Landscape Design Portfolio By Phutuch Buddeesuwan

Page 1

a

landscape architecture portfolio Phutuch Buddeesuwan


PROFILE

LANDSCAPE ARCHITECTURE YEAR 4TH STUDENT

NAME : PHUTUCH BUDDEESUWAN NICKNAME : PHU DATH OF BIRTH : 13 JANUARY 1996 CURRENT ADDRESS RATCHATHEWI TOWER FLOOR 12TH ROOM NO.106 PHAYATHAI RD. THANONPHAYATHAI, RATCHATHEWI, BANGKOK, THAILAND 10400

EDUCATION 2008 - 2014

LOEIPITTAYAKOM SCHOOL (MUANGLOEI, LOEI, TH)

2016 - CURRENT

DEPARTMENT OF LANDSCAPE ARCHITECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

EXPERIENCE

GPA : 3.50 (YEAR 3RD 1ST SEMESTER) GPA : 3.81 (YEAR 3RD 2ND SEMESTER) GPA : 3.44 (YEAR 4TH 1ST SEMESTER) GPAX : 3.03

WORRKSHOP : WE!PARK WORKSHOP#1 AT FACULTY OF ARCHITECTURE CHULALONGKORN UNIVERSITY

HAND SKETCH SKILLS

COMPUTER SKILLS

FREE-HAND SKETCH

ADVANCE

AUTOCAD

UPPER-INTERMEDIATE

HAND-DRAWING

ADVANCE

SKETCHUP

UPPER-INTERMEDIATE

PENCIL COLOR

ADVANCE

V-RAY

ELEMENTARY

WATER COLOR

PRE-ADVANCE

LUMION

INTERMEDIATE

PHOTOSHOP

INTERMEDIATE

ILLUSTRATOR ELEMENTARY INDESIGN CONTACT EMAIL : phutuch@gmail.com TEL : (+66)61-745-5334

HOBBY & OTHERS INTERESTED PLAYING GUITAR

COFFEE BREWING

ELEMENTARY

PHOTOGRAPHY


PROJECT

PAGE : 9-16

PAGE : 1-8

Courtyard space Si Chang (Housing Project)

The Aman Koh Chang (5 Stars Resort Project) PAGE : 35-43

SKETCH DESIGN

Makkasan Re-Creative Park (Park & Art space)

PAGE : 17-26

Chompol Walking street (Urban Project at Korat) PAGE : 44-49

Prommitr Studio (Theme Park Project)

The Soulcial Path (Redevelopement Mining area)

PAGE : 51-52

Si Chang Hydro Herb Unit (Sketch Design)

PAGE : 27-34

Content

PAGE : 53-54

Monument of Rings (Sketch Design)

PAGE : 55-56

Pathumvipassan Sathan (Sketch Design)


Courtyard space

1 (Si Chang Housing Project)

LIMESTONE ISLAND | HOUSING PLANING YEAR : 2017 LOCATION : SI CHANG, SRIRACHA, CHONBURI, TH AREA : 43,000 SQ.M.

Concept design บริษัท Thaioil เป็นบริษัทที่เดินหน้าและขับเคลื่อนองค์กรภายใต้ CSR ที่ว่า “ที่แห่งนี้ไม่มีเจ้านายหรือลูกน้อง มีเพียงพี่และน้อง” จาก CSR นี่เอง ที่ แสดงออกถึงความสัมพันธ์ของกันและกันระหว่างพนักงานด้วยกันเอง หรือพนักงาน และผู้บริหาร ดังนั้นการออกแบบจึงเน้นไปที่ “การเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกัน และกัน” เพื่อให้สอดคล้องกับ CSR ของบริษัท ผู้ออกแบบจึงได้ออกแบบโครงการ Housing แห่งนี้ภายใต้ ชื่อ Courtyard space ซึ่ง Courtyard เป็นสิ่งที่แสดงออกถึงพื้นที่ส่วนกลางที่เชื่อมต่อองค์ประกอบโดย รอบเข้าด้วยกัน/รวมกันได้ ดังนั้น Courtyard แห่งนี้จึงเป็น Courtyard ที่จะสร้าง ปฎิสัมพันธ์แก่กันและกันของผู้อยู่อาศัยในโครงการหรือแม้แต่ชุมชนในเกาะสีชังแห่งนี้ อีกด้วย

Project Requirement โครงการแห่งนี้เป็นโครงการบ้านพักสำ�หรับพนักงานที่มา ทำ�งานประจำ�อยู่ที่เกาะสีชัง อำ�เภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี โดยที่ประกอบไปด้วยส่วน กลางขนาดใหญ่ บ้านพักผู้บริหาร 3 หลัง บ้านพักพนักงานแบบคนเดียวจำ�นวน 4 หลัง และบ้านพักพนักงานที่มาพร้อมกับ ครอบครัวอีกจำ�นวน 10 หลัง


2

N

MASTERPLAN SCALE 1:500


3

Detail design 1 Public Area แสดงส่วนกลางของโครงการซึ่งเลือก ออกแบบวางผังในรูปแบบCourtyardตาม Conceptหลักของโครงการเพื่อให้เกิดการ โอบ ล้อมพื้นที่และความต่อเนื่องของ Space ใน การใช้งาน โดยที่ฝั่งล่างจะเป็น Canteen ของ โครงการ ส่วนฝั่งขวาจะเป็น ห้องสมุด ร้านกาแฟ และฟิตเนส ตามลำ�ดับ โดยที่ Open space ส่วนกลางที่ถูกล้อมอยู่ จะเป็น Multipurpose Area สำ�หรับจัดงาน หรือกิจกรรมนันทนาการต่าง ๆ ของโครง การ โดยที่ Space ยังให้ความต่อนเนื่อง โดยการทำ� Boardwalk ต่อเนื่องไปกับหิน ปูนขนาดใหญ่ที่อยู่ตามจุดต่าง ๆ เพื่อแสดง ให้เห็นเอกลักษณ์เฉพาะของ Site และความ กลมกลืนกันของธรรมชาติและสิ่งก่อสร้าง


4 Materials & Plant lists

หางนกยูงฝรั่ง Delonix regia

ประดู่ป่า Pterocarpus macrocarpus

ปีบ Millingtonia hortensis

พิกุล Mimusops elengi

Wood Deck

ย่าหยา Asystasia gangetica

Perspective ภาพแสดงบรรยากาศการใช้งาน Space และแสดงภาพรวมของาหารที่ห้องล้อม Open space ให้มีลักษณะเป็น Courtyard

Section รูปตัดแสดงความสูงของระดับต้นไม้และสัดส่วนอาคาร รวมไปถึงแสดง Space ในมุม มองแบบ 2D

หญ้านวลน้อย Zoysia matrella Merrill

หญ้าหางกระรอก Setaria verticillata

เน้นการเลือกใช้งานพันธุ์พืชยืนต้น/พุ่ม ที่เป็นไม้พื้นถิ่น และ พันธุ์ไม้อื่น ๆ ที่ไม่ต้องการการดูแลที่มาก

Stone Pavement

Stamp Concrete Pavement

เลือกใช้วัสดุคอนกรีต และวัสดุอื่น ๆ ที่ให้ความเป็น ธรรมชาติ เช่น หิน ไม้เทียม เป็นต้น


5

Detail design 2 Single room

Detail แสดงส่วนบ้านพักแบบห้องเดี่ยว จำ�นวน 48 ห้อง (2 ชั้น) สำ�หรับพนักงาน ซึ่งมาคนเดียว ได้ถูกออกแบบให้มีลักษณะที่ ล้อมรอบกันเป็น Courtyardเพื่อให้เกิดพื้นที่ Open space ที่สามารถใช้เป็นพื้นที่ส่วน กลาง จุดนัดพบ หรือพื้นที่ทำ�กิจกรรม ต่าง ๆ ของบริเวณส่วนนี้ได้ โดยที่พื้นที่ส่วน กลางของบริเวณนี้ได้จัดให้มี สนามหญ้าจัด Event, Pavilion สำ�หรับพักผ่อน หรือ รวมไปถึง Outdoor Gym เพื่อออกกำ�ลัง กาย โดยการออกแบบได้มีการใช้ Wood Deck เชื่อต่อเนื่องไปกับแนวก้อนหินบริเวณ พื้นที่ เพื่อสร้างความต่อเนื่องให้สัมพันธ์กับ ธรรมชาติโดยรอบ


6

Detail design 2

Materials & Plant lists

หางนกยูงฝรั่ง

Delonix regia

งิ้วป่าดอกขาว Bombax anceps Pierre

ปีบ Millingtonia hortensis

Wood Deck

ตะแบกนา

นนทรี

Lagerstroemia floribunda

Peltophorum pterocarpum

Stone Pavement

Sand Wash

ลั่นทมดอกขาว Plumeria alba L.

Concrete Pavement

Perspective

เลือกใช้วัสดุคอนกรีต และวัสดุอื่น ๆ ที่ ให้ความเป็นธรรมชาติ เช่น หิน ไม้เทียม

ภาพแสดงบรรยากาศการใช้งาน Space และแสดงภาพรวมของอาคารบ้านพักและการใช้ งานกิจกรรมในพื้นที่

ย่าหยา Asystasia gangetica

หญ้านวลน้อย Zoysia matrella Merrill

หญ้าหางกระรอก Setaria verticillata

เน้นการเลือกใช้งานพันธุ์พืชยืนต้น/พุ่ม ที่เป็นไม้พื้นถิ่น และ พันธุ์ไม้อื่น ๆ ที่ไม่ต้องการการดูแลที่มาก

Section รูปตัดแสดงความสูงของระดับต้นไม้และสัดส่วนอาคาร รวมไปถึงแสดง Space ในมุมมองแบบ 2D


7

Detail design 3 Family House Detail แสดงส่วนบ้านพักแบบหลัง ซึ่งเป็น บ้านสำ�หรับพนักงานที่มาประจำ�ที่เกาะสีชัง พร้อมกับครอบครัว ซึ่งตัวบ้านจะมีทั้งหมด 10 หลัง แบ่งเป็น 2 Zone ส่วนละ 5 หลัง ซึ่งมีการวางผังให้เป็นลักษณะล้อมรอบให้ เกิด Open space ส่วนกลางในลักษณะ ของ Courtyard เพื่อให้ Space ส่วนนี้ เป็นจุดสร้างปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกันระหว่าง บ้านหลังต่าง ๆ ที่อยู่กันเป็นครอบครัว โดยที่ จะล้อมรอบหินขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดความ กลมกลืนกับธรรมชาติ และมี Space ที่เป็น สนามเด็กเล่นสำ�หรับให้เด็ก ๆ และผู้ปกครอง ของบ้านแต่ละหลังมาใช้งานร่วมกันได้ เป็นการ ส่งเสริมความสัมพันธ์ระหว่างพนักงาน และ ครอบครัวอีกรูปแบบหนึ่ง


8

Detail design 3

Materials & Plant lists

หางนกยูงฝรั่ง Delonix regia

นนทรี

Peltophorum pterocarpum

ปีบ Millingtonia hortensis

Wood Deck

ลั่นทมดอกขาว Plumeria alba L.

พิกุล

กระดุมทอง

Mimusops elengi

Sphagneticola trilobata

Stone Pavement

Concrete Pavement

Sand Wash

Arch Shape Stone Pavement

เลือกใช้วัสดุคอนกรีต และวัสดุอื่น ๆ ที่ ให้ความเป็นธรรมชาติ เช่น หิน ไม้เทียม

Perspective ภาพแสดงบรรยากาศการใช้งาน Space และแสดงภาพรวมของอาคารบ้านพักและการใช้ งานกิจกรรมในพื้นที่

Section รูปตัดแสดงความสูงของระดับต้นไม้และสัดส่วนอาคาร รวมไปถึงแสดง Space ในมุมมองแบบ 2D

ย่าหยา Asystasia gangetica

หญ้านวลน้อย Zoysia matrella Merrill

หญ้าหางกระรอก Setaria verticillata

เน้นการเลือกใช้งานพันธุ์พืชยืนต้น/พุ่ม ที่เป็นไม้พื้นถิ่น และ พันธุ์ไม้อื่น ๆ ที่ไม่ต้องการการดูแลที่มาก


The Aman Koh Chang (5 Stars Resort Project) 5 STARS RESORT AT KOH CHANGE | Tropical Island | 79 Units YEAR : 2017 LOCATION : KOH CHANG, TRAT, TH AREA : 410,000 SQ.M.

9

Concept design

Project Requirement โครงการ The Aman เกาะช้าง ได้แบ่งห้องพักออกเป็นทั้งหมด 79 Unit โดยจะแบ่งเป็น 4 รูปแบบได้แก่ ห้องพักแบบโรงแรม 48 ห้อง, Pool Villa 1 จำ�นวน 20 หลัง, Pool Villa 2 จำ�นวน 6 หลัง และ Exclusive Suite จำ�นวน 5 หลัง และมีส่วนกลางและส่วนกิจกรรมอื่น ๆ กระจายกันเป็นกลุ่ม ๆ (Cluster) อยู่ตาม Node ต่าง ๆ

Aman เครือรีสอร์ทและโรงแรมสุดหรูได้มี โครงการที่จะสร้างรีสอร์ทระดับ Luxury 5 ดาว ที่เกาะช้าง จังหวัดตราด ด้วยรูปแบบการดีไซน์เฉพาะตัว ซึ่งคือการใช้รูปแบบ สถาปัตยกรรมตามแบบของสถานที่/ประเทศนั้น ๆ เพื่อให้ผู้ใช้บริการได้ซึมซับบรรยากาศได้อย่างเต็มที่ ดังนั้นการออกแบบโครงการนี้จึงเน้นไปที่การหา เอกลักษณ์ทางปะวัติศาสตร์เฉพาะของเกาะช้าง เพื่อ ที่จะนำ�มาเป็น Element ในการดีไซน์ โดยได้พบว่า เดิมทีเกาะช้างเป็นเกาะที่ไม่มีผู้คนอาศัยอยู่มาเป็นเวลา นาน แต่ในเวลาต่อมาเกาะแห่งนี้ได้เป็นที่รู้จักเนื่องจาก เป็นจุดพักของเรือขนส่งสินค้า อีกทั้งยังมีเหตุการณ์ ทางประวัติศาสตร์อย่างยุทธนาวีเกาะช้างอีกด้วย จึง ส่งผลให้คำ�ว่า “เรือ” มีความผูกพันธ์กับเกาะช้างในทางประวัติศาสตร์เป็น อย่างมาก จึงนำ�มาเป็น Keyword ในการออกแบบตัวสถาปัตยกรรม


10

Planning Concept แสดงถึงความสัมพันธ์ของ เกาะ,เรือ และทะเล ซึ่งทั้ง 3 ความสัมพันธ์นี้สามารถอธิบายได้ดัง Diagram ด้านซ้าย ซึ่งจะมีเรือเป็น ”ตัวกลาง” ที่ทำ�ให้เกิดการเชื่อมต่อระหว่างสององค์ ประกอบคือ ทะเลและเกาะ

Sea

Boat

Island

Transform

แปลงความสัมพันธ์ให้เหมาะสม กับการดีไซน์

Sea Activities,Villas Island แปลงความสัมพันธ์ตัวกลางจาก “เรือ” มาเป็น “พื้นที่กิจกรรมและบ้านพัก” โดยที่ลำ�ดับการ เข้าถึง Space ก็จะเปลี่ยนจาก ทะเล ---> เรือ ---> เกาะ มาเป็น เกาะ ---> บ้านพัก,พื้นที่ กิจกรรม ---> ทะเล

N

MASTERPLAN SCALE 1:750


11

Detail design 1

Materials & Plant lists สนทะเล

มะพร้าว

กระทิง

Casuarina equisetifolia Cocos nucifera Calophyllum inophyllum

Beach Club Beach Club คือส่วนแรกที่จะพบเมื่อ Access เข้าสู้ตัว โครงการ โดยที่จะเป็นส่วนเดียวของโครงการที่จะได้ สัมผัสกับตัวชายหาด ซึ่งส่วนนี้จะประกอบไปด้วย ร้าน ขายของที่ระลึก ห้องอ่านหนังสือ ร้านอาหาร ส่วนจัด กิจกรรม/Event ต่าง ๆ รวมไปถึงชายหาดและส่วนเล่น กีฬาวอลเล่ย์บอลชายหาด เป็นต้น

หญ้าเบอร์มิวด้า

Cynodon dactylon

เป้งทะเล

Phoenix paludosa

บอนส้ม

Homalomena rostrata

พลับพลึงหนู

Hymenocallis littoralis

Stone Stamp Concrete Cobblestone

Asphalt

กระดาด

Alocasia macrorrhizos

Wood Deck

Concrete Pavement

Stepping Stones


Perspective

12 Detail

Detail แสดงส่วนฝายเก็บน้ำ� ซึ่งมีการลดหลั่นระดับลงมา และมีการตกแต่งตัว Retaining Wall ให้มีความกลมกลืนกับธรรมชาติโดยการใช ห้ นิ ธรรมชาต ติ กแต่งเข ้าไป อ กี ทั้งมีการปลูกพืชน้ำ� เช่น บอน เพื่อเพิ่มความกลมกลืนกับธรรมชาติเข้าไปอีก

ภาพ Perspective แสดงบรรยากาศบริเวณ Beach Club ซึ่งส่วนที่แสดงจะเน้นให้เห็น กิจกรรมกลางแจ้งที่สามารถเกิดขึ้นได้ เช่น วอลเล่ย์บอลชายหาด วิ่งจ๊อกกิ้ง เป็นต้น

SECTION

Section แสดงภาพรวมในรูปแบบ 2D ของบริเวณ Beach


13

Detail design 2

Materials & Plant lists

ยางนา

Dipterocarpus alatus

ส่วนกลางหลักของโครงการแห่งนี้ ความพิเศษของบริเวณนี้คือเป็นส่วนที่สามารถมอง เห็นพระอาทิตย์ตกดินและทะเลที่กว้างใหญ่ได้เป็นอย่างดี รวมไปถึง มีการออกแบบ Circulation ด้วย Deck Wood เพื่อความกลมกลืนธรรมชาติ ให้มากที่สุด อีกทั้งมี Main Pool ลดระดับตาม Slope ของเกาะ เพื่อให้ผู้ใช้งาน ได้รู้สึกใกล้ชิดกับธรรมชาติของพื้นที่มากขึ้นอีกด้วย

ตะแบกเปลือกบาง

Lagerstroemia duperreana

พลับพลึงหนู

ตาล

เอื้องหมายนา Costus spicatus

Hymenocallis littoralis

Cobblestone

Concrete Pavement

Asphalt

Wood Deck

Stepping Stones

Borassus flabellifer

River Front Area

ลำ�ดวน

Melodorum fruticosum


14 Perspective

ภาพ Perspective แสดงบรรยากาศบริเวณ Main Pool ที่มีการลดระดับตาม Slope เกาะ อีกทั้งยังสามารถชมวิวทะเลที่กว้างใหญ่และพระอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าได้อีกด้วย

SECTION

Section แสดงภาพรวมในรูปแบบ 2D ของบริเวณส่วนกลาง River Front Area


Detail design 3 Materials & Plant lists

ยางนา

ลำ�ดวน

Dipterocarpus alatus

Melodorum fruticosum

เอื้องหมายนา

หญ้าเบอร์มิวด้า

Costus spicatus

Cobblestone

Cynodon dactylon

ตะแบกเปลือกบาง

ตาล

Lagerstroemia duperreana Borassus flabellifer

พริกป่า

Tabernaemontana bufalina

Concrete Pavement

Wood Deck

Stepping Stones

Exclusive Suite Villa แบบ Exclusive Suite ที่ราคาสูงที่สุดของโครงการ เนื่องมาจาก Location ที่จัดวางอาคารทำ�ให้ผู้ใช้งานรู้สึกว่ากำ�ลังครอบครองพื้นที่บริเวณดังกล่าวอยู่ทั้งหมด อีกทั้งยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกลับขอบฟ้าที่กว้างขวางและสวยงาม นอกจากนั้น Exclusive Suite หลังนี้ยังมีสวน/ทางเดินลงไปสู่บริเวณโขดหินด้าน ล่าง เพื่อให้ผู้ใช้งานได้สัมผัสกับบรรยากาศของน้ำ�ทะเลอย่างใกล้ชิดอีกด้วย

15


16 Perspective

ภาพ Perspective แสดงบรรยากาศและ รูปแบบทางเข้าอาคารของ Exclusive Suite ส่วนนี้ ซึ่งจะมีการตกแต่งรั้วให้มี ความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ

SECTION

Detail Section

Detail แสดงรายละเอียดแนวความคิด ของการออกแบบรั้ว Section แสดงภาพรวมในรูปแบบ 2D ของความสูง/สัดส่วนอาคารและ Space


chompol

walking

street

urban project redeveloped old city ฟื้นฟูเศรษฐกิจเมืองเก่าด้วย การฟื้นฟูแหล่งเศรษฐกิจเก่า โดยการใช้ถนนคนเดินมาเป็น แนวความคิดหลักในการออก แบบพื้นที่ใช้สอยบริเวณถนน จอมพล โดยที่มีการแบ่งสัดส่วน และพื้นที่การใช้สอยให้มีรูปแบบ ที่หลากหลาย เพื่อ การใช้งานที่หลากหลายและ น่าดึงดูดภายในกรอบของ วัฒนธรรมเดิม

chompol street nai muang, muang, korat,TH

17


จอมพล ฅนเดิน

ทำ�ไมต้องถนนคนเดิน ?

18 ถนนจอมพล คือ ถนนเศรษฐกิจ เส้นเก่าของเมืองโคราช มีความสำ�คัญทาง ประวัติศาสตร์ของเมืองโคราชมายาวนาน ตั้งแต่อดีต แต่ในปัจจุบันจากการขยายของ ตัวเมือง และประชากรที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ถนน จอมพล เล็กเกินไปที่จะเป็นถนนเศรษฐกิจสาย หลักของเมืองโคราช จึงส่งผลให้ศูนย์กลาง เศรษฐกิจต้องย้ายออกไปอยู่นอกเมืองเก่า และถนนจอมพลก็กลายเป็นถนนที่เหมือนถูก ทิ้งไว้ โดยที่ไม่ได้มีการพัฒนาเพิ่มเติมต่อแบบ ที่ควรจะเป็น ดังนั้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจของ เมืองเก่า เพื่อรองรับความเจริญในอนาคตที่ จะเข้ามา เช่น การกลายเป็นเมืองศูนย์กลาง เชื่อมทางรถไฟความเร็วสูงระหว่างภาค กลางและภาคอีสาน โคราชจำ�เป็นที่จะต้อง พัฒนาเมืองเพื่อส่งเสริมต่อการเป็นเมือง ศูนย์กลางการคมนาคมในอนาคต ซึ่งการ ฟื้นฟูถนนเศรษฐกิจในอดีต ให้กลับมามีชีวิต อีกครั้ง จึงเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะปลุกเมือง เก่าโดยการนำ�เอาประวัติศาสตร์ความเป็น อยู่มาเป็นตัวชูโรงในรูปแบบของการค้าขาย ภายใต้ Theme Low Carbon

จากการวิเคราะห์และศึกษาข้อมูล เราได้พบว่าถนนจอมพลแห่งนี้ มีความหลากหลายทางรูปแบบสถาปัตยกรรม วิถีชีวิต และความเป็นอยู่ที่หลากหลาย มีชนชาติที่ หลากหลายอาศัยอยู่ในศูนย์กลางในอดีตแห่งนี้ มีการค้าขายที่แตกต้่งหลากหลายรูปแบบในแต่ละส่วน จึงเกิดเป็นแนวความคิดที่จะปลุกเส้นทางเศรษฐกิจเก่าแห่งนี้ให้ กลายเป็น “ถนนคนเดิน” เพราะเดิมทีถนนจอมพลเองก็มีการจัดถนนคนเดินอยู่แล้วเป็นบางวัน แต่จะดีกว่าไหม ถ้าหากเราสามารถเปลี่ยนถนนจอมพลทั้งเส้นให้กลาย เป็นถนนคนเดินเชิงวัฒนธรรม ที่ผสมผสานกับรูปแบบถนนคนเดินในยุคปัจจุบัน เพื่อให้คงเอกลักษณ์เดิมเอาไว้อย่างเหมาะสมกับสภาพการเปลี่ยนแปลงของโลกใน ปัจจุบัน ดังนั้นจึงเกิดแนวคิดที่จะทำ�ให้ถนนจอมพลทั้งเส้นกลายเป็นถนนเศรษฐกิจสีเขียว ที่จะเป็นส่วนแรกเริ่มในการงดใช้รถยนต์ในพื้นที่และค่อย ๆ เปลี่ยนให้เมืองเก่า โคราชทั้งคู กลายเป็นเมืองปลอดรถยนต์ภายใต้ Theme Low Carbon


19

chompol

walking

street

master plan

Masterplan แสดงถึงส่วนบริเวณที่ได้รับการปรับปรุงของทั้ง ถนนจอมพลและทั้งส่วนของถนนคนเดีินเดิมที่ได้รับการปรับปรุง ภูมิทัศน์และรูปแบบของทางให้ตรงตามถนนจอมพลเส้นหลัก

แนวรูปตัดเพื่อแสดงส่วนสำ�คัญของพื้นที่


20

ถนนหัตถกรรม

จากการสำ�รวจจะพบว่าความโดดเด่นของถนน Zone นี้ คือมีการขายของ Handcraft อยู่หลายอย่าง จึงทำ�ให้ สามารถแบ่งถนนเส้นนี้เป็นถนนหัตถกรรมได้ ที่จะมีการ ขายของ Handcraft & Handmade ของชาวโคราช

ถนนดนตรี

บริเวณนี้มีร้านขายเทป/ซีดดนตรีเก่าแก่อยู่หลายแห่ง อีกทั้งบริเวณดังกล่าวยังมีถนนคนเดินเดิม ซึ่งมีการจัด กิจกรรมทางแสง/เสียงหลาย ๆ อย่าง จึงเกิดแนวคิดขึ้น มาเป็นถนนสำ�หรับแสดง/แลกเปลี่ยน/ถ่ายทอด ทางดนตรีทั้งสากลและพื้นเมือง

ถนนแฟชั่น

ถนน Zone นี้พบว่ามีร้านขายของ

ถนนย้อนยุค

ถนน Zone นี้เปรียบเสมือนใจกลางของ

จำ�พวกสินค้าผ้าทอหรือเสื้อผ้าเป็น

เมืองเก่าโคราช เนื่องจากมีวัดที่สำ�คัญ

จำ�นวนมากดังนั้นเนื่องจากทุนเดิม

อย่างวัดสมเด็จพระนารายน์มหาราช

ที่พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกจับจองโดยร้าน ขายสิ่งทออยู่แล้ว จึงมาพัฒนาต่อ ให้ถนนคนเดิน Zone นี้กลายเป็น ถนนสายแฟชั่น

หรือวัดกลาง ถนนบริเวณนี้จึงเป็นศูนย์ รวมสินค้าที่หลากหลายแต่จะเน้นไปที่ การขายของดั้งเดิมของโคราช เช่น อาหารพื้นเมือง เสื้อผ้าพื้นเมือง เป็นต้น

ถนนงานวัด

ถนน Zone สุดท้าย เนื่องจากถนนติด กับแนวของวัดยาวเกือบตลอดเส้นกับ การที่บริเวณนี้มีการจัดถนนคนเดิน เดิมอยู่แล้ว จึงเสริมความเป็นวัดด้วย การสร้างถนน Zone นี้ให้มีแสงสีเสียง เหมือนกับงานวัดเพื่อสร้างสีสันให้แก่ ถนน Zone นี้ให้โดดเด่นยิ่งจึ้น


21

ถนนหัตถกรรม Detail 2

เรือนไทโคราช วัดบูรพ์ จากข้อมูลพบว่ามีมาพร้อม กับตัวเมืองเก่าโคราช ปัจจุบันหลังที่อยู่ ณ วัดบูรพ์ คือหลังที่มีสภาพสมบูรณ์ ที่สุด

1

SECTION 2 แสดงการใช้งานของพื้นที่และ Space บริเวณถนน หัตถกรรมและร้านค้าตรงกลางถนนคนเดิม

Handcraft Market Street ภาพ ISOMETRIC แสดงการใช้สอยพื้นที่ส่วนถนนหัตถกรรมบริเวณหน้า ประตูชุมพล ซึ่งเป็นส่วนทางเข้าหลักของโครงการถนนคนเดินจอมพล โดยที่จะประกอบไปด้วยส่วนนั่งพักผ่อนตรงกลางที่ให้ร่มเงาจากต้นไม้ใน บริเวณ รวมไปถึงจุดจอดจักรยาน ลู่ปั่นจักรยาน เป็นต้น

Pavement ของถนนหัตถกรรม มาจากลายประติมากรรมหล่อหินทราย ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของ งานฝีมือที่ตั้งอยู่หลังศาลหลักเมืองโคราช จึงมีการจับเอา Scheme สีมาใช้เป็นลายพื้นถนน

SECTION 1 แสดงการใช้งานพื้นที่บริเวณถนนหัตถรรมส่วนจอดรถ จักรยานและส่วนนั่งพักผ่อน


22

ถนนดนตรี

ถนนดนตรี

3

สืบสานตำ�นานา เพลงโคราช ผสมผสานกับความร่วมสมัยของระบบถนนคนเดินและความหลาก หลายของดนตรีร่วมสมัย ซึ่งพื้นที่นี้ได้เปิดโอกาสให้กับนักดนตรีวัยรุ่น หรือนักดนตรีที่รักใน วัฒนธรรมดนตรีดั้งเดิมของโคราช ซึ่งถนน Zone นี้นอกจากจะเป็นแหล่งรวมตัวให้นักดนตรีมา ร่วมกันร้องบรรเลงบทเพลงบริเวณที่ได้จัดไว้ที่กลางถนน ซึ่งเป็น Space สำ�หรับแสดงออกทาง ดนตรี โดยที่ลวดลาย Pavement ที่โดดเด่นนั้นได้ออกแบบโดยอิง Scheme สีจาก “ผ้าม่วง” อัน เป็นผ้าพื้นเมืองของโคราชซึ่งเป็นเครื่องแต่งกายเฉพาะท้องถิ่น

Section

Music Street

ภาพ ISOMETRIC แสดงการใช้สอยพื้นที่ส่วนถนนหัตถกรรมบริเวณหน้า ประตูชุมพล ซึ่งเป็นส่วนทางเข้าหลักของโครงการถนนคนเดินจอมพล โดยที่จะประกอบไปด้วยส่วนนั่งพักผ่อนตรงกลางที่ใ้หร่มเงาจากต้นไม้ บริเวณ รวมไปถึงจุดจอดจักรยาน ลู่ปั่นจักรยาน เป็นต้น

รูปตัดแสดง Space และพื้นที่การใช้งานบริเวณ Zone ของถนนดนตรี ซึ่งเป็น Zone ที่เปิดโอกาสเป็นพื้นที่ให้สำ�หรับ ผู้ที่สนใจในดนตรีพื้นเมืองหรือมีความสามารถทางดนตรีพื้นเมือง หรือแม้แต้ดนตรีสากล สามารถที่จะมาจัดแสดง ดนตรีได้ที่นี่ หรืออีกทั้งเพื่อให้ถนน Zone นี้เป็นศูนย์รวมของการพบปะแลกเปลี่ยนความรู้ทางดนตรีร่วมกันอีกด้วย


23

ถนนแฟชั่น ถนนดนตรี

ลวดลาย Pavement ของส่วนถนนแฟชั่น ได้นำ�เอา Pattern และลวดลาย ของ “ผ้าใหมปักธงชัย” ซึ่งเป็นผ้าดั้งเดิมของชาวโคราช มาเป็นแบบใน การเลือก Scheme สีเพื่อสำ�หรับนำ�ไปใช้การอ้างอิงและออกแบบลวดลาย Pavement โดยสีที่ได้จะเป็นไปตามภาพ

5

Fashion Market Street

ภาพ ISOMETRIC แสดงการใช้สอยพื้นที่ส่วนถนนแฟชั่นที่มีการจับจ่าบ ใช้สอยส่วนพื้นที่ตรงกลาง ซึ่งสร้างเป็นร้านค้าต่าง ๆ และ ส่วนที่เป็น Out Door Space ที่มีไว้สำ�หรับแลกเปลี่ยน/จัดแสดง เกี่ยวกับแฟชั่นและงานทอผ้า เย็บผ้าพื้นบ้านของชาวโคราช

Section

รูปตัดแสดง Space ทั้งภายในและภายนอกส่วนร้านค้า Kios และส่วนของ Open Space รอบ ๆ ถนนแฟชั่น ที่จะเป็นความสัมพันธ์ในรูปแบบการซื้อ/ ขาย อุปกรณ์ตัดเย็บ หรือชุดเสื้อผ้า ทั้งที่เป็นผ้าพื้นเมืองดั้งเดิมและเสื้อผ้า สากลด้วยเช่นกัน


Perspective

ถนนย้อนยุค

24

ภาพ Perspective แสดงบรรยาการบริเวณจุดเริ่มต้นถนน ย้อนยุค ซึ่งอยู่บริเวณหน้าศาลหลักเมือง โดยจะมีลานตรง แยกสำ�หรับจัดแสดงกิจกรรมต่าง ๆ และมีการสร้าง Facade ใหม่เพื่อให้ตัวอาคารเดิมมีความคล้อยตามส่วน ของวัดกลาง

Section 6

Traditional Retro Market Street

ภาพ Isometric แสดงความสัมพันธ์ในการใช้พื้นที่และ Open Space สำ�หรับถนนย้อนยุคซึ่งถือว่า เป็นถนนที่มีความหลากหลายและโดดเด่นที่สุด เพราะเป็นถนนที่เป็นศูนย์กลางของโคราชเพราะว่า Zone ดังกล่าว อยู่ใกล้กับศาลหลักเมืองและมีจุดเริ่มต้นของ Zone อยู่ที่ศาลหลักเมือง ดังนั้น Theme ของถนน Zone นี้จึงจะเน้นความหลากหลายของวัฒนธรรมโคราชดั้งเดิม ทั้งสินค้า และ อาหาร เช่น ร้านอาหารพื้นเมือง เสื้อผ้าพื้นเมือง หรือแม้แต่การแสดงพื้นเมือง เป็นต้น

Section แสดงความสัมพันธ์และการใช้งาน Space ในส่วน Outdoor Space ที่เป็น Multipurpose บริเวณตรงกลาง ถนนสำ�หรับจัดกิจกรรมต่าง ๆ เช่นดนตรีพื้นบ้าน จุดนั่งพัก หรือส่วนนั่งรับประทานอาหารจากร้านอาหารพื้นเมือง เป็นต้น ลวดลาย Pavement จะเป็นลวดลายพื้นที่นำ�มาจาก ภายในวัดสมเด็จพระนารายณ์มหาราช หรือที่ชาว โคราชจะเรียกว่าวัดกลาง มาเป็น Pattern ในการทำ� Pavement ของบริเวณ Zone นี้


25

ถนนงานวัด

Perspective

ภาพ Perspective แสดงบรรยากาศและแสงสีของถนนงาน วัดในยามค่ำ�คืน ที่จะมีการเล่น Lighting เป็นสีต่าง ๆ ตาม สีที่พบในงานวัดทั่วไป เพื่อให้องค์ประกอบเหล่านี้ ส่งเสริม และเพิ่มสีสันถนนคนเดินงานวัดหน้าวัดบูรพ์ให้น่าสนใจมาก ยิ่งขึ้น

8

Temple Fair Street ภาพ ISOMETRIC แสดงการใช้สอยพื้นที่ส่วนถนนงานวัด ที่จะมีลักษณะ เป็นถนนขายอาหารเดินรับประทาน มี Kios สำ�หรับทำ�กิจกรรมต่าง ๆ ที่มี ในงานวัด เช่น ปาเป้า ยิงตุ๊กตา เป็นต้น อีกทั้งถนน Zone นี้ยังมีความพิเศษตรงที่ในเวลากลางคืนจะมีการจัด Lighting ของถนนบริเวณนี้ เพื่อสร้าง สีสันและบรรยากาศของถนนงานวัดหน้าวัดบูรพ์ให้มากขึ้นกว่าแต่ก่อน

Section

Section แสดง Space และบรรยากาศยามค่ำ�คืนของถนน งานวัดบริเวณหน้าวัดบูรพ์ที่มีการตกแต่ง Lighting เพิ่ม ความน่าสนใจของงานวัด และ Space ส่วน Kios ร้าน ค้าขายของบริเวณตรงกลางที่จะขายของเหมือนเช่นในงาน วัดทั่วไป เช่น อาหารเดินกิน Kios กิจกรรมต่าง ๆ เช่น ปา เป้า เป็นต้น ลวดลาย Pavement จะนำ�เอาสามเหลี่ยมหน้าจั่วที่เป็นธงที่ จะพบได้ทั่วไปตามงานวัด มาทำ�เป็นช่องแสง LED Lighting และกำ�หนด Scheme สีให้เข้ากับสีงานวัดดังภาพ Isometric


26

Improvement & Connectivity Node ปรับปรุงสระน้ำ�

ปรับปรุง Node เชื่อมต่อ

การปรับปรุงพื้นที่บริเวณสระน้ำ� เช่น สระขวัญ โดยปรับให้มีพื้นที่โดยรอบที่คนสามารถเข้าไปใช้ งานได้ อีกทั้งพื้นที่บริเวณหน้าสระยังสามารถใช้ เป็นลานอเนกประสงค์เพื่อใช้จัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกันได้อีกด้วย

ปรับปรุงพื้นที่ส่วน Node ซึ่งเชื่อมต่อกับถนนจอมพล เช่น บริเวณส่วนเชื่อมต่อถนนแฟชั่น ซึ่งจะเชื่อมต่อไปถึงกับ สระบัว สระขวัญ และสระแก้ว อีกทั้งยังมีการใช้ลวดลาย Pavement ให้เหมือนกันเพื่อความต่อเนื่อง และเพิ่มพื้นที่สี เขียวบริเวณพื้นที่ที่เข้าไปปรับปรุงอีกด้วย

Perspective ภาพ Perspective แสดงบรรยาการและ Space ที่มีการ ปรับปรุงภูมิทัศน์ที่เชื่อมต่อกับถนนจอมพลทั้งสระน้ำ� และ ถนน Node เชื่อมต่อ

Temple Green Infrastructure

วัดบึง

ปรับปรุงลานจอดรถเก่าให้เป็นพื้นที่สีเขียว อีกทั้งยังมีลานและ พื้นที่อเนกประสงค์ที่สามารถใช้งานและจัดกิจกรรมต่าง ๆ ได้ เพิ่มเข้ามา

วัดสมเด็กพระนารายณ์มหาราช ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียวรอบ ๆ โบสถ์ เจดีย์ และสระน้ำ� เพื่อให้คนสามารถเข้าไปใช้งานได้อย่างทั่วถึงมากยิ่งขึ้น

วัดบูรพ์

ปรับปรุงและเพิ่มพื้นที่สีเขียว รวมไปถึงส่วนออกกำ�ลังกายเพิ่มเข้ามา เพื่อให้คนสามารถเข้าไปใช้งาน ได้หลากหลายขึ้น


27

Prommitr Studio เพชรพระอุมา

พระพุทธเจ้า

หงสาวดี

รศ.120

อยุธยา

พร้อมมิตร สตูดิโอ ซึ่งเป็นสตูดิโอถ่ายทำ�ภาพยนตร์ มีโครงการที่จะสร้าง Theme Park สำ�หรับการถ่ายทำ�หนังบนพื้นที่กว่า 411.83 ไร่ ซึ่งประกอบไปด้วย Theme Park 5 รูปแบบ อันได้แก่ เพชรพระอุมา พระพุทธเจ้า หงสาวดี รศ.120 และอยุธยา โดย นอกจากจะต้องเป็นสถานที่สำ�หรับถ่ายทำ�ภาพยนตร์แล้ว ยังต้องมี Function ที่สามารถเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อหารายได้เข้าโครงการได้อีก ด้วย ซึ่ง Function ประกอบไปด้วย Kios ร้านขายของทั้งอาหารและของที่ระลึก โรงหนัง/โรงละคร Main space ขนาดใหญ่สำ�หรับเป็น ส่วนต้อนรับและจัด Event ต่าง ๆ เป็นต้น


28

Site Information

Planning Concept

TYPE : THEME PARK & FILM STUDIO AREA: 658,928 SQ.M. LOCATION : BANG LAMUNG, CHONBURI, TH YEAR : 2019

แนวคิดการวางผังมาจากการตั้งคำ�ถามว่า “จะทำ�อย่างไรให้ User ที่มา เข้าชมสามารถเข้าดูตาม Node ต่าง ๆ ได้อย่างไม่จำ�เจ และคุ้มค่าที่สุด” ดังนั้นการวางผังจะมีลักษณะเป็น Loop แจกเข้าสู่ Zonning ต่าง ๆ ได้อย่างไม่ซ้ำ�รูปแบบกัน


29

Diagram

Circulation Circulation หลักจะมีลักษณะเป็น Loop วนรอบ Site โดยที่จะพา User ไปยังบรรยากาศของ Zone ต่าง ๆ ที่มีบรรยากาศที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่รวมไปถึงมีกิจกรรม ที่แตกต่างกันออกไป

Zonning Zonning ส่วนใหญ่เน้นเป็น เพชรพระอุมาและอยุธยาเป็น Zonning หลักขนาดใหญ่และมีกิจกรรมที่แตกต่างกันออกไป และส่วนอื่น ๆ ก็จะ มีการดึงลักษณะเฉพาะของแต่ Zone เพื่อสร้างบรรยากาศที่แตกต่าง กันออกไป


30

เพชรพระอุมา

Plant Lists & Materials ดินบดอัด จามจุรี Samanea saman

หางนกยูงฝรั่ง Delonix regia

พื้นหินกาบ

พื้นอิฐศิลาแลง

ตะเคียนทอง Hopea odorata

โปร่งกระทิง ตัวอย่าง Zone โปร่งกระทิงที่มีการ เลี้ยงกระทิงจริง เพื่อให้นักท่องเที่ยว หรือผู้คนที่ได้เข้ามาดูได้ซึใซับบรรยากาศ การจำ�ลองเพชรพระอุมาที่สมจริงมาก ขึ้น โดยที่บริเวณโปร่งกระทิงจะมีการทำ� น้ำ�พุร้อนจำ�ลองให้เหมือนกับในนิยาย อีกทั้งวิวจากโปร่งกระทิงจะไม่บดบังตัว Landmark ของส่วนนี้ ซึ่งก็คือนิทรา นคร เพื่อให้เห็นถึงความสำ�คัญของ ปราสาทนิทรานคร

Information

เพชรพระอุมาถูกกำ�หนดให้มีการเข้าถึงเป็นลำ�ดับ Sequence ตามเนื้อเรื่อง ซึ่งเริ่มจาก หมู่บ้านหนอง น้ำ�แห้ง โปร่งกระทิง หล่มช้าง นิทรานคร นครวานร ชุมเสือ ไดโนเสาร์ดึกดำ�บรรพ์ และจบที่มรกฎนคร ตามลำ�ดับ โดยที่แต่ละจุดก็จะมีกิจกรรมให้ทำ�แตก ต่างกันออกไป เช่น หมู่บ้านหนองน้ำ�แห้งจะมี Zone Gallery ภายในหมู่บ้าน และเป็นหมู่บ้านจำ�ลอง ส่วน หล่มช้างและโปร่งกระทิง จะเป็น Zone ที่มีการเลี้ยง ช้างและกระทิงไว้ภายใน Zone นั้น ๆ เพื่อบรรยากาศ และความสมจริงของการจำ�ลองพื้นที่

หล่มช้าง มีลักษณะ Function ที่คล้ายกับโปร่งกระทิง แต่เปลี่ยน จากกระทิงเป็นเลี้ยงช้างแทน เพื่อเพิ่มอรรถรสในการเข้า ชมของนักท่องเที่ยวนอกจากนั้นส่วนนี้จะเป็น Zone ที่มี รูปแบบ Landscape เป็นลักษณะ Grassland ที่โปร่ง โล่งสลับกับต้นไม้ใหญ่ และเป็นจุดเชื่อมต่อไปยังนิทรา นคร ซึ่งมี Function เป็นเกมยิงปืนเลเซอร์เก็บคะแนน เพื่อไปแลกของที่ระลึกเพชรพระอุมา


31

พระพุทธเจ้า

Plant Lists & Materials ศาละอินเดีย Shorea robusta

ลั่นทม Plumeria

ปีบ Millingtonia hortensis

พิกุล Mimusops elengi พื้น Stamp Concrete

พื้นอิฐเรียง(ลานนั่งสมาธิ)

พระพุทธเจ้า Bird eye View นำ�เอาแกนหลักของลำ�ดับชีวิตของ พระพุทธเจ้ามาใช้ในการจัด Sequence การเข้าถึง อันได้แก่ ประสูต(สวนลุมพินี วัน) ตรัสรู้(พุทธคยา) แสดงปฐมเทศนา (ป่าอิสปตมฤคทายวัน) และปรินิพพาน (กุสินารา) ตามลำ�ดับ และจุดสุดท้ายจะ เป็นลานนั่งสมาธิขนาดใหญ่

ลานนั่งสมาธิ Information Zone พระพุทธเจ้าถูกออกแบบโดยการลำ�ดับการเข้า ถึงโดยนำ�เอาลำ�ดับช่วงชีวิตของพระพุทธเจ้ามาเรียง เป็นลำ�ดับการเข้าถึงหลัก ซึ่งพอถึงจุดสุดท้ายจะเป็น ลานนั่งสมาธิโล่ง โปร่ง ขนาดใหญ่ เพื่อให้เกิดความ รู้สึกสบาย เพื่อให้เป็นจุดสุดท้ายที่รู้สึกผ่อนคลาย อีก ทั้งยังมีความเหมาะสมกับการนั่งสมาธิด้วย

ลานนั่งสมาธิขนาดใหญ่ของ Zone พระพุทธเจ้า ซึ่งเป็น จุดสิ้นสุดของ Sequence ทั้งหมด จึงมีการทำ�ให้ลาน มีความกว้าง โปร่ง โล่ง เพื่อให้ความรู้สึกโล่ง และมอง ออกไปข้างหน้าจะเป็นวิวของเจดีย์ เพื่อเสริมความรู้สึก ของความเป็นพุทธศาสนา


32

หงสาวดี

Plant Lists & Materials พื้น Stamp Concrete ปีบ Millingtonia hortensis พิกุล Mimusops elengi

พื้นอิฐเรียง

ลั่นทม Plumeria พื้น Asphalt

หงสาวดี Bird eye View แสดงภาพรวมของ Zone หงสาวดี ที่มีการจำ�ลองพระราชวังบุเรงนองขึ้น มาใหม่ พร้อมกับหมู่บ้านเหล่าขุนนาง ภายในเขตวัง ส่วนด้านนอกเขตกำ�แพง วังจะเป็นเจดีย์ชเวมอดอจำ�ลอง รวมไป ถึงหมู่บ้านรอบนอกเขตพระราชวังด้วย

วังบุเรงนอง Information Zone หงสาวดีมีการจำ�ลองพระราชวังบุเรงนอง และ เหล่าบ้านขุนนางภายในวัง ส่วนด้านนอกจะเป็นหมู่บ้าน รอบพระราชวัง และจำ�ลองเจดีย์ชเวมอดอไว้นอกรั้ววัง นอกจากนั้นยังมีกิจกรรมแสดงการละเล่นของชาวพม่า นั่นคือ แสดงหุ่นเชิดพม่า เป็นต้น

แสดงบรรยากาศหน้าวังบุเรงนองและเหล่าอาคารรอบ ๆ ซึ่ง Function หลักจะเน้นเป็นพระราชวังจำ�ลองมากกว่า Function อื่น ๆ ซึ่งอาจมีไม่มากเท่า Zone อื่น ซึ่ง ได้แก่ การแสดงหุ่นเชิดพม่า เป็นต้น


รศ.120

33

Plant Lists & Materials พิกุล Mimusops elengi

รศ.120 Bird eye View

มะขาม Tamarindos indica

ประดู่ Pterocarpus macrocarpus พื้นกระเบื้องดินเผา

พื้น Asphalt

ศาลาเฉลิมกรุงและตึกแถวเก่า

Information Zone รศ.120 เป็นส่วนที่จำ�ลองบรรยากาศของ เมืองรัตนโกสินทร์เก่ามาไว้ในพื้นที่ โดยดึงเอาองค์ ประกอบเก่าที่โดดเด่นเข้ามาเป็น Landmark เช่น ตึกแถวเก่า ศาลาเฉลิมกรุง สนามหลวง และกระทรวง กลาโหม เป็นต้น

ภาพบรรยากาศของตึกแถวที่ดึงเข้าไปสู่ตัวศาลาเฉลิมกรุง ซึ่ง ถูกจัดให้เป็น Landmark ของพื้นที่นี้ อีกทั้งศาลาเฉลิมกรุง ยังมีการจัดการแสดงภายใน ซึ่งนักท่องเที่ยวสามารถเข้าไปรับ ชมการแสดงได้ เช่น ละครเวที เป็นต้น บรรยากาศของสนามหลวงจำ�ลอง ที่จะมีว่าวให้เช่าเล่นด้วย อีกทั้งบริเวณโดยรอบถูกจัดให้เป็นตึกแถวเก่า และกระทรวง กลาโหม ซึ่งเดิมทีกระทรวงกลาโหมถือเป็นวังเก่า จึงกลายเป็น Landmark ของส่วนที่สองไป

ภาพมุมสูงแสดงภาพรวมคร่าว ๆ ของ Zone รศ.120 ที่ประกอบไป ด้วยตึกแถวเก่า ศาลาเฉลิมกรุง สนามหลวง และกระทรวงกลาโหม และมี ส่วนบริการอื่น ๆ ประกอบด้วย เช่น ร้านอาหาร พิพิธภัณฑ์รถโบราณ โรงละคร(ศาลาเฉลิมกรุง) เป็นต้น ส่วนบิรเวณสนามหลวงจะมีว่าวให้เช่า เล่นด้วยเช่นกัน

รศ.120 Bird eye View


อยุธยา

34

Plant Lists & Materials พิกุล Mimusops elengi

ลั่นทม Plumeria

ปีบ Millingtonia hortensis

ตลาดน้ำ�อยุธยา

ภาพมุมสูงแสดงบรรยากาศภาพรวมของตลาดน้ำ�อยุธยา

ตลาดน้ำ�อยุธยา

พื้นอิฐเรียง

พื้น Asphalt

พื้นไม้เทียม

Bird eye View อยุธยา

ภาพมุมสูงแสดงภาพรวมของส่วนบริเวณพระบรมหาราชวังและส่วนกิจกรรมต่าง ๆ รอบ ๆ รั้วพระราชวัง ได้แก่ หมู่บ้านนอกวัง การแสดงบางระจัน ร้านอาหาร เป็นต้น

ตลาดบกอยุธยา

Information Zone อยุธยาถือเป็นส่วนที่ใหญ่ที่สุดของโครงการ โดยจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนวังและรอบ ๆ วัง และส่วนตลาด ซึ่งจะแยกย่อยเป็นตลาดบกและตลาด น้ำ� เพื่อที่จะให้ผู้เข้าชมและนักท่องเที่ยวได้สัมผัสกับ บรรยากาศที่แตกต่างกันหลาย ๆ รูปแบบของ Zone อยุธยา

ภาพบรรยากาศบริเวณตลาดน้ำ�อยุธยา ซึ่งจะมีส่วนร้านขายของและ Gallery ปะปนกันไปตามแนว มีเรือเร่ขายของ อีกทั้งยังมีเรือสำ�เภาจำ�ลังที่ภายในเป็นร้าน อาหารให้ได้เข้าไปซึมซับบรรยากาศแปลกใหม่อีกด้วย

ภาพบรรยากาศบริเวณตลาดบกอยุธยา ซึ่งจะแสดงรูปแบบหมู่บ้านสมัยก่อนที่เป็น เรือนไม้ อีกทั้งบริเวณนี้ยังเป็นทั้งส่วน Gallery ร้านขายของที่ระลึก ร้านขาย อาหาร เป็นต้น


มักกะสรรค์รำ�รึก

Makkasan Re-Creative Park TYPE : URBAN REDEVELOPMENT OWNER : STATE RAIL WAY OF THAILAND AREA : 500,000 SQ.M. LOCATION : MAKKASAN, RATCHATHEWI, BKK,TH YEAR : 2019

35


36

มักกะสรรค์รำ�รึก?

ศูนย์การสร้างสรรค์ของคนรุ่นใหม่ + ศูนย์การเรียนรู้รถไฟไทย

ศูนย์การสร้างสรรค์ของคนรุน่ ใหม่ เพื่อเพิ่มพื้นที่สร้างสรรค์ผลงาน ในแง่ของงานศิลปะแบบครบวงจร มักกะสันจากโรงงานซ่อม/ผลิตหัวรถ จักรและรถไฟของไทย จะกลายเป็นแหล่ง สร้างสรรค์ผลงานและศูนย์รวมการ แสดงออกของงานสร้างสรรค์ต่าง ๆ จึงเกิดเป็น “มักกะสรรค์”

ศูนย์การเรียนรู้รถไฟไทย

เนื่องจากเรื่องราวของรถไฟไทย อยู่ในทุก ๆ จุดของ Site แห่งนี้ ดังนั้น ความเป็น Sence of Place ของ โรงงานรถไฟ จึงถูกเก็บไว้ในแง่ของ พิพิธภัณฑ์และรักษาสถาปัตยกรรมของ โรงงานเอาไว้เพื่อให้เกิดการระรึกถึงว่า ครั้งหนึ่งที่แห่งนี้เคยสร้างความยิ่งใหญ่ ให้กับรถไฟไทย จึงเกิดเป็น “มักกะ สรรค์รำ�ลึก”


มักกะสรรค์รำ�รึก Masterplan

37


Diagram

38

STRUCTURE DIAGRAM

Diagram แสดงตำ�แหน่งอาคารโรงงานต่าง ๆ ที่จะยังทั้ง อนุรักษ์ไว้ ปรับปรุงโครงสร้าง หรือเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ดัง Diagram ข้างต้น

ZONNING DIAGRAM

Diagram แสดง Zonning ต่าง ๆ ภายในโครงการ ซึ่งแบ่ง เป็นสองส่วนใหญ่ ๆ คือส่วน Creative Art Space, Museum และ Memorial Park ซึ่งจะอยู่ด้านบน ส่วน Zone ด้านล่างจะเป็นส่วนพื้นที่นันทนาการตาม Function ของส่วน สาธารณะ พื้นที่บำ�บัด/กักเก็บน้ำ� และ Commercial

CIRCULATION DIAGRAM

Diagram แสดง Circulation ภายในโครงการ ซึ่งแบ่งออก เป็นตามใน Diagram โดยที่จะมี Loop เส้นสีแดงเป็น Loop หลัก และแจกจ่าย Circulation ไปยังส่วนย่อยส่วนต่าง ๆ

NODE & LOOP DIAGRAM

Diagram แสดง Function เพิ่มเติมของ Node การเข้าชม Museum, เส้นทาง Loop จักรยาน, Loop Jogging สำ�หรับชมส่วนบำ�บัดน้ำ�ธรรมชาติ


39 TRANSPORT TRAIN SITTING AREA Train Store รถราง/รถโดยสาร

Transport Train Sitting Area เป็นการนำ�รางและรถวางมาจัดวางบริเวณลานหน้า Museum รถราง/รถโดยสาร โดยที่ผู้ใช้งานสามารถเข้าไปนั่งเล่นได้ อีกทั้งยังมีส่วน Train Store ที่จะรองรับร้านค้าขายของที่ระลึกต่าง ๆ ด้วย โดยที่ลักษณะการวางตำ�แหน่งของรถรางจะวาง แบบสลับให้เกิด Negative Space ตรงกลาง เพื่อให้ผู้คนสามารถเกิด Interactive กันได้

ZIG-ZAG RAILWAY

เป็น Zone สำ�หรับจัดแสดงหัวรถจักรบางส่วน โดยที่พื้นที่จะดึงเอาลักษณะ Zigzag ของ Truss อาคารโรงงาน คสล.ที่อยู่ข้าง ๆ มาเป็นแกนหลักในการออกแบบให้พื้นที่มีความน่าสนใจ และเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ


40 ARTS EXPLORER

Zone นี้จะเป็นการตามดูผลงานศิลปะชิ้นต่าง ๆ ที่อยู่ภายใน Shelter รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก โดยที่ผู้เข้าชมจะไม่สามารถ Direction ได้เลยว่าจะไปดูผลงานของศิลปินคนไหนก่อน จึงทำ�ให้ เกิดการสำ�รวจจะเห็นงงานที่มากขึ้น ซึ่งจะก่อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ต่อตัวผู้ชมงานเองด้วย อีกทั้ง Space ส่วนนอก Shelter ยังสามารถใช้เป็นจุดนั่งพักผ่อนได้อีกด้วย

OUTDOOR CO-WORKING SPACE

Co-working space ภายนอกอาคาร ซึ่งจะนำ�ตัวโบกี้รถไฟมาสร้างเป็น Indoor space และ จะมีส่วนทางเข้าที่สามารถใช้งานเป็น Outdoor space ได้ด้วย โดยที่ Circulation ที่เชื่อมตัว รถไฟแต่ละโบกี้จะทำ�ให้มีเส้นสายคล้าย ๆ รางรถไฟจริง และมีการใช้ Material ทางเดินรถไฟ เป็นรางและไม้หมอนรถไฟให้เหมือนกับรางรถไฟจริง ๆ


41 TRAIN RAILWAY SITTING AREA

เป็นการทำ�ที่นั่งพักโดยการทำ�เป็บเส้นขนานคู่รางรถไฟยกระดับขึ้นมา 0.45 ม. เพื่อ ให้คนที่มาใส้งานสามารถนั่งได้อย่างสบาย ส่วน Space ที่ถูกส่วนนั่งพักล้อมรอบ จะเป็นพื้นที่สำ�หรับปลูกต้นไม้เพื่อให้ร่มเงาทำ�ให้นั่งสบายมากขึ้น ซึ่งจุดนี้ทำ�มาเพื่อเป็น ส่วนรองรับของผู้ที่เข้าชมส่วน Performance Stage

WHEELS SITTING AREA

เป็น Zone ที่นำ�เอาล้อของรถไฟมาทำ�เป็นที่นั่ง โดยที่เลือกพื้นที่จัดวางให้อยู่บริเวณส่วนของ Library ซึ่งเป็นโรงล้อเก่า เพื่อที่จะสร้าง Impact การรำ�ลึกถึงสถานที่บริเวณนี้ว่าเคยได้ทำ�การ ผลิตล้อซึ่งเป็นส่วนประกอบที่สำ�คัญมากอีกส่วนหนึ่งของรถไฟ


42 AMPHITHEATRE SPACE

Amphitheatre สำ�หรับจัดแสดงกลางแจ้ง โดยมีทั้งหมด 150 ที่นั่ง และบริเวณที่ นั่งรอบ ๆ Amphitheatre จะเป็นที่นั่งสำ�หรับนั่งพักรอชม Amphitheatre และส่วน Cinema Factory

WATER TREATMENT MANAGEMENT ใช้ระบบบ่อตกตะกอนและพืชบำ�บัด

ตัวอย่างพืชบำ�บัดที่นำ�มาใช้ OVERALL SECTION รูปตัดแสดงความสัมพันธ์ของส่วน Creative Art Space ทั้ง Indoor และ Outdoor เพื่อให้เห็นความต่อเนื่องของ Space ต่าง ๆ และแสดง Image ภายใน ของรูปตัดอาคารโรงงานต่าง ๆ ที่มี Function การใช้งานที่ต่างรูปแบบกันออก ไป

เป็นการบำ�บัดน้ำ�เสียด้วยพืชบำ�บัดและบ่อตกตะกอน โดยที่ใช้วิธีการทำ�บ่อตกตะกอน กรองถึง 4 บ่อ เพื่อให้ได้คุณภาพน้ำ�ที่ดีที่สุด จากภาพจะเห็นได้ว่าบ่อตกตะกอนทั้ง 4 บ่อ มีการลดหลั่นระดับกันตาม Slope ก่อนที่น้ำ�ที่ถูกบำ�บัดจะมารวมกันอยู่ในบ่อที่ 5 ก่อนที่จะนำ�น้ำ�ที่ได้รับการบำ�บัดนี้ไปใช้งานต่อไป


43 PLAZA & MAINSPACE

TRAIN’S MEMORIAL PARK

Main space ขนาดใหญ่ที่สามารถรองรับคนได้จำ�นวนมากและมีการปลูก ต้นไม้ให้ครอบคลุมบริเวณเพื่อให้เกิดความร่มรื่นในพื้นที่ วัสดุพื้นกระเบื้อง ตรงส่วน Mainspace จะเป็นกระเบื้องขนาด 1x1 ม. และใช้โทนสีที่เป็น สนิมเพื่อ Represent ถึงโรงงานเครื่องจักรต่าง ๆ บริเวณ Plaza มีที่ นั่งรอบ ๆ และมีร้านอาหารในโบกี้รถไฟ ซึ่งเป็นการรวม Facility ต่าง ๆ ไว้ในพื้นที่เดียวกันอย่างครบวงจร

ภาพบรรยากาศที่ได้มาจากการมองจากบน Skywalk ใน Memorial park โดยที่ภายในสวนแห่งนี้นอกจากจะมี Loop จักรยาน, Recreation Zone และสระน้ำ�สำ�หรับเก็บน้ำ�ภายในโครงการ แล้วยังมีการใช้ ทางรถไฟเก่าที่เชื่อมผ่านสวนแห่งนี้ไปยังโรงงานต่าง ๆ เป็นเส้นทางในการ วางโบกี้รถไฟในทุก ๆ รูปแบบ เพื่อสื่อถึงความหลังของสถานที่แห่งนี้ที่เคย เป็นโรงงานรถไฟเก่า

TRANSITION SPACE

SPORT ZONE

ภาพบรรยากาศส่วน Transition ที่จะข้ามไปส่วนกีฬา, Food Court ตลาดนัด, ถนนคนเดิม ซึ่งบริเวณส่วนตรงกลางนี้จะเป็นทั้งพื้นที่จัด กิจกรรมต่าง ๆ และ Recreation ขนาดเล็ก เพื่อรองรับคนจากจุดต่าง ๆ เข้ามายังพื้นที่

ภาพบรรยากาศจากส่วน Sport Zone ซึ่งเป็นพื้นที่กีฬาบริการชุมชน โดยที่จะมีพื้นที่กีฬาอยู่หลากหลายแบบเพื่อให้ครบวงจรตามที่สวรสาธารณะ แห่งหนึ่งควรจะมี รวมถึงมีพื้นที่รองรับกีฬาสำ�หรับหมู่คนรุ่นใหม่อีกด้วย เช่นลาน Skateboard เป็นต้น


44

THE SOULCIAL PATH

RECREATION & SENCE OF OLD MINING PATH TYPE : LIMESTONE MINING REDEVELOPMENT AREA : 508,000 SQ.M. LOCATION : MUANG CHONBURI, CHONBURI, TH YEAR : 2019 ในปัจจุบันโลกที่มีการพัฒนาระบบสาธารณูปโภค ต่าง ๆ อยู่ตลอดเวลา และนับวันยิ่งจะมีการ พัฒนามากขึ้นไปเรื่อย ๆ ไม่จบสิ้น จึงทำ�ให้ต้อง มีการนำ�ทรัพยากรธรรมชาติไปแปรรูปเพื่อนำ�ไป พัฒนาเป็นระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ ต่อไป ซึ่ง “หินปูน” ก็เป็นอีกหนึ่งสิ่งที่ขาดไม่ได้ในการที่เป็น องค์ประกอบหลักในการนำ�มาพัฒนาระบบดัง กล่าว ไม่ว่าจะเป็นการสร้างอาคาร ถนน หรือ ลานกิจกรรมต่าง ๆ ล้วนมักจะมีส่วนผสมที่ได้ จากหินปูนประกอบ ดังนั้นจึงมีการทำ�เหมือง หินปูนเกิดขึ้น และนับวันจะยิ่งมีการระเบิดหินปูน เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ เพราะความต้องการพัฒนา ระบบสาธารณูปโภคที่ไม่มีวันจบสิ้น ดังนั้น โครงการนี้จึงจะเป็นโครงการที่สร้าง/สะท้อนให้ สังคมเห็นผลกระทบจากการระเบิดภูเขาหินปูน ที่มีต่อสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เพื่อให้เกิด การตระหนักถึงธรรมชาติให้มากขึ้น อีกทั้งด้วย ความพิเศษของพื้นที่แห่งนี้ จึงจะทำ�ให้เป็นสถาน ที่พักผ่อนหย่อนใจและสถานที่ท่องเที่ยวไปด้วย ในเวลาเดียวกัน


THE SOULCIAL PATH

RECREATION & SENCE OF OLD MINING PATH

45

การวางผังจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วน Recreation Area เป็นพื้นที่ สำ�หรับพักผ่อนหย่อนใจ เป็นสวนสาธารณะให้กับชุมชน และส่วนพื้นที่แสดง ความตระหนักถึงทรัพยากรธรรมชาติที่ได้สูญเสียไปจากฝีมือของมนุษย์ เพื่อให้ผู้คนได้หวนระลึกถึงสิ่งที่ธรรมชาติได้สูญเสียไป


PHYSICAL ANALYSIS

PHASE I

PHASE I I

เริ่มฟื้นฟูในปี 2565 โดยที่เพิ่มระยะให้ธรรมชาติ ได้ฟื้นฟูตัวเองก่อน 3 ปี จากนั้นจึงเริ่มดำ�เนินการ Phase I โดยที่จะสร้างและเปิดให้บริการส่วน Recreation Zone ก่อน พร้อมทั้งฟื้นฟูส่วนสี เหลืองด้วยการระเบิดหินเพิ่มหน้าดินเพื่อเร่งให้เกิด สวนรุกชาติได้เร็วขึ้น สีส้มฟื้นฟูแบบปิดพื้นที่เพราะ เป็นพื้นที่ที่ขาดหน้าดิน ทำ�ให้ต้องฟื้นฟูเป็นพิเศษ โดย จะเริ่มที่ไม้เบิกนำ�ก่อน

46

PHASE III

ปี 2570 เปิดสวนรุกขชาติและ Recreation Zone ทั้งหมด ฟื้นฟูพื้นที่สีส้มเพิ่มเติมที่ก่อนหน้า เป็นพื้นที่สัมปทานที่หมดลงในปีนี้ โดยิวธีการระเบิด ดินและปลูกพืชเบิกนำ�

ปี 2575 เปิดส่วน Memorials Zone ทั้งหมด และส่วนสีส้มจากการฟื้นฟูโดยใช้ไม้เบิกนำ�จะทำ�การ ฟื้นฟูโดยใช้พันธุ์ไม้เขาหินปูนเพิ่มเข้าไป และจะเปิด บริการทั่วทั้ งโครงการในปี 2580 รวมระยะเวลา การฟื้นฟูทั้งหมด 15 ปี

RECLAIMATION METHODS SECTION DETAIL รายละเอียดการระเบิดหินและปลูก พืชที่จะใช้เมื่อ Slope มีความลาด ชันมากกว่าสัดส่วน 1/3 โดยจะ ระเบิดหลุมมีขนาดพอดีกับหลุม ปลูกต้นไม้และทำ�เป็นขั้นบันไดโดย การใช้วิธี Life Staking ช่วยเป็น ชั้นกำ�แพง

รายละเอียดการระเบิดหินและปลูก พืชที่จะใช้เมื่อ Slope มีความลาด ชันไม่เกินสัดส่วน 1/3 จึงเป็นการระเบิดหินเพื่อให้มี ขนาดหลุมปลูกพอเหมาะกับการ ปลูกต้นไม้

ระเบิดหินเพิ่มหน้าดิน

ปลูกไม้เบิกนำ�และปล่อยตาม ธรรมชาติ

หลังจากการฟื้นฟูได้ 5 ปี

ระเบิดหินเพิ่มหน้าดิน

ปลูกไม้เบิกนำ�และปล่อยตาม ธรรมชาติ

หลังจากการฟื้นฟูได้ 5 ปี

ปลูกพืชพันธุ์ภูเขาหินปูน

หลังจากการฟื้นฟูได้ 5 ปี


RECLAIMATION METHODS PLANT LISTS

ZONNING & CIRCULATION

47

DETAIL-01 PERSPECTIVE ภาพบรรยากาศ Bird-eye View จากบนหอชมวิว

TOWER & EVENT SPACE Recreation Zone จะอยู่บริเวณจุดสูงสุดของไซท์ มีหอชมวิว ศาลา ร้านอาหาร และสนามหญ้าโล่งสำ�หรับจัด กิจกรรม ซึ่งในช่วงเวลาที่ไม่มีการจัดกิจกรรมพื้นที่นี้จะ กลายเป็น Multipurpose Space

ภาพบรรยากาศโดยรวมของ Zone


DETAIL-02

48 PERSPECTIVE ภาพบรรยากาศ Bird-eye View บริเวณ Tropical Pavilion

ภาพบรรยากาศ Bird-eye View บริเวณ Tropical Pavilion

TROPICAL PAVILIONS ZONE Zone ที่ห้อมล้อมไปด้วย Landscape Character แบบภูเขาหินปูนที่มี Pavilion ทรง Tropical ซึ่งทำ�จาก ไม้ไผ่ซึ่งเป็นการสื่อถึงการใช้งานแบบพึ่งพาธรรมชาติ

DETAIL-03

LANDSCAPE TRANSFORMATION ZONE

แสดงการแปรเปลี่ยน Landscape Character จากภูเขา หินปูนมาเป็นภูเขาหินปูนแล้งที่ถูกทำ�ลายโดยการทำ�เหมืองหินปูน ซึ่งเป็นการสื่อถึงผลจากการทำ�ลายธรรมชาติ อีกทั้งยังมีศาลา คอนกรีตที่สื่อถึงการนำ�คอนกรีตไปใช้งานและต่อเนื่องไปกับส่วน แห้งแล้งที่มีการนำ�เศษจากการระเบิดหินปูนมาจัดวาง

ภาพบรรยากาศ Bird-eye View บริเวณ Landscape Transformation

ภาพบรรยากาศบริเวณส่วนแห้งแล้งที่มีการนำ�เศษระเบิดหินปูนมาจัดวาง


49

DETAIL-04 PERSPECTIVE

ภาพบรรยากาศ Bird-eye View บริเวณ Tropical Pavilion

COLUMN GRAVEYARD ZONE ต่อเนื่องจากส่วนแห้งแล้งจะเป็นส่วนที่แสดงความไม่มั่นคง เพื่อให้ตระหนักถึงการทำ�ลายสิ่งแวดล้อมที่ย่อมจะมีผลกระทบอื่น ๆ ตามมา โดยที่ความไม่มั่นคงจะ Represent ด้วยการนำ�เอาเสากลม มาสุ่มวางลงบนพื้นที่รอบ ๆ Trail แต่จะวางเอียงเพื่อสื่อถึงความไม่ เที่ยงไม่มั่นคง

จัดให้สภาพแวดล้อมมีลักษณะแห้งแล้งและร้อน เพื่อให้รู้สึกลำ�บากในการเดิน แต่ยังคงมี ศาลาให้หยุดพักอยู่บ้าง จากบรรยากาศแห้งแล้งต้องการจะสื่อถึงความไม่มั่นคงและผล กระทบต่อการทำ�ลายธรรมชาติ เพื่อให้คนตระหนักถึงประเด็นดังกล่าวนี้

OTHER DETAILS

ภาพ Bird-eye View ส่วนสุดท้ายของ Memorials Park ที่จะทำ�เป็นการคืนสู่ สภาพป่าเขาหินปูน ซึ่งมีความอุดมสมบูรณ์ในตัวของ Landscape Character เองโดยที่จะมีพื้นยื่น(Cantilever)ยื่นออกไปเพื่อให้มองกลับไปยังส่วนที่เป็นรูปแบบ ป่าเขาหินปูนก่อนถูกทำ�ลาย

สวนรุกขชาติซึ่งจะเป็น Trail พาเดินชมสวน โดยที่จะมีศาลานั่งพักเป็นจุด ๆ ซึ่งสวนแห่งนี้จะเป็น สวนที่แสดงพันธุ์ไม้สังคมพืชเขาหินปูนโดยเฉพาะ อีกทั้ง Trail เหล่านี้ยังเป็นส่วนวิ่ง Jogging ได้ อีกด้วย โดย Trail เฉพาะในส่วนสวนรุกขชาติทั้งหมดมีระยะทางประมาณ 500 เมตร


S

50

K

SKETCH DESIGN

D


SI CHANG HYDRO-HERB UNIT

LOCATE : KOH SI CHANG, SRIRACHA, CHONBURI,TH TYPE : HERB PLANTER AREA YEAR : 2018

WHY HYDROPONIC

เกาะสีชังเป็นเกาะที่มีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาหินปูนทำ�ให้ชั้นดินส่วนใหญ่ประกอบไปด้วยหินปูน มีหน้าดินน้อย พืชที่ สามารถอยู่ได้จึงเป็นพืชที่ทนแล้งหรือไม้อวบน้ำ�เป็นหลัก อีกทั้งน้ำ�ยังมีปริมาณจำ�กัด ทำ�ให้อาจจะไม่มีน้ำ�เพียงพอที่จะมา รดต้นไม้เหล่านี้ ดังนั้นการทำ� Hydroponic แนวตั้งจุึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือกที่จะสามารถปลูกพืชสมุนไพรเป็นปริมาณ มาก ๆ ได้โดยที่อาศัยน้ำ�ฝนที่กักเก็บไว้รวมกับน้ำ�เค็มที่ถูกแปรเป็นน้ำ�จืดธรรมดาจากเครื่องทำ�น้ำ�จืด

51


52

DESIGN PROCESS

เป็นการแสดงแนวความคิดของ Mass ภาพรวมของการพัฒนาแนวความคิดของ Mass โดยเริ่มจากการมอง Mass ภาพรวมเป็น Slope ของภูเขาจนมาถึงขั้นที่มาพัฒนาเป็น Unit Modular system ที่ซ้ำ� ๆ ไปมา

HYDROPONIC SYSTEM DETAIL

MASSING DIAGRAM


53

MONUMENT OF RINGS WONG-WIAN 22

LOCATE : WONG-WIAN 22, PROMPRAB SATRUPAI, BKK, TH TYPE : URBAN DEVELOPMENT YEAR : 2019

IDEA PROCESS

ABOUT CONCEPT

จากการลองตีเส้นแบ่งวงเวียน 22 ออกเป็นสองส่วนจะได้ Criteria ในการ Design ว่าแต่ละส่วนอยู่ติดฝั่งย่านไหน ซึ่งจากตรงนี้ได้ว่าฝั่งสีน้ำ�เงินเป็นฝั่ง เยาวราช ส่วนฝั่งสีแดงเป็นฝั่งหัวลำ�โพง ซึ่งทั้งสองฝั่งต่างก็มีเรื่องราวและ ประวัติศาสตร์ที่ยาวนานกันทั้งคู่ อีกทั้ง ยังมี Element ที่น่าสนใจทั้งคู่อีกด้วย

เป็นการใช้รูปแบบของวัฒนธรรมที่แตกต่างกันของบริเวณย่านวงเวียน 22 มาผสมผสานกันในงานออกแบบโดยที่ได้ศึกษาดูย่าบริเวณใกล้เคียงกับวงเวียน 22 ได้แก่ เยาวราชย่านชาวไทยเชื้อสายจีนที่มีชื่อเสียงมากที่สุดและเป็นแหล่งดึงดูดนักท่องเที่ยวต่างชาติอีกที่หนึ่งของกรุงเทพ และย่านหัวลำ�โพงที่เต็มไปด้วยสถาปัตยกรรมแบบ Colonial จากรัชกาลที่ 5 ทำ�ให้ทั้งสองย่านนี้มีเรื่องราวและประวัติศาสตร์ที่ยาวนานกันทั้งคู่ ผู้ออกแบบจึงมีความสนใจที่จะเอาสองย่านนี้มาผสมผสานรวมกัน ณ จุดที่ เป็นเสมือนส่วน Connectivity ของทั้งสองย่าน ซึ่งนั่นก็คือ “วงเวียน 22” นั่นเอง


54

DESIGN PROCESS

MASTERPLAN Masterplan แสดงให้เห็น ถึงการ Approach ได้ จากรอบทิศทางของวงเวียน อีกทั้งยัง Represent ถึง การมารวมกันของทั้งสอง วัฒนธรรมที่จุด ๆ เดียว

เป็นการนำ�เอา Reference ที่เป็นภาพจำ�ของทั้งสองย่านมาคลี่คลาย(Transformation) ออกมาให้กลายเป็น Design ที่น่าสนใจและเอาไปต่อยอดได้ ซึ่งจากภาพจะเป็นการนำ�เอาป้าย ไฟของย่านเยาวราช ซึ่งถือว่าเป็นตัวบ่งบอกความเป็นเยาวราชอีกจุดหนึ่งและรูปแบบของรูป ด้านวัดไทย ซึ่งเป็นวัดที่อยู่ในย่านบริเวณดังกล่าวมาผสมผสานกันออกมา ส่วนหัวลำ�โพงจะ เป็นการดึงจุดเด่นของสถานีรถไฟหัวลำ�โพงที่มีเรื่องราวประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมาคลี่คลาย ฟอร์ม

MASSING DIAGRAM

ISOMETRIC DETAIL แสดง Detail ที่เป็นองค์ประกอบ ต่าง ๆ ของวงเวียน


PHATHUM VIPASSANA SATHAN LOCATE : THONGCHAI, BANG SAPHAN, PRACHUAB KHIRI KHAN, TH TYPE : BUDDHISM STRUCTURE YEAR : 2019

DESIGN CONCEPT

ELEMENT DIAGRAM

55


56

ELEVATION & SECTION

PERSPECTIVE

SECTION รูปตัดแสดงความสัมพันธ์ตั้งแต่ตัว Sunken จนไปถึงด้านในลานวิปัสสนา

ELEVATION

ภาพ Bird-eye View แสดงภาพรวมของโครงการ

รูปด้านแสดงให้เห็นถึงแนวคิดในการนำ� “ดอกบัว” และ “การประนมมือ” ซึ่งทั้งสอง เป็นการ Represent ถึงความเป็น พุทธศาสนิกชนได้เป็นอย่างดี ภาพทาง Approach หลักที่เป็นซุ้มประนมมือ

ภาพบรรยากาศภายในลานวิปัสสนา

ภาพบรรยากาศทางเดินรอบ ๆ ลานวิปัสสนา

ภาพบริเวณดอกบัวสี่เหล่า(ตัวอย่างเหล่าที่ 1)


THANK YOU FOR LOOKING MY PORTFOLIO FOR CONTACT

CALL : (+66)617455334 EMAIL : phutuch@gmail.com


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.