พันธุ์ผักพื้นบ้าน ณ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืช
จักรพันธ์เพ็ญศิร ิ เรื่องและภาพ ประวิทย์ บุญมี และ ม.ร.ว. เพ็ญศิริ กรัยวิเชียร
ก่อนถึงแม่สายสี่กิโลเมตร เหนือสุดยอดในสยาม บนทางหลวงหมายเลข 110 ริมชายแดนประเทศสหภาพพม่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิชัยพัฒนาร่วมกับมูลนิธิแม่ฟ้าหลวง จัดตั้ง ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ ขึ้น เพื่อเป็นที่ระลึก ในวาระครบรอบ 100 ปี พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ
มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์พืช
ให้เกษตรกรได้มีพืชที่มีสายพันธุ์ที่ดี ทนทานต่อโรคและแมลง
ได้ผลผลิตที่ดีพอสมควร
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ
ได้สร้างเสร็จสมบูรณ์บนที่ดินราชพัสดุ ในตำบลโปงผา อำเภอแม่ ส าย จั ง หวั ด เชี ย งราย ซึ่ ง กรมธนารั ก ษ์ ไ ด้ น้อมเกล้าฯ ถวายที่ดินผืนนี้ แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี และได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคณุ เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชฯ นี้ เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2552 บนเนือ้ ที ่ 135 ไร่ 1 งาน 10.3 ตารางวา ศูนย์พฒั นา พันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ โดยมูลนิธิชัยพัฒนาและมูลนิธิ แม่ ฟ า หลวง ได้ เ ริ่ ม ดำเนิ น งานต่ า งๆ หลายโครงการ โครงการสำคัญที่สนองพระราชดำริในการที่ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้จัดตั้งศูนย์นี้ขึ้น คือ การผลิตเมล็ดพันธุ์พืช ผักพื้นบ้าน ให้ราษฎรได้มีเมล็ดพันธุ์ที่ดี ไว้ปลูกเพื่อบริโภค ¼Ñ¡ÊÅÑ´ ในครั ว เรื อ น และช่ ว ยเหลื อ ฟ น ฟู พื้ น ที่ ห ลั ง เกิ ด ภั ย พิ บั ติ ดอก¤ะน้า น้ำท่วม ดินถล่ม ฯลฯ จากพระราชดำรัสของสมเด็จพระเทพรัตนราชศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริได้เริ่มรวบรวม สุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ที่รับสั่ง ณ วังสระปทุม เมื่อ พันธุ ์ ผักกาดกวางตุง้ คะน้า พริก มะเขือ มะเขือเทศ บวบ วันที่ 7 กรกฎาคม 2552 ความว่า น้ำเต้า และผักสลัดชนิดต่างๆ โดยมีอาจารย์จากคณะ “...ชัยพัฒนาของเรานี้ มีจุดมุงหมายในเรื่องการ ผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้ เป็นที่ปรึกษา ทำใหคุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น ทั้งในดานความเปน ทำการคัดเลือกพันธุ์ และเพิ่มจำนวนเมล็ด โดยจะเก็บ อยู การอาชีพ และสิง่ แวดลอมตามธรรมชาติ สวนทีส่ ำคัญ เมล็ดพันธุ์ในห้องที่ปรับอุณหภูมิ เก็บรักษาตามกำหนด ของเราคือการเกษตร ปจจัยสำคัญของการเกษตร นอกจาก อายุการงอกของเมล็ดพืชนั้นๆ จัดระบบการจัดเก็บให้เป็น จะเปนเรื่องน้ำและดินแลว การมีพันธุพืชที่ดีใหเกษตรกร แบบแผน เพื่อสะสมเป็นเมล็ดพันธุ์พระราชทาน นอกจากนี้ ปลูก เปนเรือ่ งทีส่ ำคัญมาก อีกอยางหนึง่ ก็คอื การทีท่ ำเอง ได้ ป ลู ก ถั่ ว เหลื อ งฝ ก สดเพื่ อ คั ด เลื อ กพั น ธุ์ ที่ มี ก ลิ่ น หอม จัดเองทำใหเราไดศึกษาวิธีการวา พันธุตางๆ นอกจากจะ และมีศักยภาพในการปรับตัว เมื่อคัดหาสายพันธุ์ถั่วเหลือง ทำใหมีปริมาณมากขึ้นแลว คุณภาพที่จะเหมาะสมในแตละ ฝกสดที่มีศักยภาพและมีเสถียรภาพในการปรับตัวเข้ากับ แหงจะทำอยางไรเพราะถาเราทำเองจะทราบวาตรงไหนตอง สภาพแวดล้อมต่างๆ ได้ดีแล้ว ก็จะผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก ทำอยางไร เปนความรูข องพวกเราทุกคนดวย...” ของสายพั น ธุ์ ดี และส่ ง เสริ ม ให้ เ ป็ น อาหารเสริ ม โปรตี น ศู น ย์ พั ฒ นาพั น ธุ์ พื ช จั ก รพั น ธ์ เ พ็ ญ ศิ ริ จึ ง ทำ ทางพืช ในพื้นที่ทุรกันดาร ต่อไป ‘โครงการพันธุ์พืชศูนย์จักรพันธ์ฯ’ ขึ้น เพื่อรวบรวมและ มหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี ร าชมงคลล้ า นนาได้ พัฒนาพันธุ์พืชพื้นบ้าน และเก็บรักษาพันธุ์พืชผักพื้นบ้าน เข้าร่วมจัดทำแปลงสาธิตพันธุ์ และแปลงผลิตเมล็ดพันธุ์ ให้เกษตรกรมีพันธุ์พืชที่ดีไว้ปลูกเพื่อบริโภคในครัวเรือน พืชพื้นเมืองสายพันธุ์ดีที่เป็นเมล็ดพันธุ์หลัก เพื่อปลูกเป็น จำหน่าย และสามารถเก็บไว้ทำพันธุ์ต่อไปได้อีก นอกจากนี้ เมล็ดพันธุ์ขยายสำหรับพระราชทานแก่ราษฎร พืชที่ปลูกมี ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริจะผลิตและสะสมเมล็ด ข้าวโพดข้าวเหนียว ข้าวโพดเทียนหวาน งาดำพันธุ์ มก.18 พั น ธุ์ พื ช ผั ก พื้ น บ้ า น เพื่ อ เป็ น เมล็ ด พั น ธุ์ พ ระราชทานแก่ ผั ก กวางตุ้ ง ฟ ก ทอง ฟ ก เขี ย ว มะเขื อ เทศพื้ น เมื อ ง ราษฎรต่อไปอีกด้วย ถั่วฝกยาว และแตงโมสีทอง 6
“...ปจจัยสำคัญของ การเกษตร นอกจาก จะเป็นเรื่องน้ำและดินแล้ว การมีพันธุ์พืชที่ดี ให้เกษตรกรปลูก เป็นเรื่องที่สำคัญมาก...”
ได้ จั ด ทำแปลงอนุ รั ก ษ์ การคั ด เลื อ ก และใช้ á»Å§¼Ñ¡ÊÅÑ´ ประโยชน์ พั น ธุ ก รรมพื ช ท้ อ งถิ่ น ที่ ร วบรวมจากท้องถิ่น ต่างๆ ในภาคเหนือ 10 ชนิด ได้แก่ ข้าวไร่ งาขีห้ ม่อน ในส่วนของเยาวชนและประชาชนผู้สนใจการปลูก แตงกวา บวบมันเทศ ผักกาดพืน้ เมือง ตังโอ มะเขือพืน้ เมือง ผักและรับประทานผัก ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ พริ ก พื้ น เมื อ ง ฟ ก ข้ า ว โดยมี ม หาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี และบริษัท เอเซียซอฟท์ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ราชมงคลล้ า นนา เขตพื้ น ที่ ล ำปาง เขตพื้ น ที่ พิ ษ ณุ โ ลก ได้ร่วมกันจัดโครงการประกวดสื่อสร้างสรรค์ ‘บ้านนี้มีรัก เขตพื้นที่น่าน และสถาบันวิจัยเทคโนโลยีการเกษตร เป็น ปลู ก ผั ก กิ น เอง’ เป็ น การประกวดวาดภาพการ์ ตู น สั้ น พื้นที่ส่วนสนับสนุนการดำเนินงาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและมัธยมศึกษา ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริและสถาบัน ตอนปลาย และการประกวดทำคลิปวิดีโอ สำหรับนักเรียน วิ จั ย และฝกอบรมการเกษตรลำปาง จะผลิตเมล็ดพันธุ์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ถั่วฝกยาวและผักกาดเขียวกวางตุ้ง เพื่อให้เกษตรสามารถ นิสิต นักศึกษา และประชาชนทั่วไป เพื่อให้เยาวชนไทยได้ นำไปผลิตและเก็บเมล็ดพันธุ์ไว้ใช้เองได้ต่อไป เพื่อเป็นการ เรียนรู้วิธีการปลูกผัก ประโยชน์จากการรับประทานผัก ลดต้นทุนในการปลูก เพราะเมล็ดพันธุ์ราคาสูง ทั้งยังต้อง และได้ ท ำสื่ อ รณรงค์ ป ระชาสั ม พั น ธ์ ใ ห้ ค นไทยรู้ จั ก การ เพาะปลูกและนำพืชผักที่ปลูกมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไม่ ซื้อเมล็ดพันธุ์ใหม่ในการปลูกทุกครั้ง นอกจากนี้ ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ ซับซ้อน ในการทำกิจกรรมต่างๆ ได้มีผู้เข้าร่วมช่วยเหลือ ได้ ร่ ว มกั บ คณะวิ ศ วกรรมและอุ ต สาหกรรมเกษตร มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ศึ ก ษาวิ จั ย วิ ธี ก ารผลิ ต และใช้ น้ ำ และสนับสนุนการดำเนินงานหลายหน่วยงาน อาทิ กรม จุลินทรีย์จากปุยอินทรีย์ที่ผลิตจากมูลกระบือ เพื่อใช้ ใน ทรัพยากรน้ำบาดาล ได้ให้การสนับสนุนการขุดน้ำบาดาล การเกษตรระดับครัวเรือน และศึกษาความเป็นไปได้ในการ เพื่อให้ศูนย์มีน้ำสำหรับอุปโภค นอกจากนี้ ยังได้รับความ คั ด เลื อ กชนิ ด สายพั น ธุ์ ข องจุ ลิ น ทรี ย์ ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ใ น ร่วมมือและสนับสนุนการดำเนินงานจากเทศบาลอำเภอ น้ำจุลินทรีย์จากปุยอินทรีย์ที่ผลิตจากมูลกระบือ เพื่อนำไป แม่สาย องค์การบริหารส่วนตำบลโปงผา และองค์การ บริหารส่วนตำบลเวียงพางคำ ที่อยู่ใกล้เคียง เป็นอย่างดี ใช้ประโยชน์ต่อไป 7
รูปบน: ทรงเปิดร้าน ‘จันกะผัก’ และทรงตำ “ส้มตำทำเอง”
ในวันที่เสด็จพระราชดำเนินมาทรงเปิดศูนย์พัฒนา พันธุ์พืชจักรพันธ์เพ็ญศิริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณทรงเปิด ร้าน ‘จันกะผัก’ เพื่อจำหน่ายพืชผักที่เหลือจากการทดสอบ และพั ฒ นาพั น ธุ์ ขายสลั ด และส้ ม ตำ ซึ่ ง ใช้ พื ช ผั ก ที่
ศูนย์พัฒนาพันธุ์พืชฯ ผลิตเอง ขายของที่ระลึก และขาย กาแฟ ร้ า นจั น กะผั ก มี แ ผนการดำเนิ น งานที่ จ ะสนอง พระราชประสงค์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีในการช่วยเหลือสนับสนุนให้ราษฎรมีชีวิต ความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นโดยร้านจันกะผักจะประสานกับชุมชน เพื่ อ ส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาผลผลิ ต ทางการเกษตรและ ผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน สร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้า และจะนำ ผลผลิตที่ได้รับการพัฒนามาจำหน่ายในระยะต่อไป
นับได้ว่า พระราชประสงค์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้สนับสนุนให้การ พัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎรเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ครบถ้วน ตั้งแต่การผลิตผลิตผลทางการเกษตรที่มีคุณภาพ การแปรรูปผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลาย และนับเนื่อง ต่อมาถึงการขายและการตลาด อันเป็นอีกก้าวสำคัญของการดำเนินงานพัฒนา
เพื่อยังประโยชน์ให้แก่ราษฎรอย่างยั่งยืน
พระเจ้ า วรวงศ์ เ ธอ พระองค์ เ จ้ า จักรพันธ์เพ็ญศิริ ทรงเป็นโอรสใน พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหมื่ น อนุ วั ต นจาตุ ร นต์ และหม่ อ มจำรั ส จั ก รพั น ธุ์ ณ อยุธยา ประสูติเมื่อวันอังคารที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2452 ณ วังถนนหลานหลวง มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้า จักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ เมื่อทรงศึกษาวิชาการเกษตร เกี่ ย วกั บ พื ช เมื อ งร้ อ นที่ ม หาวิ ท ยาลั ย แห่ ง ฟิ ลิ ป ปิ น ส์ แ ล้ ว เสด็ จ กลั บ เข้ า มารั บ ราชการสนองพระเดชพระคุ ณ ใน กระทรวงเกษตราธิการ พร้อมกับทรงเป็นอาจารย์พิเศษ ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และโรงเรียนการเรือนด้วย ต่อมาเสด็จไปศึกษาต่อปริญญาโทที่มหาวิทยาลัยคอร์แนลล์ กลับมาทรงเข้ารับราชการในกระทรวงเกษตราธิการ และ ทรงเป็นรองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็น อธิบดีกรมการข้าว อธิบดีกรมกสิกรรม คณบดีคณะเกษตร อธิการบดีและนายกสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ต่อมา ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระหว่างปพุทธศักราช 2516 ถึง 2517 เมื่อทรงพ้นตำแหน่งทางการเมืองแล้ว ทรงรับ พระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ เป็นองคมนตรีเมื่อปพุทธศักราช 2518 และทรงปฏิ บั ติ ราชการสนองพระเดชพระคุณในหน้าที่นี้ตลอดมาจนถึง วาระสุดท้ายแห่งพระชนม์ชีพ หม่ อ มเจ้ า จั ก รพั น ธ์ เ พ็ ญ ศิ ริ จั ก รพั น ธุ์ ทรงถึ ง ชี พิ ตั ก ษั ย เมื่ อ วั น ที่ 13 ตุ ล าคม 2536 มี พ ระชนม์ 84 พรรษา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระราชดำริ เห็นว่า หม่อมเจ้าจักรพันธ์เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ ทรงปฏิบัติ งานทีก่ อ่ เกิดประโยชน์แก่ประเทศชาติและประชาชน สมควร ได้ รั บ การยกย่ อ งสถาปนาอิ ส ริ ย ยศฐานั น ดรศั ก ดิ์ จึ ง มี พระบรมราชโองการดำรัสสัง่ ให้สถาปนา หม่อมเจ้าจักรพันธ์ เพ็ญศิริ จักรพันธุ์ เป็น พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้า จักรพันธ์เพ็ญศิริ ณ วันที่ 29 มีนาคม พุทธศักราช 2537 9
Local Vegetable Varieties At Prince Chakraband for Plant Development
Pensiri Center
Story and Photographs by Pravit Boonmee and M.R. Pensiri Kraivixien Translated by Pratabjai Vasunant Located at the northernmost part of Thailand on Highway No. 110, about 4 kilometers before reaching Mae Sai along the Thai border with Myanmar, Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn granted a Royal Initiative for the Chaipattana Foundation and the Mae Fah Luang Foundation to set up the Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development to commemorate the late Prince Chakraband Pensiri’s 100th birthday anniversary. The objectives of the Center are to improve and develop 10
good vegetable varieties that not only can withstand diseases and insects, but can produce substantial yields for the farmers.
The construction of the Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development was carried
out on the state property land at Pong Pha Subdistrict, Mae Sai District, Chiang Rai Province, which the Treasury Department presented the property to Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn. Upon completion, Her Royal Highness graciously presided over the official opening of the Center on July 20, 2009.
On the Center’s compound covering an area of about 54 acres, the Chaipattana and the Mae Fah Luang Foundations created several projects, the significant one being the production of seeds for local vegetable varieties. This activity is a direct response to the Royal Initiative of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn in setting up the Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development, which is to provide local villagers with good vegetables seed varieties for farming to support household consumption and at the same time, productively restoring the lands damaged from natural disasters like floods and landslides. Her Royal Highness made a remark on July 7, 2009 at the Sra Pathum Palace that, “…The Chaipattana Foundation has a mission of uplifting the people’s quality of life, in terms of their wellbeing, occupation, and surrounding natural environment. An important part of our work is agriculture. Other factor essential to agriculture apart from water and soil is the availability of good plant seed varieties for cultivation. This is very crucial. The thing is, if we carry out our own studies, not only will we know how to increase production quantity, but we will be able to determine how to establish proper quality of plant varieties for each place. From our own firsthand practice, we will know the ‘what’ and the ‘how’; and this is the knowledge we will all gain….” The Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development therefore set up the project called the Prince Chakraband Pensiri Plant Varieties Project. The aim of this project is to gather, develop, and conserve good local vegetable varieties so that farmers have seeds to grow on their own and have produces for daily household consumption, selling, and preservation for future cultivation. In addition, the Center intends to produce and collect local
vegetable seed varieties for further distribution to the villagers as a Royal gift. Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development started gathering vegetable varieties including pakchoi, kale, chili, eggplant, tomato, different kinds of loofah, bottle gourd, and assorted salad greens, under the guidance of the professors from the Faculty of Agricultural Production, Maejo University. The varieties are first selected and then work is done to increase the seeds; whereby the seeds are kept in a temperature-controlled room until the period that the seeds germinate. The process is done in a systemic and well-planned manner which the produced seeds can then be used as the Royal seed gift. Apart from the above vegetable varieties, vegetable soybean has also been cultivated in order to determine the variety that has nice scent and can adapt well to the environment. Resultantly the Center would be able 11
12
“...An important part of our work is agriculture. Other factor essential to agriculture apart from water and soil is the availability of good plant seed varieties for cultivation...”
to produce good vegetable soybean seeds from the suitable varieties which can serve as great protein supplement for remote area residents. The Rajamangala University of Technology of loofah; sweet potato; local mustard; Lanna also helps the Center’s project by establishing chrysanthemum; local eggplant; local chili; and different land plots to demonstrate the assorted spiny bitter gourd. At the same time Prince Chakraband Pensiri vegetable varieties and to produce the foundation seed from the good quality vegetable varieties. The Center for Plant Development together with foundation seed is further cultivated to give Lampang Agricultural Research and Training Center registered seed which will be reserved as a Royal also produce seeds of yard long bean and green gift for further distribution to the farmers. The pakchoi to give to the farmers to cultivate and then demonstrated vegetable varieties grown include gather their own seeds. This will help reduce costs for glutinous corn, sweet glutinous corn, black sesame the farmers because they do not have to buy (mor gor 18 variety), pakchoi, pumpkin, wax gourd, expensive seeds from the market for their cultivation. In addition the Prince Chakraband Pensiri local tomato, yard long bean, and golden Center for Plant Development also works jointly with watermelon. The Chakraband Pensiri Center for Plant the Faculty of Engineering and Agro-Industry, Maejo Development also receives assistance from the University, in studying and researching for ways to Rajamangala University of Technology Lanna of produce and use the liquid from the organic Lampang, Phitsanulok, and Nan Campuses, together fertilizer made from buffalo dung to support with the University’s Agricultural Technology household farming. The research will also study the Research Center in supporting the sites for the feasibility of selecting the useful type of establishment of the Plant Genetic Resources microorganisms present in the liquid for further Conservation, Selection and Utilization for Improving applications. In terms of engaging public participation, Rural Livelihood Plot (PGRC Plot) for ten types of vegetables collected from different areas in the Prince Chakraband Pensiri Center for Plant northern region as follows: upland rice; Perilla Development will launch a campaign for youth and frutescens (L.) Britton; cucumber; different types interested people who not only like to grow 13
vegetables but also love to eat them. The Center together with Asiasoft Corporation Public Company Limited is about to organize a contest on Creative Medias under the concept ‘Baan Nee Mee Rak Plook Phak Kin Aeng’. (It means ‘In this house, there is love and vegetables we grow’.) There are two categories under the contest. One is the short cartoon drawing to be opened to lower and upper secondary school students and another is the making of clip video to be opened to lower and upper secondary school students, undergraduate and graduate students, and the rest of the public. This contest intends to inform youth about the methods of vegetable cultivation and benefits from eating them. In connection to this, there will also be a campaign to publicize among the Thai people knowledge about vegetable growing and using the produces in a diverse and non-repetitive manner. In the processing of running the afore- mentioned activities, the Center also receives whole14
hearted participation and support from other entities comprising of: the Department of Groundwater Resources who helped dig for groundwater to run the Center’s operation; the Mae Sai District Municipal Office; the Pongpa Subdistrict Administrative Organization; and the Wiang Pang Kham Subdistrict Administrative Organization. The day that Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn went to inaugurate the Prince Chakraband Pensiri Center for Plant Development, Her Royal Highness graciously opened the ‘Jan Ka Pak’ shop which sells remaining vegetables from the Center’s experiment and varieties development activity, salads and som tam which used the Center’s fresh produces to make, souvenir items, and coffee drinks. The ‘Jan Ka Pak’ shop plans to fulfill the Royal intention of Her Royal Highness in wanting to help villagers have better living conditions. The shop will work closely with the community in promoting and helping to develop their agricultural and other local produces, adding values to their products, and finally selling the developed goods for them. It can be concluded that the Royal initiations of Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn certainly support the development of people’s living conditions in a comprehensive manner, starting from production of good quality agricultural products, to processing of such products to give a variety of goods, and to be followed by the distribution and marketing. This therefore represents another milestone in the development work that renders benefits to the people in a strong and sustainable way.
Phra Chao Worawongse Ther the Agriculture Department; Dean of the Faculty of Phra Ong Chao Chakraband Pensiri or Agriculture, Kasetsart University; and President as well His Royal Highness Prince Chakraband as Chairman of Kasetsart University. His Serene Highness Prince Chakraband PensPensiri is the son of Phra Chao Worawongse Ther Phra Ong Chao Kromma Muen Anuwatrajaturon and Mom Chamras Chakrabandhu Na Ayudhaya. Prince Chakraband Pensiri was born on July 27, 1909 at Larnluang Road. His former name and title was Mom Chao Chakraband Pensiri Chakrabandhu or His Serene Highness Prince Chakraband Pensiri Chakrabandhu. After graduating in the field of agriculture and tropical plant from the Philippines, His Serene Highness Prince Chakraband Pensiri Chakrabandhu came back to Thailand and worked at the Ministry of Agriculture while teaching at the Kasetsart University and Home Science School as a guest lecturer. His Serene Highness then went to the United States and obtained a Master Degree from Cornell University before returning to work at the Ministry of Agriculture. His important professional positions included Vice President of Kasetsart University; DirectorGeneral of the Rice Department; Director-General of
iri Chakrabandhu was then appointed as the Minister of the Ministry of Agriculture in 1973 and served in that position until 1974. Once his political position has terminated, His Majesty the King then appointed His Serene Highness as the Privy Councilor in 1975 and remained in this position until the last day of his life. On October 13, 1993, His Serene Highness passed away at the age of 84. His Majesty the King considered that His Serene Highness Prince Chakraband Pensiri Chakrabandhu had served his lifetime profession to render benefits to the public and country as a whole, thus worthy of a praise and elevation of the Royal title. On March 29, 1994, His Majesty the King therefore elevated His Serene Highness Prince Chakraband Pensiri Chakrabandhu to the title of His Royal Highness Prince Chakraband Pensiri. 1