คู่มือการปฏิบตั ิ งาน กลุ่มนโยบายและแผน
สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
คานา พระราชบัญญัติพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่2 )พ.ศ. 2545 หมวด 5 มาตรา 39 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2553 มาตรา 8 มาตรา 34 วรรคสอง ได้กาหนดให้มีการแบ่งเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ซึ่ง กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มีสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จานวน 183 เขตและสานักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา จานวน 42 เขต และได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบ่งส่วนราชการ ภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา โดยแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ออกเป็น 8 กลุ่มและออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่องการแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา ออกเป็น 7 กลุ่ม ดังนั้น เพื่อให้การปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มี ระบบการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ พัฒนาและยกระดับคุณภาพ มาตรฐานการปฏิบัติงาน ในระดับสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและระดับสถานศึกษา จึงได้จัดทาคู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ คู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้ประกอบด้วยเนื้อหาและรายละเอียดของภาระงานหลักที่สาคัญ 6งาน คืองานระบบ ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา งานจัดทานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษา งานวิเคราะห์ /จัดตั้ง งบประมาณ งานตรวจสอบ ติดตาม ประเมินและรายงานผลปฏิบัติงาน งานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา งาน ธุรการและงานอื่นที่ ร่วมสนับสนุนการปฏิบัติงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ผู้จัดทามีความมุ่งหวังในความร่วมมือกันของ บุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ในการปฏิบัติงานให้ประสบ ผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนด เพื่อให้งานในความรับผิดชอบของกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นงาน และมีผลงานที่มีคุณภาพ (Quality Product) เป็นส่วนหนึ่งที่จะช่วยขับเคลื่อนและผลักดัน ให้กลุ่มนโยบายและแผนเป็นกลุ่มที่มีประสิทธิภาพสูง (High Productivity Organization : HPO) ต่อไป ผู้จัดทา ขอขอบคุณคณะที่ปรึกษาทรงคุณวุฒิเป็นอย่างสูงที่ให้คาปรึกษา แนะนา ข้อเสนอแนะขอขอบคุณ ผู้บริหารการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรทุกคนในกลุ่มนโยบายและแผนสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 ที่ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งที่ให้ความร่วมมือและดาเนินการจัดทาคู่มือการปฏิบัติงาน ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วย ทั้งนี้ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารคู่มือการปฏิบัติงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และ สถานศึกษาในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นางชีวพร สุริยศ ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สพป.ลาปาง เขต 1
สารบัญ
หน้า ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3
บทนา ทฤษฏี แนวคิด ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติ การบริหารจัดการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน -งานธุรการ -งานนโยบายและแผน -งานวิเคราะห์งบประมาณ -งานตืดตาม ประเมิน และรายงานผล -งานข้อมูลสารสนเทศ -งานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา ส่วนที่ 4 บทสรุป ภาคผนวก -บุคลากรกลุ่มนโยบายแผน -บันทึกความร่วมมือการบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน -มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง -บรรณานุกรม -คณะที่ปรึกษาทรงคุณวุฒิ
1 5 14 17 26 40 48 56 65 69
ส่วนที่ 1 บทนา 1.ที่ตั้ง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตั้งอยู่หมู่ที่ 12 ถนนลาปาง - งาว ตาบลพิชัย อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณีย์ 52000 Website : www.lpg1.obec.go.th 2.พื้นที่รับผิดชอบ ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาภาคบังคับให้กับโรงเรียนในสังกัด เขตพื้นที่รับผิดชอบ 4 อาเภอ ประกอบด้วย อาเภอเมืองลาปาง อาเภอห้างฉัตร อาเภองาว และอาเภอแม่เมาะ ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา (10 มิ.ย. 2555) 2.1.ข้อมูลจานวนบุคลากร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีบุคลากรในสังกัดทั้งหมด จานวน 109 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จานวน 1 คน รองผู้อานวยการสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จานวน 9 คน ผู้อานวยการกลุ่มจานวน 8 คน บุคลากร 38 ค (2) จานวน 55 คน ศึกษานิเทศก์ จานวน 20 คนพนักงานราชการ/อัตราจ้างจานวน 1 คนลูกจ้างประจา/นักการภารโรง จานวน 15 คน 2.2.ข้อมูลจานวนผู้บริหาร ครู ผู้บริหารและครู มีจานวนทั้งสิ้น 1,261 คน ประกอบด้วย ผู้อานวยการโรงเรียน จานวน 116 คน รองผู้อานวยการโรงเรียน 14 คน ครูผู้สอน จานวน 1,131 คน 2.3.ข้อมูลจานวนโรงเรียน จานวนโรงเรียน สพป.ลป.1 อาเภอ จานวน/สาขา จัดการเรียนการสอน เมืองลาปาง 57 49 งาว 30/3 26/2 แม่เมาะ 21/1 20/1 ห้างฉัตร 28 17 รวม 136/4 112/3
จานวนโรงเรียนเอกชน ในระบบ นอกระบบ 19 81 2 0 0 0 2 0 23 81
-22.4 จานวนโรงเรียนจาแนกตามขนาดจานวนนักเรียนปีการศึกษา 2555 ขนาดโรงเรียน จานวนนักเรียน จานวนโรงเรียน 0 6 1 – 20 คน 18 21 – 40 คน 19 ขนาดที่ 1 41 – 60 คน 16 61 – 80 คน 25 81 – 100 คน 16 100 – 120 คน 9 รวม 109 ขนาดที่ 2 121 – 600 คน 27 ขนาดที่ 3 601 – 1,500 คน 3 ขนาดที่ 4 1,501 คนขึ้นไป 1 รวมทั้งสิ้น 140 2.5.ข้อมูลจานวนนักเรียน 2.5.1 นักเรียนในสังกัด สพป.ลป.1 นักเรียน จานวนนักเรียน(สพป.ลป.1) ก่อนประถม ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น อาเภอ เมืองลาปาง 1,805 6,416 429 งาว 591 2,030 567 แม่เมาะ 534 2,252 343 ห้างฉัตร 562 1,751 101 รวม 3,492 12,449 1,440 2.5.2 นักเรียนในสังกัดโรงเรียนเอกชนในระบบ นักเรียน จานวนนักเรียน(เอกชน) ก่อนประถม ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มัธยมศึกษา ปวช อาเภอ ตอนต้น ตอนปลาย เมืองลาปาง 3,070 7,109 3,539 2,886 2,319 งาว 497 1,094 614 269 แม่เมาะ 0 0 0 0 ห้างฉัตร 38 64 160 30 รวม 3,605 8,267 4,313 3,185 2,319
ร้อยละ 4.29 12.86 13.57 11.43 17.86 11.43 6.43 77.86 19.29 2.14 0.71 100
รวม 8,650 3,188 3,129 2,414 17,381
ปวส
รวม
1,441
20,364 2,474 0 292 23,130
1,441
-33. อานาจหน้าที่ตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการแบ่งส่วนราชการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นหน่วยงานที่อยู่ภายใต้การกากับ ดูแลของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีอานาจหน้าที่ตามมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 มาตรา 36 และมาตรา 37 แห่งระเบียบบริหารราชการ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การแบ่งส่วนราชการภายในสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษา พ.ศ.2553 มีอานาจหน้าที่ ดังนี้ 1. จัดทานโยบาย แผนพัฒนา และมาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน และความต้องการของท้องถิ่น 2. วิเคราะห์การจัดตั้งงบประมาณ เงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษา และแจ้งจัดสรรงบประมาณที่ได้รับให้หน่วยงานข้างต้นรับทราบ และกากับ ตรวจสอบ ติดตาม การใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานดังกล่าว 3. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาหลักสูตรร่วมกับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 4. กากับ ดูแล ติดตาม และประเมินผลสถานศึกษาขั้นพื้นฐานและในเขตพื้นที่การศึกษา 5. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และรวบรวมข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 6. ประสานการระดมทรัพยากรด้านต่าง ๆ รวมทั้งทรัพยากรบุคคล เพื่อส่งเสริม สนับสนุน การจัดและพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 7. จัดระบบประกันคุณภาพการศึกษา และประเมินผลสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 8. ประสาน ส่งเสริม สนับสนุน การจัดการศึกษาของสถานศึกษาเอกชน องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้งบุคคล องค์กรชุมชน องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการและสถาบันอื่น ที่จัดรูปแบบที่หลากหลายใน เขตพื้นที่การศึกษา 9. ดาเนินการ และประสาน ส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย และพัฒนาการศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา 10. ประสาน ส่งเสริม การดาเนินงานของคณะอนุกรรมการ และคณะทางานด้านการศึกษา 11. ประสานการปฏิบัติราชการทั่วไปกับองค์กร หน่วยงานภาครัฐ เอกชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน ฐานะสานักงานผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการในเขตพื้นที่การศึกษา 12. ปฏิบัติหน้าที่อื่นเกี่ยวกับภารกิจภายในเขตพื้นที่การศึกษาที่มิได้ระบุให้เป็นหน้าที่ของผู้ใดโดยเฉพาะหรือ ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย และตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องการแบ่งส่วนราชการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ลงวันที่ 13 กันยายน 2553 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอนพิเศษ 109 ง วันที่ 14 กันยายน 2553 ได้กาหนดอานาจหน้าที่ กลุ่มนโยบายและแผนไว้ดังนี้ 1. ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย และพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการศึกษา 2. จัดทานโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาให้สอดคล้องกับนโยบาย มาตรฐานการศึกษา แผนการศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานและความต้องการของท้องถิ่น
-43 .วิเคราะห์ การจัดตั้งงบประมาณ เงินอุดหนุนทั่วไปของสถานศึกษา และแจ้งการจัดสรรงบประมาณ 4. ตรวจสอบ ติดตาม ประเมิน และรายงานผลการใช้งบประมาณและผลการปฏิบัติตามนโยบายและแผน 5. ดาเนินการจัดตั้ง ยุบ รวม เลิก และโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 6. ปฏิบัติงานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 4.แนวคิด กลุ่มนโยบายและแผน เป็นกลุ่มงานที่มีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานในเชิงนโยบาย ระหว่างสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดให้สามารถ ปฏิบัติงานและร่วมกันขับเคลื่อนโยบายไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดประสบผลสาเร็จเป็น รูปธรรมเชิงประจักษ์ สอดคล้องกับนโยบาย แนวปฏิบัติ ระเบียบกฎหมาย และได้ตามมาตรฐานการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของ งาน เกิดความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ ตามหลักธรรมาภิบาล ยึดหลักการสร้างเครือข่าย การมีส่วนร่วม และนาระบบ เทคโนโลยีในการบริหารจัดการและพัฒนางานภายใต้แนวคิดและทฤษฏี PDCA คือมีการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ การปรับปรุงแก้ไข และการรายงานผล ดังนั้นเพื่อให้การปฏิบัติงานมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ บุคลากร จะต้องทราบและเข้าใจขอบข่ายภารกิจงาน กระบวนการ ขั้นตอนในการปฏิบัติอย่างชัดเจน นอกจากนี้ยังเป็นประโยชน์อย่าง ยิ่งสาหรับบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ที่จะนาไปเป็นแนวทาง ในการบริหารงาน ปฏิบัติงานให้บรรลุตามภารกิจ อานาจหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมายอย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ 5.วัตถุประสงค์ 5.1.เพื่อให้บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัดมีคู่มือประกอบการปฏิบัติงานที่ ถูกต้องชัดเจน 5.2,เพื่อให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีระบบการปฏิบัติงานด้านนโยบายและแผน ที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐานสามารถสนับสนุน ส่งเสริมการบริหารจัดการศึกษาและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สานักงานเขตพื้นที่ให้บรรลุเป้าหมาย 6. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 6.1 บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนและบุคลากรของสถานศึกษาในสังกัดมีคู่มือประกอบการปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพ 6.2 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีระบบการปฏิบัติงานด้านนโยบายและแผน ที่มีประสิทธิภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐาน 6.3 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 บริหารจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณภาพตามมาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ส่วนที่ 2 ทฤษฏี แนวคิด ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติ เพื่อให้การพัฒนาระบบและการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องรวดเร็ว บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดอย่างมีประสิทธิภาพ เกิดความคุ้มค่า โปร่งใส เป็นธรรม ทันสมัย รับผิดชอบ ตรวจสอบได้ ส่งผลให้ผู้รับบริการทุกกลุ่มรวมถึงประชาชน ยอมรับ เชื่อมั่น มีความพึงพอใจต่อการบริการและการปฏิบัติงาน จึงต้องอาศัยทฤษฏี แนวคิด ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติมาเป็นองค์ประกอบสนับสนุนการปฏิบัติงาน ดังนี้
ก.หลักการบริหารจัดการ 1.วงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA ดร.เดมมิ่ง ได้นาวงจรของ Walter A. Shewhart มาปรับปรุงและอธิบายให้เห็นเป็นรูปธรรม ซึ่ง Walter A. Shewhart เขียนเกี่ยวกับ Shewhart Cycle ไว้ในหนังสือของเขาในปี ค.ศ.1939 โดยที่ เดมมิ่งเรียกวงจรนี้ว่า Walter A. Shewhart หรือ PDSA Cycle ส่วนในประเทศญี่ปุ่นได้นาหลักการดังกล่าว ไปปรับและรู้จักกันในนามDeming Cycle และคนทั่วไปนิยมเรียกว่า PDCA Cycle ซึ่งประกอบด้วย 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. P = Plan หมายถึง การวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพ 2. D = Do หมายถึง การลงมือปฏิบัติตามแผน 3. C = Check หมายถึง การตรวจสอบประเมินผลย้อนกลับเพื่อยืนยันแผน หรือเพื่อปรับแผน 4. A = Act หมายถึง ทาเป็นแผนถาวร หรือศึกษาเพื่อปรับปรุงแผน ดังนั้น เพื่อให้กระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนมีคุณภาพมีผลผลิตที่เป็น ผลงานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงได้นาหลักการวงจรการบริหารงานคุณภาพ PDCA เป็นแนวทางการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนหลักดังนี้ P = Planการวางแผนหมายถึงการศึกษา วิเคราะห์ภาระงาน ศึกษาระเบียบกฎหมาย แนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ หรือเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน การกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมายการจัดทาปฏิทิน /แผนการปฏิบัติงาน ตั้งแต่เริ่มต้นจนสิ้นสุดกระบวนการทางานการรวมถึงวางแผนแนวทางแก้ปัญหา อุปสรรคอันอาจจะเกิดขึ้นจากการประสานงาน และระหว่างการปฏิบัติงาน D = Do การปฏิบัติตามแผน หมายถึงการดาเนินงาน ตามกระบวนการ ขั้นตอนการปฏิบัตทิ ี่ได้ วางแผนงานหรือปฏิทินที่กาหนดไว้ ในระดับกลุ่มในสังกัดเขตพื้นที่ ระดับสถานศึกษา และหรือระหว่างหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ด้วยความเรียบร้อย ถูกต้องภายในระยะเวลาที่กาหนด รวมถึงการให้คาแนะนา ปรึกษา การแก้ไขปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น ระหว่างการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามสภาพและบริบทของภาระงานและพื้นที่ที่ดาเนินการ C = Checkตรวจสอบประเมินผลหมายถึง การกากับ ติดตาม ตรวจสอบ รายงานความก้าวหน้า รายงานผลการดาเนินงาน
-6-
A = Actionการปรับปรุงการดาเนินงานหมายถึง เป็นการดาเนินงานภายหลังที่กระบวนการ 3 ขั้นตอน P D C ตามวงจรได้ดาเนินการเสร็จแล้ว ขั้นตอนนี้เป็นการนาเอาผลจากขั้นตอน (C) มาวิเคราะห์ สังเคราะห์ รวมรวมและ สรุปผลการดาเนินงาน อาจรวมถึงการปรับปรุงการดาเนินงานให้เหมาะสมและได้แนวทางการดาเนินงานที่ดีเพื่อจะได้นาไป ปฏิบัติในครั้งต่อไปหรือสามารถนาไปเป็นตัวอย่าง แบบอย่างที่ดีต่อไป การนาวงจรคุณภาพการบริหารงาน PDCA มาควบคุมกระบวนการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน คาดว่าจะเกิด ผลลัพธ์และประโยชน์ ดังนี้ 1. การวางแผนและเตรียมงานก่อนการปฏิบัติงานจริงจะทาให้เกิดความพร้อมและสามารถแก้ปัญหาได้เมื่อ ปฏิบัติงานจริง 2. การปฏิบัติตามแผนงาน ทาให้ทราบขั้นตอน วิธีการ และสามารถเตรียมงานล่วงหน้าหรือทราบอุปสรรค ล่วงหน้าด้วย ดังนั้น การปฏิบัติงานก็จะเกิดความราบรื่น และเรียบร้อย บรรลุตามวัตถุประสงค์นาไปสู่เป้าหมายที่ได้กาหนดไว้ 3. การตรวจสอบ ส่งผลให้การปฏิบัติงานถูกต้อง เชื่อถือได้ ได้รับการยอมรับ และทาให้การปฏิบัติงาน ขั้นต่อไปก็ดาเนินงานต่อไปได้ 4. การปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นขั้นตอนใดก็ตาม เมื่อมีการปรับปรุงแก้ไข คุณภาพก็จะเกิดขึ้น วงจรการบริหารงานคุณภาพ (PDCA)
-72.หลักธรรมาภิบาล ธรรมาภิบาล ( Good Governance) คือ การปกครองที่เป็นธรรม การบริหาร การจัดการการ ควบคุมดูแล กิจการต่าง ๆ ให้เป็นไปในครรลองธรรม นอกจากนี้ยังหมายถึงการบริหารจัดการที่ดี ซึ่งสามารถนาไปใช้ได้ทั้งภาครัฐและเอกชน ธรรมที่ใช้ในการบริหารงานนี้ มีความหมายอย่างกว้าง กล่าวคือ หาได้มีความหมายเพียงหลักธรรมทางศาสนาเท่านั้น แต่รวมถึง ศีลธรรม คุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้องชอบธรรมทั้งปวง ซึ่งวิญญูชนพึงมีและพึงประพฤติปฏิบัติ อาทิ ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ การปราศจากการแทรกแซงจากองค์กรภายนอก เป็นต้น ธรรมาภิบาลเป็นหลักการที่นามาใช้บริหารงานในปัจจุบัน อย่างแพร่หลาย ด้วยเหตุเพราะช่วยสร้างสรรค์และส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ อาทิ พนักงานต่างทางานอย่าง ซื่อสัตย์สุจริตและขยันหมั่นเพียร ทาให้ผลประกอบการขององค์กรธุรกิจนั้นขยายตัว นอกจากนี้แล้วยังทาให้บุคคลภายนอกที่ เกี่ยวข้อง ศรัทธาและเชื่อมั่นในองค์กรนั้น ๆ อันจะทาให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เช่น องค์กรที่โปร่งใส ย่อมได้รับความ ไว้วางใจในการร่วมทาธุรกิจ รัฐบาลที่โปร่งใสตรวจสอบได้ ย่อมสร้างความเชื่อมั่นให้แก่นักลงทุนและประชาชน ตลอดจนส่งผลดี ต่อเสถียรภาพของรัฐบาลและความเจริญก้าวหน้าของประเทศ เป็นต้น สานักงาน ก.พ. ได้กาหนดไว้โดยได้เสนอเป็นระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักธรรมาภิบาล ประกอบด้วย 6 หลักการ คือ 1.หลักนิตธิ รรม 2.หลักคุณธรรม 3.หลักความโปร่งใส 4.หลักความมีส่วนร่วม 5.หลักความรับผิดชอบ 6.หลักความคุ้มค่า ดังนั้น เพื่อให้การบริหารจัดการและการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สามารถปฏิบัติงานเกิดผลงานเชิงประจักษ์ มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ประโยชน์สูง โดยหยัดคุ้มค่า กับการลงทุน บุคลากรของกลุ่มนโยบายและแผนได้รับการยอมรับและเชื่อมั่นในการปฏิบัติงาน จึงได้นาหลักธรรมาภิบาลมา ควบคุมและประยุกต์ใช้เพื่อการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานโดยการสร้างความตระหนัก รณรงค์ให้บุคลากรทุกคนในกลุ่ม นโยบายและแผน ยึดมั่นและพึงปฏิบัติ ดังนี้ 1.หลักนิติธรรม คือ ยึดมั่นในความถูกต้อง ดีงาม ปฏิบัติตน ปฏิบัติงานและเป็นแบบอย่างในการ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบวินัย กฎ กติกา แนวปฏิบัติ ยึดถือในความซื่อสัตย์ มีความอดทน ขยันหมั่นเพียร ทุ่มเทและ เสียสละแก่งานราชการ และผลประโยชน์ของส่วนร่วมและหน่วยงานเป็นหลัก ไม่กระทาตามอาเภอใจหรือเอื้อประโยชน์แก่ บุคคลกลุ่มงาน สถานศึกษา หรือหน่วยงานใด ปฏิบัติร่วมกันอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม เช่นปฏิบัติงานด้านบริหาร งบประมาณให้ถือปฏิบัติตามระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณฯ หรือจัดสรรงบประมาณให้เป็นไปตามข้อมูลที่เป็นจริงตาม
-8-
ความจาเป็นขาดแคลน ทุ่มเทเสียสละปฏิบัติงานราชการให้แล้วเสร็จตรงตามกาหนดเวลา ไม่คานึงถึงวันหยุดราชการหรือหยุด ปฏิบัติงานหลัง 16.00 น. ทั้งนี้เพื่อสถานศึกษา และเพื่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 2. หลักคุณธรรม คือ ครองตน ครองคน ครองงานความซื่อสัตย์สุจริตความเสียสละ ความอดทน ขยันหมั่นเพียรพอเพียง เช่น ติดตามตรวจสอบรายงานข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษาตามความจริง ไม่ปรับเปลี่ยนหรือเพิ่มเติม ข้อมูลอันเป็นเท็จเพื่อให้ได้มาซึ่งวัสดุ ครุภัณฑ์หรือแฝงด้วยผลประโยชน์อื่น ไม่เอื้อประโยชน์ต่อสถานศึกษาใดสถานศึกษาหนึ่ง อดทนอดกลั้นต่อคาวิพากษ์ วิจารณ์หรือคาตาหนิของผู้บังคับบัญชา หรือผู้มาติดต่องาน มีความขยันหมั่นเพียรเข้ารับการ ฝึกอบรมเพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเพื่อความเจริญก้าวหน้าในอาชีพ เช่นพัฒนาสมรรถนะตนเองตามตาแหน่งที่รับผิดชอบ พัฒนาอบรมฝีกพูดอ่านเขียน ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนให้พร้อมก้าวสู่ประชาคมอาเซียน มีความพอเพียงไม่ฟุ้งเฟ้อตามกระแส สังคมหรือเทคโนโลยีสมัยใหม่ เป็นต้น 3. หลักความโปร่งใส คือ เปิดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างตรงไปตรงมา มีเอกสารหลักฐานประกอบการปฏิบัติงาน พร้อมที่จะสามารถสอบถาม ตรวจสอบได้ ไม่มีการทุจริตคอรัปชัน่ 4.หลักความมีส่วนร่วม คือ บริหารงานและปฏิบัติงานโดยองค์คณะบุคคล ภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมของ ทุกภาคส่วน องค์คณะบุคคลประกอบด้วย คณะกรรมการ กพท. ก.ต.ป.น.อกคศ.เครือข่ายสถานศึกษา 13 เครือข่าย เครือข่าย ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา 3 ศูนย์ และเครือข่ายระหว่างหน่วยงานสถานศึกษาระดับอาเภอ ระดับจังหวัด เช่นการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติ จัดทาในรูปคณะกรรมการจากทุกภาคส่วน รวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิด้านการศึกษา บุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามีส่วนร่วมในการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ การตั้ง และจัดสรรงบประมาณให้สถานศึกษา มีกระบวนการและดาเนินการในรูปแบบคณะกรรมการฯ สร้างเครือข่ายจัดทาข้อมูล พื้นฐานทางการศึกษา มีกระบวนการติดตามประเมินผลจากคณะบุคคลทั้งภายในและภายนอกสานักงาน 1. หลักความรับผิดชอบ ผู้บริหารและบุคลากรทุกคนที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผนยึดมั่นใน การร่วม คิด ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมรับผิดชอบ พร้อมที่จะแก้ปัญหาและอุปสรรค เพื่อผลสาเร็จของงานและขององค์กร 2. หลักความคุ้มค่าการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานในยุคปัจจุบัน ทรัพยากรด้านงบประมาณ วัสดุ ครุภัณฑ์หรือสิ่งอานวยความสะดวกอื่นที่สนับสนุนมีค่อนข้างจากัด ดังนั้น จาเป็นจะต้องยึดหลักความ ประหยั ดและความคุ้ มค่า ภายใต้หลักการ ประโยชน์สูงประหยัดสุด เช่น มีการลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน บูรณาการการประชุมอบรมสัมมนา กรณี ผู้เข้าร่วมประชุมอบรมสัมมนากลุ่มเป้าหมายเดียวกัน หรือใช้กระดาษพิมพ์งานสองหน้าเปลี่ยนจากการใช้โทรศัพท์เป็นส่ง email Line Facebookเป็นต้น
-9หลักธรรมาภิบาล ( Good Governance)
3.ระบบการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Result Based Management - RBM)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 มาตรา 3/1 “ การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี้ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเกิดผล สัมฤทธิ์ต่อภารกิจภาครัฐ ความมีประสิทธิภาพ ความคุ้มค่าในเชิงภารกิจแห่งรัฐ การลดขั้นตอนการปฏิบัติงาน การลดภารกิจ และยุบเลิกหน่วยงานที่ไม่จาเป็น การกระจายภารกิจและทรัพยากรให้แก่ท้องถิ่น การกระจายอานาจตัดสินใจ การอานวยความ สะดวกและการตอบสนองความต้องการของประชาชน ทั้งนี้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลงาน ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คานึงถึงความ รับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการ ปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ” ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 และพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2545 มาตรา 3/1 ที่กล่าวมาแล้ว คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2542 เห็นชอบต่อแผน ปฏิรูประบบบริหารภาครัฐซึ่งกาหนดให้มีการปฏิรูปราชการด้วยแผนงานหลัก 5 แผน คือ 1.แผนการปรับเปลี่ยนบทบาท ภารกิจและวิธีการบริหารงานภาครัฐ 2. แผนการปรับเปลี่ยนระบบงบประมาณ การเงินและการพัสดุ 3. แผนการปรับเปลี่ยนระบบการบริหารบุคคล 4. แผนการปรับเปลี่ยนกฎหมาย 5. แผนการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมและค่านิยม
-10ด้วยความมุ่งหวังที่จะให้เกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง มีการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรม ค่านิยมวีธีการปฏิบัติงาน จึงได้นาหลักการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ที่ยึดผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือกลุ่มผู้รับบริการหลักซึ่งประกอบไปด้วยบุคลากรทุกคนใน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษา เป็นเป้าหมาย หลักในการทางาน คานึงถึงผลลัพธ์หรือผลสัมฤทธิ์ของงานภายในกลุ่มเป็นสาคัญ รวมถึง ให้ความสาคัญกับการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมายที่ชัดเจน และการกาหนดผลผลิต ผลลัพธ์ที่สอดคล้องกัน มีการกาหนดตัวชี้วัดผลการ ดาเนินงานที่ชัดเจนในการวัดความก้าวหน้าการปฏิบัติงานเพื่อให้การทางานมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล มีความรับผิดชอบ ผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้รับบริการ รวมถึงเกิดความคุ้มค่าสูงสุด การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ คือ วิธีการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผนที่มุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์หรือผลการ ปฏิบัติงานเป็นหลัก โดยมีการวัดผลการปฏิบัติงานด้วยตัวชี้วัดอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดไว้ มีการรายงานความก้าวหน้าของการดาเนินงานให้สอดคล้องตามคารับรองการปฏิบัติราชการ (กพร.) คือรายงานผลการ ดาเนินงานและความก้าวหน้า รอบ 6 เดือน รอบ 9 เดือนและรอบ 12 เดือน ภายใต้เงื่อนไขความสาเร็จ ความประหยัด (Economy) บริหารและและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า เหมาะสมประโยชน์สูงประหยัดสุด ประสิทธิภาพ (Efficiency) ประสิทธิภาพของการปฏิบัติงานให้ได้ชิ้นงานหรือผลงานในระดับที่สูงกว่า เป้าหมายที่กาหนดไว้ ประสิทธิผล (Effectiveness) ประสิทธิผลของการปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้
ผลสัมฤทธิ์ (Results) = ผลผลิต (Outputs) + ผลลัพธ์ (Outcomes)
-11ผลผลิต (Outputs) หมายถึง งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เจ้าหน้าที่กลุ่มนโยบายและแผนดาเนินงานเสร็จ สมบูรณ์พร้อมส่งมอบ ให้บุคลากรภายในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง ผู้บริหารโรงเรียน ครู หรือ สถานศึกษา ผลลัพธ์ (Outcomes) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นตามมา ผลกระทบ หรือเงื่อนไขที่เกิดจากผลผลิต ผลลัพธ์มี ความสัมพันธ์โดยตรงกับสถานศึกษา ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์ คือ งาน บริการ หรือกิจกรรมที่เกิดจากการทางานได้ผลผลิต (Outputs) ตามเป้าหมาย และ เกิดผลลัพธ์ (Outcomes) ตรงตามวัตถุประสงค์ กล่าวคือ ผลผลิตสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พึงพอใจ เช่น สร้างอาคารเรียน 1 หลัง (Outputs) อาคารเรียนถูกต้องการคุณลักษณะที่ สพฐ.กาหนด ใช้วัสดุอุปกรณ์ที่มีคุณภาพดี มี ความมั่นคง แข็งแรง เหมาะกับการใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (Outcomes) หรือ ปรับปรุง ซ่อมแซมถนนภายในโรงเรียน 1 กิโลเมตร เป็น ผลผลิต (Outputs) ถนนที่ได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม ทาให้ ผู้บริหาร ครู บุคลากร ผู้ปกครอง ประชาชนได้รับความสะดวกในการใช้รถเพื่อเดินทาง ไป-กลับ หรือรับ-ส่งบุตรหลานที่เรียนอยู่ในโรงเรียน อย่างปลอดภัย เป็น ผลลัพธ์ (Outcomes) เป็นต้น วัตถุประสงค์ของการบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงการปฏิบัติงานของ กลุ่มนโยบายและแผน ช่วยให้การ บริหารการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างเหมาะสม มีทิศทางในการปฏิบัติงาน มีระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามระยะเวลาที่ กาหนด ทาให้ทราบผลการปฏิบัติงานเมื่อเทียบกับแผนหรือเป้าหมาย สามารถรายงานความก้าวหน้าผลการปฏิบัติงานต่อ ผู้บริหาร และทาให้แก้ปัญหาได้ทันท่วงที หากผลการปฏิบัติงานไม่น่าพึงพอใจ ผอ.สพป รองผอ.สปพ. หรือผู้อานวยการกลุ่ม มี โอกาสปรับเปลี่ยนกลยุทธ์ได้ทันที การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ เกี่ยวข้องกับทุกกระบวนการของการบริหาร(PDCA) ได้แก่ Plan มีวัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายที่ชัดเจน (ต้องการทราบว่าผลสัมฤทธิ์คืออะไร) Do มีการปฏิบัติงานที่มุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้หรือไม่ Check มีการตรวจสอบว่าปฏิบัติได้ผลสัมฤทธิ์ตามที่วางแผนไว้หรือไม่ Act ปรับปรุงแก้ไขให้ได้ผลสัมฤทธิ์ตามแผนที่วางไว้
-12-
ข.ระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง หมายถึง ระเบียบ กฎหมาย ข้อบังคับ แนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์ คู่มือที่ใช้อ้างอิงประกอบการปฏิบัติงาน การ ดาเนินงานตามกรอบภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผน ดังนี้ 1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ .ศ. 2550 2.พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ.2545 และแก้ไขเพิ่มเติม 3.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม 5.พระราชบัญญัติข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาพ.ศ.2547 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองพ.ศ.2539 7.พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการพ.ศ.2540 8.พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พ.ศ. ๒๕๕๐ 9.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณพ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 10.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติพ.ศ. 2517 11.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการพ.ศ.2529 12.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 13.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการพ.ศ. 2525 14ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 15.ระเบียบนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงบประมาณพ.ศ.2548 และแก้ไขเพิ่มเติม 16.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการพ.ศ.2549 17.ระเบียบกระรวงศึกษาธิการว่าด้วยแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 18.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการขยายชั้นเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2553 19.แนวทางการเปิดห้องเรียนพิเศษในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2553 ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 20.แนวทางการดาเนินงานการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 21.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งรวมหรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2550 ประกาศสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องการขอขยายห้องเรียนพิเศษของสถานศึกษา 22.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2527 23.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554 24.แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.2555 – 2558
-1325. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11(พ.ศ.2555 – 2559) 26.กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 27.แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับ ฉบับที่ 11(พ.ศ.2555 – 2559) 28. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารแห่งชาติฉบับที่ 2 29.แผนและนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 30.แผนและนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 31.แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 32. แผนพัฒนาจังหวัด 33.แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 34.แผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 35.นโยบายรัฐบาลเรื่องการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) 36.นโยบายกระทรวงศึกษาธิการนโยบายสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานนโยบายและกลยุทธ์ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 37. ประกาศสพฐ. เรื่องการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการ กพฐ. ไปยัง คณะกรรมการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสพฐ. ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2550 38.มาตรฐานสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 39.คู่มือการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ 40.คู่มือการปฏิบัติราชการตามแผนปฏิบัติราชการ 41.แผนการเพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินงานประจาปีงบประมาณ 2554 42.แนวทางการพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 43.รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 44.รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 45.เอกสารองค์ความรู้ด้านระบบเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 46.เอกสารประกอบการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย 47.เอกสารการจัดทาคาของบประมาณของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของ สานักงบประมาณ 48.โปรแกรมฐานข้อมูลกลางและคู่มือการใช้งาน 49.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554 50.คุณลักษณะมาตรฐานและราคากลางวัสดุอุปกรณ์ด้านเทคโนโลยี 51.กรอบการติดตามประเมินผลและรายงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 52.หนังสือราชการจากหน่วยต้นสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ส่วนที่ 3 การบริหารจัดการและขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.การบริหารจัดการ โครงสร้างการบริหารงาน ผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 รองผู้อานวยการ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน (นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ (1 ตาแหน่ง)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ(2ตาแหน่ง)
เจ้าพนักงานธุรการ ชานาญงาน (1 ตาแหน่ง)
เจ้าพนักงานธุรการ ปฏิบัติการ (1 ตาแหน่ง)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบัติการ (1 ตาแหน่ง)
เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล (1 ตาแหน่ง)
-152.กรอบภาระงาน 1.งานธุรการ 1.1 งานสารบรรณ(รับ-ส่งงานหนังสือราชการ)กลุ่มนโยบายและแผน 1.2 งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน 1.3งานประสานงาน งานบริการ และงานประชาสัมพันธ์ 1.4งานระดมทรัพยากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1.5งานจัดเก็บ รวบรวมและสรุปผลงานด้านธุรการ 2. งานนโยบายและแผน 2.1 งานวิเคราะห์และพัฒนานโยบายทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2 .2 งานจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.3งานจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี 2,4งานจัดทาแผนยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาระดับกลุ่มจังหวัด ระดับจังหวัด 2.5 งานจัดตั้ง ยุบ รวม เลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.6งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร 2.7งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก 3. งานวิเคราะห์งบประมาณ 3.1 งานวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปี (MTEF) 3.2งานจัดตั้งและเสนอของบประมาณ 3 .3 งานจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี 3.4 งานเปลี่ยนแปลงโอนงบประมาณและการขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจาปี 4.งานข้อมูลสารสนเทศ 4.1 งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษาโปรแกรม DMC 4.2งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษาโปรแกรม M-OBEC 4.3งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษาโปรแกรม B-OBEC 4.4งานจัดทาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) สาขาการศึกษา 4.5งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา 5.งานติดตาม ประเมิน และรายงานผล 5.1งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์(A1-A4) 5.2งานติดตามและรายงานผลการตรวจราชการ 5.2งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานแผนปฏิบัติการประจาปี 5.4การจัดทารายงานผลการจัดการศึกษาประจาปี 6.งานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 6.1 งานจัดประชุมและจัดทารายงานการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 6.2 งานประสาน ส่งเสริม สนับสนุน องค์คณะบุคคลในการบริหารจัดการ
-163.Flow Chart กระบวนการขั้นตอนปฏิบัติงาน
ศึกษา วิเคราะห์ ภาระงาน ศึกษาระเบียบ กฎหมาย แนวปฏิบตั ิ หลักเกณฑ์ นโยบาย
วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุปข้อมูลสารสนเทศ วิเคราะห์ สังเคราะห์ สรุป สภาพปัญหา ความจาเป็น
P
กาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย วางแผนและกาหนดปฏิทินการดาเนินงาน
Result Base Management
Good Governance
ดาเนินงานตามแผนและ/หรือปฏิทินปฏิบัติงาน ระดับเขตพื้นที่ ระดับสถานศึกษา และ/หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง
D
ทบทวน ติดตาม ตรวจสอบ รายงานผลการดาเนินงานตามระยะเวลา/ปฏิทิน กาหนด ปรับปรุง แก้ไข
C
รายงานผล ปรับปรุง แก้ไข ถูกต้อง
สรุป รายงานผลการดาเนินงาน
A
-174.ขั้นตอนการปฏิบัติงาน งานธุรการ 1. ชื่องาน งานสารบรรณ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อให้ ระบบการปฏิบัติงานต่อหนังสือราชการมีประสิทธิภาพรวดเร็วถูกต้อง 2.2 เพื่อให้การ รับ – ส่ง หนังสือราชการเป็นมี ประสิทธิภาพ 3. ขอบเขตของงาน 3.1 การรับ – ส่ง หนังสือราชการ 3.2 การจัดเก็บหนังสือราชการ 4. คาจากัดความ งานระบบสารบรรณ คือ งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทา การรับ การส่ง การเก็บรักษา การ ยืม และการทาลาย 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 การรับหนังสือราชการ 5.1.1 รับหนังสือราชการจากสารบรรณกลาง จากการสืบค้นหนังสือราชการทาง Website สพฐ.และ/หรือหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง 5.1.2 ลงทะเบียนรับทางระบบ e-Filing และพิมพ์ลงบนทะเบียนคุม (ทะเบียนรับ) 5.1.3 เสนอผู้อานวยการกลุ่มทราบและพิจารณามอบหมายให้ผู้รับชอบปฏิบัติ - ผู้อานวยการกลุ่มพิจารณาแล้วไม่ใช้ภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผนให้นาส่งคืน สารบรรณกลาง - ผู้อานวยการกลุ่มพิจารณาแล้ว เป็นภาระงานของกลุ่มนโยบายและแผนให้ดาเนินการ ตามข้อ 5.1.4 ต่อไป 5.1.4 ส่งมอบหนังสือราชการให้ผู้รับผิดชอบนาไปปฏิบัติ พร้อมลงนามรับหนังสือ 5.1.5 สรุปจานวนหนังสือรับและประเมินระบบการทางาน
-185.2 การส่งหนังสือราชการ 5.2.1 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งาน จากผู้รับผิดชอบ 5.2.2 ตรวจสอบ ความถูกต้อง เรียบร้อย ของแฟ้มหนังสือราชการ-งาน 5.2.3 เสนอแฟ้มหนังราชการ-งาน ผู้อานวยการกลุ่ม รองผู้อานวยการฯที่กากับดูแลผู้อานวยการ สพป.ลป. 1 ลงนามตามลาดับ 5.2.4 รับแฟ้มหนังสือราชการ-งานจากงานเลขานุการ ผู้อานวยการ สพป.ลป. 1 พร้อมตรวจสอบความถูกต้อง เรียบร้อย 5.2.5 ลงทะเบียนส่งหนังสือบนระบบ e-Filing 5.2.6 จัดส่งหนังราชการ-งานราชการ ให้สารบรรณกลาง เพื่อส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 6. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 7. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 8. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527 5.2 การส่งหนังสือราชการ 5.2.1 เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบจัดทา สื่อราชการพร้อมเอกสารสิ่งที่ส่งมาด้วย (ถ้ามี) 5.2.2 เสนอผู้อานวยการกลุ่ม พิจารณาตรวจสอบความถูกต้อง - ไม่ถูกต้อง นาส่งคืนเจ้าหน้าที่ เพื่อปรับ/แก้ไข - ถูกต้อง ให้ดาเนินการต่อตามข้อ 5.2.3 5.2.3 ผู้มีอานาจพิจารณาลงนาม - ไม่ถูกต้อง นาส่งคืนเจ้าหน้าที่เพื่อปรับ/แก้ไข - ถูกต้องให้ดาเนินการต่อตามข้อ 5.2.4 5.2.4 ส่งหนังสือราชการทางระบบ E-filing พร้อมออกเลขที่ หนังสือราชการ เลขที่คาสั่ง หรือเอกสาร ประกอบอื่น 5.2.5 สรุปหนังสือส่งและประเมินระบบการทางาน
-19งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน 1. ชื่องาน งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน 2. วัตถุประสงค์ 2.1เพื่อให้การจัดการประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผน บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนด 2.2เพื่อให้การอานวยความสะดวก ประสานงาน การดาเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน ระหว่างกลุ่ม และของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กาหนดไว้ 3. ขอบเขตของงาน งานประชุมของกลุ่มนโยบายและแผน 4. คาจากัดความ งานประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผนหมายถึงการจัดประชุมภายในกลุ่มนโยบายและแผนเพื่อมอบนโยบาย แจ้งข้อ ราชการ ชี้แจงแนวปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือแนวทางด้านต่าง ๆ รวมหมายถึงการประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมการดาเนินงาน อย่างใดอย่างหนึ่ง ของกลุ่มนโยบายและและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นไปด้วยความสะดวกเรียบร้อยบรรลุตามเป้าหมาย วัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กาหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 เสนอบันทึกข้อความแจ้งบุคลากรภายในกลุ่มนโยบายและแผน ลงนามรับทราบ 5.2 จัดทาร่างระเบียบวาระการประชุมเสนอ ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและตรวจสอบแก้ไข - ตรวจสอบแล้วปรับแก้ไข - ตรวจสอบแล้วถูกต้อง ให้ดาเนินการต่อตามข้อ 5.3 5.3 จัดทาระเบียบวาระการประชุม จัดเตรียมสถานที่ และรวบรวมข้อมูลอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 5.4 จัดทาประชุมตามวันเวลา และสถานที่ตามที่แจ้งไว้ 5.5 สรุปและจัด ทารายงานผลการประชุม แจ้งผู้เกี่ยวข้องทราบ
-207. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 6. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 7. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 8. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527
-211. ชื่องาน งานประสานงาน งานบริการและงานประชาสัมพันธ์ 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อการให้บริการ อานวยการสะดวกและสร้างความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 2.2เพื่อให้การอานวยความสะดวก ประสานงาน การดาเนินงานภายในกลุ่มนโยบายและแผน ระหว่างกลุ่ม และของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เป็นไปด้วยความสะดวก เรียบร้อย ถูกต้อง บรรลุตามวัตถุประสงค์และ เป้าหมายที่กาหนดไว้ 2.3 เพื่อเผยแพร่ผลการดาเนินงาน ผลงานและภาพลักษณ์ที่ดีของกลุ่มนโยบายและแผน 3. ขอบเขตของงาน 3.1 งานประสานงาน 3.2 งานให้บริการ 3.3 งานประชาสัมพันธ์ 4. คาจากัดความ การประสานงานหมายถึงการจัดให้คนในองค์กรทางานสัมพันธ์สอดคล้องกันโดยจะต้องตระหนักถึงความ รับผิดชอบวัตถุประสงค์เป้าหมายและมาตรฐานการปฏิบัติขององค์กรเป็นหลักต้องมีการจัดระเบียบวิธีการทางานอีกทั้งความ ร่วมมือในการปฏิบัติงานเป็นเอกภาคเพื่อให้เกิดความคิดความเข้าใจตรงกันในการร่วมมือปฏิบัติงานให้สอดคล้องทั้งเวลาและ กิจกรรมที่ต้องกระทาให้บรรลุวัตถุประสงค์โดยไม่ทาให้เกิดความสับสนขัดแย้งหรือเลื่อมล้ากันทั้งนี้เพื่อให้งานดาเนินไปอย่าง ราบรื่นทาให้ได้มาซึ่งงานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล การให้บริการหมายถึงการให้ความช่วยเหลือหรือการดาเนินการเพื่อประโยชน์ของผู้อื่นเป็นการอานวยความ สะดวกในการปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่มงาน / กลุ่มที่เกี่ยวข้อง / ผู้รับบริการทั่วไปโดยเน้นความพึงพอใจของผู้รับบริการ งานประชาสัมพันธ์ หมายถึง การ สื่อสารในเรื่องที่ได้กาหนดไว้ เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจให้ถูกต้องตรงกันใน การประสานงาน การให้ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน ระหว่างกลุ่ม ระหว่างบุคคล รวมถึงก่อให้เกิดทัศนคติที่ดี ภาพพจน์ที่ดี อันจะนาไปสู่สัมพันธภาพที่ดีระหว่างหน่วยงาน ระหว่างบุคคลและสาธารณชนที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะช่วยให้การดาเนินงานของกลุ่ม บรรลุเป้าหมาย
-225. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ประสานงานกับกลุ่มอื่นในสานักงานและงานภายในกลุ่มนโยบายและแผนหน่วยงานและสถานศึกษาใน งานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานของกลุ่ม 5.2 ช่วยอานวยความสะดวกงานบริการอื่นๆ ที่จะทาให้งานของกลุ่มนโยบายและแผนบรรลุวัตถุประสงค์ ถูกต้อง รวดเร็ว รวมถึง การสร้างภาพลักษณ์และความเข้าใจกันดี กลุ่มอื่นและภายในกลุ่มนโยบายและแผน 5.3 ประสานการดาเนินงานประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานของกลุ่มนโยบายและแผนให้ครู บุคลกรทางการศึกษาสถานศึกษา / หน่วยงานทางการศึกษาอื่น / หน่วยงานภาครัฐ /เอกชน และประชาชนทั่วไปทราบ 5.4 สรุปและรายงานผลการดาเนินงานในการประสานงานการให้บริการ และการประชาสัมพันธ์ 6. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1. 2. 3. 4. 5. 6.
พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 7. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 8. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527
-23-
งานระดมทรัพยากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ชื่องาน งานระดมทรัพยากรจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2.2เพื่อส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาในสังกัดได้รับงบประมาณจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนา ผู้เรียนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 3. ขอบเขตของงาน 3.1 งานประสานงานความร่วมมือ 3.2 งานขอรับการสนับสนุนงบประมาณ 4. คาจากัดความ การประสานงานหมายถึง การประสานความร่วมมือในการจัดการศึกษาของสถานศึกษาระหว่างสานักงานเขต พื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น งานขอรับการสนับสนุนงบประมาณ หมายถึง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ส่งเสริม สนับสนุนและรับรองแผนงานโครงการของสถานศึกษาในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 สถานศึกษาในสังกัดจัดทาโครงการที่จะขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เสนอผ่านกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5.2 ศึกษา วิเคราะห์ ตรวจสอบ ความถูกต้อง -กรณีไม่ถูกต้อง แจ้งประสานงานไปยังสถานศึกษาให้ปรับปรุงแก้ไขให้ถูกต้อง -กรณีถูกต้อง ให้ดาเนินการตามข้อ 5.3
-245.3 จัดทาหนังสือรับรองพร้อมแนบโครงการ -ฉบับที่ 1 แจ้งไปยังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สถานศึกษาขอรับการสนับสนุนงบประมาณ -ฉบับที่ 2 แจ้งสถานศึกษาเพื่อทราบและให้สถานศึกษารายงานผลการขอรับการสนับสนุน งบประมาณให้สานักงานให้สานักงานเขตพื้นที่ทราบ 5.4 รวมรวม สรุปและรายงานผลการได้รับงบประมาณสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุ ก ปีงบประมาณ 6. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1.แนวทางการดาเนินงานการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.กฎกระทรวง กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ. 2550 3.แนวปฏิบัติการขอรับได้รับอุดหนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 4.การตั้งงบประมาณรายจ่ายและการใช้จ่ายงบประมาณหมวดเงินอุดหนุนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามหนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0808.2/ ว 74 ลงวันที่ 8 มกราคม 2553
-25-
งานจัดเก็บ รวบรวม สรุปผลงานด้านธุรการ 1. ชื่องาน งานสรุปผลงานด้านธุรการ 2. วัตถุประสงค์ เพื่อ จัดเก็บและรายงานผลการดาเนินงานด้านธุรการของกลุ่มนโยบายและแผน 3. ขอบเขตของงาน 3.1 สรุปจานวนรับ-ส่งหนังสือราชการ 3.2 สรุปผลการบันทึกรายงานการประชุมกลุ่มนโยบายและแผน 3.3 สรุปและจัดทาแฟ้มคาสั่ง แนวปฏิบัติ หนังสือเวียน และเอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มนโยบายและแผน 4. คาจากัดความ งานสรุปผลงานด้านธุรการ หมายถึง การรวบรวม สรุปผลการดาเนินงานในรอบปีงบประมาณ จัดทาเป็น รูปเล่มหรือจัดแฟ้มให้เป็นระบบตามหลัก Filing ประกอบด้วยสรุปจานวนรับ-ส่งหนังสือราชการ สรุปผลการบันทึกรายงานการ ประชุมกลุ่มนโยบายและแผน สรุปและจัดทาแฟ้มคาสั่ง แนวปฏิบัติ หนังสือเวียน และเอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม นโยบายและแผน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 รวบรวม เรียงลาดับตามวัน เดือน ปีของทะเบียนรับ ทะเบียนส่ง ทาสรุปงบหน้ารายละเอียด จัดทาเป็น รูปเล่มหรือแฟ้มเอกสาร 5.2 รวบรวม เรียงลาดับตามวัน เดือน ปีของสาเนาบันทึกการประชุมกลุ่มนโยบายและแผน ทาสรุปงบหน้า รายละเอียด จัดทาเป็นรูปเล่มหรือแฟ้มเอกสาร 5.3 รวบรวม เรียงลาดับตามวัน เดือน ปีของ คาสั่ง แนวปฏิบัติ หนังสือเวียน เอกสาร หลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มนโยบายและแผน จัดทาเป็นรูปเล่มตามประเภทงานหรือแฟ้มตามประเภทงาน 6. เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง ระเบียบ กฎหมาย ข้อปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง 1. พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ. 2539 2. พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 4. ระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ พ.ศ. 2517 5. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 6. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 7. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 8. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527
-26งานนโยบายและแผน งานศึกษา วิเคราะห์และพัฒนานโยบายทางการศึกษา 1. ชื่องาน งานศึกษา วิเคราะห์และพัฒนานโยบายทางการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวม ศึกษาวิเคราะห์ สรุปนโยบายการจัดการศึกษาตามนโยบาย จุดเน้นของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานทางการศึกษาอื่นที่เกี่ยวข้อง ยุทธศาสตร์กลุ่ม จังหวัด /จังหวัดผลการดาเนินงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาการกาหนดกรอบ นโยบายและทิศทางพัฒนาศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ให้สอดคล้องกับทิศทางการจัด การศึกษาการพัฒนาประเทศสังคมชุมชนในท้องถิ่นเหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการและบริบทของสถานศึกษาแต่ละ พื้นที่ 3. ขอบเขตของงาน 3.1 รวบรวม ศึกษาวิเคราะห์ สรุปนโยบายการจัดการศึกษาตามนโยบาย จุดเน้นของรัฐบาล กระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หน่วยงานทางการศึกษาอื่นที่เกี่ยวข้องยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด /จังหวัดผลการดาเนินงานการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 3.2 ส่งเสริมสนับสนุนการนานโยบายจุดเน้นไปสู่การปฏิบัติในระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา 4. คาจากัดความ พัฒนานโยบายหมายถึงการดาเนินงานเพื่อศึกษา วิเคราะห์ สรุปเพื่อพัฒนาการกาหนดกรอบ นโยบายและ ทิศทางพัฒนาศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ให้สอดคล้องกับทิศทาง การจัดการศึกษาการ พัฒนาประเทศสังคมชุมชนในท้องถิ่นเหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการและบริบทของ สถานศึกษาแต่ละพื้นที่ 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผล ทิศทางและ/หรือยุทธศาสตร์กลยุทธ์ระดับชาติกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและจังหวัดรวมทั้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 5.2 ศึกษาผลการดาเนินงานหรือการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ สถานศึกษา 5.3 ศึกษา วิเคราะห์ สรุปผลการจัดการศึกษาทั้งด้านปริมาณและคุณภาพของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษา
-275.4 ศึกษาวิเคราะห์กรอบทิศทางพัฒนาการศึกษาในภาพรวมของสานักงานเขตพื้นที่ในรอบปีที่ผ่านมา เพื่อเป็นประโยชน์ต่อการกาหนดนโยบายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5.5 จัดทาเอกสารสรุปผลข้อมูลสารสนเทศ กรอบนโยบายจุดเน้นและเป้าหมายการจัดการศึกษา ทุกระดับเพื่อนาไปประกอบการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา(แผนกลยุทธ์) และแผนปฏิบัติการประจาปี และเพื่อการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1.แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 2.แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 3.แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2559) 4.การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) 5.นโยบาย จุดเน้นของรัฐบาล ของกระทรวงศึกษาธิการ 6.แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7.แผนยุทธศาสตร์พัฒนากลุ่มจังหวัด/จังหวัด 8.แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 9.รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 10.รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
-28งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ชื่องาน งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี)
2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี) ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 สาหรับใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบระยะเวลา4 ปี
3. ขอบเขตของงาน 3.1 การทบทวนภารกิจการจัดการศึกษาที่ผ่านมา 3.2การจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4. คาจากัดความ แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี) หมายถึงเอกสารที่แสดงแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนและ มีลักษณะเฉพาะเจาะจงในการดาเนินงานด้านพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยมีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศมีการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมประเมินสถานภาพของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาแล้วจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการและพัฒนา คุณภาพการศึกษาในรอบระยะเวลา 4 ปี
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ทบทวนภารกิจการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5.2 ศึกษารายงานข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้องและผลการดาเนินงานที่ผ่านมา 5.3 วิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและ ประเมินสถานภาพของเขตพื้นที่การศึกษา 5.4 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานเพื่อกาหนดวิสัยทัศน์พันธกิจเป้าประสงค์กลยุทธ์ จุดเน้นการพัฒนา ค่านิยม เอกลักษณ์ อัตลักษณ์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5.5กาหนดผลผลิตผลลัพธ์และตัวชี้วัดความสาเร็จเป้าหมายและกรอบแผนงาน/โครงการ 5.6จัดทาเอกสาร(ร่าง)แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี) เสนอต่อทีมบริหาร ระดับเขตพื้นที่ และปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอ
-295.7นาเสนอ(ร่าง)แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี) ขอความเห็นชอบต่อ คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอ 5.8จัดทาเอกสารแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี) 5.9 แจ้งบุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแจ้งสถานศึกษาในสังกัด แจ้งองค์คณะบุคคล 3 องค์คณะ เสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.10เผยแพร่ประกาศต่อสาธารณชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง 5.11 ดาเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน(แผนกลยุทธ์ 4 ปี) 5.12 ติดตาม ประเมิน สรุปและรายงานผล
6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 6.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 6.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11พ.ศ.2555 – 2559 6.4 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) 6.5 นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 6.6 แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6.7 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด 6.8 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 6.9 รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.10 รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 6.11 ข้อมูลสารสนเทศการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สพฐ.สพป.ลป. 1 สถานศึกษา และจังหวัดลาปาง
-30งานจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
1. ชื่องาน งานจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี
2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการประจาปี ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต1 สาหรับ ใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบระยะเวลา1ปีงบประมาณ
3. ขอบเขตของงาน 3.1 แผนปฏิบัติการประจาปี ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.2 นาและขับเคลื่อนนโยบายและสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
4. คาจากัดความ แผนปฏิบัติการประจาปี หมายถึงการนาเอาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์4 ปี) มากาหนดกรอบนโยบายและทิศทางการพัฒนาในรอบระยะเวลา 1 ปี มีการกาหนดแผนงาน โครงการ กิจกรรม ตัวชี้วัดความสาเร็จ งบประมาณ ระยะเวลา ผู้รับผิดชอบ พร้อมนาและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การดาเนินงานเกิดผลลัพธ์จริงเชิงประจักษ์ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายในปีนั้น
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี) 5.2 ศึกษา วิเคราะห์ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และข้อมูลสารสนเทศ 5.3ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานเพื่อ 5.3.1กาหนดกรอบนโยบายและทิศทางการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษาในรอบระยะ เวลา 1 ปี 5.3.2 กาหนดผลผลิตผลลัพธ์และตัวชี้วัดความสาเร็จเป้าหมายและกรอบแผนงาน/โครงการ และงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ต้องดาเนินการในรอบระยะเวลา 1 ปี 5.4จัดทาเอกสาร(ร่าง)แผนปฏิบัติการประจาปี เสนอต่อทีมบริหารระดับเขตพื้นที่ และปรับปรุงแก้ไข 5.5นาเสนอ(ร่าง)แผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอ 5.6จัดทาเอกสารแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ
-315.7แจ้งบุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแจ้งสถานศึกษาในสังกัด แจ้งองค์คณะบุคคล 3 องค์คณะ เสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.8เผยแพร่ประกาศต่อสาธารณชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง 5.9ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 5.10ติดตาม รายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานรอบ 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 5.11ประเมิน สรุปและรายงานผล
6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 6.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 6.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559 6.4 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) 6.5 นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 6.6 แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6.7 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด 6.8 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 6.9 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี)สพป.ลป.1 6.10รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.11รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 6.12ข้อมูลสารสนเทศการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สพฐ.สพป.ลป. 1 สถานศึกษา และจังหวัดลาปาง
-32งานบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 1. ชื่องาน บริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด 2. วัตถุประสงค์ เพื่อวางแผนการพัฒนาการศึกษาของกลุ่มจังหวัดที่ 15 (ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน) และ ภายในจังหวัดลาปางให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหน่วยงานต้นสังกัดนโยบายการพัฒนาจังหวัดและสภาพปัญหาความ ต้องการของประชาชนในพื้นที่ 3. ขอบเขตของงาน 3.1 การบริหารยุทธศาสตร์การศึกษาจังหวัดลาปาง 3.2 แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลาปางและกลุ่มจังหวัดที่ 15 (ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน) 3.3 การบูรณาการการศึกษาจังหวัดลาปาง 4. คาจากัดความ แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดหมายความว่ารายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆของจังหวัดลาปาง ที่จาเป็นต้องจัดทาเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนาการศึกษาของจังหวัดลาปางในอนาคต แผนพัฒนาการศึกษากลุ่มจังหวัดหมายความว่ารายการเกี่ยวกับโครงการและแผนงานต่างๆของกลุ่ม จังหวัดที่ 15 (ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน) ที่จาเป็นต้องจัดทาเพื่อให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์และทิศทางการพัฒนา การศึกษาของกลุ่มจังหวัดที่ 15 (ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน) ในอนาคต การบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาจังหวัดหมายถึงการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาแผนปฏิบัติ ราชการ 4 ปีและแผนปฏิบัติราชการประจาปีที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหน่วยงานต้นสังกัดนโยบายการพัฒนาจังหวัดและ สภาพปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยบูรณาการการดาเนินงาน /โครงการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็น ระบบและมีเอกภาพ บริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษาและกลุ่มจังหวัดหมายถึงการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีและแผนปฏิบัติราชการประจาปีที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลหน่วยงานต้นสังกัดนโยบายการพัฒนา จังหวัดและกลุ่มจังหวัดและสภาพปัญหาความต้องการของประชาชนในพื้นที่โดยบูรณาการการดาเนินงาน /โครงการของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ
-33-
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ประสานงานเพื่อการแต่งตั้งคณะกรรมการคณะทางานการบริหารยุทธศาสตร์และบูรณา การศึกษาระดับจังหวัด 5.2 จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดโดยคานึงการได้รับโอกาสทางการศึกษาและการจัด การศึกษาอย่างมีคุณภาพการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน 5.3 เสนอแผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดต่อคณะกรรมการบริหารยุทธศาสตร์และบูรณาการ การศึกษากระทรวงศึกษาธิการเพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ 5.4 จัดทาแผนปฏิบัติราชการศึกษาประจาปีของจังหวัดแล้วเสนอคณะกรรมการบริหาร ยุทธศาสตร์และบูรณาการการศึกษากลุ่มจังหวัดพิจารณาให้ความเห็นชอบ 5.6 ดาเนินการประสานหน่วยงานต่างๆทั้งในและนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการตาม แผนปฏิบัติราชการศึกษาประจาปีของจังหวัดโดยคณะทางานฯ 5.7 ติดตามประเมินและรายงานผลการดาเนินงาน 8. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 8.1 แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 8.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 8.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติพ.ศ.2555 – 2559 8.4 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง(พ.ศ.2552-2561) 8.5นโยบาย จุดเน้นของรัฐบาลนโยบาย จุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ 8.6 แผนปฏิบัติการของหน่วยงานที่จัดการศึกษาภายในจังหวัดลาปาง 8.7 แผนยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัดลาปาง 8.8 แผนพัฒนาการศึกษาจังหวัดลาปางและกลุ่มจังหวัดที่ 15 (ลาปาง ลาพูน เชียงใหม่ แม่ฮ่องสอน) 8.9 รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 8.10 รายงานผลการดาเนินงานการจัดการศึกษาของจังหวัด 8.11 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงบประมาณจังหวัดแบบบูรณาการพ.ศ.2549 8.12 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแผนพัฒนาการศึกษาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดพ.ศ.2552
-34งานจัดตั้ง รวม เลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.ชื่องาน การตั้ง รวม เลิกสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
2. วัตถุประสงค์ 2.1เพื่อให้ประชากรวัยเรียนทุกคนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้เข้ารับการศึกษาอย่างทั่วถึง เท่าเทียมภายใต้การจัดการศึกษาที่มีคุณภาพและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 2.2เพื่อตั้ง รวม เลิกสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
3. ขอบเขตของงาน 3.1 การจัดตั้งสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.2 การยุบรวมเลิกสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.3การประสานงาน การดาเนินงานเพื่อตั้ง รวม เลิกสถานศึกษาในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1
4. คาจากัดความ การจัดตั้งยุบรวมเลิกสถานศึกษาและโอนสถานศึกษาขั้นพื้นฐานหมายถึงการจัดตั้งรวมหรือเลิกสถานศึกษาตาม ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งรวมหรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2550
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษาระเบียบกระทรวงศึกษาธิการเกี่ยวกับการจัดตั้งยุบรวมเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2550 5.2 ศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับสถานศึกษาและความต้องการด้านโอกาสการเข้าถึงบริการการศึกษาของ ประชากรวัยเรียนภายในเขตพื้นที่การศึกษาและจังหวัด 5.3 จัดทาแผนจัดตั้งยุบรวมเลิกสถานศึกษาเสนอขอความเห็นชอบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 5.4 ดาเนินการจัดตั้งยุบรวมเลิกสถานศึกษาเสนอขอความเห็นชอบคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 5.4.1 สถานศึกษาแจ้งความประสงค์ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 5.4.2 ตรวจสอบ เอกสาร หลักฐาน บันทึกการประชุมและ/หรือลงพื้นที่เพื่อติดตามและจัดเก็บ ข้อมูลประกอบเพิ่มเติม
-355.4.3 สรุปรายงานพร้อมเอกสารประกอบเสนอต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาพิจารณา เห็นชอบ/อนุญาต 5.4.4 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ประกาศแจ้งสถานศึกษาที่เกี่ยวข้อง แจ้งทุกกลุ่ม ในสังกัด สพป.ลป. 1 แจ้งทุกเขตพื้นที่การศึกษา 5.5 รายงานผลต่อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งรวมหรือเลิกสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2550 6.3 ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการขยายชั้นเรียนของสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพ.ศ. 2553 6.3 ระเบียบ / หลักเกณฑ์ / วิธีการประเมินศักยภาพและความพร้อมในการจัดการศึกษาขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น 6.4 พระราชบัญญัติการกาหนดขั้นตอนและแผนการกระจายอานาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2552 6.5 นโยบายการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการของโรงเรียนขนาดเล็ก
-36งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร
1. ชื่องาน จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร
2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร ของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สาหรับใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษา สาหรับสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร จานวน 19 แห่ง
3. ขอบเขตของงาน 3.1 แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดารของสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.2 นาและขับเคลื่อนนโยบายและสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
4. คาจากัดความ แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดารหมายถึงเอกสารที่แสดงแนวทางบริหาร จัดการและการพัฒนาที่ชัดเจนมีลักษณะเฉพาะเจาะจงในการดาเนินงานด้านพัฒนาการศึกษา สถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โดยมีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศมีการวิเคราะห์ปัจจัย สภาพแวดล้อมประเมินสถานภาพของ สถานศึกษาแล้วกาหนดกรอบทิศทางและแนวทางการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพ การศึกษาในรอบระยะเวลา 4 ปี และ 1 ปีพร้อมนาและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การดาเนินงานเกิดผลลัพธ์จริงเชิงประจักษ์ ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษา วิเคราะห์สรุปนโยบาย ทิศทางแนวทางการดาเนินงานพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร ข้อมูลสารสนเทศของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.2ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี) แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5.2 ศึกษา วิเคราะห์ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และข้อมูลสารสนเทศ
-375.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานและผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อ 5.3.1 กาหนดกรอบนโยบายและทิศทางการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษาในรอบระยะ เวลา 4ปี 1 ปี 5.3.2 กาหนดผลผลิตผลลัพธ์และตัวชี้วัดความสาเร็จเป้าหมายและกรอบแผนงาน/โครงการ และงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ต้องดาเนินการในรอบระยะเวลา 1 ปี 5.4 จัดทาเอกสาร(ร่าง)แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร เสนอต่อ ทีมบริหารระดับเขตพื้นที่ และปรับปรุงแก้ไข 5.5นาเสนอ(ร่าง)แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร ขอความเห็นชอบ ต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอ 5.6 จัดทาเอกสารแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร 5.7 แจ้งบุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งสถานศึกษาในสังกัด แจ้งองค์คณะบุคคล 3 องค์คณะ เสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานพร้อมเสนอของบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน 5.8 เผยแพร่ประกาศต่อสาธารณชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง 5.9 ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 5.10 ติดตาม รายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานรอบ ระยะเวลาการตรวจราชการและหรือที่ สพฐ.กาหนด 5.11 ประเมิน สรุปและรายงานผล
6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 6.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 6.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559 6.4 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) 6.5 นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 6.6 แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6.9 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี)สพป.ลป.1 6.10 รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.11 นโยบาย และแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาบนพื้นที่ภูเขาสูง ห่างไกล กันดาร ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6.12 ข้อมูลสารสนเทศการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สพฐ.สพป.ลป. 1 สถานศึกษา และจังหวัดลาปาง
-38งานจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก
1. ชื่องาน จัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก
2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สาหรับใช้เป็นกรอบทิศทางและแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาสาหรับ สถานศึกษา ขนาดเล็ก จานวนตามข้อมูล10 มิถุนายน ของแต่ละปีการศึกษา
3. ขอบเขตของงาน 3.1 แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 3.2 นาและขับเคลื่อนนโยบายและสู่การปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย
4. คาจากัดความ แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก หมายถึงเอกสารที่แสดงแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพบริหารจัดการ และการพัฒนาที่ชัดเจนมีลักษณะเฉพาะเจาะจงในการดาเนินงานด้านพัฒนาการศึกษา สถานศึกษาขนาดเล็ก ของสานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1(สถานศึกษาที่มีนักเรียนจานวน 120 คนลงมาในแต่ละปีการศึกษา) โดยมีการรวบรวม ข้อมูลสารสนเทศมีการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมประเมินสถานภาพของ สถานศึกษาแล้วกาหนดกรอบทิศทางและแนวทางเพิ่ม ประสิทธิภาพการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาในรอบระยะเวลา 1 ปีพร้อมนาและขับเคลื่อนนโยบายไปสู่การปฏิบัติ การดาเนินงานเกิดผลลัพธ์จริงเชิงประจักษ์ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมาย
5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษา วิเคราะห์สรุปนโยบาย ทิศทางแนวทางการดาเนินงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และการพัฒนา การศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็กข้อมูลสารสนเทศของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.2 ศึกษาวิเคราะห์รายละเอียดแผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี) แผนปฏิบัติการ ประจาปีงบประมาณ ของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5.2 ศึกษา วิเคราะห์ผลการดาเนินงานในรอบปีที่ผ่านมา และข้อมูลสารสนเทศ
-395.3 ประชุมเชิงปฏิบัติการคณะทางานและผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเป้าหมายเพื่อ 5.3.1 กาหนดกรอบนโยบายและทิศทางเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษา ในรอบระยะเวลา 1 ปี 5.3.2 กาหนดผลผลิตผลลัพธ์และตัวชี้วัดความสาเร็จเป้าหมายและกรอบแผนงาน/โครงการ และงบประมาณ ผู้รับผิดชอบที่ต้องดาเนินการในรอบระยะเวลา 1 ปี 5.4 จัดทาเอกสาร(ร่าง)แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก เสนอต่อทีมบริหารระดับเขตพื้นที่ และ ปรับปรุงแก้ไข 5.5นาเสนอ(ร่าง)แผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็กขอความเห็นชอบต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่ การศึกษา และปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอ 5.6 จัดทาเอกสารแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก 5.7 แจ้งบุคลากรทุกคนในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา แจ้งสถานศึกษาในสังกัด แจ้งองค์คณะบุคคล 3 องค์คณะ เสนอสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พร้อมเสนอของบประมาณสนับสนุนการดาเนินงาน 5.8 เผยแพร่ประกาศต่อสาธารณชนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบอย่างทั่วถึง 5.9 ดาเนินการตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 5.10 ติดตาม รายงานความก้าวหน้าการดาเนินงานตามรอบระยะเวลาการตรวจการและที่ สพฐ.กาหนด 5.11ประเมิน สรุปและรายงานผล
6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 แผนการบริหารราชการแผ่นดินพ.ศ.2555 - 2558 6.2 แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 – 2558) 6.3 แผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติฉบับที่ 11 พ.ศ.2555 – 2559 6.4 การปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) 6.5 นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ 6.6 แผนปฏิบัติราชการของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 6.9 แผนพัฒนาการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน (แผนกลยุทธ์ 4 ปี)สพป.ลป.1 6.10 รายงานการศึกษาการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา 6.11 นโยบาย และแผนพัฒนาการศึกษาสถานศึกษาขนาดเล็ก ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 6.12 ข้อมูลสารสนเทศการศึกษาขั้นพื้นฐานของ สพฐ.สพป.ลป. 1 สถานศึกษา และจังหวัดลาปาง
-40งานวิเคราะห์งบประมาณ งานวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย (Medium Term Expenditure Framework : MTEF) 1. ชื่องาน งานวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework : MTEF) 2. วัตถุประสงค์ เพื่อการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลางซึ่งจะประกอบด้วย งบประมาณ รายจ่ายประจาปี และประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า โดยหลักสากลทั่วไปจะให้ระยะเวลาของแผนระยะปานกลางประมาณ3-5 ปี ของการจัดการศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ด้วยความถูกต้องเรียบร้อยสามารถนาผลการวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการศึกษาและการเรียน การสอนนักเรียนในสถานศึกษาต่อไป 3. ขอบเขตของงาน 3.1 การวิเคราะห์ข้อมูลงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะ 3-5 ปี 3.2 การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายประจาปี 3.3 การจัดทารายงานสรุปการวิเคราะห์งบประมาณ 4. คาจากัดความ การวิเคราะห์ข้อมูลงบประมาณหมายถึงกระบวนการค้นหาข้อเท็จจริงเกี่ยวกับฐานะทางการเงินและผลการ ดาเนินงานของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1กิจการใดกิจการหนึ่งจากงบการเงินของกิจการนั้นพร้อม ทั้งนาข้อเท็จจริงดังกล่าวมาประกอบการตัดสินใจ การจัดทากรอบงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะปานกลาง (Medium Terms Expenditure Framework) หมายถึง การจัดทากรอบประมาณการงบประมาณรายจ่ายล่วงหน้าระยะ 3-5 ปี ซึ่งจะแสดงภาพรวมของภาระ งบประมาณที่จะเกิดขึ้นในอนาคตจะประกอบด้วย งบประมาณรายจ่ายประจาปี และประมาณการรายจ่ายล่วงหน้า โดยหลัก สากลทั่วไปจะให้ระยะเวลาของแผนระยะปานกลางประมาณ 3-5 ปี การวิเคราะห์งบประมาณรายจ่ายหมายถึงกระบวนการการวางแผนทางการเงินว่าสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 จะบรรลุจุดมุ่งหมายตามเป้าหมายได้อย่างไรโดยพิจารณาเงินรายได้จากทุกแหล่งเป็น ตัวกาหนดจากัดในการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายเพื่อการบริหารจัดการการจัดทารายงานการวิเคราะห์งบประมาณหมายถึงการ รายงานตัวเลขที่เกิดขึ้นจริงของรายได้รายจ่ายและเงินทุนที่ก่อหนี้ผูกพันไว้โดยเปรียบเทียบกับงบประมาณที่ได้รับซึ่งผู้บริหารแต่ ละคนต้องการได้รับรายงานที่ต่างกันดังนั้นรายงานที่ดีจึงควรอ่านเข้าใจได้ง่ายแต่รายละเอียดที่ควรมีต้องไม่ขาดตกบกพร่อง รายงานที่ดีที่สุดต้องให้ข้อมูลที่ผู้บริหารแต่ละระดับต้องการโดยจัดทาขึ้นอย่างน้อยเดือนละครั้ง
-415. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษา วิเคราะห์ สรุปงบประมาณที่ได้รับจัดสรรในรอบ3-5ปีย้อนหลังแล้วแต่กรณี 5.2 จัดกรอบการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี 5.3สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการ 5.4 ประชุมคณะกรรมการเพื่อกาหนดกรอบและจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปีตามแผนงาน/งาน/ โครงการและจัดสรรงบประมาณสาหรับบริหารจัดการและพัฒนาการศึกษา 5.4 เสนอผลการจัดกรอบและการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายต่อทีมบริหารสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และให้ปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอ(ถ้ามี) 5.5 เสนอกรอบและการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายต่อคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาเห็นชอบ และให้ปรับปรุง แก้ไขตามข้อเสนอ(ถ้ามี) 5.6 แจ้งทุกกลุ่มในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต1 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 ระเบียบงานสารบรรณสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.2 เอกสารประกอบการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย 6.3 ประกาศสพฐ.เรื่องการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการ กพฐ.ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด สพฐ. 6.4 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.5 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.6 หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ แนวทางดาเนินงานและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
-42งานจัดตั้งและเสนอของบประมาณ 1.ชื่องาน งานจัดตั้งและเสนอของบประมาณ 2. วัตถุประสงค์ เพื่อจัดตั้งและเสนอของบประมาณของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลาปาง เขต 1และสถานศึกษาใน สังกัดไปยังสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อรองรับการบริหารจัดการและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ตาม สภาพความต้องการ จาเป็น ขาดแคลน และเหมาะสม 3. ขอบเขตของงาน จัดตั้งและเสนอของบประมาณประจาปีและในกรณีเร่งด่วนของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1และสถานศึกษาในสังกัด 4. คาจากัดความ การจัดตั้งงบประมาณหมายถึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1จัดทารายละเอียด งบประมาณตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมเพื่อใช้จ่ายหรือให้ ก่อหนี้ผูกพันโดยเน้นการประมาณการกิจกรรมโครงการตลอดจนค่าใช้จ่ายและทรัพยากรที่จาเป็นสาหรับการดาเนินการ โครงการให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ตามระยะเวลาที่กาหนดได้แก่งบบุคลากร งบดาเนินงานงบลงทุนงบเงินอุดหนุนและอาจ หมายความรวมถึงงบประมาณรายจ่ายอื่น ๆ เช่น รายการค่าขนย้ายครอบครัว รายการค่าเช่าที่ดิน รายการค่าเช่าบ้าน เงิน ชดเชยค่าก่อสร้าง (ค่า K) เป็นต้น การเสนอของบประมาณหมายถึงสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเสนอคาของบประมาณตาม พระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมเพื่อให้สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและสถานศึกษาได้เสนอคาขอตามแผนงานงานหรือโครงการตามหลักการจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณที่ สานักงบประมาณและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนดได้แก่งบบุคลากรงบดาเนินงานงบลงทุน งบเงิน อุดหนุนและงบรายจ่ายอื่นและอาจหมายความรวมถึงงบประมาณรายจ่ายอื่น ๆ เช่น รายการค่าขนย้ายครอบครัว รายการค่า เช่าที่ดิน รายการค่าเช่าบ้าน เงินชดเชยค่าก่อสร้าง (ค่า K) ค่าปรับปรุงซ่อมแซมกรณีเร่งด่วน เป็นต้น ทรัพยากรทางการศึกษาหมายถึงสิ่งต่างๆที่ทาให้การจัดการศึกษาบรรลุวัตถุประสงค์ทรัพยากรทางการศึกษา จึงครอบคลุมอยู่ในความหมายต่างๆไม่ว่าจะมองในแง่ของทางเศรษฐศาสตร์หรือทางการบริหารก็ตามการดาเนินการกับ ทรัพยากรเหล่านี้ต้องมีหลักการวิธีการและแนวคิดเป็นกรอบเพื่อให้เกิดผลและมีประสิทธิภาพสูงสุดเช่นทรัพยากรทางการเงิน วัสดุอุปกรณ์และการบริหารจัดการรวมทั้งทรัพยากรบุคคลด้วย
-435. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาตรวจสอบ วิเคราะห์ สรุปข้อมูลจากคาของบประมาณระดับสานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาและระดับสถานศึกษา 5.2.จัดทาบัญชีรายละเอียด สรุปงบหน้า จัดตั้งและเสนอของบประมาณไปยัง สานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.3.สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานอนุมัติและจัดสรรงบประมาณลงมายังสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5.4 ตั้งคณะกรรมการ และประชุมคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรงบประมาณสาหรับสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และสถานศึกษาในสังกัด ตามกรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรร 5.5แจ้งการจัดสรรให้กลุ่ม / บุคคลที่เกี่ยวข้องและสถานศึกษาในสังกัดทุกแห่งและ/หรือเฉพาะที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี 5.6 รายงานผลการดาเนินงานไปยัง สพฐ.และหรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 ระเบียบงานสารบรรณสานักนายกรัฐมนตรีพ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.2 เอกสารการจัดทาคาของบประมาณของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและของสานัก งบประมาณ 6.3 ประกาศสพฐ.เรื่องการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการ กพฐ. ไปยัง คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัด สพฐ. ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2550 6.4 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.5 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.6 หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ แนวทางดาเนินงานและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
-44งานจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี 1. ชื่องาน งานจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจาปี 2. วัตถุประสงค์ เพื่อให้การดาเนินการจัดสรรงบประมาณทุกงบประมาณรายจ่ายที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 ได้รับจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษามีระบบ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยถูกต้อง ตรงตามวัตถุประสงค์ 3. ขอบเขตของงาน การจัดสรรงบประมาณทุกงบประมาณรายจ่ายให้แก่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และสถานศึกษาในสังกัด 4. คาจากัดความ งบประมาณหมายถึงงบประมาณทุกหมวดงบประมาณ / ทุกแผนงาน / ทุกโครงการที่ได้รับแจ้งจัดสรรจาก สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน การจัดสรรงบประมาณหมายถึงการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายตามพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่าย ประจาปีหรือพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมให้ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจใช้จ่ายหรือก่อหนี้ผูกพันทั้งนี้อาจ ดาเนินการโดยใช้การอนุมัติเงินประจางวดหรือโดยวิธีการอื่นใดตามที่สานักงบประมาณกาหนด 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ตรวจสอบความถูกต้องวงเงินจัดสรรงบประมาณ ศึกษาหลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ วิธีดาเนินการ 5.2 แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาจัดสรรงบประมาณ ประกอบด้วยทีมบริหารระดับเขตพื้นที่ ผู้แทนผู้บริหาร สถานศึกษา ผู้แทนครู ประธานเครือข่ายสถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 5.3 ประชุมคณะกรรมการพิจารณาการจัดสรรงบประมาณ 5.4 แจ้งบัญชีจัดสรรงบประมาณให้หน่วยงาน/กลุ่มที่เกี่ยวข้อง สถานศึกษาทุกแห่งและหรือเฉพาะที่เกี่ยวข้อง แล้วแต่กรณี 5.5 รายงานผลการจัดสรรงบประมาณให้ สพฐ.ทราบ 5.6 ตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินงานระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา 5.7 สรุปและรายงานผลการดาเนินงาน
-456. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 ระเบียบงานสารบรรณสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ.2526 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.2 เอกสารการจัดทาคาของบประมาณของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ ของสานักงบประมาณ 6.3 ประกาศสพฐ.เรื่องการกระจายอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาของเลขาธิการ กพฐ.ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสพฐ. ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2550 6.4 ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.5 ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.6 หลักเกณฑ์ แนวปฏิบัติ แนวทางดาเนินงานและเอกสารอื่นที่เกี่ยวข้อง
-46การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณและการขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจาปี 1.ชื่องาน การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณและการขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจาปี 2. วัตถุประสงค์ เพื่อบริหารงบประมาณ การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ เงินเหลือจ่ายจากการก่อหนี้ผูกพัน ที่เป็นงบลงทุน (รายการค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง) และเป็นงบประมาณที่จัดสรรให้ดาเนินการเพียงปีงบประมาณเดียวนาไปใช้เพื่อบริหาร จัดการและดาเนินงานในรายการอื่นที่เป็นไปตามความต้องการจาเป็น บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายและเกิดประโยชน์สูงสุด ต่อสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และสถานศึกษาในสังกัด 3. ขอบเขตของงาน จัดทารายละเอียดการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณและขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจาปี 4. คาจากัดความ เงินเหลือจ่าย หมายถึง เงินงบประมาณที่สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้โอนจัดสรร งบประมาณรายจ่ายไปตั้งจ่ายที่สานักงานคลังจังหวัดแล้ว และสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือโรงเรียน ได้ดาเนินการจัดจ้าง ตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ ปรากฏว่า ยังมีเงินเหลืออยู่ รวมถึงเงิน ที่เหลือจากการงดตอกเสาเข็มหรือเงินที่ได้จากการหักค่าเสาเข็มไว้จากผู้รับจ้าง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาหรือโรงเรียน มีความประสงค์ขอใช้เงินเหลือจ่ายเพื่อจัดซื้อ วัสดุครุภัณฑ์ หรือ ก่อสร้างปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน อาคารประกอบและสิ่งก่อสร้างอื่น การโอนงบประมาณรายจ่ายหมายถึงการโอนเงินงบประมาณรายจ่ายที่ได้รับการจัดสรรงบประมาณของ ผลผลิตหรือโครงการใดไปผลผลิตหรือโครงการอื่นภายในงบรายจ่ายเดียวกันหรือการโอนเงินต่างงบรายจ่ายในผลผลิตหรือโครงการ เดียวกันภายใต้แผนงบประมาณเดียวกัน การเปลี่ยนแปลงรายการงบประมาณรายจ่ายหมายถึงการเปลี่ยนแปลงรายการและ/หรือจานวนเงินของรายการที่ กาหนดไว้ภายใต้งบรายจ่ายของแผนงบประมาณผลผลิตหรือโครงการเดียวกัน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 กลุ่มบริหารงานการเงินและสินทรัพย์ จัดทารายละเอียดสรุปและรายงานงบประมาณเงินเหลือจ่าย ประจาปีแจ้งกลุ่มนโยบายและแผน 5.2 กลุ่มนโยบายและแผน ประสานงานและตรวจสอบความถูกต้อง
-475.3แต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณและขอใช้งบประมาณเหลือจ่าย ประจาปี ประกอบด้วยทีมบริหารระดับเขตพื้นที่ ผู้แทนผู้บริหารสถานศึกษา ผู้แทนครู ประธานเครือข่ายสถานศึกษาและ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องแล้วแต่กรณี 5.3 สรุปผลการประชุมฯ เสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาเห็นชอบ (ปรับปรุงแก้ไขตาม ข้อเสนอแล้วแต่กรณี) 5.4 คณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาพิจารณาเห็นชอบแล้ว แจ้งกลุ่มที่เกี่ยวข้องดาเนินการตามมติ และส่งมอบโครงการ เอกสาร หลักฐานให้กลุ่มนโยบายและแผน ดาเนินการต่อไป 5.5กลุ่มนโยบายและแผน ตรวจสอบ จัดทารายละเอียด และเสนอขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณและ ขอใช้งบประมาณเหลือจ่ายประจาปีภายใต้ระเบียบแนวปฏิบัติที่ถูกต้องต่อผู้ว่าราชการจังหวัดลาปาง 5.6ผู้ว่าราชการจังหวัดลาปาง อนุมัติแล้วแจ้งกลุ่มที่เกี่ยวข้องดาเนินการ 5.7รายงานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรายงาน สพฐ. 5.8ตรวจสอบและติดตามผลการดาเนินงานระดับสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ระดับสถานศึกษา 5.9 สรุปและรายงานผลการดาเนินงานและรายงานเสนอคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อทราบ 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2548 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับและตามหลัก การจาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณ (ฉบับปรับปรุง) 6.2ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และแก้ไขเพิ่มเติมทุกฉบับ 6.3 คาสั่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ 1449/2555 สั่ง ณ วันที่ 5 กันยายน 2555 ซึ่ง เป็นอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัดกรณีขอใช้เงินเหลือจ่ายภายใต้แผนงานเดียวกัน 6.4 ประกาศ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง การกระจายอานาจการบริหารและ การจัดการศึกษาของเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไปยังคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา และโรงเรียน ในสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2550 ประกาศ เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม 2550 ข้อ 3 ให้ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มีอานาจการบริหารและการจัดการศึกษาตามที่กฎหมาย กาหนด โดยการกระจายอานาจการบริหารและจัดการศึกษาด้านงบประมาณในส่วนของการโอนและการ ขอเปลี่ยนแปลงงบประมาณ โรงเรียนต้องขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
-48งานติดตาม ประเมินและรายงานผล งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ (A1-A4) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.ชื่องาน งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ (A1-A4) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน 2. วัตถุประสงค์ เพื่อรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายและกลยุทธ์ตามแบบติดตามประเมินผล(A1-A4) ของสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3. ขอบเขตของงาน 3.1การจัดทาสรุปรายงานผลการดาเนินงานประจาปีตามนโยบายและกลยุทธ์ตามแบบติดตามประเมินผล (A1-A4) ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3.2 รายงานผลการดาเนินงานผ่านระบบ e-MES 4. คาจากัดความ การติดตาม (Monitoring) หมายถึงกระบวนการของการวัดหรือการตรวจสอบที่ดาเนินการเป็นประจา หรือเป็นระยะโดยการวัดและการตรวจสอบดังกล่าวได้แก่การวัดปัจจัยนาเข้า(Inputs) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Outputs) ที่เกิดขึ้นใช่ช่วงระยะเวลาดาเนินงานตามแผนโดยทั่วไปมักติดตามในด้านการจัดหาการจัดการและการนาทรัพยากร ของโครงการมาใช้ว่าเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในแผนและกาหนดการหรือไม่วัตถุประสงค์ของการติดตามคือต้องการชี้ให้เห็นถึง สถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุดที่เท่าที่จะเร็วได้ในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆหรือผลิตผลของ โครงการเพื่อจะได้จัดการแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ต่างๆของโครงการที่เป็นไปทันท่วงที การรายงาน (Report) คือการกาหนดระบุรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับการดาเนินงานของบุคคลใน หน่วยงานซึ่งรายงานแต่ละประเภทนั้นก็จะมีวิธีการนาเสนอที่แตกต่างกันออกไปรายงานจึงเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญในการ บริหารงานและการที่จะเสนอการเขียนรายงานนั้นให้มีประสิทธิภาพสามารถแสดงออกมาได้อย่างรวดเร็วนั้นควรที่จะ มีการวางแผนกาหนดเวลาเริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของแต่ละรายงานไว้ด้วย
-495. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 รับนโยบายและแบบติดตามรายงานผลฯจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.2 แต่งตั้งคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบการดาเนินงานตามกลยุทธ์ 5.3ประชุมคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบการดาเนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อชี้แจงสร้างความเข้าใจวิธีการ ดาเนินงาน และกาหนดวันส่งงาน 5.4 ประชุมเตรียมความพร้อม และทบทวน ตรวจสอบ ปรับปรุง แก้ไขการประเมินตนเองและการเขียน รายงานผลตามแบบติดตามและรายงานผลฯที่กาหนด พร้อมเอกสารหลักฐานอ้างอิง 5.5 จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ และรวบรวมเอกสารหลักฐานประกอบการรายงาน 5.6 รายงานผลการดาเนินงานตามกลยุทธ์ต่อคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล จาก สพฐ.และ รายงานผ่าน ระบบ e-MES ตามประเด็นและกลยุทธ์ ตามระยะเวลาที่ สพฐ.กาหนด 5.7ปรับปรุง แก้ไข และส่งเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมตามคาแนะนาและข้อเสนอของคณะกรรมการติดตาม ประเมินผล จาก สพฐ. 5.8ส่งเอกสารแบบติดตามประเมินและเอกสารหลักฐานประกอบให้กับคณะกรรมการฯ 5.9ประชุมคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบการดาเนินงานตามกลยุทธ์ เพื่อสรุปผลการรายงานผล การดาเนินงานในรอบที่ 1 และให้ปรับปรุง แก้ไขหรือดาเนินงานเพิ่มเติมตามข้อเสนอแนะ คาแนะนาของคณะกรรมการฯ เพื่อ นาผลการดาเนินงานรายงานในรอบที่ 2 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 นโยบาย จุดเน้นของรัฐบาล 6.2แผนปฏิบัติราชการประจาปีของกระทรวงศึกษาธิการและกลยุทธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.3 แผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 6.4 แบบติดตามและรายงานผล
-50การติดตามและรายงานการตรวจราชการ ตามนโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และ การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี 1.ชื่องาน การติดตามและรายงานการตรวจราชการตามนโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และ การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี 2. วัตถุประสงค์ เพื่อรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และการตรวจราชการ แบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี 3. ขอบเขตของงาน การจัดทาสรุปรายงานผลการดาเนินงานตามนโยบายการตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ และ การตรวจราชการแบบบูรณาการของผู้ตรวจราชการสานักนายกรัฐมนตรีตามประเด็นการตรวจราชการและแบบรายงานฯที่ กาหนด 4. คาจากัดความ การติดตาม (Monitoring) หมายถึงกระบวนการของการวัดหรือการตรวจสอบที่ดาเนินการเป็นประจาหรือ เป็นระยะโดยการวัดและการตรวจสอบดังกล่าวได้แก่การวัดปัจจัยนาเข้า (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลผลิ ต (Outputs) ที่เกิดขึ้นใช่ช่วงระยะเวลาดาเนินงานตามแผนโดยทั่วไปมักติดตามในด้านการจัดหาการจัดการและการนาทรัพยากร ของโครงการมาใช้ว่าเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในแผนและกาหนดการหรือไม่วัตถุประสงค์ของการติดตามคือต้องการชี้ให้เห็นถึง สถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุดที่เท่าที่จะเร็วได้ในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆหรือผลิตผลของ โครงการเพื่อจะได้จัดการแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ต่างๆของโครงการที่เป็นไปทันท่วงที การรายงาน (Report) คือการกาหนดระบุรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับการดาเนินงานของบุคคลในหน่วยงานซึ่ง รายงานแต่ละประเภทนั้นก็จะมีวิธีการนาเสนอที่แตกต่างกันออกไปรายงานจึงเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญในการบริหารงานและการ ที่จะเสนอการเขียนรายงานนั้นให้มีประสิทธิภาพสามารถแสดงออกมาได้อย่างรวดเร็วนั้นควรที่จะมีการวางแผนกาหนดเวลา เริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของแต่ละรายงานไว้ด้วย
-515. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 รับนโยบายและแบบติดตามรายงานผลฯจากสานักงานศึกษาธิการ ภาค 1 จังหวัดเชียงใหม่ 5.2 แต่งตั้งคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบการดาเนินงานตามประเด็นเรื่องที่ตรวจราชการ 5.3ประชุมคณะกรรมการและผู้รับผิดชอบการดาเนินงานตามประเด็น เรื่องที่ตรวจราชการ เพื่อชี้แจง สร้างความเข้าใจวิธีการดาเนินงาน และกาหนดวันส่งงาน 5.5 จัดทาเอกสารรายงานผลการดาเนินงานตามประเด็น เรื่องที่ตรวจราชการ และรวบรวมเอกสาร หลักฐานประกอบการรายงาน 5.6ส่งเอกสารแบบติดตามประเมินและเอกสารหลักฐานประกอบให้สานักงานศึกษาธิการภาค 1 จังหวัดเชียงใหม่ 5.7นาเสนอผลการดาเนินงานและส่งเอกสารแบบติดตามประเมินและเอกสารหลักฐานประกอบ (กรณีผู้ตรวจราชการกาหนดลงพื้นที่วันตรวจราชการและวันรายงานผลการดาเนินงาน) 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 นโยบาย จุดเน้นของรัฐบาลและประเด็น เรื่องที่ตรวจราชการ 6.2แผนปฏิบัติราชการประจาปีของกระทรวงศึกษาธิการและกลยุทธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.3 แผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 6.4 แบบติดตามและรายงานผลการตรวจราชการ
-52งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปี 1.ชื่องาน งานติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 2. วัตถุประสงค์ เพื่อติดตามและรายงานผลการดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปี และงานนโยบายพิเศษที่ได้รับมอบหมาย 3. ขอบเขตของงาน ติดตามและรายรายงานผลการดาเนินงานตามแผนงาน โครงการ กิจกรรมตามแผนปฏิบัติการประจาปี และงานนโยบายพิเศษที่ได้รับมอบหมายของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4. คาจากัดความ การติดตาม (Monitoring) หมายถึงกระบวนการของการวัดหรือการตรวจสอบที่ดาเนินการเป็นประจา หรือเป็นระยะโดยการวัดและการตรวจสอบดังกล่าวได้แก่การวัดปัจจัยนาเข้า(Inputs) กระบวนการ (Process) และผลผลิต (Outputs) ที่เกิดขึ้นใช่ช่วงระยะเวลาดาเนินงานตามแผนโดยทั่วไปมักติดตามในด้านการจัดหาการจัดการและการนาทรัพยากร ของโครงการมาใช้ว่าเป็นไปตามที่กาหนดไว้ในแผนและกาหนดการหรือไม่วัตถุประสงค์ของการติดตามคือต้องการชี้ให้เห็นถึง สถานการณ์ของโครงการให้เร็วที่สุดที่เท่าที่จะเร็วได้ในเรื่องเกี่ยวกับการใช้ทรัพยากรการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆหรือผลิตผลของ โครงการเพื่อจะได้จัดการแก้ไขปรับปรุงสถานการณ์ต่างๆของโครงการที่เป็นไปทันท่วงที การรายงาน (Report) คือการกาหนดระบุรายละเอียดต่างๆเกี่ยวกับการดาเนินงานของบุคคลในหน่วยงานซึ่ง รายงานแต่ละประเภทนั้นก็จะมีวิธีการนาเสนอที่แตกต่างกันออกไปรายงานจึงเป็นสิ่งจาเป็นและสาคัญในการบริหารงานและการ ที่จะเสนอการเขียนรายงานนั้นให้มีประสิทธิภาพสามารถแสดงออกมาได้อย่างรวดเร็วนั้นควรที่จะมีการวางแผนกาหนดเวลา เริ่มต้นและเวลาสิ้นสุดของแต่ละรายงานไว้ด้วย 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ประชุมบุคลากรทุกคนในระดับสานักงานเขตพื้นที่เพื่อทบทวนกรอบนโยบาย กลยุทธ์จุดเน้น ตัวชี้วัด ความสาเร็จฯลฯ ตามแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณ 5.2 กาหนดปฏิทินและแบบติดตามรายงานผล โดยกาหนดให้รายงานรอบระยะ 6 เดือน 9 เดือน และ 12 เดือน เพื่อให้สอดคล้องกับการรายงานผลการปฏิบัติราชการตามคารับรองการปฏิบัติราชการ
-535.3 ผู้รับผิดชอบรายงานผลการดาเนินงานตามข้อ 5.2 5.4 กลุ่มนโยบายและแผน และคณะทางานสรุปรวบรวมผลงาน เพื่อนาไปประกอบการจัดทารายงานผล ผลการจัดการศึกษาประจาปีของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1 นโยบาย จุดเน้นของรัฐบาล 6.2แผนปฏิบัติราชการประจาปีของกระทรวงศึกษาธิการและกลยุทธ์ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 6.3 แผนปฏิบัติการประจาปีของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 6.4 แบบติดตามและรายงานผล
-54งานจัดทารายงานผลการจัดการศึกษาประจาปี 1. ชื่องาน งานจัดทารายงานผลการจัดการศึกษาประจาปี 2. วัตถุประสงค์ เพื่อสรุปผลการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาลาปาง เขต 1 ในรอบปีงบประมาณ 3. ขอบเขตของงาน 3.1สรุปผลการบริหารจัดการและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาลาปาง เขต 1 ในรอบปีงบประมาณ 3.2 จัดทาเอกสารรายงานผลการจัดการศึกษาประจาปีของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4. คาจากัดความ การรายงาน (Report) คือการเสนอข้อมูล ขั้นตอน ผลสาเร็จของการดาเนินงานรวมถึงผลลัพธ์ ผลผลิตที่ได้ จากการดาเนินงานในแต่ละแผนงาน โครงการ กิจกรรมหรืองานนโยบายต่าง ๆ ในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา และสามารถสรุป ได้ว่าการดาเนินงานส่งผลต่อสานักงานเขตพื้นที่ ต่อสถานศึกษา ต่อผู้บริหาร ครู บุคลากร นักเรียน และผู้เกี่ยวข้องอย่างไรบ้าง เอกสารรายงานผล(Annual Report)คือ เอกสารเผยแพร่ผลการดาเนินงาน ผลงาน และผลการบริหารจัด การศึกษาการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 รวบรวม สรุปผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ตามกลยุทธ์ ตามแผนปฏิบัติการ ประจาปี การตรวจราชการ และแผนงาน โครงการกิจกรรม รวมถึงนโยบายสาคัญ ผลงานที่ภาคภูมิใจ Bestpractice 5.2 แต่งตั้งคณะกรรมการ และคณะทางานและประชุมคณะกรรมการ และคณะทางานเพื่อชี้แจงทาความ เข้าใจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ฯลฯ 5.3 คณะทางานจัดทา( ร่าง)เอกสารสรุปผลการจัดการศึกษาประจาปี เสนอต่อคณะกรรมการและทีมบริหาร ระดับเขตพื้นที่ 5.4 ปรับปรุงแก้ไข ตามข้อเสนอแนะ และจัดทาเอกสารสรุปผลการดาเนินงานประจาปี 5.5 รายงานต่อสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและประชาสัมพันธ์ไปยังทุกสานักงานเขตพื้นที่ และสถานศึกษาในสังกัด สพป.ลาปาง เขต 1
-556. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง สรุปผลการดาเนินงานตามคารับรองการปฏิบัติราชการ ตามกลยุทธ์ ตามแผนปฏิบัติการประจาปี การตรวจราชการ และแผนงาน โครงการกิจกรรม รวมถึงนโยบายสาคัญ ผลงานที่ภาคภูมิใจ Best Practice
-56งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม Data Manangement Center (DMC) 1. ชื่องาน งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม Data Manangement Center(DMC) 2. วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต มีข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและให้บริการเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการ
1และสถานศึกษา
3. ขอบเขตของงาน การบันทึก ประมวลผล ตรวจสอบ ยืนยันความถูกต้องและรายงานผลข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา ตามโปรแกรม Data Manangement Center (DMC) 4. คาจากัดความ ข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษาตามโปรแกรม Data Manangement Center (DMC) คือข้อมูลจานวนนักเรียน รายบุคคล จานวนห้องเรียน จานวนครู จานวนบุคลากร และข้อมูลพื้นฐานอื่นในระบบ 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.แจ้งสถานศึกษากรอกข้อมูลนักเรียนรายบุคคลและข้อมูลพื้นฐานบนระบบโปรแกรม Data ManangementCenter (DMC) ตามระยะเวลาที่ สพป. สพฐ. กาหนด 2. ตรวจสอบข้อมูล -ไม่ถูกต้อง ประสานเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลระดับสถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขและ ให้กรอกข้อมูลอีกครั้ง -ถูกต้อง ดาเนินงานตามข้อ 3 3. ตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องผ่านระบบรายงาน สพฐ. 4. สพฐ. ยืนยันความถูกต้อง 5.จัดทาเอกสารข้อมูลนักเรียนรายบุคคลและข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและ เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 6 .ติดตามประเมินและรายงานผลการดาเนินงานในรอบปีเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
-576.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 9. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 10. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 11. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 12. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527 5.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554
-581. ชื่องาน งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม M-OBEC 2. วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และสถานศึกษามี ข้อมูลสารสนเทศด้านครุภัณฑ์เพื่อการบริหารจัดการและให้บริการเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการ 3. ขอบเขตของงาน การบันทึก ประมวลผล ตรวจสอบ ยืนยันความถูกต้องและรายงานผลข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา ตามโปรแกรม M-OBEC 4. คาจากัดความ ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม M-OBEC คือข้อมูลด้านครุภัณฑ์ของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.แจ้งสถานศึกษากรอกข้อมูลด้านครุภัณฑ์ของสถานศึกษาบนระบบโปรแกรม M-OBEC ตามระยะเวลาที่ สพป.สพฐ. กาหนด 2. ตรวจสอบข้อมูล -ไม่ถูกต้อง ประสานเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลระดับสถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขและ ให้กรอกข้อมูลอีกครั้ง -ถูกต้อง ดาเนินงานตามข้อ 3 3. ตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องผ่านระบบรายงาน สพฐ. 4. สพฐ. ยืนยันความถูกต้อง 5. จัดทาเอกสารข้อมูลด้านครุภัณฑ์ของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 6. ติดตามประเมินและรายงานผลการดาเนินงานในรอบปีเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
-596.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 2. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 4. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527 5. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554
-601. ชื่องาน งานจัดทาข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษา โปรแกรม B-OBEC 2. วัตถุประสงค์ เพื่อให้กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 และสถานศึกษามี ข้อมูลสารสนเทศด้านสิ่งก่อสร้างเพื่อการบริหารจัดการและให้บริการเป็นไปตามความต้องการของผู้รับบริการ 3. ขอบเขตของงาน การบันทึก ประมวลผล ตรวจสอบ ยืนยันความถูกต้องและรายงานผลข้อมูลพื้นฐานทางการศึกษา ตามโปรแกรม B-OBEC 4. คาจากัดความ ข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานทางการศึกษาโปรแกรม B-OBEC คือข้อมูลด้านสิ่งก่อสร้าง ประกอบด้วย อาคารเรียน อาคารประกอบ อาคารเอนกประสงค์ ส้วม โรงฝึกงาน ถังเก็บน้าฝนและสิ่งปลูกสร้างอื่นของสถานศึกษา ในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.แจ้งสถานศึกษากรอกข้อมูลด้านครุภัณฑ์ของสถานศึกษาบนระบบโปรแกรม B-OBEC ตามระยะเวลาที่ สพป.สพฐ. กาหนด 2. ตรวจสอบข้อมูล -ไม่ถูกต้อง ประสานเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลระดับสถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขและ ให้กรอกข้อมูลอีกครั้ง -ถูกต้อง ดาเนินงานตามข้อ 3 3. ตรวจสอบและยืนยันความถูกต้องผ่านระบบรายงาน สพฐ. 4. สพฐ. ยืนยันความถูกต้อง 5. จัดทาเอกสารข้อมูลด้านสิ่งก่อสร้างของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการบริหารจัดการและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 6. ติดตามประเมินและรายงานผลการดาเนินงานในรอบปีเพื่อนาไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนา
-616.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 2.ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 3.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 4.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับทื่2) พ.ศ.2527 5.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554
-621. ชื่องาน งานจัดทาผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) สาขาการศึกษาจังหวัดลาปาง 2. วัตถุประสงค์ เพื่อสรุปและวิเคราะห์ผลการดาเนินงานด้านการศึกษาสาหรับนาไปประกอบการกาหนดทิศทาง
การบริหาร
และพัฒนาเศรษฐกิจของจังหวัดลาปาง และใช้ในการวัดอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัด และข้อมูลดังกล่าวเป็น ประโยชน์อย่างยิ่งต่อภาครัฐและเอกชน สาหรับใช้วางแผนการผลิตและการลงทุน ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี ขึ้น 3. ขอบเขตของงาน จัดเก็บข้อมูล สรุป วิเคราะห์ผลการดาเนินงานด้านการศึกษา 4.คาจากัดความ ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP) หมายถึงมูลค่าของสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตได้จากการประกอบการ ในขอบเขตพื้นที่จังหวัด ในรอบระยะเวลาหนึ่งหรือรายได้จากผลตอบแทนปัจจัยการผลิตต่าง ๆ ซึ่ง ได้แก่ ค่าตอบแทนแรงงาน ค่าเช่าที่ดิน ดอกเบี้ย และกาไร สาขาการศึกษา คือ หน่วยงานที่จัด ส่งเสริม เสริมสนับการศึกษาในจังหวัดลาปาง จานวน 22 หน่วยงาน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1.ประชุมเพื่อรับนโยบายและแนวทาง วิธีการดาเนินงานจากสานักงานคลังจังหวัดลาปาง 2.ประชุมผู้รับผิดชอบงานผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP)22หน่วยงาน ทางการศึกษาของจังหวัดลาปาง เพื่อ ชี้แจงแนวทาง วิธีการดาเนินงาน 3. จัดเก็บข้อมูลด้านการศึกษาตามที่สานักงานคลังจังหวัดลาปางกาหนด สรุป วิเคราะห์ สังเคราะห์ 4. รายงานผลให้สานักงานคลังจังหวัดลาปาง 5. ประชุมรับฟังการวิเคราะห์ผลอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจังหวัดลาปาง
-636.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1.ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 2.ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 3.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554
-64งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา 1. ชื่องาน งานเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 และสถานศึกษาในสังกัด 3. ขอบเขตของงาน เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และให้บริการข้อมูลสารสนเทศของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 และสถานศึกษาระหว่างหน่วยงานทางการศึกษาและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องในสังกัดในรูปแบบเอกสารและผ่าน ระบบ Website 4. คาจากัดความ การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และการให้บริการคือ การประสานความร่วมมือในการจัดเก็บ จัดทาเผยแพร่ข้อมูล พื้นฐานทางการศึกษาให้แก่บุคคล กลุ่มงาน หน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1. หน่วยงานหรือผู้มาขอรับบริการติดต่อประสานงานขอข้อมูล (กรณีไม่สืบค้นทางWebsite) 2. สอบถาม ซักถาม พิจารณา -พิจารณาแล้วไม่ควรให้บริการ ให้ชี้แจงเหตุผลและสร้างความเข้าใจที่ดี -พิจารณาแล้วสมควรให้บริการ ให้ดาเนินการตามข้อ 3 3. ส่ง-รับมอบเอกสารและลงนามรับเอกสารเพื่อเป็นหลักฐานการให้บริการ 6.เอกสาร/หลักฐานอ้างอิง 1. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2529 2. ระเบียบสานักงานนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการให้ข่าวและบริการข่าวสารของทางราชการ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2533 3. ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการประชาสัมพันธ์ และการให้ข่าวสาร พ.ศ. 2525 4.ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการประชาสัมพันธ์และการให้ข่าวราชการ (ฉบับที่2) พ.ศ.2527 5. ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการบริหารข้อมูลสารสนเทศด้านการศึกษา พ.ศ. 2554
-65งานเลขานุการคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา งานจัดการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 1. ชื่องาน งานจัดการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 2. วัตถุประสงค์ เพื่อให้เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการตามอานาจหน้าที่ของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา (กพท.) ดาเนินการได้ตามพระราชบัญญัติ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 3. ขอบเขตของงาน 3.1จัดประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1ตามปฏิทินซึ่งกาหนดไว้ 4 ครั้งต่อปีงบประมาณ 3.2 การดาเนินการตามกรอบอานาจหน้าที่และบทบาทของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ลาปาง เขต 1 3.3 การดาเนินการตามแผนและมติที่ประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4. คาจากัดความ 4.1 การประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 คือ การที่บุคคลซึ่งได้รับแต่งตั้ง เป็นกรรมการการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มาร่วมประชุมในสถานะของตนเองหรือเป็นผู้แทนของกลุ่ม บุคคลหรือองค์กรใด ๆ มาร่วมกิจกรรมในการรับทราบข้อมูล ให้ข้อมูล แลกเปลี่ยนข้อมูล รับทราบและพิจารณาให้ความ เห็นชอบในเรื่องที่กาหนดขึ้นและหัวข้อเรื่องมีความเกี่ยวข้องกับผู้เข้าร่วมประชุม โดยกาหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย สถานที่ วัน เวลา และระเบียบวาระสาหรับการประชุมนั้นไว้อย่างชัดเจน 4.2เอกสารประกอบการประชุมหมายถึงเอกสารที่อ้างอิงสืบค้นหลักฐานตามระเบียบวาระการประชุม 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษากฎหมายระเบียบและข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 5.1.1จัดทาข้อมูลคณะกรรมการฯเช่นรายชื่อที่อยู่สถานที่ทางาน หมายเลขโทรศัพท์อีเมล์เพื่อติดต่อ ประสานงาน 5.1.2จัดทาเอกสารคู่มือการปฏิบัติงานของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาให้คณะกรรมการเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
-665.2 จัดทาแผนและปฏิทินการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 5.3จัดประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตามแผนและปฏิทินที่กาหนด ไว้ในข้อ 5.2 5.4แจ้งเวียนแผนปฏิทินการประชุมให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 5.5รวบรวมกลั่นกรองข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อจัดทาระเบียบวาระการประชุมและเอกสาร ประกอบการพิจารณา 5.6จัดประชุมและจัดทารายงานการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา 5.7 แจ้งมติการประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาให้กลุ่มที่เกี่ยวข้องและบุคคลที่เกี่ยวข้องทราบ และดาเนินการ 5.8ติดตามผลการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับมติที่ประชุมคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาและรายงาน ในการประชุมครั้งต่อไป 5.9รายงานผลการดาเนินงานตามมติที่ประชุม 6. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ .ศ. 2550 6.2.พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ.2545 6.3.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 6.4.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.5.แนวทางการดาเนินงานการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
-67งานประสานส่งเสริมสนับสนุนองค์คณะบุคคลในการบริหารจัดการศึกษา 1. ชื่องาน งานประสาน ส่งเสริมสนับสนุนองค์คณะบุคคลในการบริหารจัดการศึกษา 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพื่อบูรณาการการปฏิบัติงานของคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 คณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาคณะกรรมการติดตามตรวจสอบประเมินและนิเทศการศึกษา 2.2 เพื่อสร้างวัฒนธรรมการทางานแบบมีส่วนร่วมขององค์คณะบุคคลทั้งการรับรู้และการเข้ามามีส่วน ร่วมในการบริหารจัดการศึกษา 2.3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสื่อสารระหว่างองค์คณะบุคคล 3. ขอบเขตของงาน 3.1 ประสานส่งเสริมสนับสนุนให้องค์คณะบุคคลร่วมกันวางแผนดาเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ สถานศึกษาในสังกัดในประเด็นการดาเนินงานด้านวิชาการด้านงบประมาณด้านการบริหารงานบุคคลและด้านการบริหารทั่วไป เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการบริหารจัดการและการมีส่วนร่วมขององค์คณะบุคคล 3.2 ประสานและร่วมดาเนินงานกับกลุ่มบริหารงานบุคคลกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา และกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างเครือข่ายของการมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการศึกษาขององค์คณะบุคคล 3.3 การติดต่อสื่อสารและประสานงานระหว่างองค์คณะบุคคล 4. คาจากัดความ องค์คณะบุคคลหมายถึงคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา (กพท.) , คณะกรรมการติดตามตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาเขตพื้นที่การศึกษา (ก.ต.ป.น.) และคณะอนุกรรมการข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา (อ.ก.ค.ศ.) 5. ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 5.1 ศึกษาแนวปฏิบัติระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง 5.2 จัดทาและรวบรวมข้อมูลสารสนเทศผลการดาเนินงานปัญหาอุปสรรคในการจัดการศึกษาของ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เสนอต่อองค์คณะบุคคลเพื่อรับฟังความคิดเห็นข้อเสนอแนะ 5.3 สรุปผลแนวทางการพัฒนาการศึกษาตามข้อเสนอแนะขององค์คณะบุคคล และข้อมูลตามข้อ 5.2 เพื่อใช้ประกอบการจัดทาแผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานและแผนปฏิบัติการประจาปีงบประมาณและรายงานผลการจัด การศึกษาประจาปีของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
-686. เอกสาร/ หลักฐานอ้างอิง 6.1.รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ .ศ. 2550 6.2.พระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับพ.ศ.2545 6.3.พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 6.4.พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม 6.5.แนวทางการดาเนินงานการมีส่วนร่วมการบริหารจัดการศึกษา ของสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ส่วนที่ 4 บทสรุป กลุ่มนโยบายและแผน เป็นกลุ่มงานที่มีหน้าที่ในการส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานในเชิงนโยบายระหว่าง สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาในสังกัดให้สามารถปฏิบัติงานและ ร่วมกันขับเคลื่อนโยบายไปสู่การปฏิบัติให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมายที่กาหนดประสบผลสาเร็จเป็นรูปธรรมเชิงประจักษ์ สอดคล้องกับนโยบาย แนวปฏิบัติ ระเบียบกฎหมาย และได้ตามมาตรฐานการศึกษา มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน เกิดความคุ้มค่าใน เชิงภารกิจแห่งรัฐ ตามหลักธรรมาภิบาล ยึดหลักการสร้างเครือข่าย การมีส่วนร่วม และนาระบบเทคโนโลยีในการบริหาร จัดการและพัฒนางานภายใต้แนวคิดและทฤษฏี PDCA คือมีการวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ การปรับปรุงแก้ไข และการรายงานผล คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ฉบับนี้ จะเป็นเครื่องมือที่สาคัญประการหนึ่งที่ใช้สาหรับประกอบการปฏิบัติงานของผู้อานวยการกลุ่มและผู้ปฏิบัติงาน เป็นการจัดทา รายละเอียดที่ประกอบไปด้วยชื่องาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของงาน คาจากัดความ ขั้นตอนกระบวนการปฏิบัติงาน และ เอกสารอ้างอิงสาหรับการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ยังให้ประโยชน์แก่ผู้บริหาร ผู้อานวยการกลุ่ม ผู้ปฏิบัติงาน หรือผู้เกี่ยวข้อง พอสรุปดังนี้ ด้านผู้บริหาร หมายถึง ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน สังกัด สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 หรือ สานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาอื่น 1. เป็นแนวทางการวิเคราะห์งาน ปรับปรุงงาน ตรวจสอบการปฏิบัติงาน 2. เป็นคู่มือในการสอนงานสาหรับผู้ปฏิบัติงานใหม่ หรือผู้ที่ยังไม่เข้าใจระบบขั้นตอนการปฏิบัติงาน 3. การกาหนดภาระงานชัดเจนไม่ซ้าซ้อน 4. ประกอบการตรวจสอบ ควบคุมงาน กากับ และการติดตามผลการปฏิบัติงาน 5. เป็นคู่มือในการประเมินผลการปฏิบัติงาน 6. ทราบขั้นตอนและสายงานทาให้บริหารงานได้ง่ายขึ้น 7. ประกอบการวางแผนกาลังคน 8. เกิดระบบทีมงาน การทางานแบบมีส่วนร่วม 9. ช่วยในการปรับปรุงงานและออกแบบกระบวนงานใหม่ 10.ใช้เป็นฐานในการกาหนดเวลามาตรฐานการให้บริการ
-70ด้านบุคลากรผู้ปฏิบัติ หมายถึง บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 หรือ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่น 1. เข้าใจระบบงานไปในทิศทางเดียวกัน 2. ทราบภาระหน้าที่ของตนเองชัดเจนยิ่งขึ้น 3. มีขั้นตอน กระบวนการปฏิบัติงานที่แน่นอน ทาให้การทางานได้ง่ายขึ้น 4. วางแผนการทางานเพื่อให้ผลงานออกมาตามเป้าหมาย 5. สามารถใช้เป็นแนวทางเพื่อการวิเคราะห์งานให้ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา 6. สามารถแบ่งเวลาให้กับงานต่างๆได้อย่างถูกต้องเหมาะสม 7. ได้เรียนรู้และรับทราบว่าเพื่อนร่วมงานทาอะไร เข้าใจกันและกันมากขึ้น 8. สามารถช่วยเหลืองานซึ่งกันและกันได้ 9. ช่วยในการปรับปรุงงานและออกแบบกระบวนงานใหม่ 10. ใช้เป็นฐานในการประกาศเวลามาตรฐานการให้บริการ 11. สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น เพราะมีสิ่งที่อ้างอิง 12. สร้างความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน ด้านสถานศึกษา หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 หรือสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาอื่น 1. ได้รับทราบภาระหน้าที่ของกลุ่มนโยบายและแผนชัดเจนขึ้น 2. เข้าใจระบบงานไปในทิศทางเดียวกัน 3. สามารถช่วยเหลืองานซึ่งกันและกันได้ 4. สะดวกในการติดต่อประสานงาน 5. ส่งเสริม สนับสนับสนุนในการสร้างทีมงานและการทางานแบบมีส่วนร่วม 6. ส่งเสริม สนับสนุนให้การปฏิบัติสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล 7. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน อย่างไรก็ตาม คู่มือการปฏิบัติงานในกลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ยังคงต้องมีการพัฒนา ปรับปรุงไปอย่างต่อเนื่องทั้งนี้เพื่อให้สอดคล้องและเป็นไปตามบริบท ซึ่งอาจจะมีการปรับเพิ่ม หรือลดภาระงาน หรืออาจเพิ่มงานระดับนโยบาย งานที่ได้รับมอบหมายเป็นพิเศษ ทั้งนี้ทางผู้จัดทาจะต้องปรับปรุง เปลี่ยนแปลง ให้ตรงกับสภาพความเป็นจริงต่อไป เพื่อให้คู่มือการปฏิบัติงานเป็นฉบับที่สมบูรณ์ ถูกต้องและใช้อ้างอิงได้ ส่งผลให้ผลงานมี คุณภาพ มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลต่อไป
-71-
ด้านผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้เกี่ยวข้อง หมายถึง บุคลากรกลุ่มอื่นในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต เขตพื้นที่การศึกษาอื่น บุคลากร ประชาชนทั่วไป 1. ได้รับทราบภาระหน้าที่ของกลุ่มนโยบายและแผนชัดเจนขึ้น 2. เข้าใจระบบงานไปในทิศทางเดียวกัน 3. สามารถช่วยเหลืองานซึ่งกันและกันได้ 4. สะดวกในการติดต่อประสานงาน 5. ส่งเสริม สนับสนับสนุนในการสร้างทีมงานและการทางานแบบมีส่วนร่วม 6. ส่งเสริม สนับสนุนให้การปฏิบัติสาเร็จตามเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิผล 7. ส่งเสริม สนับสนุนการสร้างความเป็นมืออาชีพในการปฏิบัติงาน
1 หรือสานักงาน
บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน
นายประสิทธิ์ พรมศรี รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 1
นางชีวพร สุ ริยศ ผูอ้ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน
นายเสรี เสมพูล
นางสมศรี ต้นโนนเชียง
นายกรณิการ์ เกตุภู่
นางพวงสร้ อย ณรงค์ธุวพันธ์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการพิเศษ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ชานาญการ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ปฏิบตั ิการ
นางจรรยา คาโพธิ์
นางสุ ปราณี กิง่ กา้
นายสมชาย ครุธนาค
เจ้าพนักงานธุ รการ ปฏิบตั ิงาน
เจ้าหน้าที่บนั ทึกข้อมูล
เจ้าพนักงานธุ รการ ชานาญงาน
บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ การปฏิบัติงานตามคู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มนโยบายและแผน ระหว่าง ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน กับ บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผน บันทึกข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้จัดทาขึ้น ณ กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลาปาง เขต 1 เลขที่ 12 ถนนลาปาง-งาว ตาบลพิชัย อาเภอเมืองลาปาง จังหวัดลาปาง เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2556 ระหว่าง ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน ฝ่ายหนึ่ง กับ บุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนทุกคน อีก ฝ่ายหนึ่ง โดยที่ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน และบุคลากรกลุ่มนโยบายและแผนทุกคนมีความประสงค์จะร่วมมือ กันในการพัฒนาการบริหารจัดการและการปฏิบัติงานภายในกลุ่มให้มีคุณภาพอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องก้าวสู่การเป็นองค์กร (กลุ่มนโยบายและแผน)ที่มีประสิทธิภาพสูง ทั้งสองฝ่ายจึงตกลงร่วมกันเป็นลายลักษณ์อักษร ดังนี้ 1.ทุกคนจะรับผิดชอบและดาเนินงานตามภาระงานที่รับผิดชอบและงานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็ม ความสามารถ 2.ทุกคนจะปฏิบัติงานตามคู่มือการปฏิบัติงานของกลุ่มนโยบายและแผน 3.ทุกคนจะร่วมกันพัฒนากระบวนขั้นตอนการปฏิบัติงานและ/หรือปรับปรุง แก้ปัญหาด้าน การปฏิบัติงานให้มีคุณภาพสูงขึ้น 4.ทุกคนจะร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติงาน ในรูปแบบเป็นทางการและรูปแบบไม่เป็น ทางการ และรายงานผลการดาเนินงาน ปีละ 1 ครั้ง
-2-
ความร่วมมือตามบันทึกข้อตกลงฉบับนี้มีผลตั้งแต่วันลงนามในบันทึกนี้เป็นต้นไป
(ลงชื่อ)........................................................ (นางชีวพร สุริยศ) ผู้อานวยการกลุ่มนโยบายและแผน
(ลงชื่อ)........................................................ (นายเสรี เสมพูล) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ
(ลงชื่อ)........................................................
(ลงชื่อ)........................................................ (นางสมศรี ต้นโนนเชียง) นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
(ลงชื่อ)........................................................
(นางกรณิการ์ เกตุภู่)
(นางพวงสร้อย ณรงค์ธุวพันธ์)
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการ
นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ
(ลงชื่อ)........................................................ (นางจรรยา คาโพธิ์) เจ้าพนักงานธุรการชานาญงาน
(ลงชื่อ)........................................................ (นางสุปราณี กิ่งก้า) เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน
-3-
(ลงชื่อ)........................................................ (นายสมชาย ครุธนาค) เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล
ข้าพเจ้า นายชัย ปองเสงี่ยม รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ขอรับรองว่าบันทึกข้อตกลงความร่วมมือฉบับนี้มีข้อความถูกต้อง สมบูรณ์ และทั้งสองฝ่ายได้อ่านและเข้าใจในข้อตกลงโดย ละเอียดแล้ว พร้อมทั้งได้ลงลายมือชื่อไว้เป็นสาคัญต่อหน้าข้าพเจ้าและต่างฝ่ายต่างถือไว้คนละฉบับ
(ลงชื่อ)........................................................ (นายชัย ปองเสงี่ยม) รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ตาแหน่งประเภทวิชาการ สายงานวิเคราะห์นโยบายและแผน (ก.พ. กาหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551) ลักษณะงานโดยทั่วไป สายงานนี้คลุมถึงตาแหน่งต่างๆ ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกบการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ซึ่งมีลักษณะ งานที่ปฏิบัติเกี่ยวกับการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ประสานแผน ประมวลแผน พิจารณาเสนอแนะ เกี่ยวกับนโยบายและ เป้าหมายของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคง ในระดับประเทศ รวมถึงประเด็นปัญหาทาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคม ทั้งในและต่างประเทศ เพื่อประกอบการกาหนด นโยบาย จัดทาแผนหรือ โครงการของส่วนราชการ หรือใช้เป็นข้อมูลสาหรับกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับประเทศ แล้วแต่กรณี และปฏิบัติหน้าที่อื่นที่เกี่ยวข้อง ชื่อตาแหน่งในสายงานและระดับตาแหน่ง ดังนี้ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับชานาญการ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับชานาญการพิเศษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับเชี่ยวชาญ นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับทรงคุณวุฒิ
ตาแหน่งประเภท วิชาการ ชื่อสายงาน วิเคราะห์นโยบายและแผน ชื่อตาแหน่งในสายงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับตาแหน่ง ปฏิบัติการ หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ที่ต้องใช้ความรู้ความสามารถทางวิชาการในการทางานปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ภายใต้การกากับ แนะนา ตรวจสอบและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดย มีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) รวบรวม วิเคราะห์และประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจการเมืองและสังคมทั้งใน และต่างประเทศเพื่อนามาสรุปเสนอประกอบการกาหนดนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการหรือนโยบายแผนงานและ โครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหารหรือความมั่นคง
(2) รวบรวมข้อมูลและศึกษาวิเคราะห์เบื้องต้น เกี่ยวกับภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของส่วนราชการ หรือ ทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพื่อวางแผนกาหนดแผนการปฏิบัติงานหรือโครงการให้สามารถบรรลุภารกิจที่ กาหนดไว้ (3) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบายแผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหาร หรือความมั่นคงและเสนอข้อคิดเห็น เพื่อช่วยจัดทาแผนการปฏิบัติงานแผนงานโครงการหรือกิจกรรมได้ ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (4) สารวจรวบรวม และประมวลผลข้อมูลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาลและประเด็นปัญหาทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคม ทั้งในและต่างประเทศเพื่อเป็นข้อมูลสาหรับการจัดทาแผนงานหรือกาหนดยุทธศาสตร์ (5) ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์และนโยบายของรัฐบาลเพื่อประกอบการเสนอแนะ แนวทางการประสานผลักดันยุทธศาสตร์และนโยบาย ตลอดจนการติดตามประเมินผลให้สอดคล้องไปในแนวทางเดียวกัน 2. ด้านการวางแผน วางแผนการทางานที่รับผิดชอบร่วมดาเนินการวางแผนการทางานของหน่วยงานหรือโครงการเพื่อให้การ ดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด 3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานการทางานร่วมกันทั้งภายในและภายนอกทีมงานหรือหน่วยงาน เพื่อให้เกิดความร่วมมือและ ผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ (2) ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลข้อเท็จจริงแก่บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างความเข้าใจ หรือความร่วมมือในการดาเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ด้านการบริการ (1) รวบรวมข้อมูลเพื่อเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้ที่เียวกั ก่ บการจัดทาแผนงานโครงการ (2) ให้คาปรึกษาแนะนา ตอบปัญหาและชี้แจงเรื่องต่างๆ เกี่ยวกับงานนโยบายและแผนเพื่อแก้ปัญหาในการ ปฏิบัติงาน คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. ได้รับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการ เจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 2. ได้รับปริญญาโทหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการ เจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 3. ได้รับปริญญาเอกหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชาหรือทางที่ส่วนราชการ เจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 4. ได้รับปริญญาหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่ก.พ. กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนี้ได้
ความรู้ความสามารถทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
ตาแหน่งประเภท วิชาการ ชื่อสายงาน วิเคราะห์นโยบายและแผน ชื่อตาแหน่งในสายงาน นักวเคราะห์นโยบายและแผน ระดับตาแหน่ง ชานาญการ หน้าที่ความรับผิดชอบ ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน ซึ่งต้องกากับ แนะนา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมปฏิบัติงานโดยใช้ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความชานาญสูงในงานวิชาการการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ปฏิบัติงานที่ต้อง ตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะ ผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ โดยใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความชานาญสูงในงานวิชาการการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ปฏิบัติงาน ที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) ศึกษาวิเคราะห์วิจัยและประมวลนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจการเมืองและสังคมทั้งใน และต่างประเทศเพื่อวางแผนประกอบการกาหนดนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการ หรือนโยบายแผนงาน และโครงการ ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหาร หรือความมั่นคง (2) ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของส่วนราชการ หรือทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพื่อวางแผนกาหนดนโยบายแผนงาน แผนงบประมาณ หรือโครงการให้บรรลุภารกิจที่กาหนดไว้และเกิดผลสัมฤทธิ์ สูงสุด (3) ประมวลและวิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบายแผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือความมั่นคง เพื่อช่วยจัดทาแผนการปฏิบัติงาน แผนงานโครงการหรือกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ (4) ศึกษาวิเคราะห์วิจัยค้นคว้าทางวิชาการและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อช่วยกาหนดนโยบายแผนงานโครงการ ของส่วนราชการ (5) วิเคราะห์กลั่นกรองและจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน โครงการ ตลอดจนประเด็นนโยบายและ มาตรการต่าง ๆ เพื่อให้การดาเนินการตามแผนงาน โครงการมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น (6) ติดตามประเมินผลการพัฒนาและการบริหารจัดการและการปฏิบัติการขององค์กรทั้งภาครัฐและ เอกชนในทุกระดับพื้นที่และทุกระดับชุมชน รวมทั้งแผนงานโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม 2. ด้านการวางแผน วางแผนหรือร่วมดาเนินการวางแผนการทางานตามแผนงานหรือโครงการของหน่วยงานระดับสานักหรือกอง และแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานเพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด
3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานการทางานร่วมกันโดยมีบทบาทในการให้ความเห็นและคาแนะนาเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงาน หรือหน่วยงานอื่นเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ (2) ให้ข้อคิดเห็นหรือคาแนะนาเบื้องต้นแก่สมาชิกในทีมงานหรือบุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้าง ความเข้าใจและความร่วมมือในการดาเนินงานตามที่ได้รับมอบหมาย 4. ด้านการบริการ (1) ให้คาแนะนา ตอบปัญหาและชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผนในระดับที่ซับซ้อน หรือ อานวยการถ่ายทอดฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้แก่หน่วยงานราชการเอกชนหรือประชาชนทั่วไป เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบ ข้อมูลความรู้ต่างๆ และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2) ร่วมกาหนดแนวทางการจัดทาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อช่วยในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลสาหรับ ผู้ที่สนใจ (3) ประมวลผลข้อมูลเกี่ยวกับงานของส่วนราชการเพื่อใช้เผยแพร่ต่อสาธารณชน คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ 2. เคยดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับปฏิบัติการ มาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี กาหนดเวลา 6 ปีให้ลดเป็น 4 ปีสาหรับผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการข้อ 2 หรือข้อ 4 ที่เทียบได้ไม่ต่า กว่าปริญญาโท และให้ลดเป็น 2 ปีสาหรับผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ ข้อ 3 หรือข้อ 4 ที่เทียบได้ไม่ต่ากว่าปริญญาเอก หรือดารงตาแหน่งอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไข ที่ก.พ. กาหนดโดยจะต้องปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่น ที่เกี่ยวข้องตามที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่า เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ความรู้ความสามารถทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
ตาแหน่งประเภท วิชาการ ชื่อสายงาน วิเคราะห์นโยบายและแผน ชื่อตาแหน่งในสายงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับตาแหน่ง ชานาญการพิเศษ หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน ซึ่งต้องกากับ แนะนา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความชานาญงานสูงมากในงานวิชาการการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ที่มีประสบการณ์โดยใช้ความรู้ความสามารถ ประสบการณ์และความชานาญในงานสูงมากในงานวิชาการการวิเคราะห์นโยบาย และการวางแผน ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาที่ยากมาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) ศึกษาวิเคราะห์วิจัยให้คาปรึกษา เกี่ยวกับนโยบายของรัฐบาลและสถานการณ์เศรษฐกิจการเมืองและสังคม ทั้งในและต่างประเทศเพื่อวางแผนประกอบการกาหนดนโยบายและเป้าหมายของส่วนราชการหรือนโยบายแผนงานและ โครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหารหรือความมั่นคง (2) ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจหลักและแผนกลยุทธ์ของส่วนราชการร่วมจัดทาแผนงานแผนงบประมาณหรือ โครงการของส่วนราชการหรือกาหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพื่อวางแผนกาหนดนโยบายแผนงาน แผน งบประมาณ หรือโครงการให้บรรลุภารกิจที่กาหนดไว้และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด (3) วิเคราะห์นโยบายของส่วนราชการ หรือนโยบายแผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง หรือ ความมั่นคงเพื่อจัดทาแผนการปฏิบัติงาน แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด (4) ศึกษาวิเคราะห์วิจัยค้นคว้าทางวิชาการและพัฒนาระบบข้อมูลเพื่อกาหนดนโยบายแผนงานโครงการของ ส่วนราชการ (5) วิเคราะห์ประเด็นปัญหาเกี่ยวกับนโยบายและแผน ประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายแผนงาน หรือ โครงการ เพื่อปรับปรุงแผนงานให้มีคุณภาพดียิ่งขึ้น และเป็นแนวทางพัฒนาปรับปรุงการกาหนดนโยบายและแผนงานในครั้ง ต่อไป 2. ด้านการวางแผน วางแผนหรือร่วมดาเนินการวางแผนงานโครงการของหน่วยงานระดับสานักหรือกองมอบหมายงาน แก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานและติดตามประเมินผลเพื่อให้เป็นไปตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด
3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานสัมพันธ์กับสมาชิกในทีมงานโดยมีบทบาทในการชี้แนะจูงใจ ทีมงานหรือหน่วยงานอื่นในระดับกอง หรือสานักเพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ (2) ชี้แจงให้ข้อคิดเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการหรือคณะทางานต่าง ๆ เพื่อเป็นประโยชน์และเกิดความร่วม มือในการดาเนินงานร่วมกัน 4. ด้านการบริการ (1) ให้คาแนะนา ตอบปัญหาและชี้แจงในเรื่องเกี่ยวกับงานวิเคราะห์นโยบายและแผนในระดับที่ยากมาก หรือ อานวยการถ่ายทอดฝึกอบรมหรือถ่ายทอดความรู้แก่หน่วยงานราชการเอกชนหรือประชาชนทั่วไปเพื่อให้ผ้ทู ี่สนใจได้ทราบ ข้อมูลความรู้ต่างๆ และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (2) ฝึกอบรม และให้คาปรึกษาแนะนาในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าระดับรองลงมาเพื่อให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด (3) กาหนดแนวทางในการจัดทาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยในการประชาสัมพันธ์ข้อมูลสาหรับผู้ที่ สนใจ (4) เผยแพร่และส่งเสริมให้สาธารณะเข้าใจและทัศนคติที่ดีต่อการทางานและร่วมมือกับส่วนราชการเพื่อให้การ จัดทาแผนงานโครงการและยุทธศาสตร์ชาติเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผนระดับปฏิบัติการ 2. เคยดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการ มาแล้วไม่น้อยกว่า 4 ปีหรือดารงตาแหน่งอย่างอื่นที่ เทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ก.พ. กาหนดโดยจะต้องปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผน หรืองานอื่นที่ เกี่ยวข้องตามที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแล้วไม่น้อยกว่า1 ปี ความรู้ความสามารถทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
ตาแหน่งประเภท วิชาการ ชื่อสายงาน วิเคราะห์นโยบายและแผน ชื่อตาแหน่งในสายงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับตาแหน่ง เชี่ยวชาญ หน้าที่ความรับผิดชอบ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีความเชี่ยวชาญในงาน โดยใช้ความรู้ความสามารถประสบการณ์และ ความเชี่ยวชาญในทางวิชาการการวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการ ที่ยากและซับซ้อนมากและมีผลกระทบในวงกว้าง และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงาน ให้คาปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวงกรม ซึ่งใช้ความรู้ความสามารถประสบการณ์และความเชี่ยวชาญในทางวิชาการ การวิเคราะห์นโยบายและการวางแผน ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากและมี ผลกระทบในวงกว้างและปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) กากับดูแล ตรวจสอบเกี่ยวกับนโยบายแผนงานหรือโครงการของส่วนราชการหรือนโยบายแผนงาน และ โครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหาร หรือความมั่นคงเพื่อให้การจัดทานโยบายและการวางแผนเกิดผลสัมฤทธิ์ สูงสุด (2) จัดทาแผนงาน แผนงบประมาณ หรือโครงการของส่วนราชการกาหนดทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองเพื่อวางแผนกาหนดนโยบายแผนงาน แผนงบประมาณ หรือโครงการให้บรรลุภารกิจที่กาหนดไว้และเกิดผลสัมฤทธิ์ สูงสุด (3) ให้คาปรึกษาและให้คาแนะนาเกี่ยวกับนโยบายแผนงาน หรือโครงการของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองการบริหาร หรือความมั่นคงเพื่อให้การดาเนินงานเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุดและ บรรลุภารกิจที่กาหนดไว้ (5) เสนอแนะระบบและวิธีการติดตามประเมินผลการวางแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม เพื่อให้ เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาสามารถสรุปและประเมินผลการดาเนินงานได้ (6) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย หาแนวทางในการพัฒนาข้อมูลในระดับมหภาคเพื่อนาไปประกอบการจัดทาแผนงาน โครงการยุทธศาสตร์ในระดับชาติ (7) ศึกษาวิเคราะห์ปัจจัยด้านเศรษฐกิจและสังคมทั้งในและต่างประเทศเพื่อกาหนดทิศทางยุทธศาสตร์และ แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและแผนงานโครงการในระดับจุลภาคหรือมหภาค (8) กากับดูแลควบคุมงาน การบริหารแผนงาน รวมถึงแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานเพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปตามแผนที่วางไว้ (9) วิเคราะห์กลั่นกรองและจัดลาดับความสาคัญของแผนงาน โครงการ ตลอดจนประเด็นนโยบาย เพื่อ ประกอบการพิจารณาของคณะรัฐมนตรีคณะกรรมการคณะอนุกรรมการและคณะทางาน
2. ด้านการวางแผน วางแผนหรือร่วมดาเนินการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการแผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วน ราชการระดับกรม มอบหมายงานแก้ไขปัญหาในการปฏิบัติงานติดตามประเมินผลเพื่อให้บรรลุตามเป้าหมายผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด 3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานการทางานโครงการต่าง ๆ กับบุคคล หน่วยงาน หรือองค์กรอื่น โดยมีบทบาทในการจูงใจโน้มน้าว เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ (2) ให้ข้อคิดเห็นและคาแนะนาแก่หน่วยงานระดับกองหรือสานักรวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศเพื่อ เป็นประโยชน์และเกิดความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกัน 4. ด้านการบริการ (1) อานวยการด้านการประชาสัมพันธ์และการชี้แจงแนวทางปฏิบัติให้กับหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกเพื่อ ให้เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมาสามารถปฏิบัติงานตามนโยบายและเป้าหมายที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด (2) ฝึกอบรม ถ่ายทอดและให้คาปรึกษาแนะนา ในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าระดับรองลงมาเพื่อให้สามารถ ปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ และ 2. เคยดารงตาแหน่งประเภทวิชาการระดับชานาญการพิเศษ มาแล้วไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ ดารงตาแหน่งอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ก.พ. กาหนดโดยจะต้องปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบาย และแผน หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ มาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ความรู้ความสามารถทักษะและสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
ตาแหน่งประเภท วิชาการ ชือสายงาน วิเคราะห์นโยบายและแผน ชือตาแหน่งในสายงาน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับตาแหน่ง ทรงคุณวุฒิ หน้าทีความรับผิดชอบ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่ทรงคุณวุฒิ ซึ่งใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานด้าน วิเคราะห์นโยบายและแผน เป็นที่ประจักษ์ในความสามารถ เป็นที่ยอมรับในระดับชาติปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแกปัญหา ในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษและมีผลกระทบในวงกว้างระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับประเทศ และ ปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานให้คาปรึกษาของส่วนราชการระดับกระทรวง ซึ่งมี ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และผลงานด้านวิเคราะห์นโยบายและแผน เป็นที่ประจักษ์ในความสามารถ เป็นที่ยอมรับ ในระดับชาติ ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแกปัญหาในทางวิชาการที่ยากและซับซ้อนมากเป็นพิเศษและมีผลกระทบในวงกว้าง ระดับนโยบายกระทรวงหรือระดับประเทศ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) ให้คาปรึกษาแนะนาทางวิชาการ เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน หรือโครงการของ ส่วนราชการที่มีความสาคัญ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมั่นคงในระดับประเทศ เพื่อให้เป็นไป ตามหลักการทางวิชาการ และแนวทางการบริหารงานภาครัฐ (2) วิเคราะห์ พิจารณา เสนอแนะนโยบาย แผนงาน หรือโครงการของส่วนราชการที่มีความสาคัญ หรือ นโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมันคงในระดับประเทศเพื่อวางแผนกาหนด นโยบาย แผนงาน แผนงบประมาณ หรือโครงการ ให้บรรลุ ภารกิจที่กาหนดไว้และเกิดผลสัมฤทธิ์สูงสุด (3) วินิจฉัยปัญหาที่สาคัญในการวิเคราะห์นโยบาย แผนงาน หรือโครงการของส่วนราชการ หรือนโยบาย แผนงาน และโครงการทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร หรือความมันคง ในระดับประเทศ เพื่อให้การกาหนดนโยบาย มีประสิทธิภาพสูงสุด (4) พัฒนากระบวนการทางนโยบาย เพื่อให้การวางแผนงาน โครงการ และกิจกรรมเกิดประสิทธิภาพสูงสุด (5) ศึกษา ค้นคว้า วิจัย สั่งสมความรู้หรือผลการศึกษาวิจัย และพัฒนาศักยภาพของใต้บังคับบัญชา เพื่อให้เกิด การพัฒนาองค์ความรู้อย่างต่อเนื่องและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาสามารถปฏิบัติงานได้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของส่วนราชการ และมีประสิทธิภาพสูงสุด 2. ด้านการวางแผน วางแผนหรือร่วมดาเนินการวางแผนหรือให้คาปรึกษาแนะนาในการวางแผน โดยเชื่อมโยงหรือบูรณาการ แผนงาน โครงการในระดับกลยุทธ์ของส่วนราชการระดับกระทรวง ติดตามประเมินผลภาพรวม เพื่อให้บรรลุตามเป้าหมาย ผลสัมฤทธิ์ที่กาหนด
3. ด้านการประสานงาน (1) ประสานการทางานภายในกรมกระทรวงหรือองค์กรอื่นทั้งในและต่างประเทศ โดยมีบทบาทในการเจรจา โน้มน้าว เพื่อให้เกิดความร่วมมือและผลสัมฤทธิ์ตามที่กาหนดไว้ (2) ให้ข้อคิดเห็น และคาแนะนา แก่หน่วยงานระดับกรม กระทรวงรวมทั้งที่ประชุมทั้งในและต่างประเทศเพื่อ เป็นประโยชน์และเกิดความร่วมมือในการดาเนินงานร่วมกัน 4. ด้านการบริการ (1) กากับดูแลการจัดทาฐานข้อมูลหรือระบบสารสนเทศในงานวิเคราะห์นโยบาย และแผนเพื่อให้สอดคล้อง และสนับสนุนภารกิจของส่วนราชการ และใช้ประกอบการพิจารณากาหนดนโยบาย แผนงาน หลักเกณฑ์ มาตรการต่างๆ (2) อานวยการฝึกอบรม และให้คาปรึกษาแนะนา ในการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานราชการ เอกชน หรือ ประชาชนทั่วไป เกี่ยวกับแผนงานและนโยบายสาคัญ เพื่อให้ผู้สนใจได้ทราบข้อมูลความรู้ และสามารถนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ได้ คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งนักวิเคราะห์นโยบายและแผน ระดับปฏิบัติการ 2. เคยดารงตาแหน่งประเภทวิชาการ ระดับเชี่ยวชาญ มาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี หรือดารงตาแหน่งอย่างอื่นที่ เทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ก.พ. กาหนด โดยจะต้องปฏิบัติงานวิเคราะห์นโยบายและแผนหรืองานอื่นที่ เกี่ยวข้องตามที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแล้วไม่น้อยกวา 1 ปี ความร้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะทีจาเป็นสาหรับตาแหน่ง ู 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
-11-
มาตรฐานกาหนดตาแหน่ง ตาแหน่งประเภททั่วไป สายงานธุรการ ก.พ. กาหนดวันที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551 ตาแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตาแหน่งในสายงาน ระดับตาแหน่ง
ทั่วไป ปฏิบัติงานธุรการ เจ้าพนักงานธุรการ ปฏิบัติงาน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้นซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา ปฏิบัติงาน ด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจนภายใต้การกากับแนะนา ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่าง หนังสือ โต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่างๆ ดาเนินไปได้ โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐาน ตรวจสอบได้ (2) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติ เพื่อสะดวกต่อ การค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ (3) ดาเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสานักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้ งานและอยู่ใน สภาพพร้อมใช้งาน (4) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่างๆ นาเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนาไปใช้เสนอแนะ และปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป 2. ด้านการบริการ (1) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น (2) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนาไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป (3) ผลิตเอกสารต่างๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน และปฏิบัติ หน้าที่อื่น ที่เกี่ยวข้องตามที่ได้รับมอบหมาย
-12คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง มีคุณวุฒิอย่างใดอย่างหนึ่งดังต่อไปนี้ 1. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ในสาขาวิชา หรือทาง ที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 2. ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ใน สาขาวิชา หรือทาง ที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 3.ได้รับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่เทียบได้ในระดับเดียวกัน ใน สาขาวิชา หรือทาง ที่ส่วนราชการเจ้าสังกัดเห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติ 4. ได้รับประกาศนียบัตรหรือคุณวุฒิอย่างอื่นที่ ก.พ. กาหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสาหรับ ตาแหน่งนี้ได้ ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง ตาแหน่งประเภท ชื่อสายงาน ชื่อตาแหน่งในสายงาน ระดับตาแหน่ง
ทั่วไป ปฏิบัติงานธุรการ เจ้าพนักงานธุรการ ชานาญงาน
หน้าที่ความรับผิดชอบหลัก ปฏิบัติงานในฐานะหัวหน้างาน ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา โดยต้อง กากับ แนะนา ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ร่วมปฏิบัติงาน โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ปัญหา ที่ค่อนข้างยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย หรือ ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานที่มีประสบการณ์ ซึ่งไม่จาเป็นต้องใช้ผู้สาเร็จการศึกษาระดับ ปริญญา โดยใช้ความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความชานาญงานด้านธุรการหรือบริการทั่วไป ปฏิบัติงานที่ต้องตัดสินใจหรือแก้ไขปัญหาที่ ค่อนข้างยาก และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ด้านการปฏิบัติการ (1) วางแผนการปฏิบัติงานในความรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินงานเป็นไปตามเป้าหมายที่กาหนด (2) มอบหมายงาน ปฏิบัติงานเกี่ยวกับงานธุรการ งานสารบรรณ งานบันทึกข้อมูลและ งานบริการ ทั่วไป เพื่อให้การดาเนินงานได้ผลตรงตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ (3) จัดทาแผนการจัดซื้อ จัดหา รายงานพัสดุครุภัณฑ์ประจาปี การขออนุมัติให้ความ เห็นชอบในการ จัดซื้อจัดหาพัสดุครุภัณฑ์ เพื่อให้มีอุปกรณ์ไว้ใช้งานที่มีคุณภาพและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
-13(4) รวบรวมข้อมูล สรุปความเห็น และรายงาน การปฏิบัติงานเพื่อจัดทารายงานและ นาเสนอ ผู้บังคับบัญชาในหน่วยงาน (5) จัดเตรียมการประชุม บันทึกการประชุม และจัดทารายงานการประชุมเพื่อให้การ ประชุมเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย และมีหลักฐานในการประชุม (6) ควบคุมการเบิกจ่าย การลงทะเบียนรับ – จ่าย งานพัสดุครุภัณฑ์ งานยานพาหนะและ สถานที่ เพื่อควบคุมการใช้การเบิกจ่ายให้มีประสิทธิภาพ (7) จัดทาทะเบียนเอกสาร หลักฐานเกี่ยวกับบุคลากร เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ ค้นหาและ นาไปใช้ประโยชน์ 2. ด้านการกากับดูแล (1) ควบคุม ตรวจสอบการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อให้การทางานเป็นไป อย่างมี ประสิทธิภาพ (2) ให้คาแนะนาแก้ปัญหาข้อขัดข้องในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ระดับรองลงมา เพื่อให้การ ปฏิบัติงานเป็นไปอย่างต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการบริการ (1) ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความ สะดวก รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ (2) บริการข้อมูล ตอบปัญหาหรือชี้แจงเรื่องต่างๆที่เกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบแก่ ผู้บังคับบัญชา บุคคล หรือหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนงานต่างๆให้บรรลุภารกิจที่กาหนดไว้ คุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่ง 1. มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ ระดับปฏิบัติงาน และ 2. เคยดารงตาแหน่งประเภททั่วไป ระดับปฏิบัติงาน มาแล้วไม่น้อยกว่า 6 ปี กาหนดเวลา 6 ปี ให้ ลดเป็น 5 ปี สาหรับผู้มีคุณสมบัติเฉพาะสาหรับตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ ระดับปฏิบัติงาน ข้อ 2 หรือข้อ 4 ที่เทียบได้ไม่ต่า กว่าประกาศนียบัตรวิชาชีพเทคนิคและให้ลดเป็น 4 ปี สาหรับผู้มีคุณสมบัติ เฉพาะสาหรับตาแหน่งเจ้าพนักงานธุรการ ระดับ ปฏิบัติงาน ข้อ 3 หรือข้อ 4 ที่เทียบได้ไม่ต่ากว่า ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง หรือดารงตาแหน่งอย่างอื่นที่เทียบได้ไม่ต่ากว่านี้ ตามหลักเกณฑ์และ เงื่อนไขที่ ก.พ. กาหนด โดยจะต้องปฏิบัติงานธุรการ หรืองานอื่นที่เกี่ยวข้องตามที่ส่วนราชการเจ้าสังกัด เห็นว่าเหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบและลักษณะงานที่ปฏิบัติมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 ปี ความรู้ความสามารถ ทักษะ และสมรรถนะที่จาเป็นสาหรับตาแหน่ง 1. ความรู้ความสามารถที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 2. ทักษะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง 3. สมรรถนะที่จาเป็นสาหรับการปฏิบัติงานในตาแหน่ง
บรรณานุกรม คณะครุศาสตร์ , มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์. ( 2553). การบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย . สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั ้นพื ้นฐาน . (2553). คู่มือการปฏิบตั ิงานสานักงานเขตพื ้นที่การศึกษา, อัดสาเนา. สถาบันพัฒนาข้ าราชการพลเรือน, สานักงาน ก.พ. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์ กรุงเทพฯ : บริษัทอาทิตย์ โพรดักส์ กรุ๊ปจากัด, 2546 สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา . (2553). คู่มือการจัดการความรู้ในองค์กรการศึกษา . กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์และทาปกเจริญผล .
คณะที่ปรึกษาทรงคุณวุฒิ 1.ดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ที่ปรึกษาด้านพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ผู้อานวยการสานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2.รศ.ดร.สมาน ฟูแสง คณบดีคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง 3.นายอุดม พรมแก้วงาม อดีตผู้อานวยการศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนภาคเหนือ ประธานคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 4.ดร.พรสันต์ เลิศวิทยาวิวัฒน์ ผู้อานวยการโรงเรียนมัธยมศาสตร์(สิงคโปร์โมเดล) 5.นางสาวพิมพ์ใจ นิศาวัฒนานันท์ อดีตศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ สพป.ลาปาง เขต 1
คณะที่ปรึกษา 1.นายสมบัติ สุทธิพรมณีวัฒน์ 2.นายชัย ปองเสงี่ยม 3.นายประสิทธิ์ พรมศรี
ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1
เรียบเรียงและจัดทา นางชีวพร สุริยศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ ปฏิบตั ิหน้ าที่ผ้ อู านวยการกลุม่ นโยบายและแผน
จัดทาโดย นางชีวพร สุริยศ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 โทร. 054-335067-9 ,0818817150 E-mail lp1planning@yahoo.co.th Weblog mychiwaphorn.blogspot.com