือเป็ นปั จจัยสําคัญในการตัดสิ นใจซื้ อของผูบ้ ริ โภค หากต้นทุนการนําเข้าต้องสู งขึ้น ก็จะทําให้ ราคาสู งขึ้นตามไปด้วย ส่ งผลกระทบต่อเกษตรกรซึ่งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ของประเทศ


102

เมื่อประเทศไทยโดนตัดสิ ทธิจากระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป(GSP) เมื่อสหภาพยุโรป หรื อ EU (European Union) ได้ประกาศปรับเปลี่ยนหลักเกณฑ์การให้ สิ ทธิ พิเศษทางการค้าภายใต้ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences: GSP) สิ นค้าที่ได้รับผลกระทบมาก เป็ นสิ นค้าที่มีส่วนต่างระหว่างอัตราภาษีปกติกบั อัตราภาษีสิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) สู ง เช่น กุง้ สดแช่เย็นแช่แข็ง กุง้ แปรรู ป และสับปะรด กระป๋ อง เป็ นต้น (สัดส่ วนประมาณร้อยละ 6 ของการส่ งออกรวมไปยัง EU) โดยระบบ GSP ใหม่น้ ี คาดว่าจะมีผลบังคับใช้ต้ งั แต่วนั ที่ 1 มกราคม 2557 นั้น และประเทศไทยเข้าข่ายประเทศที่จะถูก ยกเลิกสิ ทธิ GSP และเมื่อไทยได้รับการจัดกลุ่มโดยธนาคารโลกให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่มีระดับ รายได้ปานกลางค่อนข้างสู งเมื่อเดือนกรกฎาคม 2554 ที่ผา่ นมา (จากเดิมอยูใ่ นกลุ่ม Lower-Middle Income) ซึ่ งจะมีผลให้ไทยจะต้องกลับมาเสี ยภาษีในอัตราปกติ (Most-Favored Nation: MFN) ภายใต้ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ใหม่ ทั้งนี้ จะทําให้ประเทศไทยเกิดภาวะราคากุง้ ที่ แพงสู งขึ้น หรื อที่เรี ยกว่า “ภาวะราคาอาหารเฟ้ อ” (Food Inflation) พุ่งขึ้นเป็ นประวัติการณ์ ซึ่ ง สาเหตุหลักมาจากปั ญหาภาคเศรษฐกิ จที่กลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปที่ถูกปรับเปลี่ยนจากการที่ ไทยเคยได้สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) เป็ นไทยไม่ได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ทําให้อตั ราภาษีส่งออกที่ถูกกลับแพงขึ้น ซึ่ งสิ นค้ากุง้ เป็ น 1 ใน 57 รายการของสิ นค้าไทยที่ถูกตัดGSPระบบใหม่ ซึ่ งกุง้ ดิ บจะต้องเสี ยภาษีในอัตราเต็มที่ร้อยละ 12 จากที่ปัจจุบนั เสี ยภาษีในอัตราร้อยละ 4.2 สําหรับสิ นค้ากุง้ สุ ก และกุง้ ปรุ งแต่ง จะต้องเสี ยภาษีใน อัตราเต็ม ที่ร้อยละ 20 จากปั จจุบนั เสี ยภาษีที่ร้อยละ7 ซึ่งจากอัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดนี้ จะส่ งผลกระทบต่อภาคการส่ งออกอย่างแน่ นอนกันราคากุง้ ที่แพงสู งขึ้นและคาดว่าจะยังคงอยู่ใน เกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง วิกฤตการณ์อาหารในวันนี้ เป็ นวิกฤตอาหารแพง ขณะที่ประเทศคู่แข่งที่สําคัญ เช่ น มาเลเซีย ได้ทาํ FTA กับ EU แล้ว ส่ วนเวียดนาม อินเดีย จีน อินโดนี เซีย แม้จะยังไม่ได้ทาํ FTA แต่ก็ มีอตั ราภาษีที่ได้เปรี ยบกว่าไทย เพราะการใช้อตั ราภาษีใหม่น้ ี มีโอกาสจะทําให้การส่ งออกกุง้ ของ


103

ไทยไปตลาดสหภาพยุโรป ที่ปัจจุบนั มีประมาณร้อยละ 20-25 ของการส่ งออกทั้งหมด จะเหลือไม่ ถึงร้อยละ 5 ดังตางรางที่ 5.3 ซึ่งประมาณการปี 2555ไว้ และคาดว่าปี 2556จะลดลง ตารางที่ 5-3 มูลค่าการนําเข้าสิ นค้าประเภทครัสเตเชีย (พิกดั 0306 Crustaceans, Live, Fresh, Chilled, Frozen) ของคู่คา้ ที่สาํ คัญของไทย มูลค่า:ล้านเหรี ยญสหรัฐ อันดับ %Chang ของ 11/12 ไทย 2012f 15.19 -16.77 1 6.39 -5.5 5 12.27 -5.83 4

ประเทศนําเข้า %Share สิ นค้าครัสเตเชีย 2010 2011 2012f ของไทย 2010 2011 USA 141.7 196.9 163.9f 17.92 19.46 EU (27) 23.6 30.1 28.5f 6.31 5.82 Japan 90.9 105.9 99.7f 14.43 14.21 ที่มา : World Trade Atlas ,2554 หมายเหตุ : ครัสเตเชีย (Crustaceans) หมายถึงสัตว์น้ าํ ได้แก่ กุง้ กั้ง ปู ที่ลกั ษณะสําคัญ คือมีเปลือก หุม้ ตัว ลําตัวเป็ นปล้อง โดยมีรยางค์ยนื่ ออกมาเป็ นคู่ เช่น สํา หรั บ ประเทศไทย ซึ่ งเป็ นที่ รั บ รู ้ ข องประชาคมโลกว่ า อุ ด มสมบู ร ณ์ ด้ว ยพื ช พัน ธุ์ ธัญญาหาร เพราะประเทศเราเป็ นผูผ้ ลิตและผูส้ ่ งออกสิ นค้าภาคเกษตรรายใหญ่ของโลก ย่อมหนีไม่ พ้นกับผลกระทบด้านราคาอาหารแพง โดยเฉพาะกลุ่มที่โดนตัดสิ ทธิ สิทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP)จากสหภาพยุโรป โดยเฉพาะกุง้ ไทยที่ส่งผลกระทบมากที่สุด และผูท้ ี่ได้รับผลกระทบมาก

ที่สุดคงไม่พน้ ประชาชนผูย้ ากจน รวมไปถึงชนชั้นกลาง ซึ่งถือว่าเป็ นความจําเป็ นอย่างยิง่ ที่รัฐบาล ต้องกําหนดมาตรการเพื่อวางนโยบายและดําเนิ นการอย่างถูกต้อง เพื่อป้ องกันความเดือดร้อนจาก ราคากุง้ และอาหารบางประเภทที่แพงสู งขึ้น แต่ไม่สอดรั บกับรายได้ของประชาชน โดยเฉพาะ นโยบายเศรษฐกิ จในระดับรากหญ้า ขณะนี้ คงต้องเน้นที่ความสําคัญของการบริ หารจัดการ เพื่อ ปรับปรุ งประสิ ทธิ ภาพและรักษาไว้ซ่ ึ งความมัน่ คงทางอาหาร (Food Security) ของประเทศ เพื่อ ส่ งเสริ มผูท้ ี่เป็ นเกษตรกรและผูผ้ ลิต ให้คงได้รับผลประโยชน์จากภาคการตลาด ส่ วนประชาชน ผูบ้ ริ โภคทั้งหลาย ก็ตอ้ งเข้าถึงอาหารทั้งโอกาสและการกระจายรายได้ที่เพิ่มขึ้น เช่นกัน


104

แม้ในหลายประเทศทัว่ โลกจะตกอยูใ่ นสถานการณ์ที่ลาํ บาก โดยไม่สามารถจะคาดเดา ได้ว่าอนาคตข้างหน้านั้นจะเป็ นอย่างไร แต่สาํ หรับประเทศไทย คงต้องเปลี่ยนวิกฤตให้เป็ นโอกาส เช่ น ไม่ควรจํากัดการส่ งออก ส่ งออกไปตลาดสําคัญมากขึ้น เช่ น ญี่ ปุ่น ไม่บิดเบื อนราคาตลาด แสวงหาพันธมิตรที่เป็ นประเทศผูผ้ ลิตภาคการเกษตรเพื่อแลกเปลี่ยนความรู ้และ การตลาดซึ่ งกัน และกัน ในระยะยาวนั้น การเจรจาเปิ ดตลาดการค้าการค้าเสรี ไทย-สหภาพยุโรป (Thailand-EU Free Trade Agreement: FTA) นับเป็ นสิ่ งสําคัญที่สุด ส่ งผลให้บรรดาเกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ ึน เพราะราคาจะได้ราคาดี ตามผลผลิ ต ที่ มี ปริ ม าณเพิ่มมากขึ้ น อัน นับว่า เป็ นผลประโยชน์ที่ดี แก่ ประเทศไทยทั้งสิ้ น เพราะ อาหารไม่ใช่ เพียงโภคภัณฑ์ แต่อาหารเป็ นหัวใจของการอยู่รอดของ ประชากรโลก ปั ญหาที่เกิดขึ้นไม่ได้เกิดขึ้น ณ ที่หนึ่ งที่ใด หากแต่กลายเป็ นปั ญหาใหญ่ทางสังคม และ การเมืองที่แผ่ขยายไปทัว่ โลก


บทที่ 6 บทสรุ ป บทสรุ ป จากการศึกษาถึงหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) และศึกษาผลกระทบอุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ไทยต่อระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป และแนวทางการแก้ไข ได้บทสรุ ปดังนี้ ในช่วงปี 2555 สหภาพยุโรปได้ประกาศหลักเกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ น การทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) ฉบับใหม่ข้ ึนมา โดยมีรูปแบบการรับสิ ทธิ 3 รู ปแบบ ดังนี้ รู ปแบบที่ 1 คือ สิ ทธิ พิเศษทัว่ ไป (General Arrangement) รู ปแบบที่ 2 คือ : สิ ทธิพิเศษ ทางภาษี ฯ เพื่อส่ งเสริ มการพัฒ นาที่ ย งั่ ยืน และหลัก การธรรมาภิ บ าลที่ ดี (Special Arrangements:

Intensive

GSP+) รู ป แบบที่ 3คื อ สิ ท ธิ พิ เ ศษสํา หรั บ ประเทศพัฒ นาน้อ ยที่ สุด (Special

Arrangements for Least Developed Countries: LDCs) โดยที่ก่อนหน้านี้ประเทศไทยได้รับสิ ทธิฯ รู ปแบบที่ 1 คือ สิ ทธิ พิเศษทัว่ ไป (General

Arrangement) คือ ในอุตสาหกรรมแปรรู ปกุง้ ของ

ประเทศไทยเราจากที่ตอ้ งเสี ยอัตราภาษีร้อยละ20 เมื่อได้รับสิ ทธิฯรู ปแบบนี้น้ ี จึงสามารถเสี ยภาษีใน อัตราร้ อยละ4.2 แต่ ณ ปั จ จุ บ นั เมื่ อ สหภาพยุโรปประกาศหลัก เกณฑ์ระบบสิ ทธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (Generalized System of Preferences : GSP) ฉบับใหม่ข้ ึนมา และ ธนาคารโลกได้จดั ลําดับ ให้ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ มีรายได้อยู่ร ะด้บปานกลางค่ อ นข้างสู ง ประเทศไทยเราจึงถูกตัดสิ ทธิฯตามหลักเกณฑ์คุณสมบัติตอ้ งห้ามที่สหภาพยุโรปได้กาํ หนดไว้ จาก การที่ ส หภาพยุ โ รปได้ป ระกาศหลัก เกณฑ์ร ะบบสิ ท ธิ พิ เ ศษทางภาษี ศุ ล กากรเป็ นการทั่ว ไป (Generalized System of Preferences : GSP) ฉบับใหม่ในครั้งนี้ ส่ งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมแปร รู ปกุง้ ของประเทศไทยในสหภาพยุโรปเป็ นอย่างมาก


106

สําหรับผลกระทบที่เกิ ดขึ้นต่ออุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปจากการได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) นั้น เกิดผลกระทบทั้งทางด้านบวกและในด้านลบแก่อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปของไทย ในส่ วนของด้านบวกนั้น คือการก่อให้เกิดอัตราภาษีศุลกาการขาเข้าที่ลดลงจากเดิม กล่าวคือการได้รับสิ ทธิ พิเศษทางศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปนั้นจะเป็ นการลดหย่อนภาษีการนําเข้า สิ นค้าอุปโภคบริ โภคเนื่ องจากทําให้อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปของประเทศไทยมีสิทธิ ทางด้านภาษีที่ ทัดเทียมกับประเทศคู่คา้ อื่นๆ และส่ งผลต่อเนื่ องถึงการผลิตสิ นค้าที่มีแนวโน้มว่าจะสู งขึ้น รวมถึง การที่ผผู ้ ลิตสามารถส่ งออกกุง้ ได้ราคาที่ต่าํ เนื่ องจากเสี ยภาษีศุลกากรน้อยลง ทําให้ตน้ ทุนลดลง มี ผลตอบแทนที่มากขึ้น สําหรับผลกระทบทางด้านลบ คือ คู่แข่งขัน กล่าวคือการที่ประเทศใดได้รับ สิ ทธิ พิเศษเพิ่มเติมภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ยงั่ ยืนและธรรมาภิ บาล (GSP+) นั้น จะ ได้รับการลดหย่อนภาษีที่ต่าํ ว่าสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) ซึ่ งทําให้ประเทศ ไทยเสี ยเปรี ยบคู่แข่งที่ สําคัญๆ ที่ ได้รับสิ ทธิ พิเศษเพิ่มเติมภายใต้มาตรการจูงใจเพื่อการพัฒนาที่ ยัง่ ยืนและธรรมาภิบาล (GSP+) และด้วยอุตสาหกรรมต่างๆยังได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติ ค่าแรงที่ เ พิ่มสู งขึ้ น ยิ่งส่ งผลกระทบต่ อต้น ทุ นการผลิ ตที่ สูงขึ้ น ทํา ให้ราคาของสิ น ค้าที่ ผลิ ต ใน ประเทศไทยมีราคาสูงขึ้นตามไปด้วย และเมื่อประเทศไทยถูกตัดสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) เนื่องจากการที่ ประเทศไทยได้เปลี่ยนจากระบบเศรษฐกิ จที่มีรายรั บจากระดับรายได้ปานกลางค่อนข้างตํ่า เป็ น ระดับรายได้ปานกลางค่อนข้างสู งติดต่อกันเป็ นเวลา 3 ปี ซึ่ งผิดจากคุณลักษณะที่ได้มีการกําหนด ขึ้น ทําให้ประเทศไทยถูกตัดสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป โดยมีผลบังคับใช้ในวันที่ 1 มกราคม 2557 จะเกิดผลกระทบที่ตามมาเป็ นอย่างมาก กล่าวคือ การที่ถูกตัดสิ ทธิ พิเศษทางภาษี ศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปนั้น จะส่ งผลกระทบที่สําคัญประการแรกคือการที่ภาษีศุลกากรขาเข้าใน ระดับอัตราปกติ ส่ งผลให้ผผู ้ ลิตต้องมีค่าใช่จ่ายในส่ วนที่เป็ นภาษีเพิ่มขึ้นจากเดิม ส่ งผลให้ราคาของ สิ นค้าเพิ่มสู งขึ้น และต่อเนื่ องถึงการลดการส่ งออกเนื่ องจากรับภาระของการเสี ยภาษีในอัตราปกติ ไม่ได้ และด้วยสภาพแวดล้อมภายนอกต่างๆที่เพิ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็ นภัยธรรมชาติต่างๆ อุทกภัย หรื อ นํ้าแล้ง หรื อแม้แต่การใช้สารเคมี รวมถึงนโยบายของรัฐบาลในเรื่ องของค่าแรง เงินเดือนที่เพิ่มขึ้น เป็ นตัวเร่ งที่ก่อให้เกิดต้นทุนที่สูงขึ้นตาม ทําให้อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ปอยูใ่ นขึ้นวิกฤต และยังส่ งผล กระทบต่ อ การส่ ง ออกของประเทศไทยถึ ง ในระยะยาว โดยมี แ นวโน้ม ที่ จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ


107

อุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ยังทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพการแข่งขันในตลาดสหภาพยุโรป รวมทั้งอาจมีผลกระทบต่อการตัดสิ นใจของนักลงทุนหรื อผูป้ ระกอบการทั้งของไทยและต่างชาติใน อุตสาหกรรมการส่ งออกกุง้ ที่จะส่ งออกไปยังตลาดสหภาพยุโรป ไม่ใช่เพียงแต่เศรษฐกิจเท่านั้นที่ได้ ผลกระทบ ยังส่ งผลกระทบต่อความมัน่ คงทางอาหารอีกด้วย ทําให้เกิ ดภาวะราคากุง้ ที่แพงสู งขึ้น หรื อที่เรี ยกว่า “ภาวะราคาอาหารเฟ้ อ” (Food Inflation)พุ่งสู งขึ้นเป็ นอย่างมาก ราคากุง้ ที่แพงสู งขึ้น และคาดว่าจะยังคงอยูใ่ นเกณฑ์สูงอย่างต่อเนื่อง ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง สวนทางกับความต้องการ บริ โภคที่มีแนวโน้มสู งขึ้น เป็ นหนึ่ งในอีกหลายสาเหตุที่อาจส่ งผลให้เกิดวิกฤตความไม่มนั่ คงทาง อาหาร ข้ อเสนอแนะ หากต้องการแก้ไขในระยะยาวนั้นคือ ควรทําการเปิ ดการเจรจา เขตการค้าเสรี (FTA) กับ สหภาพยุโรปโดยเร็ ว และพยายามให้ความตกลงนั้นมีผลบังคับใช้ให้ได้ก่อนปี

2558 โดยหาก

สามารถเจรจาให้ได้ภาษีสินค้าให้ต่าํ กว่าอัตราภาษีของสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไปได้ นั้น ยิง่ เป็ นการดี และเป็ นการแก้ปัญหาความไม่มน่ั คงของสิ ทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP)ได้อย่างถาวร หรื อทางแก้ปัญหาอีกทางคือ การเพิ่มการลงทุนในต่างประเทศ โดยเฉพาะใน ประเทศอาเซียนที่ยงั ได้รับสิ ทธิ พิเศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทัว่ ไป (GSP) หรื อ EBA แต่ทางเลือก นี้ อาจปฏิบตั ิได้ง่ายเฉพาะกับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่เท่านั้น แต่ปฏิบตั ิได้ยากสําหรับธุ รกิ จขนาด เล็ก หรื อ SMEs เว้นแต่จะได้รับความช่วยเหลือจากรัฐบาล ดังนั้นรัฐบาลจึงควรมีนโยบาย และดําเนิ นการหาทางแก้ไข ออกกลยุทธ์การค้าเพื่อรองรับ กับ เหตุ ก ารณ์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น อย่า งระมัด ระวัง และรอบคอบ เพื่ อ เป็ นการสร้ า งโอกาสให้แ ก่ ก ลุ่ ม อุตสาหกรรมกุง้ แปรรู ป และกลุ่มอุตสาหกรรมอื่นๆที่มีความต้องการส่ งออก และเพื่อเพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขันกับคู่แข่งขันที่สาํ คัญ ที่นบั วันมีแต่จะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกด้วย


บรรณานุกรม กสิ กรไทยคาดส่ ง ออกกุ้งในปี 56

[ออนไลน์].

ฟื้ นตัวโต 3-7%.

เข้าถึ งได้จาก

:

http://www.thannews.th.com/, 24 ธันวาคม 2555 กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิ ชย์. GSP: ระบบสิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากรเป็ นการทั่วไป. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก : http://www.thaifactory.com/Manage/GSP.htm, 13

พฤศจิกายน 2555 กุ้งไทยในตลาดสหภาพยุโรป. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://news.thaieurope.net/, 24 ธันวาคม 2555 กลุ่มวิเคราะห์ข่าวและฐานข้อมูล สํานักโฆษก. กรมการค้ าต่ างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ หวังใช้ GSP ในการเพิ่มแต้ มต่ อ เพื่อฝ่ าวิกฤตการส่ งออก. [ออนไลน์].

เข้าถึงได้จาก :

http://www.thaigov.go.th/ en/news-ministry/item/30564-.HTML, 24 ธันวาคม 2555 ความสั มพันธ์ ทางการเมืองและเศรษฐกิจ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://eeas.europa.eu /delegations/thailand/eu_thailand/political_relations/index_th.htm, 26 ธันวาคม 2555 ความหมายของการแปรรู ปผลผลิต. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://202.143.128.82/CAIteacher/ link15/webpasert/sec5.5.htm, 07 พฤศจิกายน 2555 ประเภทตลาด. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.vcharkarn.com/, 24 ธันวาคม 2555 รัชดา คงขุนเทียน. ศูนย์ วจิ ัยกสิ กรฯ เผยไทยอาจเสี ยสิ ทธิ GSP ตามระบบใหม่ ของ EU มีผลม.ค.58 ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.ryt9.com/, 24 ธันวาคม 2555 วิมลวรรณ ภัทโรดม. สหภาพยุโรป. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.oknation.net/, 27 ธันวาคม 2555 สถานการณ์ ก้ ุง ไทยปี 53

ยั ง แข็ง ใกล้ เคีย งปี 52.

http://www.siamtilapia.com/, 24 ธันวาคม 2555

[ออนไลน์ ].

เข้าถึ ง ได้จ าก

:


109

สมาคมการค้ าเสรียุโรป. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/, 13 พฤศจิกายน 2555 สมาคมการค้ าเสรีแห่ งยุโรป. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.bp-smakom.org/bp_school /, 13 พฤศจิกายน 2555 สหภาพยุโรป. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://th.wikipedia.org/, 13 พฤศจิกายน 2555 สหภาพยุโรปกับ GSP กุ้งไทย. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.nicaonline.com/, 24 ธันวาคม 2555 อุตสาหกรรมคืออะไร. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://guru.google.co.th/, 07 พฤศจิกายน 2555 Basic information on the European Union. [ออนไลน์ ].เข้าถึงได้จาก : http://europa.eu/, 24 ธันวาคม 2555 European Union. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก. http://en.wikipedia.org/, 26 ธันวาคม 2555 Foreign relation. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://en.wikipedia.org/, 26 ธันวาคม 2555 SCB EIC. สิ ทธิพเิ ศษทางภาษีศุลกากร Generalised System of Preferences (GSP). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.scbeic.com/, 07 พฤศจิกายน 2555



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.