CRYSTALLIZATION EXPERIMENTAL 01 GIRD SYSTEM TYPEFACE STYLE 01 TYPEFACE STYLE 02 TYPEFACE STYLE 03 EXPERIMENTAL TECHNIC TECNIC 01 : H2O WIGHT TECNIC 02 : pH TECNIC 03 : CuSO4 TECNIC 04 : YELLOW COLOR & DECORATION TECNIC 05 : LAYER PERSPECTIVE TYPOGRAPHY TECNIC 06 : TIDE TECNIC 07 : NaCO3 SHAPE & LEGIBILITY TECNIC 08 : TRANSFORM
ผลึกเป็นของแข็งที่มีการเรียงตัวในรูปแบบซ้ําๆ แผ่ขยายในรูปแบบ สามมิติและเรียงตัวกันอย่างเป็นระเบียบแต่สามารถเปลี่ยนแปลง ตามตั ว แปรต่ า งๆจึ ง มี ค วามสนใจในรู ป ทรงที่ ทั บ ซ้ อ นของผลึ ก ที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติจึงมีแนวความคิดที่จะนําผลการตกผลึกมา ต่อยอดในเรื่องการออกแบบตัวอักษร (Typography Design)
ผลึก (Crystal) คือของแข็งท่ีมีโครงสร้างภายในเป็นการจัดเรียง ตั ว ของอะตอม โมเลกุ ล หรื อ ไอออน เป็ น รู ป ทรงเรขาคณิ ต ที ่ ม ี ร ู ป ร ่ า งเฉพาะตั ว ของสารแต ่ ล ะชนิ ด ซึ ่ ง เรี ย งตั ว กั น อย ่ า งมี ระเบี ย บในรู ป แบบที ่ ซ ํ ้ า ๆ และแผ ่ ข ยายออกไปในพื ้ น ที ่ ส ามมิ ต ิ โดยสสารท่ีเป็นของเหลวจะเกิดผลึกภายใต้ กระบวนการโซลิดิฟิเคชั่น (Solidification)
ALUM สารส้ม 1 kg.
ค่อยๆให้ส ารละลายเข้ม ข้น นั้น เย็น ตัวลงช้าๆโดยใส่ตัว ล่ อ ผลึ ก ลงไปให้ ล อยอยู่ ตรงกลางของภาชนะผลึกจะ ค่อยๆก่อตัวขึ้นบนตัวล่อนั้น
ผสมตั ว ทำ�ละลายเข้ า กั บ สารประกอบ ที่ เ ป็ น ข อ ง แ ข็ ง ใ ห้ ค ว า ม ร้ อ น จ น ถึ ง จุ ด เดื อ ดของตั ว ทำ�ละลายสั ง เกตจนกว่ า ตั ว ทำ� ล า ย ไ ม่ ส า ม า ร ถ ทำ� ล ะ ล า ย สารประกอบนั้นได้อีกเรียกของเหลวนั้นว่า สารละลายเข้มข้น
°
100 C
น้ำ�เดือด
°
25-30 C
ภายนอก
WATER น้ำ�สะอาด 1 l.
ระยะเวลา 6 - 18 ชั่วโมง
การหาตัวทําละลาย ละลายท่ีดีจะละลายได้น้อย ท่ี สุ ด ใ น อุ ณ ห ภู มิ ห้ อ ง แต่ละลายได้หมดที่จุดเดือน ของตั ว ทํ า ละลายไม่ ไ วไฟ และละลายรวมเป็ น เนื้ อ เดียวกับสารนั้นๆได้
สารต่างๆจะสามารถละลายได้ดีในตัวทําละลายท่ีมีอุณหภูมิสูงกว่า อุ ณ หภู มิ ห้ อ งเมื่ อ ทํ า ให้ ส ารละลายอิ่ ม ตั ว ลดอุ ณ หภู มิ สู ง ลงช้ า ๆ จะทํ า ให้ ส ารนั้ น ออกมาจากสารละลาย ใ นรู ป ของแข็ ง ซ่ึ ง เรี ย ก กระบวนการน้ี ว่ า กระบวนการตกผลึ ก (Crystallization) การตกผลึกท่ีมีประสิทธภาพต้องเพียงสารเดียวตกผลึกออกมา เท่านั้น และสารอื่นๆ จะเจือปนอยู่ในสารละลายส่วนท่ีเหลือ เรียกว่า Mother Liquo
การตกผลึกการนําสารท่ีเป็นของแข็งไปละลายในตัวทําลายที่เหมาะ สมที่อุณหภูมิสูงจนกระท่ังได้สารละลายอิ่มตัวแล้วท้ิงไว้ให้ค่อยๆ เย็นลงจนเกิดเป็นผลึกข้ึนโดยหวังว่าจะได้สารท่ีต้องการตกผลึก ออกมาเพี ย งสารเดี ย วและเจื อ บ่ น อยู่ ใ นสารละลายส่ ว นที่ เ หลื อ (mother – liquor) น้อยที่สุด
การปล่อยให้ตกผลึก
น้ำ�อุ่น 2 มิลลิตร (สำ�หรับชะลอการเกิดผลึก)
ควรท้ิงให้สารละลายเย็นตัวลงช้าๆและระหว่าง การตกผลึ ก ควรมี ก า ร ร บ ก ว น น้ อ ย ท่ี สุ ด และถ้ า สารละลายท่ี ตั้ ง ท้ิ ง ไว้ ไ ม่ ต้ อ งผลึ ก อาจกระตุ้ น ให้ เ กิ ด การตกผลึ ก ได้ แ ก่ ใ ช้ แ ท่ ง แก้ ว ขู ด ท่ี ผ นั ง ด้ า นในของภาชนะโดยเฉพาะ บริ เ วณผิ ว สั ม ผั ส แช่ ส ารละลายลงในน้ํ า แข็ ง ใส่ผลึกของสารน้ัน 1 เกล็ดลงไปในสารละลาย เ พื่ อ เ ป็ น นิ ว เ ค ลี ย ส สํ า ห รั บ ก า ร ต ก ผ ลึ ก เรียกว่า Seeding
แก้วขูดท่ีผนังด้านใน
การละลายของแข็ง วิ ธี ที่ จ ะทํ า ให้ เ กิ ด การตกผลึ ก ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ จะต้ อ งเตรี ย สารละลายให ้ ไ ด ้ ส ารละลายอ่ ิ ม ตั ว ท่ ี อ ุ ณ หภู ม ิ จ ุ ด เดื อ ดของสารละลายน้ ั น การเตรียมภาชนะรองรับการตกผลึกจะต้องอุ่น ภาชนะเพ่ือไม่ให้เกิดการตกผลึกท่ีรวดเร็วเกินไป หากมีฝู่น หรือสิ่งเจือปนใด ที่ไม่ใช่สีของสารท่ี ต้องการให้ตกผลึกควรกําจัดออกโดยใส่ผงถ่าน เข้าไปดูดซึมโมเลกุล ของสารท่ีมีสีออกจึงกรอง สารละลายโดยกรองร้อนที่มีอุณหภูมิสูงเพียง พอท่ีจะไม่ให้สารละลายตกผลึก
การทําให้ผลึกแห้ง การทํ า ใ ห้ ผ ลึ ก แห้ ง ทํ า ได้ ห ลายวิ ธี เ ช่ น ทํ า ให้ แ ห้ ง ในอากาศ วิ ธี นี้ เ หมาะสํ า หรั บ กรณี ท่ี ส ารมี จํ า นวนน้ อ ยนํ า ไปอบในตู้ ท่ี มี อุณหภูมิ ตํ่ากว่าจุดหลอมเหลวของผลึกน้ัน ประมาณ 20 องศา หรือ นําไปใส่ใน สารดูดความชื้น (Desiccator) ท่ีเหมาะสม การประมาณว่ า การตกผลึ ก ท่ี เ กิ ด ขึ้ น น้ั น สมบู ร ณ์ แ ล้ ว มั ก สั ง เกตจากปริ ม าณผลึ ก ที่ เกิ ด และเที ย บกั บ เมื่ อ เวลาผ่ า นไปอี ก ประมาณ 10-15 นาที ผลึกยังอยู่ในสภาพเดิมถือว่าการ เกิดผลึกนั้นสมบูรณ์แล้ว
ปล่อยให้แห้งในอากาศ ใช้เวลา 1-2 สัปดาห์
ผลจากการอบที่ อุณหภูมิสูงกว่า จุดหลอมเหลว
ข้อควรระวัง • ควรเติมตัวทําละลายเล็กน้อยลงในภาชนะที่รองรับ เพื่อไม่ให้มีการตกผลึกอย่างรวดเร็วเกินไป การเติม ตัวทําละลายก่อนการอุ่นภาชนะ เพราะหากเติมลงใน ขณะภาชนะร้อนและแห้งอาจทําให้ภาชนะแตกได้ • ถ้ามีการตกผลึกในกระดาษกรองให้เติมตัวทําละลาย เดือดลงไปละลายผลึกในกระดาษ • ภาชนะที่ใช้ควรมีปากแคบ เพื่อป้องกันฝุ่น และช่วย ลดอัตราการระเหยของตัวทําละลาย
จากการทดลองขั้นแรกเพื่อหาความน่าสนใจของผลึกสารส้มตาม หลักทฤษฎีการตกผลึกนั้นได้พบลักษณะของผลึกที่มีโครงสร้างที่ น่าสนใจคือมีลักษณะเป็นพีระมิตฐานสี่เหลี่ยม ซึ่งเกิดจากการขยาย ใหญ่ขึ้นของผลึกบนโครงตัวล่อผลึก โดยไม่มีสิ่งรบกวนทำ�ให้ มีลักษณะที่สมบูรณ์
จากรโครงสร้างผลึกที่ได้นำ�มาลดทอนได้เป็น ลักษณะของพีระมิตฐานสี่เหลี่ยม ซึ่งมุมบนเป็น มุมตัดตามลักษณะของผลึกที่พบ และเขียนให้ อยู่ในด้านข้างและด้านบนก่อนจะนำ�แต่ละด้านมา เรียงต่อกับจนเป็นระบบกริด แบบที่ 1
จากการลดทอนจนได้ ร ะบบกริ ด แบบที่ 1 จึ ง เกิ ด การศึ ก ษรเพิ่ ม ขึ้ น ว่ า หากผลึ ก ของสารส้ ม นี้ สมบูรณ์จนถึงที่สุดผลึกจะมีลักษณะเป็นพีระมิต ฐานสี่เหลี่ยมแบบที่ไม่มีมุมตัดด้านบนทำ�ให้เมื่อ เขียนให้อยู่ในรูปด้านข้าง และมุมบนจะได้ลักษณะ ของสามเหลี่ ย มด้ า นเท่ า ที่ ส มบู ร ณ์ แ ละเมื่ อ นำ� มาเรี ย งต่ อ กั น เป็ น ระบบกริ ด ได้ เ ป็ น ระบบกริ ด แบบที่ 2
การออกแบบบนระบบโครงสร้ า งที ่ ไ ด้ จ ากการ ทดลองเน ้ น ความเป็ น เหลี ่ ย มและไม ่ ซ ั บ ซ ้ อ น เพื ่ อ ใช ้ เ ป็ น โครงในเกาะของผลึ ก ที ่ ส ามารถ สร ้ างความน ่ าสนใจในพื ้ น ผิ ว ของตั ว อั กษร
การออกแบบตั ว อั ก ษรที ่ เ พิ ่ ม ลู ก เล่ น ที ่ ไ ด ้ จ าก การทดลองที่ ส ั ง เกตลั ก ษณะการเกาะของ ผลึ ก ที ่ ค่ อ ยๆเกาะจากด้ า นข้ า งของโครงสร้ า ง เป็ น รู ป ทรงสามเหลี่ ย มเมื่ อ นำ�มารวมกั บ ตั ว อั ก ษรชุ ด แรกที่ ไ ด้ จ ากระบบโครงสร้ า ง เดี ยวกั น ทำ�ให้เกิ ดลู กเล่ น ใหม ่
ชุดตัวอักษรที่เน้นรูปร่างรอบนอกของตัวอักษร วัตถุประสงค์หลักเพื่อที่จะใช้ในทดลองในเทคนิค การตกผลึกจากด้านในของโครงสร้างตัวอักษร แทนการเกาะจากด้านนอก และเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ ที่มีความน่าสนใจแตกต่างออกไป
H2O น้ำ� + สารส้ม
CuSO4 น้ำ� + จุนสี + สารส้ม
YELLOW pH น้ำ�อัญชัน + สารส้ม
น้ำ� + สีผสมอาหาร + สารส้ม
Na2CO3 น้ำ� + แบคกิ้งโซดา + สารส้ม
LAYERS น้ำ�ใบเตย + สารส้ม
TIDE สร้างกระแสน้ำ�
TRANSFORM การเชื่อมต่อ
น้ำ�สะอาด + สารส้ม ส่ ว นประกอบ น้ ำ� สะอาด 1 l. น้ ำ� อุ ่ น 2 ml. สารส้ ม 1 kg. อุ ณ หภู ม ิ น้ ำ� เดื อ ด 100 ํ C เทสาร 40 ํ C ภายนอก 30 ํ C ระยะเวลา 4 hr.
ในชุดตัวอักษรแต่ละชุดจะประกอบไปด้วยน้ำ�หนักของตัวอักษรที่ แตกต่างกันตามความหนาของเส้นและความเหมาะสมในการอ่าน ออกด้วยบางชุดความเหมาะสมของการอ่าน สำ�หรั บ ตั ว อั ก ษรที่ ไ ด้ จ ากการทดลองด้ ว ยการเกิ ด ผลึ ก บน โครงสร้างตัวอักษรนั้นน้ำ�หนักของตัวอักษรจะเพิ่มขึ้นจากการเกาะ ที่ทับซ้อนขึ้นของผลึก
20 min
2 hr.
40 min
1 hr.
1 hr. 20 min
1 hr. 40 min
2 hr. 20 min
2 hr. 40 min
3 hr.
3 hr. 20 min
3 hr. 40 min
4 hr.
4 hr. 40 min
REGULAR
BLACK
20 min
3 hr. 20 min
MEDIUM 1 hr.
EXTRA BLACK 3 hr. 40 min
BOLD 2 hr.
OVER EXTRA BOLD
4 hr. ลักษณะของตัวอักษรและคำ�ที่สามารถอ่านออก ได้ง่ายมีผลต่อการอ่านและสะกดคำ�เพื่อทำ�ความ เข้าใจในความหมายแต่หากลักษณะของตัวอักษร และคำ�มี ค วามซั บ ซ้ อ นหรื อ เป็ น รู ป ร่ า งไปจาก เดิ ม เราจะยั ง สามารถอ่ า นและทำ�ความเข้ า ใจต่ อ สิ่ งเหล่ า นั้ น ได้ ห รื อ ไม่ ถ้ าได้ อ าจเป็ น เพราะเราใช้ ประสบการณ์ในการอ่านและทำ�ความเข้าใจต่อสิ่ง เหล่านั้นมากกว่าการนำ�ตัวอักษรมาสะกดเป็นคำ� เพื่อให้ได้ความหมาย
2 hr. 40 min
LOST 4 hr. 40 min
น้ำ�อัญชัน + สารส้ม ส่วนประกอบ น้ำ�อัญชัน 1 l. สารส้ม 1 kg. อุณหภูมิ น้ำ�เดือด 100 ํC เทสาร 40 ํC ภายนอก 30 ํC ระยะเวลา 2 hr.
กรด - กลาง - เบส ค ่า pH คื อ ส่ว นกลั บ ของ Logarithm ของ ความเข้มข้นของไฮโดรเจนไอออน (H+) แสดง ความเป็นกรด หรือเบสของสารละลาย มีค่า pH ตั้งแต่ 0 ถึง 14 • pH มีค่า ต่ำ�กว่า 7 แสดงความเป็นกรด (acidic pH) • pH มีค่า 7 หมายความว่ามีความเป็นกลาง (natural pH) • pH มีค่า สูงกว่า 7 แสดงความเป็นเบส (alkaline pH) น้ำ�ดอกอัญชันสามารถเป็นอินเดเตอร์เป็นสาร ที่ใช้บอกความเป็นกรด-เบส ของสารละลายได้ โดยเมื่อได้รับความเป็นกรดน้ำ�อัญชันจะเปลี่ยน สีเป็นสีแดง ส่วนเบสน้ำ�อัญชันนั้นจะเปลี่ยนเป็น สีเขียว และเนื่องจากสารส้มที่มีความเป็นกรด อ่อนๆ และมีค่า pH อยู่ที่ 3 - 3.5 นั้นทำ�ให้ น้ำ�อัญชันเปลี่ยนสีเป็นสีแดงและเกิดผลึกสีชมพู
Blue Vitriol จุนสี สารประกอบที่สำ�คัญของทองแดง เรียกว่า Blue Vitriol สูตรทางเคมีคือ CuSO4 5H2O เป็นสารประกอบไอออนนิก ลักษณะเป็นผลึกสีขาว ในสภาพที่ปราศจากน้ำ� Anhydrous แต่เมื่อได้ รับความชื้นจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้า
การเพิ่มสีสันให้กับตัวอักษร ด้วยสีผสมอาหาร เป็นการเพิ่มสีที่ทำ�ได้ง่ายที่สุด ขั้นตอนในการทำ� คล้ายกับหลักการทดลองเบื้องต้น เพียงแค่เพิ่ม สีผสมอาหารตามใจชอบ ความเข้มของผลึกจะ ขึ้นอยู่กับปริมาณของอัตราส่วนสีผสมอาหาร กับสารละลายเข้มข้น
น้ำ� + สีผสมอาหาร + สารส้ม ส ่ ว นประกอบ น้ ำ� สะอาด 1 l. น้ ำ� อุ่น 2 ml. สารส ้ ม 1 kg. สี ผ สมอาหาร 10 ml. อุ ณ หภู ม ิ น้ ำ� เดื อ ด 100 ํ C เทสาร 40 ํ C ภายนอก 30 ํ C ระยะเวลา 2 hr.
การเลื อ กใช้ สี เ ป็ น ขั้ น ตอนในการเพิ่ ม ความน่ า สนใจขั้ น แรกๆ ให้ กั บ งานออกแบบต่ า งๆรวมถึ ง การออกแบบตั ว อั ก ษรด้ ว ย ซึ่ ง สี มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั บ ร่ า งกายจิ ต ใจอารมณ์ ข องเราทุ ก คน สีบอกความเป็นตัวตนสีโทนร้อนให้ความรู้สึกที่ต่างจากสีโทนเย็น สี โ ทนจะไปกระตุ้ น ต่ อ มไพเนี ย ลซึ่ ง จะส่ ง ผลถึ ง ฮอร์ โ มน ค ว า ม รู้ สึ ก จิ ต ใ จ อ า ร ม ณ์ ข อ ง แ ต่ ล ะ สี บ อ ก อ า ร ม ณ์ ไ ด้
ในกระบวนการตกผลึ ก ซึ่ ง ประกอบไปด้ ว ยสารประอบที่ เ ป็ น ของแข็ ง และตั ว ทำ�ละลายผ่ า นกระบวนการให้ ค วามร้ อ นจน กลายเป็ น สารละลายเข้ ม ข้ น หากเราผสมสี ต่ า งๆในสารละลาย ข้ น ข้ น นั้ น ผลึ ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น จะสามารถดึ ง สี ใ นสารละลายเข้ ม ข้ น นั้ น เข้ า มาอยู่ ใ นผลึ ก ได้ โ ดยความเข้ ม ของสี ที่ ติ ด มากั บ ผลึ ก จะลดลง20-30%ของความเข้ ม ในสารละลายเข้ ม ข้ น
ระหว่างการทดลองเรื่องสีทั้ง 3 อันนั้นได้สังเกต เห็นผลึกที่รวมตัวกันอยู่ด้านใต้ของภาชนะที่ใช้ใน การทดลอง ซึ่งมีความน่าสนใจในเรื่องของชั้นสี ที่ค่อยๆไล่ระดับความเข้ม จึงเป็นที่มาของการนำ� โครงสร้างของตัวอักษรมาใช้เป็นโครงสร้างภายนอก และปล่อยให้ผลึกเกาะทางด้านใน ทำ�ให้เห็นถึง ความน่าสนใจของผลึกในอีกมุมมอง
น้ำ�ใบเตย + สารส้ม ส่ ว นประกอบ น้ ำ� ใบเตย 1 l. สารส้ ม 1 kg. อุ ณ หภู ม ิ น้ ำ� เดื อ ด 100 ํ C เทสาร 40 ํ C ภายนอก 30 ํ C ระยะเวลา 48 hr.
ปกติในการทดลองที่ใช้ตัวอักษรเป็นโครงให้ผลึกใช้ในการเกาะ เพื่อให้ได้ความสวยงามที่แตกต่างกันไปตามแต่ละเทคนิคผลลัพธ์ ส่ ว นมากตั ว อั ก ษรจะต้ อ งอ่ า นในมุ ม หน้ า ตรงอย่ า งเดี ย วเท่ า นั้ น เพื่ อ ให้ อ่ า นออกได้ง่ายที่สุดและจากการทดลองเรื่องสีทำ�ให้เห็น ความน่าสนใจของชั้นผลึกที่ค่อยๆไล่ความเข้มของสีเมื่อนำ�มารวม กับมุมมองของตัวอักษรที่อาจมีความต้องการนำ�ไปใช้ในรูปแบบ อื่นที่ใม่ใช่หน้าตรงการใช้ตัวอักษรเป็นกรอบเพื่อให้ผลึกเกาะจาก ด้านในเป็นอีกหนึ่งวิธีที่นำ�เสนอความน่าสนใจของชั้นสีและทำ�ให้ โครงสร้างของตัวอักษรสามารถอ่านได้ง่ายขึ้นในมุมมองต่างๆ
ผลึกที่ตกตะกอนลง ด้านล่าง
ผลึกจะเริ่มเกาะจาก ผนังด้านข้าง
¹Ó
สารละลายเข้มข้นผสมสีผสมอาหาร ค่อยๆ เทลงในกรอบทีละชั้น รอให้ผลึกแต่ละสี แห้งแล้วจึงเทอีกสีหนึ่งลงไป ข้อควรระวัง ต้องรองให้น้ำ�ในผลึกชั้นก่อนหน้าแห้งสนิท จริงๆ เพื่อไม่ให้ผสมกับสีชั้นต่อไป
สีผสมอาหาร สีเหลือง สีผสมอาหาร สีแดง
ตะกอนของน้ำ� ใบเตยที่ ต ก ตะกอนลงด้านล่างก่อนที่จะ เกิดผลึก
การตกผลึกที่ค่อยๆไล่ระดับ ไปพร้ อ มๆกั บ การตะกอน ของน้ำ�ใบเตย ทำ�ให้น้ำ�หนัก ของผลึ ก แต่ ล ะชั้ น ต่ า งกั น ออกไป
นำ�้ใบเตยที่มีกากในการสร้างสีเขียวสด เมื่อผสมกับสารส้มจะได้สารละลายเข้ม ข้นจะได้สีเขียวขี้ม้าและเมื่อตั้งทิ้งไว้กาก จะตกตะกอนก่อนที่สารละลายเข้มข้นนั้น จะตกผลึกจึงเกิดเป็นการไล่ระดับของสี
กระแสน้ำ� ส่ ว นประกอบ น้ ำ � สะอาด 1 l. น้ ำ � อุ่น 2 ml. สารส้ ม 1 kg. อุ ณ หภู ม ิ น้ ำ � เดื อ ด 100 ํ C เทสาร 40 ํ C ภายนอก 30 ํ C สร้ า งกระแสน้ ำ � คนทุ ก ๆ 20 min. ระยะเวลา 4 hr.
ตามหลักของกระบวนการตกผลึกเป็นการปล่อย ให้สารละลายเข้มข้นค่อยๆจัดเรียงตัวอย่างช้าๆ เพื่อให้ได้ผลึกที่สมบูรณ์โดยในการกระบวนการ นั้นจะต้องระวังไม่ให้เกิดการกระทบกระเทือนต่อ ผลึ ก และภาชนะที ่ ใ ช ้ ใ นกระบวนการเกิ ด ผลึ ก แต่ในการทดลองนี้ตรงข้ามกันเพราะมีการสร้าง สิ่งรบกวนระหว่างการเกิดกระบวนการ จึงส่งผล ต ่ อ การจั ด เรี ย งตั ว ของผลึ ก ทำ � ให้ ผ ลลั พ ธ ์ น ั ้ น เปลี่ยนไปจากเดิม
โซเดียมไบคาร์บอนเนต์ (Sodium bicarbonate) มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาว มีโครงสร้างเป็นผลึก แต่ปรากฎในรูปผงละเอียด มีคุณสมบัติเป็นเบส ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในผงฟูเมื่อได้รับความร้อน พบ ว่าโซเดียมไฮโดรเจนคาร์บอเนตจะสลายให้ CO2 ดังสมการ 2NaHCO3 <ความร้อน> Na2CO3 + H2O + CO2
น้ำ�สะอาด + แบคกิ้งโซดา + สารส้ม ส ่ ว นประกอบ น้ ำ� สะอาด 1 l. น้ ำ� อุ่น 2 ml. สารส ้ ม 1 kg. Baking Soda 10 g. อุ ณ หภู ม ิ น้ ำ� เดื อ ด 100 ํ C เทสาร 40 ํ C ภายนอก 30 ํ C ระยะเวลา 4 hr.
ลักษณะของตัวอักษรที่เปลี่ยนแปลงไปเพราะการเกาะของผลึก ที่ ขั ด ต่ อ หลั ก ทฤษฎการตกผลึ ก ทำ�ใ ห้ รู ป ร่ า งของตั ว อั ก ษรอ่ า น ออกได้ยากแต่เมื่อนำ�ผสมจนเป็นคำ�จะสามารถอ่านออกได้เป็นคำ� ได้ เนื่องจากความเคยชินในการอ่านคำ�ๆนั ้ น
ผลึ ก ที่ มี ก ารเกาะตั ว ไม่ ค งที จากผลของการเติม แบคกิ้ง โซดา (Baking Soda)
การเกาะของผลึ ก ที่ ขั ด กั บ หลั ก ทฤษฎี ด้ ว ยการสร้ า ง กระแสน้ำ�ทุกๆ 20 นาที
Legibility (n.) ลักษณะการอ่านออกง่ายของตัวอักษร Readability (adj.) อ่านออกได้ง่าย
ในการทดลองได้ทดลองตัดโครงสร้างของตัวอักษร S เป็น สองส่วน เมื่อผ่านกระบวนการการเกิดผลึกน้ันท้ังสองส่วนของ ตัว S จะเชื่อมเข้า หากันด้วยการเพ่ิมข้ึนของการเกาะของผลึก