วรสารเทศบาลไชโย2

Page 1


คำ�นำ� พระ

ราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พุทธศักราช ๒๕๔๐ ให้ประชาชนมีโอกาสอย่างกว้างขวางในการรับรู้ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการดำ�เนินการต่างๆของรัฐ สามารถแสดงความคิดเห็นและใช้สิทธิทางการเมืองได้อย่างถูกต้อง ในอันที่จะ ส่งเสริมการบริหารงานของภาครัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส หนังสือรายงานกิจการเทศบาลตำ�บลเกษไชโย ประจำ�ปี ๒๕๕๖ ที่ท่านได้อ่านอยู่ในขณะนี้เป็นสื่อกลางที่นำ�เสนอผลงาน กิจกรรม ผลการดำ�เนินงานเพื่อเผยแพร่ให้ส่วนราชการ เอกชนและที่สำ�คัญคือพี่น้องประชาชนได้ทราบหน้าที่ภารกิจการใช้งบ ประมาณดำ�เนินการตามโครงการที่คณะผู้บริหารได้แถลงนโยบายไว้ต่อสภาเทศบาล สุดท้ายนี้ เทศบาลตำ�บลเกษไชโยหวังว่าหนังสือรายงานกิจการเทศบาลตำ�บลเกษไชโยฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อทุกภาค ส่วนที่เกี่ยวข้องและเป็นแนวทางให้ทุกภาคส่วนได้มีส่วนร่วมคิดร่วมพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนอย่างยั่งยืน

A G E

3 4 5-6 7-8 9 - 10 11 - 12 13 - 14 15 - 20 21 - 25 26

P

สารบัญ

สารจากนายกเทศมนตรี สารจากปลัดเทศบาล คณะผู้บริหาร, สมาชิคสภาเทศบาล โครงสร้างการบริหารงาน, ความเป็นมา ยุทธศาสตร์การบริหาร, วัฒนธรรม, นโยบาย ของดีเกษไชโย วัดเกษไชโย หน่วยงาน พันธกิจเทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายรับ - รายจ่าย ประจำ�ปีงบประมาณ 2556

ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงร่วมใจพัฒนา เพื่อประชาชนมีสุขยั่งยืน


พระบรมราโชวาท งาน

ของแผ่นดิน เป็นงานส่วนรวม มีผลที่กว้างขวาง เกี่ยวข้องกับ บ้านเมืองและบุคคลหลายฝ่าย เมื่อเป็นงานส่วนรวมและมีผลกับคนหมู่มาปัญหา และข้อขัดแย้งต่างๆอันเนื่องมาจากความคิดเห็นไม่ตรงกันก็ย่อมเกิดขึ้นบ้างเป็น ปกติธรรมดาข้ า ราชการผู ้ ปฏิ บ ั ต ิ บ ริ หารงานของแผ่ นดิ น ตลอดจนทุก คน ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง จึงต้องมีใจที่หนักแน่นและเปิดกว้าง รับฟังความคิดเห็นและ คำ�วิพากษ์วิจารณ์นั้น คือ การระดมสติปัญญาและประสบการณ์อันหลากหลาย

พระราชการแก่ข้าราชการพลเรือน เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ปีพุทธศักราช ๒๕๕๖ อาคาร อาคารเฉลิมพระเกียรติ โรงพยาบาลศิริราช วันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๖


สารจากนายกเทศมนตรี เทศบาลตำ�บลเกษไชโย

หนังสือรายงานผลการดำ�เนินงาน ประจำ�ปี ๒๕๕๖ ของเทศบาลตำ�บลเกษไชโย จัดทำ�ขึน้ เพือ่ แสดงผลการปฏิบัติ งานตามที่ได้แถลงนโยบายไว้เมื่อครั้งที่เข้ารับตำ�แหน่งนายก เทศมนตรี เ ทศบาลตำ � บลเกษไชโย ทั ้ ง นี ้ ใ นปี ง บประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ ได้ดำ�เนินโครงการ และกิจกรรมที่ตอบสนองต่อ ความต้องการของประชาชนอย่างทั่วถึง ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง ๗ หมู่บ้าน ซึ่งทุกโครงการ/กิจกรรมที่ดำ�เนินการ ส่งผลต่อ การพัฒนาให้มีศักยภาพทัดเทีย มกับตำ � บลใกล้เคียง ไม่ว่า จะเป็นการปรับปรุงและพัฒนาทางด้านการศึกษา กาสาธารณ สุข ตลอดจนการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนให้มีความ เป็นอยู่ที่ดีขึ้น

ที่ผ่านมา เทศบาลตำ�บลเกษไชโย ได้มีการพัฒนา เปลีย่ นแปลงไปอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจนยิง่ ขึน้ ทัง้ ทีเ่ ป็นภารกิจ ตามพระราบัญญัตเิ ทศบาลและภารกิจตามนโยบาย ภาใต้การ การบริหารงานของดิฉัน น.ส.ธัณยธาราห์ สรวลเสน่ห์ นายก เทศมนตรี ตำ � บลเกษไชโยซึ่ ง การจั ด ทำ � รายงานกิ จ การปี ๒๕๕๖ เล่มนี้ ได้รวบรวม นโยบาย โครงการ ผลงาน และ กิจกรรมต่างๆ ของเทศบาลตำ�บลเกษไชโย ตลอดปี ๒๕๕๖ ซึ่งเป็นโครงการ ซึ่งเป็นผลงานบางส่วนเท่านั้น ดิฉนั หวังเป็นอย่างยิง่ ว่า รายงานกิจการประจำ�ปี ๒๕๕๖ นี้ จะทำ�ให้ผู้ที่สนใจต่อการบริหารท้องถิ่นของคณะผู้บริหารได้ รับข้อมูลข่าวสารของเทศบาลตำ�บลเกษไชโย และมีส่วนร่วม ในการพัฒนาท้องถิ่นให้น่าอยู่สืบไป

(นางสาวธัณยธาราห์ สรวลเสน่ห์) นายกเทศมนตรีตำ�บลเกษไชโย 3 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


สารจากปลัดเทศบาล เทศบาลตำ�บลเกษไชโย

เนื่องในโอกาสที่เทศบาลตำ�บลเกษไชโยได้บริหาร บ้านเมืองมาครบอีก 1 ปีงบประมาณ ตลอดระยะเวลาที่ ผ่านมาทั้งนายกเทศมนตรีคณะผู้บริหารตลอดจนข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ ต่างก็มุ่งมั่นตั้งใจทำ�งานเพื่อพัฒนาพื้นที่ใน ความรับผิดชอบของเทศบาลตำ�บลเกษไชโยให้มีความเจริญ ก้าวหน้า ประชาชนอยู่อย่างมีความสุขทุกระดับชั้น ไม่ทอด ทิ้งผู้พิการ ผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในสังคม เพียบพร้อม ด้วยสาธารณูปโภคที่ครบครัน พัฒนาคุณภาพการศึกษา และ ร่วมอนุรักษ์สืบสานประเพณีอันทรงคุณค่า ดังวิสัยทัศน์การ พัฒนาของเทศบาลตำ�บลเกษไชโยที่ว่า

ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงร่วมใจพัฒนา เพื่อประชาชนมีสุขยั่งยืน

ผมในฐานะปลัดเทศบาลตำ�บลเกษไชโยปฏิบัติหน้าที่ ในการบริหารงานส่วนราชการภายใต้กรอบของคณะผู้บริหาร ที่ มุ่ ง มั่ น ผลั ก ดั น ผลงานออกสู่ ส าธารณชนด้ ว ยความตั้ ง ใจ ความสำ � เร็ จ ในรอบปี ที่ ผ่ า นมามี โ ครงการเพื่ อ ชุ ม ชนหลาก หลายโครงการดังจะปรากฏอยู่ในรายงานกิจการเล่มนี้ซึ่งได้ นำ�เสนอและรายงานผลการดำ�เนินงานต่างๆที่ผ่านมาพร้อม ทั้งนำ�เสนอข้อมูลอื่นๆที่น่าสนใจในพื้นที่รวมถึงความประทับ ใจต่างๆที่เกิดขึ้นในรอบปีที่ผ่านมา ทั้งนี้หวังเป็นอย่างยิ่ว่าการดำ�เนินงานของเทศบาลฯ จะมีส่วนสำ�คัญในการบรรเทาปัญหาต่างๆของบ้านเมืองเพื่อ ผลักดันการพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน และขอขอบคุ ณ การมี ส่ ว นร่ ว มจากทุ ก ภาคส่ ว นที่ ร่ ว มกั น พัฒนาท้องถิ่นเราให้น่าอยู่สืบไป

(จ่าเอกจำ�ลอง บำ�รุงญาติ) ปลัดเทศบาลตำ�บลเกษไชโย เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 4


คณะผู้บริหาร เทศบาลตำ�บลเกษไชโย

2

1 1. นางสาว ธัณยธาราห์ สรวลเสน่ห์ .นายกเทศมนตรีตำ�บลเกษไชโย

3

4

2. นาย ณัฐวิช สรวลเสน่ห์ .รองนายกเทศมนตรีตำ�บลเกษไชโย

3. นาย สงัด วิศาลนิตย์ .ที่ปรึกษานายกเทศมนตรี

4. นางสาว วรรนิภา กิจวิชา .เลขานุกา รนายกเทศมนตรี

สมาชิกสภา เทศบาลเขต 1 1. นางสาวอริสารา วิศิษฐวาณิชย์ .ประธานสภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย 2. นายไชยวัฒน์ โตเขียว .รองประธานสภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย 3. นายสุชิน อินทรวงศ์ .สมาชิกสภาเทศบาล 1

2

3

4. นายเสกศึกดิ์ ป้อมลอย .สมาชิกสภาเทศบาล 5. นายธวัชร์ ชูเทียน .สมาชิกสภาเทศบาล 6. นายวิระวัฒน์ ใจหาญ .สมาชิกสภาเทศบาล

4

5

5 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557

6


สภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย

5

6

7

1. นางสาว อริสารา วิศิษฐวาณิชย์ .ประธานสภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย

2. นายไชยวัฒน์ โตเขียว .รองประธานสภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย

3. นายสิริวัฒน์ งามนนท์ .เลขานุการสภาเทศบาลตำ�บลเกษไชโย

สมาชิกสภา เทศบาลเขต 2

7

8

9 7. นายเดช พรหมวงษ์ .สมาชิกสภาเทศบาล 8. นายรุ่งศักดิ์ จีนขจร สมาชิกสภาเทศบาล

10

11

9. นายภิรม แก้วสว่าง .สมาชิกสภาเทศบาล

10. นางสาวกัญญา เทียมพันธุ์ . สมาชิกสภาเทศบาล 11. นายสิริวัฒน์ งามนนท์ สมาชิกสภาเทศบาล

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 6


โครงสร้างการบริหารงาน

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย

ผู้อำ�นวยการกองสาธารณสุข ( นักบริหารงานสาธารณสุข 7 ) งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ งานส่งเสริมสุขภาพ งานธุรการ

ผู้อำ�นวยการกองช่าง ( นักบริหารงานช่าง 7 ) งานสาธารณูปโภค งานแบบแผนและกองช่าง งานธุรการ งานกิจประปา

ปรัดเทศบาล ( นักบริหารงานเทศบาล ระดับ 8 )

หัวหน้าสำ�นักปลัด ( นักบริหารงานทั่วไป 7 )

ผู้อำ�นวยการกองการศึกษา ( นักบริหารงานการศึกษา 7 )

ผู้อำ�นวยการกองคลัง ( นักบริหารงานคลัง 7 )

งานบริสารงานทั่วไป งานวิเคราะห์นโยบายและแผน งานการเจ้าหน้าที่ งานทะเบียนราษฎร งานนิติการ งานสัวสดิการและพัฒนาชุมชน งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

งารการศึกษาปฐมวัย งานส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา งานพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและวัตกรรมทางการศึกษา งานส่งเสริมการศึกาา ศาสนา และวัฒนธรรม กิจกรรมเด็กและเยาวชน ส่งเสริมประเพณี ศิลปวัฒนธรรม กิจกรรมศาสนา กีฬานันทนาการ

งานทะเบียนการคลัง งานการเงินและบัญชี งานพัสดุและทะเงียนทรัพย์สิน งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ งานแผนที่ภาษีและทะเงียนทรัพย์สิน

7 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


เทศบาลตำ�บลเกษไชโย เทศบาล

ตำ�บลเกษไชโย อำ�เภอไชโย จังหวัดอ่างทอง แต่เดิมเป็นสุขาภิบาล และได้รับการจัดตั้งขึ้นเป็นเทศบาล ตามพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาล พ.ศ.๒๕๔๒ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๖๖ ตอนที่ ๙ ก. ลงวัน ที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๒ มีพื้นที่ทั้งหมด ๖.๕๕ ตารางกิโลเมตรหรือประมาณ ๔,o๖๒ ไร่ ๒ งาน ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ ๓ ในท้องที่ อำ�เภอไชโย จังหวัดอ่างทอง ตั้งอยู่ริมฝั่งแม่น้ำ�เจ้าพระยา ห่างจากที่ว่าการอำ�เภอไชโย ประมาณ ๑๓ กิโลเมตร ห่างจากศาลา กลางจังหวัดอ่างทองประมาณ ๒๐ กิโลเมตรในเขตเทศบาลตำ�บลเกษไชโย มีหมู่บ้านจำ�นวน ๗ หมู่บ้าน แยกเป็น ๘ ชุมชน ๑. ชุมชนบ้านสามัคคี หมู่ที่ ๑ ตำ�บลไชโย ๒. ชุมชนไชโยพัฒนา หมู่ที่ ๒ ตำ�บลไชโย ๓. ชุมชนเกษไชโย หมู่ที่ ๓ (ใน) ตำ�บลไชโย ๔. ชุมชนบ้านสามปัญญา หมู่ที่ ๔ ตำ�บลไชโย ๕. ชุมชนบ้านวัดนก หมู่ที่ ๕ ตำ�บลไชโย ๖. ชุมชนบ้านม้าสามัคคี หมู่ที่ ๖ ตำ�บลไชโย ๗. ชุมชนบ้านหนองไชโย หมู่ที่ ๗ ตำ�บลไชโย ๘. ชุมชนรวมใจไชโย หมู่ที่ ๓ (นอก) ตำ�บลไชโย

อาณาเขต

ทิศเหนือ ติดกับ หมู่1 ตำ�บลพระงาม อำ�เภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี ทิศใต้ ติดกับ หมู่1 ตำ�บลราชสถิต อำ�เภอไชโย จังหวัดอ่างทอง ทิศตะวันออก ติดกับ แม่น้ำ�เจ้าพระยา ทิศตะวันตก ติดกับ ตำ�บลบางระกำ� อำ�เภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง

จำ�นวนประชากรในเขตพื้นที่เทศบาลตำ�บลเกษไชโย หมู่ที่ 6 17%

หมู่ที่ 7 13% หมู่ที่ 1 6%

หมู่ที่ 5 17% หมู่ที่ 4 12%

หมู่ที่ 2 11%

รวมประชากรทั้งหมด 2,857 1,384 1,473

หมู่ที่ 3 24%

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 8


ยุทธศาสตร์การบริหาร และแนวทางการพัฒนา เทศบาล

ตำ�บลเกษไชโยได้จัดทำ�ผลดำ�เนินการจัดทำ�งบประมาณการใช้จ่ายและผลการดำ�เนินงานรวมทั้งการติดตาม และประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นในรอบปีงบประมาณ พ.ศ.๒๔๔๖ เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตรวจสอบและมีส่วนร่วม ในการพัฒนาท้องถิ่นดังนี้

พันธกิจการพัฒนาท้องถิ่น

4. ประชาชนมีส่วนร่วมในการบริหารงานของท้องถิ่น 5. แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและปรับปรุงคุณภาพชีวิต 6. จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อให้เป็น สังคมที่มีคุณภาพและน่าอยู่

1. จัดให้มีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่ดี 2. พัฒนาเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านเศรษฐกิจในระดับฐานราก ส่งเสริมการท่องเที่ยวสร้างรายได้แก่ประชาชนเพิ่มขึ้น 3.ส่งเสริมการศึกษา วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

วัฒนธรรมองค์กร

่เป็นเลิศ “มุ่งเน้นการบริการประชาชนที สร้างคุณภาพของการปฏิบัติงาน ”

ค่านิยมองค์กร 1. 2. 3. 4. 5.

9 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557

กล้ายืนหยัดทำ�ในสิ่งที่ถูกต้อง ซื่อสัตย์ และมีความรับผิดชอบ มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติงานในหน้าที่ต่อประชาชน ต่อผลการปฏิบัติงาน ต่อองค์การและต่อการพัฒนาปรับปรุง โปร่งใส ตรวจสอบได้ สร้างกลไกและวิธีการทำ�งานขององค์การให้ชัดเจน สามารถตรวจสอบความถูกต้องได้ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายใต้กรอบของกฎหมาย ไม่เลือกปฏิบัติ บริการประชาชนด้วยความเสมอภาค เน้นความสะดวก รวดเร็ว มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ทำ�งานให้แล้วเสร็จตามวัตถุประสงค์เกิดผลดีต่อหน่วยงาน และส่วนรวมใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่า


นโยบายการพัฒนาของผู้บริหารท้องถิ่น 1. ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

1.1 ปรับปรุงบำ�รุงรักษา เส้นทางคมนาคม สะพาน ท่อระบายน้ำ�ให้ครอบคลุม ทุกพื้นที่ประชาชนสัญจรไป-มาสะดวกปลอดภัย 1.2 ปรับปรุงระบบประปา โดยมุ่งเน้นให้มีน้ำ�ประปาที่สะอาด เพียงพอต่อความ ต้องการของประชาชนทุกครัวเรือน 1.3 จัดให้มีระบบไฟฟ้า แสงสว่าง เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของ ประชาชน 1.4 ปรับปรุงระบบเสียงตามสายให้ได้มาตรฐานและครอบคลุมทุกชุมชนเพื่อการ บริการประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารของเทศบาลและหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องให้ประชาชนได้รับทราบ 1.5 ทำ�การขุดลอกคูคลองทุกสาย เพื่อสนับสนุนการพัฒนาด้านการเกษตร 1.6 ปรับปรุงซ่อมแซมพนังกั้นน้ำ�และถนนตลอดแนวแม่น้ำ�เจ้าพระยา

3.5 จัดให้มีการอบรม สัมมนา ทัศนะศึกษาดูงานนอกสถานที่เพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ความสามารถ แก่กลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรี ผู้นำ�ชุมชนและการพัฒนาบุคคลากร ของพนักงานเทศบาล

4. ด้านสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม 4.1 ส่งเสริมสนับสนุน ให้เกษตรกรลดการใช้สารเคมี เพื่อลดค่าใช้จ่ายและเพื่อ รักษาสมดุลระบบนิเวศน์ 4.2 พัฒนาแหล่งน้ำ�ให้สะอาดเพื่อการอุปโภคและบริโภค 4.3 ส่งเสริมสนับสนุน รณรงค์และสร้างจิตสำ�นึกให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ รักษาความสะอาดของบ้านเมือง เพื่อให้ “ไชโย” เป็นเมืองน่าอยู่ 4.4 ส่งเสริมสนับสนุนการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด 4.5 ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการกำ�จัดและทำ�ลายแหล่งเพาะพันธ์ยุงและพาหะนำ� โรคระบาดต่าง ๆ

1.7 ซ่อมแซมรถดับเพลิงทุกคันให้อยู่ในสภาพที่พร้อมปฏิบัติงานและจัดหารถเพิ่ม 5. ด้านการกีฬาและนันทนาการ 1.8 ซ่อมแซมรถขนขยะให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีและจัดหาเพิ่มเติม 2. ด้านการศึกษา วัฒนธรรม และประเพณี 2.1 พัฒนาศูนย์เด็กเล็ก ให้สมบูรณ์แบบ พร้อมบริการจัดรถโดยสาร รับ-ส่งนักเรียนในศูนย์เด็กเล็กอย่างทั่วถึง 2.2 จัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ สื่อการเรียน การสอน ที่ทันสมัย มีคุณภาพและมี มาตรฐานทางวิชาการ พื่อเพิ่มทักษะให้แก่เด็กเล็กและนักเรียนในการเรียนรู้ อย่างพอเพียง 2.3 พัฒนาบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถอย่างต่อเนื่องและ ทันสมัย 2.4 ส่งเสริมให้วัดเป็นศูนย์กลางในการพัฒนาจิตใจ 2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนพร้อมจัดงานประเพณีต่าง ๆ เพื่ออนุรักษ์และสืบสาน ขนบธรรมเนียมประเพณีศิลปวัฒนธรรม ให้มีความยั่งยืนสืบต่อไป 3. ด้านเศรษฐกิจ 3.1 ส่งเสริมอาชีพให้ประชาชนเพื่อให้เกิดการสร้างงาน เพิ่มรายได้ ลดราย จ่าย แก้ไขปัญหาความยากจนของครัวเรือน 3.2 ส่งเสริมกลุ่มอาชีพต่างๆให้มีศักยภาพและมีทักษะในการประกอบอาชีพเพื่อ สร้างชุมชนให้เข้มแข็ง 3.3 ส่งเสริมกิจการค้า โดยทำ�การปรับปรุงตลาดเทศบาลตำ�บลเกษไชโยให้มี ความทันสมัย สะอาด ปลอดภัย บรรยากาศดี 3.4 ส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญใน

5.1 ส่งเสริมและสนับสนุนให้เด็ก เยาวชน และประชาชนออกกำ�ลังกาย และ พัฒนาการเล่นกีฬาประเภทต่างๆ 5.2 ปรับปรุงภูมิทัศน์สนามเด็กเล่น และจัดหา ซ่อมแซมอุปกรณ์ ของเด็กเล่น ให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน และเพียงพอต่อความต้องการของเด็กและ เยาวชน 5.1 ส่งเสริมให้มีการจัดการแข่งขันกีฬาชุมชน เพื่อเชื่อมความสามัคคีระหว่าง ชุมชน 6. ด้านสังคม และคุณภาพชีวิต 6.1 ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ป่วยเอดส์ จะได้รับเบี้ยยังชีพตามหลักเกณฑ์ นโยบายของรัฐบาล ทุกคน พร้อมบริการจัดส่งเงินให้ถึงบ้าน 6.2 ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมอาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน(อปพร) ให้มี ความพร้อมและ มีคุณภาพสู่มาตรฐาน 6.3 จัดหน่วยรถบริการรับและส่งผู้ป่วยฉุกเฉินตลอด ๒๔ ช.ม. 7. ด้านการเมือง การบริหาร 7.1 บริหารงานโดยยึดหลักธรรมาภิบาล ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส สามารถตรวจสอบได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน 7.2 ส่งเสริมสนับสนุน ประชาชนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิ่น 7.3 สนับสนุน การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย โดยมีหน่วยรถบริการช่วย เหลือประชาชนที่รวดเร็ว 7.4 พัฒนาศักยภาพของบุคลากรทุกระดับทั้งผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภา

สาขาวิชาต่าง ๆ ให้ได้ถ่ายทอดประสบการณ์ ให้แก่คนรุ่นหลังได้สืบทอด

เทศบาล ข้าราชการและพนักงานจ้าง สนับสนุนการศึกษาต่อทั้งระดับปริญญา

และสานงานต่อ เพื่อพัฒนาการสร้างอาชีพต่อไปอย่างเป็นรูปธรรม

ตรีและปริญญาโท การศึกษาอบรม หลักสูตรต่างๆ รองรับการบริการในแต่ละ ด้านเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประชาชน

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 10


ของดีเกษไชโย พระเครื่อง ดปาก “สมเด็จวัดเกศไชโย” ทั้งที่ชื่อวัดไม่มีคำ�ว่า “เกศ” ซึ่งจะมา ติจากวั วัดที่สมเด็จโต สร้างขึ้นบนที่ดินของคุณตาของท่าน เพื่ออุทดิศแห่ส่งวนีนกุ้เป็ศนลให้ โยมมารดาและโยมตา โดยนำ�ชื่อของโยมมารดา และชื่อของตา “ชัย” มารวมเป็น “เกศไชโย” “เกศ” วัดไชโยวรวิหาร เป็นวัดอารามหลวงชั้นโท

อมตะพระตระกูลสมเด็จทีไ่ ด้รบั การยกย่องและยอมรับจาก

นักสะสม สร้างโดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ “โต พรหมรังสี” วัดระฆัง โฆสิตาราม กรุงเทพฯ องค์ปฐมผู้สร้างพระพิมพ์สี่เหลี่ยมชิ้นฟัก หนึ่ง ในสามของพระสมเด็จ 3 วัดดัง คือ วัดระฆังฯ วัดบางขุนพรหม และ วัดไชโยวรวิหาร ซึ่งได้รับการยอมรับเป็นมาตรฐานสากล ได้รับความ นิยมราคาหาเล่นสูงมากในปัจจุบันพระพิมพ์นี้นักร้องราชาเพลงลูก ทุ่งชื่อดัง “ยอดรัก สลักใจ” ครั้งยังมีชีวิตอยู่แขวนติดคอตลอด “พระ สมเด็จเกศไชโย” วัดไชโยวรวิหาร อ.ไชโย จ.อ่างทอง หรือเรียกกัน

หมูทุบลือเลื่อง ผลิตภัณฑ์

หมูทุบทำ�จากเนื้อหมูส่วนสะโพกที่เลาะเอา ไขมัน เอ็น และผังพืดออกตัดเป็นแผ่นหนาตามความยาวของเส้นใย กล้ามเนื้อ หมักด้วยเครื่องปรุงรส เช่น น้ำ�ตาล เกลือ ซีอิ้วขาว อาจ มี เ ครื่ อ งเทศและสมุ น ไพรนำ � ไปทำ � ให้ แ ห้ ง ด้ ว ยแสงแดดหรื อ แหล่ ง พลังงานอื่น ย่างให้สุก แล้วทุบจนเส้นใยกล้ามเนื้อแตกฟู ซึ่งการ ทำ�ให้แห้งจนกระทั่งมีค่าปริมาณน้ำ�อิสระ (Water activity, a w) ไม่เกิน ๐.๖ ตามเกณฑ์มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชนที่ มผช. ๙๗/๒๕๔๖ จะทำ�ให้หมูทุบมีความปลอดภัยจากเชื้อจุลินทรีย์ สามารถเก็บไว้ได้ นาน

11 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557

ตั้งอยู่ห่างจาก อำ�เภอเมืองอ่างทอองประมาณ ๑๘ กิโลเมตรอยู่บนเส้นทางสาย อ่างทอง – สิงห์บุรี ด้านตะวันตกของแม่น้ำ�เจ้าพระยา เดิมชื่อ “ไชโย” เป็ น วั ด เก่ า แก่ ส ร้ า งมาตั้ ง แต่ ส มั ย โบราณสมเด็ จ โตอดี ต เจ้ า อาวาส วัดระฆังฯได้สร้างพระพุทธรูปองค์ใหญ่ขึ้น ในรัชสมัยของพระบาท สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๔ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เรียกกันว่า “หลวงพ่อโต” ต่อมามีชื่อว่า “พระมหาพุทธพิมพ์” เป็น พระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์มากซึ่งมีการจัดงานฉลองนับเป็นงานใหญ่ที่สุด ของจังหวัดอ่างทองในสมัยนั้น


ผักตบชวาจักสาน ผักตบชวาจัดเป็นพืชน้ำ�ประเภทใบเลี้ยงเดี่ยวลอยน้ำ�

เจริญงอกงามโดยไม่ต้องอาศัยรากยึดเกาะมีชื่อเรียกในแต่ละท้องถิ่น ไม่เหมือนกัน เช่น ผักปอด, สวะ, ผักโรค, ผักตบชวา, ผักยะวา, ผักอี โยก เป็นต้น ซึ่งประเทศไทยมีผักตบชวามาตั้งแต่สมัยรัชกาลที่๕ โดย เจ้านายในสมัยนั้นได้ตามเสด็จไปประเทศอินโดนีเชียปี พ.ศ. ๒๔๔๔ ได้เห็นผักชนิดนี้ออกดอกสีม่วงสวยงามอยู่ทั่วไปจึงได้นำ�เอาพันธุ์ผัก ตบชวามายังประเทศไทยเพียงเล็กน้อย ใส่อ่างดินเลี้ยงไว้หน้าวังสระ ประทุมจนกระทั่งออกดอกสวยงามและเพิ่มจำ�นวนมากขึ้นจนล้น กระถางประกอบด้วยในช่วงนั้นเกิดน้ำ�ท่วมวังสระประทุมทำ�ให้ผักตบ ชวาล่องลอยกระจัดกระจายออกไป

ภาครั ฐ บาลและเอกชนจึ ง หาวิ ธี ก ารกำ � จั ด ผั ก ตบชวาจากแหล่ ง น้ำ� ธรรมชาติ แต่ไม่ค่อยได้รับผลนักจึงได้หาแนวทางในการนำ�ผักตชวา มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ ก็สามารถนำ�มาใช้ได้หลาลักษณะ เช่น เป็น อาหารสัตว์ ใช้เป็นวัสดุในการเพาะเห็ดฟางเพาะชำ�ต้นไม้ ใช้ผลิตก๊าชชีวภาพ ใช้ผลิตปุ๋ยจำ�หน่ายได้ทั้งตลาดท้องถิ่น ตลาด กลางหรือแม้แต่ตลาดต่างประเทศ ทำ�ให้สามารถเปลี่ยนวัชพืชที่ไม่มี คุณค่าให้เป็นพืชเศรษฐกิจ สร้างการกระจายรายได้สู่ประชาชนใน ชนบทเป็นอย่างดีและเป็นการช่วยลดมลภาวะทางน้ำ�อีกทางหนึ่งด้วย ผลิตภัณฑ์จากผักตบชวานับว่าเป็นการสร้างรายได้แก่ผู้ประกอบการ เป็นอย่างมาก ทั้งนี้เพราะต้นทุนการผลิตค่อนข้างต่ำ� เนื่องจากใช้ วัสดุส่วนใหญ่จากธรรมชาติ

มะกรูดหวานเชื่อมใจ ขึ้นชื่อ

ว่าพืชสมุนไพรอย่าง “มะกรูด” คงจะเป็นที่ทราบ กันดีถึงประโยชน์ และสรรพคุณทางยาอันมากมายมหาศาล ไม่ว่าจะ เป็นมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระสูง ช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันให้ร่างกาย แข็งแรงและต้านทานโรค เป็นยาบำ�รุงหัวใจ ช่วยแก้ลม หน้ามืด วิง เวียนศีรษะ หรือกระทั่งช่วยแก้อาการไอขับเสมหะ รวมทั้งอาการเจ็บ ป่วยอื่นๆอีกมากมาย รวมไปถึง “มะกรูดเชื่อม” ของกลุ่มสตรีสห กรณ์เกษไชโย ต.ไชโย อ.ไชโย จ.อ่างทอง โดยทีมคอลัมน์ “ช่องทาง ทำ�กิน” มีข้อมูลมานำ�เสนอในวันนี้

ยุพิน โมรากุล ประธานกลุ่มสตรีสหกรณ์เกษไชโย จ.อ่างทอง กล่าวว่า ตั้งกลุ่มฯมาตั้งแต่ พ.ศ.๒๕๓๕ เพื่อทำ�มะกรูดเชื่อม และลูก ตำ�ลึงเชื่อม ซึ่งก่อนหน้านั้นชาวบ้านใน อ.ไชโย มีอาชีพทำ�นา และ ปลูกพืชผักทางการเกษตรต่างๆในระหว่างปลูกพืชผักทางการเกษตร ขายนั้น ตนสังเกตว่า “มะกรูด”ซึ่งเป็นพืชสมุนไพรของไทยแท้ๆนั้น มีประโยชน์บางส่วนอย่างผิวมะกรูด, ใบมะกรูด หรือน้ำ�มะกรูด ใน ขณะที่เนื้อมะกรูดกลับไม่มีใครสนใจ จึงน่าลองนำ�มาเชื่อมดู เผื่อว่า จะประสบความสำ�เร็จ และสามารถเพิ่มรายได้แก่เกษตรกรได้ ซึ่ง เมื่อทำ�ก็ประสบความสำ�เร็จจริงๆและสามารถที่จะขยายการถนอม พืชผักผลไม้ชนิดอื่นๆได้อีกมากมาย ซึ่งปัจจุบันมีกว่า ๒๐ ชนิด อาทิ กระชายแช่อิ่ม, มะม่วงหยี ๓ รส, กีวี่อบ, มะเขือเทศเชื่อมฯลฯ

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 12


หน้าวัด

13 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


หน้าวัด

-วั ด ไชโยวรวิ ห ารเทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 14


สำ�นักงานเทศบาล ตำ�บลเกษไชโย

15 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


Office of the

MUNICIPAL CLERK สำ�นักปลัดเทศบาล จ่าเอกไพโรจ ทองพันธ์ หัวหน้าฝ่ายปกครอง รก.หัวหน้าสำ�นักปลัด มีหน้าที่และความผิดชอบเกี่ยวกับราชการทั่วไปของเทศบาลและราชการที่ มิได้กำ�หนดให้เป็นหน้าที่ของกองหรือส่วนราชการใดในเทศบาลโดยเฉพาะรวมทั้ง ต้องกำ�กับและเร่งรัดการปฏิบัติราชการของส่วนราชการในเทศบาลให้เป็นไปตาม นโยบายแนวทางและแผนการปฏิบัติราชการของเทศบาล

1. 2.

โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็นดังนี้ ฝ่ายอำ�นวยการ มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับ ดูแลปฏิบัติงานดังนี้ - งานบริหารทั่วไป - งานธุรการ - งานวิเคราะห์นโยบายและแผน - งานสวัสดิการและพัฒนาชุมชน ฝ่ายปกครอง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงานดังนี้ - งานนิติการ - งานการเจ้าหน้าที่ - งานทะเบียนราษฎร - งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 16


THE

DIVISION OF EDUCATION กองการศึกษา นางวันดี สังข์สะอาด รก.ผู้อำ�นวยการกองการศึกษา

มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบริหารการศึกษา และพัฒนาการศึกษา ทั้งการศึกษาในระบบการศึกษา การศึกษานอกระบบการศึกษา และการศึกษาตาม อัธยาศัย เช่น การจัดการศึกษาปฐมวัย งานส่งเสริมคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา งานพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและวัตกรรมทางการศึกษา งานกีฬาและนันทนาการ งานส่ง เสริมประเพณีศิลปวัฒนธรรม งานกิจการศาสนา งานฝึกการศาสนา งานฝึกและส่งเสริม อาชีพ งานกิจกรรมเด็กและเยาวชน งานพัฒนาชุมชน และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องและที่ได้ รับมอบหมาย

1. 2.

โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็นดังนี้ ฝ่ายบริหารการศึกษา มีหน้าที่รับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานดังนี้ - งานการศึกษาปฐมวัย - งานส่งเสริมคุณภาพมาตรฐานการศึกษา - งานพัฒนาสื่อเทคโนโลยีและวัตกรรมทางการศึกษา งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม - กิจกรรมเด็กและเยาวชน - ส่งเสริมประเพณีศิลปวัฒนธรรม - กิจกรรมศาสนา - กีฬาและนันทนาการ

17 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


Division of public

HEALTH AND ENVIRONMENT กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม นางสาววีร์สุดา สุขขี ผู้อำ�นวยการกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

มี ห น้ า ที่ แ ละความรั บ ผิ ด ชอบเกี่ ย วกั บ การควบคุ ม และปฏิ บั ติ ง านให้ บริการสาธารณสุขตามแผนการสาธารณสุขการจัดทำ�งบประมาณตามแผน งานการสาธารณสุขสาธารณสุขชุมชน งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม งานส่งเสริมสุขภาพ งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อและงานต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมดังนี้ 1. ฝ่ายบริหารงานสาธารณสุข มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับดูแล การปฏิบัติงานดังนี้ - งานสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อม - งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ - งานส่งเสริมสุขภาพ 2. งานธุรการ

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 18


THE

DIVISION OF FINANCE กองคลัง นางสมศรี สุขฟอง ผู้อำ�นวยการกองคลัง

มีหน้าที่ความรับผิดชอบเกี่ยวกับการจ่าย การรับ การนำ�ส่งเงิน การเก็บ รักษาเงิน และเอกสารทางการเงินการตรวจสอบใบสำ�คัญ ฎีกา งานเกี่ยวกับเงิน เดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน เงินบำ�เหน็จบำ�นาญ เงินอื่นๆ งานเกี่ยวกับการจัดทำ�งบ ประมาณฐานะทางการเงิน การจัดสรรเงินต่างๆการจัดทำ�บัญชีทุกประเภท ทะเบียน คุมเงินรายได้และรายจ่ายต่างๆการควบคุมการเบิกจ่าย งานทำ�งบทดลองประจำ� เดือนประจำ�ปี งานเกี่ยวกับพัสดุของเทศบาล งานพัฒนาจัดเก็บรายได้และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย

1.

โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็น ดังนี้ ฝ่ายบริหารงานคลัง มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับ ดูแลการปฏิบัติงาน ดังนี้ -งานทะเบียนการคลัง -งานการเงินและบัญชี -งานพัสดุและทรัพย์สิน -งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้ -งานผลประโยชน์และกิจการพาณิชย์ -งานแผนที่ภาษีและทะเบียนทรัพย์สิน

19 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


THE

DIVISION OF PUBLIC WORKS กองช่าง นายดณุปจักษ คงพรมไทย ผู้อำ�นวยการกองช่าง มีหน้าที่และความรับผิดชอบเกี่ยวกับการสำ�รวจ ออกแบบ การจัดเก็บและ ทดสอบคุณภาพวัสดุ งานออกแบบและเขียนแบบ การตรวจสอบ การก่อสร้าง งานการ ควบคุมอาคารตามระเบียบกฎหมาย งานแผนการปฏิบัติงาน การก่อสร้างและซ่อมแซม บำ�รุง การควบคุมการก่อสร้างและซ่อมบำ�รุง การรวบรวมประวัติติดตาม ควบคุม ปฏิบัติงานเครื่องกล การควบคุม การบำ�รุงรักษาเครื่องกล การควบคุม การบำ�รุงรักษา เครื่องจักรกลและยานพาหนะ งานเกี่ยวกับแผนงาน ควบคุมเก็บรักษา การเบิกจ่าย วัสดุอุปกรณ์ อะไหล่ น้ำ�มันเชื้อเพลิง และงานอื่นๆที่เกี่ยวข้องและที่ได้รับมอบหมาย

1. 2. 3.

โดยแบ่งส่วนราชการภายในออกเป็นดังนี้ ฝ่ายการโยธา มีหน้าที่ความรับผิดชอบ ควบคุม กำ�กับดูแลการปฏิบัติงานดังนี้ - งานสาธารณูปโภค - งานแบบแผนและก่อสร้าง งานธุรการ งานกิจการประปา

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 20


พันธกิจ

21 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557


พันธกิจ

“โครงการก่อสร้างของเทศบาลตำ�บลไชโย”

4

5

2

1

3

6

10

8

7 1-3 ถนนหน้าวัดเกษไชโย 4-6 โครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก และวางท่อระบายน้ำ� หมู่ 6 7-9 เครื่องออกกำ�ลังกาย 10-12 ขุดลอกปรับภูมิทัศบ่อยืน หมู่ 6 13-15 เขื่อน ป้องกันตลิ่ง หมู่ 6

9

13

11

13

14

15

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 22


พันธกิจ

17

20

21

22 16

18

19

23

25

26

27

28

24

32

33

34

29

30

16-17 ซุ้มเฉลิมพระเกียรติ 18-19 ตู้ดับเพลิง 20-24 รถดับเพลิง 25-28 สะพานเหล็ก หมู่ที่ 3 และ หมู่ที่ 6 29-31 โรงสูบน้ำ�ไฟฟ้า 32-35 โทรทัศน์วงจรปิด (CCTV) 31

23 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557

35


36

41

39

37

38

40

42

48

46

43

45

44

47

50

49

51

54

52

53

36-42 ปรับหน้าดิน 43-44 ทำ�บ่อเผาขยะ 45-49 วางท่อระบายน้ำ� หมู่ 6 วัดละมุดสุทริยาราม 50-54 วางท่อระบายน้ำ� หมู่ 5 วัดสกุณาราม (วัดนก)

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 24


2

1

4

3

5 6

7

1-9 วัดละมุดสุทริยาราม 10-15 วัดสกุณาราม(วัดนก) 8

9

10

12

11

25 เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557

13

14

15


สรุปรายรับ - รายจ่าย ประจำ�ปีงบประมาณ 2556 1. สถานะการคลัง -----------งบประมาณรายจ่ายทั่วไป------------- ในปีงบประมาณ พ.ศ.2556 ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2556 เทศบาลตำ�บลเกษไชโยมีสถานะการเงินดังนี้ ณ วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2556 ---------------------เงินฝากธนาคารทั้งสิ้น 39,120,971.92 บาท ---------------------เงินสะสม 29,025,618.23 บาท ---------------------ทุนสำ�รองเงินสะสม 12,178,422.00 บาท ---------------------รายการกันเงินไว้แบบก่อหนี้ผูกพันและยังไม่ได้เบิกจ่าย จำ�นวน 7 โครงการ . 173,830.96 บาท ---------------------รายการกันเงินไว้โดยยังไ่ได้ก่อหนี้ผูกพันและยังไม่ได้เบิกจ่าย จำ�นวน 7 โครงการ 2,798,300.00 บาท ------------เงินกู้คงค้าง-------------- 0.00 บาท 2. การบริหารงบประมาณ ในปีงบประมาณ 2556 1 รายรับจริงทั้งสิ้น 27,641,218.83 ประกอบด้วย หมวดภาษีอากร 163,324.70 บาท หมวดค่าธรรมเนียม ค่าปรับ และใบอนุญาต 268,906.50 บาท หมวดรายได้จากทรัพย์สิน 894,181.99 บาท หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์ 0.00 บาท หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด 48,580.00 บาท หมวดรายได้จากทุน 0.00 บาท หมวดภาษีจัดสรร 16, 583,704.64 บาท หมวดเงินอุดหนุนทั่วไป 9,682,111.00 บาท 2 เงินอุดหนุนที่รัฐบาลให้โดยระบุวัตถุประสงค์ 4,825,765.00 บาท 3 รายจ่ายจริง .22,607,413.50 บาท งบกลาง 1,772,519.00 บาท งบบุคลากร 7,760,591.46 บาท งบดำ�เนินการ 7,581,931.46 บาท งบลงทุน 4,733,971.58 บาท งบรายจ่ายอื่น .0.00 บาท งบเงินอุดหนุน 758,400.00 บาท 4 รายจ่ายที่จ่ายจากเงินอุดหนุนที่รัฐบาลให้โดยระบุวัตถุประสงค์ 4,825,765.00 บาท 5 มีการจ่ายเงินสะสมเพื่อดำ�เนินการตามอำ�นาจหน้าที่ 2,302,313.04 บาท ครุภัณฑ์ยานพาหนะและขนส่ง 1,442,000.00 บาท โครงการวางท่อระบายน้ำ�ออกจากชุมชนเกษไชโยหมู่ที่ 3 490,313.04 บาท โครงการปรับปรุงเสียงตามสายภายในเขตเทศบาล 370,000.00 บาท งบเฉพาะการ ฝ่ายกิจการประปา ประเภทฝ่ายกิจการประปา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 รายรับจริง 1,591,686.32 บาท รายจ่ายจริง 1,196,019.01 บาท กู้เงินธนาคาร / กสท. / อื่นๆ จำ�นวน 0.00 บาท ยืมเงินสะสมจากเทศบาล จำ�นวน 0.00 บาท กำ�ไรสุทธิ จำ�นวน 395,667.31 บาท เงินฝากธนาคารทั้งสิ้น ณ วันที่ ๓๐ กันยายน จำ�นวน 1,233,045.44 บาท ทรัพย์จำ�นำ� จำ�นวน 0.00 บาท เงินฝากคลังเทศบาล จำ�นวน 466,604.21 บาท

เทศบาลตำ�บลเกษไชโย รายงานประจำ�ปี 2557 26


ส่งเสริมการศึกษา พัฒนาคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจชุมชนเข้มเข็ง ร่วมแรงใจพัฒนา เพื่อประชาชนมีสุขยั่งยืน


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.