คู่มือกล้องsony a5100

Page 1

คูม ่ ือการใช้งานกล้อง Sony a5100 วิธีใช้งาน ชื่อส่วนประกอบต่างๆ การตรวจสอบกล้องและรายการที่ให้มาด้วย ให้ตรวจสอบชือ่ รุ่นกล้องของท่านก่อน อุปกรณ์เสริมที่ให้มาด้วย แตกต่างกันไปขึน้ อยู่กบั รุ่น ตัวเลขในวงเล็บหมายถึงจานวนชิน้ ให้มาพร้อมกล้องท ุกรนุ่ •

กล้อง (1)

NP-FW50 แบตเตอรี่แบบชาร์จใหม่ได้ (1)

สายไมโคร USB (1)

AC-UB10C/UB10D อะแดปเตอร์ AC (1)

สายสะพาย (1)

คาแนะนาการใช้งาน (1)

Wi-Fi Connection/One-touch (NFC) Guide (1)


ILCE-5100 •

ฝาปิ ดตัวกล้อง (1) (เสียบอยูบ่ นกล้อง)

ILCE-5100L •

E16-50 mm เลนส์ซมู (1) (เสียบอยู่บนกล้อง)/ฝาปิ ดหน้าเลนส์ (1) (ใส่เลนส์)

ILCE-5100Y •

E16-50 mm เลนส์ซมู (1) (เสียบอยู่บนกล้อง)/ฝาปิ ดหน้าเลนส์ (1) (ใส่เลนส์)

E55-210 mm เลนส์ซมู (1)/ฝาปิ ดหน้าเลนส์ (1)/ฝาปิ ดท้ายเลนส์ (1)/เลนส์ ฮูด (1)

ส่วนประกอบต่างๆ

เมื่ อถอดเลนส์ออก

1. ปุ่ มชัตเตอร์ 2. สวิตช์ ON/OFF (ไฟหลัก) 3. ขอเกีย่ วสายสะพาย 4. (เครื่องหมาย N) • แตะเครื่องหมายนีเ้ มื่อเชือ ่ มต่อกล้องกับสมาร์ทโฟนที่มีฟังก์ชนั ่ NFC • NFC (Near Field Communication) คือมาตรฐานสากลของเทคโนโลยีสื่อสารไร้สายระยะ สัน้ 5. กรณีถ่ายภาพ: ก้าน W/T (ซูม) กรณีดภู าพ: ก้าน (ดัชนี)/ก้าน (ซูมภาพที่แสดง)


6. ไฟช่วยโฟกัส/ไฟตัง้ เวลา 7. เครื่องหมายแสดงตาแหน่งเซ็นเซอร์ภาพ 8. แฟลช • กดปุ่ ม (เปิ ดแฟลชขึน้ ) เพื่อใช้แฟลช 9. ไมโครโฟน* 10. เลนส์ 11. ปุ่ มปลดเลนส์ 12. เมาท์ 13. เซ็นเซอร์ภาพ** 14. หน้าสัมผัสเลนส์** *ห้ามบังส่วนนีใ้ นขณะทาการบันทึกภาพเคลื่อนไหว **ห้ามสัมผัสส่วนนีโ้ ดยตรง

1. จอภาพ/แผงสัมผัส • ท่านสามารถปรับจอภาพให้มีมม ุ ที่มองง่ายขึน้ และถ่ายภาพจากตาแหน่งใดก็ได้

2. 3. 4. 5.

ปุ่ ม (เปิ ดแฟลชขึน้ ) ฝาปิ ดขัว้ ต่อ Multi/Micro USB ฝาปิ ดช่องใส่การ์ดหน่วยความจา/ช่องต่อ ไฟแสดงสถานะการเข้าถึง


6. เซ็นเซอร์ Wi-Fi (ติดตัง้ ในตัว) 7. ปุ่ ม MOVIE (ภาพเคลื่อนไหว) 8. ปุ่ ม MENU 9. ปุ่ มควบคุม 10. ปุ่ ม ? (คาแนะนาในกล้อง)/ปุ่ ม (ลบ) 11. ปุ่ ม (ดูภาพ) 12. ขัว้ ต่อ Multi/Micro USB • รองรับอุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับ Micro USB ได้ 13. ไฟชาร์จ 14. ช่องเสียบการ์ดเมโมรี่ 15. ช่องต่อ HDMI ขนาดจิ๋ว *สาหรับรายละเอียดเกี่ยวกับอุปกรณ์เสริมที่ใช้ร่วมกันกับขัว ้ ต่อ Multi/Micro USB ได้ โปรดเข้าไปที่เว็บไซต์ Sony หรือปรึกษาตัวแทนจาหน่าย Sony ของท่าน หรือศูนย์บริการ Sony ที่ได้รบั อนุญาตในพื้นที่

1. 2. 3. 4. •

ฝาปิ ดช่องใส่แบตเตอรี่ ก้านล็อคแบตเตอรี่ ช่องเสียบแบตเตอรี่ ฝาปิ ดแผ่นเชือ่ มต่อ ใช้ฝานีเ้ มื่อใช้อะแดปเตอร์ AC-PW20 (แยกจาหน่าย) ใส่แผ่นเชือ่ มต่อในช่องใส่แบตเตอรี่ จากนัน้ ร้อยสายผ่านฝาปิ ดแผ่นเชือ่ มต่อ ดังแสดงในภาพด้านล่าง

ตรวจสอบว่าสายไม่ถกู หนีบเมื่อปิ ดฝาปิ ด 5. ลาโพง


6. ช่องต่อขาตัง้ กล้อง • ใช้ขาตัง ้ กล้องที่มีสกรูยาวไม่เกิน 5.5 มม. มิฉะนัน้ ท่านจะไม่สามารถยึดกล้องได้อย่าง แน่นหนา และอาจเกิดความเสียหายกับกล้องได้

ส่วนประกอบต่างๆ เลนส์ E PZ 16–50 mm F3.5–5.6 OSS (ให้มา พร้อมกับ ILCE-5100L/ILCE-5100Y)

1. แหวนซูม/วงแหวนปรับโฟกัส 2. ก้านปรับซูม 3. ดัชนีการยึด 4. หน้าสัมผัสเลนส์* *ห้ามสัมผัสส่วนนีโ้ ดยตรง ส่วนประกอบต่างๆ เลนส์ E 55-210 mm F4.5-6.3 OSS (ให้มาพร้อมกับ ILCE5100Y)

1. 2. 3. 4. 5. 6.

วงแหวนปรับโฟกัส แหวนซูม สเกลความยาวโฟกัส ดัชนีความยาวโฟกัส หน้าสัมผัสเลนส์* ดัชนีการยึด


ไอคอนและตัวแสดงต่างๆ รายการไอคอนบนหน้าจอ เนือ้ หาและตาแหน่งที่แสดงด้านล่างเป็ นเพียงคาแนะนาเท่านัน้ และอาจแตกต่างจากการ แสดงผลจริง รายการไอคอนโหมดถ่ายภาพ

รายการไอคอนโหมดดูภาพ

1.

P P* A S M โหมดถ่ายภาพ NO CARD สถานะการ์ดหน่วยความจา/การส่งภาพ ไอคอนจาแนกบรรยากาศ เลือกบรรยากาศ 100


จานวนภาพนิง่ ที่บนั ทึกได้ อัตราส่วนภาพของภาพนิง่ 24M / 20M / 12M / 10M / 6.0M / 5.1M ขนาดภาพของภาพนิง่ คุณภาพของภาพนิง่ อัตราเฟรมของภาพเคลื่อนไหว ขนาดภาพเคลื่อนไหว NFC เปิ ดใช้งาน แบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ การเตือนเกี่ยวกับแบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ กาลังชาร์จแฟลช ไฟช่วยโฟกัส

จัดเฟรมอัตโนมัติ SteadyShot


เตือนกล้องสัน่ โหมดเครื่องบิน ไม่มีการบันทึกเสียงของภาพเคลื่อนไหว ลดเสียงลมรบกวน การเตือนว่ากล้องร้อนเกินไป ไฟล์ฐานข้อมูลเต็ม/ไฟล์ฐานข้อมูลผิดพลาด การตัง้ ค่าเอฟเฟ็ ค ปิ ด

ซูมอัจฉริยะ/

ซูมภาพคมชัด/ซูมดิจิตอล

บริเวณการวัดแสงเฉพาะจุด โหมดดูภาพ 100-0003 หมายเลข โฟลเดอร์-ไฟล์ โหมดบันทึกภาพเคลื่อนไหว ป้องกัน


DPOF ตัง้ ค่า DPOF บันทึกวิดโี อสองทาง PC รีโมท ไอคอนชัตเตอร์แบบสัมผัส ระบบสัมผัสเปิ ดใช้งาน โฟกัสโดยแตะจอ ปิ ด 2. โหมดขับเคลื่อน ตัง้ เวลาถ่ายภาพตัวเอง โหมดวัดแสง โหมดแฟลช/ลดตาแดง ±0.0 การชดเชยแสงแฟลช โหมดโฟกัส

พื้นที่โฟกัส


7500K A5 G5 สมดุลแสงสีขาว DRO/ออโต้ HDR รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า สร้างสรรค์ภาพถ่าย

ลูกเล่นปรับผิวนวล

เอฟเฟ็ คของภาพ

ตัวแสดงความไวในการค้นหารอยยิ้ม 3. สลับโหมดถ่ายภาพ คาแนะนาช่วยในการเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพ AF ล็อคเป้าหมาย แสดงคาแนะนาสาหรับ AF ล็อคเป้าหมายที่ปุ่มตรงกลาง REC 0:12 ระยะเวลาในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว (นาที:วินาที)


ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มควบคุม (P*: ปรับเลื่อนโปรแกรม Av: ค่ารูรบั แสงTv: ความเร็วชัต เตอร์) โฟกัส 1/250 ความเร็วชัตเตอร์ F3.5 ค่ารูรบั แสง ±0.0 วัดแสงแบบแมนนวล ±0.0 การชดเชยแสง ISO400 ความไวแสง ISO ล็อค AE ตัวแสดงความเร็วชัตเตอร์ ตัวแสดงรูรบั แสง ฮิสโตแกรม เอฟเฟ็ คภาพผิดพลาด คาเตือนภาพออโต้ HDR


2014-1-1 10:37AM วันที่บนั ทึกภาพ 3/7 หมายเลขไฟล์/จานวนภาพในโหมดดูภาพ รายการกรอบค้นหาระยะโฟกัส กรอบค้นหาระยะโฟกัสแตกต่างกันดังแสดงไว้ดา้ นล่าง ทัง้ นีข้ นึ้ อยู่กบั โหมดถ่ายภาพ เมื่อใช้โหมด AF คอนทราสต์ หรือโหมด AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัส

เมื่อใช้โหมด AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัส

เมื่อ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] และถ้าคุณเล็งไปที่วตั ถุที่กาลัง เคลื่อนไหว กรอบค้นหาระยะโฟกัสอาจแสดงดังที่ปรากฏด้านบน เมื่อโฟกัสได้แล้วโดยอัตโนมัตติ ามระยะทัง้ หมดของจอภาพ

เมื่อ [ ไฟช่วย AF] ถูกตัง้ ไว้ที่ [อัตโนมัต]ิ , และ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] กรอบค้นหาระยะ AF อาจปรากฏขึน้ เป็ นเส้นประ


เมื่อท่านใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอื่นนอกเหนือจากซูมด้วยเลนส์ การตัง้ ค่า [บริเวณปรับโฟกัส]จะถูก ปิ ดการใช้งาน และกรอบพื้นที่โฟกัสจะแสดงเป็ นเส้นประ AF จะจับที่ดา้ นบนและรอบๆ บริเวณจุดกึ่งกลางเป็ นหลัก

การใช้สายสะพาย 1.

คาแนะนาในกล้อง เกีย่ วกับ [คาแนะนาในกล้อง] [คาแนะนาในกล้อง] แสดงรายละเอียดเกี่ยวกับรายการ MENU และการตัง้ ค่า พร้อมทัง้ ระบุเหตุผลกรณีที่ฟังก์ชนั ่ นัน้ ๆไม่สามารถตัง้ ค่าได้ 1. กดปุ่ ม MENU 2. เลือกรายการ MENU ที่ตอ้ งการโดยกดด้านบน/ล่าง/ซ้าย/ขวา บนปุ่ มควบคุม 3. กดปุ่ ม ? (คาแนะนาในกล้อง) คาแนะนาการใช้งานของรายการ MENU ที่ทา่ นเลือกในขัน้ ตอนที่ 2 จะปรากฏขึน้ • ถ้าท่านกด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ มควบคุมหลังเลือกรายการที่แสดงเป็ นสีเทาแล้ว เหตุผลที่ตงั้ ค่ารายการนัน้ ไม่ได้จะปรากฏขึน้ เกีย่ วกับคาแนะนาในการถ่ายภาพ แสดงคาแนะนาในการถ่ายภาพตามโหมดถ่ายภาพที่เลือก 1. กดปุ่ ม ? (คาแนะนาในกล้อง) ขณะหน้าจอถ่ายภาพแสดงขึน้


2. กดที่ดา้ นบน/ล่างของปุ่ มควบคุมเพื่อเลือกคาแนะนาในการถ่ายภาพที่ตอ้ งการ จากนัน้ กด ที่ตรงกลาง

คาแนะนาในการถ่ายภาพจะปรากฏขึน้ • ท่านสามารถเลื่อนหน้าจอได้โดยกดที่ดา้ นบน/ล่างของปุ่ มควบคุม คำแนะนำ หากต้องการดูคาแนะนาในการถ่ายภาพทัง้ หมด เลือก MENU → → [เคล็ดลับถ่ายภาพ]

(ตัง้ ค่ากล้อง)

การชาร์จก้อนแบตเตอรี่ การชาร์จแบตเตอรีข่ ณะที่แบตเตอรีใ่ ส่อยูใ่ นกล้อง เมื่อเปิ ดใช้งานกล้องเป็ นครัง้ แรก ต้องชาร์จแบตเตอรี่ แบตเตอรี่ที่ชาร์จไว้จะค่อยๆ คลาย ประจุทีละน้อย แม้เมื่อไม่ได้ใช้งาน เพื่อหลีกเลี่ยงการพลาดโอกาสในการถ่ายภาพ ให้ชาร์จ ก้อนแบตเตอรี่กอ่ นถ่ายภาพ 1. ปิ ดสวิตช์ผลิตภัณฑ์ 2. เชือ่ มต่อกล้องที่มีแบตเตอรี่ใส่อยู่กบั อะแดปเตอร์ AC (ที่ให้มาด้วย) ด้วยสายไมโคร USB (ที่ให้มาด้วย) และเสียบอะแดปเตอร์ AC กับเต้ารับติดผนัง สำหรับลู กค้ำในประเทศสหรัฐอเมริกำและแคนำดำ


สำหรับลู กค้ำในประเทศ/ภู มิภำคอื่ นนอกเหนือจำกประเทศสหรัฐอเมริกำและแคนำดำ

• •

ไฟชาร์จ ติด: กาลังชาร์จ ดับ: สิ้นสุดการชาร์จ กะพริบ: การชาร์จผิดพลาดหรือการชาร์จหยุดชัว่ คราวเนือ่ งจากกล้องไม่อยู่ในช่วง อุณหภูมิที่เหมาะสม เวลำในกำรชำร์จ (ชำร์จเต็ม) เวลาในการชาร์จคือประมาณ 310 นาที เมื่อใช้อะแดปเตอร์ AC (ที่ให้มาด้วย) ระยะเวลาในการชาร์จอาจแตกต่างกันขึน้ อยู่กบั ประจุของแบตเตอรี่ที่เหลืออยู่หรือเงือ่ นไข การชาร์จ สามารถชาร์จแบตเตอรี่ได้แม้ว่าแบตเตอรี่จะยังไม่หมดประจุ ระยะเวลาในการชาร์จข้างต้นคือระยะเวลาสาหรับกรณีที่ชาร์จแบตเตอรี่ (ที่ให้มาด้วย) ซึ่ง ไม่มีประจุเลยที่อณ ุ หภูมิ 25°C การชาร์จอาจใช้เวลานานกว่านีข้ นึ้ อยู่กบั เงือ่ นไขการใช้งาน หรือสภาพแวดล้อม ในการตรวจสอประจุแบตเตอรี่ที่เหลืออยู่ ให้ถอดสายไมโคร USB แล้ว ตรวจสอบ (ตัวแสดงประจุที่เหลืออยู่) บนหน้าจอ หมำยเหตุ ถ้าไฟชาร์จกะพริบขณะยังไม่ได้ชาร์จแบตเตอรี่จนเต็ม ให้ถอดแบตเตอรี่ออกจากกล้องและ ใส่กลับเข้าไปใหม่เพื่อชาร์จอีกครัง้ หากไฟชาร์จบนกล้องกะพริบเมื่อเสียบอะแดปเตอร์ AC กับเต้ารับติดผนัง แสดงว่าการ ชาร์จหยุดชัว่ คราวเนือ่ งจากอุณหภูมิสงู กว่าช่วงที่แนะนา เมื่ออุณหภูมิลดลงถึงช่วงที่ เหมาะสม การชาร์จจะดาเนินต่อ ขอแนะนาให้ทาการชาร์จก้อนแบตเตอรี่ที่อณ ุ หภูมิ แวดล้อม 10°C ถึง 30°C เสียบอะแดปเตอร์ AC กับเต้ารับติดผนังที่ใกล้ที่สดุ หากเกิดการทางานผิดพลาดระหว่าง การใช้อะแดปเตอร์ AC ให้ถอดปลัก๊ ออกจากเต้ารับติดผนังทันที เพื่อหยุดการเชือ่ มต่อกับ แหล่งจ่ายไฟฟ้า


• •

• •

• •

กรณีที่ใช้แบตเตอรี่ที่เพิ่งซื้อมาใหม่หรือแบตเตอรี่ที่ไม่ได้ใช้งานเป็ นเวลานาน ไฟชาร์จอาจ กะพริบถี่ๆ เมื่อชาร์จแบตเตอรี่เป็ นครัง้ แรก ในกรณีเช่นนี้ ให้ถอดแบตเตอรี่ออกจาก กล้องแล้วใส่กลับเข้าไปใหม่เพื่อชาร์จใหม่ อย่าชาร์จก้อนแบตเตอรี่ตอ่ เนือ่ งหรือชาร์จซา้ ๆ โดยไม่ใช้งานแบตเตอรี่เมือ่ ชาร์จเต็มแล้ว หรือใกล้จะเต็มแล้ว การทาเช่นนีอ้ าจทาให้แบตเตอรี่มีประสิทธิภาพเสื่อมลง เมื่อสิ้นสุดการชาร์จ ถอดอะแดปเตอร์ AC ออกจากเต้ารับติดผนัง ใช้แบตเตอรี่ สายไมโคร USB (ที่ให้มาด้วย) และอะแดปเตอร์ AC (ที่ให้มาด้วย) ที่เป็ นของ แท้ของ Sony เท่านัน้ การชาร์จโดยเชื่อมต่อกับเครือ่ งคอมพิวเตอร์ สามารถชาร์จก้อนแบตเตอรี่ได้โดยต่อกล้องเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอร์ดว้ ยสายไมโคร USB 1. ปิ ดสวิตช์ผลิตภัณฑ์ และเชือ่ มต่อกับขัว้ ต่อ USB ของเครื่องคอมพิวเตอร์

หมำยเหตุ พึงระลึกในประเด็นต่อไปนี้ ขณะชาร์จผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์: ถ้าหากผลิตภัณฑ์ตอ่ อยู่กบั เครื่องคอมพิวเตอร์แบบวางตักที่ไม่ได้ตอ่ อยู่กบั แหล่งจ่าย ไฟฟ้า ระดับแบตเตอรี่ของคอมพิวเตอร์จะลดลง ห้ามชาร์จเป็ นเวลานานเกินไป อย่าเปิ ด/ปิ ด หรือรีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือปลุกคอมพิวเตอร์ให้ตนื่ จากโหมด หลับขณะที่มีการเชือ่ มต่อ USB ระหว่างกล้องกับเครื่องคอมพิวเตอร์แล้ว การกระทา ดังกล่าวอาจจะทาให้เกิดความเสียหายได้ ก่อนเปิ ด/ปิ ด หรือรีสตาร์ทเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือปลุกคอมพิวเตอร์ให้ตนื่ จากโหมดหลับ ให้ถอดกล้องออกจากเครื่องคอมพิวเตอร์ ก่อน ไม่สามารถรับประกันการทางานอย่างถูกต้องกับคอมพิวเตอร์ทกุ ชนิดได้ ไม่รบั ประกันการชาร์จกับเครื่องคอมพิวเตอร์ประกอบเองหรือเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ถกู ดัดแปลง กล้องอาจไม่ทางานอย่างถูกต้องเมื่อใช้อปุ กรณ์ USB อื่นในเวลาเดียวกัน การใส่กอ้ นแบตเตอรี่ลงในกล้อง วิธีใส่กอ้ นแบตเตอรี่ลงในกล้อง 1. เลื่อนก้านเปิ ดเพื่อเปิ ดฝาปิ ดแบตเตอรี่


2. ใส่กอ้ นแบตเตอรี่โดยที่ยงั กดก้านล็อค (A) ด้วยปลายแบตเตอรี่ จนกว่าแบตเตอรี่จะล็อค เข้าที่

3. ปิ ดฝา

อาย ุการใช้งานแบตเตอรีแ่ ละจานวนภาพที่สามารถบันทึก/เปิ ดด ูได้โดยใช้ แบตเตอรี่ การถ่ายภาพ (ภาพนิง่ ): อายุการใช้งานแบตเตอรี่: ประมาณ 200 นาที จานวนภาพ: ประมาณ 400


• • • • •

• • • • • • •

• •

การถ่ายภาพจริง (ภาพเคลื่อนไหว): อายุการใช้งานแบตเตอรี่: ประมาณ 75 นาที การถ่ายภาพต่อเนือ่ ง (ภาพเคลื่อนไหว): อายุการใช้งานแบตเตอรี่: ประมาณ 110 นาที การดูภาพ (ภาพนิง่ ): อายุการใช้งานแบตเตอรี่: ประมาณ 340 นาที จานวนภาพ: ประมาณ 6800 หมำยเหตุ อายุการใช้งานแบตเตอรี่และจานวนภาพข้างต้นสาหรับในกรณีที่ชาร์จแบตเตอรี่จนเต็ม อายุการใช้งานแบตเตอรี่และจานวนภาพอาจลดลงตามเงือ่ นไขการใช้งาน อายุการใช้งานแบตเตอรี่และจานวนภาพที่สามารถบันทึกได้สาหรับการถ่ายภาพภายใต้ เงือ่ นไขต่อไปนี้ ใช้งานก้อนแบตเตอรี่ที่อณ ุ หภูมิแวดล้อม 25°C ใช้เลนส์ E PZ 16-50mm F3.5-5.6 OSS ใช้สื่อ SONY Memory Stick PRO Duo (Mark2) (แยกจาหน่าย) [ความสว่างหน้าจอ]: [แมนนวล][±0] จานวน “การถ่ายภาพ (ภาพนิง่ )” เป็ นไปตามมาตรฐาน CIPA สาหรับการถ่ายภาพภายใต้ เงือ่ นไขต่อไปนี้ (CIPA: Camera & Imaging Products Association) DISP: [แสดงข้อมูลทัง้ หมด] โหมดโฟกัส: [AF อัตโนมัต]ิ ถ่ายหนึง่ ภาพทุกๆ 30 วินาที มีการสลับการซูมระหว่างด้าน W และ T แฟลชติดหนึง่ ครัง้ เมื่อถ่ายภาพทุกสองภาพ เปิ ดและปิ ดสวิตช์กล้องหนึง่ ครัง้ เมื่อถ่ายภาพทุกสิบภาพ อายุการใช้งานแบตเตอรี่สาหรับ “การถ่ายภาพจริง (ภาพเคลื่อนไหว)” เป็ นไปตาม มาตรฐาน CIPA โดยเป็ นการถ่ายภาพตามเงือ่ นไขต่อไปนี้ คุณภาพของภาพถูกตัง้ ไปที่ 60i 17M (FH) การถ่ายภาพจริง (ภาพเคลื่อนไหว): อายุการใช้งานแบตเตอรี่ขนึ้ อยู่กบั การถ่ายภาพ การ ซูม การอยู่ในสถานะพร้อมถ่ายภาพ การเปิ ด/ปิ ด ฯลฯ ซา้ ๆ กันหลายครัง้ การบันทึกภาพเคลื่อนไหวต่อเนือ่ ง: อายุการใช้งานแบตเตอรี่ขนึ้ อยู่กบั การถ่ายภาพไม่ หยุดจนกระทัง่ ครบจานวนสูงสุด (29 นาที) แล้วถ่ายต่อโดยกดปุ่ ม MOVIE อีกครัง้ ไม่ได้ ใช้งานฟั งก์ชนั ่ อื่นๆ เช่น การซูม ถ้าปริมาณแบตเตอรี่ไม่ปรากฏขึน้ ให้กด DISP (การตัง้ ค่าการแสดงผล) ชาร์จไฟโดยใช้เต้ารับที่ผนัง สามารถชาร์จไฟเข้ากล้องระหว่างการถ่ายภาพ/เปิ ดดูภาพโดยใช้อะแดปเตอร์ AC ACPW20 (แยกจาหน่าย)


1. หากต้องการชาร์จไฟกล้องระหว่างการถ่ายภาพ/เปิ ดดูภาพ ให้เชือ่ มต่อกล้องและอะ แดปเตอร์ AC AC-PW20 (แยกจาหน่าย) และเสียบอะแดปเตอร์ AC เข้ากับเต้ารับติด ผนัง •

หมำยเหตุ จะไม่มีการจ่ายไฟระหว่างการถ่ายภาพ/เปิ ดดูภาพ ถ้ากล้องเชือ่ มต่ออยู่กบั เต้ารับติดผนัง ด้วยอะแดปเตอร์ AC ที่ให้มาด้วย หากต้องการจ่ายไฟให้กล้องระหว่างการถ่ายภาพ/ เปิ ดดูภาพ ให้ใช้อะแดปเตอร์ AC AC-PW20 (แยกจาหน่าย) การถอดแบตเตอรี่ วิธีถอดก้อนแบตเตอรี่ 1. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไฟแสดงสถานะการเข้าถึงไม่ตดิ สว่างอยู่ และปิ ดกล้อง 2. เลื่อนก้านล็อค (A) และถอดก้อนแบตเตอรี่ออก

ระวังอย่าทาแบตเตอรี่หล่น

เสียบการ์ดเมโมรี่ การใส่การ์ดหน่วยความจา วิธีใส่การ์ดหน่วยความจา 1. เลื่อนฝาปิ ดการ์ดหน่วยความจาเพื่อเปิ ด

2. ใส่การ์ดหน่วยความจา


ดูให้แน่ใจว่าหันมุมบากถูกด้าน • ให้ใส่การ์ดหน่วยความจาจนคลิกเข้าที่โดยหันมุมบากของการ์ดตามทิศทางที่ แสดงใน รูป 3. ปิ ดฝาปิ ดการ์ดหน่วยความจา

การถอดการ์ดหน่วยความจา วิธีถอดการ์ดหน่วยความจา 1. เปิ ดฝาปิ ดการ์ดหน่วยความจา 2. ตรวจสอบให้แน่ใจว่าไฟแสดงสถานะการเข้าถึง (A) ไม่ตดิ สว่าง

3. ดันการ์ดหน่วยความจาเข้าไปหนึง่ ครัง้ เพื่อถอดออก


4. ปิ ดฝาปิ ดการ์ดหน่วยความจา

การติดเลนส์ การติดเลนส์ เลื่อนสวิตช์เปิ ด/ปิ ดของกล้องไปที่ OFF ก่อนติดเลนส์ 1. ถอดฝาปิ ดตัวกล้อง (A) ออกจากกล้องและถอดฝาปิ ดท้ายเลนส์ (B) ออกจากด้านหลัง เลนส์

ให้เปลี่ยนเลนส์อย่างรวดเร็วในที่ที่ไม่มีฝุ่น เพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นละอองหรือสิ่งสกปรกเข้า ไปภายในตัวกล้อง เมื่อถ่ายภาพ ให้ถอดฝาปิ ดหน้าเลนส์ออกจากหน้าเลนส์


2. เมาท์เลนส์โดยให้เครื่องหมายดัชนีสีขาว (ดัชนีเมาท์)ทัง้ สองบนเลนส์และกล้องอยู่ในแนว เดียวกัน

ถือกล้องควา่ ลงเพื่อป้องกันไม่ให้ฝุ่นละอองและสิ่งสกปรกเข้าไปในตัวกล้อง 3. ขณะที่ดนั เลนส์เบาๆ เข้าหากล้อง ให้หมุนเลนส์ชา้ ๆ ตามลูกศรจนกว่าจะได้ยินเสียง คลิกเข้าในตาแหน่งล็อค

• • •

• •

ตรวจสอบให้แน่ใจว่าใส่เลนส์เข้าไปตรงๆ หมำยเหตุ อย่ากดปุ่ มปลดเลนส์ขณะกาลังติดเลนส์ อย่าใช้ความรุนแรงขณะติดเลนส์ ต้องมีอะแดปเตอร์แปลงเมาท์ (แยกจาหน่าย) หากต้องการใช้เลนส์ A-mount (แยก จาหน่าย) ดูรายละเอียดการใช้งานอะแดปเตอร์แปลงเมาท์จากคาแนะนาการใช้งานที่ให้มา ด้วยกันกับอะแดปเตอร์แปลงเมาท์ เมื่อท่านใช้เลนส์ที่มีชอ่ งต่อขาตัง้ ให้ตดิ ขาตัง้ เข้ากับช่องต่อขาตัง้ ของเลนส์เพื่อช่วยถ่วง นา้ หนักของเลนส์ให้เท่ากัน เมื่อถือกล้องที่มีเลนส์ติดอยู่ ให้จบั ทัง้ กล้องและเลนส์ให้แน่น อย่าจับส่วนของเลนส์ที่ยื่นออกมาเพื่อซูมหรือปรับโฟกัส การถอดเลนส์ เลื่อนสวิตช์เปิ ด/ปิ ดของกล้องไปที่ OFF ก่อนถอดเลนส์ออก 1. กดปุ่ มปลดเลนส์ (A) ค้างไว้และหมุนเลนส์ไปในทิศทางของลูกศรจนหมุนต่อไม่ได้


2. ใส่ฝาปิ ดเลนส์ที่ดา้ นหน้าและด้านหลังของเลนส์ และใส่ฝาปิ ดตัวกล้องเข้ากับกล้อง

เช็ดฝุ่ นละอองออกจากฝาปิ ดเหล่านีก้ อ่ นใส่ การใส่เลนส์ฮดู เราขอแนะนาให้ทา่ นใช้เลนส์ฮดู เพื่อป้องกันไม่ให้แสงจากภายนอกเฟรมถ่ายภาพส่งผล กระทบต่อภาพถ่าย 1. จัดให้สว่ นต่อเลนส์ฮดู และหัวเลนส์อยู่ตรงกัน และหมุนเลนส์ฮดู ตามเข็มนาฬิกา จนกระทัง่ คลิกเข้าที่

• •

หมำยเหตุ ใส่เลนส์ฮดู ให้ถกู ต้อง มิฉะนัน้ เลนส์ฮดู อาจไม่มีผลหรืออาจจะมีผลต่อภาพเพียงบางส่วน เมื่อใส่เลนส์ฮดู อย่างถูกต้อง ดัชนีเลนส์ฮดู (เส้นสีแดง) จะตรงกับเครื่องหมายดัชนีสีแดง บนฮูดพอดี (อาจไม่มีดชั นีเลนส์ฮดู บนเลนส์บางรุ่น)


ถอดเลนส์ฮดู ออก เมื่อใช้แฟลช มิฉะนัน้ เลนส์ฮดู จะบังแสงแฟลชและอาจทาให้เกิดเงาบน ภาพถ่าย หากต้องการเก็บเลนส์ฮดู หลังการถ่ายภาพ ให้ใส่เลนส์ฮดู เข้ากับเลนส์แบบกลับหลัง หมายเหต ุเกีย่ วกับการเปลี่ยนเลนส์ เมื่อเปลี่ยนเลนส์ ถ้าฝุ่ นละอองหรือสิ่งสกปรกเข้าไปในตัวกล้องและติดอยู่บนผิวของ เซ็นเซอร์ภาพ (ส่วนที่แปลงแสงเป็ นสัญญาณไฟฟ้า) อาจทาให้มีจดุ ดาๆ ปรากฏบนภาพ ทัง้ นีข้ นึ้ อยู่กบั สภาพแวดล้อมในการถ่ายภาพ เซ็นเซอร์ภาพของกล้องนีม้ ีสารเคลือบป้องกันฝุ่ นเพื่อป้องกันไม่ให้ฝนเกาะที ุ่ ่เซ็นเซอร์ภาพ อย่างไรก็ดี ควรตรวจสอบให้แน่ใจอยู่เสมอว่าได้ตดิ หรือถอดเลนส์ออกอย่างรวดเร็วในที่ที่ ไม่มีฝุ่นละออง

การตัง้ วันที่และเวลา เมื่อท่านเปิ ดใช้งานกล้องเป็ นครัง้ แรก หรือหลังจากกาหนดค่าตัง้ ต้นให้ฟังก์ชนั ่ หน้าจอตัง้ ค่าวันที่และเวลาจะปรากฏขึน้ 1. เลื่อนสวิตช์เปิ ด/ปิ ดไปที่ ON เพื่อเปิ ดใช้งานกล้อง หน้าจอตัง้ ค่าวันที่และเวลาจะปรากฏขึน้ 2. ตรวจสอบว่าได้เลือก [ตกลง] บนหน้าจอ จากนัน้ กด

บนปุ่ มควบคุม

3. เลือกตาแหน่งทางภูมิศาสตร์ที่ตอ้ งการ แล้วกด 4. เลือกรายการตัง้ ค่าโดยใช้ดา้ นบน/ล่างของปุ่ มควบคุม หรือโดยการหมุนปุ่ มควบคุม จากนัน้ กด ที่ตรงกลาง 5. ตัง้ ค่า [ปรับเวลาฤดูรอ้ น], [วันที่/เวลา] และ [รูปแบบวันที่] โดยใช้ดา้ นบน/ล่าง/ซ้าย/ ขวา จากนัน้ กด ที่ตรงกลาง •

เวลาเที่ยงคืนจะแสดงเป็ น 12:00 AM และเวลากลางวันจะแสดงเป็ น 12:00 PM 6. ทาซา้ ขัน้ ตอนที่ 4 และ 5 เพื่อตัง้ ค่ารายการอื่น จากนัน้ เลือก [ตกลง] แล้วกด ที่ ตรงกลาง •

หากต้องการยกเลิกขัน้ ตอนการตัง้ ค่าวันที่และเวลา ให้กดปุ่ ม MENU หมำยเหตุ กล้องนีไ้ ม่มีระบบสาหรับการใส่วนั ที่ลงบนภาพถ่าย ท่านสามารถใส่วนั ที่ลงบนภาพถ่าย จากนัน้ บันทึกและพิมพ์ได้โดยใช้ PlayMemories Home ถ้าการตัง้ ค่าวันที่และเวลาถูกยกเลิกกลางคัน หน้าจอตัง้ ค่าวันที่และเวลาจะปรากฏทุกครั้ง ที่ทา่ นเปิ ดกล้อง


การยืนยันวิธีการใช้งาน

การยืนยันวิธีการใช้งาน การใช้งานปุ่มควบค ุม

ท่านสามารถเลือกรายการตัง้ ค่าได้โดยหมุนหรือกดที่ดา้ นบน/ล่าง/ขวา/ซ้ายของปุ่ ม ควบคุม ยืนยันการเลือกด้วยการกด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ มควบคุม ฟั งก์ชนั ่ DISP (การตัง้ ค่าแสดงผล), (ชดเชยแสง), (สร้างสรรค์ภาพถ่าย), / (โหมดขับเคลื่อน), ISO ถูกกาหนดให้กบั ด้านบน/ล่าง/ซ้าย/ขวาของปุ่ มควบคุม นอกจากนี้ [โหมดถ่ายภาพ] ยังถูกกาหนดให้กบั ที่ตรงกลาง ท่านสามารถกาหนด ฟั งก์ชนั ่ ที่เลือกให้กบั ด้านซ้าย/ขวา/ล่างของปุ่ มควบคุม หรือ ที่ตรงกลาง ในระหว่างการเปิ ดดูภาพ ท่านสามารถแสดงภาพถัดไป/ก่อนหน้าได้โดยกดด้านขวา/ซ้าย ของปุ่ มควบคุม หรือหมุนปุ่ มควบคุม การใช้หน้าจอสัมผัส ผลิตภัณฑ์นมี้ ีหน้าจอสัมผัส การสัมผัสที่จอภาพ ช่วยให้ท่านสามารถถ่ายภาพนิง่ (ชัต เตอร์แบบสัมผัส) หรือกาหนดโฟกัสให้วตั ถุ (โฟกัสโดยแตะจอ) ท่านยังสามารถใช้ ฟั งก์ชนั ่ [ชัตเตอร์แบบสัมผัส] กับการถ่ายภาพแบบ [ตัง้ เวลาถ่ายภาพตัวเอง] ได้เช่นกัน

กำรเปิ ด/ปิ ดหน้ำจอสัมผัส ท่านสามารถตัง้ ค่าให้ใช้งานหรือไม่ใช้งานผลิตภัณฑ์โดยใช้หน้าจอสัมผัส 1. MENU → (ตัง้ ค่า) → [ระบบสัมผัส] → ค่าที่ตอ้ งการ


รำยละเอียดรำยกำรเมนู เปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): หน้าจอสัมผัสเปิ ดใช้งาน ปิ ด: หน้าจอสัมผัสปิ ดใช้งาน การใช้รายการ MENU ในเนือ้ หาส่วนนีท้ า่ นจะได้เรียนรูว้ ิธีเปลี่ยนการตัง้ ค่าที่เกี่ยวข้องกับการทางานของกล้อง ทัง้ หมด และดาเนินการฟั งก์ชนั ่ ต่างๆ ของกล้อง เช่น ถ่ายภาพ ดูภาพ รวมทัง้ วิธีการใช้ งาน 1. กดปุ่ ม MENU เพื่อแสดงหน้าจอเมนู

2. เลือกรายการ MENU ที่ตอ้ งการโดยกดด้านบน/ล่าง/ซ้าย/ขวา ของปุ่ มควบคุม หรือ หมุนปุ่ มควบคุม จากนัน้ กด ที่ตรงกลางปุ่ มควบคุม •

การแสดงผลอาจเปลี่ยนจากขัน้ ตอนที่ 1 ไปเป็ นขัน้ ตอนที่ 3 โดยตรง ขึน้ อยู่กบั การตัง้ ค่า [เมนูแบบเรียงต่อกัน]

3. เลือกรายการตัง้ ค่าที่ตอ้ งการโดยกดด้านบน/ล่าง/ซ้าย/ขวา บนปุ่ มควบคุม หรือหมุน ปุ่ มควบคุม จากนัน้ กด ที่ตรงกลางปุ่ มควบคุม •

เลือกไอคอนที่ดา้ นบนของหน้าจอแล้วกดด้านซ้าย/ขวา ของปุ่ มควบคุม เพื่อย้ายไปยัง รายการ MENU อื่น


4. เลือกการตัง้ ค่าที่ตอ้ งการ แล้วกด

เพื่อยืนยัน

การถ่ายภาพนิ่ง/ภาพเคลื่อนไหว การถ่ายภาพนิ่ง ถ่ายภาพนิง่ 1. ตัง้ โหมดถ่ายภาพเป็ น

(อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ)

ถ้ามีฟังก์ชนั ่ อื่นที่กาหนดให้ปุ่มตรงกลาง ให้เลือก MENU → → [โหมดถ่ายภาพ] → [อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] 2. ปรับมุมของหน้าจอ แล้วถือกล้องไว้ •

(ตัง้ ค่ากล้อง)

3. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ เพื่อปรับโฟกัส เมื่อปรับโฟกัสภาพได้ เสียงบีปจะดังขึน้ และตัวแสดง (

หรือ

) จะติดสว่าง


4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด

• • • • • • • • •

ตัวแสดงโฟกัส ไฟติดนิง่ : ภาพได้โฟกัส ไฟกะพริบ: การปรับโฟกัสล้มเหลว ไฟติดนิง่ : ภาพได้โฟกัส ตาแหน่งโฟกัสจะปรับเปลี่ยนไปตามการเคลื่อนไหวของวัตถุ ไฟติดนิง่ : กาลังปรับโฟกัส คำแนะนำ เมื่อผลิตภัณฑ์ปรับโฟกัสอัตโนมัตไิ ม่ได้ ตัวแสดงโฟกัสจะกะพริบและไม่มีเสียงบีป ให้จดั องค์ประกอบภาพใหม่ หรือเปลี่ยนการตัง้ ค่าโฟกัสเมื่อตัง้ [AF ต่อเนือ่ ง] ไว้ เสียงบีปจะไม่ ดังเมื่อปรับโฟกัสได้สาเร็จ การปรับโฟกัสอาจทาได้ลาบากในกรณีตอ่ ไปนี:้ มืดและวัตถุอยู่ไกล ไม่มีคอนทราสต์ระหว่างวัตถุกบั ฉากหลัง ถ่ายภาพวัตถุผา่ นกระจก วัตถุเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว มีแสงสะท้อนหรือผิววัตถุสว่างจ้า มีแสงไฟกะพริบ มีแสงทางด้านหลังของวัตถุ รูปแบบซา้ ๆ ต่อเนือ่ งกัน เช่น ลักษณะภายนอกของอาคาร การถ่ายภาพเคลือ่ นไหว ท่านสามารถบันทึกภาพเคลื่อนไหวได้โดยกดปุ่ ม MOVIE 1. กดปุ่ ม MOVIE เพื่อเริ่มการบันทึกภาพ


2. กดปุ่ ม MOVIE อีกครัง้ เพื่อยุตกิ ารบันทึก •

หมำยเหตุ ตัง้ โหมดถ่ายภาพไปที่ (ภาพเคลื่อนไหว) หากต้องการปรับค่าความเร็วชัตเตอร์และ รูรบั แสงเป็ นค่าที่ตอ้ งการ ถ้าหากท่านใช้งานฟั งก์ชนั ่ เช่น ซูม ขณะกาลังถ่ายภาพเคลื่อนไหว เสียงการทางานของ ผลิตภัณฑ์จะถูกบันทึกด้วย เสียงการทางานของปุ่ ม MOVIE อาจจะถูกบันทึก เมื่อท่านกด ปุ่ ม MOVIE เพื่อยุตกิ ารบันทึก สาหรับระยะเวลาถ่ายภาพต่อเนือ่ งในการบันทึกภาพเคลื่อนไหว โปรดดู “ระยะเวลา บันทึกภาพเคลือ่ นไหว” เมื่อสิ้นสุดการบันทึกภาพเคลื่อนไหว ท่านสามารถเริ่มบันทึกใหม่ ได้โดยกดปุ่ ม MOVIE อีกครัง้ การบันทึกอาจจะหยุดเพื่อรักษาผลิตภัณฑ์ ทัง้ นีข้ นึ้ กับ อุณหภูมิของผลิตภัณฑ์หรือแบตเตอรี่ ขณะถ่ายภาพ เสียงของตะขอสาหรับสายสะพาย (ตะขอรูปสามเหลี่ยม) อาจถูกบันทึกไป ด้วย ขึน้ อยู่กบั สถานการณ์ที่ใช้งาน

การเลือกโหมดถ่ายภาพ รายการโหมดถ่ายภาพ ท่านสามารถเลือกโหมดถ่ายภาพที่ตอ้ งการ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่ใช้งานได้ (อัตโนมัติอจั ฉริยะ): ให้ทา่ นถ่ายภาพนิง่ โดยการตัง้ ค่าต่างๆถูกปรับอัตโนมัติ (อัตโนมัติพิเศษ): ให้ทา่ นถ่ายภาพนิง่ ที่มีคณ ุ ภาพสูงกว่าโหมดอัตโนมัตอิ จั ฉริยะ P (โปรแกรมอัตโนมัต): ให้ทา่ นถ่ายภาพโดยค่าระดับแสง (ทัง้ ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสง (ค่า F)) ถูกปรับ อัตโนมัติ ท่านยังสามารถเลือกการตัง้ ค่าต่างๆ ได้จากเมนู A (กาหนดค่ารูรับแสง): ให้ทา่ นปรับค่ารูรบั แสงและถ่ายภาพ ตัวอย่างเช่น เมื่อต้องการปรับเบลอฉากหลัง เป็ นต้น


S (กาหนดชัตเตอร์สปี ด): ให้ทา่ นถ่ายภาพวัตถุเคลื่อนไหวเร็ว ฯลฯ โดยกาหนดความเร็วชัตเตอร์เอง M (ปรับระดับแสงเอง): สาหรับถ่ายภาพนิง่ ด้วยระดับแสงที่ตอ้ งการโดยปรับความเร็วชัตเตอร์และค่าเปิ ดหน้า กล้อง (ภาพเคลื่อนไหว): ให้ทา่ นเปลี่ยนการตัง้ ค่าสาหรับการบันทึกภาพเคลื่อนไหว (ถ่ายภาพพาโนรามา): ให้ทา่ นถ่ายภาพพาโนรามาจากการประกอบภาพย่อยๆ SCN (เลือกบรรยากาศ): ให้ทา่ นถ่ายภาพโดยใช้การตัง้ ค่าที่กาหนดไว้ล่วงหน้าตามวัตถุและบรรยากาศต่างๆ อัตโนมัติอจั ฉริยะ ผลิตภัณฑ์วิเคราะห์วตั ถุ และให้ท่านถ่ายภาพด้วยการตัง้ ค่าที่เหมาะสม 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] →[อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] 2. เล็งกล้องไปที่วตั ถุ เมื่อกล้องจาแนกบรรยากาศได้ ไอคอนของบรรยากาศที่จาแนกได้จะปรากฏบนหน้าจอ

3. ปรับโฟกัสแล้วทาการถ่ายภาพ •

หมำยเหตุ ผลิตภัณฑ์จะไม่ทาการจาแนกบรรยากาศ ถ้าหากท่านถ่ายภาพด้วยฟั งก์ชนั ่ ซูมอื่น นอกเหนือจากการซูมด้วยเลนส์ ผลิตภัณฑ์อาจจะไม่สามารถจาแนกบรรยากาศเหล่านีไ้ ด้ถกู ต้อง ภายใต้บางเงือ่ นไขการ ถ่ายภาพ อัตโนมัติพิเศษ กล้องจาแนกและประเมินเงือ่ นไขการถ่ายภาพ และทาการตัง้ ค่าที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ ผลิตภัณฑ์อาจถ่ายภาพหลายภาพและทาการผสมภาพ ฯลฯ โดยใช้การตัง้ ค่าถ่ายภาพ มากกว่าในโหมดอัตโนมัตอิ จั ฉริยะเพื่อบันทึกภาพที่มีคณ ุ ภาพสูงขึน้


1. ปรับโฟกัสแล้วทาการถ่ายภาพ เมื่อกล้องถ่ายภาพหลายภาพ กล้องจะเลือกและจัดเก็บภาพที่เหมาะสมโดยอัตโนมัติ ท่านสามารถบันทึกทุกภาพได้โดยตัง้ ค่า [ดึงภาพอัตโนมัตพิ ิเศษ] 2. MENU →

(ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [อัตโนมัตพิ ิเศษ]

3. เล็งกล้องไปที่วตั ถุ เมื่อกล้องจดจาฉากแล้ว ไอคอนการจดจาฉากจะปรากฏบนหน้าจอ หากจาเป็ น ฟั งก์ชนั ่ ถ่ายภาพที่เหมาะสมสาหรับฉากที่ได้รบั การจดจาไว้และจานวนครัง้ ที่ปล่อยชัตเตอร์จะ ปรากฏขึน้ ด้วย

• •

• •

หมำยเหตุ เมื่อใช้ผลิตภัณฑ์เพื่อทาการผสมภาพ กระบวนการบันทึกจะใช้เวลานานกว่าปกติ ผลิตภัณฑ์จะไม่จาแนกบรรยากาศเมื่อท่านใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอื่นนอกเหนือจากการซูมด้วย เลนส์ ผลิตภัณฑ์อาจจะจาแนกบรรยากาศไม่ถกู ต้อง ภายใต้บางเงือ่ นไขถ่ายภาพ เมื่อตัง้ [ คุณภาพ] ไว้ที่ [RAW] หรือ [RAW & JPEG] กล้องจะไม่สามารถทาการผสม ภาพ เกีย่ วกับระบบจาแนกบรรยากาศ ระบบจาแนกบรรยากาศทางานในโหมด [อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] และโหมด [อัตโนมัตพิ ิเศษ] ฟั งก์ชนั ่ นีช้ ว่ ยให้กล้องทาการจาแนกเงือ่ นไขถ่ายภาพและถ่ายภาพโดยอัตโนมัติ ระบบจาแนกบรรยากาศ: ไอคอนและคาแนะนา เช่น (บุคคล), (ทารก), (บุคคลกลางคืน), (ทิวทัศน์กลางคืน), (บุคคลย้อนแสง), (ย้อนแสง), (วิว), (มา โคร), (สปอตไลต์), (แสงน้อย), (ทิวทัศน์กลางคืนด้วยขาตัง้ กล้อง) หรือ (กลางคืน ถือด้วยมือ) จะปรากฏ


ประมวลผลภาพ: ถ่ายภาพต่อเนือ่ ง, ชัตเตอร์ชา้ , ออโต้ HDR, ใช้แฟลชกลางวัน, ค.เร็วชัตเตอร์ตา่ , กลางคืน ถือด้วยมือ หมำยเหตุ เมื่อตัง้ [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] ไว้ที่ [ปิ ด] บรรยากาศ [บุคคล], [บุคคลย้อนแสง], [บุคคล กลางคืน] และ [ทารก] จะไม่ถกู เลือก ข้อดีของระบบถ่ายภาพอัตโนมัติ ในโหมด [อัตโนมัตพิ ิเศษ] ผลิตภัณฑ์ถ่ายรูปด้วยคุณภาพที่เหนือกว่าโหมด [อัตโนมัติ อัจฉริยะ] และทาการถ่ายภาพแบบผสมภาพตามความจาเป็ น ในโหมด [โปรแกรมอัตโนมัต] ท่านสามารถถ่ายภาพหลังจากปรับฟั งก์ชนั ่ ต่างๆ เช่น สมดุลแสงสีขาว ISO ฯลฯ (อัตโนมัติอจั ฉริยะ): เลือกโหมดนีเ้ มื่อท่านต้องการให้กล้องจาแนกบรรยากาศโดยอัตโนมัติ (อัตโนมัติพิเศษ): เลือกโหมดนีเ้ พื่อถ่ายภาพบรรยากาศที่ถ่ายได้ลาบาก เช่น เมื่อมืด หรือถ่ายภาพวัตถุยอ้ น แสง เลือกโหมดนีเ้ พื่อถ่ายภาพด้วยคุณภาพที่เหนือกว่า (อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ) P (โปรแกรมอัตโนมัต): เลือกโหมดนีเ้ พื่อถ่ายภาพโดยปรับฟั งก์ชนั ่ ต่างๆนอกเหนือจากระดับแสง (ความเร็วชัต เตอร์และรูรบั แสง) เอง หมำยเหตุ ในโหมด [อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] ท่านอาจจะไม่สามารถถ่ายฉากที่มืด หรือภาพวัตถุยอ้ นแสงได้ ชัดเจน ในโหมด [อัตโนมัตพิ ิเศษ] กระบวนการบันทึกจะกินเวลานานขึน้ เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์ทา การผสมภาพ โปรแกรมอัตโนมัต ให้ทา่ นถ่ายภาพโดยปรับระดับแสงอัตโนมัติ (ทัง้ ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสง) ท่านสามารถตัง้ ค่าฟั งก์ชนั ่ ถ่ายภาพ เช่น [ISO] 1. MENU→

(ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [โปรแกรมอัตโนมัต]

2. ตัง้ ฟั งก์ชนั ่ ถ่ายภาพต่างๆ ตามที่ตอ้ งการ 3. ปรับโฟกัสและถ่ายภาพวัตถุ


• •

• •

ปรับเลื่ อนโปรแกรม ท่านสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสง (ค่า F) ได้พร้อมกันโดยหมุนปุ่ ม ควบคุม โดยไม่ตอ้ ง เปลี่ยนการรับแสงที่เหมาะสมที่ตงั้ ค่าไว้โดยผลิตภัณฑ์นี้ ฟั งก์ชนั ่ นีใ้ ช้ งานได้เมื่อท่านไม่ได้ใช้แฟลช “P” บนหน้าจอ จะเปลี่ยนเป็ น “P*” เมื่อท่านหมุนปุ่ มควบคุม หากต้องการยกเลิกการปรับเลื่อนโปรแกรม ให้ตงั้ ค่าโหมดถ่ายภาพเป็ นโหมดอื่นที่ ไม่ใช่ [โปรแกรมอัตโนมัต] หรือปิ ดกล้อง หมำยเหตุ การปรับเลื่อนโปรแกรมอาจจะไม่ถกู ใช้งาน ทัง้ นีข้ นึ้ กับความสว่างของสภาพแวดล้อม ตัง้ โหมดถ่ายภาพไปที่ตาแหน่งอื่นนอกเหนือจาก “P” หรือปิ ดสวิตช์เพื่อยกเลิกการตัง้ ค่าที่ ท่านตัง้ เมื่อความสว่างเปลี่ยนไป ค่ารูรบั แสง (ค่า F) และความเร็วชัตเตอร์จะเปลี่ยนตามโดย รักษาปริมาณการปรับเลื่อนไว้คงเดิม ถ่ายภาพพาโนรามา ให้ทา่ นสร้างภาพพาโนรามาภาพเดียว จากภาพหลายภาพที่ถ่ายขณะแพนกล้องกล้อง

1. MENU →

(ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [ถ่ายภาพพาโนรามา]

2. เล็งกล้องไปที่วตั ถุ 3. ขณะที่กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ เล็งกล้องไปที่ปลายด้านหนึง่ ของภาพพาโนรามาที่ ต้องการ

(A) ส่วนนีจ้ ะไม่ถกู ถ่าย


4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด 5. หมุนกล้องไปจนสุดขอบของตัวชีน้ าตามทิศทางลูกศรบนหน้าจอ

• • •

• • • • • • • •

(B) แถบนา หมำยเหตุ ถ้าหากไม่สามารถถ่ายได้ครบมุมภาพพาโนรามาที่ตอ้ งการภายในระยะเวลาที่กาหนด บริเวณสีเทาจะปรากฏในภาพผสมที่ได้ ในกรณีนี้ ให้หมุนผลิตภัณฑ์เร็วขึน้ เพื่อบันทึกภาพ พาโนรามาให้ได้เต็มภาพ เมื่อตัง้ [กว้าง] ไว้ที่ [พาโนรามา: ขนาด] อาจจะไม่สามารถถ่ายได้ครบมุมภาพพาโนรามาที่ ต้องการภายในระยะเวลาที่กาหนด ในกรณีนี้ ให้ลองถ่ายภาพหลังจากเปลี่ยนการตัง้ ค่า [พาโนรามา: ขนาด] เป็ น [ปกติ] เนือ่ งจากนาภาพหลายภาพมาต่อเข้าด้วยกัน รอยต่ออาจจะไม่ตอ่ เนือ่ งในบางกรณี ภาพอาจจะเบลอในฉากที่มืด หากแหล่งกาเนิดแสง เช่น แสงจากหลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ กะพริบ ความสว่างและสีของ ภาพที่ตอ่ ได้อาจจะไม่คงที่ หากมุมภาพทัง้ หมดของการถ่ายภาพพาโนรามา และมุมที่ล็อค AE/AF มีความสว่างและ โฟกัสแตกต่างกันมาก อาจจะถ่ายภาพได้ไม่สาเร็จ ในกรณีนี้ ให้เปลี่ยนมุมที่ปรับล็อค AE/AF แล้วถ่ายใหม่อีกครัง้ สถานการณ์ตอ่ ไปนีไ้ ม่เหมาะกับการถ่ายภาพพาโนรามา: วัตถุเคลื่อนไหว วัตถุอยู่ใกล้กบั ผลิตภัณฑ์มากเกินไป วัตถุมีลวดลายคล้ายคลึงต่อเนือ่ งกัน เช่น ท้องฟ้า หาดทราย หรือสนามหญ้า วัตถุที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น คลื่น หรือนา้ ตก วัตถุที่ความสว่างแตกต่างจากบริเวณรอบข้างมาก เช่น ดวงอาทิตย์ หรือหลอดไฟ การถ่ายภาพพาโนรามาอาจจะถูกขัดจังหวะในสถานการณ์ตอ่ ไปนี้ เมื่อหมุนกล้องเร็วหรือช้าเกินไป


วัตถุเบลอเกินไป คำแนะนำ ท่านสามารถหมุนปุ่ มควบคุมในหน้าจอถ่ายภาพ เพื่อเลือกทิศทางถ่ายภาพ เลือกบรรยากาศ ให้ทา่ นถ่ายภาพด้วยค่าที่กาหนดไว้ลว่ งหน้าตามบรรยากาศ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ]→[เลือกบรรยากาศ] → โหมดที่ ต้องการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู บ ุคคล: เบลอฉากหลักและปรับวัตถุให้คมชัด ปรับเน้นโทนสีผิวอย่างนุม่ นวล

กีฬา: ถ่ายภาพวัตถุเคลื่อนไหวด้วยชัตเตอร์ความเร็วสูง เพื่อให้วตั ถุปรากฏเหมือนหยุด อยู่นงิ่ ผลิตภัณฑ์ถ่ายภาพอย่างต่อเนือ่ งขณะที่ปุ่มชัตเตอร์ถกู กด

มาโคร: ถ่ายภาพระยะใกล้ของวัตถุ เช่น ดอกไม้ แมลง อาหาร หรือสิ่งของชิน้ เล็กๆ

วิว:


ถ่ายภาพทัง้ หมดของวิว ให้ได้ภาพที่โฟกัสคมชัดมีสีสดใส

ตะวันตกดิน: ถ่ายสีแดงของดวงอาทิตย์ตกอย่างสวยงาม

ทิวทัศน์กลางคืน: ถ่ายภาพกลางคืนโดยไม่สญ ู เสียบรรยากาศความมืด

กลางคืน ถือด้วยมือ: ถ่ายภาพกลางคืนที่มีจดุ รบกวนและอาการเบลอน้อยลง โดยไม่ใช้ขาตัง้ กล้อง ภาพ ถูกถ่ายติดต่อกันหลายภาพ แล้วทาการประมวลผลเพื่อลดอาการเบลอของวัตถุ กล้องสัน่ และจุดรบกวน

บ ุคคลกลางคืน: ถ่ายภาพบุคคลกลางคืนโดยใช้แฟลช


ป้องกันภาพสัน่ ไหว: ให้ทา่ นถ่ายภาพในที่ร่ม โดยไม่ใช้แฟลชและลดอาการวัตถุเบลอ ผลิตภัณฑ์ถ่ายภาพ ติดต่อกันหลายภาพ แล้วทาการผสมเป็ นภาพใหม่ ลดอาการเบลอของวัตถุและจุด รบกวน

• • • • •

หมำยเหตุ ในโหมด [ทิวทัศน์กลางคืน] และ [บุคคลกลางคืน] ความเร็วชัตเตอร์จะช้าลง ขอแนะนาให้ใช้ ขาตัง้ กล้องเพื่อป้องกันภาพเบลอ ในโหมด [กลางคืน ถือด้วยมือ] หรือ [ป้องกันภาพสัน่ ไหว] ชัตเตอร์จะคลิก 4 ครัง้ แล้ว กล้องจึงบันทึกภาพ ถ้าหากท่านเลือก [กลางคืน ถือด้วยมือ] หรือ [ป้องกันภาพสัน่ ไหว] พร้อม กับ [RAW]หรือ [RAW & JPEG] คุณภาพของภาพจะเป็ น [ละเอียด] ชัว่ คราว การลดเบลอจะได้ผลด้อยลงแม้ใช้ [กลางคืน ถือด้วยมือ] หรือ [ป้องกันภาพสัน่ ไหว]เมื่อ ถ่ายวัตถุตอ่ ไปนี:้ วัตถุที่เคลื่อนไหวด้วยทิศทางไม่แน่นอน วัตถุอยู่ใกล้กบั ผลิตภัณฑ์มากเกินไป วัตถุที่มีลวดลายคล้ายคลึงต่อเนือ่ งกัน เช่น ท้องฟ้า หาดทราย หรือสนามหญ้า วัตถุที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา เช่น คลื่น หรือนา้ ตก ในกรณีของ [กลางคืน ถือด้วยมือ] หรือ [ป้องกันภาพสัน่ ไหว] อาจจะเกิดจุดรบกวนเป็ น กรอบสี่เหลี่ยม (block noise) หากใช้แหล่งกาเนิดแสงที่กะพริบ เช่น แสงหลอดฟลูออเรส เซนต์ ระยะทางสัน้ ที่สดุ ที่ทา่ นสามารถเข้าใกล้วตั ถุ ไม่เปลี่ยนแปลงแม้ทา่ นจะเลือก [มาโคร] ดู ระยะปรับโฟกัสได้สนั้ ที่สดุ จากระยะทางสัน้ ที่สดุ ของเลนส์ที่ตดิ อยู่กบั กล้อง คำแนะนำ เปลี่ยนบรรยากาศได้โดยหมุนปุ่ มควบคุม ในหน้าจอถ่ายภาพ แล้วเลือกบรรยากาศใหม่


กาหนดชัตเตอร์สปี ด ท่านสามารถแสดงออกถึงการเคลื่อนไหวของวัตถุที่กาลังเคลื่อนที่ได้หลากหลายรูปแบบ โดยปรับความเร็วชัตเตอร์ เช่น หยุดการเคลื่อนไหวด้วยความเร็วชัตเตอร์สงู หรือแสดง รอยการเคลื่อนไหวด้วยความเร็วชัตเตอร์ตา่ สามารถเปลี่ยนความเร็วชัตเตอร์ขณะ บันทึกภาพเคลื่อนไหว 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [กาหนดชัตเตอร์สปี ด] 2. เลือกค่าที่ตอ้ งการโดยหมุนปุ่ มควบคุม 3. ปรับโฟกัสและถ่ายภาพวัตถุ ค่ารูรบั แสงจะถูกปรับโดยอัตโนมัตเิ พื่อให้ได้ระดับแสงที่เหมาะสม หมำยเหตุ ถ้าหากไม่สามารถปรับให้ได้ระดับแสงที่เหมาะสมหลังตัง้ ค่า ค่ารูรบั แสงบนหน้าจอ ถ่ายภาพจะกะพริบ ถึงแม้ทา่ นจะสามารถถ่ายภาพได้ดว้ ยค่านัน้ ขอแนะนาให้ทาการตัง้ ค่า ใหม่ ใช้ขาตัง้ กล้องเพื่อป้องกันภาพเบลอเมื่อใช้ความเร็วชัตเตอร์ตา่ ตัวแสดง (เตือนSteadyShot) ไม่ปรากฏในโหมดกาหนดความเร็วชัตเตอร์ เมื่อตัง้ ค่าความเร็วชัตเตอร์ที่ 1 วินาทีขนึ้ ไป การลดสัญญาณรบกวนจะทางานหลังจาก ถ่ายภาพเป็ นเวลานานเท่ากับระยะเวลาที่เปิ ดชัตเตอร์ อย่างไรก็ตาม ท่านไม่สามารถ ถ่ายภาพได้อีกขณะที่ระบบลดจุดรบกวนกาลังทางาน ความสว่างของภาพบนหน้าจอ อาจจะแตกต่างจากภาพจริงที่ถ่ายได้ คำแนะนำ เมื่อใช้ความเร็วชัตเตอร์ที่เร็วขึน้ วัตถุที่เคลื่อนที่ เช่น คนวิ่ง รถ หรือละอองนา้ ทะเล จะ ปรากฏเสมือนว่าหยุดนิง่ อยู่กบั ที่ เมื่อใช้ชตั เตอร์ความเร็วตา่ ลง รอยการเคลื่อนไหวของ วัตถุในภาพจะปรากฏ เพื่อสร้างภาพที่ดเู ป็ นธรรมชาติและมีการเคลื่อนไหว

• • •

กาหนดค่ารูรับแสง ท่านสามารถถ่ายภาพโดยปรับรูรบั แสงทาให้ระยะในโฟกัสเปลี่ยนไป หรือปรับฉากหลังให้ เบลอสามารถเปลี่ยนค่ารูรบั แสงได้ในขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [กาหนดค่ารูรบั แสง] 2. เลือกค่าที่ตอ้ งการโดยหมุนปุ่ มควบคุม •

ค่า F น้อยลง: วัตถุจะอยู่ในโฟกัส แต่สิ่งอื่นที่อยู่หน้าหรือหลังวัตถุจะเบลอ ค่า F สูงขึน้ : วัตถุรวมถึงสิ่งที่อยู่เบื้องหน้าและเบื้องหลังจะชัดทัง้ หมด


3. ปรับโฟกัสและถ่ายภาพวัตถุ ความเร็วชัตเตอร์จะถูกปรับอัตโนมัตเิ พื่อให้ได้ระดับแสงที่เหมาะสม •

หมำยเหตุ ถ้าหากไม่สามารถได้ระดับแสงที่เหมาะสมหลังตัง้ ค่า ค่าความเร็ วชัตเตอร์ในหน้าจอ ถ่ายภาพจะกะพริบ ถึงแม้ทา่ นจะสามารถถ่ายภาพได้ดว้ ยค่านัน้ ขอแนะนาให้ทาการตัง้ ค่า ใหม่ ความสว่างของภาพบนหน้าจออาจจะแตกต่างจากภาพจริงที่ถ่ายได้ คำแนะนำ ค่า F ที่นอ้ ยลง (เปิ ดรูรบั แสงให้กว้างขึน้ ) จะทาให้ระยะที่วตั ถุอยู่ในโฟกัสแคบลง ทาให้ทา่ น สามารถวางวัตถุให้มีโฟกัสชัดเจน แต่เบลอสิ่งของอื่นที่อยู่ดา้ นหน้าและหลังวัตถุ (ระยะชัด ลึกตืน้ ลง) ค่า F ที่สงู ขึน้ (ปิ ดรูรบั แสงให้แคบลง) จะทาให้ระยะที่วตั ถุอยู่ในโฟกัสกว้างขึน้ ทาให้ทา่ นสามารถถ่ายภาพตลอดความลึกของทิวทัศน์ (ระยะชัดลึกลึกมากขึน้ ) ปรับระดับแสงเอง ท่านสามารถถ่ายภาพโดยใช้การตัง้ ค่าระดับแสงที่ตอ้ งการโดยปรับทัง้ ความเร็วชัตเตอร์ และค่ารูรบั แสงสามารถเปลี่ยนความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสงได้ในขณะบันทึกภาพ เคลื่อนไหว 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [ปรับระดับแสงเอง] 2. กดที่ดา้ นล่างของปุ่ มควบคุม เพื่อเลือกความเร็วชัตเตอร์หรือค่ารูรบั แสง จากนัน้ หมุน ปุ่ มควบคุม เพื่อเลือกค่า เมื่อ [ISO] ถูกตัง้ ไว้เป็ นอย่างอื่นนอกเหนือจาก [ISO AUTO] ให้ใช้ MM (วัดแสงแบบแมน นวล) เพื่อตรวจสอบค่าระดับแสง ไปทางด้าน +: ภาพสว่างขึน้ ไปทางด้าน -: ภาพจะมืดลง 0: ระดับแสงที่ผลิตภัณฑ์คิดว่าเหมาะสม 3. ปรับโฟกัสและถ่ายภาพวัตถุ

• •

หมำยเหตุ เมื่อตัง้ [ISO] ไว้ที่ [ISO AUTO] ค่า ISO จะเปลี่ยนโดยอัตโนมัตเิ พื่อให้ได้ระดับแสงที่ เหมาะสมโดยใช้ค่ารูรบั แสงและความเร็วชัตเตอร์ที่ทา่ นได้ตงั้ ไว้ ถ้าหากค่ารูรบั แสงและ ความเร็วชัตเตอร์ที่ทา่ นตัง้ ไม่สามารถให้ระดับแสงที่เหมาะสม ตัวแสดงค่า ISO จะกะพริบ ตัวแสดงการวัดแสงแบบแมนนวลจะไม่ปรากฏขึน้ เมื่อตัง้ [ISO] ไว้ที่ [ISO AUTO] เมื่อปริมาณแสงแวดล้อมสูงเกินช่วงการวัดแสงของวัดแสงแบบแมนนวล ตัวแสดงการวัด แสงแบบแมนนวลจะกะพริบ


• •

ตัวแสดง (เตือนSteadyShot) ไม่ปรากฏในโหมดปรับระดับแสงเอง ความสว่างของภาพบนหน้าจอ อาจจะแตกต่างจากภาพจริงที่ถ่ายได้ BULB ท่านสามารถถ่ายภาพการเคลื่อนไหวของวัตถุที่เคลื่อนไหวด้วยการเปิ ดหน้ากล้องนานๆ BULB เหมาะกับการถ่ายภาพรอยแสง เช่น ดอกไม้ไฟ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [ปรับระดับแสงเอง] 2. กดทีด่ า้ นล่างของปุ่ มควบคุม เพื่อเลือกความเร็วชัตเตอร์ จากนัน้ หมุนปุ่ มควบคุมทวน เข็มนาฬิกาจนกระทัง่ [BULB] ปรากฏขึน้ 3. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ เพื่อปรับโฟกัส 4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงค้างไว้นานเท่าระยะเวลาที่ตอ้ งการถ่ายภาพ ชัตเตอร์จะเปิ ดตลอดเวลาที่ชตั เตอร์ถกู กด

• •

• • • • •

หมำยเหตุ เนือ่ งจากความเร็วชัตเตอร์ชา้ ลง และกล้องมีแนวโน้มที่จะสัน่ ได้งา่ ย ขอแนะนาให้ทา่ นใช้ขา ตัง้ กล้อง ยิ่งเปิ ดรับแสงนาน จุดรบกวนบนภาพก็จะยิ่งมีมากขึน้ หลังถ่ายภาพ จะมีการลดสัญญาณรบกวนในเวลานานเท่ากับระยะเวลาที่ชตั เตอร์เปิ ดอยู่ อย่างไรก็ตาม ท่านไม่สามารถถ่ายภาพได้อีกขณะที่ระบบลดจุดรบกวนกาลังทางาน ท่านไม่สามารถตัง้ ความเร็วชัตเตอร์เป็ น [BULB] ในสถานการณ์ตอ่ ไปนี:้ เมื่อเปิ ดใช้ฟังก์ชนั ่ [ลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยยิ้ม] เมื่อเปิ ดใช้ฟังก์ชนั ่ [ออโต้ HDR] เมื่อตัง้ [เอฟเฟ็ คของภาพ] ไว้ที่ [ภาพวาด HDR] หรือ [สีเดียวโทนเข้ม] เมื่อตัง้ ฟั งก์ชนั ่ [โหมดขับเคลื่อน] ไว้ที่ [ถ่ายภาพต่อเนือ่ ง], [คร่อมต่อเนือ่ ง], [ตัง้ เวลา (ต่อเนือ่ ง)] หากท่านใช้ฟังก์ชนั ่ ที่กล่าวมาด้านบน เมื่อตัง้ ความเร็วชัตเตอร์ไว้ที่ [BULB]ความเร็วชัต เตอร์จะถูกตัง้ ค่าไว้ชวั ่ คราวที่ 30 วินาที คำแนะนำ ภาพที่ถ่ายในโหมด [BULB] มีแนวโน้มที่จะเบลอ เราขอแนะนาให้ทา่ นใช้ขาตัง้ หรือรีโมท คอนโทรล (แยกจาหน่าย) ที่มีฟังก์ชนั ่ ล็อคปุ่ มชัตเตอร์ ภาพเคลื่อนไหว ท่านสามารถปรับความเร็วชัตเตอร์ หรือค่ารูรบั แสง เป็ นค่าที่ตอ้ งการสาหรับถ่ายภาพ เคลื่อนไหว ท่านยังสามารถตรวจสอบมุมภาพก่อนถ่ายภาพ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดถ่ายภาพ] → [ภาพเคลื่อนไหว]


2. กดปุ่ ม MOVIE เพื่อเริ่มการบันทึกภาพ •

กดปุ่ ม MOVIE อีกครัง้ เพื่อยุตกิ ารบันทึก รำยละเอียดรำยกำรเมนู โปรแกรมอัตโนมัต: ให้ทา่ นถ่ายภาพโดยระดับแสง (ทัง้ ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสง) ถูกปรับอัตโนมัติ การตัง้ ค่าอื่นๆ สามารถปรับได้ดว้ ยตัวเอง และการตัง้ ค่าจะถูกจัดเก็บไว้ กาหนดค่ารูรับแสง: ให้ทา่ นถ่ายภาพหลังจากปรับค่ารูรบั แสงด้วยตัวเอง กาหนดชัตเตอร์สปี ด: ให้ทา่ นถ่ายภาพหลังจากปรับค่าความเร็วชัตเตอร์ดว้ ยตัวเอง ปรับระดับแสงเอง: ให้ทา่ นถ่ายภาพหลังจากปรับค่าระดับแสง (ทัง้ ความเร็วชัตเตอร์และค่ารูรบั แสง) ด้วย ตัวเอง

การใช้ระบบซ ูม ขยายภาพด้วยก้าน W/T (ซูม) ขณะถ่ายภาพ 1. ขยายภาพด้วยก้าน W/T (ซูม) ขณะถ่ายภาพ •

เลื่อนก้าน W/T (ซูม) ไปทางด้าน T เพื่อซูมเข้า และไปทางด้าน W เพื่อซูมออก • เมื่อติดเลนส์ซม ู ท่านยังสามารถซูมบนตัวเลนส์ได้อีกด้วย เมื่อติดมอเตอร์เลนส์ซมู เลื่อนก้านปรับซูมของเลนส์ซมู เพื่อขยายวัตถุ คำแนะนำ หากท่านตัง้ [ออพติคลั ซูมเท่านัน้ ] เป็ นค่าอื่นนอกเหนือจาก [ตัง้ ค่าซูม] ท่านจะสามารถซูม ภาพได้เกินช่วงระยะของการซูมด้วยเลนส์ ซูม ขยายภาพด้วยก้าน W/T (ซูม) ขณะถ่ายภาพ 1. ขยายภาพด้วยก้าน W/T (ซูม) ขณะถ่ายภาพ •

เลื่อนก้าน W/T (ซูม) ไปทางด้าน T เพื่อซูมเข้า และไปทางด้าน W เพื่อซูมออก • เมื่อติดเลนส์ซม ู ท่านยังสามารถซูมบนตัวเลนส์ได้อีกด้วย เมื่อติดมอเตอร์เลนส์ซมู เลื่อนก้านปรับซูมของเลนส์ซมู เพื่อขยายวัตถุ คำแนะนำ หากท่านตัง้ [ออพติคลั ซูมเท่านัน้ ] เป็ นค่าอื่นนอกเหนือจาก [ตัง้ ค่าซูม] ท่านจะสามารถซูม ภาพได้เกินช่วงระยะของการซูมด้วยเลนส์


ระบบซูมต่างๆของกล้องนี้ ระบบซูมของกล้องช่วยให้ซมู ด้วยกาลังขยายสูงขึน้ โดยรวมผลของการซูมหลายๆระบบ ไอคอนที่แสดงบนหน้าจอจะเปลี่ยนแปลงไปตามระบบซูมที่เลือก

• • • • • •

• • • •

(1) ระยะซ ูมด้วยเลนส์ ซูมภาพในช่วงซูมของเลนส์ เมื่อติดเลนส์เพาเวอร์ซมู แถบซูมของขอบเขตการซูมด้วยเลนส์จะปรากฏขึน้ เมื่อติดเลนส์ชนิดอื่นนอกเหนือจากเลนส์เพาเวอร์ซมู แถบซูมของขอบเขตการซูมด้วยเลนส์ จะไม่แสดงขึน้ (2) ขอบเขตการซูมอัจฉริยะ ( ) ซูมภาพโดยไม่ทาให้คณ ุ ภาพดัง้ เดิมด้อยลงโดยการครอบตัดภาพบางส่วน (เฉพาะเมื่อ ขนาดของภาพคือ [M] หรือ [S]) เท่านัน้ (3) ขอบเขตซ ูมภาพคมชัด ( ) ซูมภาพโดยใช้การประมวลผลภาพเพื่อที่คณ ุ ภาพไม่ดอ้ ยลงมาก ตัง้ ค่า [ตัง้ ค่าซูม] ไป ที่ [เปิ ด:ซูมภาพคมชัด] หรือ [เปิ ด:ซูมดิจิตอล] ก่อน (4) ระยะซ ูมดิจิตอล ( ) ท่านสามารถขยายภาพด้วยการประมวลผลภาพ เมื่อท่านตัง้ [เปิ ด:ซูมดิจิตอล] เป็ น [ตัง้ ค่าซูม] ท่านสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ ซูมนี้ หมำยเหตุ ค่าปกติของ [ ขนาดภาพ] คือ [L] ในการใช้ซมู อัจฉริยะ จะต้องเปลี่ยน [ ขนาด ภาพ] เป็ น [M] หรือ [S] ฟั งก์ชนั ่ ซูมอื่นนอกเหนือจากการซูมด้วยเลนส์ จะใช้งานไม่ได้ในสถานการณ์ตอ่ ไปนี:้ [ถ่ายภาพพาโนรามา] [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] ถูกตัง้ ไว้ที่ [ลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยยิ้ม] [ คุณภาพ] ถูกตัง้ ไว้ที่ [RAW] หรือ [RAW & JPEG] ท่านไม่สามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ สมาร์ทซูมกับภาพเคลื่อนไหว เมื่อท่านใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอื่นที่ไม่ใช่การซูมด้วยเลนส์ [โหมดวัดแสง] จะถูกกาหนดไว้ที่ [หลาย จุด] เมื่อท่านใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอื่นที่ไม่ใช่การซูมด้วยเลนส์ จะไม่สามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ ต่อไปนี้ [ค้นหาภาพใบหน้า] [AF ล็อคเป้าหมาย] [ จัดเฟรมอัตโนมัต]ิ


ตัง้ ค่าซูม ท่านสามารถเลือกตัง้ ค่าการซูมของกล้อง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าซูม] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู ออพติคลั ซ ูมเท่านัน้ : การซูมด้วยเลนส์ถกู เปิ ดใช้งาน ท่านสามารถใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอัจฉริยะได้เมื่อตัง้ ค่า [ ขนาดภาพ] ไปที่ [M] หรือ [S] เปิ ด:ซูมภาพคมชัด (การตัง้ ค่าเริม ่ ต้น): ถึงแม้จะเกินช่วงระยะซูมของการซูมด้วยเลนส์ กล้องจะขยายภาพภายในระยะที่ไม่ทาให้ คุณภาพของภาพด้อยลงมาก เปิ ด:ซูมดิจิตอล: เมื่อทาการซูม [ ซูมภาพคมชัด] เกินกว่าช่วงอัตราซูม ผลิตภัณฑ์จะขยายภาพให้เป็ น ขนาดใหญ่ที่สดุ อย่างไรก็ตาม คุณภาพของภาพจะด้อยลง หมำยเหตุ ตัง้ [ออพติคลั ซูมเท่านัน้ ] ถ้าหากท่านต้องการขยายภาพภายในช่วงที่คณ ุ ภาพของภาพไม่ ด้อยลง เกีย่ วกับสเกลปรับซูม อัตราซูมที่ใช้ร่วมกับการซูมของเลนส์จะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดภาพที่เลือก เมื่ อ [ อัตรำส่วนภำพ] คือ [3:2] [ตัง้ ค่าซูม] : [ออพติคลั ซ ูมเท่านัน้ (รวมสมาร์ทซมู )] [

ขนาดภาพ] : L -, M 1.4× , S 2×

[ตัง้ ค่าซูม] : [เปิ ด:ซูมภาพคมชัด] [

ขนาดภาพ] : L 2× , M 2.8× , S 4×

[ตัง้ ค่าซูม] : [เปิ ด:ซูมดิจิตอล] [

ขนาดภาพ] : L 4× , M 5.7× , S 8×

การใช้แฟลช การใช้งานแฟลช ในบริเวณที่มืด ใช้แฟลชเพื่อทาให้วตั ถุสว่างขึน้ ขณะถ่ายภาพและเพื่อป้องกันอาการกล้อง สัน่ ขณะถ่ายภาพย้อนแสงอาทิตย์ ใช้แฟลชเพื่อส่องวัตถุยอ้ นแสงให้สว่างขึน้


1. กดปุ่ ม

(ยกแฟลช) เพื่อยกแฟลชขึน้

2. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุด

• • • • • •

เมื่ อท่ำนไม่ใช้แฟลช เมื่อไม่ได้ใช้งานแฟลช ให้กดแฟลชกลับเข้าไปในตัวกล้อง หมำยเหตุ ถ้าท่านยิงแฟลชก่อนที่แฟลชจะยกขึน้ จนสุด อาจทาให้การทางานผิดปกติได้ ท่านไม่สามารถใช้แฟลชขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว ขณะกาลังชาร์จแฟลช จะกะพริบ หลังสิ้นสุดการชาร์จ ไอคอนแฟลชจะติดสว่าง แสงของแฟลชอาจถูกปิ ดกัน้ โดยเลนส์ที่ตดิ ตัง้ มุมของภาพที่บนั ทึกอาจจะเป็ นเงามืด ทัง้ นีข้ นึ้ กับเลนส์ เมื่อปรับเอียงจอภาพขึน้ มากกว่า 90 องศา จะใช้งานปุ่ ม (ยกแฟลชขึน้ ) ได้ยาก ให้ยก แฟลชขึน้ ก่อนทาการปรับมุมจอภาพ เมื่อใช้แฟลชถ่ายภาพตัวท่านเอง ระวังอย่ามองตรงไปที่แสงแฟลช เนือ่ งจากแฟลชจะ ปรากฏขึน้ ในระยะใกล้มาก เพื่อป้องกันไม่ให้แฟลชกระทบกับจอภาพ เมื่อท่านดันแฟลชก ลับเข้าตัวกล้องหลังจากการใช้งาน ให้หมุนจอภาพกลับไปที่ตาแหน่งเดิมก่อน โหมดแฟลช ท่านสามารถตัง้ โหมดการทางานของแฟลช 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดแฟลช] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ปิ ดแฟลช: แฟลชไม่ทางาน แฟลชอัตโนมัติ:


แฟลชทางานในบริเวณที่มืดหรือเมื่อถ่ายย้อนแสง ใช้แฟลชเสมอ: แฟลชทางานทุกครัง้ ที่กดชัตเตอร์ ชัตเตอร์ชา้ : แฟลชทางานทุกครัง้ ที่กดชัตเตอร์ ระบบชัตเตอร์ชา้ ช่วยให้ทา่ นถ่ายภาพวัตถุและ ฉากหลังได้ชดั เจน โดยใช้ความเร็วชัตเตอร์ชา้ ลง จังหวะหลัง: แฟลชทางานก่อนจะเปิ ดรับแสงเสร็จเรียบร้อยทุกครัง้ ที่กดชัตเตอร์ การถ่ายภาพ จังหวะหลัง ช่วยให้ท่านถ่ายภาพรอยการเคลื่อนที่ของวัตถุได้เป็ นธรรมชาติ เช่น รถที่กาลังวิ่ง หรือคนกาลังเดิน • •

หมำยเหตุ ค่าเริ่มต้นขึน้ กับโหมดถ่ายภาพ โหมดการทางานของแฟลชที่ใช้งานได้ขนึ้ กับโหมดถ่ายภาพ ชดเชยแสงแฟลช ปรับปริมาณแสงแฟลชในช่วงระหว่าง –2.0 EV ถึง +2.0 EV การชดเชยแสงแฟลชมีผลต่อปริมาณแสงแฟลชเท่านัน้ การชดเชยระดับแสง จะปรับ ปริมาณแสงแฟลชควบคู่ไปกับการปรับค่าความเร็วชัตเตอร์และรูรบั แสง 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ชดเชยแสงแฟลช] → ค่าที่ตอ้ งการ หากเลือกค่าสูง (ด้าน +) ระดับแสงแฟลชจะสูงขึ้น หากเลือกค่าตา่ (ด้าน – ) ระดับแสง แฟลชจะตา่ ลง

หมำยเหตุ อาจจะไม่เห็นผลของระดับแสงแฟลชที่สงู ขึน้ เนือ่ งจากปริมาณแสงแฟลชมีจากัด ในกรณี ที่วตั ถุอยู่นอกระยะสูงสุดของแฟลช ถ้าหากวัตถุอยู่ใกล้มาก อาจจะไม่เห็นผลของระดับ แสงแฟลชที่ลดลง

การเลือกโหมดการแสดงผลบนหน้าจอ การสลับการแสดงผลบนหน้าจอ (การถ่ายภาพ) ท่านสามารถแก้ไขเนือ้ หาที่แสดงบนหน้าจอ 1. กดปุ่ ม DISP (การตัง้ ค่าแสดงผล)


ทุกครัง้ ที่ท่านกดปุ่ ม DISP การแสดงข้อมูลถ่ายภาพจะเปลี่ยนแปลงดังนี:้ ตัวแสดงกราฟิ ก → แสดงข้อมูลทัง้ หมด → ไม่แสดงข้อมูล → ฮิสโตแกรม → ตัว แสดงกราฟิ ก ตัวแสดงกราฟิ ก

แสดงข้อมูลทัง้ หมด

ไม่แสดงข้อมูล

ฮิสโตแกรม


โหมดแสดงหน้าจอบางโหมดใช้งานไม่ได้ในการตัง้ ค่าเริ่มต้น หากต้องการเปลี่ยนโหมดแสดงหน้าจอ กด MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ปุ่ ม DISP] และเปลี่ยนการตัง้ ค่า •

หมำยเหตุ ฮิสโตแกรมจะไม่ปรากฏขึน้ ขณะถ่ายภาพพาโนรามา คำแนะนำ หากต้องการซ่อนเส้นตารางที่แสดงระหว่างการถ่ายภาพนิง่ เลือก MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [เส้นตาราง] → [ปิ ด] หากต้องการซ่อนเครื่องหมายที่แสดงระหว่างการบันทึกภาพเคลื่อนไหว เลือก MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ แสดงตัวกาหนด] → [ปิ ด]

การเลือกขนาด/ค ุณภาพของภาพนิ่ง ขนาดภาพ (ภาพนิ่ง) ยิ่งภาพมีขนาดใหญ่ขนึ้ ภาพจะมีรายละเอียดมากขึน้ เมื่อพิมพ์บนแผ่นกระดาษขนาดใหญ่ ยิ่งภาพมีขนาดเล็ก ก็จะสามารถถ่ายภาพได้จานวนมากขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ ขนาดภาพ] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ขนาดภาพเมื่อ [ อัตราส่วนภาพ] เป็ น 3:2 L: 24M 6000× 4000 พิกเซล M: 12M 4240× 2832 พิกเซล S: 6.0M 3008× 2000 พิกเซล ขนาดภาพเมื่อ [

อัตราส่วนภาพ] เป็ น 16:9

L: 20M 6000× 3376 พิกเซล M: 10M 4240× 2400 พิกเซล S: 5.1M 3008× 1688 พิกเซล •

หมำยเหตุ เมื่อตัง้ ค่า [ จะตรงกับ [L]

คุณภาพ] ไว้ที่ [RAW] หรือ [RAW & JPEG] ขนาดภาพของไฟล์ภาพ RAW


อัตราส่วนภาพ (ภาพนิ่ง) ตัง้ ค่าสัดส่วนภาพของภาพนิง่ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [

อัตราส่วนภาพ] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู 3:2 (ค่าเริม่ ต้น): เหมาะกับการพิมพ์ภาพปกติ 16:9: สาหรับดูบนโทรทัศน์ความละเอียดสูง ค ุณภาพ (ภาพนิ่ง) เลือกรูปแบบการบีบอัดข้อมูลของภาพนิง่ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [

คุณภาพ] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู RAW: รูปแบบไฟล์: RAW (บันทึกด้วยรูปแบบการบีบอัดข้อมูล RAW) ไม่มีการประมวลผลทางดิจิตอลกับไฟล์รปู แบบนี้ เลือกรูปแบบนีเ้ พื่อประมวลผลภาพบน เครื่องคอมพิวเตอร์สาหรับการใช้งานอย่างมืออาชีพ ขนาดภาพจะถูกกาหนดไว้ที่ขนาดสูงสุด ขนาดภาพจะไม่ปรากฏบนหน้าจอ RAW & JPEG: รูปแบบไฟล์: RAW (บันทึกด้วยรูปแบบการบีบอัดข้อมูล RAW) + JPEG ภาพ RAW และภาพ JPEG จะถูกบันทึกพร้อมๆกัน เหมาะกับเมื่อท่านต้องการไฟล์ภาพ 2 ไฟล์ คือ JPEG สาหรับเปิ ดดู และ RAW สาหรับนาไปปรับแก้ไข คุณภาพของภาพ JPEG ถูกตัง้ ไปที่ [ละเอียด] ละเอียด (ค่าเริม่ ต้น): รูปแบบไฟล์: JPEG ภาพถูกบันทึกโดยบีบอัดในรูปแบบ JPEG ปกติ: รูปแบบไฟล์: JPEG ภาพถูกบันทึกโดยบีบอัดในรูปแบบ JPEG เนือ่ งจากอัตราการบีบอัดข้อมูลของ [ปกติ]สูง กว่าของ [ละเอียด] ขนาดไฟล์ของ [ปกติ] จึงเล็กกว่าของ [ละเอียด] ทาให้สามารถบันทึก ไฟล์ได้จานวนมากกว่าบนการ์ดเมโมรี่ 1 แผ่น แต่คณ ุ ภาพของภาพจะด้อยกว่า


หมำยเหตุ ถ้าท่านจะไม่ทาการปรับแต่งภาพบนคอมพิวเตอร์ เราขอแนะนาให้ทา่ นบันทึกภาพใน รูปแบบ JPEG ท่านไม่สามารถใส่เครื่องหมาย DPOF (สัง่ พิมพ์) ลงบนภาพรูปแบบ RAW พาโนรามา: ขนาด ตัง้ ขนาดภาพเมื่อถ่ายภาพพาโนรามา ขนาดภาพแตกต่างกันไปตามการตัง้ ค่า [พาโนรามา: ทิศทาง] 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [พาโนรามา: ขนาด] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู เมื่อ [พาโนรามา: ทิศทาง] ถูกตัง้ ไว้ที่ [ขึน้ ] หรือ [ลง] ปกติ: 3872× 2160 กว้าง: 5536× 2160

เมื่อ [พาโนรามา: ทิศทาง] ถูกตัง้ ไว้ที่ [ซ้าย] หรือ [ขวา] ปกติ: 8192× 1856 กว้าง: 12416× 1856 พาโนรามา: ทิศทาง ตัง้ ค่าทิศทางการหมุนกล้องเมื่อถ่ายภาพพาโนรามา 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [พาโนรามา: ทิศทาง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ขวา (ค่าเริม่ ต้น): หมุนกล้องจากซ้ายไปขวา ซ้าย: หมุนกล้องจากขวาไปซ้าย ขึ้น: หมุนกล้องจากล่างขึน้ บน ลง: หมุนกล้องจากบนลงล่าง

การปรับโฟกัส โหมดโฟกัส เลือกวิธีโฟกัสให้เหมาะกับการเคลื่อนไหวของวัตถุ


1. MENU →

• • •

(ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดโฟกัส] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู (AF ครัง้ เดียว): กล้องจะล็อคโฟกัสเมื่อทาการปรับโฟกัสได้สาเร็จ ใช้ [AF ครัง้ เดียว] เมื่อวัตถุไม่เคลื่อนไหว (AF อัตโนมัติ) (ค่าเริ่มต้น): [AF ครัง้ เดียว] และ [AF ต่อเนือ่ ง] จะเปลี่ยนไปตามการเคลื่อนไหวของวัตถุ เมื่อกดปุ่ มชัต เตอร์ลงครึ่งหนึง่ ผลิตภัณฑ์จะล็อคโฟกัสเมื่อกาหนดแล้วว่าวัตถุไม่เคลื่อนไหว หรือโฟกัส ต่อเมื่อวัตถุเคลื่อนไหวแล้ว ระหว่างการถ่ายภาพต่อเนือ่ ง ผลิตภัณฑ์จะถ่ายภาพด้วย AF ต่อเนือ่ งจากภายถ่ายที่สอง โดยอัตโนมัติ (AF ต่อเนื่อง): กล้องทาการปรับโฟกัสต่อไป ขณะที่กดปุ่ มชัตเตอร์ลงค้างไว้ครึ่งหนึง่ ใช้ค่านีเ้ มื่อวัตถุ กาลังเคลื่อนไหว (DMF): ให้ทา่ นใช้งาน การปรับโฟกัสด้วยตนเอง ควบคู่กบั การปรับโฟกัสอัตโนมัติ (โฟกัสด้วยตัวเอง): ปรับโฟกัสด้วยตัวเอง หมำยเหตุ ถ้าหากวัตถุอยู่ใกล้เกินไป ภาพอาจจะมีรอยฝุ่ นหรือคราบลายนิว้ มือที่ตดิ บนเลนส์ เช็ด เลนส์ดว้ ยผ้านุม่ ฯลฯ เมื่อตัง้ [โหมดโฟกัส] ไว้ที่ [AF ต่อเนือ่ ง] เสียงบีปจะไม่ดงั เมื่อปรับโฟกัสได้สาเร็จ [AF อัตโนมัต]ิ ใช้งานได้เมื่อใช้เลนส์ที่รองรับ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัสเท่านัน้ เมื่อ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] กรอบค้นหาระยะโฟกัสอาจ เปลี่ยนไปหลังจากโฟกัสได้แล้วโดยใช้โหมด [AF อัตโนมัต]ิ บริเวณปรับโฟกัส เลือกบริเวณปรับโฟกัส ใช้ฟังก์ชนั ่ นีเ้ มื่อปรับโฟกัสได้ยากในโหมดโฟกัสอัตโนมัติ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [บริเวณปรับโฟกัส] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู กว้าง: ปรับโฟกัสไปที่วตั ถุในทุกระยะของภาพโดยอัตโนมัติ เมื่อท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ในโหมดถ่ายภาพนิง่ กรอบสีเขียวจะปรากฏ รอบบริเวณที่อยู่ในโฟกัส


โซน: เลือกโซนบนจอภาพที่ตอ้ งการจะโฟกัส โซนหนึง่ ประกอบด้วยเก้าพื้นที่โฟกัส โดย ผลิตภัณฑ์จะเลือกพื้นที่สาหรับทาการโฟกัสโดยอัตโนมัติ กลางภาพ: ปรับโฟกัสไปที่วตั ถุที่อยู่กึ่งกลางของภาพโดยอัตโนมัติ เมื่อใช้งานร่วมกับฟั งก์ชนั ่ ล็อค AF ท่านจะสามารถจัดองค์ประกอบภาพตามต้องการ จุดที่ปรับได้: ให้ทา่ นเลื่อนกรอบค้นหาระยะ AF ไปยังจุดที่ตอ้ งการบนหน้าจอ และปรับโฟกัสบน วัตถุขนาดเล็กมากในบริเวณแคบๆ บนหน้าจอถ่ายภาพจุดที่ปรับได้ทา่ นสามารถเปลี่ยนขนาดกรอบค้นหาระยะ AF ได้โดย หมุนปุ่ มควบคุม

AF ล็อคเป้าหมาย: เมื่อกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ และค้างไว้ ผลิตภัณฑ์จะติดตามวัตถุภายในบริเวณ โฟกัสอัตโนมัตทิ ี่เลือกไว้ ชีเ้ คอร์เซอร์ไปที่ [AF ล็อคเป้าหมาย] บนหน้าจอตัง้ ค่า [บริเวณปรับโฟกัส] จากนัน้ เลือกบริเวณเริ่มติดตามที่ตอ้ งการโดยใช้ดา้ นซ้าย/ ขวาของปุ่ มควบคุม ท่านสามารถย้ายบริเวณที่เริ่มติดตามไปยังจุดที่ตอ้ งการ โดย กาหนดพื้นที่เป็ นจุดที่ปรับได้ บนหน้าจอถ่ายภาพจุดที่ปรับได้ทา่ นสามารถเปลี่ยนขนาดกรอบค้นหาระยะ AF ได้โดย หมุนปุ่ มควบคุม •

หมำยเหตุ เมื่อ [โหมดโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ที่ [AF ต่อเนือ่ ง] และ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] กรอบค้นหาระยะโฟกัสอาจเปลี่ยนไปหลังจากโฟกัสได้แล้ว เมื่อ [ ไฟช่วย AF] ถูกตัง้ ไว้ที่ [อัตโนมัต]ิ และ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] กรอบค้นหาระยะ AF อาจปรากฏขึน้ เป็ นเส้นประ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัส เมื่อมีจดุ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัสภายในพื้นที่โฟกัสอัตโนมัติ ผลิตภัณฑ์จะใช้ โฟกัสอัตโนมัตผิ สมระหว่าง AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัสและ AF คอนทราสต์


หมำยเหตุ เมื่อตัง้ ค่ารูรบั แสงไว้ที่ F13 ขึน้ ไป ท่านไม่สามารถใช้ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัส ใช้ได้เฉพาะ AF คอนทราสต์เท่านัน้ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัสใช้ได้งานเมื่อติดเลนส์ที่ใช้ร่วมกันได้เท่านัน้ หากท่านใช้ เลนส์ที่ไม่รองรับ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัส ท่านจะไม่สามารถใช้ [AF อัตโนมัต]ิ , [ ช่วงเวลา AF ติดตาม] หรือ [ ความเร็วขับ AF] นอกจากนี้ แม้เมื่อท่านใช้เลนส์ที่ใช้ร่วมกันได้ซึ่งซื้อมาก่อนหน้านี้ AF แบบตรวจจับเฟส ระนาบโฟกัส อาจไม่ทางาน เว้นแต่ทา่ นจะได้อพั เดตเลนส์แล้ว เมื่อท่านติดเลนส์ A-mount (แยกจาหน่าย) ด้วยอะแดปเตอร์แปลงเมาท์ (แยกจาหน่าย) ท่านจะไม่สามารถใช้ AF แบบตรวจจับเฟสระนาบโฟกัสของผลิตภัณฑ์นี้ AF ล็อคเป้าหมายกลาง เมื่อท่านกดปุ่ มตรงกลาง กล้องจะตรวจจับวัตถุที่อยู่กึ่งกลางหน้าจอและติดตามวัตถุนนั้ ต่อไป 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [AF ล็อคเป้าหมายกลาง] → [เปิ ด] 2. จัดให้กรอบเป้า (A) อยู่เหนือวัตถุแล้วกด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ มควบคุม ยุตกิ าร ติดตามโดยเลือก MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [AF ล็อคเป้าหมาย กลาง] → [ปิ ด]

3. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อถ่ายภาพ • • • • • •

หมำยเหตุ [AF ล็อคเป้าหมายกลาง] อาจไม่ทางานอย่างถูกต้องในสถานการณ์ตอ่ ไปนี:้ วัตถุเคลื่อนไหวเร็วเกินไป วัตถุมีขนาดเล็กหรือใหญ่เกินไป ไม่มีคอนทราสต์ระหว่างวัตถุกบั ฉากหลัง มืด แสงโดยรอบมีการเปลี่ยนแปลง


• • • • • • •

AF ล็อคเป้าหมายไม่ทางานในสถานการณ์ตอ่ ไปนี้ ในโหมด [ถ่ายภาพพาโนรามา] เมื่อตัง้ [เลือกบรรยากาศ] ไว้ที่ [กลางคืน ถือด้วยมือ] หรือ [ป้องกันภาพสัน่ ไหว] เมื่อถ่ายภาพในโหมดโฟกัสด้วยตัวเอง เมื่อใช้งานซูมดิจิตอล เมื่อวัตถุที่จะติดตามหายไปจากหน้าจอ AF ล็อคเป้าหมายจะถูกยกเลิก เมื่อตัง้ ค่า [AF ล็อคเป้าหมายกลาง] ไว้ที่ [เปิ ด] กล้องอาจไม่สามารถกลับมาติดตามต่อได้ ชัว่ ขณะหลังจากที่สญ ู เสียการติดตามวัตถุ ล็อคโฟกัส ถ่ายภาพโดยล็อคโฟกัสบนวัตถุที่ตอ้ งการ ในโหมดโฟกัสอัตโนมัติ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดโฟกัส] → [AF ครัง้ เดียว] 2. จัดให้วตั ถุอยู่ในบริเวณ AF แล้วกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ โฟกัสจะถูกล็อค 3. ขณะที่กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ค้างไว้ จัดให้วัตถุกลับไปอยู่ตาแหน่งเดิมเพื่อจัด องค์ประกอบภาพใหม่ 4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อถ่ายภาพ โฟกัสด้วยตัวเอง เมื่อปรับโฟกัสได้ยากในโหมดโฟกัสอัตโนมัติ ท่านสามารถทาการปรับโฟกัสด้วยตัวเอง 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดโฟกัส] → [โฟกัสด้วยตัวเอง] 2. หมุนแหวนปรับโฟกัสเพื่อให้ได้โฟกัสคมชัด

เมื่อท่านหมุนแหวนปรับโฟกัส ระยะโฟกัสจะปรากฏบนหน้าจอ 3. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อถ่ายภาพ


โฟกัสด้วยตัวเองโดยตรง (DMF) ท่านสามารถทาการปรับละเอียดด้วยตัวเองหลังล็อคโฟกัสแล้ว ท่านสามารถโฟกัสบนวัตถุได้อย่างรวดเร็ว แทนที่จะโฟกัสด้วยตัวเองตัง้ แต่ตน้ ฟั งก์ชนั ่ นี้ ช่วยอานวยความสะดวก เช่น ในการถ่ายภาพมาโคร 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดโฟกัส] → [DMF] 2. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ เพื่อปรับโฟกัสอัตโนมัติ 3. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ค้างไว้ แล้วหมุนวงแหวนปรับโฟกัสเพื่อให้ได้โฟกัสที่คมชัด ยิ่งขึน้

เมื่อท่านหมุนแหวนปรับโฟกัส ระยะโฟกัสจะปรากฏบนหน้าจอ 4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อถ่ายภาพ MF Assist (ภาพนิ่ง) ขยายภาพบนหน้าจออัตโนมัตเิ พื่อช่วยให้ปรับโฟกัสเองได้งา่ ยขึน้ ระบบนีท้ างานในการ ถ่ายภาพแบบโฟกัสด้วยตัวเอง หรือโฟกัสด้วยตัวเองโดยตรง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ MF Assist] → [เปิ ด] 2. หมุนแหวนปรับโฟกัสเพื่อปรับโฟกัส •

• •

ภาพถูกขยาย ท่านสามารถขยายภาพออกไปอีกโดยการกด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ ม ควบคุม หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถใช้ [ MF Assist] ขณะถ่ายภาพเคลื่อนไหว สามารถใช้ [ MF Assist] ได้เฉพาะเมื่อติดเลนส์ E-mount เท่านัน้ คำแนะนำ ท่านสามารถตัง้ ระยะเวลาที่จะให้แสดงภาพที่ขยายได้โดยเลือก MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [เวลาในการขยายโฟกัส]


ขยายโฟกัส ท่านสามารถตรวจสอบโฟกัสโดยการขยายภาพก่อนถ่ายภาพ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ขยายโฟกัส] 2. กด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ มควบคุม เพื่อขยายภาพและเลือกตาแหน่งที่ทา่ นต้องการ ขยาย โดยใช้ดา้ นบน/ล่าง/ซ้าย/ขวา ของปุ่ มควบคุม 3. ตรวจสอบยืนยันโฟกัส 4. กดปุ่ มชัตเตอร์ลงจนสุดเพื่อถ่ายภาพ • • • • • •

คำแนะนำ ทุกครัง้ ที่ท่านกด ที่ตรงกลาง สเกลการขยายจะเปลี่ยนแปลง เมื่อโฟกัสด้วยตัวเอง ท่านสามารถปรับโฟกัสในขณะที่ภาพถูกขยายใหญ่ขนึ้ ฟั งก์ชนั ่ [ขยายโฟกัส] จะหยุดทางานเมื่อกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ท่านสามารถบันทึกภาพขณะกาลังแสดงภาพขยาย แต่กล้องจะบันทึกภาพเต็มขนาดจริง ฟั งก์ชนั ่ [ขยายโฟกัส] จะหยุดทางานหลังการถ่ายภาพ ท่านสามารถตัง้ ระยะเวลาที่จะให้แสดงภาพที่ขยายได้โดยเลือก MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [เวลาในการขยายโฟกัส] เวลาในการขยายโฟกัส ตัง้ ค่าระยะเวลาที่ภาพถูกขยายด้วยฟั งก์ชนั ่ [ MF Assist] หรือ [ขยายโฟกัส] 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [เวลาในการขยายโฟกัส] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู 2 วินาที (ค่าเริม่ ต้น): ขยายภาพเป็ นเวลา 2 วินาที 5 วินาที: ขยายภาพเป็ นเวลา 5 วินาที ไม่จากัด: ขยายภาพจนกระทัง่ ท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ ระดับจุดสูงส ุด เน้นขอบของระยะที่อยู่ในโฟกัสด้วยสีที่ระบุ ในการถ่ายภาพแบบโฟกัสด้วยตัวเอง หรือ โฟกัสด้วยตัวเองโดยตรง ฟั งก์ชนั ่ นีด้ ว้ ยให้ทา่ นสามารถตรวจสอบโฟกัสได้งา่ ย


1. MENU →

(ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ระดับจุดสูงสุด] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู สูง: ตัง้ ระดับเน้นขอบเป็ น สูง ปานกลาง: ตัง้ ระดับเน้นขอบเป็ น ปานกลาง ต่า: ตัง้ ระดับเน้นขอบเป็ น ตา่ ปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): ไม่ใช้งานฟั งก์ชนั ่ เน้นขอบ •

หมำยเหตุ เนือ่ งจากผลิตภัณฑ์ประเมินว่าบริเวณที่ชดั เจนเป็ นบริเวณที่อยู่ในโฟกัส ผลสูงสุดจึงอาจจะ แตกต่างกันไปขึน้ กับวัตถุและเงือ่ นไขการถ่ายภาพ ขอบของบริเวณที่อยู่ในโฟกัสจะไม่ถกู ปรับเน้น เมื่อกล้องเชือ่ มต่ออยู่ดว้ ยสาย HDMI สีสงู ส ุด ตัง้ สีที่ใช้สาหรับฟั งก์ชนั ่ เน้นขอบในการถ่ายภาพแบบโฟกัสด้วยตัวเอง หรือโฟกัสด้วย ตัวเองโดยตรง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [สีสงู สุด] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู สีแดง: เน้นขอบด้วยสีแดง สีเหลือง: เน้นขอบด้วยสีเหลือง สีขาว (ค่าเริม่ ต้น): เน้นขอบด้วยสีขาว AF ล่วงหน้า (ภาพนิ่ง) ผลิตภัณฑ์จะปรับโฟกัสโดยอัตโนมัตกิ อ่ นที่ทา่ นจะกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ AF ล่วงหน้า] → ค่าที่ตอ้ งการ


รำยละเอียดรำยกำรเมนู เปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): ปรับโฟกัสก่อนที่ทา่ นจะกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ปิ ด: ไม่ปรับโฟกัสก่อนที่ทา่ นจะกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ •

หมำยเหตุ สามารถใช้ [ AF ล่วงหน้า] ได้เฉพาะเมื่อติดเลนส์ E-mount เท่านัน้ ควบค ุม AF/MF ท่านสามารถเปลี่ยนสลับโหมดโฟกัสจากอัตโนมัตเิ ป็ นโฟกัสเองหรือกลับกัน ได้อย่าง ง่ายดายขณะถ่ายภาพ โดยไม่จาเป็ นต้องขยับตาแหน่งมือจับ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → ปุ่ มที่ตอ้ งการ กาหนดค่า → [กดควบคุม AF/MF ค้าง] หรือ [กดสลับควบคุม AF/MF] รำยละเอียดรำยกำรเมนู กดควบค ุม AF/MF ค้าง: เปลี่ยนโหมดโฟกัสขณะที่ปุ่มถูกกดค้างไว้ กดสลับควบค ุม AF/MF: เปลี่ยนโหมดโฟกัสจนกระทัง่ ปุ่ มถูกกดอีกครัง้

หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถตัง้ ฟั งก์ชนั ่ [กดควบคุม AF/MF ค้าง] เป็ น [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มซ้าย], [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มขวา] หรือ [ปุ่ มลง] ไฟช่วย AF (ภาพนิ่ง) แสงไฟช่วย AF จะช่วยส่องไฟ เพื่อให้โฟกัสได้งา่ ยขึน้ บนวัตถุในที่มืด แสงไฟช่วย AF สีแดง ช่วยให้กล้องโฟกัสได้งา่ ยขึน้ เมือ่ กดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ จนกระทัง่ ล็อคโฟกัสได้ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ ไฟช่วย AF] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู อัตโนมัติ (ค่าเริม่ ต้น): ใช้แสงไฟช่วยโฟกัส ปิ ด:


ไม่ใช้แสงไฟช่วย AF • • • • • • •

หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถใช้งาน [ ไฟช่วย AF] ในสถานการณ์ตอ่ ไปนี:้ ในโหมดถ่ายภาพเคลื่อนไหว ในโหมด [ถ่ายภาพพาโนรามา] เมื่อตัง้ [โหมดโฟกัส] ไปที่ [AF ต่อเนือ่ ง] เมื่อตัง้ ค่า [เลือกบรรยากาศ] ไว้ที่ [วิว], [กีฬา] หรือ [ทิวทัศน์กลางคืน] เมื่อติดอะแดปเตอร์แปลงเมาท์ เมื่อตัง้ ค่า [บริเวณปรับโฟกัส] ไว้ที่ [กว้าง] หรือ [โซน] กรอบค้นหาระยะ AF จะปรากฏขึน้ เป็ นเส้นประ แสงไฟช่วย AF จะส่องฉายไฟที่สว่างมาก ถึงแม้จะไม่เป็ นอันตรายต่อสุขภาพ อย่ามองตรง ไปที่แสงไฟช่วย AF ในระยะใกล้ ปรับ AF ละเอียด ให้ทา่ นปรับและบันทึกตาแหน่งออโต้โฟกัสสาหรับเลนส์แต่ละตัว เมื่อใช้เลนส์ A-mount กับอะแดปเตอร์แปลงเมาท์ LA-EA2 หรือ LA-EA4 (แยกจาหน่าย) 1. เลือก MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ปรับ AF ละเอียด] 2. เลือก [การตัง้ ค่าการปรับ AF] → [เปิ ด] 3. [จานวน] → ค่าที่ตอ้ งการ •

• •

ท่านสามารถเลือกค่าตัง้ แต่จาก -20 ถึง +20 เลือกค่าบวกเพื่อเลื่อนตาแหน่งโฟกัส อัตโนมัตใิ ห้ห่างออกไปจากกล้อง เลือกค่าลบเพื่อเลื่อนตาแหน่งโฟกัสอัตโนมัตใิ ห้ใกล้เข้า หาตัวกล้อง หมำยเหตุ ขอแนะนาให้ทา่ นปรับตาแหน่งภาพใต้เงือ่ นไขการถ่ายภาพจริง เมื่อท่านติดเลนส์ที่ได้บนั ทึกค่าไว้แล้ว ค่าที่บนั ทึกไว้จะปรากฏบนหน้าจอ [±0] จะปรากฏ สาหรับเลนส์ที่ยงั ไม่ได้มีการบันทึกค่า ถ้าหากค่าที่แสดงบนหน้าจอปรากฏเป็ น [−] แสดงว่าท่านได้ทาการบันทึกค่าเลนส์ไว้รวม ทัง้ หมด 30 เลนส์แล้ว และไม่สามารถบันทึกเลนส์ตวั ใหม่เพิ่มได้อีก หากต้องการบันทึก เลนส์ใหม่ ให้ตดิ เลนส์ซึ่งสามารถลบการบันทึกได้ และตัง้ ค่าไปที่ [±0] หรือรีเซ็ตค่าของ เลนส์ทงั้ หมดโดยใช้ [ยกเลิก] ถ้าท่านทาการ [ปรับ AF ละเอียด] ด้วยเลนส์อื่นนอกเหนือจากเลนส์ของ Sony, Minolta หรือ Konica-Minolta การตัง้ ค่าที่บนั ทึกไว้สาหรับเลนส์ Sony, Minolta หรือ KonicaMinolta อาจได้รบั ผลกระทบ อย่าใช้งาน [ปรับ AF ละเอียด] กับเลนส์ที่ไม่สนับสนุน


ท่านไม่สามารถตัง้ ค่า [ปรับ AF ละเอียด] แยกกันได้สาหรับเลนส์ Sony, Minolta และ Konica-Minolta ที่มีขอ้ มูลจาเพาะเหมือนกัน แสดงพื้นที่ AF ต่อเนื่อง ท่านสามารถตัง้ ว่าจะแสดงหรือไม่แสดงพื้นที่โฟกัสที่อยู่ในโฟกัสเมื่อตัง้ [บริเวณปรับ โฟกัส] ไปที่ [กว้าง] หรือตัง้ [โซน] และ [โหมดโฟกัส] ไปที่ [AF ต่อเนือ่ ง] 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [แสดงพื้นที่ AF ต่อเนือ่ ง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู เปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): แสดงพื้นที่โฟกัสที่อยู่ในโฟกัส ปิ ด: ไม่แสดงพื้นที่โฟกัสที่อยู่ในโฟกัส

หมำยเหตุ เมื่อ [บริเวณปรับโฟกัส] ถูกตัง้ ไว้ที่ [กลางภาพ] หรือ [จุดที่ปรับได้] กรอบในพื้นที่โฟกัสที่ อยู่ในโฟกัสจะเปลี่ยนเป็ นสีเขียว โดยไม่คานึงถึงการตัง้ ค่า [แสดงพื้นที่ AF ต่อเนือ่ ง] เปิ ด AF ท่านสามารถปรับโฟกัสด้วยปุ่ มใดๆ แทนการกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ การตัง้ ค่า ของ [โหมดโฟกัส] จะยังมีผล 1. เลือกคียท์ ี่ตอ้ งการและกาหนดฟั งก์ชนั ่ [เปิ ด AF] ไปยังคียน์ นั้ โดย ใช้ MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] 2. กดคียท์ ี่ทา่ นได้กาหนดฟั งก์ชนั ่ [เปิ ด AF] ไว้ ขณะถ่ายภาพด้วยโฟกัสอัตโนมัติ

หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถตัง้ ฟั งก์ชนั ่ [เปิ ด AF] เป็ น [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มซ้าย], [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ ม ขวา] หรือ [ปุ่ มลง] AF ตามตา กล้องจะโฟกัสที่ดวงตาของวัตถุในขณะที่ทา่ นกดปุ่ มค้างไว้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → กาหนด ฟั งก์ชนั ่ [AF ตามตา] ให้กบั ปุ่ มที่ตอ้ งการ 2. หันกล้องไปทางใบหน้าของบุคคลและกดปุ่ มที่ทา่ นได้กาหนดฟั งก์ชนั ่ [AF ตามตา] ไว้ 3. กดปุ่ มชัตเตอร์ขณะกดปุ่ มที่กาหนด


• • • • • • •

หมำยเหตุ กล้องอาจจะไม่สามารถโฟกัสไปยังดวงตา ทัง้ นีข้ ึ้นอยู่กบั สถานการณ์ตา่ งๆ ในกรณี ดังกล่าว กล้องจะตรวจหาภาพใบหน้าและโฟกัสไปที่ใบหน้านัน้ หากกล้องไม่สามารถตรวจจับใบหน้าบุคคลในภาพได้ ท่าน จะไม่สามารถใช้ [AF ตามตา] ได้ ในบางสถานการณ์ ท่านจะไม่สามารถใช้ [AF ตามตา] เช่น เมื่อตัง้ ค่า [โหมดโฟกัส]ไว้ที่ [AF ต่อเนือ่ ง] หรือ [โฟกัสด้วยตัวเอง] ฯลฯ [AF ตามตา] อาจไม่ทางานในสถานการณ์ตอ่ ไปนี:้ เมื่อบุคคลในภาพใส่แว่นกันแดด เมื่อผมปิ ดดวงตา ในสภาวะที่แสงน้อยหรือย้อนแสง เมื่อหลับตา เมื่อบุคคลในภาพอยู่ในที่ร่ม เมื่อบุคคลในภาพไม่อยูใ่ นโฟกัส คำแนะนำ เมื่อกล้องโฟกัสไปยังดวงตาและตัง้ [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] ไว้ที่ [เปิ ด] เฟรมค้นหาภาพ ใบหน้าจะแสดงที่บนใบหน้าหลังจากแสดงที่บนดวงตาแล้ว เมื่อตัง้ [รอยยิ้ม/ค้นหา ใบหน้า] ไว้ที่ [ปิ ด]เฟรมค้นหาภาพใบหน้าจะแสดงที่บนดวงตาเป็ นเวลาครู่หนึง่ หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถตัง้ ฟั งก์ชนั ่ [AF ตามตา] เป็ น [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มซ้าย], [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ ม ขวา] หรือ [ปุ่ มลง] ความเร็วขับ AF (ภาพเคลื่อนไหว) ท่านสามารถสลับความเร็วในการโฟกัสขณะที่ใช้โฟกัสอัตโนมัตใิ นโหมดภาพเคลื่อนไหว 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ ความเร็วขับ AF] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู เร็ว: ตัง้ ค่าความเร็วขับ AF ไปที่เร็ว โหมดนีเ้ หมาะกับการถ่ายฉากที่มีการเคลื่อนไหวฉับ ไว เช่น กีฬา ปกติ (ค่าเริม่ ต้น): ตัง้ ค่าความเร็วขับ AF ไปที่ปกติ ช้า:


ตัง้ ค่าความเร็วขับ AF ไปที่ชา้ ในโหมดนี้ จุดโฟกัสจะเปลี่ยนอย่างราบรื่นเมื่อวัตถุที่ จะโฟกัสเปลี่ยนไป โหมดนีม้ ีประโยชน์สาหรับการถ่ายภาพให้ดนู า่ ประทับใจ ช่วงเวลา AF ติดตาม (ภาพเคลื่อนไหว) ท่านสามารถตัง้ ระยะเวลาสาหรับ AF ติดตามในโหมดภาพเคลื่อนไหว 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ ช่วงเวลา AF ติดตาม] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู สูง: ตัง้ ระยะเวลา AF ติดตามไว้ที่สงู โหมดนีม้ ีประโยชน์เมื่อบันทึกภาพเคลื่อนไหวขณะที่ วัตถุกาลังเคลื่อนไหวอย่างรวดเร็ว ปกติ (ค่าเริม่ ต้น): ตัง้ ระยะเวลา AF ติดตามไว้ที่ปกติ โหมดนีม้ ีประโยชน์เมื่อท่านต้องการคงโฟกัสไว้ที่ วัตถุบางอย่างเมื่อมีสิ่งกีดขวางอยู่หน้าวัตถุหรือในสถานที่แออัด วัดระยะห่างจากวัตถ ุที่แน่นอน เครื่องหมาย บ่งบอกถึงตาแหน่งของเซ็นเซอร์ภาพ* เมื่อท่านวัดระยะห่างที่ แน่นอนจากกล้องถึงวัตถุ ให้อา้ งอิงกับตาแหน่งของเส้นแนวนอน ระยะระหว่างผิวสัมผัสของเลนส์กบั เซ็นเซอร์ภาพอยู่ที่ประมาณ 18 มม. *เซ็ นเซอร์ภาพ คือ ชิน ้ ส่วนที่แปลงแสงเป็ นสัญญาณดิจิตอล

หมำยเหตุ ถ้าวัตถุอยู่ใกล้กว่าระยะถ่ายภาพที่ตา่ ที่สดุ ของเลนส์ จะไม่สามารถยืนยันโฟกัสได้ ตรวจสอบให้แน่ใจว่ามีระยะห่างระหว่างวัตถุกบั กล้องอย่างเพียงพอ


การปรับระดับแสง ชดเชยแสง ท่านสามารถปรับให้ภาพทัง้ ภาพ สว่างขึน้ หรือมืดลง เมื่อเทียบกับระดับแสงที่ตงั้ โดย ระบบปรับระดับแสงอัตโนมัติ ได้โดยทาการปรับ [ชดเชยแสง] ไปทางด้านบวกหรือด้านลบ ตามลาดับ (ชดเชยแสง) โดยปกติแล้ว ระดับแสงจะถูกปรับอัตโนมัติ (ระบบปรับระดับแสง อัตโนมัต)ิ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ชดเชยแสง] → ค่าที่ตอ้ งการ ท่านสามารถปรับระดับแสงในช่วง –3.0 EV ถึง +3.0 EV • •

• • • •

หมำยเหตุ สาหรับภาพเคลื่อนไหว ท่านสามารถปรับระดับแสงในช่วง –2.0 EV ถึง +2.0 EV ถ้าหากท่านถ่ายภาพในสถานที่ซึ่งสว่างหรือมืดมาก หรือเมื่อท่านใช้งานแฟลช ท่านอาจจะ ไม่สามารถถ่ายได้ผลที่นา่ พึงพอใจ หากท่านใช้ [ปรับระดับแสงเอง] ท่านจะสามารถชดเชยระดับแสงได้เฉพาะเมื่อตัง้ [ISO] ไว้ ที่ [ISO AUTO] โหมดวัดแสง เลือกโหมดวัดแสงซึ่งกาหนดส่วนของหน้าจอที่ใช้วดั เพื่อนามาคานวณระดับแสง 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [โหมดวัดแสง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู หลายจุด (ค่าเริม่ ต้น): วัดแสงในแต่ละบริเวณหลังจากแบ่งภาพทัง้ หมดออกเป็ นบริเวณย่อยๆ แล้วกาหนดระดับ แสงที่เหมาะสมของทัง้ ภาพ (วัดแสงแบบแบ่งหลายส่วน) กลางภาพ: วัดความสว่างเฉลี่ยของทัง้ ภาพ โดยให้นา้ หนักบริเวณกลางภาพ (วัดแสงแบบเฉลี่ยกลาง ภาพ) จุดเดียว: วัดแสงเฉพาะตรงกลางภาพ (วัดแสงแบบจุดเดียว) ฟั งก์ชนั ่ นีม้ ีประโยชน์ เมื่อวัตถุยอ้ นแสง หรือเมื่อวัตถุและฉากหลังมีคอนทราสต์สงู หมำยเหตุ [หลายจุด] จะถูกเลือกเมื่อใช้งานฟั งก์ชนั ่ ต่อไปนี:้ [อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] [อัตโนมัตพิ ิเศษ] [เลือกบรรยากาศ]


ฟั งก์ชนั ่ ซูมอื่นๆ นอกเหนือจากการซูมด้วยเลนส์ ล็อค AE ในกรณีที่คอนทราสต์ระหว่างวัตถุกบั ฉากหลังสูง เช่น เมื่อถ่ายภาพวัตถุยอ้ นแสง หรือ วัตถุที่อยู่ใกล้หน้าต่าง ให้วดั แสง ณ จุดที่วตั ถุมีความสว่างที่เหมาะสม แล้วล็อคระดับแสง ก่อนถ่ายภาพ ลดความสว่างของวัตถุ ได้โดยวัดแสงที่จดุ ซึ่งสว่างกว่าตัววัตถุ แล้วล็อค ระดับแสงของทัง้ ภาพ ทาให้วตั ถุสว่างขึน้ ได้โดยวัดแสงที่จดุ ซึ่งมืดกว่าตัววัตถุ แล้วล็อค ระดับแสงของทัง้ ภาพ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] แล้วกาหนด [ปิ ด เปิ ดล็อคAEL] ให้กบั ปุ่ มที่ตอ้ งการ 2. ปรับโฟกัส ณ จุดที่ปรับระดับแสง 3. กดปุ่ มที่กาหนดให้กบั ฟั งก์ชนั ่ [ปิ ดเปิ ดล็อคAEL] •

ระดับแสงจะถูกล็อค และ (ล็อค AE) จะติดสว่าง 4. ปรับโฟกัสบนวัตถุอีกครัง้ แล้วกดปุ่ มชัตเตอร์ •

ยกเลิกการล็อคระดับแสงได้โดยกดปุ่ มซึ่งได้กาหนดฟั งก์ชนั ่ [ปิ ดเปิ ดล็อคAEL] ไว้ คำแนะนำ ถ้าหากท่านเลือกฟั งก์ชนั ่ [กดค้างล็อคAEL] ใน [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] ท่านสามารถ ล็อคระดับแสงได้ตลอดเวลาที่ทา่ นกดปุ่ ม AEL ลงค้างไว้ ไม่สามารถกาหนด ฟั งก์ชนั ่ [กดค้างล็อคAEL] ให้กบั [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มซ้าย], [ฟั งก์ชนั ่ ของปุ่ มขวา]และ [ปุ่ มลง] AEL ด้วยปุ่มชัตเตอร์ (ภาพนิ่ง) ตัง้ ค่าว่าต้องการล็อคระดับแสงเมื่อท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ หรือไม่ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ AEL ด้วยปุ่ มชัตเตอร์] → ค่าที่ ต้องการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู อัตโนมัติ (ค่าเริม่ ต้น): กาหนดระดับแสงหลังปรับโฟกัสอัตโนมัตเิ มื่อท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ เมื่อ ตัง้ [โหมดโฟกัส] ไปที่ [AF ครัง้ เดียว] เมื่อตัง้ ค่า [โหมดโฟกัส] ไว้ที่ [AF อัตโนมัต]ิ และผลิตภัณฑ์กาหนดแล้วว่าวัตถุกาลัง เคลื่อนไหวหรือท่านถ่ายภาพต่อเนือ่ ง ระดับแสงที่กาหนดไว้จะถูกยกเลิก เปิ ด:


ล็อคระดับแสงเมื่อกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ปิ ด: ไม่ล็อคระดับแสงเมื่อกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ใช้โหมดนีห้ ากท่านต้องการปรับ โฟกัสและระดับแสงแยกจากกัน •

หมำยเหตุ เมื่อตัง้ [โหมดโฟกัส] ไว้ที่ [AF ต่อเนือ่ ง] และ [ AEL ด้วยปุ่ มชัตเตอร์] คือ [ปิ ด] หรือ [อัตโนมัต]ิ ค่ารูรบั แสงจะถูกกาหนดทันทีที่ทา่ นกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ ถ้าหาก ความสว่างเปลี่ยนแปลงมากขณะถ่ายภาพต่อเนือ่ ง ให้ปล่อยนิว้ ออกจากปุ่ มชัตเตอร์กอ่ น แล้วกดปุ่ มชัตเตอร์ลงครึ่งหนึง่ อีกครัง้ เมื่อกาหนด [ปิ ดเปิ ดล็อคAEL] ให้กบั คียใ์ ดก็ตามโดยใช้ [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง]การ ทางานโดยใช้คียจ์ ะมีความสาคัญเหนือกว่าการตัง้ ค่า [ AEL ด้วยปุ่ มชัตเตอร์] ตัง้ ค่าชดเชยแสง ตัง้ ค่าว่าต้องการใช้ค่าชดเชยแสง เพื่อควบคุมทัง้ แสงแฟลชและแสงรอบข้าง หรือเฉพาะ แสงรอบข้าง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าชดเชยแสง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู แสงปกติ&แฟลช (ค่าเริม่ ต้น): ใช้ค่าชดเชยแสง เพื่อควบคุมทัง้ แสงแฟลชและแสงรอบข้าง เฉพาะแสงปกติ: ใช้ค่าชดเชยแสง เพื่อควบคุมแสงรอบข้างเท่านัน้ ลายทาง ลายทางม้าลายจะปรากฏเหนือส่วนของภาพที่ความสว่างเกินระดับ IRE ที่ทา่ นได้ตงั้ ค่าไว้ ใช้ลวดลายม้าลายนี้ ช่วยในการปรับความสว่าง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ลายทาง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): ไม่แสดงลวดลายม้าลาย 70/75/80/85/90/95/100/100+: ปรับระดับความสว่าง


หมำยเหตุ ลายทางม้าลายไม่ปรากฏขึน้ ขณะเชือ่ มต่อ HDMI แนะนาตัง้ ค่าระดับแสง ท่านสามารถตัง้ ว่าจะแสดงหรือไม่แสดงคาแนะนาเมื่อเปลี่ยนระดับแสง 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [แนะนาตัง้ ค่าระดับแสง] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ปิ ด: ไม่แสดงคาแนะนา เปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): แสดงคาแนะนา

การกาหนดฟังก์ชนั่ ถ่ายภาพเองเพื่อความสะดวกในการใช้งาน ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง การกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้กับคียต์ า่ งๆ จะช่วยให้ทา่ นใช้งานได้รวดเร็วขึน้ โดยกดคียท์ ี่ เกี่ยวข้องเมื่อหน้าจอข้อมูลการถ่ายภาพปรากฏขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → กาหนด ฟั งก์ชนั ่ ให้กบั คียท์ ี่ตอ้ งการ •

หมำยเหตุ ฟั งก์ชนั ่ บางอย่างไม่สามารถกาหนดให้บางคียไ์ ด้ ฟังก์ชนั่ ของปุ่มกลาง เมื่อท่านกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้กบั ปุ่ มกลาง ท่านจะสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ นัน้ โดยเพียงแค่กด ปุ่ มกลาง เมื่อหน้าจอข้อมูลถ่ายภาพปรากฏขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → [ฟั งก์ชนั ่ ของ ปุ่ มกลาง] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่สามารถกาหนดได้ จะปรากฏบนหน้าจอเลือกรายการตัง้ ค่า ฟังก์ชนั่ ของปุ่มซ้าย เมื่อท่านกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้กบั ปุ่ มซ้าย ท่านจะสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ นัน้ โดยเพียงแค่กดปุ่ ม ซ้าย เมื่อหน้าจอข้อมูลถ่ายภาพปรากฏขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → [ฟั งก์ชนั ่ ของ ปุ่ มซ้าย] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่สามารถกาหนดได้ จะปรากฏบนหน้าจอเลือกรายการตัง้ ค่า


ฟังก์ชนั่ ของปุ่มขวา เมื่อท่านกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้กบั ปุ่ มขวา ท่านจะสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ นัน้ โดยเพียงแค่กดปุ่ ม ขวา เมื่อหน้าจอข้อมูลถ่ายภาพปรากฏขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → [ฟั งก์ชนั ่ ของ ปุ่ มขวา] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่สามารถกาหนดได้ จะปรากฏบนหน้าจอเลือกรายการตัง้ ค่า ฟังก์ชนั่ ของปุ่มลง เมื่อท่านกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้กบั ปุ่ มลง ท่านจะสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ นัน้ โดยเพียงแค่กดปุ่ ม ลง เมื่อหน้าจอข้อมูลถ่ายภาพปรากฏขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → [ปุ่ มลง] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่สามารถกาหนดได้ จะปรากฏบนหน้าจอเลือกรายการตัง้ ค่า ฟังก์ชนั่ ของปุ่ม ? เมื่อท่านกาหนดฟั งก์ชนั ่ ให้ปุ่ม ? (เครื่องหมายคาถาม) ท่านสามารถใช้งานฟั งก์ชนั ่ นัน้ โดย กดเพียงแค่ปุ่ม ? (เครื่องหมายคาถาม) ขณะที่หน้าจอข้อมูลถ่ายภาพแสดงขึน้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [ตัง้ ค่าคียแ์ บบกาหนดเอง] → [ปุ่ ม ] → ค่าที่ตอ้ งการ ฟั งก์ชนั ่ ที่สามารถกาหนดได้แสดงอยู่บนหน้าจอเลือกรายการตัง้ ค่าของผลิตภัณฑ์

การตัง้ ค่าฟังก์ชนั่ อื่นๆ ของผลิตภัณฑ์น้ ี สร้างสรรค์ภาพถ่าย [สร้างสรรค์ภาพถ่าย] เป็ นโหมดที่ชว่ ยให้ทา่ นสามารถใช้งานกล้องได้งา่ ยๆ โดยเข้าใจทันที ที่เห็น ด้วยการแสดงผลหน้าจอที่ตา่ งกัน เมื่อตัง้ โหมดถ่ายภาพไว้ที่ (อัตโนมัติ อัจฉริยะ) หรือ (อัตโนมัตพิ ิเศษ) ท่านสามารถเปลี่ยนการตัง้ ค่าและถ่ายภาพได้ ง่ายๆ 1. ตัง้ โหมดถ่ายภาพไปที่ (อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ) หรือ (อัตโนมัตพิ ิเศษ) 2. กด

(สร้างสรรค์ภาพถ่าย) บนปุ่ มควบคุม

3. เลือกรายการที่ตอ้ งการเปลี่ยนด้วยปุ่ มควบคุม (ฉากหลังนอกโฟกัส):


ปรับความไม่คมชัดของพื้นหลัง (ความสว่าง): ปรับความสว่าง (สี): ปรับสี (ความสดใส): ปรับความสดใส (เอฟเฟ็คของภาพ): ท่านสามารถเลือกเอฟเฟ็ คที่ตอ้ งการและถ่ายภาพด้วยรายละเอียดที่ระบุ 4. เลือกการตัง้ ค่าที่ตอ้ งการ •

ท่านสามารถใช้การตัง้ ค่าบางอย่างร่วมกันโดยทาซา้ ขัน้ ตอนที่ 3 และ 4

หากต้องการรีเซ็ตการตัง้ ค่าที่เปลี่ยนเป็ นการตัง้ ค่าเริ่มต้น กดปุ่ ม (ลบ) (ฉากหลังนอกโฟกัส), (ความสว่าง), (สี) และ (ความสดใส) จะถูกตัง้ ไป ที่ [AUTO] และ (เอฟเฟ็ คของภาพ) จะถูกตัง้ ไปที่ 5. สาหรับถ่ายภาพนิง่ : กดปุ่ มชัตเตอร์ ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว: กดปุ่ ม MOVIE เพื่อเริ่มการบันทึกภาพ •

หมำยเหตุ เมื่อตัง้ [ คุณภาพ] ไปที่ [RAW] หรือ [RAW & JPEG] ท่านไม่สามารถใช้ [สร้างสรรค์ ภาพถ่าย] ได้ เมื่อท่านบันทึกภาพเคลื่อนไหวด้วยฟั งก์ชนั ่ [สร้างสรรค์ภาพถ่าย] ท่านสามารถเปลี่ยน การตัง้ ค่า (ฉากหลังนอกโฟกัส) ได้เท่านัน้ ถ้าท่านเปลี่ยนโหมดถ่ายภาพเป็ นโหมด [อัตโนมัตอิ จั ฉริยะ] หรือโหมด [อัตโนมัติ พิเศษ] หรือปิ ดสวิตช์ผลิตภัณฑ์ การตัง้ ค่าที่ทา่ นเปลี่ยนจะกลับคืนสูก่ ารตัง้ ค่าเริ่มต้น เมื่อตัง้ โหมดถ่ายภาพไว้ที่ [อัตโนมัตพิ ิเศษ] และท่านใช้ [สร้างสรรค์ภาพถ่าย]ผลิตภัณฑ์จะ ไม่ทาการประมวลผลภาพซ้อน รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า ค้นหาใบหน้าของแบบของท่าน แล้วปรับโฟกัส ระดับแสง การตัง้ ค่าแฟลช และทาการ ประมวลผลภาพโดยอัตโนมัติ 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] → ค่าที่ตอ้ งการ


• • • • •

รำยละเอียดรำยกำรเมนู ปิ ด: ไม่ใช้งานระบบค้นหาใบหน้า เปิ ด (บันทึกใบหน้า) (ค่าเริม่ ต้น): ตรวจหาใบหน้าที่บนั ทึกไว้ที่มีความสาคัญสูงกว่าโดยใช้ [การบันทึกใบหน้า] เปิ ด: ค้นหาใบหน้าโดยไม่ให้ความสาคัญกับใบหน้าที่บนั ทึกเอาไว้ ลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยยิ้ม: ค้นหาและถ่ายภาพรอยยิ้มโดยอัตโนมัติ กรอบค้นหำใบหน้ำ เมื่อผลิตภัณฑ์พบใบหน้า กรอบค้นหาใบหน้าสีเทาจะปรากฏ เมื่อผลิตภัณฑ์พบว่าระบบ โฟกัสอัตโนมัตเิ ปิ ดทางาน กรอบค้นหาใบหน้าจะเปลี่ยนเป็ นสีขาว เมื่อท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ ลงครึ่งหนึง่ กรอบจะกลายเป็ นสีเขียว ในกรณีที่ทา่ นได้บนั ทึกลาดับความสาคัญของแต่ละใบหน้าโดยใช้ [การบันทึก ใบหน้า] ผลิตภัณฑ์จะเลือกใบหน้าที่มีความสาคัญลาดับแรกโดยอัตโนมัตแิ ละเฟรมค้นหา ภาพใบหน้านัน้ จะเปลี่ยนเป็ นสีขาว เฟรมค้นหาภาพใบหน้าของใบหน้าอื่นที่บนั ทึกไว้จะ เปลี่ยนเป็ นสีแดงอมม่วง

เทคนิคกำรถ่ำยภำพรอยยิ้มอย่ำงมีประสิทธิภำพ อย่าให้ผมด้านหน้าปิ ดบังดวงตา และหรี่ตาให้แคบ อย่าปิ ดบังใบหน้าด้วยหมวก หน้ากาก แว่นกันแดด ฯลฯ พยายามหันหน้าเข้าหาด้านหน้าของกล้อง และให้อยู่ในแนวระดับมากที่สดุ เปิ ดปากยิ้มให้ชดั เจน สามารถตรวจจับรอยยิ้มได้งา่ ยขึน้ ถ้าหากมองเห็นฟั น ถ้าหากท่านกดปุ่ มชัตเตอร์ขณะระบบลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยรอยยิ้มกาลังทางาน ผลิตภัณฑ์จะทา การถ่ายภาพ หลังการถ่ายภาพ ผลิตภัณฑ์จะกลับคืนสูโ่ หมดลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยรอยยิ้ม คำแนะนำ เมื่อตัง้ [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] ไปที่ [ลัน่ ชัตเตอร์ดว้ ยยิ้ม] ท่านสามารถเลือก ความไวใน การตรวจหารอยยิ้ม จาก [เปิ ด: ยิ้มเล็กน้อย], [เปิ ด: ยิ้มปกติ] และ [เปิ ด: ยิ้มปากกว้าง] หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถใช้ระบบค้นหาใบหน้าร่วมกับฟั งก์ชนั ่ ต่อไปนี้


• • • • • • • •

เมื่อใช้ฟังก์ชนั ่ ซูมอื่นนอกเหนือจากการซูมด้วยเลนส์ [ถ่ายภาพพาโนรามา] [เอฟเฟ็ คของภาพ] ถูกตัง้ ไว้ที่ [โปสเตอร์ไรเซชัน่ ] เมื่อใช้ฟังก์ชนั ่ [ขยายโฟกัส] [เลือกบรรยากาศ] ถูกตัง้ ไว้ที่ [วิว], [ทิวทัศน์กลางคืน] หรือ [ตะวันตกดิน] สามารถค้นหาใบหน้าของวัตถุได้สงู สุดแปดใบหน้า ผลิตภัณฑ์นอี้ าจจะไม่พบใบหน้าเลย หรืออาจจะเข้าใจผิดว่าวัตถุอื่นเป็ นใบหน้าในบางกรณี ถ้าหากผลิตภัณฑ์คน้ หาใบหน้าไม่พบ ให้ตงั้ ค่าความไวในการตรวจหารอยยิ้ม ล ูกเล่นปรับผิวนวล (ภาพนิ่ง) ตัง้ ค่าเอฟเฟ็ คที่ใช้สาหรับการถ่ายผิวได้อย่างนุม่ นวลในฟั งก์ชนั ่ ค้นหาใบหน้า 1. MENU → (ตัง้ ค่ากล้อง) → [ ลูกเล่นปรับผิวนวล] → ค่าที่ตอ้ งการ รำยละเอียดรำยกำรเมนู ปิ ด (ค่าเริม่ ต้น): ไม่ใช้ฟังก์ชนั ่ [ ลูกเล่นปรับผิวนวล] เปิ ด: ใช้ [ ลูกเล่นปรับผิวนวล] คำแนะนำ เมื่อตัง้ [ ลูกเล่นปรับผิวนวล] ไว้ที่ [เปิ ด] ท่านสามารถเลือกระดับของลูกเล่น หมำยเหตุ [ ลูกเล่นปรับผิวนวล] ใช้ไม่ได้กบั ภาพ RAW การบันทึกใบหน้า (การบันทึกใหม่) ถ้าหากท่านลงทะเบียนใบหน้าไว้ลว่ งหน้า ผลิตภัณฑ์สามารถให้ความสาคัญกับใบหน้าที่ ลงทะเบียนไว้ในการค้นหาใบหน้าก่อนได้ เมื่อตัง้ ค่า [รอยยิ้ม/ค้นหาใบหน้า] ไว้ที่ [เปิ ด (บันทึกใบหน้า)] 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [การบันทึกใบหน้า] → [การบันทึกใหม่] 2. จัดกรอบชีน้ าให้ตรงกับใบหน้าที่ตอ้ งการลงทะเบียนแล้วกดปุ่ มชัตเตอร์ 3. เมื่อมีขอ้ ความยืนยันปรากฏขึน้ ให้เลือก [ตกลง]

• •

หมำยเหตุ สามารถบันทึกภาพใบหน้าได้สงู สุดแปดภาพ ถ่ายภาพด้านหน้าของใบหน้าในที่มีแสงส่องสว่าง อาจจะลงทะเบียนใบหน้าได้ไม่ถกู ต้องถ้า หากมีหมวก หน้ากาก แว่นกันแดด ฯลฯ ปิ ดบังอยู่


การบันทึกใบหน้า (การเปลี่ยนลาดับ) หากมีการลงทะเบียนใบหน้าที่ตอ้ งการให้ความสาคัญหลายใบหน้า ใบหน้าที่ลงทะเบียน ก่อนจะมีความสาคัญสูงกว่า ท่านสามารถแก้ไขลาดับความสาคัญ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [การบันทึกใบหน้า] → [การเปลี่ยนลาดับ] 2. เลือกใบหน้าที่ตอ้ งการเปลี่ยนลาดับของความสาคัญ 3. เลือกปลายทาง การบันทึกใบหน้า (ลบ) ลบใบหน้าที่ลงทะเบียนไว้ 1. MENU → (ตัง้ ค่า กาหนดเอง) → [การบันทึกใบหน้า] → [ลบ] ถ้าเลือก [ลบ ทัง้ หมด] ท่านสามารถลบใบหน้าที่บนั ทึกไว้ทงั้ หมด •

หมำยเหตุ ถึงแม้ทา่ นจะสัง่ [ลบ] ข้อมูลของใบหน้าที่ลงทะเบียนไว้จะยังคงค้างอยู่ในผลิตภัณฑ์ การ ลบข้อมูลของใบหน้าที่ลงทะเบียนไว้ออกจากผลิตภัณฑ์ ให้เลือก [ลบ ทัง้ หมด]

การพิมพ์ภาพ เลือกพิมพ์ ท่านสามารถระบุล่วงหน้าว่าภาพนิง่ ภาพใดในการ์ดหน่วยความจาที่ทา่ นต้องการพิมพ์ใน ภายหลัง ไอคอน (สัง่ พิมพ์) จะปรากฏขึน้ บนภาพที่ระบุ DPOF ย่อมาจาก “Digital Print Order Format.” 1. MENU →

(เล่น) → [เลือกพิมพ์] → ค่าที่ตอ้ งการ

รำยละเอียดรำยกำรเมนู หลายภาพ: เลือกภาพที่ตอ้ งการสัง่ พิมพ์ (1) เลือกภาพและกด ที่อยู่ตรงกลางปุ่ มควบคุม เครื่องหมาย จะแสดงอยู่ใน ช่องกาเครื่องหมาย ยกเลิกการเลือกได้โดยกด แล้วลบเครื่องหมาย (2) หากต้องการพิมพ์ภาพอื่น ให้ทาซา้ ขัน้ ตอนที่ (1) (3) MENU → [ตกลง] → ที่ตรงกลาง ยกเลิกท ุกภาพ: ล้างเครื่องหมาย DPOF ทัง้ หมด


• • •

ตัง้ ค่าพิมพ์: ท่านสามารถตัง้ ว่าจะพิมพ์หรือไม่พิมพ์วนั ที่บนภาพที่บนั ทึกด้วยเครื่องหมาย DPOF เลือก [เปิ ด] หรือ [ปิ ด] → [ตกลง] ใน [แทรกวันที่] หมำยเหตุ ท่านไม่สามารถเพิ่มเครื่องหมาย DPOF ในไฟล์ตอ่ ไปนี:้ ภาพเคลื่อนไหว ภาพ RAW

ข้อควรระวัง/ผลิตภัณฑ์น้ ี

• •

• • •

ข้อควรระวัง การสารองข้อมูลในการ์ดหน่วยความจา ข้อมูลอาจจะได้รบั ความเสียหายในกรณีตอ่ ไปนี้ อย่าลืมสารองข้อมูลไว้เพื่อเป็ นการ ป้องกัน เมื่อถอดการ์ดหน่วยความจาหรือปิ ดสวิตช์ผลิตภัณฑ์ขณะกาลังอ่านหรือเขียนข้อมูล เมื่อใช้การ์ดหน่วยความจาในสถานที่ที่มีไฟฟ้าสถิตหรือสัญญาณรบกวนทางไฟฟ้า การสร้างไฟล์ฐานข้อมูลภาพ ถ้าท่านเสียบการ์ดหน่วยความจาที่ไม่มีไฟล์ฐานข้อมูลภาพลงในผลิตภัณฑ์และเปิ ดสวิตช์ ผลิตภัณฑ์จะสร้างไฟล์ฐานข้อมูลภาพขึน้ มาโดยอัตโนมัตโิ ดยใช้ความจุบางส่วนของการ์ด หน่วยความจา กระบวนการนีอ้ าจใช้เวลานานและท่านไม่สามารถใช้งานผลิตภัณฑ์ได้ จนกว่ากระบวนการนีจ้ ะแล้วเสร็จ ถ้าเกิดข้อผิดพลาดกับไฟล์ฐานข้อมูล ให้สง่ ภาพทัง้ หมดไปยังคอมพิวเตอร์ของท่านโดยใช้ PlayMemories Home จากนัน้ ฟอร์แมตการ์ดหน่วยความจาโดยใช้ผลิตภัณฑ์นี้ อย่าใช้งานหรือเก็บผลิตภัณฑ์ในสถานที่ตอ่ ไปนี้ ในสถานที่ซึ่งร้อน เย็น หรือชืน้ มาก เช่น ในรถที่จอดใต้แสงแดด ตัวกล้องอาจจะบิดเบี้ยวจนเสียรูปทรงเดิม และทาให้เกิด ความเสียหายได้ เก็บไว้ภายใต้แสงอาทิตย์หรือใกล้เครื่องทาความร้อน กล้องอาจจะเปลี่ยนสีหรือบิดเบี้ยวจนเสียรูปทรงเดิมและทาให้กล้องทางานผิดปกติได้ ในสถานที่ซึ่งมีแรงสัน่ สะเทือนสูง ใกล้สนามแม่เหล็กความแรงสูง ในสถานที่ซึ่งมีทรายหรือฝุ่ นละอองมาก ระมัดระวังอย่าให้ทรายหรือฝุ่ นเล็ดลอดเข้าไปในผลิตภัณฑ์ได้ เพราะนัน่ อาจจะทาให้ ผลิตภัณฑ์ทางานผิดปกติและในบางกรณีอาจจะทาการซ่อมแซมไม่ได้ อุณหภูมิการใช้งาน ผลิตภัณฑ์ของท่านออกแบบมาให้ใช้งานภายในช่วงอุณหภูมิระหว่าง 0 °C และ 40 °C ไม่ แนะนาให้ถ่ายภาพในสถานที่ซึ่งเย็นหรือร้อนมากกว่าช่วงอุณหภูมินี้


• •

• •

ความชืน้ ที่กลัน่ ตัวเป็ นหยดนา้ ถ้าหากเคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์โดยตรงจากสถานที่เย็นไปยังสถานที่อ่นุ ความชืน้ อาจจะกลัน่ ตัวเป็ นหยดนา้ เกาะภายในหรือภายนอกตัวผลิตภัณฑ์ ความชืน้ ที่กลัน่ ตัวเป็ นหยดนา้ นีอ้ าจ ทาให้ผลิตภัณฑ์ทางานผิดปกติได้ เพื่อป้องกันการกลัน่ ตัวของความชืน้ เป็ นหยดนา้ เมื่อท่านนาผลิตภัณฑ์จากสถานที่ที่เย็นไป ยังสถานที่ที่อ่นุ ทันที ให้ใส่ในถุงพลาสติกก่อนและปิ ดผนึกไว้ไม่ให้อากาศเข้าไป รอประมาณ หนึง่ ชัว่ โมงจนกว่าอุณหภูมิของผลิตภัณฑ์จะเท่ากับอุณหภูมิแวดล้อม ถ้าหากความชืน้ กลัน่ ตัวเป็ นหยดนา้ ภายในผลิตภัณฑ์ ให้ปิดสวิตช์แล้วรอประมาณหนึง่ ชัว่ โมงเพื่อให้ความชืน้ ระเหยออกไป ถ้าหากท่านพยายามถ่ายภาพขณะที่มีหยดนา้ อยู่ใน เลนส์ ท่านจะไม่สามารถถ่ายได้ภาพที่ชดั เจน ฟั งก์ชนั ่ ที่ใช้งานได้กบั ผลิตภัณฑ์ คู่มือเล่มนีอ้ ธิบายฟั งก์ชนั ่ ของอุปกรณ์ที่สนับสนุน 1080 60i และอุปกรณ์ที่สนับสนุน 1080 50i ตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นอุปกรณ์ที่สนับสนุน 1080 60i หรืออุปกรณ์ที่ สนับสนุน 1080 50i ได้โดยมองหาเครื่องหมายต่อไปนีท้ ี่ดา้ นล่างของผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์ที่ใช้ได้กบั ระบบ 1080 60i: 60i อุปกรณ์ที่ใช้ได้กบั ระบบ 1080 50i: 50i หมายเหตุสาหรับการโดยสารเครื่องบิน ขณะอยู่บนเครื่องบิน ตัง้ [โหมดเครื่องบิน] ไปที่ [เปิ ด] ความเข้ากันได้ของข้อมูลภาพ ผลิตภัณฑ์นสี้ อดคล้องกับมาตรฐานสากล DCF (Design rule for Camera File system) ซึ่ง กาหนดโดย JEITA (Japan Electronics and Information Technology Industries Association) ไม่มีการรับประกันการแสดงภาพที่บนั ทึกด้วยผลิตภัณฑ์ของท่านบนอุปกรณ์อื่น และการ แสดงภาพที่บนั ทึกหรือแก้ไขด้วยอุปกรณ์อื่นบนผลิตภัณฑ์ของท่าน หมายเหตุเกี่ยวกับการเล่นภาพเคลื่อนไหวบนอุปกรณ์อื่น ผลิตภัณฑ์นใี้ ช้ MPEG-4 AVC/H.264 High Profile ในการบันทึกรูปแบบ AVCHD ด้วย เหตุนี้ ภาพเคลื่อนไหวที่บนั ทึกในรูปแบบ AVCHD ด้วยผลิตภัณฑ์นจี้ ึงไม่สามารถเปิ ดเล่น โดยอุปกรณ์ตอ่ ไปนี้ อุปกรณ์อื่นๆ ที่สนับสนุนรูปแบบ AVCHD ซึ่งไม่รองรับ High Profile อุปกรณ์ที่ไม่สนับสนุนรูปแบบ AVCHD ผลิตภัณฑ์นยี้ งั ใช้ MPEG-4 AVC/H.264 Main Profile ในการบันทึกรูปแบบ MP4 ด้วย เหตุนี้ ให้ดภู าพเคลื่อนไหวที่บนั ทึกในรูปแบบ MP4 ด้วยผลิตภัณฑ์นบี้ นอุปกรณ์ที่ สนับสนุน MPEG-4 AVC/H.264 สามารถเล่นแผ่นดิสก์ที่บนั ทึกด้วยคุณภาพของภาพระดับ HD (ความละเอียดสูง) บน อุปกรณ์ที่ใช้ร่วมกับรูปแบบ AVCHD ได้เท่านัน้ เครื่องเล่นหรือเครื่องบันทึก DVD ไม่สามารถเล่นแผ่นดิสก์ที่มีคณ ุ ภาพของภาพระดับ HD ได้ เนือ่ งจากอุปกรณ์ดงั กล่าวไม่สามารถใช้งานร่วมกับรูปแบบ AVCHD นอกจากนี้


• •

• • •

• • •

เครื่องเล่นหรือเครื่องบันทึก DVD อาจไม่สามารถดันดิสก์ที่มีคณ ุ ภาพของภาพระดับ HD ซึ่งบันทึกในรูปแบบ AVCHD ออกมาได้ จอภาพและเลนส์ จอภาพผลิตด้วยเทคโนโลยีที่มีความแม่นยาสูงมากเพื่อให้ได้พิกเซลที่ใช้งานได้มากกว่า 99.99 % อย่างไรก็ดี อาจมีจดุ ดาและ/หรือจุดสว่างเล็กๆ (สีขาว แดง นา้ เงิน หรือเขียว) ที่ปรากฏบนจอภาพอย่างต่อเนือ่ ง จุดเหล่านีเ้ ป็ นเรื่องปกติในกระบวนการผลิต และไม่ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพของภาพแต่อย่างใด การปล่อยให้จอภาพหรือเลนส์ถกู แสงแดดส่องถึงโดยตรงเป็ นระยะเวลานาน อาจทาให้ เกิดความเสียหายได้ ควรใช้ความระมัดระวังเมื่อวางผลิตภัณฑ์ไว้ใกล้หน้าต่างหรือในที่ กลางแจ้ง อย่ากดจอภาพแรงๆ จออาจแสดงสีผิดเพี้ยนและอาจทาให้ทางานผิดปกติ อาจมีเงาภาพปรากฏบนจอภาพในสถานที่เย็น ซึ่งอาการเช่นนีไ้ ม่ได้แสดงว่ากล้องทางาน ผิดปกติ ถ้ามีหยดนา้ หรือของเหลวอย่างอื่นอยู่บนจอภาพ ให้เช็ดออกด้วยผ้านุม่ ถ้าปล่อยให้ จอภาพเปี ยกนานๆ ผิวด้านนอกของจอภาพอาจเปลี่ยนแปลงหรือเสื่อมสภาพได้ การทา เช่นนีอ้ าจทาให้เกิดความเสียหายได้ นอกจากนี้ จอภาพยังอาจมืดกว่าปกติในตอนแรก ระวังอย่าให้เลนส์ถกู กระแทกหรือกดเลนส์แรงๆ อย่าใช้วตั ถุปลายแหลมกับหน้าจอสัมผัส การทาเช่นนีอ้ าจทาให้เกิดความเสียหายได้ หมายเหตุเกี่ยวกับแฟลช อย่าให้นวิ้ มือของท่านบังแสงแฟลช อย่าหิ้วผลิตภัณฑ์โดยจับที่แฟลช หรือออกแรงกดแฟลชมากเกินไป ถ้าหากมีนา้ ฝุ่ นละออง หรือทราย เข้าไปในแฟลชที่เปิ ดอยู่ อาจจะก่อให้เกิดความเสียหาย ได้ หมายเหตุเกี่ยวกับการกาจัดหรือเลิกใช้ผลิตภัณฑ์นี้ เมื่อต้องการกาจัดหรือเลิกใช้ผลิตภัณฑ์นี้ โปรดดาเนินการดังต่อไปนีเ้ พื่อปกป้องข้อมูล ส่วนบุคคล ทาการ [รีเซ็ตการตัง้ ค่า] เพื่อรีเซ็ตการตัง้ ค่าทัง้ หมด เกีย่ วกับแบตเตอรีแ่ บบชาร์จใหม่ได้ภายในผลิตภัณฑ์ กล้องนีม้ ีแบตเตอรี่แบบชาร์จได้อยู่ภายในกล้องเพื่อเก็บข้อมูลวันที่และเวลา และการตัง้ ค่า อื่นๆ ไม่ว่าจะเปิ ดหรือปิ ดสวิตช์อยู่ หรือได้ชาร์จหรือไม่ได้ชาร์จแบตเตอรี่ก็ตาม แบตเตอรี่ ชาร์จไฟนีจ้ ะถูกชาร์จอยู่ตลอดเวลาที่ทา่ นใช้งานผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม หากท่านใช้งาน ผลิตภัณฑ์เป็ นระยะเวลาสัน้ ๆ เท่านัน้ แบตเตอรี่จะค่อยๆ คลายประจุ ถ้าหากท่านไม่ใช้งาน ผลิตภัณฑ์เลยเป็ นเวลาประมาณ 2 เดือน ประจุแบตเตอรี่ก็จะหมดได้ ในกรณีนี้ ท่าน จะต้องทาการชาร์จแบตเตอรี่กอ่ นใช้งานผลิตภัณฑ์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะไม่ได้ชาร์จ


• •

แบตเตอรี่แบบชาร์จได้นี้ ท่านก็ยงั สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ได้ตราบเท่าที่ทา่ นไม่ได้บนั ทึกวันที่ และเวลา วิธีการชาร์จแบตเตอรี่แบบชาร์จใหม่ได้ที่อยู่ภายในผลิตภัณฑ์ ใส่แบตเตอรี่ที่ชาร์จแล้วเข้าไปในผลิตภัณฑ์ หรือต่อผลิตภัณฑ์เข้ากับเต้ารับติดผนังด้วยอะ แดปเตอร์ AC (ให้มาด้วย) และปิ ดสวิตช์ผลิตภัณฑ์ทิ้งไว้ 24 ชัว่ โมงขึน้ ไป หมายเหต ุเกีย่ วกับแบตเตอรี่ การชาร์จแบตเตอรี่ ทาการชาร์จแบตเตอรี่ (ที่ให้มาด้วย) ก่อนเริ่มใช้งานผลิตภัณฑ์ครัง้ แรก แบตเตอรี่ที่ชาร์จไว้จะค่อยๆ คลายประจุทีละน้อย แม้เมื่อไม่ได้ใช้งาน ชาร์จแบตเตอรี่กอ่ น ใช้งานผลิตภัณฑ์ในแต่ละครัง้ เพื่อที่ทา่ นจะได้ไม่พลาดโอกาสในการถ่ายภาพ ท่านสามารถชาร์จแบตเตอรี่ได้ถึงแม้จะยังคลายประจุไม่หมด ท่านสามารถใช้งาน แบตเตอรี่ที่มีประจุชาร์จบางส่วนได้ ถ้าไฟชาร์จกะพริบและการชาร์จถูกยกเลิกกลางคัน ให้ถอดแบตเตอรี่ออกแล้วใส่กลับเข้า ไปใหม่ ขอแนะนาให้ชาร์จแบตเตอรี่ที่อณ ุ หภูมิแวดล้อมระหว่าง 10 °C ถึง 30 °C อาจจะชาร์จ แบตเตอรี่ได้ไม่เต็มที่ภายใต้อณ ุ หภูมินอกเหนือจากช่วงนี้ เมื่อท่านเชือ่ มต่อผลิตภัณฑ์นกี้ บั คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปที่ไม่ได้เชือ่ มต่อกับแหล่งจ่ายไฟ แบตเตอรี่ของแล็ปท็อปอาจลดลง อย่าชาร์จผลิตภัณฑ์นกี้ บั คอมพิวเตอร์แล็ปท็อปนาน เกินไป อย่าเปิ ด/รีสตาร์ทคอมพิวเตอร์ ปลุกคอมพิวเตอร์ให้ตนื่ จากโหมดสลีป หรือปิ ด คอมพิวเตอร์ขณะที่ผลิตภัณฑ์นกี้ าลังเชือ่ มต่ออยู่กบั คอมพิวเตอร์ดว้ ยสาย USB การ กระทาดังกล่าวอาจจะทาให้ผลิตภัณฑ์นเี้ กิดความเสียหายได้ ตัดการเชือ่ มต่อผลิตภัณฑ์ จากคอมพิวเตอร์กอ่ นดาเนินการตามข้างต้น เราไม่รบั ประกันการชาร์จกรณีที่ทา่ นใช้คอมพิวเตอร์ที่ประกอบเองหรือที่ถกู ดัดแปลง เวลาในการชาร์จ (ชาร์จเต็ม) เวลาในการชาร์จคือประมาณ 310 นาที เมื่อใช้อะแดปเตอร์ AC (ที่ให้มาด้วย) เวลาในการ ชาร์จข้างต้นคือเวลาสาหรับกรณีที่ชาร์จแบตเตอรี่ซึ่งไม่มีประจุเลยที่อณ ุ หภูมิ 25°C การ ชาร์จอาจใช้เวลานานกว่านีข้ นึ้ อยู่กบั เงือ่ นไขหรือสถานการณ์การใช้งาน การใช้งานแบตเตอรี่อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิภาพของแบตเตอรี่จะลดลงในสภาพแวดล้อมที่มีอณ ุ หภูมิตา่ ดังนัน้ ในที่เย็น ระยะเวลาใช้งานของแบตเตอรี่จะสัน้ ลง เพื่อให้แน่ใจว่าแบตเตอรี่จะใช้งานได้นาน ขอแนะนา ให้พกแบตเตอรี่ตดิ ตัวไว้ในกระเป๋ าที่ชดิ กับร่างกายของท่านเพื่อให้แบตเตอรี่อ่นุ และใส่ แบตเตอรี่เข้าในผลิตภัณฑ์ทนั ทีกอ่ นเริ่มถ่ายภาพ ระวังการลัดวงจรไฟฟ้า หากมีวตั ถุโลหะ เช่น กุญแจ อยู่ในกระเป๋ าของท่าน แบตเตอรี่จะหมดเร็วถ้าหากท่านใช้งานแฟลชหรือซูมบ่อยๆ


• • •

• •

ขอแนะนาให้เตรียมแบตเตอรี่สารองและทดลองถ่ายภาพก่อนถ่ายภาพจริง อย่าให้แบตเตอรี่เปี ยกนา้ แบตเตอรี่ไม่กนั นา้ อย่าวางแบตเตอรี่ไว้ในสถานที่ซึ่งมีอณ ุ หภูมิสงู มาก เช่น ในรถยนต์หรือถูกแสงแดดส่อง ถึงโดยตรง ถ้าขัว้ แบตเตอรี่สกปรก ท่านอาจไม่สามารถเปิ ดผลิตภัณฑ์ หรือแบตเตอรี่อาจไม่ชาร์จ อย่างถูกต้อง ในกรณีนี้ ให้ทาความสะอาดแบตเตอรี่โดยเช็ดฝุ่ นออกเบาๆ ด้วยผ้านุม่ หรือ ก้านสาลี ตัวแสดงปริมาณแบตเตอรี่ ตัวแสดงปริมาณแบตเตอรี่ปรากฏบนหน้าจอ

A: แบตเตอรี่สงู B: แบตเตอรี่หมด ใช้เวลาประมาณหนึง่ นาทีกว่าที่ตวั แสดงปริมาณแบตเตอรี่จะปรากฏอย่างถูกต้อง ตัวแสดงปริมาณแบตเตอรี่อาจแสดงปริมาณไม่ถกู ต้องภายใต้สภาพการใช้งานหรือ สภาวะแวดล้อมบางอย่าง ถ้าปริมาณแบตเตอรี่ไม่ปรากฎขึน้ บนหน้าจอ กดปุ่ ม DISP (การตัง้ ค่าแสดงผล) เพื่อแสดง ปริมาณแบตเตอรี่ วิธีการเก็บรักษาแบตเตอรี่ เพื่อรักษาสภาพการทางานของแบตเตอรี่ โปรดชาร์จแบตเตอรี่แล้วคลายประจุแบตเตอรี่ ในผลิตภัณฑ์จนหมดอย่างน้อยปี ละครัง้ ก่อนจัดเก็บ เก็บแบตเตอรี่ในที่แห้งและเย็น เพื่อใช้แบตเตอรี่ให้หมดประจุไฟ เปิ ดผลิตภัณฑ์ทิ้งไว้ในโหมดแสดงภาพสไลด์โชว์จนกว่า ผลิตภัณฑ์จะปิ ดทางานดับ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปั ญหา เช่น ขัว้ สกปรกหรือเกิดการลัดวงจร โปรดใส่แบตเตอรี่ใน ถุงพลาสติกเพื่อให้ห่างจากวัตถุโลหะขณะพกพาหรือจัดเก็บแบตเตอรี่ อายุการใช้งานแบตเตอรี่ แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานที่จากัด ถ้าท่านใช้แบตเตอรี่กอ้ นเดิมซา้ ๆ กัน หรือใช้แบตเตอรี่ ก้อนเดิมเป็ นเวลานาน ความจุของแบตเตอรี่จะค่อยๆ ลดลง ถ้าระยะเวลาที่เหลืออยู่ของ แบตเตอรี่ลดสัน้ ลงอย่างมาก อาจถึงเวลาที่ตอ้ งเปลี่ยนไปใช้แบตเตอรี่กอ้ นใหม่ อายุการใช้งานแบตเตอรี่จะแตกต่างกันขึน้ อยู่กบั วิธีจดั เก็บและสภาพการใช้งาน รวมทัง้ สภาพแวดล้อมขณะใช้แบตเตอรี่ดว้ ย การชาร์จแบตเตอรี่ อะแดปเตอร์ AC ที่ให้มาด้วย เป็ นรุ่นที่ใช้งานกับผลิตภัณฑ์นเี้ ท่านัน้ อย่าเชือ่ มต่อเข้ากับ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อื่นๆ การกระทาดังกล่าวอาจจะทาให้เกิดความเสียหายได้


• •

• •

• • • • • • • •

ใช้อะแดปเตอร์ AC ของแท้ของ Sony เท่านัน้ ถ้าหากไฟชาร์จของผลิตภัณฑ์กะพริบขณะกาลังชาร์จ ให้ถอดแบตเตอรี่ที่กาลังชาร์จออก แล้วใส่แบตเตอรี่กอ้ นเดิมนัน้ เข้าไปในผลิตภัณฑ์อย่างแน่นหนา ถ้าหากไฟชาร์จกะพริ บอีก ครัง้ อาจจะแสดงว่าแบตเตอรี่เกิดข้อผิดพลาด หรือท่านได้ใส่แบตเตอรี่ชนิดอื่น นอกเหนือจากชนิดที่ระบุ ตรวจสอบว่าแบตเตอรี่เป็ นชนิดที่กาหนดหรือไม่ ถ้าหากแบตเตอรี่เป็ นชนิดที่ระบุ ให้ถอดแบตเตอรี่ออก แล้วเปลี่ยนเป็ นก้อนใหม่หรือก้อน อื่น พร้อมทัง้ ตรวจสอบว่าแบตเตอรี่ที่เพิ่งใส่เข้าไปนัน้ ชาร์จได้อย่างถูกต้องหรือไม่ ถ้า แบตเตอรี่ที่เพิ่งใส่เข้าไปชาร์จอย่างถูกต้อง แสดงว่าแบตเตอรี่กอ้ นที่ใส่ก่อนหน้านีอ้ าจ ชารุด ถ้าหากไฟชาร์จกะพริบถึงแม้อะแดปเตอร์ ACต่ออยู่กบั ผลิตภัณฑ์และเต้ารับติดผนัง แสดง ว่าการชาร์จยุตชิ วั ่ คราวและอยู่ในสถานะเตรียมพร้อม การชาร์จจะหยุดและเข้าสูส่ ถานะ เตรียมพร้อมโดยอัตโนมัตเิ มื่ออุณหภูมิอยู่นอกเหนือช่วงอุณหภูมิใช้งานที่แนะนา เมื่อ อุณหภูมิกลับคืนสูช่ ว่ งที่เหมาะสม การชาร์จจะดาเนินต่อ และไฟชาร์จจะติดอีกครัง้ ขอ แนะนาให้ทาการชาร์จแบตเตอรี่ที่อณ ุ หภูมิแวดล้อม 10°C ถึง 30°C การ์ดหน่วยความจา การ์ดหน่วยความจา การระบุประเภทการ์ดในวิธีใช้งาน Memory Stick PRO Duo (Memory Stick XC-HG Duo/Memory Stick PRO Duo/Memory Stick PRO-HG Duo) การ์ด SD (การ์ดหน่วยความจา SD/การ์ดหน่วยความจา SDHC/การ์ดหน่วยความจา SDXC) สื่อบันทึก Memory Stick PRO Duo และการ์ด SD ที่มีขนาดสูงสุด 64 GB ได้รบั การ ทดสอบและพิสจู น์แล้วว่าใช้งานได้กบั ผลิตภัณฑ์นี้ ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว แนะนาให้ใช้การ์ดหน่วยความจาต่อไปนี:้ (Mark2) (Memory Stick PRO Duo (Mark2)) (Memory Stick XC-HG Duo (Mark2)) (Memory Stick PRO-HG Duo) การ์ด SD Class 4 หรือเร็วกว่า ในการบันทึกภาพเคลื่อนไหวรูปแบบ XAVC S ให้ใช้การ์ดหน่วยความจาดังต่อไปนี้ การ์ดหน่วยความจา SDXC ที่มีความจุอย่างน้อย 64 GB (Class 10 หรือเร็วกว่า) การ์ดหน่วยความจา SDXC ที่สนับสนุน UHS-I ซึ่งมีความจุอย่างน้อย 64 GB Memory Stick XC-HG Duo ผลิตภัณฑ์นรี้ องรับการ์ด SD ที่สนับสนุน UHS-I


• • • • • • • • •

• • • • •

หมำยเหตุ เมื่อท่านใช้การ์ดหน่วยความจากับผลิตภัณฑ์นเี้ ป็ นครัง้ แรก ขอแนะนาให้ฟอร์แมตการ์ด โดยใช้ผลิตภัณฑ์ เพื่อประสิทธิภาพที่คงที่ของการ์ดหน่วยความจาก่อนทาการถ่ายภาพ พึงระลึกว่าการฟอร์แมตจะเป็ นการลบข้อมูลทัง้ หมดในการ์ดหน่วยความจาอย่างถาวร และไม่สามารถกูก้ ลับคืนมาได้ จัดเก็บข้อมูลสาคัญไว้กอ่ นในเครื่องคอมพิวเตอร์ ฯลฯ ถ้าท่านถ่ายภาพและลบภาพซา้ ๆ กันเป็ นเวลานาน ข้อมูลในไฟล์ในการ์ดหน่วยความจาจะ กระจัดกระจายและการบันทึกภาพเคลื่อนไหวอาจหยุดชะงักระหว่างการถ่ายภาพ หากเกิด เหตุการณ์เช่นนี้ ให้จดั เก็บภาพของท่านลงในเครื่องคอมพิวเตอร์หรือที่เก็บข้อมูลอื่นๆ จากนัน้ ใช้คาสัง่ [ฟอร์แมต] ไม่รบั ประกันว่าการ์ดหน่วยความจาที่ฟอร์แมตบนคอมพิวเตอร์จะสามารถใช้กบั ผลิตภัณฑ์นไี้ ด้ ความเร็วในการอ่าน/เขียนข้อมูล แตกต่างกันไปตามการ์ดหน่วยความจาและอุปกรณ์ที่ใช้ ขอแนะนาให้สารองข้อมูลที่สาคัญ เช่น เก็บไว้ในฮาร์ดดิสก์ของคอมพิวเตอร์ อย่าติดฉลากบนการ์ดหน่วยความจาหรือบนตัวแปลงการ์ดหน่วยความจา อย่าใช้มือหรือวัตถุโลหะแตะบริเวณหน้าสัมผัสของการ์ดหน่วยความจา อย่ากระแทก บิด หรือทาการ์ดหน่วยความจาตก อย่าถอดประกอบหรือดัดแปลงการ์ดหน่วยความจา อย่าให้การ์ดหน่วยความจาตกนา้ อย่าวางการ์ดหน่วยความจาในบริเวณที่เด็กเล็กเอื้อมถึง เด็กอาจจะกลืนลงไปได้ การ์ดหน่วยความจาอาจร้อนหลังจากใช้งานเป็ นเวลานาน โปรดระมัดระวังในการจัดการ กับการ์ดดังกล่าว อย่าเสียบการ์ดหน่วยความจาที่ไม่พอดีกบั ช่องเสียบการ์ดหน่วยความจา การกระทา ดังกล่าวอาจจะทาให้เกิดความเสียหายได้ อย่าใช้งานหรือเก็บการ์ดหน่วยความจาภายในสภาพต่อไปนี้ สถานที่ที่มีอณ ุ หภูมิสงู เช่น ในรถที่จอดกลางแดด สถานที่ซึ่งแสงแดดส่องถึงโดยตรง สถานที่ชนื้ หรือมีสารกัดกร่อน ภาพที่บนั ทึกบนสื่อ Memory Stick XC-HG Duo และการ์ดหน่วยความจา SDXC ไม่ สามารถนาเข้าหรือเล่นบนคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ AV ที่ไม่สามารถใช้งานร่วมกับ exFAT เมื่อเชือ่ มต่อด้วยสายไมโคร USB ตรวจสอบว่าอุปกรณ์สามารถใช้งานร่วมกับ exFAT ก่อนจะเชือ่ มต่ออุปกรณ์กบั ผลิตภัณฑ์ ถ้าเชือ่ มต่อผลิตภัณฑ์กบั อุปกรณ์ที่ใช้ ร่วมกันไม่ได้ จะมีขอ้ ความแจ้งให้ฟอร์แมตการ์ด อย่าฟอร์แมตการ์ดตามที่ได้รบั แจ้ง เพราะจะเป็ นการลบข้อมูลทัง้ หมดในการ์ด (exFAT เป็ นระบบไฟล์ที่ใช้ในสื่อ Memory Stick XC-HG Duo และการ์ดหน่วยความจา SDXC)


• • •

Memory Stick ชนิดของสื่อบันทึก Memory Stick ที่ใช้งานได้กบั ผลิตภัณฑ์นมี้ ีดงั นี้ อย่างไรก็ตาม ไม่ รับประกันว่าจะใช้งานได้อย่างสมบูรณ์กบั ทุกฟั งก์ชนั ่ ของ Memory Stick Memory Stick PRO Duo: *1*2*3 Memory Stick PRO-HG Duo: *1*2 Memory Stick XC-HG Duo: *1*2 *1Memory Stick นีม ้ ีฟังก์ชนั ่ MagicGate MagicGate เป็ นเทคโนโลยีที่ได้รบั การคุม้ ครอง ลิขสิทธิ์ที่ใช้เทคโนโลยีการเข้ารหัสข้อมูล ไม่สามารถทาการบันทึก/เปิ ดดูขอ้ มูลที่ตอ้ งใช้ ฟั งก์ชนั ่ MagicGate กับผลิตภัณฑ์นี้ *2สนับสนุนการรับส่งข้อมูลความเร็ วสูงโดยการเชือ ่ มต่อแบบขนาน *3ขณะบันทึกภาพเคลื่อนไหว เฉพาะสื่อบันทึกที่มีเครื่องหมาย Mark2 เท่านัน ้ ที่สามารถ ใช้ได้ หมายเหตุเกี่ยวกับการใช้งานสื่อบันทึก Memory Stick Micro (แยกจาหน่าย) ผลิตภัณฑ์ใช้งานร่วมกับสื่อบันทึก Memory Stick Micro (M2) ได้ M2 เป็ นตัวย่อของสื่อ บันทึก Memory Stick Micro ในการใช้งานสื่อบันทึก Memory Stick Micro กับผลิตภัณฑ์นี้ ดูให้แน่ใจว่าได้ใส่สื่อบันทึก Memory Stick Micro เข้าไปในตัวแปลง M2 ที่มีขนาดเท่ากับ Duo แล้ว ถ้าหากท่านใส่สื่อ บันทึก Memory Stick Micro เข้าไปในผลิตภัณฑ์โดยไม่ได้ใช้ตวั แปลง M2 ที่มีขนาดเท่ากับ Duo ท่านอาจจะไม่สามารถเอาสื่อบันทึกออกมาจากผลิตภัณฑ์ได้ อย่าวางสื่อบันทึก Memory Stick Micro ในบริเวณที่เด็กเล็กเอื้อมถึง เด็กอาจจะกลืนลงไป ได้


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.