21st Century EDUCATION
การศึกษา ศตวรรษที่ 21 21st Century EDUCATION
คำนำ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรำยวิชำ กำรนำเสนอกำรจัดกำรฐำนข้อมูลภำษำไทย เพื ่ อ กำรเรี ย นรู ้ (1544610)จั ด ท ำขึ ้ น เพื ่ อ ให้ ผ ู ้ ส นใจได้ ศ ึ ก ษำค้ น คว้ ำ หำควำมรู ้ เ กี ่ ย วกั บ เรื ่ อ ง กำรศึกษำศตวรรษที่ 21 (21st Century EDUCATION) ซึ่งได้แก่ กำรให้กำรศึกษำสำหรับศตวรรษที่ 21 กำรเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที ่ 2 1 ปั จ จั ย สนั บ สนุ น กำรเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที ่ 2 1 มำตรฐำนศตวรรษที ่ 2 1 กำรประเมินด้ำนทักษะในศตวรรษที่21 หลักสูตร และกำรสอนในศตวรรษที่ 21 สภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้ใน ศตวรรษที่21 กระบวนกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทักษะกำรเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 เครื่องมือในกำร พัฒนำกำรเรียนสู่สตวรรษที่21 บทบำทและทักษะของครูกับกำรเรียนกำรสอนในศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะ ของครูในยุคศตวรรษที่21 บทบำทของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ในศตวรรษที่21 เป็นต้น ผู้จัดทำได้เลือกศึกษำในหัวข้อนี้ซึ่งเป็นเรื่องที่น่ำสนใจ จึงได้ทำกำรศึกษษและรวบรวมข้อมูลที่เป็น ประโยชน์ ต่อผู้ที่สนใจหนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้และนำไปศึกษำเพื่อเป็นควำมรู้ เพิ่มเติม หำกผิดพลำด ประกำรใดก็ขออภัยมำ ณ ที่นี้
พิชยา
ล้อมวงษ์ ผู้จัดทา
สารบัญ เรื่อง
หน้า
กำรให้กำรศึกษำสำหรับศตวรรษที่21 กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ปัจจัยสนับสนุนกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่21 มำตรฐำนศตวรรษที่21 กำรประเมินด้ำนทักษะในศตวรรษที่21 หลักสูตร และกำรสอนในศตวรรษที่ 21 สภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่21 กระบวนกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ทักษะกำรเรียนรู้แห่งศตวรรษที่21 เครื่องมือในกำรพัฒนำกำรเรียนสู่สตวรรษที่21 บทบำทและทักษะของครูกับกำรเรียนกำรสอนในศตวรรษที่21 คุณลักษณะของครูในยุคศตวรรษที่21 บทบำทของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่21 สรุปกำรจัดกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บรรณำนุกรม
1 2 3 3 4 4 5 6 13 18 20 21 22 23 24 25
1 การให้การศึกษาสาหรับศตวรรษที่ 21 ในศตวรรษที่ 21 กำรให้กำรศึกษำตำมทฤษฎีกำรเรียนรู้ของบลูม (Bloom´s Taxonomy of Learning) จะเปลี่ยนไป เน้นทักษะกำรเรียนรู้ขั้นที่สูงขึ้น (higher order learning skills) โดยเฉพำะทักษะ กำรประเมินค่ำ (evaluating skills) จะถูกแทนที่โดยทักษะกำรนำเอำควำมรู้ใหม่ไปใช้อย่ำงสร้ำงสรรค์ (ability to use new knowledge in a creative way) ในอดีตที่ผ่ำนมำ นักเรียนไปโรงเรียนเพื่อใช้เวลำใน กำรเรียนรำยวิชำต่ำงๆ เพื่อรับเกรด และเพื่อให้จบกำรศึกษำ แต่ในปัจจุบันจะพบปรำกฏกำรณ์ใหม่ที่ แตกต่ ำ งไป เช่ น กำรเรี ย นกำรสอนที ่ ช ่ ว ยให้ น ั ก เรี ย นได้ เ ตรี ย มตั ว เพื ่ อ ใช้ ช ี ว ิ ต ในโลกที ่ เ ป็ น จริ ง (life in the real world) เน้นกำรศึกษำตลอดชีวิต (lifelong learning) ด้วยวิธีกำรสอนที่มีควำมยืดหยุ่น (flexible in how we teach) มีกำรกระตุ้นและจูงใจให้ผู้เรียนมีควำมเป็นคนเจ้ำควำมคิดเจ้ำปัญญำ (resourceful) ที่ยังคงแสวงหำกำรเรียนรู้แม้จะจบกำรศึกษำออกไป ดังนั้น กำรให้กำรศึกษำสำหรับศตวรรษที่21 ต้องเปลี่ยนแปลงทัศนะ (perspectives) จำกกระบวน ทัศน์แบบดังเดิม (tradition paradigm) ไปสู่กระบวนทัศน์ใหม่ (new paradigm) ที่ให้โลกของนักเรียนและ โลกควำมเป็นจริงเป็นศูนย์กลำงของกระบวนกำรเรียนรู้ เป็นกำรเรียนรู้ที่ไปไกลกว่ำกำรได้รับควำมรู้แบบ ง่ำยๆ ไปสู่กำรเน้นพัฒนำทักษะและทัศ นคติ — ทักษะกำรคิด ทักษะกำรแก้ปัญหำทักษะองค์กำร ทัศนคติ เชิงบวก ควำมเคำรพตนเอง นวัตกรรม ควำมสร้ำงสรรค์ ทักษะกำรสื่อสำร ทักษะและค่ำนิยมทำงเทคโนโลยี ควำมเชื่อมั่นตนเอง ควำมยืดหยุ่น กำรจูงใจตนเอง และควำมตระหนักในสภำพแวดล้อม และเหนืออื่นใด คือ ควำมสำมำรถใช้ควำมรู้อย่ำงสร้ำงสรรค์ (the ability to handle knowledge effectively in order to use it creatively) ถือเป็นทักษะที่สำคัญจำเป็นสำหรับกำรเป็นนักเรียนในศตวรรษที่ 21 ถือเป็นสิ่งที่ท้ำ ทำยในกำรที่จะพัฒนำเรียนเพื่ออนำคต ให้นักเรียนมีทักษะ ทัศนคติค่ำนิยม และบุคลิกภำพส่วนบุคคล เพื่อ เผชิญกับอนำคตด้วยภำพ ในทำงบวก (optimism) ที่มีทั้งควำมสำเร็จและมีควำมสุข
2 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กำรเรียนรูในศตวรรษที่ 21 กำรเรียนรูในศตวรรษที่ 21 ตองปรับจำกเดิมจำกที่เนนกำรเรียนรูจำก ชุดควำมรูที่มีควำมชัดเจน สำมำรถพิสูจนไดเปนกำรเรียนรูอีกชุดหนึ่ง คือควำมรู ที่ไมชัดเจน อำจจะไมแม นยำและมีควำมคลุมเครือ เพื่อให ผูเรียนศึกษำหำคำตอบดวยตนเอง หำกจะใหตีควำม หรือบงชัดลงไปอีกว ำ ทักษะใดที่สำคัญที่สุดสำหรับกำรเรียนรู ในศตวรรษที่ 21 คำตอบคือ แรงบันดำลใจที่จ ะเรียนรู ซึ่งถือเป นหัวใจที่สำคัญที่สุด และสงผำนแรงบันดำลใจเหลำนี้ ไปยังผู อื่นและทำใหเกิดกำรเปลี่ยนแปลง แมวำใน ศตวรรษที่ผำนมำจะใหควำมสำคัญกับกำรอำนออกเขียนได Literacy) แตสำหรับกำรเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ควำมหมำยของค ำว่ำอ่ำนออกเขียนได้ที่เรำคุ้นเคยกันอยู่อำจไม่เพียงพออีกต่อไป และจุดอ่อนของ กำรศึกษำไทย คือ ผู้เรียนไม่ได้ทักษะที่สำคัญต่อชีวิต แต่ได้แค่วิชำเพียงเพื่อเอำไปตอบข้อสอบ แต่ผลเพียง เท่ำนั้นไม่พอ สิ่งที่ครูต้องให้ควำมสำคัญ คือ ต้องสร้ำงให้ลูกศิษย์เกิดควำมเป็นมนุษย์ ทักษะกำรเรียนรู้ และ แรงบันดำลใจ ดังนั้น กำรศึกษำในยุคศตวรรษที่ 21 จึงต้องก้ำวข้ำมผ่ำนคำว่ำทฤษฎีไปสู่กำรปฏิบัติ ถึงแม้ควำมรู้ ที่อยุ่ในกำรปฏิบัตินั้นจะเป็นควำมรู้ที่ไม่ชัดเจน แต่ผู้เรียนเกิดกระบวนกำรกำรเรียนรู้ ซึ่งถือเป็นจุดที่สำคัญ ที่สุด และมีควำมซับซ้อนมำกที่สุดเช่นกัน เพื่อเป็ นกำรเตรียมควำมพร้อมให้กับผู้เรียนสำหรับกำรดำรงชีวิต ในยุคที่เกิดกำรเปลี่ยนแปลง อยู่ตลอดเวลำ
3 ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 องค์ประกอบที่สำคัญและจำเป็นเพื่อในกำรเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21 คือมำตรฐำน ศตวรรษที่ 21 กำรประเมินผลหลักสูตรกำรเรียนกำรสอนกำรพัฒนำอำชีพและสภำพแวดล้อมกำรเรียนรู้ จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนกำรผลิตที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในศตวรรษที่ 21 สำหรับนักเรียนในปัจจุบัน มำตรฐำนศตวรรษที่ 21 - มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีควำมรู้ในเนื้อหำและควำมเชี่ยวชำญ - สร้ำงควำมเข้ำใจระหว่ำงวิชำหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยำกำรศตวรรษที่ี 21 - เน้นควำมเข้ำใจอย่ำงลึกซึ่งมำกกว่ำควำมรู้แบบผิวเผิน - กำรของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งควำมเป็นจริงและพวกเขำจะ พบผู้เชียวชำญในวิทยำลัยหรือในที่ทำงำนและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทำงำนอย่ำงแข็งขัน กำร แก้ปัญหำที่มีควำมหมำย - กำรมีมำตรกำรหลำยๆรูปแบบของกำรเรียนรู้
มาตรฐานศตวรรษที่ 21 - มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีควำมรู้ใน เนื้อหำและควำมเชี่ยวชำญ - สร้ำงควำมเข้ำใจระหว่ำงวิชำหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยำกำรศตวรรษที่ 21 - เน้นควำมเข้ำใจอย่ำงลึกซึ้งมำกกว่ำควำมรู้แบบผิวเผิน - กำรของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งควำมเป็นจริงและพวกเขำจะพบ ผูเ้ ชีย่ วชำญในวิทยำลัยหรือในที่ทำงำนและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทำงำนอย่ำงแข็งขัน กำรแก้ปัญหำที่มีควำมหมำย - กำรมีมำตรกำรหลำยๆรูปแบบของกำรเรียนรู้
4 การประเมินด้านทักษะในศตวรรษที่ 21 - รองรับควำมสมดุลของกำรประเมินรวมทั้งมีคุณภำพสูง กำรทดสอบมำตรฐำนที่มีคุณภำพสูงพร้อมกับกำรประเมินผลในชั้น เรียนที่มีประสิทธิภำพ - เน้นข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในกำรปฏิบัติงำนของ นักเรียนที่ถูกฝังลงในกำรเรียนรู้ในชีวิตประจำวัน - กำรประเมินกำรใช้เทคโนโลยีให้มีควำมสมดุล ควำมชำนำญนักเรียนซึ่งเป็นกำรวัดทักษะใน ศตวรรษที่ 21 - ช่วยให้กำรพัฒนำคุณภำพนักเรียนนักศึกษำที่แสดงให้เห็นกำรเรียนรู้ทักษะในศตวรรษที่ 21 เพื่อ กำรศึกษำและกำรทำงำนในอนำคต - ช่วยให้มำตรกำรกำรประเมินประสิทธิภำพระบบกำรศึกษำในระดับที่สูงประเมินถึงสมรรถนะของ นักเรียนด้ำนทักษะในศตวรรษที่ 21
หลักสูตร และการสอนในศตวรรษที่ 21 - สอนทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่ง แยกกัน ในบริบ ทของวิชำหลักและ รูป แบบสหวิท ยำกำร ใน ศตวรรษที่ 21 -มุ่งเน้นไปที่กำรให้โอกำสสำหรับกำรใช้ทักษะในศตวรรษที่ 21 ในเนื้อหำและวิธีกำรตำม ควำมสำมำรถในกำรเรียนรู้ - ช่วยให้วิธีกำรเรียนรู้นวัตกรรมที่บูรณำกำรกำรใช้เทคโนโลยีสนับสนุนแนวทำงเพิ่มเติมในกำรใช้ ปัญหำเป็นฐำน และทักษะกำรคิดขั้นสูง - สนับสนุนให้รวมทรัพยำกรของชุมชน ภูมิปัญญำ ชำวบ้ำน แหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน
5 สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
- สร้ำงกำรเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่สนับสนุนควำมต้องกำรของมนุษย์และสภำพแวดล้อมทำง กำยภำพ ที่จะสนับสนุนกำรเรียนกำรสอนและกำรเรียนรู้ด้วยทักษะในศตวรรษที่ 21 - สนับสนุนกำรเรียนรู้ชุมชนมืออำชีพที่ให้กำรศึกษำเพื่อกำรทำงำนร่วมกันแบ่งปัน แนวทำงปฏิบัติและบูรณำกำรทักษะในศตวรรษที่ 21 ในกำรปฏิบัติในชั้นเรียน - ช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้ในงำนที่เกี่ยวข้องในโลกศตวรรษที่ 21 แวดล้อมจริง (เช่น ปฏิบัติจริงหรือผ่ำนกำรทำงำนที่ตำมโครงกำรหรืออื่นๆ ) - เรียนรู้กำรใช้เครื่องมือเทคโนโลยีและทรัพยำกรอย่ำงมีคุณภำพ รู้จักกำรทำงำนสำหรับ กำรเรียนรู้เป็นกลุ่มทีมและรำยบุคคล - สนับสนุนกำรติดต่อกับชุมชนและกำรมีส่วนระหว่ำงต่ำงชำติในกำรเรียนรู้โดยตรงและ ออนไลน์ กำรเตรียมควำมพร้อมให้นักเรียนในศตวรรษที่ 21 อำศัยกำรท ำงำนอย่ำงมี ประสิทธิภำพ โดยกำรมีวิสัยทัศน์ พันธกิจและเป้ำหมำยที่ผู้เรียนจะต้องมีควำมรู้ที่จำเป็นในกำร ใช้ชีวิตและท ำงำนอย่ำงมีประสิทธิภำพ มีควำมรู้ และทักษะเพื่ อให้สำมำรถกำรใช้ชีวิต กำรทำงำน ดำรงชีพอยู่ได้กับภำวะเศรษฐกิจในสังคมโลกปัจจุบัน
6 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กำรเรียนรู้ที่แท้จริงอยู่ในโลกจริงหรือชีวิตจริง กำรเรียนวิชำในห้องเรียนยังเป็นกำรเรียนแบบสมมติ “ดังนั้นครูเพื่อศิษย์จึงต้องออกแบบกำรเรียนรู้ให้ศิษย์” ได้เรียนในสภำพที่ใกล้เคียงชีวิตจริงที่สุด ครูเพื่อศิษย์ ต้องเปลี่ยนเป้ำหมำยกำรเรียนรู้ของศิษย์จำกเน้นเรียนวิชำเพื่อได้ควำมรู้ ให้เลยไปสู่กำรพัฒนำทักษะที่ สำคัญต่อชีวิตในยุคใหม่ ย้ำว่ำกำรเรียนรู้ยุคใหม่ ต้องเรียนให้เกิดทักษะเพื่อกำรดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ซึ่งหน้ำที่ของครูเพื่อศิษย์จึงต้องเปลี่ยนจำกเน้น “สอน” หรือสั่งสอนไปทำหน้ำที่จุดประกำยควำมสนใจใฝ่รู้ (inspire) แก่ศิษย์ ให้ศิษย์ได้เรียนจำกกำรลงมือปฏิบัติ (learning by doing) และศิษย์งอกงำมทักษะเพื่อ กำรดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 นี้ จำกกำรลงมือปฏิบัติของตนเป็นทีมร่วมกับเพื่อนนักเรียน และค้นคว้ำหำ ควำมรู้มำกกว่ำตัวควำมรู้ ครูเพื่อศิษย์ต้องเปลี่ยนแนวทำงกำรทำงำนจำกทำโดดเดี่ยว คนเดียว เป็นทำงำน และเรี ย นรู ้ จ ำกกำรท ำหน้ ำ ที ่ ค รู เ ป็น ที ม กระบวนกำรเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที ่ 21 3 ลั ก ษณะ คื อ 1. กระบวนกำรเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ 2. กระบวนกำรเรียนรู้ผ่ำนกำรสื่อสำรอย่ำงสร้ำงสรรค์ 3. กำรเรียนรู้แบบขั้นบันได(IS) 1.กระบวนกำรเรียนรู้แบบลงมือปฏิบัติ เป็นแนวคิดหรือควำมเชื่อที่สนับสนุนให้คนเรำปฏิบัติสิ่ง ต่ำงๆด้วยตนเองตำมควำมสนใจ ตำมควำมถนัดและศักยภำพ ด้วยกำรศึกษำ ค้นคว้ำ ฝึกปฏิบัติ ฝึกทักษะ จนถึงกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง เพรำะเชื่อว่ำหำกคนเรำได้กระทำจะทำให้เกิดควำมเชื่อมั่นเป็นแรงจูงใจให้เกิด กำรใฝ่รู้ ใฝ่เรียน ผู้เรียนจะสนุกสนำนที่จะสืบค้นหำควำมรู้ต่อไป มีควำมสุขที่จะเรียน มีลักษณะดังนี้ 1.1 กำรเรียนรู้ผ่ำนกำรทำงำน (Work-based Learning) กำรเรียนรู้แบบนี้เป็นกำรจัดกำรเรียน กำรสอนที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เกิดพัฒนำกำรทุกด้ำน ไม่ว่ำจะเป็นกำรเรียนรู้เนื้อหำสำระ กำรฝึกปฏิบัติจริง ฝึกฝนทักษะทำงสังคม ทักษะชีวิต ทักษะวิชำชีพกำรพัฒนำทักษะกำรคิดขั้นสูง โดยสถำบันกำรศึกษำมัก ร่วมมือกับแหล่งงำนในชุมชน รับผิดชอบกำรจัดกำรเรียนกำรสอนร่วมกัน ตั้งแต่กำรกำหนดวัตถุประสงค์ กำรกำหนดเนื้อหำกิจกรรม และวิธีกำรประเมิน 1.2 กำรเรียนรู้ผ่ำนโครงงำน (Project-based Learning) กำรเรียนรู้ด้วยโครงงำนเป็นกำรจัดกำร เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญรูปแบบหนึ่ง ที่เป็นกำรให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของกำรศึกษำ ส ำรวจ ค้นคว้ำ ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครู เปลี่ยนบทบำทจำกกำรเป็นผู้ให้ควำมรู้( teacher)เป็นผู้ อำนวยควำมสะดวก (facilitator) หรือผู้ให้คำแนะนำ (guide) ทำหน้ำที่ออกแบบกระบวนกำรเรียนรู้ให้ ผู้เรียนทำงำนเป็นทีม กระตุ้น แนะนำ และให้คำปรึกษำ เพื่อให้โครงกำรส ำเร็จลุล่วง ประโยชน์ของกำร เรียนรู้ด้วยโครงงำน สิ่งที่ผู้เรียนได้รับจำกกำรเรียนรู้ด้วย PBL จึงมิใช่ตัวควำมรู้ (knowledge) หรือวิธีกำร หำควำมรู้ (searching) แต่เป็นทักษะกำรเรียนรู้และนวัตกรรม (learning and innovation skills) ทักษะ ชีวิตและประกอบอำชีพ (Life and Career skills) ทักษะด้ำนข้อมูลข่ำวสำร กำรสื่อสำรและเทคโนโลยี
7 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ) (Information Media and Technology Skills) กำรออกแบบโครงงำนที่ดีจะกระตุ้นให้เกิดกำรค้นคว้ำอย่ำง กระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึกกำรใช้ทักษะกำรคิดเชิงวิพำกษ์และแก้ปัญหำ (critical thinking & problem solving) ทักษะกำรสื่อสำร (communicating) และทักษะกำรสร้ำงควำมร่วมมือ(collaboration)ประโยชน์ที่ ได้สำหรับครูที่นอกจำกจะเป็นกำรพัฒนำคุณภำพด้ำนวิชำชีพแล้ว ยังช่วยให้เกิดกำรทำงำนแบบร่วมมือกับ เพื่อนครูด้วยกัน รวมทั้งโอกำสที่จะได้สร้ำงสัมพันธ์ที่ดีกับนักเรียนด้วย ขั้นตอนที่สาคัญในการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน STEP 1 การเตรียมความพร้อม ครูเตรียมมอบหมำยโครงงำนโดยระบุในแผนกำรสอน ในชั้น เรียนครูอำจกำหนดขอบเขตของโครงงำนอย่ำงกว้ำงๆ ให้สอดคล้องกับรำยวิชำ หรือควำมถนัดของนักเรียน และเตรียมแหล่งเรียนรู้ ข้อมูลตัวอย่ ำง เพื่อเป็นแนวทำงให้นักเรียนได้ศึกษำค้นคว้ำเพิ่มเติม สำมำรถใช้ เว็บไซต์ หรือโปรแกรม moodle ในกำร update ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ และกำรกำหนดนัดหมำยต่ำงๆเกี่ยวกับ กำรดำเนินโครงกำรได้ STEP 2 การคิดและเลือกหัวข้อ ให้นักเรียนเป็นผู้สร้ำงทำงเลือกในกำรออกแบบโครงงำนเอง เพื่อเปิดโอกำสให้รู้จักกำรค้นคว้ำและสร้ำงสรรค์ควำมรู้เชิงนวัตกรรม ครูอำจให้ผู้เรียนทบทวนวรรณกรรมที่ เกี่ยวข้องก่อน เพื่อเป็นแนวทำงในกำรเลือกหัวข้อ กำรทำงำนเป็นทีม กระตุ้นให้เกิด brain storm จะทำให้ เกิดทักษะ ทักษะกำรคิดเชิงวิพำกษ์ ทักษะกำรสื่อสำร และทักษะกำรสร้ำงควำมร่วมมือ STEP 3 การเขียนเค้าโครง กำรเขียนเค้ำโครงของโครงงำน เป็นกำรสร้ำง mind map แสดง แนวคิด แผน และขั้นตอนกำรทำโครงงำน เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องมองเห็นภำระงำน บทบำท และระยะเวลำใน กำรดำเนินงำน ทำให้สำมำรถปฏิบัติโครงงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพมำกขึ้น STEP 4 การปฏิบัติโครงงาน นักเรียนลงมือปฏิบัติตำมแผนที่วำงไว้ในเค้ำโครงของโครงงำน ถ้ำ มีกำรวำงเค้ำโครงเอำไว้แล้ว นักเรียนจะรู้ได้เองว่ำจะต้องทำอะไรในขั้นตอนต่อไป โดยไม่ต้องรอถำมครู ใน ระหว่ำงกำรดำเนินกำรครูผู้สอนอำจมีกำรให้คำปรึกษำอย่ำงใกล้ชิดหรือร่วมแก้ปัญหำไปพร้อมๆกับนักเรียน STEP 5 การนาเสนอโครงงาน นักเรียนสรุปรำยงำนผล โดยกำรเขียนรำยงำน หรือกำรนำเสนอ ในรูปแบบอื่นๆเช่น แผ่นพับ โปสเตอร์จัดนิทรรศกำร รำยงำนหน้ำชั้นส่งงำนทำงเว็บไซต์หรืออีเมล ถ้ำมีกำร ประกวดหรือแข่งขันด้วยจะทำให้นักเรียนเกิดควำมกระตือรือร้นมำกขึ้น STEP 6 การประเมินผลโครงงาน กำรประเมินโครงงำนควรมีกำรประเมินผลกำรเรียนรู้โดย หลำกหลำย เช่น นักเรียนประเมินตนเอง ประเมินซึ่งกันและกัน ประเมินจำกบุคคลภำยนอก กำรประเมินจะ ไม่วัดเฉพำะควำมรู้หรือผลงำนสุดท้ำยเพียงอย่ำงเดียว แต่จะวัดกระบวนกำรที่ได้มำซึ่งผลงำนด้วย กำร ประเมินโดยครูหลำยคนจะเป็นกำรสร้ำงปฏิสัมพันธ์และทำให้เกิดกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่ำงครูด้วยกัน อีกด้วย
8 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ)
1.3 กำรเรียนรู้ผ่ำนกิจกรรม (Activity-based Learning) ในกำรยึดหลักกำรให้ผู้เรียนสร้ำงองค์ ควำมรูด้วยตนเอง “Child Centered” กำรเรียนโดยกำรปฏิบัติจริง Learning by Doing และปฏิบัติเพื่อให้ เกิดกำรเรียนรู้และแก้ปัญหำได้ Doing by Learning จึงถูกนำมำใช้อย่ำงจริงจังในกำรปฏิรูปกำรศึกษำของ ไทย กำรเรียนรู้ชนิดนี้เอง ที่มีผู้ตั้งฉำยำว่ำ “สอนแต่น้อย ให้เรียนมำกๆ Teach less..Learn More” กำร เรียนแบบ Learning by Doing นั้นใช้ “กิจกรรม Activity” เป็นหลักในกำรเรียนกำรสอน โดยกำร “ปฏิบัติ จริง Doing” ในเนื้อหำทุกขั้น ตอนของกำรเรียนรู้ เป็นกำรเรียนรู้ด้วยตนเอง ทุกคนในกลุ่มเป็นผู้ปฏิบัติ คุณครูเป็นพี่เลี้ยงและเทรนเนอร์ แต่กิจกรรมที่นำมำใช้นี้ต้องมีประสิทธิภำพในกำรเรียนรู้เนื้อหำนั้นๆ มี จุดมุ่งหมำย สนุก และน่ำสนใจ ไม่ซ้ำซำกจนก่อให้เกิดควำมเบื่อหน่ำย ดังนั้น คุณครูจึงเป็น “นักออกแบบ กิ จ กรรม Activity Designer” มื อ อำชี พ ที ่ ส ำมำรถ “มองเห็ น ภำพกิ จ กรรม” ได้ ท ั น ที 1.4 กำรเรียนรู้ผ่ำนกำรแก้ปัญหำ (Problem-based Learning) เป็นรูปแบบกำรเรียนอีกรูปแบบ หนึ่งที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลำง และรู้จักกำรทำงำนร่วมกันเป็นทีมของผู้เรียน โดยผู้สอนมีส่วนร่วมน้อยแต่ก็ ท้ำทำยผู้สอนมำกที่สุด กระบวนกำรกำรเรียนรู้โดยใช้ปัญหำเป็นฐำน จะจัดผู้เรียนเป็นกลุ่มย่อย ขนำด ประมำณ 8 -10 คน โดยมี ครูห รือ ผู ้ส อนประจ ำกลุ ่ม 1 คน ท ำหน้ำ ที่ เป็น ผู ้ส นับ สนุน กำรกำรเรี ยนรู้ (facilitator) ประกอบด้วยขั้นตอนต่ำงๆ ดังนี้ 1. เมื่อผู้เรียนได้รับโจทย์ปัญหำ ผู้เรียนจะทำควำมเข้ำใจหรือทำควำมกระจ่ำงในคำศัพท์ที่อยู่ใน โจทย์ปัญหำนั้น เพื่อให้เข้ำใจตรงกัน 2. กำรจับประเด็นข้อมูลที่สำคัญหรือระบุปัญหำในโจทย์ 3. ระดมสมองเพื่อวิเครำะห์ปัญหำ อภิปรำยหำค ำอธิบ ำย แต่ละประเด็นปัญหำว่ำเป็นอย่ำงไร เกิดขึ้นได้อย่ำงไร ควำมเป็นมำอย่ำงไร โดยอำศัยพื้นควำมรู้เดิมเท่ำที่ผู้เรียนมีอยู่ 4. ตั้งสมมติฐำนเพื่อหำตอบปัญหำประเด็นต่ำงๆ พร้อมจัดลำดับควำมส ำคัญของสมมติฐำนที่ เป็นไปได้อย่ำงมีเหตุผล
9 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ) 5. จำกสมมติฐำนที่ตั้งขึ้น ผู้เรียนจะประเมินว่ำเขำมีควำมรู้เรื่องอะไรบ้ำง มีเรื่องอะไรที่ยังไม่รู้หรือ ขำดควำมรู้ และควำมรู้อะไรจำเป็นที่จะต้องใช้เพื่อพิสูจน์สมมติฐำน ซึ่งเชื่อมโยงกับโจทย์ปัญหำที่ได้ ขั้นตอน นี้กลุ่มจะกำหนดประเด็นกำรเรียนรู้ (learning issue) หรือวัตถุประสงค์กำรเรียนรู้ (learning objective) เพื่อจะไปค้นคว้ำหำข้อมูลต่อไป 6. ค้นคว้ำหำข้อมูลและศึกษำเพิ่มเติมจำกทรัพยำกรกำรเรียนรู้ต่ำงๆ เช่น หนังสือตำรำ วำรสำร สื่อกำรเรียนสอนต่ำงๆ กำรศึกษำในห้องปฏิบัติกำร คอมพิวเตอร์ช่วยสอน อินเทอร์เน็ต หรือปรึกษำอำจำรย์ ผู้เชี่ยวชำญในเนื้อหำสำขำเฉพำะ พร้อมทั้งประเมินควำมถูกต้อง 7. นำข้อมูลหรือควำมรู้ที่ได้มำสังเครำะห์ อธิบำย พิสูจน์สมมติฐำนและประยุกต์ให้เหมำะสมกับ โจทย์ปัญหำ พร้อมสรุปเป็นแนวคิดหรือหลักกำรทั่วไป ขั้นตอนที่ 1-5 เป็นขั้นตอนภำยในกระบวนกำรกลุ่มในห้องเรียน ขั้นตอนที่ 6 เป็นกิจกรรมของ ผู้เรียนรำยบุคคลนอกห้องเรียน และขั้นตอนที่ 7 เป็นกิจกรรมที่กลับมำในกระบวนกลุ่มอีกครั้ง 1.5 การเรียนรู้ผ่านกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือวิธีวิจัย (Research-based Learning) กำรเรียนรู้ที่เน้นกำรวิจัยถือได้ว่ำเป็นหัวใจของบัณฑิตศึกษำ เพรำะเป็นกำรเรียนที่เน้นกำรแสวงหำควำมรู้ ด้วยตนเองของผู้เรียนโดยตรง เป็นกำรพัฒนำกระบวนกำรแสวงหำควำมรู้ และกำรทดสอบควำมสำมำรถ ทำงกำรเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ซึ่ง สมหวัง พิธิยำนุวัฒน์ และทัศนีย์ บุญเติม (2540) ได้เสนอรูปแบบ กำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้กำรวิจัยเป็นฐำนไว้ 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. กำรจัดกำรเรียนรู้โดยใช้กระบวนกำรวิจัย คือกำรให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติท ำวิจัยในระดับ ต่ำงๆ เช่น กำรทำกำรทดลองในห้องปฏิบัติกำรวิทยำศำสตร์ กำรศึกษำรำยกรณี (Case Study) กำรทำ โครงงำน กำรทำวิจัยเอกสำร กำรทำวิจัยฉบับจิ๋ว (Baby Research) กำรทำวิทยำนิพนธ์ เป็นต้น 2. กำรสอนโดยให้ผู้เรียนร่วมท ำโครงกำรวิจัยกับ อำจำรย์หรือเป็นผู้ช่วยในโครงกำรวิจัย (Under Study Concept) ในกรณีนี้ผู้สอนต้องเตรียมโครงกำรวิจัยไว้รองรับเพื่อให้ผู้เรียนมีโอกำสได้ทำวิจัย เช่น ร่วมเก็บรวบรวมข้อมูล วิเครำะห์ข้อมูล อย่ำงไรก็ตำมวิธีนี้จะมีข้อเสียที่ผู้เรียนไม่ได้เรียนรู้กระบวนกำร ทำวิจัยครบถ้วนทุกขั้นตอน
10 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ)
3. กำรสอนโดยให้ผู้เรียนศึกษำงำนวิจัย เพื่อเรียนรู้องค์ควำมรู้ หลักกำรและทฤษฎีที่ใช้ในกำรวิจัย เรื่องนั้นๆ วิธีกำรตั้งโจทย์ปัญหำ วิธีกำรแก้ปัญหำ ผลกำรวิจัย และกำรนำผลกำรวิจัยไปใช้และศึกษำต่อไป ทำให้ผู้เรียนเข้ำใจกระบวนกำรทำวิจัยมำกขึ้น 4. กำรสอนโดยใช้ผลกำรวิจัยประกอบกำรสอน เป็นกำรให้ผู้เรียนได้รับรู้ว่ำ ทฤษฎีข้อควำมรู้ใหม่ๆ ในศำสตร์ของตนในปัจจุบันเป็นอย่ำงไร นอกจำกนี้ยังเป็นกำรสร้ำงศรัทธำต่อผู้สอนรวมทั้งทำให้ผู้สอนไม่ เกิดควำมเบื่อหน่ำยที่ต้องสอนเนื้อหำเดิมๆ ทุกปี 2.กระบวนการเรียนรู้ผ่านการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์ เพรำะกำรสื่อสำรเป็นกระบวนกำรส่ง หรือถ่ำยทอดเรื่องรำว ข่ำวสำร ข้อมูล ควำมรู้ เหตุกำรณ์ ต่ำง ๆ จำกผู้สอนยังไปผู้เรียนด้วยวิธีกำรที่ หลำกหลำย ดังนี้ 2.1 กำรฝึกทักษะในกำรฟังอย่ำงลึกซึ้ง(Deep Listening) โดยใช้เทคนิค สุนทรียสนทนำ (Dialogue) เป็นกำรฝึกทักษะกำรฟังอย่ำงลึกซึ้งทำให้รู้จักตนเองมำกขึ้น ฝึกกำรเป็นผู้ฟังที่ดี ฟังผู้อื่นพูด อย่ำงตั้งใจ ฟังให้มำก พูดให้น้อยลง ไม่พูดแทรกขณะอีกฝ่ำยก ำลังพูด ท ำให้ฟังและได้ยินมำกขึ้น เป็ น กระบวนกำรเรียนรู้ที่สำมำรถนำมำปรับใช้ในกำรทำงำนหรือกำรดำรงชีวิตได้เป็นอย่ำงดี 2.2 กำรฝึกทักษะกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยใช้เทคนิค Communities of Practice หรือ CoP ซึ่ง เป็นกำรดึงควำมรู้ที่อยู่ในตัวบุคคลออกมำ เพื่อแลกเปลี่ยนและทำให้เกิดกำรเรียนรู้ 2.3 กำรฝึกทักษะกำรทำงำนเป็นทีม, เรียนรู้แบบกลุ่ม ปฏิบัติงำนกลุ่ม เป็นวิธีสอนที่ครูมอบหมำย ให้นักเรียนทำงำนร่วมกันเป็นกลุ่ม ร่วมมือกันศึกษำค้นคว้ำหำวิธีกำรแก้ปัญหำหรือปฏิบัติกิจกรรมตำม ควำมสำมำรถ ควำมถนัด หรือควำมสนใจ เป็นกำรฝึกให้นักเรียนทำงำนร่วมกันตำมวิธีแห่งประชำธิปไตย 2.4 กำรฝึกทักษะกำรใช้เทคโนโลยีกำรสื่อสำร ใช้เทคโนโลยีเพื่อวิจัย จัดระบบ ประเมิน และ สื่อสำรสำรสนเทศ ใช้เครื่องมือสื่อสำร เชื่อมโยงเครือข่ำย (คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นมีเดีย ฯลฯ) และ social network อย่ำงถูกต้อง เหมำะสม เพื่อเข้ำถึง (access) จัดกำร (manage) ผสมผสำน (integrate) ประเมิน (evaluate) และสร้ำง(create) สำรสนเทศ เพื่อทำหน้ำที่ในเศรษฐกิจฐำนควำมรู้ปฏิบัติตำมคุณธรรมและ กฎหมำยที่เกี่ยวข้องกับกำรเข้ำถึงและใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ
11 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ)
3. การเรียนรู้แบบขั้นบันได (IS) กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำผู้เรียนให้บรรลุผลตำมที่คำดหวังนั้น มี มำกมำยหลำยวิธี กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบบันได 5 ขั้นก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่น่ำสนใจ ที่ครูสำมำรถน ำไปปรับใช้ใน กระบวนกำรจัดกำรเรียนรู้ตำมบริบทและธรรมชำติของวิชำ โดยเฉพำะกำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มี ขั้นตอนดังนี้ ขั้น L1 กำรตั้งประเด็นคำถำม/สมมติฐำน ( Learning to Question) เป็นกำรฝึกให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งข้อ สงสัย ตั้งคำถำมอย่ำงมีเหตุผลและสร้ำงสรรค์ ขั้น L2 กำรสืบค้นควำมรู้จำกแหล่งเรียนรู้และสำรสนเทศ ( Learning to Search) เป็นกำรฝึกแสวงหำควำมรู้ ข้อมูล และสำรสนเทศ จำกแหล่งเรียนรู้อย่ำงหลำกหลำย เช่น ห้องสมุด อินเตอร์เน็ตหรือจำกกำรปฏิบัติทดลอง เป็นต้น ขั้น L3 กำรสรุปองค์ควำมรู้ (Learning to Construct) เป็นกำรฝึกนำควำมรู้และสำรสนเทศหรือข้อมูลที่ได้จำกกำร อภิปรำย กำรทดลอง มำคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ และสรุปเป็นองค์ควำมรู้ ขั้น L4 กำรสื่อสำรและกำรนำเสนออย่ำงมีประสิทธิภำพ (Learning to Communicate) เป็นกำรฝึกให้ควำมรู้ที่ได้มำ นำเสนอและสื่อสำรอย่ำงมีประสิทธิภำพให้เกิดควำมเข้ำใจ ขั้น L5 กำรบริกำรสังคมและจิตสำธำรณะ (Learning to Serve) เป็นกำรนำควำมรู้สู่กำรปฏิบัติ ซึ่งผู้เรียนจะต้องมี ควำมรู้ในบริบทรอบตัวและบริบทโลกตำมวุฒิภำวะที่เหมำะสม โดยจะนำองค์ควำมรู้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่ำงสร้ำงสรรค์
12 กระบวนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(ต่อ) จะเห็นได้ว่ำ กำรจัดกระบวนกำรเรียนรู้ ครูต้องยึดควำมสมดุล จึงจะส่งผลให้กำรจัดกำรเรียนรู้ สำหรับนักเรียนเกิดประสิทธิภำพและประสิทธิผล เป้ำหมำยกำรเรียนในศตวรรษที่ 21 คือ กำรปูพื้นฐำน ควำมรู้และทักษะสำหรับกำรมีชีวิตที่ดีในภำยหน้ำ ลักษณะของกำรเรียนรู้จึงเป็นสมดุลระหว่ำงคุณลักษณะ ในตำรำงฝั่งซ้ำยและขวำ 15 ประกำร ดังนี้ ขึ้นกับครู/ครูเป็นตัวตั้ง(Teacher-directed) สอน ควำมรู้ เนื้อหำ ทักษะพื้นฐำน ข้อควำมจริงและหลักกำร ทฤษฎี หลักสูตร ช่วงเวลำ เหมือนกันทั้งห้อง (One-size-fits-all) แข่งขัน ห้องเรียน ขึ้นกับครู/ครูเป็นตัวตั้ง(Teacher-directed) ตำมตำรำ สอบควำมรู้ เรียนเพื่อโรงเรียน
เด็กเป็นหลัก (Leaner-centered) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ กระบวนกำร ทักษะประยุกต์ คำถำมและปัญหำ ปฏิบัติ โครงกำร ควำมต้องกำร เหมำะสมรำยบุคคล (Personalized) ร่วมมือ ชุมชนทั่วโลก เด็กเป็นหลัก (Leaner-centered) ใช้เว็บ ทดสอบกำรเรียนรู้ เรียนเพื่อชีวิต
13 ทักษะการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจำรณ์ พำนิช (2555: 16-21) ได้กล่ำวถึงทักษะ เพื่อกำรดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สำระวิชำก็มีควำมสำคัญ แต่ไม่เพียงพอสำหรับกำรเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันกำรเรียนรู้สำระวิชำ (content หรือ subject matter) ควรเป็นกำรเรียนจำกกำรค้นคว้ำเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนำ และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสำมำรถประเมินควำมก้ำวหน้ำของ กำรเรียนรู้ของตนเองได้ สำระวิชำหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภำษำแม่ และภำษำสำคัญของโลก ศิลปะ คณิตศำสตร์ กำรปกครองและหน้ำที่พลเมือง เศรษฐศำสตร์ วิทยำศำสตร์ ภูมิศำสตร์ ประวัติศำสตร์ โดยวิชำแกนหลักนี้จะนำมำสู่กำรกำหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศำสตร์สำคัญต่อกำรจัดกำร เรียนรู้ในเนื้อหำเชิงสหวิทยำกำร (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสำหรับศตวรรษที่ 21 โดยกำรส่งเสริมควำม เข้ำใจในเนื้อหำวิชำแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้ำไปในทุกวิชำแกนหลัก
14 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความรู้เกี่ยวกับโลก
(Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy
15 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกำหนด ควำมพร้อมของนักเรียนเข้ำสู่โลกกำรทำงำนที่มีควำมซับซ้อนมำกขึ้นใน ปัจจุบัน ได้แก่ ควำมริเริ่มสร้ำงสรรค์และนวัตกรรม กำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณและกำรแก้ปัญหำ กำรสื่อสำรและกำรร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยใน ปัจจุบันมีกำรเผยแพร่ข้อมูลข่ำวสำรผ่ำนทำงสื่อและเทคโนโลยีมำกมำย ผู้เรียนจึงต้องมีควำมสำมำรถในกำร แสดงทักษะกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณและปฏิบัติงำนได้หลำกหลำย โดยอำศัยควำมรู้ในหลำยด้ำน ดังนี้ ควำมรู้ด้ำนสำรสนเทศ ควำมรู้เกี่ยวกับสื่อ ควำมรู้ด้ำนเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในกำรดำรงชีวิตและทำงำนในยุคปัจจุบันให้ประสบควำมสำเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนำทักษะชีวิตที่สำคัญดังต่อไปนี้ ควำมยืดหยุ่นและกำรปรับตัว กำรริเริ่มสร้ำงสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ำมวัฒนธรรม กำรเป็นผู้สร้ำงหรือผู้ผลิต (Productivity) และควำมรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภำวะผู้นำและควำมรับผิดชอบ (Responsibility)
16 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ต่อ)
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ กำรเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ (R) Reading (อ่ำนออก) (W) Riting (เขียนได้) (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้ำนกำรคิดอย่ำงมีวิจำรณญำณ และทักษะในกำรแก้ปัญหำ) Creativity and Innovation (ทักษะด้ำนกำรสร้ำงสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้ำนควำมเข้ำใจควำมต่ำงวัฒนธรรม ต่ำงกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้ำนควำมร่วมมือ กำรทำงำนเป็นทีม และภำวะผู้นำ) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้ำนกำรสื่อสำรสำรสนเทศ และรู้เท่ำทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้ำนคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสำรสนเทศและกำรสื่อสำร) Career and Learning Skills (ทักษะอำชีพ และทักษะกำรเรียนรู้)
17 ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (ต่อ) แนวคิดทักษะแห่งอนำคตใหม่: กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อกำรเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นกำรก ำหนดแนวทำงยุทธศำสตร์ในกำรจัดกำรเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้ำงรูปแบบและแนวปฏิบัติในกำรเสริมสร้ำงประสิทธิภำพของกำรจัดกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ควำมรู้ ทักษะ ควำมเชี่ยวชำญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในกำรดำรงชีวิตใน สังคมแห่งควำมเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้ำงถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนำมำจำกเครือข่ำยองค์ กร ควำมร่วมมือเพื่อทักษะแห่งกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่ำ เครือข่ำย P21 ซึ่งได้พัฒนำกรอบแนวคิดเพื่อกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสำนองค์ควำมรู้ ทักษะเฉพำะด้ำน ควำมชำนำญกำรและควำมรู้เท่ำทันด้ำนต่ำงๆ เข้ำด้วยกัน เพื่อ ควำมสำเร็จของผู้เรียนทั้งด้ำนกำรทำงำนและกำรดำเนินชีวิต
ภาพ กรอบแนวคิด“กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21” กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สำหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในกำรสร้ำงทักษะกำร เรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นที่ยอมรับ อย่ำงกว้ำงขวำงเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้ำน ควำมรู้สำระวิชำหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมควำมพร้อม ในหลำกหลำยด้ำน รวมทั้งระบบสนับสนุนกำรเรียนรู้ ได้แก่มำตรฐำนและกำรประเมิน หลักสูตรและกำรเยน กำรสอน กำรพัฒนำครู สภำพแวดล้อมที่เหมำะสมต่อกำรเรียนในศตวรรษที่ 21
18 เครื่องมือในการพัฒนาการเรียนสู่สตวรรษที่ 21
ครูเพื่อศิษย์ต้องฝึกฝนตนเองให้มีทักษะในกำรเป็นโค้ช และเป็น “คุณอำนวย” (facilitator) ในกำร เรียนรู้แบบ PBL (Project-Based Learning) ของศิษย์ ขอย้ำว่ำครูต้องเลิกเป็น “ผู้สอน” ผันตัวเองมำเป็น โค้ช หรือ “คุณ อำนวย” ของกำรเรียนของศิษย์ที่ส่วนใหญ่เรียนแบบ PBL นั่นหมำยถึง โรงเรียนในศตวรรษที่ 21 ต้องเลิกเน้นสอน หันมำเน้นเรียน ซึง่ ต้องเน้นทั้ง กำรเรียนของศิษย์และของครู ครูจะต้องปรับตัวมำกซึ่ง เป็นเรื่ืองยำก จึงต้องมีตัวช่วย คือ Professional Learning Communities (PLC) ซึง่ ก็คือ กำรรวมตัวกัน ของ ครูประจำกำรเพื่อแลกเ เปลี่ยนเรียนรู้ประสบกำรณ์กำรทำหน้ำที่ครูนั่น เอง ริชำร์ด ดูฟูร์ (Richard Du Four) เป็น “บิดำของ PLC” ตำม หนังสือเล่มนี้เขำบอกว่ำเขำเริ่มทำ งำนวิจัยพัฒนำและส่งเสริม PLC มำ134 วิถีสร้ำงกำรเรียนรู้เพื่ ืือศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 ตั้งแต่ คศ. 1998 คือ พ.ศ. 2541 ก่อนผมทำงำนเรื่องกำรจัดกำรควำมรู้ (KM) 5ปี คือผมทำงำน KM ปี พ.ศ.2546 ที่จับ 2 เรื่องนี้โยงเข้ำหำกัน ก็เพรำะ PLC (Professional Learning Community) ก็คือ CoP (Community of Practice)ของครูนั่น เอง และ CoP คือรูปแบบหนึ่ งของ KM PLC คืออะไร PLC (Professional Learning Communities) คือ : กระบวนกำรต่อเนื่องที่ครูและ นักกำรศึกษำทำงำนร่วมกัน ในวงจรของกำรร่วมกันตั้งคำถำม และกำรทำวิจัยเชิงปฏิบัติกำร เพื่อบรรลุ ผล กำรเรียนรู้ที่ดีขึ้นนของนักเรียน โดยมีควำมเชื่อว่ำ หัวใจของกำรพัฒนำ กำรเรียนรู้ของนักเรียนให้ดีขึ้ น อยู่ที่ กำรเรียนรู้ที่ ฝังอยู่ในกำรทำงำนของครู และนักกำรศึกษำ PLC เป็นกิจกรรมที่ซับซ้อน (complex) มี หลำกหลำยองค์ประกอบ จึงต้องนิยำมจำกหลำยมุม โดยมีแง่มุมที่สำคัญต่อไปนี้ เน้นที่กำรเรียนรู้ มีวัฒนธรรมร่วมมือกันพื่อกำรเรียนรู้ของทุกคน ทุก ฝ่ำย ร่วมกันตัองคำถำมต่อวิธีกำรที่ดี และตัองคำถำมต่อ สภำพปัจจุบัน เน้นกำรลงมือทำ มุ่งพัฒนำต่อเนื่ือง เน้นที่ผล (หมำยถึง ผลสัมฤทธิ์ในกำรเรียนรู้ของศิษย์)
19 เครื่องมือในการพัฒนาการเรียนสู่สตวรรษที่ 21(ต่อ )
หัวใจสำคัญที่สุดของ PLC คือ เป็นเครื่องมือในกำรดำรงชีวิตที่ดีของครู ในยุค ศตวรรษที่ 21 กำรเรียนรู้ในโรงเรียน (และมหำวิทยำลัย) ต้องเปลี่ยนไปจำก เดิมโดยสิ้นเชิง ครูต้องเปลี่ยนบทบำทจำก“ครูสอน” (teacher) มำ เป็ น “ครูฝึ ก” (coach) หรือครูผู้อำนวยควำมสะดวกในกำรเรียน (learning facilitator) ห้องเรียนต้องเปลี่ยนจำกห้องสอน (class room) มำเป็นห้อง ทำงำน (studio) เพรำะในเวลำเรียนส่วนใหญ่ นักเรียนจะเรียนเป็นกลุ่ม และ ทำงำนร่วมกันที่เรียกว่ำ กำร เรียนแบบโครงกำร (Project-Based Learning) กำรศึกษำต้องเปลี่ยนจำกเน้นกำรสอน (ของครู) มำเป็นเน้นกำรเรียน (ของนักเรียน) เปลี่ยนจำก เน้นกำรเรียนของปัจเจก (Individual Learning) มำเป็นเรียนร่วมกันเป็นกลุ่ม (Team Learning) เปลี่ยน จำกกำรเรียนแบบ เน้นกำรแข่งขันมำเป็นเน้นควำมร่วมมือหรือช่วยเหลือแบ่งปันกัน ครูเปลี่ยนจำกกำรบอก เนื้อหำสำระ มำเป็นทำหน้ำ ที่สร้ำงแรง บันดำลใจ สร้ำงควำมท้ำทำย ควำมสนุกในกำรเรียนให้แก่ศิษย์ โดย เน้น ออกแบบโครงกำรให้นักเรียนแบ่งกลุ่มกันลงมือทำเพื่อเรียนรู้จำกกำรลงมือ ทำ (Learning by Doing) เพื่อให้ได้เรียนรู้ฝึกฝนทักษะเพื่อกำรดำรงชีพใน ศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) แล้วครูชวนศิษย์ ร่วมกันทบทวน ไตร่ตรอง (reflection หรือ AAR) เพื่อให้เกิดกำรเรียนรู้หรือทักษะที่ ลึกและเชื่อมโยงรวมทั้ง โยงประสบกำรณ์ตรงเข้ำกับทฤษฎีที่มีคนเผยแพร่ไว้แล้ว ทำให้เกิดกำรเรียนรู้เชิงทฤษฎีจำกกำรปฏิบัติ ไม่ใช่ จำกกำรฟังและท่องบ่น PLC คือเครื่องมือที่จะช่วยนำไปสู่กำรตั้งโจทย์และทำ “วิจัยในชั้นเรียน” ที่ทรงพลังสร้ำงสรรค์จะ ช่วยกำรออกแบบวิธีวิทยำ กำรวิจัย กำรเก็บข้อมูล กำรวิเครำะห์ข้อมูลผลกำรวิจัย และกำรสังเครำะห์ออกมำ เป็นควำมรู้ใหม่ ที่เชื่อมโยงกับบริบทควำมเป็นจริงของสังคมไทย ของวงกำรศึกษำไทย คือจะเป็นผลกำรวิจัย ในชั้นเรียนที่ไม่ใช่จำกัดอยู่ เฉพำะข้อมูลในชั้นเรียนเท่ำนั้น แต่จะเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงของผู้คนที่เป็น บริบท ของกำรเรียนรู้ของนักเรียนและกำรทำหน้ำที่ครูด้วย PLC ที่แท้จริงต้องมีกำรทำอย่ำงเป็นระบบ มีผู้เข้ำร่วม ขับเคลื่อน ในหลำกหลำยบทบำท โดยมีเป้ำหมำยเพื่อพัฒนำผลสัมฤทธิ์ของกำรเรียนของศิษย์
20
บทบาทและทักษะของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
กำรเรียนกำรสอนในศตวรรษที่ 21 “ครู” ต้องเปลี่ยนบทบำทเป็น “โค้ช ” ด้วย เนื่องจำกในปัจจุบัน ควำมรู้มีมำก ครูจะจัดกำรอย่ำงไรเพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ให้หมด ผลวิจัยแนะนำว่ำ ให้สอนเฉพำะที่สำคัญ ๆ ผู้เรียนสำมำรถนำควำมรู้นั้นไปบูรณำกำรและต่อยอดได้ ส่วนควำมรู้ที่ไม่ได้สอน ผู้เรียนจะเรียนรู้ได้เอง สิ่ง สำคัญในกำรเรียนกำรสอนในทศวรรษที่ 21 คือ ต้องเปลี่ยนวิธีกำรของกำรศึกษำ คือเปลี่ยนเป้ำหมำยจำก “ให้ควำมรู้” ไปสู่ “ให้ทักษะ”เปลี่ยนจำก “ครูเป็นหลัก” เป็น “ผู้เรียนเป็นหลัก” (วิจำรณ์ พำนิช, 2556) ครูแห่งศตวรรษที่ 21 ไม่ได้เป็นผู้ให้ควำมรู้แต่ต้องช่วยแก้ไขควำมรู้ผิดๆ ของผู้เรียน เนื่องจำกสังคม เปลี่ยนทำให้ผู้เรียนเปลี่ยน ผู้เรียนสมัยนี้ไม่ได้เรียนควำมรู้และข้อมูลสำคัญเฉพำะจำกโรงเรียนอีกต่อไป หรือ กล่ำวได้ว่ำสมัยนี้ผเู้ รียนรับควำมรู้จำกโรงเรียน เป้นแหล่งรองไม่ใช่แหล่งหลัก คือ กำรรับจำกสังคมโดยรอบ โดยเฉพำะจำกสื่อมวลชน แอินเทอร์เน็ต ควำมรู้จำกแหล่งต่ำงๆ นอกโรงเรียนนั้น ผู้เรียนรับมำอย่ำงถูกต้อง บ้ำง รับมำแบบเข้ำใจผิดบ้ำง (วิจำรณ์ พำนิช, 2556) ในทำนองเดียวกัน ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2540) มี ควำมเชื่อมั่นว่ำ ควำมรู้เกิดจำกกำรสร้ำงขึ้นโดยตัวผู้เรียน ครูตอ้งมีบทบำทในกำรจัดกำรศึกษำ ประกอบ ด้วยกำรจัดโอกำสให้ผเู้ รียนได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมสร้ำงสรรค์ กำรคิดของผู้เรียนสอดคล้องกับควำมจำเป็น ควำมต้องกำร และควำมเป็นไปได้ในปัจจุบันของพวกเขำ กำรให้กำรศึกษำจึงต้องคำนึงถึงกำรคิดของ ผู้เรียนในแต่ละขั้นตอนของกำรพัฒนำควำมรู้ และโลกของผู้เรียนจะถูกสร้ำงขึ้น และสร้ำงใหม่ไปเรื่อยๆ ตำมประสบกำรณ์ส่วนตัวของเขำ ครูต้องใช้กำร “เล่นเพื่อรู้” เป็นวิธีกำรสำคัญในกำรพัฒนำผู้เรียน บทบาทของครูในยุคศตวรรษที่ 21 ๑. ครูเป็นผู้อำนวยควำมสะดวก(facilitator) ๒. ครูเป็นผู้แนะแนวทำง (guide/coach) ๓. ครูเป็นผู้ร่วมเรียน/ผู้รวมศึกษำ (colearning/co-investigator)
21
คุณลักษณะของครูในยุคศตวรรษที่ 21 หรือเรียกว่า e-Teacher
ประกอบด้วย 9 คุณลักษณะที่ครูพึงปฏิบัติมี ดังนี้ 1. Experience คือ มีประสบกำรณ์กำรเรียนรู้แบบใหม่ ใช้เครื่องมือต่ำงๆ เช่น Internet , e-Mail กำรใช้ CD 2. Extended คือ มีทักษะกำรค้นหำควำมรู้ได้ตลอดเวลำ เพรำะ เทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต สำมำรถ ใช้ได้ตลอด 24 ชั่วโมง ที่ไหนก็ได้ ใช้เวลำว่ำงให้เป็นประโยชน์ในกำรหำควำมรู้ด้วยเทคโนโลยี 3. Expanded คือ กำรขยำยผลของควำมรู้นั้นสู่นักเรียน ประชำชนทั่วไป และชุมชน สำมำรถ ถ่ำยทอดควำมรู้ลง CD , VDO โทรทัศน์หรือบน Web เพื่อให้เกิดหำรเพิ่มควำมรู้ที่เป็นประโยชน์ของ บุคลำกรโดยรวม 4. Exploration คือ สำมำรถเลือกเนื้อหำที่ทันสมัย เอกสำรอ้ำงอิง ค้นคว้ำทั้งสำระและบันเทิง เพื่อให้เกิดควำมคิดสร้ำงสรรค์ เพื่อนำมำออกแบบกำรเรียนกำรสอน 5. Evaluation คือ เป็นนักประเมินที่ดี สำมำรถใช้เทคโนโลยีในกำรประเมินผล 6. End-User คือ เป็นผู้ใช้ปลำยทำงที่ดี เช่น สำมำรถ Browse ไป Web Site ที่มีคุณค่ำบน อินเทอร์เน็ตและเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้อย่ำงหลำกหลำย 7. Enabler คือ สำมำรถใช้เทคโนโลยีสร้ำงบทเรียนและเนื้อหำเพิ่มเติมมำใช้ในกำรประกอบกำร เรียนกำรสอน สำมำรถใช้ซอฟต์แวร์และฮำร์ดแวร์มำสร้ำงบทเรียน อย่ำงน้อยที่สุดก็สำมำรถสร้ำงกำร นำเสนอเนื้อหำด้วย Power Point เป็นกำรจูงใจให้นักเรียนสนใจในกำรเรียนมำกขึ้น หรือกำรใช้ Authoring tool ต่ำงๆ มำสร้ำงบทเรียนในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 8. Engagement คือ ครูท ี่ร่วมมือกันแลกเปลี่ยน ควำมเห็น หำแนวร่วม เพื่อให้เกิดชุมชน เช่น กำรคุยกันบน Web ทำให้มีควำมคิดใหม่ๆ มีข้อเสนอแนะ เกิดชุมชนครู บน Web 9. Efficient and Effective คือ ครูที่มีประสิทธิภำพ และประสิทธิผล จะต้องเป็นผู้ใช้เทคโนโลยีได้อย่ำงคล่องแคล่ว เป็นผู้ผลิต ผู้กระจำย และผู้ใช้ควำมรู้
22
บทบาทของผู้เรียนในยุคศตวรรษที่ 21
1. ควำมสำมำรถในกำรสื่อสำร คือควำมรู้สึกและทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่ำวสำร และประสบกำรณ์อัน จะเป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำตนเองและสังคม รวมทั้งกำรเจรจำต่อรอง เพื่อขจัดและ ลดปัญหำควำมขัดแย้งต่ำง ๆ กำรเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่ำวสำร ด้วยหลักเหตุผ ลและควำมถูกต้อง ตลอดจนกำรเลือกใช้วิธีกำรสื่อสำรที่มีประสิทธิภำพโดยค ำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม ซึ่ง สอดคล้องกับ ICT Literacy 2. ควำมสำมำรถในกำรคิด เป็นควำมสำมำรถใน กำรคิดวิเครำะห์ คิดสังเครำะห์ คิดสร้ำงสรรค์ คิด อย่ำงมีวิจำรณญำณ และกำรคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่กำรสร้ำงองค์ควำมรู้หรือสำรสนเทศเพื่อกำรตัดสินใจ เกี่ยวกับตนเองและสังคม ได้อย่ำงเหมำะสม ซึ่งสอดคล้องกับLearning Thinking Skills 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ เป็นควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและอุปสรรคต่ำง ๆ ที่เผชิญ ได้อย่ำงถูกต้องเหมำะสมบนพื้นฐำนของหลักเหตุผ ล คุณธรรมและข้อมูลสำรสนเทศ เข้ำใจควำมสัมพันธ์ และกำรเปลี่ยนแปลงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ในสังคม แสวงหำควำมรู้ ประยุกต์ควำมรู้มำใช้ในกำรป้องกัน และแก้ไขปัญหำ และมีกำรตัดสินใจที่มีประสิทธิภำพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม สอดคล้องกับ Life skill 4. ควำมสำมำรถในกำรใช้ทักษะชีวิต เป็นควำมสำมำรถในกำรนำกระบวนกำรต่ำง ๆไปใช้ในกำร ดำเนินชีวิตประจำวัน กำรเรียนรู้ด้วยตนเอง กำรเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่อง กำรทำงำน และกำรอยู่ร่วมกันในสังคม ด้วยกำรสร้ำ งเสริมควำมสัมพันธ์อันดีระหว่ำงบุคคล กำรจัดกำรปัญหำและควำมขัด แย้งต่ำง ๆ อย่ำ ง เหมำะสม กำรปรับ ตัวให้ท ันกับกำรเปลี่ยนแปลงของสัง คมและสภำพแวดล้อม และกำรรู้จักหลีกเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น สอดคล้องกับ Life skill 5. ควำมสำมำรถในกำรใช้เทคโนโลยี เป็นควำมสำมำรถในกำรเลือกและใช้ เทคโนโลยีด้ำนต่ำง ๆ และมีทักษะกระบวนกำรทำงเทคโนโลยี เพื่อกำรพัฒนำตนเอง และสั ง คม ในด้ ำ นกำรเรี ย นรู ้ กำรสื ่ อ สำร กำรท ำงำน กำร แก้ปัญหำอย่ำงสร้ำงสรรค์ ถูกต้อง เหมำะสม และมีคุณธรรม สอดคล้องกับ ICT Literacy
23 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ควรมี ดังนี้ 1. เป็นนักคิดวิเครำะห์ 2. เป็นนักแก้ปัญหำ 3. เป็นนักสร้ำงสรรค์ 4. เป็นนักประสำนควำมร่วมมือ 5. รู้จักใช้ข้อมูลและข่ำวสำร 6. เป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง 7. เป็นนักสื่อสำร ครูพูดน้อยและเด็กพูดมำก 8. ตระหนัก รับรู้สภำวะของโลก 9. เป็นพลเมืองทรงคุณค่ำ 10. มีพื้นฐำนควำมรู้เศรษฐกิจและกำรคลัง
24
สรุปการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
กำรจัดกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เน้นให้ทงั้ ผู้เรียนและครูก้ำวเข้ำสู่กำรเรียนรู้ไป พร้อมๆ กัน ผู้ที่ต้องพัฒนำ ไม่ใช่เพียงผู้เรียนเท่ำนั้น แต่รวมไปถึงครูด้วยที่ต้องปรับบทบำทเป็น ครูในศตวรรษที่ 21 โดยกำรไม่ตั้งตนเป็น “ผู้รู้”แต่เป็น “ผู้เรียนรู”้ เรียนไปพร้อมกับผู้เรียน ปรับ กระบวนกำรเรียนกำรสอนเป็น “สอนน้อย เรียนมำก” เรียนรู้จำกกำรปฏิบัติ เรียนรู้จำกชีวิตจริง เรียนรู้จำกควำมซับซ้อนและไม่ชัดเจนของโลกและสังคม รวมไปถึงสร้ำงควำมรู้ขึ้นใช้เองและ ส่งเสริมให้ผู้เรียนสร้ำงควำมรู้ขึ้นใช้เองเช่นกัน ครูต้องพัฒนำและปรับเปลีย่ นบทบำทเป็น “โค้ช” และกำรออกแบบกำรเรียนรู้เพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
25 บรรณานุกรม ธิดำรัตน์ ชมพูชัย.2559.ศตวรรษที่ 21.(ออนไลน์).แหล่งที่มำ: https://nthidarat.wordpress.com/%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%A 3%E0%8%A3%E0%B8%A9%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-21/.วันที่สืบค้น18 พฤศจิกำยน 2559 นวพร ชลำรักษ.2559.บทบำทของครูกับกำรเรียนกำรสอนในศตวรรษที่ 21. (ออนไลน์).แหล่งที่มำ: http://journal.feu.ac.th/pdf/v9i1t2a10.pdf.วันที่สืบค้น 18พฤศจิกำยน 2559 วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรืองและอธิปจิตตฤกษ์ (แปล). ทักษะแห่งอนาคตใหม่ : การศึกษาเพื่อศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ Open Worlds. 2554.วันที่สืบค้น 18พฤศจิกายน 2559 ________.2559.กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.(ออนไลน์).แหล่งที่มำ: http://lripsm.wixsite.com/21st/about_us.วันที่สืบค้น 18พฤศจิกำยน 2559 ________.2559.กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21.(ออนไลน์).แหล่งที่มำ: www.sk1edu.go.th/dta/8939 กำรศึกษำในทศวรรษที่%2021.วันที่สืบค้น 18พฤศจิกำยน 2559. jiraporn_pakorn.2559.ทักษะกำรเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21.(ออนไลน์).แหล่งที่มำ: http://www.vcharkarn.com/varticle/60454.วันที่สืบค้น 18พฤศจิกำยน 2559
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การศึกษาศตวรรษที่ 21 (21st Century EDUCATION)
จัดทาโดย นางสาวพิชยา ล้อมวงษ์ รหัส 5610111250006 สาขาการประถมศึกษา ชั้นปีที่ 4
เสนอ อาจารย์ทรงศักดิ์ สุริโยธิน หนังสืออิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาการนาเสนอ และจัดการฐานข้อมูลภาษาไทยเพื่อการเรียนรู้ (1544610) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร