Annual report 2553

Page 1

รายงานประจำ�ปี

2553

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง Mae Fah Luang University


รายงานประจำ�ปี

2553

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รายงานประจำ�ปี 2553 / มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย มหาวิทยาลัย, 2553 เล่ม: ภาพประกอบ, ตาราง ISBN 978-974-9766-54-5 1. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.--หนังสือรายปี. I. ชื่อเรื่อง. 140 หน้า พิมพ์ครั้งที่: จำ�นวนพิมพ์: ออกแบบ/จัดพิมพ์:

1 1,000 เล่ม ล๊อคอินดีไซน์เวิร์ค 1/19 หมู่บ้านล้านนาวิลล่า หมู่ 5 ตำ�บลช้างเผือก อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 50300 โทรศัพท์/โทรสาร 0 5321 3558

© มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ



ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สารจากนายกสภามหาวิทยาลัย นับตั้งแต่มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้รับการจัดตั้งเป็น มหาวิทยาลัย ในกำ�กับของรัฐ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช 2541 เป็นต้นมา มหาวิทยาลัยได้ มุ่งมั่นดำ�เนินงานภายใต้ปณิธาน ภารกิจ เป้าหมาย และแผนปฏิบัติงาน ที่กำ�หนดไว้ เพื่อก้าวสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยที่มีคุณภาพทั้งทางด้าน การบริหารจัดการและทางด้านวิชาการ โดยให้ความสำ�คัญเป็นอย่างยิง่ กับคุณภาพบัณฑิตซึ่งเป็นผลผลิตของมหาวิทยาลัย ที่จบออกไปพัฒนา สังคมและประเทศชาติ ผลการดำ�เนินงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงในรอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ที่ปรากฏในรายงานประจำ�ปี 2553 ฉบับนี้ ได้แสดงให้เห็น ทั้งความก้าวหน้าของมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ ซึ่งล้วนเป็นผลจากการ ทุ่มเท เสียสละ และบากบั่นมุ่งมั่นของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และ พนักงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงที่ ได้ร่วมมือร่วมใจกันรังสรรค์ สิ่งใหม่ๆ เพื่อพัฒนามหาวิทยาลัยให้เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ในนามของสภามหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง ผมขอขอบคุ ณ ทุ ก ท่ า น ที่ได้ทุ่มเททั้งกำ�ลังกาย กำ�ลังใจ กำ�ลังความคิด และกำ�ลังสติปัญญา เพือ่ พัฒนามหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงให้เป็นสถาบันการศึกษาทีม่ คี ณ ุ ภาพ และเป็นทีย่ อมรับทัง้ ภายในและต่างประเทศ ทัง้ ด้านการสร้างศักยภาพ ของบัณฑิตและการปกป้องและพัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สมกับ เป็นสถาบันการศึกษาที่เป็นแหล่งสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีที่จะ “ปลูกป่า สร้างคน” ให้พี่น้อง ประชาชนและประเทศชาติสืบต่อไป

พลตำ�รวจเอก (เภา สารสิน) นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สารจากประธานกรรมการอำ�นวยการ นับเนื่องจากได้รับการสถาปนาเป็นมหาวิทยาลัยในกำ�กับของรัฐตาม พระราชบัญญัติจัดตั้งเมื่อปีพุทธศักราช 2541 เป็นต้นมา ตลอดระยะ เวลา 12 ปี แห่งการบุกเบิก สร้างสรรค์ และพัฒนามหาวิทยาลัย ภายใต้พระนามแห่งนี้ได้ด�ำ เนินพันธกิจด้วยการบริหารจัดการด้านต่างๆ รวมทั้งได้จัดการศึกษา และพัฒนาสภาพแวดล้อมตลอดจนสิ่งอำ�นวย ความสะดวกที่จำ�เป็นเพื่อให้มีความพร้อมที่จะรองรับการจัดการเรียน การสอนและการใช้ชีวิตของนักศึกษาตลอดจนผู้ปฏิบัติงานภายใน มหาวิทยาลัยแห่งนี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้สามารถสืบสาน พระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี ในการ “ปลูกป่า สร้างคน” มาโดยตลอด ผลจากความเสียสละ ทุ่มเท และมุ่งมั่น บากบั่นของคณะผู้บริหาร คณาจารย์ และพนักงานทุกคน ได้ก่อให้เกิดพัฒนาการที่รวดเร็วใน ปัจจุบัน และได้รับการกล่าวขานถึงความพร้อมทางด้านกายภาพ และ ความมีคณ ุ ภาพและมาตรฐานทางด้านวิชาการทีเ่ ป็นสากล ซึง่ สิง่ เหล่านี้ จะเป็นพลังในการขับเคลื่อนให้ก้าวไปสู่ความเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ� ที่มีความเป็นเลิศทางวิชาการและเป็นขุมพลังทางปัญญาของแผ่นดิน และมวลมนุษยชาติได้อย่างเป็นรูปธรรม ขอแสดงความชื่นชมในความสำ�เร็จของมหาวิทยาลัยด้วยใจจริง และ ขอให้ประชาคมแม่ฟ้าหลวงจงได้ระดมสรรพกำ�ลังเพื่อมุ่งมั่นพัฒนา ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพออกสู่สังคม และเป็นแหล่งค้นคว้าวิจัยเพื่อ พัฒนาองค์ความรู้ใหม่เพื่อนำ�ไปสู่การพัฒนาชาติบ้านเมืองต่อไป

(รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ) ประธานกรรมการอำ�นวยการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สารจากอธิการบดี ในสถานะแห่งความเป็นสถาบันอุดมศึกษาซึ่งมีพันธกิจหลักด้านการ จัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแก่สังคม และทำ�นุ บำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม เพือ่ พัฒนามหาวิทยาลัยแห่งนี้ให้เป็นขุมพลัง ทางปัญญาของสังคม และผลิตบัณฑิตทีถ่ งึ พร้อมด้วยภูมริ แู้ ละภูมธิ รรม รวมถึงสืบสานพระราชปณิธาน “ปลูกป่า สร้างคน” ของสมเด็จพระศรี นครินทราบรมราชชนนี ซึ่งมหาวิทยาลัยได้อัญเชิญพระราชสมัญญา “แม่ฟา้ หลวง” มาเป็นมงคลนามของมหาวิทยาลัยเพือ่ เป็นอนุสรณ์สถาน แห่งความจงรักภักดี คณะผูบ้ ริหาร และพนักงานทุกคน ต่างก็ได้รว่ มมือ ร่วมใจเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน เพื่อบุกเบิก สร้างสรรค์ และพัฒนา มหาวิทยาลัยแห่งนี้ให้เติบโตอย่างมั่นคงในทุกๆ ด้าน รายงานประจำ�ปี 2553 ฉบับนี้ ได้สรุปผลงานของมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ในรอบปีที่ผ่านมาให้เป็นที่ประจักษ์แก่สาธารณชน และแสดงถึงความ ตั้งใจที่จะดำ�เนินการตามภารกิจอย่างมุ่งมั่น และพร้อมจะขับเคลื่อน สถาบันการศึกษาแห่งนี้ให้กา้ วสูค่ วามเป็น “World University” อย่างเต็ม ภาคภูมิ ในนามมหาวิทยาลัย ขอขอบคุณบุคลากรทุกคนที่ได้ร่วมคิด ร่วมสร้าง และร่วมปฏิบตั ภิ ารกิจอย่างเต็มกำ�ลังความสามารถ เสมือนหนึง่ เป็นการ สืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี เพื่อให้มหาวิทยาลัยแห่งนี้เป็นอนุสรณ์สถานแห่งความจงรักภักดีของ ประชาชนชาวไทยตลอดไป

(รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป) อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง



รายงานประจำ�ปี

2553

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

สารบัญ

​สรุปความเป็นมาของมหาวิทยาลัย​แม่​ฟ้า​หลวง​ 1 การดำ�เนินการเพื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 ​ปณิธาน​ ​วิสัย​ทัศน์​ ​ 9 แนวทาง​ใน​การ​ดำ�เนิน​งาน​ 9 ภารกิจ 9 นโยบายตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย 10 วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย 10 คุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์ 10 ​ตรา​สัญลักษณ์​ 11 ​สี​ประจำ�มหาวิทยาลัย 11 ดอกไม้ประจำ�มหาวิทยาลัย 11 ​ลาย​ตุง​ประดับ​บน​ครุย​​บัณฑิต​ 12

​การบริหารและทรัพยากรดำ�เนินงาน การบริหารมหาวิทยาลัย โครงสร้าง​การ​จัดองค์กร งบประมาณ บุคลากร อาคารสถานที่ อุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยี ทรัพยากรสารสนเทศ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์

13 14 15 16 18 20 23 23 25 26 28 28 28

ผลการดำ�เนินงานตามภารกิจ การจัดการศึกษา การรับเข้าศึกษา หลักสูตรที่เปิดสอน จำ�นวนนักศึกษา ผู้สำ�เร็จการศึกษาและภาวะการทำ�งาน การพัฒนานักศึกษา สวัสดิการนักศึกษา ทุนการศึกษา การพัฒนาคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาการเรียนการสอน กิจกรรม 5ส

33 34 34 34 37 44 47 51 52 56 56 57 58

การวิจัย 59 การวิจัยด้านวิชาการ 59 การวิจัยสถาบัน 68 การบริการวิชาการแก่สังคม 69 การบริการวิชาการ 69 การให้บริการข้อมูลข่าวสาร 75 การเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน 76 การทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม 78 ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น 81 ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในประเทศ 81 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ 83

กิจกรรมและผลงานดีเด่น 87 เหตุการณ์ที่สำ�คัญในรอบปี 87 ผลงานดีเด่นของบุคลากร 98 ผลงานดีเด่นของนักศึกษา 101 กิจกรรมภายในของมหาวิทยาลัย 104

รายนามคณะกรรมการและผู้บริหาร 111 รายนามคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย 112 รายนามคณะกรรมการตรวจสอบ 115 และติดตามการดำ�เนินการ รายนามคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย 115 รายนามคณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน 116 รายนามคณะกรรมการการบริหารงานบุคคล 116 รายนามคณะกรรมการอำ�นวยการ 117 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รายนามคณะกรรมการสภาวิชาการ 117 รายนามคณะกรรมการ 120 การประกันคุณภาพการศึกษา รายนามคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย 122 รายนามผู้บริจาคประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 129 คณะผู้จัดทำ�หนังสือรายงานประจำ�ปี 2553

131


มหาวิ ร า ย ง าทน ยาลั ป ร ะ จยำ� แม่ ปี 2ฟ 5 5้า3หลวง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

Mae Fah 1 Luang University

1 สรุปความเป็นมา ของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง


2

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สรุปความเป็นมาของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กำ�เนิดขึ้นจากความต้องการของประชาชนชาวจังหวัดเชียงรายที่ปรารถนาให้มีสถาบัน การศึกษาระดับอุดมศึกษาขึ้นในจังหวัดมาเป็นระยะเวลายาวนาน โดยมีประวัติย้อนหลังไปถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2534 ได้มีการสัมมนาทางวิชาการที่จังหวัดเชียงราย เรื่อง “เชียงรายในทศวรรษหน้า” และผลสรุปที่สำ�คัญ ประการหนึ่งจากการสัมมนา คือ ควรมีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นในจังหวัดเชียงราย เพื่อรองรับการขยายตัวทั้งทาง เศรษฐกิจและสังคมของจังหวัดเชียงรายและภาคเหนือตอนบนโดยรวม นับตั้งแต่การสัมมนาครั้งนั้นเป็นต้นมา ชาวเชียงรายได้รณรงค์เรียกร้องและระดมความคิดเห็นร่วมกันระหว่างภาครัฐ และเอกชน เพื่อให้มีการจัดตั้งสถาบันการศึกษาระดับสูงขึ้นในจังหวัดเชียงราย ดังปรากฏอยู่ ในแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2536-2545 ซึ่งกำ�หนดทิศทางการพัฒนาที่สำ�คัญประการหนึ่ง คือ การศึกษา เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งในจังหวัดเชียงรายและจังหวัดภาคเหนือตอนบน ตลอดจนประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาค ลุ่มแม่นํ้าโขง


3

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การดำ�เนินการเพื่อจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงหลังจากนั้นมีความต่อเนื่องเป็นลำ�ดับ ดังนี้

ปี พ.ศ. 2537 ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการรณรงค์ เพื่อให้มีการจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยตัวแทนจากทุกภาคส่วนของสังคมเชียงราย มีการประชุมเพือ่ รับฟังความคิดเห็นเกีย่ วกับรูปแบบและ วิธดี �ำ เนินการจัดตัง้ มหาวิทยาลัย ซึง่ สรุปได้ในขณะนัน้ ว่า อาจทำ�ได้ 3 แนวทาง คือ จัดตั้งเป็นวิทยาเขตหนึ่งของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ หรือยกฐานะสถาบันราชภัฏ เชียงรายให้เป็นมหาวิทยาลัย หรือจัดตั้งมหาวิทยาลัย ขึ้นใหม่

ในขณะนั้นที่ทำ�เนียบรัฐบาล โดยผู้ว่าราชการจังหวัด ในขณะนั้น (นายคำ�รณ บุญเชิด) เป็นผู้เสนอเหตุผล และความจำ�เป็น ที่ขอจัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้น ที่จังหวัด เชียงรายต่อนายกรัฐมนตรี ซึ่งนายกรัฐมนตรีก็ยินดี ที่ จ ะสนั บ สนุ น และจะนำ � เข้ า หารื อในที่ ป ระชุ ม คณะ รัฐมนตรีตอ่ ไป หลังจากนัน้ คณะกรรมการรณรงค์จดั ตัง้ มหาวิทยาลัยได้เข้าพบนายบุญชู ตรีทอง ซึง่ เป็นรัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย พร้อมทั้งปลัดและรองปลัด ทบวงมหาวิทยาลัย เพือ่ ขอให้สนับสนุนโครงการดังกล่าว

ปี พ.ศ. 2538 คณะกรรมการรณรงค์เพื่อมหาวิทยาลัย ร่ ว มกั บ หน่ ว ยราชการจั ง หวั ด เชี ย งรายได้ ป ระชุ ม ปรึกษาหารือและเห็นพ้องต้องกันว่า หลังจากสมเด็จ พระศรีนครินทราบรมราชนนีเสด็จสวรรคต พระองค์ทรงมี พระมหากรุณาธิคณุ อย่างใหญ่หลวงต่ออาณาประชาราษฎร์ โดยเฉพาะจังหวัดเชียงรายที่ทรงใช้เป็นสถานที่สร้าง พระตำ�หนัก และทรงริเริ่มโครงการพัฒนาดอยตุงขึ้น ซึ่งได้นำ�ความเจริญรุ่งเรืองมายังจังหวัดเชียงรายและ ประเทศชาติอย่างใหญ่หลวง ฉะนั้น เพื่อแสดงความ จงรักภักดีและเป็นอนุสรณ์สถานรำ�ลึกถึงสมเด็จพระ ศรีนครินทราบรมราชชนนี ตลอดจนเพื่อสนองพระราช ปณิธานของพระองค์ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมทั้งการพัฒนาคน จึงได้จัดทำ� โครงการเสนอต่อรัฐบาล ให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยขึ้นที่ จังหวัดเชียงราย

5 มี น าคม พ.ศ. 2539 คณะรั ฐ มนตรี ใ นรั ฐ บาล นายบรรหาร ศิล ปอาชา ได้มีมติเห็นชอบให้ จั ด ตั้ ง สถาบันอุดมศึกษาที่จังหวัดเชียงราย โดยอาจยกฐานะ สถาบันราชภัฏเชียงรายขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยก็ได้ ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นอนุสรณ์แห่งความจงรักภักดีของรัฐบาลและ ประชาชนที่มีต่อสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเพื่ อ สื บ สาน พระราชปณิ ธ านของสมเด็ จ พระศรีนครินทราบรมราชชนนีในการอนุรกั ษ์ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รวมถึงการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ ประชากรในภาคเหนือ โดยเฉพาะอย่างยิ่งของจังหวัด เชี ย งราย และได้ ม อบหมายให้ ท บวงมหาวิ ท ยาลั ย ในขณะนั้นศึกษาและวิเคราะห์ความเป็นไปได้รวมถึง ดำ�เนินการในขั้นตอนต่างๆ ต่อไป

4 มีนาคม พ.ศ. 2539 นายณรงค์ วงศ์วรรณ อดีตรอง นายกรัฐมนตรี ซึ่งเป็นผู้หนึ่งที่มุ่งหวังและสนับสนุนที่จะ ให้มมี หาวิทยาลัยขึน้ ทีจ่ งั หวัดเชียงรายได้เป็นผูป้ ระสาน งานโดยนำ�คณะกรรมการรณรงค์จัดตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร ผู้บริหารท้องถิ่น สมาชิกสภาท้องถิ่น และ สือ่ มวลชนเข้าพบนายบรรหาร ศิลปอาชา นายกรัฐมนตรี

27 เมษายน พ.ศ.2539 ทบวงมหาวิทยาลัยซึง่ ได้ด�ำ เนินการ ศึกษาและวิเคราะห์เกีย่ วกับการยกฐานะสถาบันราชภัฏ เชียงรายขึ้นเป็น มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยสรุป ว่ามีความเป็นไปได้ พร้อมทั้งได้ดำ�เนินการศึกษาเพื่อ กำ�หนดรูปแบบการดำ�เนินงาน ระบบบริหารและระบบ วิชาการของมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงมาตามลำ�ดับ ต่อมา ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ซึ่ ง มี ข้ อ สรุ ป สำ � คั ญ คื อ การยกฐานะสถาบั น ราชภั ฏ เชียงรายขึ้นเป็นมหาวิทยาลัยต่อคณะรัฐมนตรี


4

20 สิงหาคม พ.ศ. 2539 คณะรัฐมนตรีได้มีมติอนุมัติ ในหลักการตามร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว และให้ เสนอคณะกรรมการกฤษฎี ก าพิ จ ารณาตรวจร่ า ง ต่อมาได้มีการยุบสภาผู้แทนราษฎรเป็นผลทำ�ให้ร่าง พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงฉบับนี้ ไม่ได้ รับการพิจารณา 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ทบวงมหาวิทยาลัยได้นำ� เสนอร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง ที่ร่างไว้เดิมต่อที่ประชุมคณะกรรมการกลั่นกรองงาน ฝ่ายสังคมของรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ เพื่อ พิจารณาทบทวน คณะกรรมการฯ ได้มีมติเห็นควรให้มี การจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงขึ้นเป็นมหาวิทยาลัย ที่จัดตั้งใหม่ โดยไม่ยกฐานะสถาบันราชภัฏเชียงราย เป็นมหาวิทยาลัยตามมติเดิม และมอบหมายให้ทบวง มหาวิทยาลัยจัดทำ�ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวงฉบับใหม่เสนอต่อคณะรัฐมนตรี 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ที่ประชุมคณะกรรมการ กลั่ น กรองงานฝ่ า ยสัง คมของรัฐบาล พลเอกชวลิต

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ยงใจยุทธ มีมติเห็นชอบในหลักการตามร่างพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ทบวงมหาวิทยาลัย จัดทำ�ขึ้นใหม่ และให้นำ�เสนอต่อคณะรัฐมนตรี 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 คณะรัฐมนตรีได้มมี ติเห็นชอบ ในหลักการตามร่างพระราชบัญญัตทิ ที่ บวงมหาวิทยาลัย เสนอ และให้ส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณา ตรวจร่าง และดำ�เนินการตามกระบวนการนิติบัญญัติ ต่ อไป นอกจากนี้ ยั ง เห็ น ชอบให้ มี ก ารแต่ ง ตั้ ง คณะ กรรมการจัดตัง้ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง เพือ่ ดำ�เนินการ ต่างๆ ให้เรียบร้อยและเสร็จสิ้นโดยเร็ว 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2540 ทบวงมหาวิทยาลัยมีคำ�สั่ง ที่ 92/2540 แต่งตั้งคณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง โดยมีรองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย เป็นประธาน ให้มีอำ�นาจหน้าที่ ศึกษา วิเคราะห์ และจัดทำ�โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง และพิจารณากำ�หนดที่ตั้งมหาวิทยาลัยให้ เหมาะสม รวมทัง้ ให้แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ เพื่อดำ�เนินการได้ตามความเหมาะสม


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สำ�หรับที่ดินที่ ใช้ก่อสร้างมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงนั้น คณะกรรมการจังหวัดเชียงรายได้จัดเตรียมไว้ 3 แห่ง คือ บริเวณดอยแง่ม อำ�เภอเมืองเชียงราย บริเวณ จอมหมอกแก้ว อำ�เภอแม่ลาว และบริเวณดอยโตน อำ�เภอ เวียงชัย ซึง่ ต่อมานายมนตรี ด่านไพบูลย์ รัฐมนตรีวา่ การ ทบวงมหาวิทยาลัย และรองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ปลัดทบวงมหาวิทยาลัย ร่วมกับคณะกรรมการ จัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้ร่วมกันพิจารณาเลือก พื้นที่ และมีมติเลือกพื้นที่บริเวณดอยแง่ม และจอม หมอกแก้ว เป็นที่ตั้งของมหาวิทยาลัย 7 มีนาคม พ.ศ. 2540 ทบวงมหาวิทยาลัยจัดตัง้ สำ�นักงาน โครงการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง โดยใช้พื้นที่ ทบวงมหาวิ ท ยาลั ย เป็ น ที่ ตั้ ง สำ � นั ก งานชั่ ว คราวของ มหาวิทยาลัย 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 มีการประชุมคณะรัฐมนตรี สัญจรที่จังหวัดเชียงรายซึ่งได้มีมติอนุมัติให้ใช้พื้น ที่ บริเวณดอยแง่ม จำ�นวน 4,997 ไร่ เป็น ที่ตั้งของ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ต่อมาคณะกรรมการของ จังหวัดเชียงรายร่วมกับมูลนิธสิ ง่ เสริมสถาบันอุดมศึกษา จังหวัดเชียงราย ได้รณรงค์หาทุน ทรัพย์เพื่อเป็นค่า ทำ�ถนนเข้ามหาวิทยาลัย และเพื่อชดเชยค่าที่ดิน ที่มี ผู้ถือครองอยู่ในบริเวณนั้นด้วย 26 มีนาคม พ.ศ. 2541 ชาวเชียงรายทุกหมู่เหล่า ข้าราชการ พ่อค้า และประชาชน โดยเฉพาะชาวบ้าน ตำ�บลแม่ข้าวต้ม ตำ�บลนางแล ตำ�บลท่าสุด นับหมื่นคน ได้ ร่ ว มกั น นำ � มี ด พร้ า จอบ เสี ย ม และเครื่ อ งจั ก ร มาบุกเบิกทางเข้ามหาวิทยาลัยบริเวณดอยแง่มเป็น ปฐมฤกษ์ นอกจากนี้ยังได้ร่วมกันปลูกต้นไม้ในบริเวณ มหาวิทยาลัย ในโอกาสวันสำ�คัญต่างๆ หลายครั้ง 19 กันยายน พ.ศ. 2541 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2541

5

25 กันยายน พ.ศ. 2541 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย แม่ ฟ้ า หลวง พ.ศ. 2541 ได้ รั บ การประกาศลงใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนที่ 65 ก ให้มีผล บังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2541 20 ตุลาคม พ.ศ. 2541 นายประจวบ ไชยสาส์น รัฐมนตรี ว่าการทบวงมหาวิทยาลัย ในขณะนั้น ซึ่งดำ�รงตำ�แหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยตามบทเฉพาะกาลในพระราช บัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2541 ได้ลงนาม ในคำ�สั่งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่ 1/2541 แต่งตั้งให้ รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ซึ่งในขณะนั้น ดำ�รงตำ�แหน่งปลัดทบวงมหาวิทยาลัย และเป็นประธาน คณะกรรมการจัดตั้งมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นผู้ รักษาการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปี พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยได้เปิดรับนักศึกษารุน่ แรกใน 2 สาขาวิชา คือ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ�นัก วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาเทคโนโลยี การอาหาร สำ�นักวิชาเทคโนโลยีการเกษตร (ปัจจุบัน คือ สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร)โดยขอความร่วมมือ จากโรงเรี ย นเทศบาล 1 ศรี เ กิ ด เป็ น สถานที่ ส อบ คัดเลือกและสัมภาษณ์นักศึกษารุ่นแรก จำ�นวน 62 คน และขอใช้อาคารโรงเรียนเทศบาล 6 สลากกินแบ่ง รัฐบาล (ปัจจุบันคือ โรงเรียนเทศบาล 6 นครเชียงราย) จากเทศบาลเมื อ งเชี ย งรายเป็ น สถานที่ ทำ � การและ สถานที่ศึกษาชั่วคราว มิถุนายน พ.ศ. 2542 เริ่มการก่อสร้างอาคารที่ทำ�การ ชั่วคราว (อาคารส่วนหน้า) บริเวณดอยแง่ม 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2542 เริ่มการก่อสร้างอาคาร ที่ทำ�การถาวรของมหาวิทยาลัย


6

15 ตุลาคม พ.ศ. 2542 มหาวิทยาลัยย้ายที่ทำ�การ ชั่วคราว จากโรงเรียนเทศบาล 6 สลากกินแบ่งรัฐบาล เข้ามาที่อาคารส่วนหน้าจำ�นวน 12 หลัง ที่ก่อสร้าง แล้วเสร็จ และใช้เป็น ทั้งสำ�นักงานและอาคารเรียน ชั่วคราว ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2542 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2543 พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่ หั ว ฯ ได้ ท รงมี พ ระมหากรุ ณาธิ คุ ณ โปรดเกล้ า ฯ ให้สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เสด็จแทนพระองค์ ทรงวางศิลาฤกษ์ อาคารที่ทำ�การของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 22 มิถุนายน พ.ศ. 2543 พลตำ�รวจเอกเภา สารสิน ได้รับพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ดำ�รงตำ�แหน่ง นายกสภามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2 ตุลาคม พ.ศ. 2544 รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิรชิ นะ ได้รบั พระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้ ให้ดำ�รงตำ�แหน่งอธิการบดี 3 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2547 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณโปรดเกล้าฯ ให้สมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จ พระราชดำ � เนิ น แทนพระองค์ ประกอบพิ ธี เ ปิ ด มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงอย่างเป็น ทางการ และพิธี พระราชทานปริญญาบัตรแก่ผสู้ �ำ เร็จการศึกษา ประจำ�ปี การศึกษา 2545 ซึง่ เป็นบัณฑิตรุน่ แรกของมหาวิทยาลัย รวมทั้ ง ได้ เ สด็ จ พระราชดำ � เนิ น ทรงเปิ ด ศู น ย์ ภ าษา และวัฒนธรรมจีน สิรินธร ยังความปลื้มปีติสำ�นึกใน พระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น 6 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 การก่อสร้างมหาวิทยาลัย เสร็จสิ้นตามโครงการพัฒนากายภาพระยะที่ 1

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

15 ธันวาคม พ.ศ. 2547 สมเด็จพระเจ้าพีน่ างเธอ เจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์เสด็จฯ แทนพระองค์ประกอบพิธีเททองหล่อพระรูปสมเด็จ พระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ได้ ท รงมี พ ระมหากรุ ณ าธิ คุ ณ พระราชทานอนุ ญ าตให้ ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง จั ด สร้ า งพระราชานุ ส าวรี ย์ เ พื่ อ ประดิ ษ ฐานไว้ ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 11 ธันวาคม พ.ศ. 2548 สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์ ทรงเปิดพระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระศรีนคริน ทรา บรมราชชนนี และทรงเปิดอาคารเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินนี าถ ซึง่ ได้รบั พระกรุณาพระราชทาน นามอาคารจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินนี าถ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2549 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนิน มาทรงประกอบพิ ธีเ ททองหล่ อ พระพุ ทธรู ป พระเจ้ า ล้านทองเฉลิมพระเกียรติฯ ซึง่ ได้ทรงมีพระมหากรุณาธิคณุ โปรดเกล้ า ฯ พระราชทานพระราชานุ ญ าตให้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงจัดสร้างขึ้นเนื่องในวโรกาส ที่ทรงเจริญพระชนมายุ 50 พรรษา และต่อมาได้ พระราชทานพระราชานุ ญ าตให้ อั ญ เชิ ญ มาเป็ น พระพุทธรูปประจำ�มหาวิทยาลัย เมือ่ ดำ�เนินการจัดสร้าง แล้วเสร็จมหาวิทยาลัยได้อญ ั เชิญมาประดิษฐานเป็นการ ชั่วคราวและจัดพิธีมหาพุทธาภิเษกครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด ในภาคเหนือ เพือ่ ความเป็นสิรมิ งคลและความศักดิส์ ทิ ธิ์ ระหว่างวันที่ 18-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2550 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารีเสด็จพระราชดำ�เนิน แทนพระองค์ทรงประกอบพิธบี รรจุพระบรมสารีรกิ ธาตุ บนเศียรพระเจ้าล้านทอง เฉลิมพระเกียรติฯ และพิธี ยกช่อฟ้าวิหารพระเจ้าล้านทอง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

28 สิงหาคม พ.ศ. 2552 พระเจ้าวรวงค์เธอ พระองค์เจ้า โสมสวลีพระวรราชาทินดั ดามาตุ ได้มพี ระกรุณาเสด็จฯ เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานคร ที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใช้เป็น สถานที่ศึกษาและฝึกปฏิบัติของนักศึกษา สำ�นักวิชา เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ พร้อมให้บริการ ตรวจรั ก ษาผู้ ป่ ว ยด้ า นเวชศาสตร์ ผิ ว พรรณและ เวชศาสตร์ชะลอวัย

7

นับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเป็นต้นมา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้มีพัฒนาการทั้งทางกายภาพและวิชาการควบคู่กัน อย่างต่อเนื่อง จากนักศึกษา 62 คน ใน 2 สาขาวิชา 1 หลักสูตร ในปีการศึกษาแรก ปัจจุบันเปิดสอนทั้งสิ้น 67 สาขาวิชา 23 หลักสูตร มีจำ�นวนนักศึกษาทั้งสิ้น 9,700 คน และนับถึงปีการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยได้ ผลิตบัณฑิตไปแล้วรวมทั้งสิ้น 5,899 คน ซึ่งจากที่กล่าว มาข้างต้นแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาของมหาวิทยาลัย ที่ มุ่ ง เน้ นการสื บ สานพระราชปณิ ธานในองค์ ส มเด็ จ พระศรีนคริน ทราบรมราชชนนีด้วยความจงรักภักดี และมุ่งหวังที่จะพัฒนามหาวิทยาลัยให้เจริญก้าวหน้า อย่างมัน่ คง เพือ่ เป็นสถาบันทีจ่ ะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และประเทศชาติสืบต่อไป


8

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

9

ปณิธาน สืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีในการ “ปลูกป่า สร้างคน” โดยมุง่ “สร้างคน สร้างความรู้ สร้างคุณภาพ สร้างคุณธรรม”

วิสัยทัศน์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จะเป็นมหาวิทยาลัยขนาดกลางที่มีคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาในระดับสากล มีความเป็นเลิศในศิลปะและวิทยาการสาขาต่างๆ เพื่อเป็นแหล่งผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ ของประเทศและอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง รวมทั้งเป็นแหล่งสร้างสมและพัฒนาองค์ความรู้ในด้านต่างๆ ควบคู่ กันไปกับการนำ�องค์ความรูใ้ นมหาวิทยาลัยออกไปสูก่ ารประยุกต์ใช้ในสังคมและภาคอุตสาหกรรมของประเทศ ในขณะเดียวกันก็มุ่งเน้นการศึกษาและพัฒนาศิลปวัฒนธรรมของชาติ

แนวทางในการดำ�เนินงาน 1. เป็นมหาวิทยาลัยขนาดกลางที่มีคุณภาพ 2. เป็นศูนย์กลางการศึกษาของกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 3. เปิดสอนเฉพาะสาขาวิชาที่จำ�เป็นและมีความต้องการสูง 4. เน้นการวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา 5. มีความร่วมมือกับท้องถิ่นและสนองนโยบายของชาติ

ภารกิจ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำ�กับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พุทธศักราช 2541 มีฐานะเป็นนิติบุคคลที่มีภารกิจหลักที่สำ�คัญของความเป็นสถาบันอุดมศึกษา 4 ประการ คือ 1. การผลิตบัณฑิต 2. การวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ 3. การบริการวิชาการแก่สังคม 4. การทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม


10

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

นโยบายตามแผนพัฒนามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงได้ก�ำ หนดนโยบายและกลยุทธ์ เพือ่ เป็นแนวทางในการพัฒนาและการบรรลุตามภารกิจ และเป้าหมายของมหาวิทยาลัย ซึ่งประกอบด้วย 10 นโยบาย คือ นโยบายที่ 1 การพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพ นโยบายที่ 2 เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ นโยบายที่ 3 เสริมสร้างเสถียรภาพทางการเงิน นโยบายที่ 4 เสริมสร้างคุณภาพบัณฑิตให้เป็นที่ยอมรับในระดับสากล นโยบายที่ 5 เสริมสร้างคุณภาพผลงานวิจัย และการสร้างนวัตกรรม นโยบายที่ 6 เสริมสร้างคุณภาพการบริการวิชาการแก่สังคม นโยบายที่ 7 ส่งเสริมการทำ�นุบำ�รุงศิลปะ วัฒนธรรม และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นโยบายที่ 8 ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษา นโยบายที่ 9 สร้างระบบบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อความเป็นนานาชาติ นโยบายที่ 10 เสริมสร้างความสัมพันธ์กับหน่วยงานภายนอก

วัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้รับการสถาปนาขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ที่สำ�คัญเพื่อ 1. เป็นสถาบันการศึกษาระดับสูงที่จะสืบสานพระราชปณิธานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 2. เป็นมหาวิทยาลัยชัน้ นำ�ของประเทศ ทีจ่ ะผลิตและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทมี่ คี ณ ุ ภาพ เป็นแหล่งค้นคว้า วิจยั และพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ของชาติ 3. ตอบสนองความต้องการการศึกษาระดับสูงของประชาชนในภาคเหนือตอนบน 4. เป็นศูนย์กลางการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 5. เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ�ที่มุ่งเน้นความเป็นเลิศทางวิชาการ

คุณสมบัติบัณฑิตที่พึงประสงค์ บัณฑิตของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ควรเป็นผู้ที่มีความรอบรู้ในวิชาการที่ศึกษาอย่างเพียงพอ เหมาะสมกับ ระดับปริญญาที่ได้รับ ทั้งทางด้านภาษาและองค์ความรู้เฉพาะที่ศึกษา สามารถเปลี่ยนแปลงหรือประยุกต์ใช้ ความรูท้ มี่ อี ยู่ในการปฏิบตั ภิ ารกิจได้ดว้ ยภูมปิ ญ ั ญาและภูมธิ รรม มีความคิดริเริม่ ทีจ่ ะพัฒนาและปรับปรุงตนเอง และหน้าทีก่ ารงานอยูเ่ ป็นนิจ ตระหนักถึงความสำ�คัญของการอนุรกั ษ์และสร้างสรรค์สงิ่ แวดล้อมทีด่ ีให้กบั สังคม มีมนุษยสัมพันธ์และคุณธรรมในการดำ�รงชีวิต มีความคิดกว้างไกลและสอดคล้องกับทิศทางของประชาคม นานาชาติ ยึดมั่นในเอกลักษณ์ของความเป็นไทย และมุ่งประโยชน์ของสังคมและชาติเป็นหลัก


11

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตราสัญลักษณ์ • อักษรพระนามาภิไธยย่อของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี บนพื้นสีทอง อักษรย่อ ส. สีแดง และ ว. อันเป็นเครื่องหมายแห่งความจงรักภักดีของประชาชน บุคลากร และนักศึกษาของมหาวิทยาลัย ที่มีต่อ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และเพื่อความเป็นสิริมงคล • เลข ๘ และ ๙ สีทอง ประกอบตราสัญลักษณ์ ประดิษฐานภายใต้ฉัตรเจ็ดชั้นสีทอง เลข ๘ อยู่เหนือคำ�ว่า มหาวิทยาลัย เลข ๙ อยู่เหนือคำ�ว่า แม่ฟ้าหลวง หมายถึง สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงเป็น พระราชชนนีของพระมหากษัตริย์รัชกาลที่ 8 และรัชกาลที่ 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ • ดอกไม้ (ดอกลำ�ดวน) หมายถึง ความมุง่ มัน่ ของมหาวิทยาลัยทีจ่ ะพัฒนาและส่งเสริมสิง่ แวดล้อมและพัฒนา คุณภาพชีวิตของปวงชนอย่างต่อเนื่อง

สีประจำ�มหาวิทยาลัย คือ สีแดง และสีทอง สีแดง แสดงถึง องค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สีทอง แสดงถึง ความเจริญรุ่งเรืองของมหาวิทยาลัย อย่างไม่มีที่สิ้นสุด

ดอกไม้ประจำ�มหาวิทยาลัย คือ ดอกลำ�ดวน (หอมนวล) ชื่อวิทยาศาสตร์ Melodorum fruitcosum Locr.


12

ส รุ ป ค ว า ม เ ป็ น ม า ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ลายตุงประดับบนครุยบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้มีการออกแบบตุงประจำ�มหาวิทยาลัยและได้นำ� ลายตุง อันเป็นเครื่องหมายแห่งชัยชนะและความเป็นสิริมงคลอันสูงยิ่งประกอบ เป็นส่วนหนึ่งของครุยวิทยฐานะของมหาวิทยาลัย ในแถบตุงประกอบด้วย ลายปราสาท หมายถึง สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ลายหนู หมายถึง ปีประสูติของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ซึ่งตรงกับปีชวด พ.ศ. 2443 ลายพญานาค หมายถึง สัตว์ที่ปรากฏในศิลปวัฒนธรรมล้านนาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งตามตำ�นานกล่าวถึงว่าเป็นสัตว์ที่พิทักษ์ พระพุทธศาสนา ลายเสือ หมายถึง ปีก่อตั้งมหาวิทยาลัย ซึ่งตรงกับปีขาล พ.ศ. 2541


มหาวิ ร า ย ง าทน ยาลั ป ร ะ จยำ� แม่ ปี 2ฟ 5 5้า3หลวง ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

Mae Fah 13 Luang University

2 การบริหารและทรัพยากร การดำ�เนินงาน


14

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

การบริหารมหาวิทยาลัย มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวงเป็ น มหาวิ ท ยาลั ยในกำ � กั บ ของรั ฐ สั ง กั ด กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร มี ส ภามหาวิ ท ยาลั ย เป็นองค์กรสูงสุด ทำ�หน้าที่กำ�กับ ดูแลการบริหารงานของมหาวิทยาลัย และกำ�หนดนโยบายในการดำ�เนินงาน ด้านต่างๆ มีคณะกรรมการอีก 4 ชุด ดังนี้ 1. คณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย ทำ�หน้าที่ ให้คำ�แนะนำ�ปรึกษาแก่สภามหาวิทยาลัยในการ สนับสนุนการดำ�เนินกิจการของมหาวิทยาลัย 2. คณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน ทำ�หน้าที่กลั่นกรองเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวกับการเงินและทรัพย์สิน เพื่อเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย 3. คณะกรรมการบริหารงานบุคคล ทำ�หน้าที่กำ�กับดูแลระบบการบริหารงานบุคคล 4. คณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการดำ�เนินงาน ทำ�หน้าที่ดูแลและตรวจสอบภายใน ในด้านการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยมีสภาวิชาการทำ�หน้าที่กำ�กับดูแลงานด้านวิชาการ การเรียนการสอน มาตรฐานและคุณภาพการศึกษา รวมทั้งการกำ�หนดทิศทางและนโยบาย ด้านวิชาการและวิจัยของมหาวิทยาลัย ในปี พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้จัดแบ่งหน่วยงานภายในเป็น 4 กลุ่ม คือ 1. สำ�นักวิชา จำ�นวน 10 สำ�นักวิชา ทำ�หน้าที่ ในการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการ และ การทำ�นุบำ�รุงศิลปะและวัฒนธรรม 2. ศูนย์ จำ�นวน 5 ศูนย์ ทำ�หน้าที่ให้การสนับสนุนการดำ�เนินงานของสำ�นักวิชา 3. สำ�นักงาน จำ�นวน 3 สำ�นักงาน ทำ�หน้าที่สนับสนุนด้านการบริหารจัดการต่างๆ 4. โครงการและหน่วยงานพิเศษ จำ�นวน 6 หน่วยงาน ซึ่งจัดตั้งขึ้นตามภารกิจเฉพาะของหน่วยงานนั้น อาทิ หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มแม่นํ้าโขง โครงการ จัดตั้งสถาบันชา


15

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

โครงสร้างการจัดองค์กร

คณะกรรมการตรวจสอบ และติดตามการดำ�เนินการ ของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการส่งเสริมกิจการ ของมหาวิทยาลัย คณะกรรมการ การเงินและทรัพย์สิน คณะกรรมการ บริหารงานบุคคล

สภามหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง

คณะกรรมการอำ�นวยการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง สำ�นักงานสภา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง หน่วยงานตรวจสอบภายใน

อธิการบดี

ที่ปรึกษาอธิการบดี

สภาวิชาการ

รองอธิการบดี

ผู้ช่วยอธิการบดี

สำ�นักวิชา

1. สำ�นักวิชาการจัดการ 2. สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 3. สำ�นักวิชานิติศาสตร์ 4. สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ 5. สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ 6. สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ เครื่องสำ�อาง 7. สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 8. สำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟูสุขภาพ 9. สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ 10. สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร

ศูนย์

สำ�นักงาน

โครงการกิจกรรมพิเศษ*

สำ�นักงานวิชาการ

สำ�นักงานบริหารกลาง

สำ�นักงานจัดการทรัพย์สินและรายได้

1. ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี 2. ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 3. ศูนย์บริการเทคโนโลยี สารสนเทศ 4. ศูนย์บริการวิชาการ 5. ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีน สิรินธร

• โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง • ส่วนจัดหางานและฝึกงานนักศึกษา • ส่วนทะเบียนและประมวลผล • ส่วนบริการงานวิจัย • ส่วนประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาหลักสูตร • ส่วนประสานงานบัณฑิตศึกษา • ส่วนพัฒนาความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ • ส่วนพัฒนานักศึกษา • ส่วนรับนักศึกษา

1. สำ�นักงานวิชาการ 2. สำ�นักงานบริหารกลาง 3. สำ�นักงานจัดการทรัพย์สิน และรายได้

• ส่วนการเจ้าหน้าที่ • ส่วนการเงินและบัญชี • ส่วนนโยบายและแผน • ส่วนประชาสัมพันธ์ • ส่วนพัสดุ • ส่วนสารบรรณอำ�นวยการและนิติการ • ส่วนอาคารสถานที่ • หน่วยประสานงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานคร

หมายเหตุ​*​ ​โครงการ​ที่​จัด​ตั้งข​ ึ้นต​ าม​มติ​สภา​มหาวิทยาลัย​เป็นโ​ครงการ​ภายใน​มหาวิทยาลัย​

1. โครงการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์อารยธรรม ลุ่มแม่นํ้าโขง 2. โครงการจัดตั้งสถาบันชา 3. โครงการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. โครงการจัดตั้งหน่วยความร่วมมือ ทางวิชาการฝรั่งเศส-อนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 5. โครงการสวนพฤกษศาสตร์ เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 6. หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษา

• ฝ่ายบริหารสำ�นักงาน • ฝ่ายบริหารจัดการอสังหาริมทรัพย์ • หอพักนักศึกษา • หน่วยบริการและหารายได้ • วนาเวศน์ • สถาบันส่งเสริมสุขภาพ และความงามวนาศรม • ศูนย์หนังสือ


16

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

งบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้รับการจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน จำ�นวน 490,074,800 บาท และ มหาวิทยาลัยได้นำ�เงินรายได้มาสมทบอีกจำ�นวน 459,091,690 บาท ตารางที่ 1 งบประมาณจำ�แนกตามแหล่งที่มา แหล่งเงิน งบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้ รวม

พ.ศ. 2552 จำ�นวน ร้อยละ 670,990,700 61 437,814,400 39 1,108,805,100 100

พ.ศ. 2553 จำ�นวน ร้อยละ 490,074,800 52 459,091,690 48 949,166,490 100

61%

39%

2552

หน่วย : บาท

ผลต่างงบประมาณ รวม ร้อยละ -180,915,900 27 +21,277,290 5 -159,638,610 14

52%

48%

2553

งบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้

แผนภูมิที่ 1 งบประมาณ จำ�แนกตามแหล่งที่มา

จากตารางที่ 1 เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบงบประมาณของปี พ.ศ. 2552 กับปี พ.ศ. 2553 พบว่าปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้รับจัดสรรงบประมาณลดลง 159,638,610 บาท คิดเป็นร้อยละ 14 โดยได้รับการจัดสรร งบประมาณแผ่นดินลดลง 180,915,900 บาท คิดเป็นร้อยละ 27 และได้รับจัดสรรเงินรายได้เพิ่มขึ้น 21,277,290 บาท คิดเป็นร้อยละ 5


17

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 2 งบประมาณจำ�แนกตามประเภทรายจ่าย ประเภทรายจ่าย งบดำ�เนินงาน งบลงทุน ครุภัณฑ์ ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง รวม

พ.ศ. 2552 จำ�นวน 716,023,608 392,781,492 57,790,910 334,990,582 1,108,805,100

ร้อยละ 65 35

65%

35%

2552

หน่วย : บาท

พ.ศ. 2553 จำ�นวน ร้อยละ 711,845,176 75 237,321,314 25 62,365,337 174,955,977 949,166,490

ผลต่างงบประมาณ รวม ร้อยละ -4,178,432 1 -155,460,178 40 -4,574,427 -160,034,605 -159,638,610 14

75%

25%

2553

งบดำ�เนินงาน งบลงทุน

แผนภูมิที่ 2 งบประมาณ จำ�แนกตามประเภทรายจ่าย

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบงบประมาณปี พ.ศ. 2552 กับปี พ.ศ. 2553 พบว่า ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัย ได้รับจัดสรรงบประมาณลดลง 159,638,610 บาท คิดเป็นร้อยละ 14 โดยได้รับงบประมาณในส่วนของงบดำ�เนินงาน ลดลง 4,178,432 บาท คิดเป็นร้อยละ 1 และงบลงทุนลดลง 155,460,178 บาท คิดเป็นร้อยละ 40


18

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

บุคลากร ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีบุคลากรประจำ�รวมทั้งสิ้น 932 คน ประกอบด้วย สายบริหารวิชาการ 28 คน สายวิชาการ 379 คน และสายปฏิบัติการ 525 คน นอกจากบุคลากรจำ�นวน ดังกล่าวแล้ว มหาวิทยาลัยยังจ้างลูกจ้างชั่วคราวรายเดือนอีกจำ�นวน 132 คน ตารางที่ 3 จำ�นวนบุคลากรจำ�แนกตามประเภทสายงาน ประเภทบุคลากร สายบริหารวิชาการ สายวิชาการ สายปฏิบัติการ รวม

ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2553

ตํ่ากว่าปริญญาตรี 112 112

คุณวุฒิ ปริญญาตรี 1 54 388 443

หน่วย : คน

ปริญญาโท 11 233 25 269

ปริญญาเอก 16 92 108

รวม 28 379 525 932

14% ปริญญาตรี 54 คน

24% ปริญญาเอก 92 คน

62% ปริญญาโท 233 คน

หมายเหตุ : พนักงานสายวิชาการ (จำ�นวน 54 คน) ที่มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรีทั้งหมดเป็นชาวต่างชาติและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะสาขา

แผนภูมิที่ 3 จำ�นวนบุคลากรสายวิชาการ จำ�แนกตามวุฒิการศึกษา


19

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

90% อาจารย์ 343 คน

7% ผู้ช่วยศาสตราจารย์ 26 คน 2% รองศาสตราจารย์ 9 คน 1% ศาสตราจารย์ 1 คน

แผนภูมิที่ 4 จำ�นวนบุคลากรสายวิชาการ จำ�แนกตามตำ�แหน่งทางวิชาการ

87% ไทย 330 คน

แผนภูมิที่ 5 จำ�นวนบุคลากรสายวิชาการ จำ�แนกตามเชื้อชาติ

13% ต่างชาติ 49 คน


20

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

อาคารสถานที่ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีอาคารสถานที่ ดังนี้ ตารางที่ 6 พื้นที่ ใช้สอยของอาคารสถานที่ รายการ กลุ่มอาคารสำ�นักงาน อาคารบริการและสันทนาการ 1. อาคารสำ�นักงานอธิการบดี 2. อาคารศูนย์บริการและวิจัย 3. อาคารศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา 4. อาคารโรงอาหาร ส่วนการศึกษา 5. อาคารโรงอาหาร ส่วนหอพักนักศึกษา 6. อาคารส่วนหน้า 7. ศูนย์สุขภาพและความงามวนาศรม 8. ศูนย์การแพทย์แผนไทยประยุกต์ 9. เรือนริมนํ้า 10. อาคารกีฬาอเนกประสงค์เฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ 11. ศูนย์กีฬาอเนกประสงค์ 12. อัฒจันทร์สนามกีฬา 13. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย 14. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพ 15. อาคารปัญจภูมิ กลุ่มอาคารการศึกษา 16. อาคารเรียนรวม 17. อาคารสำ�นักวิชา 18. กลุ่มอาคารปฏิบัติการ 19. อาคารศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร กลุ่มอาคารพักอาศัย 20. บ้านพักอธิการบดีและบ้านพักรับรอง 21. บ้านพักผู้บริหารและคณาจารย์ 22. อาคารชุดที่พักอาจารย์และบุคลากร 23. หอพักนักศึกษา 24. วนาเวศน์ กลุ่มอาคารอื่นๆ 25. วิหารพระเจ้าล้านทอง 26. โรงผลิตนํ้าประปา 27. บ่อบำ�บัดนํ้าเสีย

พื้นที่ ใช้สอย (ตารางเมตร) 6,200 8,000 11,800 6,000 2,500 3,600 5,438 17,000 1,376 8,857 3,695 8,257 9,800 810 1,290 28,300 22,000 51,965 3,021 500 8,779 12,714 62,215 3,929 260 567 120


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

21


22

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

23

อุปกรณ์ เครื่องมือ และเทคโนโลยี

1. ทรัพยากรสารสนเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้สนับสนุนการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ ในรูปแบบสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน การวิจัย และการบริการวิชาการแก่ชุมชน ในสาขา วิชาต่างๆ ทุกระดับการศึกษา รวมทั้งการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา เพื่อ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ วิธีการทำ�งาน และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศร่วมกันในโครงการพัฒนาเครือข่าย ระบบห้องสมุดในประเทศไทย (ThaiLIS) และความร่วมมือในการจัดทำ�สหบรรณานุกรม (Union Catalog) และการจัดเก็บเอกสารในรูปอิเล็กทรอนิกส์ (Digital Collection) มหาวิทยาลัยได้ขยายการบริการสารสนเทศอินเทอร์เน็ตแบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Network) ครอบคลุม พืน้ ทีส่ ว่ นใหญ่ของมหาวิทยาลัย เพือ่ ให้อาจารย์ บุคลากร และนักศึกษา ตลอดจนบุคคลทัว่ ไปได้เข้าถึงสารสนเทศ ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตและอินทราเน็ต นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยได้นำ�เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ สำ�หรับการ บริหารจัดการการเรียนการสอนบนเครือข่ายหรือระบบ e-learning (LMS : Learning Management System) ตลอดจนระบบซอฟต์แวร์ในศาสตร์ต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ ด้วยตนเอง อาทิ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น และเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นต้น ในส่วนการให้บริการห้องสมุด มหาวิทยาลัยได้ขยายพื้นที่ห้องสมุดเพื่อรองรับจำ�นวนผู้ใช้บริการและทรัพยากร สารสนเทศที่เพิ่มขึ้นเพื่อให้ผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกสบายในการใช้พื้นที่เพื่อการศึกษาค้นคว้า มีการจัด กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการใช้ห้องสมุดในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ได้จัดกิจกรรมโครงการถ่ายทอดองค์ความรู้ แก่โรงเรียนในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงราย เช่น การจัดระบบห้องสมุดและวิธีการจัดเตรียมทรัพยากรก่อนการให้ บริการ การแนะนำ�โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการผลิตสื่อการศึกษา


24

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

ตารางที่ 7 ทรัพยากรสารสนเทศและอุปกรณ์ที่ให้บริการ ลำ�ดับ รายการ 1 หนังสือ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 2 วารสาร ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 3 หนังสือพิมพ์ และนิตยสาร ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 4 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 5 หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ 6 ฐานข้อมูลออนไลน์ ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ 7 เครื่องคอมพิวเตอร์สืบค้น 8 เครื่องยืม-คืน หนังสืออัตโนมัติ 9 ที่นั่งอ่านหนังสือ 10 โต๊ะอ่านหนังสือเดี่ยว 11 ห้องศึกษาค้นคว้ากลุ่ม 12 ห้องรับชมมัลติมีเดียกลุ่ม 13 จุดรับชมมัลติมีเดียเดี่ยว 14 จุดรับชมข่าวสารเคเบิลทีวี 15 ห้องเรียนรู้ด้วยตนเอง (ภาษาอังกฤษ) 16 ห้องชมภาพยนตร์

จำ�นวน หน่วยนับ 75,003 เล่ม 70,049 เล่ม 573 รายชื่อ 184 รายชือ่ 33 รายชื่อ 7 รายชือ่ 2,887 รายชื่อ 3,730 รายชือ่ 279,412 รายชือ่ 2 24 118 1 752 40 21 3 32 24 60 108

ฐาน ฐาน เครื่อง เครื่อง ที่นั่ง ที่นั่ง ห้อง ห้อง ที่นั่ง ที่นั่ง ที่นั่ง ที่นั่ง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

25

2. ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยได้ให้บริการระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ครอบคลุมพืน้ ทีท่ งั้ มหาวิทยาลัย ทัง้ ส่วนการศึกษาและส่วน ทีพ่ กั อาศัย โดยระบบเครือข่ายภายในมหาวิทยาลัยมี 2 แบบ คือ ระบบเครือข่ายแบบมีสาย และระบบเครือข่าย แบบไร้สาย นอกจากนี้ยังมีระบบโทรศัพท์ผ่านระบบเครือข่าย (Voice over IP) ให้บริการระหว่างมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย กับหน่วยประสานงานมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง กรุงเทพมหานคร จำ�นวน 4 คู่สาย

การเชื่อมโยงเครือข่ายแบบมีสายภายในมหาวิทยาลัย


26

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

3. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร มหาวิทยาลัยได้จัดให้มีระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและการบริการ ดังนี้

ระบบบริหารจัดการ ประกอบด้วย 1. ระบบบุคลากร 2. ระบบเงินเดือน 3. ระบบค่าตอบแทนล่วงเวลา 4. ระบบลูกจ้างรายวัน 5. ระบบสารบรรณออนไลน์ 6. ระบบประกาศข่าว 7. ระบบจดหมายข่าวภายในมหาวิทยาลัย 8. ระบบตารางนัดหมาย 9. ระบบอัพโหลดเอกสาร 10. ระบบจัดการข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 11. ระบบบริหารจัดการข้อมูลบนเว็บไซต์ Content Management System (CMS) 12. ระบบอินทราเน็ตหน่วยงาน 13. ระบบ MFU Journal Online 14. โปรแกรมบันทึกระเบียนประวัตินักศึกษาใหม่ออนไลน์ 15. โปรแกรมแบบสอบถามออนไลน์สำ�หรับนักศึกษาใหม่ 16. โปรแกรมรับสมัครออนไลน์สำ�หรับนักศึกษาต่างชาติ 17. โปรแกรมสมัครเข้าศึกษาออนไลน์ 18. ระบบลงทะเบียนเข้าร่วมและนำ�เสนอผลงานการประชุม/สัมมนา 19. ระบบงบประมาณ การเงิน บัญชีและพัสดุ เกณฑ์พึงรับ-พึงจ่าย ลักษณะ 3 มิติ

ในปีงบประมาณ พ.ศ.2553 มหาวิทยาลัยได้พฒ ั นาระบบจัดทำ�รายงานเพือ่ การตัดสินใจ (Business Intelligence) เพือ่ ใช้เป็นเครือ่ งมือสำ�หรับสร้างรายงานการวิเคราะห์ตา่ งๆ สนับสนุนการตัดสินใจของผูบ้ ริหารในรูปแบบทีง่ า่ ย ต่อการนำ�ไปประยุกต์ใช้ และการปรับเปลี่ยนรูปแบบของรายงานตามความต้องการ


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ระบบบริการการศึกษา ประกอบด้วย 1. ระบบรับสมัครเข้าศึกษา 2. ระบบรับเข้าศึกษา 3. ระบบขึ้นทะเบียนนักศึกษา 4. ระบบตารางสอน ตารางสอบ 5. ระบบลงทะเบียน 6. ระบบงานระเบียนการศึกษา 7. ระบบงานผู้สำ�เร็จการศึกษา 8. ระบบเอกสารสำ�คัญทางการศึกษา 9. ระบบงานอาจารย์ที่ปรึกษา 1 0. ระบบงานบริการนักศึกษาผ่านระบบอินเทอร์เน็ต 1 1. ระบบงานทะเบียนหลักสูตร แผนการศึกษา 1 2. ระบบงานทะเบียนรายวิชา 1 3. ระบบงานทุนและการกู้ยืม 1 4. ระบบกิจกรรมนักศึกษา 1 5. ระบบหอพักนักศึกษา 1 6. ระบบลงทะเบียนล่วงหน้า 1 7. ระบบ Exit - Examination

ระบบบริการ ประกอบด้วย 1. ระบบขอยืมและขอใช้โสตทัศนูปกรณ์ 2. ระบบแจ้งซ่อมบำ�รุงคอมพิวเตอร์ 3. ระบบแจ้งลงโปรแกรมระบบสารสนเทศ 4. ระบบแจ้งแก้ไขโปรแกรมระบบสารสนเทศ 5. ระบบขอใช้บริการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ 6. ระบบจองรถยนต์ 7. ระบบแจ้งซ่อมบำ�รุงของส่วนอาคารสถานที่ 8. ระบบค้นหาจดหมายและพัสดุไปรษณีย์

27


28

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

4. การให้บริการเครื่องคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยได้จดั ให้มเี ครือ่ งคอมพิวเตอร์ เพือ่ ให้บริการในการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการ ดังนี้ 1. เครื่องคอมพิวเตอร์สำ�หรับสนับสนุนการเรียนการสอน จำ�นวน 688 เครื่อง 2. เครื่องคอมพิวเตอร์สำ�หรับสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยตนเอง และการสืบค้นข้อมูล จำ�นวน 273 เครื่อง 3. เครื่องคอมพิวเตอร์สำ�หรับสนับสนุนการบริหารจัดการและการปฏิบัติงาน จำ�นวน 798 เครื่อง 5. การให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้ให้บริการโสตทัศนูปกรณ์ เพื่อสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การประชุม การสัมมนา และการจัดกิจกรรม ให้แก่หน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยให้ บริการในกิจกรรมต่างๆ ดังนี้ 1. สนับสนุนการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีตามตารางการสอนปกติ จำ�นวน 93 ห้อง 2. สนับสนุนการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีนอกตารางการสอนปกติ จำ�นวน 689 ห้อง 3. สนับสนุนการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา จำ�นวน 12 ห้อง 4. สนับสนุนการจัดประชุม จำ�นวน 676 กิจกรรม 5. สนับสนุนการจัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัย จำ�นวน 345 กิจกรรม 6. ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์มีการบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ โดยศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อบริการแก่ทุกสำ�นักวิชา ซึ่งในปีการศึกษา 2553 มีห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการเรียน การสอน การวิจัยและการบริการ แบ่งตามลักษณะการใช้งาน ดังนี้

ห้องปฏิบัติการสำ�หรับการเรียนการสอน ห้องปฏิบัติการสำ�หรับการเรียนการสอน ให้บริการ สนับสนุนการจัดการเรียนการสอนของสำ�นักวิชา รวมทัง้ การเรียนการสอนของหน่วยบริการเครือ่ งมือ วิ ท ยาศาสตร์ ก ารแพทย์ และเพื่ อให้ ก ารเรี ย นรู้ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มหาวิทยาลัยจึงกำ�หนด ให้ ร ายวิ ช าที่ ใ ช้ ห้ อ งปฏิ บั ติ ก ารสำ � หรั บ การเรี ย น การสอน มีจำ�นวนนักศึกษาไม่เกิน 50 คนต่อหนึ่ง ตอนเรียน และในแต่ละตอนเรียนจะมีนกั ศึกษาเรียน จำ�นวน 16 กลุ่ม


29

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การจัดการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2553 มีจำ�นวนห้องปฏิบัติการรวม 33 ห้องปฏิบัติการ โดยแบ่งกลุ่มห้องปฏิบัติ การดังนี้ ตารางที่ 8 ห้องปฏิบัติและครุภัณฑ์การสำ�หรับการเรียนการสอน ปีการศึกษา 2553 แผนกห้องปฏิบัติการ 1. ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์และพื้นฐานวิศวกรรม 1.1 ห้องปฏิบัติการฟิสิกส์ 1.2 ห้องปฏิบัติการพื้นฐานวิศวกรรม 2. ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและบรรจุภัณฑ์ 3. ห้องปฏิบัติการชีววิทยาและเทคโนโลยีชีวภาพ 4. ห้องปฏิบัติการเคมีและวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง 4.1 ห้องปฏิบัติการเคมี 4.2 ห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง 5. ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีการอาหาร 6. ห้องปฏิบัติการวัสดุศาสตร์ 7. หน่วยบริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวม

ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์

จำ�นวน รายวิชา ตอนเรียน นักศึกษา

4 5 2 7

176 321 71 536

4 10 12 40

13 20 12 67

596 729 48 1,731

4 4 4 2 1 33

194 171 156 47 25 1,697

19 13 14 6 12 130

56 18 17 8 27 238

1,848 696 441 99 1,405 7,593


30

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น

ห้องปฏิบัติการสำ�หรับกลุ่มงานวิจัยเฉพาะทาง ห้องปฏิบตั กิ ารสำ�หรับกลุม่ งานวิจยั เฉพาะทาง ให้บริการเพือ่ รองรับการทำ�โครงงานพิเศษของนักศึกษา ตลอดจน การทำ�งานวิจัยของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา อาจารย์ และบุคลากร

ตารางที่ 9 ห้องปฏิบัติการสำ�หรับกลุ่มงานวิจัยเฉพาะทาง ปีการศึกษา 2553 กลุ่มงานวิจัย 1. ชีววิทยาขั้นสูง 2. นิเวศวิทยาและอนุกรมวิธาน 3. จุลชีววิทยา 4. ผลิตภัณฑ์สมุนไพรและธรรมชาติ 5. วิทยาศาสตร์เกษตรและชีวเคมี 6. วัสดุศาสตร์และเคมีวิเคราะห์ รวม

ห้องปฏิบัติการ 4 4 2 8 7 6 31

จำ�นวน โครงการ 11 2 39 37 22 10 121

บุคลากร 6 6 25 15 15 8 75

จำ�นวนนักศึกษา ปริญญาตรี บัณฑิตศึกษา 13 1 24 13 34 6 12 7 1 1 84 28

ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์ทดสอบขั้นสูง ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบขั้นสูง ให้บริการสนับสนุนการเรียนการสอน งานวิจัยและบริการวิชาการ แก่สงั คม และให้บริการวิเคราะห์ทดสอบ ผลิตภัณฑ์และวัตถุดบิ ที่ใช้ในการผลิตสินค้าทัง้ จากชุมชนและโรงงาน อุตสาหกรรม รวมทั้งการตรวจวิเคราะห์นํ้าทิ้งจากระบบต่างๆ ทั้งของภาครัฐและเอกชน โดยใช้เครื่องมือ วิเคราะห์ทดสอบขั้นสูง ในห้องปฏิบัติการและเทคนิคเฉพาะทาง โดยแบ่งกลุ่มงานที่ ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบ ทั้งสิ้น 6 กลุ่มงาน ได้แก่ 1. งานบริการวิเคราะห์ทดสอบทางเคมี 2. งานบริการวิเคราะห์ทดสอบทางชีวภาพ 3. งานบริการวิเคราะห์ทดสอบทางกายภาพ 4. งานบริการวิเคราะห์ทดสอบทางสิ่งแวดล้อม 5. งานบริการสอบเทียบ 6. งานบริการตรวจพินิจ


31

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 10 กิจกรรมที่ให้บริการวิเคราะห์ทดสอบ ปีการศึกษา 2553 กิจกรรมที่ให้บริการ 1. บริการการเรียนการสอนรายวิชาปฏิบัติการปกติ 2. บริการการเรียนการสอนและรายวิชาโครงงานนักศึกษาระดับปริญญาตรี 3. บริการงานวิจัยนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 4. บริการงานวิจัยอาจารย์ 5. งานบริการวิเคราะห์ตัวอย่างให้หน่วยงานภายในมหาวิทยาลัย 6. งานบริการวิเคราะห์/ทดสอบให้กับหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย รวม

จำ�นวน (ครั้ง) 189 59 181 152 12 73 666

ตารางที่ 11 ครุภัณฑ์วิทยาศาสตร์สำ�หรับงานวิเคราะห์ทดสอบขั้นสูง กลุ่มเครื่องมือวิเคราะห์ทดสอบ 1. Chemical Analysis

2. Physical Analysis

1.1 Gas Chromatography (GC) 1.2 Gas Chromatography / Mass Selective Detector (GC-MS) 1.3 High Performance Liquid Chromatography (HPLC) 1.4 Atomic Absorption Spectrophotometer (AAS) 1.5 UV-Visible Spectrophotometer 1.6 FTIR-Raman Spectrometer 1.7 Microwave Digestion 2.1 Thermo Gravimetric/Differential Thermal Analysis System 2.2 Differential Scanning Calorimeter 2.3 Dilatometer; Thermal Expansion Analyzer 2.4 X-Ray Diffractometer 2.5 X-ray Fluorescence Spectrometer 2.6 Scanning Electron Microscope with EDS 2.7 Particle Distribution Analyzer 2.8 Universal Testing Machine 2.9 Pendulum Impact Testing Machine 2.10 Micro Hardness Tester

ด้านการพัฒนางานบริการวิเคราะห์ทดสอบเพื่อเข้าสู่ระบบคุณภาพ มหาวิทยาลัยมีนโยบายมุ่งมั่นพัฒนางานบริการ วิเคราะห์ทดสอบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล ภายใต้การดำ�เนินงานระบบมาตรฐานคุณภาพห้องปฏิบัติการ ISO/ IEC:17025 โดยได้รบั ความร่วมมือจากหลายหน่วยงาน อาทิ สถาบันมาตรวิทยาแห่งชาติ สำ�นักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม สถาบันวิจยั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย อุทยานวิทยาศาสตร์ภาคเหนือ สำ�นักงานพัฒนา ศักยภาพนักวิทยาศาสตร์ห้องปฏิบัติการ และกรมวิทยาศาสตร์บริการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้ รับมอบใบรับรองความสามารถห้องปฏิบัติการ มอก.17025-2543 (ISO/IEC 17025:1999) โดยเลขาธิการสำ�นักงาน มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม นอกจากนี้ในด้านความพร้อมการให้บริการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้สรรหาและจัดเตรียมเครื่องมือ อุปกรณ์ และ สารเคมีที่ ได้มาตรฐานและพอเพียงสำ�หรับการให้บริการ รวมทั้งมีการนำ�ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัย (มอก.18001) มาใช้ในการดำ�เนินงานด้านความปลอดภัยของห้องปฏิบัติการอีกด้วย


32

ก า ร บ ริ ห า ร แ ล ะ ท รั พ ย า ก ร ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น


มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

Mae Fah 33 Luang University

3 ผลการดำ�เนินงาน ตามภารกิจ


34

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

การจัดการศึกษา

1. การรับเข้าศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มีระบบการจัดการศึกษาแบบทวิภาค ในแต่ละภาคการศึกษามีระยะเวลาการเรียน การสอน 18 สัปดาห์ โดยมีการจัดการเรียนการสอนใน 3 ระดับ คือ ระดับอนุปริญญา ระดับปริญญาตรี และ ระดับบัณฑิตศึกษา โดยมีการรับนักศึกษาใหม่แต่ละระดับต่างกัน ดังนี้ ระดับปริญญาตรี มีระบบการรับนักศึกษาใหม่ 3 วิธี คือ 1. รับตรง เป็นการรับสมัครนักเรียนทั้งในประเทศและต่างประเทศ 2. โควตา เป็นการรับนักเรียนจากการจัดสรรโควตาในเขตภาคเหนือ รวม 17 จังหวัด 3. การสอบคัดเลือกจากส่วนกลาง เป็นการคัดเลือกผ่านกระบวนการรับสมัคร คัดเลือกบุคคลเข้าศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาของสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ระดับอื่น มีระบบการรับและการคัดเลือกตามที่มหาวิทยาลัยกำ�หนด 2. หลักสูตรที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีสาขาวิชาที่เปิดสอนรวม 67 สาขาวิชา 23 หลักสูตร โดยจำ�แนก เป็นหลักสูตรระดับอนุปริญญา 1 หลักสูตร ระดับปริญญาตรี 14 หลักสูตร ระดับปริญญาโท 7 หลักสูตร และ ระดับปริญญาเอก 1 หลักสูตร ดังรายละเอียดต่อไปนี้ ตารางที่ 12 จำ�นวนหลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2553 ระดับการศึกษา อนุปริญญา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก รวม

จำ�นวนหลักสูตร จำ�นวนสาขาวิชา 1 1 14 30 7 24 1 12 23 67


35

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 13 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2553 สำ�นักวิชา การจัดการ

เทคโนโลยีสารสนเทศ

ระดับการศึกษา หลักสูตร ปริญญาตรี บัญชีบัณฑิต บริหารธุรกิจบัณฑิต

ปริญญาโท

เศรษฐศาสตรบัณฑิต บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต

วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต

นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์ เครื่องสำ�อาง

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาตรี ปริญญาตรี

นิติศาสตรบัณฑิต นิติศาสตรมหาบัณฑิต พยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชา การบัญชี การจัดการการท่องเที่ยว การจัดการธุรกิจการบิน การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน บริหารธุรกิจ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย และการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ การจัดการระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีสารสนเทศซอฟต์แวร์ขั้นสูง นิติศาสตร์ นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ เคมีประยุกต์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเซรามิก วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ วัสดุศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม (นานาชาติ) เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ วัสดุศาสตร์ เทคโนโลยีความงาม วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง


36

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 13 หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปิดสอน ปีการศึกษา 2553 (ต่อ) สำ�นักวิชา วิทยาศาสตร์สุขภาพ

เวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟูสุขภาพ

ศิลปศาสตร์

อุตสาหกรรมเกษตร

ระดับการศึกษา หลักสูตร อนุปริญญา อนุปริญญา* ปริญญาตรี กายภาพบำ�บัดบัณฑิต การแพทย์แผนไทยประยุกต์บัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต สาธารณสุขศาสตรบัณฑิต ปริญญาโท สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต ปริญญาโท วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต ปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

ปริญญาตรี

รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต ศิลปศาสตรบัณฑิต

ปริญญาโท

ศึกษาศาสตรบัณฑิต รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

ปริญญาเอก ปริญญาตรี

ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต วิทยาศาสตรบัณฑิต

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต

ปริญญาเอก

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต

หมายเหตุ *เป็นหลักสูตรที่จัดการเรียนการสอนร่วมกับโรงพยาบาลพญาไท ณ กรุงเทพมหานคร

สาขาวิชา การส่งเสริมสุขภาพ กายภาพบำ�บัด การแพทย์แผนไทยประยุกต์ วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ สาธารณสุขศาสตร์ (นานาชาติ) ตจวิทยา วิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ตจวิทยา วิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ การปกครองท้องถิ่น ภาษาจีน ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาและวัฒนธรรมไทย (สำ�หรับนักศึกษาต่างชาติ) ภาษาอังกฤษ การสอนภาษาจีน รัฐประศาสนศาสตร์ การแปลและการล่ามภาษาจีน-ไทย การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ วัฒนธรรมศึกษา บริหารการศึกษา สังคมศาสตร์ เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีการอาหาร


37

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

3. จำ�นวนนักศึกษา ในปีการศึกษา 2553 มีนกั ศึกษาใหม่ จำ�นวน 2,940 คน เป็นนักศึกษาระดับอนุปริญญา 80 คน ระดับปริญญาตรี 2,593 คน และระดับบัณฑิตศึกษา 267 คน รวมเป็นนักศึกษาทั้งหมด 9,700 คน ตารางที่ 14 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสาขาวิชาและระดับการศึกษา สำ�นักวิชา/สาขาวิชา การจัดการ การจัดการการท่องเที่ยว การจัดการธุรกิจการบิน การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ การบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์

อนุปริญญา -

ตรี 594 99 114 62 80 162 77 242 23 53 32 29 62 43

โท 60 17 43 12 8 4 -

เอก -

รวม 654 99 114 17 62 80 205 77 254 23 8 53 32 29 66 43


38

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 14 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสาขาวิชาและระดับการศึกษา (ต่อ) สำ�นักวิชา/สาขาวิชา นิติศาสตร์ นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ วัสดุศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง เทคโนโลยีความงาม วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ กายภาพบำ�บัด การแพทย์แผนไทยประยุกต์ การส่งเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ตจวิทยา วิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

อนุปริญญา 80 80 -

ตรี 585 585 95 95 101 37 64 147 32 115 261 55 53 5 148 -

โท 15 15 15 2 3 8 2 38 38 1 1 71 15 35 21

เอก 8 2 2 2 2 3 2 1 -

รวม 600 600 95 95 124 4 40 10 66 2 2 185 32 153 342 55 53 80 5 149 74 17 36 21


39

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 14 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสาขาวิชาและระดับการศึกษา (ต่อ) สำ�นักวิชา/สาขาวิชา ศิลปศาสตร์ การปกครองท้องถิ่น การสอนภาษาจีน บริหารการศึกษา ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาและวัฒนธรรมไทย ภาษาอังกฤษ รัฐประศาสนศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ เทคโนโลยีการอาหาร รวม

อนุปริญญา 80

ตรี 505 27 77 166 26 209 63 11 52 2,593

โท 40 17 23 4 2 2 256

เอก 11

รวม 545 27 77 17 166 26 209 23 67 2 11 54 2,940

ตารางที่ 15 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ต่างชาติ ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามประเทศ ประเทศ เกาหลี แคเมอรูน จีน ญี่ปุ่น ภูฏาน พม่า ลาว ศรีลังกา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา รวม

ตรี 10 2 36 1 1 53 2 1 1 107

โท 2 1 3

เอก 1 3 4

รวม 10 2 39 1 2 53 2 3 1 1 114


40

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

18% โควต้า 456 คน 62% รับตรง 1,622 คน

20% สอบคัดเลือก จากส่วนกลาง 515 คน

แผนภูมิที่ 6 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามระบบการรับเข้าศึกษา

3% ภาคตะวันออก 89 คน 51% ภาคเหนือ 1,310 คน

3% ภาคตะวันตก 71 คน 4% ภาคกลาง 105 คน 4% ต่างชาติ 107 คน

14% กรุงเทพ และปริมณฑล 372 คน

10% ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 245 คน

แผนภูมิที่ 7 จำ�นวนนักศึกษาใหม่ระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามภูมิลำ�เนา

11% ภาคใต้ 294 คน


41

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 16 จำ�นวนนักศึกษาปัจจุบัน ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามระดับการศึกษา สำ�นักวิชา/สาขาวิชา การจัดการ การจัดการการท่องเที่ยว การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการธุรกิจการบิน การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ การบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นิติศาสตร์ นิติศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ วิทยาศาสตร์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเซรามิก วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ วัสดุศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง เทคโนโลยีความงาม วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ กายภาพบำ�บัด การแพทย์แผนไทยประยุกต์ การส่งเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ตจวิทยา วิทยาศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

อนุปริญญา 165 165 -

ตรี 2,216 567 295 384 249 525 196 859 91 233 118 104 170 143 1,593 1,593 326 326 246 76 170 432 75 357 834 209 258 5 362 -

โท 221 11 48 162 17 13 4 98 98 29 2 6 11 2 4 2 2 135 135 5 5 155 57 62 36

เอก 3 3 38 2 2 4 13 8 9 3 2 1 -

รวม 2,440 567 14 295 48 384 249 687 196 876 91 13 233 118 104 174 143 1,691 1,691 326 326 313 4 84 15 2 187 10 11 567 75 492 1,004 209 258 165 5 367 158 59 63 36


42

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 16 จำ�นวนนักศึกษาปัจจุบัน ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามระดับการศึกษา (ต่อ) สำ�นักวิชา/สาขาวิชา ศิลปศาสตร์ การปกครองท้องถิ่น การแปลและการล่ามภาษาจีน-ไทย การสอนภาษาจีน การสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ บริหารการศึกษา ภาษาจีน ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาอังกฤษ ภาษาและวัฒนธรรมไทย รัฐประศาสนศาสตร์ วัฒนธรรมศึกษา สังคมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวและบรรจุภัณฑ์ รวม

อนุปริญญา 165

ตรี 1,908 109 144 18 786 795 56 173 25 134 14 8,587

โท 205 2 13 64 2 101 23 7 3 4 872

เอก 32 32 76

รวม 2,145 109 2 144 13 64 18 786 795 58 101 23 32 180 3 25 138 14 9,700

ตารางที่ 17 จำ�นวนนักศึกษาต่างชาติปัจจุบัน ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามประเทศ ประเทศ กัมพูชา เกาหลี เคนยา แคเมอรูน จีน ญี่ปุ่น ภูฏาน เนปาล พม่า มาเลเซีย ลาว เวียดนาม ศรีลังกา สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา ออสเตรเลีย ออสเตรีย อิรัก รวม

ตรี 25 2 125 1 6 1 101 2 1 1 1 1 267

โท 1 1 5 1 1 18 3 1 31

เอก 2 3 4 1 10

รวม 1 25 1 2 132 1 7 1 101 1 23 3 4 2 1 1 1 1 308


43

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

2% อุตสาหกรรมเกษตร 180 คน

22% ศิลปศาสตร์ 2,145 คน

10% วิทยาศาสตร์สุขภาพ 1,004 คน 2% เวชศาสตร์ชะลอวัย และฟื้นฟูสุขภาพ 158 คน 6% วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง 567 คน

แผนภูมิที่ 8 จำ�นวนนักศึกษาปัจจุบัน ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสำ�นักวิชา

25% การจัดการ 2,440 คน

9% เทคโนโลยี สารสนเทศ 876 คน

18% นิติศาสตร์ 1,691 คน

3% พยาบาลศาสตร์ 326 คน 3% วิทยาศาสตร์ 313 คน


44

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

4. ผู้สำ�เร็จการศึกษาและภาวะการทำ�งาน

ผู้สำ�เร็จการศึกษา ในปีการศึกษา 2552 มีผู้สำ�เร็จการศึกษา จำ�นวน 1,407 คน เป็นผู้สำ�เร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา 55 คน ระดับปริญญาตรี 1,232 คน ระดับปริญญาโท 118 คน และระดับปริญญาเอก 2 คน


45

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 18 จำ�นวนผู้สำ�เร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2552 จำ�แนกตามสำ�นักวิชาและสาขาวิชา สำ�นักวิชา/สาขาวิชา การจัดการ การจัดการการท่องเที่ยว การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการโลจิสติกส์และซัพพลายเชน การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ การบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการระบบสารสนเทศเชิงกลยุทธ์ เทคโนโลยีมัลติมีเดียและการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ นิติศาสตร์ นิติศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เคมีประยุกต์ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีอุตสาหกรรมเซรามิก วิทยาศาสตร์ชีวภาพ วัสดุศาสตร์ วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง วิทยาศาสตร์สุขภาพ การแพทย์แผนไทยประยุกต์ การส่งเสริมสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ ศิลปศาสตร์ การปกครองท้องถิ่น การแปลและล่ามภาษาจีน-ไทย บริหารการศึกษา ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนธุรกิจ รัฐประศาสนศาสตร์ วัฒนธรรมศึกษา สังคมศาสตร์ อุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตรและการบรรจุ เทคโนโลยีการอาหาร รวม

อนุปริญญา 55 55 55

ตรี 368 127 66 37 102 36 169 22 50 24 18 24 31 191 191 28 5 23 61 61 105 82 23 277 49 117 111 33 9 24 1,232

โท 40 4 13 23 6 6 13 13 6 1 3 2 25 25 28 2 5 18 3 118

เอก 1 1 1 1 2

รวม 408 127 4 13 66 37 125 36 175 22 6 50 24 18 24 31 204 204 35 5 2 3 23 2 86 86 160 82 55 23 306 49 2 5 117 111 18 3 1 33 9 24 1,407


46

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ภาวะการทำ�งานของบัณฑิตปีการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้สำ�รวจภาวะการมีงานทำ�ของบัณฑิตระดับปริญญาตรี รุ่นที่ 7 ปีการศึกษา 2551 จำ�นวน 1,172 คน เมือ่ 12 มกราคม 2553 ซึง่ เป็นวันซ้อมรับปริญญา โดยมีผตู้ อบแบบสอบถาม จำ�นวน 1,120 คน

ตารางที่ 19 ภาวะการทำ�งานของบัณฑิต ปีการศึกษา 2551 รายละเอียดข้อมูล สถานภาพการทำ�งานของบัณฑิต (ไม่รวมผู้ไม่ประสงค์ทำ�งาน) ทำ�งานแล้ว กำ�ลังศึกษาต่อ ยังไม่ได้ทำ�งาน* ประเภทของงานที่ทำ� พนักงาน/ลูกจ้างเอกชน ข้าราชการ/เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐ ดำ�เนินธุรกิจอิสระ/เจ้าของกิจการ รัฐวิสาหกิจ อื่นๆ สถานที่ทำ�งาน กรุงเทพฯ และปริมณฑล ภาคเหนือ อื่นๆ ไม่ระบุ อัตราเงินเดือนที่ ได้รับ (ไม่รวมผู้สำ�เร็จการศึกษาที่ประกอบธุรกิจส่วนตัว) มากกว่า 15,000 บาท 12,001-15,000 บาท 10,001-12,000 บาท 7,940-10,000 บาท ตํ่ากว่า 7,940 บาท ไม่ระบุ

หมายเหตุ *ยังไม่ได้ทำ�งาน หมายถึง ยังไม่ประสงค์ทำ�งาน รอฟังคำ�ตอบจากหน่วยงาน และยังไม่มีงานทำ�

จำ�นวน (คน) 1,054 650 213 191 650 436 82 61 19 52 650 245 211 128 66 589 69 91 94 213 92 30

ร้อยละ 100 62 20 18 100 67 13 9 3 8 100 38 32 20 10 100 12 15 16 36 16 5


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

47

5. การพัฒนานักศึกษา ตามภารกิจหลักของมหาวิทยาลัย นอกจากการสร้างนักศึกษาให้เป็นบัณฑิตที่มี “ภูมิรู้” รอบรู้ในสาขาวิชาที่ ศึกษาแล้ว มหาวิทยาลัยยังมุ่งมั่นที่จะส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้ที่มี “ภูมิธรรม” และมีศักยภาพใน ด้านอื่นๆ ควบคู่กันไป โดยการจัดกิจกรรมที่เหมาะสมกับการพัฒนานักศึกษาแต่ละชั้นปี และใช้กลยุทธ์ในการ ส่งเสริมสนับสนุนให้นกั ศึกษาได้จดั กิจกรรมและมีสว่ นร่วมในกิจกรรมต่างๆ ทีถ่ นัดและสนใจ ตลอดระยะเวลาที่ ได้ศกึ ษาและใช้ชวี ติ อยู่ในมหาวิทยาลัย การพัฒนานักศึกษามีจดุ มุง่ หมายในการส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้มี บุคลิกภาพดีและรูจ้ กั การวางตัวในสังคม มีความเป็นผูน้ ำ�และผูต้ ามทีด่ ี มีทกั ษะของการจัดการ มีประสบการณ์ การอยู่ร่วมกันและการทำ�งานเป็นทีม มีระเบียบวินัยและเคารพในกติกาของสังคม มีสุขภาพและพลานามัยดี มีจิตสำ�นึกของความเป็นคนดี มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม และมีความอดทนและเสียสละ เพื่อให้ บรรลุเป้าหมายในการพัฒนานักศึกษาในด้านต่างๆ ข้างต้น ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยจึงได้จัด กิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะด้านต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมด้านวิชาการและพัฒนาศักยภาพ เป็นกิจกรรมที่เน้นการเสริมความรู้ทางวิชาการในหลักสูตร รวม ถึงความรู้ทางวิชาการอื่นๆ ที่นอกเหนือจากที่ระบุไว้ในหลักสูตร ซึง่ เป็นความรูท้ น่ี กั ศึกษาสามารถนำ�ไปใช้พฒ ั นาศักยภาพการเรียนรู้ ในมหาวิทยาลัย และนำ�ไปประยุกต์ใช้ในการดำ�เนินชีวิตในสังคม เมื่อสำ�เร็จการศึกษาได้อย่างเหมาะสม อาทิ การบรรยายพิเศษ เรื่อง บนเส้นทางสู่ความสำ�เร็จ การปัจฉิมนิเทศนักศึกษา การ ปฐมนิเทศนักศึกษา การอบรมผู้นำ�สันทนาการ กิจกรรม How to Live and Learn on Campus 2010 กิจกรรมค่ายพัฒนาศักยภาพ นักศึกษา กิจกรรมพัฒนาบุคลิกภาพนักศึกษา และกิจกรรมประชุม สัมมนาเพื่อพัฒนาบัณฑิตอุดมคติไทยในเขตภาคเหนือ


48

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

กิจกรรมด้านกีฬาและสุขภาพ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีสุขภาพและพลานามัยที่ดี โดยสนับสนุนให้นักศึกษาใช้เวลาว่างในการ เล่นกีฬาอย่างถูกต้องเหมาะสม และส่งเสริมให้เข้าร่วมการแข่งขันกีฬา ตลอดจนใช้กีฬาเป็นสื่อในการสร้าง ความสามัคคีในหมู่นักศึกษา และเป็นกิจกรรมที่เชื่อมความสัมพันธ์ทั้งภายในมหาวิทยาลัยและระหว่างสถาบัน โดยกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยได้เข้าร่วม อาทิ กิจกรรมการแข่งขันหมากล้อมอุดมศึกษา ครั้งที่ 14 กิจกรรมกีฬา มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 37 กิจกรรมการแข่งขันบาสเกตบอลยุพราชโอเพ่นครั้งที่ 5 กิจกรรมกีฬา 5สถาบันอุดมศึกษา เชียงราย-พะเยา ครั้งที่ 5 นอกจากนี้มหาวิทยาลัยยังได้ส่งเสริมการจัดกิจกรรมภายใน เพื่อสร้างความสามัคคีในหมู่นักศึกษา อาทิ มหกรรมกีฬาหมากกระดาน MFU Board Game Tournament กิจกรรมกีฬาลำ�ดวนเกมส์ ครั้งที่ 8 กิจกรรมการแข่งขันฟุตบอลแม่ฟ้าหลวงสัมพันธ์ กิจกรรมดอยแง่ม เดิน-วิ่ง มินิ-มาราธอน และกิจกรรมอบรมทักษะกีฬาและสุขภาพ

กิจกรรมด้านส่งเสริมการทำ�นุบำ�รุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อม เป็นกิจกรรมที่มุ่งหวังให้นักศึกษาเป็นผู้ที่มีความภาคภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นและของชาติ ในขณะ เดียวกัน ได้ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมของต่างชาติที่สอดคล้องกับระบบการเรียนการสอน ของมหาวิทยาลัย และส่งเสริมให้นกั ศึกษาใช้หลักศาสนาทีต่ นนับถือเป็นเครือ่ งยึดเหนีย่ วจิตใจ และเป็นแนวทาง ในการดำ�รงชีวิต รวมทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการอนุรักษ์ สิง่ แวดล้อม โดยสนับสนุนให้นกั ศึกษาเข้าร่วมและจัดกิจกรรมทำ�นุบ�ำ รุง ส่งเสริมศาสนา และศิลปวัฒนธรรมอย่างต่อเนือ่ ง อาทิ กิจกรรมอุม้ พระ ขึ้นดอย กิจกรรม Young power seed กิจกรรมธรรมะชำ�ระใจ กิ จ กรรมดนตรี ไ ทยอุ ด มศึ ก ษาครั้ ง ที่ 37 กิ จ กรรมศิ ล ปวั ฒ นธรรม อุดมศึกษาครั้งที่ 9 กิจกรรมสานสัมพันธ์มิตรภาพ 7 มหาวิทยาลัย ไทย-ลาว กิจกรรมภาษาและวัฒนธรรมนานาชาติ และกิจกรรมรักสัตว์ รักป่าปลูกต้นกล้าอนุรักษ์


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

49

กิจกรรมด้านสังคมและบำ�เพ็ญประโยชน์ของนักศึกษา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนานักศึกษาให้เป็นผู้มี จิ ต สาธารณะและมี ค วามเสี ย สละเห็ น แก่ ป ระโยชน์ ส่วนรวมมากกว่าประโยชน์ส่วนตน โดยสนับสนุนให้ นักศึกษาจัดกิจกรรมเพื่อบำ�เพ็ญประโยชน์ต่อสังคม และได้เรียนรู้ถึงการเป็นผู้ให้และการตอบแทนสังคม อาทิ กิจกรรมทำ�ความดีเพื่อพ่อหลวง กิจกรรมจิตสำ�นึก แห่ ง การเป็ น พลเมื อ งดี กิ จ กรรมแบ่ ง ฝั น ปั น นํ้ า ใจ กิจกรรมปันนํ้าใจให้น้อง (ตามรอยเท้าพ่อ) ครั้งที่ 5

กิจกรรมด้านนักศึกษาสัมพันธ์และกิจกรรมอื่นๆ เป็นกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยร่วมกับองค์การนักศึกษาจัดเพื่อสร้างความสามัคคีและความสัมพันธ์อันดีระหว่าง นักศึกษา รวมทั้งเพื่อพัฒนาบุคลิกภาพ ความเป็นผู้นำ�และเตรียมความพร้อมในการเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย ตลอดจนเตรียมความพร้อมในด้านต่างๆ ให้กับนักศึกษาก่อนเข้าสู่โลกของการใช้ชีวิตภายหลังจากการสำ�เร็จ การศึกษา อาทิ กิจกรรมสรรหาความเป็นผูน้ � ำ กิจกรรมวันนัดรวมพลคนกิจกรรม ครัง้ ที่ 4 กิจกรรมค่ายรวมพล คนทำ�งาน กิจกรรมสัมพันธ์ฉันท์พี่น้อง กิจกรรมชิงธงสำ�นักวิชา กิจกรรมสานสัมพันธ์ 8 องค์กร


50

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

กิจกรรมด้านการส่งเสริมความเป็นนานาชาติ เป็นกิจกรรมที่มุ่งสร้างบรรยากาศที่เกื้อกูลต่อความเป็นนานาชาติ ทั้งการจัดให้มีการเรียนการสอนเป็นภาษา อังกฤษ และการจัดกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมความเป็นนานาชาติให้แก่นกั ศึกษา โดยมีชมรมนานาชาติ (International Club) ซึ่งเน้นให้นักศึกษาเป็นผู้ดำ�เนินกิจกรรม อาทิ กิจกรรม American Independent Day กิจกรรม Mae Fah Luang International Festival 2010 กิจกรรม Myanmar Cultural Festival 2010 กิจกรรมค่าย ภาษาและวัฒนธรรมจีน กิจกรรมการแสดงดนตรีและเสียงเพลงจากมหาวิทยาลัยเซี่ยเหมิน และกิจกรรม English Year 2010


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

51

6. สวัสดิการนักศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ได้ให้บริการและจัดสวัสดิการต่างๆ เพือ่ ให้บริการด้านทีพ่ กั อาศัย แก่นกั ศึกษาทีพ่ กั อยู่ ในหอพักของมหาวิทยาลัย เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสใช้ชีวิตร่วมกัน ทำ�ให้เกิดการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของนักศึกษา ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยมีหอพักสำ�หรับให้บริการนักศึกษา จำ�นวน 14 หลัง ประกอบด้วย หอพักสำ�หรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 จำ�นวน 7 หลัง สามารถรองรับนักศึกษาได้ 2,400 คน หอพักสำ�หรับนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 ขึ้นไป จำ�นวน 7 หลัง รองรับนักศึกษาได้ 1,960 คน มหาวิทยาลัยได้จดั อาคารหอพักให้มสี งิ่ แวดล้อมทีเ่ หมาะสม สะอาด ท่ามกลางธรรมชาติและทัศนียภาพอันงดงาม มีลานกีฬากลางแจ้งให้นักศึกษาออกกำ�ลังกาย รวมทั้งจัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย ระบบไฟฟ้าฉุกเฉิน แจ้งเหตุเพลิงไหม้ และจัดสิง่ อำ�นวยความสะดวกต่างๆ ไว้ให้บริการ อาทิ รถไฟฟ้าสำ�หรับบริการรับส่งนักศึกษา ระบบอินเทอร์เน็ตในทุกอาคารหอพัก อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าส่วนกลาง ห้องอ่านหนังสือ ห้องคอมพิวเตอร์ ห้องดูโทรทัศน์ ตลอดจนร้านสะดวกซือ้ และร้านอาหาร นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยได้จดั ตัง้ สำ�นักงานให้ค�ำ ปรึกษา และช่วยเหลือนักศึกษา เพื่อให้คำ�ปรึกษาและช่วยเหลือนักศึกษาทั้งด้านการเรียนและการพัฒนาตนเองตลอด ระยะเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัย โดยมีกิจกรรมสำ�คัญอาทิ การติวเสริมเพิ่มกำ�ลังใจ การติดตามและให้ ความช่วยเหลือเบื้องต้นแก่นักศึกษา การติดตามนักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตํ่ากว่า 2.00 และการแนะแนว ทางการศึกษาต่อ


52

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

7. ทุนการศึกษา มหาวิทยาลัยมีนโยบายทีส่ �ำ คัญในการช่วยเหลือนักศึกษาด้านทุนการศึกษา คือ “จะไม่มนี กั ศึกษาคนใดทีเ่ รียนได้ จะต้องออกจากมหาวิทยาลัยแห่งนี้เพราะความยากจน” เพื่อสนองตอบนโยบายดังกล่าว ในปีการศึกษา 2553 มหาวิทยาลัยได้จัดให้มีทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาหลายประเภท ดังนี้

ทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล (กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา/กองทุนเงินให้กู้ยืมที่ผูกกับรายได้ในอนาคต) มหาวิทยาลัยได้จัดสรรให้ นักศึกษากูย้ มื เงินกองทุนเงินให้กยู้ มื เพือ่ การศึกษาไปแล้ว จำ�นวน 2,411 ราย เป็นเงินทัง้ สิน้ 154,485,150 บาท

ทุนบริจาคทั่วไป เป็นทุนที่ผู้มีจิตศรัทธามอบแก่นักศึกษา ทั้งประเภทเป็นรายปีการศึกษาและทุนต่อเนื่องจนจบการศึกษา โดยมี ผูบ้ ริจาคผ่านสำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ และบริจาคให้มหาวิทยาลัยโดยตรง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยเหลือนักศึกษาที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ และเรียนดี มีผลคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ตํ่ากว่า 2.00 มหาวิทยาลัยจัดสรรทุนการศึกษาให้นักศึกษาไปแล้วจำ�นวน 362 ราย รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 4,988,050 บาท


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

53

ทุนการศึกษาโครงการพิเศษต่างๆ เป็น ทุน ที่สนับสนุนค่าเล่าเรียนให้แก่นักศึกษา มีการจัดสรรทุน นักเรียนดีเด่นในชุมชนรอบมหาวิทยาลัย ทุนสนับสนุนบุตร-ธิดาพนักงานโครงการพัฒนาดอยตุงฯ และทุนสนับสนุนการศึกษานักศึกษาจากจังหวัด ชายแดนภาคใต้ จัดสรรให้แก่นักศึกษาจำ�นวน 34 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 2,420,100 บาท

ทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาต่างชาติ เป็นทุนการศึกษาสำ�หรับนักศึกษาในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง (GMS) ได้แก่ ลาว เวียดนาม กัมพูชา พม่า จีน (ยูนนาน) รวมถึงภูฏาน และเนปาล โดยมหาวิทยาลัยให้การสนับสนุนทุนการศึกษาแบบเต็มจำ�นวน (ค่าเล่าเรียน ค่าหอพักและค่าใช้จา่ ยประจำ�เดือน) และทุนการศึกษาบางส่วน (ค่าเล่าเรียนเต็มจำ�นวน และหรือ ครึ่งหนึ่งของค่าเล่าเรียน) โดยจัดสรรให้นักศึกษาประเทศละ 2 ทุนต่อปี ในระดับปริญญาตรีและปริญญาโท โดยได้รับความร่วมมือจากสถานทูตจากกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงดังกล่าวประจำ�ประเทศไทย ในการ ประชาสัมพันธ์การให้ทุน และคัดเลือกนักศึกษาในเบื้องต้นเป็นประจำ�ทุกปี นอกจากนี้ยังมีทุนการศึกษาที่ได้ รับการสนับสนุนค่าเล่าเรียนระดับปริญญาโท จากสำ�นักงานเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศมอบให้นักศึกษา จากประเทศลาวมาศึกษาระดับปริญญาโทในสาขาวิชานิติศาสตร์ สำ�นักวิชานิติศาสตร์ จำ�นวน 10 ราย โดยปี การศึกษา 2553 ได้จัดสรรทุนการศึกษารวมทั้งสิ้น 12 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 1,191,600 บาท

ทุนการศึกษาสิรินธร เป็น ทุนการศึกษาที่ ได้รับพระราชทานชื่อกองทุนจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่องในวโรกาสครบรอบพระชนมายุครบ 48 พรรษา โดยมีจุดหมายเพื่อให้ความช่วยเหลือนักเรียนยากจน ในถิน่ ทุรกันดาร ทีม่ ผี ลการเรียนดีเด่น จบชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 และกำ�ลังจะเข้าศึกษาต่อในระดับชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 4 ให้สามารถเล่าเรียนได้จนจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ทั้งนี้ ในระยะแรกได้จัดให้เฉพาะในพื้นที่จังหวัด ภาคเหนือ ได้แก่ เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน โดยปีการศึกษา 2553 ได้จัดสรรทุนการศึกษาทั้งสิ้น 41 ราย รวมเป็นจำ�นวนเงินทั้งสิ้น 1,377,350 บาท จำ�แนกเป็นทุนสำ�หรับนักศึกษา (ต่อเนื่องจากมัธยมศึกษา) จำ�นวน 14 ราย เป็นเงิน 1,227,500 บาท และโรงเรียนมัธยมศึกษา จำ�นวน 27 ราย เป็นเงิน 149,850 บาท

ทุนประเภทอื่น เป็นทุนการศึกษา ที่ดำ�เนินการตามเงื่อนไขของแต่ละทุนการศึกษา ได้แก่ • ทุนเงินยืมฉุกเฉิน ให้ความช่วยเหลือนักศึกษาที่มีความจำ�เป็นเร่งด่วนในการใช้จ่ายเงิน จำ�นวน 362 ราย เป็นเงินทั้งสิ้น 359,500 บาท • ทุนโครงการอาหารกลางวัน ให้ ค วามช่ วยเหลื อ นั ก ศึ ก ษาที่ มี ค วามจำ � เป็ นและอาสาช่ วยงานภายใน มหาวิทยาลัย โดยจ่ายเป็นคูปองอาหารกลางวันให้แก่นกั ศึกษา จำ�นวน 6,293 ราย เป็นเงินทัง้ สิน้ 157,325 บาท • ทุนให้ความช่วยเหลือนักเรียนในถิ่นทุรกันดารที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ โดยให้ความช่วยเหลือโรงเรียนตำ�รวจ ตระเวนชายแดนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย 13 โรงเรียน เป็นเงินทั้งสิ้น 314,343 บาท


54

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 20 ทุนการศึกษา ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสาขาวิชาและประเภททุนการศึกษา สำ�นักวิชา/สาขาวิชา สำ�นักวิชาการจัดการ การจัดการการท่องเที่ยว การจัดธุรกิจการบิน การจัดการอุตสาหกรรมการบริการ การบัญชี บริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์ สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีมัลติมีเดีย และการสร้างภาพเคลื่อนไหว วิทยาการคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมการสื่อสารและสารสนเทศ วิศวกรรมคอมพิวเตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ สำ�นักวิชานิติศาสตร์ นิติศาสตร์ สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ พยาบาลศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ เคมีประยุกต์ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง เทคโนโลยีความงาม วิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ กายภาพบำ�บัด การแพทย์แผนไทยประยุกต์ การส่งเสริมสุขภาพ วิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สาธารณสุขศาสตร์ สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ การสอนภาษาจีน ภาษาจีนธุรกิจ ภาษาและวัฒนธรรมไทย ภาษาอังกฤษ

กองทุนเงิน ให้กู้ยืม ของรัฐบาล บาท (คน) 32,699,500 (554) 7,749,000 (142) 7,889,700 (99) 6,710,700 (125) 3,137,400 (56) 4,617,700 (86) 2,595,000 (46) 11,166,300 (186) 993,800 (16) 2,262,100 (39)

970,750 181,000 134,000 234,000 104,000 281,750 36,000 378,000 30,000 53,000

(70) (14) (10) (17) (8) (18) (3) (31) (3) (5)

1,720,200 1,256,400 2,223,600 2,710,200 19,323,400 19,323,400 14,656,000 14,656,000 6,067,000 1,698,000 4,369,000 7,356,500 1,786,450 5,570,050 33,299,350 7,271,600 6,598,850 7,919,100 139,200 11,370,600 26,868,200 3,204,000 14,711,600 8,952,600

89,000 24,000 122,000 60,000 749,000 749,000 537,000 537,000 292,000 93,000 199,000 282,000 60,000 222,000 664,000 90,000 314,000 260,000 942,300 261,500 387,800 5,000 288,000

(7) (2) (9) (5) (52) (52) (34) (34) (21) (6) (15) (22) (5) (17) (53) (8) (24)

(28) (22) (37) (44) (353) (353) (179) (179) (99) (28) (71) (105) (24) (81) (483) (97) (92) (107) (2) (185) (401) (52) (186) (163)

ทุนบริจาค บาท (คน)

(21) (68) (15) (30) (1) (22)

ทุนโครงการ พิเศษและ นักศึกษาต่างชาติ บาท (คน) 546,450 (8) 315,700 (4) 94,600 (1) 88,400 (1) 47,750 (2) 344,200 (5) 103,800 (1) 44,000 (1)

กองทุน การศึกษา สิรินธร บาท (คน) 67,600 (1) 67,600 (1) 221,600 (3) -

102,000 (2) 94,400 (1) 196,000 (3) 196,000 (3) 536,000 (5) 536,000 (5) 352,800 (5) 90,800 (1) 262,000 (4) 784,800 (10) 139,600 (2) 55,800 (1) 589,400 (7) 358,100 (6) 128,800 (2) 229,300 (4)

73,600 148,000 78,400 78,400 98,000 98,000 82,100 82,100 298,600 198,000 100,600 381,200 313,600 67,600

(1) (2) (1) (1) (1) (1)

(1) (1) (3) (2) (1)

(4) (3) (1)


55

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 20 ทุนการศึกษา ปีการศึกษา 2553 จำ�แนกตามสาขาวิชาและประเภททุนการศึกษา (ต่อ) สำ�นักวิชา/สาขาวิชา สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร เทคโนโลยีการจัดการผลิตผลเกษตร และการบรรจุ เทคโนโลยีการอาหาร เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว และบรรจุภัณฑ์ โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา รวม

กองทุนเงิน ทุนบริจาค ทุนโครงการ ให้กู้ยืม บาท (คน) พิเศษและ ของรัฐบาล นักศึกษาต่างชาติ บาท (คน) บาท (คน) 3,048,900 (51) 173,000 (11) 508,200 (8) 12,000 (1) 2,367,000 173,700

(40) 155,000 (3) 6,000

(9) (1)

-

กองทุน การศึกษา สิรินธร บาท (คน) -

149,850 (27) 149,850 (27) 154,485,150 (2,411) 4,988,050 (362) 3,118,350 (42) 1,377,350 (41)

ตารางที่ 21 ทุนการศึกษาอื่นๆ ปีงบประมาณ 2553 ประเภททุน ทุนเงินยืมฉุกเฉิน ทุนโครงการอาหารกลางวัน โครงการช่วยเหลือนักเรียนในถิ่นทุรกันดารฯ (ตชด.)

จำ�นวน 362 คน 6,293 คน 13 โรงเรียน

จำ�นวน (บาท) 359,500 157,325 314,343


56

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษา

มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงมีการดำ�เนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษามาอย่างต่อเนือ่ ง โดยมีระบบและกลไกในการควบคุม คุณภาพภายใน ได้แก่ การประกันคุณภาพการศึกษา การพัฒนาการเรียนการสอน กิจกรรม 5ส การควบคุมภายใน และบริหารความเสี่ยง ส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีการพัฒนาทางด้านวิชาการและการบริหารจัดการอย่างรวดเร็ว โดยมี ระบบและกลไกในการพัฒนาคุณภาพ ดังนี้ 1. การประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงดำ�เนินการพัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายในมาอย่างต่อเนือ่ ง นับตั้งแต่เริ่มรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2542 และต่อเนื่องมาตามลำ�ดับ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยได้ดำ�เนินกิจกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่สำ�คัญได้แก่ ตารางที่ 22 กิจกรรมด้านการประกันคุณภาพการศึกษาที่สำ�คัญ ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6 7

วัน เดือน ปี 19 ก.พ. 53 8 - 9 มี.ค. 53 17 พ.ค. 53 14 มิ.ย. 53 15 - 16 ก.ค. 53 30 ก.ค. - 7 ก.ย. 53 15 - 17 ก.ย. 53

กิจกรรม จัดสัมมนา เรื่อง แนวทางการจัดเก็บข้อมูล เพื่อการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำ�ปีการศึกษา 2552 อบรมการประกันคุณภาพการศึกษาสำ�หรับนักศึกษา จัดอบรมเชิงปฏิบตั กิ าร การบันทึกข้อมูลเข้าสูร่ ะบบฐานข้อมูลการประกันคุณภาพการศึกษา ประชุมชี้แจงการจัดทำ�รายงานการประเมินตนเอง ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับศูนย์ / หน่วยงานสนับสนุน ประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสำ�นักวิชา ประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับมหาวิทยาลัย

ซึ่งผลจากการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปีการศึกษา 2552 มหาวิทยาลัยมีผลการประเมินระดับดีมาก ได้คะแนน 2.67 จากคะแนนเต็ม 3.00 โดยองค์ประกอบที่มีผลการประเมินระดับดีมาก คือ องค์ประกอบ ที่ 3 กิจกรรมพัฒนานักศึกษา องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม องค์ประกอบที่ 6 การทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม องค์ประกอบที่ 7 การบริหารจัดการ องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ และองค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกประกันคุณภาพการศึกษา


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

57

2. การพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ดำ�เนินการพัฒนาการเรียนการสอนมาอย่างต่อเนื่องโดยมุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนา ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนอย่างสูงสุด โดยจัดให้มีโครงการพัฒนาด้านวิชาการและพัฒนาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ที่มุ่งเน้นการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์ในด้านบทบาทของความเป็นอาจารย์ มีความเข้าใจในกระบวนการการพัฒนาแบบทดสอบ หลักการวัดและประเมินผลการศึกษา การเป็นอาจารย์ ที่ปรึกษาที่ดี การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำ�คัญ การสร้างความรู้สึกนึกคิดที่จะต้องทำ�งานเพื่อสร้างผลผลิตที่ มีคุณภาพแก่ประเทศชาติ โดยมีการดำ�เนินโครงการที่สำ�คัญ อาทิ โครงการ Developing PBL-models and Designing PBL-teaching Experiments โครงการการถ่ายทอดองค์ความรูส้ ตู่ วั บุคคล โครงการอาศรมวิชาการ และวิจัย จำ�นวน 16 ครั้ง โครงการสัมมนาเชิงวิชาการ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรและกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ และโครงการพัฒนาข้อสอบมาตรฐานรายวิชาพื้นฐานต่างๆ นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงได้เล็งเห็นบทบาทความสำ�คัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรม ต่างๆ ที่ดำ�เนินไปอย่างไม่หยุดนิ่ง และนำ�มาซึ่งการเรียนรู้ในลักษณะที่ผู้เรียนสามารถเข้าถึงแหล่งองค์ความรู้ ด้วยตนเอง จึงได้จัดโครงการพัฒนาวิชาการนักศึกษาเพื่อให้นักศึกษามีวิวัฒนาการที่ต่างไปจากความคิดเดิม และการเรียนรู้แบบเดิมที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองจากนอกห้องเรียน ช่วยพัฒนาระดับการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการตัดสินใจทางวิชาการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีการดำ�เนินโครงการที่สำ�คัญ อาทิ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการเทคนิคการนำ�เสนอผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ โครงการพัฒนาทักษะการเป็น ผู้ประกอบการ โครงการเพิ่มศักยภาพการผลิตอาหารปลอดภัยด้วย GMP (Good Manufacturing Practice) และ HACCP (Hazard Analysis and Critical Points) และโครงการอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น


58

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

3. กิจกรรม 5ส กิจกรรม 5ส เป็นกิจกรรมพื้นฐานในการพัฒนาคนและพัฒนาองค์กร ที่บุคลากรของมหาวิทยาลัยได้ร่วมมือ ร่วมใจ ในการเสริมสร้างองค์กรให้เกิดความสะอาด ความเป็นระเบียบ และความมีวินัยในการทำ�งาน ซึ่งจะ ส่งผลต่อการเพิม่ ประสิทธิภาพในการทำ�งานให้มากยิง่ ขึน้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ได้ดำ�เนินกิจกรรม 5ส เป็นปีที่ 6 โดยมีกิจกรรมที่สำ�คัญ อาทิ กิจกรรมวันทำ�ความสะอาดใหญ่ (Big Cleaning Day) การตรวจสอบกิจกรรม 5ส มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำ�ปี 2553 และการศึกษาดูงานระบบกิจกรรม 5ส ณ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อำ�เภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่


59

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การวิจัย งานวิจัยของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง แบ่งเป็น 2 ด้าน คือ งานวิจัยด้านวิชาการซึ่งเป็นการวิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ ทางวิชาการ และงานวิจัยสถาบันซึ่งเป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพในการบริหารจัดการ 1. การวิจัยด้านวิชาการ

งบประมาณสนับสนุนการวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ดำ�เนินงานวิจัยด้านวิชาการ โดยได้รับงบประมาณใน การดำ�เนินงานจาก 2 แหล่ง คือ งบประมาณของมหาวิทยาลัย และงบประมาณจากแหล่งทุนภายนอก รวม 55 โครงการ เป็นเงินจำ�นวน 37,833,564 บาท

17% แหล่งทุนภายนอก 6,404,040 บาท

83% งบประมาณของมหาวิทยาลัย 31,429,524 บาท

แผนภูมิที่ 9 โครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำ�แนกตามแหล่งงบประมาณ

7% สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2,385,370 บาท 17% สายสังคมศาสตร์ 6,576,284 บาท

แผนภูมิที่ 10 โครงการวิจัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 จำ�แนกตามกลุ่มสาขาวิชา

76% สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 28,871,910 บาท


60

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 23 โครงการวิจัยจากงบประมาณของมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ลำ�ดับ ชื่อโครงการวิจัย สายสังคมศาสตร์ 1 วิสาหกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชนขนาดกลาง และขนาดย่อม ระยะที่ 2 2 ความหลากหลายทางภาษาและชาติพันธุ์ ในอำ�เภอเชียงแสน ระยะที่ 2 3 การเปลี่ยนแปลงของคำ�ศัพท์และวรรณยุกต์ ในภาษาไทลื้อตามกลุ่มอายุ เพศ และความสะดวก ของการคมนาคม: ความรู้พื้นฐานเพื่อการ อนุรักษ์ภาษาและพัฒนาการท่องเที่ยว ระยะที่ 2 4 การศึกษาปัญหาการจ้างเหมาแรงงาน ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน 5 อำ�นาจพนักงานอัยการในการฟ้องคดีเพื่อตรวจสอบ ความชอบด้วยกฎหมายของนิติกรรมทางปกครอง สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6 การพัฒนาสมบัติของอิเล็คโตรไลต์สำ�หรับเซลล์ เชื้อเพลิงชนิด SOFC ระยะที่ 4 7 การจัดทำ�แบบจำ�ลองภาพเสมือนจริงเพื่อเตือนภัย การพังทลายของดินในจังหวัดเชียงราย ระยะที่ 2 8 การพัฒนาเตาเผาเซรามิกประหยัดพลังงาน สำ�หรับโครงการหนึ่งตำ�บลหนึ่งผลิตภัณฑ์ ระยะที่ 3 9 การวิเคราะห์หาสารทำ�ให้ผิวขาวจากกระแจะ ระยะที่ 2 10 การจำ�แนกกลุ่มและการศึกษาวงศ์วานวิวัฒนาการ ของเชื้อรา กลุ่ม phyllosticta ในภาคเหนือ ของประเทศไทย 11 การค้นหาสารออกฤทธิ์ต้านมาลาเรีย และมะเร็งจากมะตูม 12 การแยก การศึกษาคุณลักษณะและการใช้ประโยชน์ เอนไซม์ย่อยโปรตีนจากยางรัก ระยะที่ 2 13 การจำ�แนกประเภทของกลุ่มของสมการของไหล หนึ่งมิติซึ่งมีความเฉื่อยภายในซึ่งมีเอนโทรปี 14 การศึกษาองค์ประกอบทางเคมีที่มีบทบาท เกี่ยวกับความหอม องค์ประกอบสารระเหย ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ทางชีวภาพ ของดอกลำ�ดวน 15 การพัฒนาชุดทดสอบโพลิฟีนอลทั้งหมดในชาเพื่อการค้า 16 ระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบ ประกันคุณภาพระดับมหาวิทยาลัย

หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษบา สิทธิการ อาจารย์รุ่งวิมล รุ่งโรจน์สุวรรณ

งบประมาณ (บาท) 1,909,400 1,317,600 218,300

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผณินทรา ธีรานนท์

173,500

อาจารย์วีระพงษ์ บึงไกร

100,000

อาจารย์สุชิน กฤตลักษณ์วงศ์

100,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี วัฒนศิริเวช อาจารย์ บรรพจณ์ โนแบ้ว

3,486,200 907,300 390,500

อาจารย์ ดร.อนันต์ อึ้งวณิชยพันธ์

326,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐยา เหล่าฤทธิ์ รองศาสตราจารย์ ดร.เควิน ดี ไฮด์

322,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรัตน์ ละภูเขียว ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ รอดคืน อาจารย์ ดร.ปิยะนุช ศิริวัฒน์

190,000

อาจารย์ ดร.พัชรีย์ พริบดีเวช

100,000

อาจารย์ ดร.ธีรพงษ์ เทพกรณ์ อาจารย์วิทยาศักดิ์ รุจิวรกุล

100,000 100,000

230,000

180,000 100,000


61

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 23 โครงการวิจัยจากงบประมาณของมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ลำ�ดับ ชื่อโครงการวิจัย 17 การเปรียบเทียบประสิทธิภาพการต้านอนุมูลอิสระ ของสารสกัดเปลือกเมล็ดมะขามหวานไทยพันธุ์ต่างๆ 18 การประเมินฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัด จากเปลือกผลลิ้นจี่ สละ และเปลือกเมล็ดละมุด 19 ผลกระทบของปัจจัยทางภูมิอากาศ ต่อการเสียชีวิตของประชาชนในจังหวัดเชียงราย: การพัฒนาซอฟต์แวร์บีไอทางด้านนิเวศ วิทยาพยากรณ์และการจัดการ 20 ผลของสารสกัดกวาวเครือต่อการส่งเสริม การเจริญของเส้นผม 21 การประยุกต์ใช้การรับรู้ระยะไกล เพื่อการวิเคราะห์ป่าไม้แบบอัตโนมัติ กรณีศึกษา: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 22 SEQUENTIAL OBJECT SEGMENTATION AND TRACKING WITH HUMAN KNOWLEDGE ASSOCIATION สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ 23 การพัฒนารูปแบบการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ในระดับชุมชน โดยผสมผสานการแพทย์ แผนไทยประยุกต์และส่งเสริมสุขภาพ ระยะที่ 3 24 ภาวะสุขภาพ ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน และการสร้างเสริมสุขภาพของ ชนชาติพันธุ์อาข่าในประเทศไทย ระยะที่ 3 25 เจลระงับการอักเสบจากสารสกัดเนระพูสีไทย 26 รวม

ผลของโปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่งตน ต่อพฤติกรรม ส่งเสริมสุขภาพของเด็กวัยเรียน โรคธาลัสซีเมีย

หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐยา เหล่าฤทธิ์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.มยุรี กัลยาวัฒนกุล อาจารย์ ดร.วัชรพงศ์ ศรีแสง

งบประมาณ (บาท) 100,000 100,000 100,000

อาจารย์พหล แสนสมชัย

100,000

อาจารย์ ดร.สุรพงษ์ อุตมา

98,000

อาจารย์ ดร.จอห์น ชิเวอตัน

42,400

อาจารย์ ดร.ธวัชชัย อภิเดชกุล

1,008,440 383,500

อาจารย์ ดร.ธวัชชัย อภิเดชกุล

351,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยง รุจจนเวท อาจารย์เกศมณี มูลปานันท์

174,000 99,940 6,404,040


62

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 24 โครงการวิจัยจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ลำ�ดับ ชื่อโครงการวิจัย สายสังคมศาสตร์ 1 การศึกษาความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรม ร่วมภูมิภาค : ผลกระทบต่อวัฒนธรรม ล้านนา 2 การวิจัยการจัดทำ�แผนแม่บทการพัฒนา และจัดระเบียบพื้นที่ ที่กองบัญชาการ กองทัพไทยขอใช้ประโยชน์ทางทหาร จากกรมป่าไม้ในพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่ และจังหวัดเชียงราย 3 การจัดการห่วงโซ่อุปทานของมะม่วงสด และสุก หลังการเก็บเกี่ยวไปยังตลาด เพื่อการส่งออก : ศึกษาเกษตรกร และผู้ส่งออกในจังหวัดภาคกลาง และภาคเหนือของประเทศไทย 4 ประสิทธิผลการมีส่วนร่วมทางการเมือง ของประชาชนในจังหวัดเชียงราย ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 5 การปรับเปลี่ยนโครงสร้างระบบห่วงโซ่ คุณค่าและกลยุทธ์การตลาดสินค้า เกษตรอินทรีย์ภายใต้ความแตกต่างของ ระบบการรับรองเกษตรอินทรีย์ สำ�หรับ ห้างสรรพสินค้าและการส่งออกของ ประเทศไทย 6 พฤติกรรมการประมวลผลภาษา และสมิทธิภาพในการอ่านของคนไทย 7

8

ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศต่ออุตสาหกรรม การท่องเที่ยวในอำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย การศึกษาแหล่งวางไข่และอนุบาลลูกปลาบึก จากฐานวัฒนธรรมและภูมิปัญญาชาติพันธุ์ ในพื้นที่สองฝั่งแม่นํ้าโขง

หัวหน้าโครงการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุนันทา ฟาเบรอ

แหล่งทุน

งบประมาณ (บาท) 4,666,884 สำ�นักงานคณะกรรมการ 1,200,000 วิจัยแห่งชาติ (วช.)

รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน

กรมส่งกำ�ลัง บำ�รุงทหาร กองบัญชาการ กองทัพไทย

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงจันทร์ กันตะบุตร

สำ�นักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ (วช.)

725,560

อาจารย์วรพชร จันทร์ขันตี

สำ�นักงาน สภาพัฒนาการเมือง สถาบันพระปกเกล้า

511,574

อาจารย์สุเทพ นิ่มสาย

สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

480,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ

360,000

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บุษบา สิทธิการ

สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และสำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (สสท.)

อาจารย์ ดร.พลวัฒ ประพัฒน์ทอง

เครือข่ายบริหารการวิจัย ภาคเหนือตอนบน

100,000

1,100,000

189,750


63

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 24 โครงการวิจัยจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ลำ�ดับ ชื่อโครงการวิจัย สายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 โครงการต้นแบบศูนย์ทางไกล เพื่อการศึกษาและการพัฒนาชนบท 10 11

12 13 14

15 16

17

18

โครงการศึกษาแนวทางการปรับตัว ของผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการส่งออกสินค้าชา โครงการพัฒนาอุตสาหกรรมสื่อดิจิตอล เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ อำ�เภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย โครงการวิจัยการฟื้นฟูแหล่งอาหาร และความหลากหลายทางชีวภาพของชุมชน จังหวัดเชียงราย การสกัดบรอมิเลนจากวัสดุเศษเหลือ ของสับปะรด เพื่อประยุกต์ใช้ในอาหาร และเครื่องสำ�อาง บทบาทของสารควบคุมการเจริญเติบโต ของพืชต่อการต้านออกซิเดชั่น และอาการไส้สีนํ้าตาลในสับปะรดพันธุ์ภูแล และนางแล ผลของแคลเซียมและโบรอนต่ออาการส้ม ผิวมะกรูด ในส้มพันธุ์สายนํ้าผึ้ง การยกระดับการผลิตตามระบบ “หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (GMP: Codex)” ของ บริษัทวังพุดตาล จำ�กัด การยกระดับการผลิตตามระบบ “หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (GMP: Codex)” ของ บริษัทใบชาโชคจำ�เริญ จำ�กัด แผ่นเส้นใยอิเล็คโตรสปันพอลิแลคติค แอซิดที่มีสารสกัดสมุนไพร สำ�หรับประยุกต์ใช้เป็นวัสดุนำ�ส่งยา และวัสดุปิดแผล

หัวหน้าโครงการ

แหล่งทุน

งบประมาณ (บาท) 25,385,710 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สำ�นักงานคณะกรรมการ 11,803,710 นาวาอากาศเอก กิจการโทรคมนาคม ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ แห่งชาติ อาจารย์ปริญญา วงษา กรมการค้าต่างประเทศ 5,310,000 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์

4,500,000

อาจารย์ ดร.สุรีย์พร นนทชัยภูมิ

สำ�นักงานส่งเสริม อุตสาหกรรมซอฟแวร์ แห่งชาติ (องค์การ มหาชน) สาขาเชียงใหม่ (SIPA) สถาบันวิจัยและพัฒนา พื้นที่สูง

อาจารย์ ดร.ภาณุพงษ์ ใจวุฒิ

สำ�นักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ (วช.)

570,000

อาจารย์ ดร.สุทธิวัลย์ สีทา

สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

480,000

อาจารย์ ดร.สุทธิวัลย์ สีทา อาจารย์ ณัฐวุฒิ ยอดสุวรรณ

สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.)

417,000

อาจารย์ ดร.สิริรุ่ง วงศ์สกุล

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย (วว.)

399,000

อาจารย์ ดร.อรวรรณ สุวรรณทอง

สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา (สกอ.) และสำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

360,000

598,000

399,000


64

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 24 โครงการวิจัยจากงบประมาณแหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ลำ�ดับ ชื่อโครงการวิจัย 19 การศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อรา สาเหตุโรคหลังการเก็บเกี่ยว ของสารสกัดจากเนื้อเยื่อ 20 โครงการวิจัยขนาดเล็กเรื่องยางพารา สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 21 การถ่ายทอดวิธีการเลี้ยงหนอนไม้ไผ่ เพื่อการประกอบอาชีพสร้างรายได้ ให้แก่ชาวบ้านเขตพื้นที่ดอยตุง อำ�เภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากร ธรรมชาติ (ป่าไผ่) อย่างยั่งยืน 22 Characterisation of zymocin-producing Moniliella sp. SS4.2 23 Analysis of volatile and odor-active components of Agarwood essential oils by using gas chromatography-olfactometry สายวิทยาศาสตร์สุขภาพ 24 การพัฒนารูปแบบการป้องกันโรคเอดส์ ในกลุ่มเยาวชนชาติพันธุ์อาข่าระดับชุมชน 25 โครงการการจัดการขยะในชุมชน แบบพึ่งพาตนเอง ตำ�บลยางฮอม อำ�เภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย 26 โครงการพัฒนากรอบแนวคิด ในการพัฒนาระบบบำ�บัดรักษาผู้ป่วย เชิงบูรณาการ 27 การประเมินความเสี่ยงภายใต้บริบท ของความผันผวนและการเปลี่ยนแปลง ของภูมิอากาศ 28 การใช้ผงแห้งจากเหง้าว่านค้างคาว บรรเทาอาการอักเสบของมือและเท้า 29

รวม

การพัฒนาหมู่บ้านนำ�ร่อง ด้านอาหารปลอดภัย: กรณีศึกษา หมู่บ้านป่าซางวิวัฒน์ ตำ�บลนางแล อำ�เภอเมือง จังหวัดเชียงราย

หัวหน้าโครงการ อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร อาจารย์ ดร.ศรันยา ศรีสุวรรณ

แหล่งทุน งบประมาณ (บาท) มูลนิธิเทโรเพื่อการ 200,000 ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ ประเทศไทย สำ�นักงานกองทุน 109,000 สนับสนุนการวิจัย (สกว.)

อาจารย์ ดร.รัดนา ทาพา

เครือข่ายบริหาร การวิจัยภาคเหนือ ตอนบน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ชูเกียรติโรจน์ อาจารย์ ดร.พัชรีย์ พริบดีเวช

GMS

80,000

University Mobility in Asia and the Pacific (UMAP)

60,000

อาจารย์ ดร.ธวัชชัย อภิเดชกุล อาจารย์ ดร.ธวัชชัย อภิเดชกุล รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา อุปโยคิน อาจารย์ ศิวรักษ์ กิจชนะไพบูลย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยยง รุจจนเวท รองศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด พจนามาตร์

สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) สำ�นักงานกองทุน สนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ (สสส.) สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (สสท.) เครือข่ายบริหาร การวิจัยภาคเหนือ ตอนบน เครือข่ายบริหาร การวิจัยภาคเหนือ ตอนบน

100,000

1,376,930 403,300 403,000 220,980 149,650 100,000 100,000

31,429,524


65

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การเผยแพร่ผลงานวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการทั้งใน ระดับชาติและนานาชาติ ดังนี้

ตารางที่ 25 จำ�นวนผลงานวิจัยและผลงานวิชาการที่เผยแพร่จำ�แนกตามกลุ่มสาขาวิชา รายการ

สายสังคมศาสตร์

การเผยแพร่ในระดับนานาชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ นำ�เสนอในที่ประชุม/สัมมนาทางวิชาการ การเผยแพร่ในระดับชาติ ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ นำ�เสนอในที่ประชุม/สัมมนาทางวิชาการ รวม

22 11 11 16 12 4 38

จำ�นวนผลงานที่เผยแพร่ สายวิทยาศาสตร์ สายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี สุขภาพ 95 2 38 1 57 1 72 3 10 1 62 2 167 5

68%

32%

ตีพิมพ์ใน วารสารวิชาการ

50%

50%

ระดับนานาชาติ ระดับชาติ

แผนภูมิที่ 11 การเผยแพร่ผลงานวิจัยปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

นำ�เสนอในที่ประชุม/ สัมมนาวิชาการ

รวม 119 50 69 91 23 68 210


66

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

โครงการจัดตั้งสถาบันชา โครงการจัดตัง้ สถาบันชา เป็นหน่วยงานเฉพาะกิจทีม่ หาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง จัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วยงานสนับสนุนการวิจัยเกี่ยวกับชา สร้างทีมนัก วิจัย แสวงหาแหล่งทุนสนับสนุน และสร้างเครือข่ายกับหน่วยงานต่างๆ เพื่อเป็นศูนย์กลางองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านชา โดยมีจุดมุ่งหมาย เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมชาแบบบูรณาการ และพัฒนาผลิตภัณฑ์ชาให้มี ศักยภาพในการแข่งขันระดับนานาชาติ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการดำ�เนินโครงการวิจยั เรือ่ ง “การพัฒนาชุดทดสอบโพลีฟนี อลทัง้ หมด ในชาเพือ่ การค้า” เพือ่ พัฒนาแถบสีของชุดทดสอบให้สามารถบ่งชีป้ ริมาณ โพลิฟีนอลทั้งหมดให้แม่นยำ� และพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สามารถผลิตได้จริงในเชิงพาณิชย์ ซึ่งจะส่งผลต่อการ ประหยัดต้นทุนจากการใช้นาํ้ ยาทดสอบทีส่ งั เคราะห์ขนึ้ เองโดยไม่ตอ้ งนำ�เข้านาํ้ ยาทดสอบจากต่างประเทศ และ ไม่ต้องใช้เครื่องมือวิทยาศาสตร์ชั้นสูงในการวิเคราะห์ นอกจากนี้โครงการจัดตั้งสถาบันชา ยังให้บริการวิเคราะห์ทดสอบทางเคมีของชาและผลิตภัณฑ์ชา โดยมีห้อง ปฏิบตั กิ ารชาทีม่ เี ครือ่ งมือและอุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน วัสดุ อุปกรณ์และสารเคมีทมี่ คี วามพร้อม รวมทัง้ ได้พฒ ั นา เพื่อมุ่งสู่การรับรองระบบมาตรฐาน ISO/IEC17025 ซึ่งในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้ให้บริการวิเคราะห์ ทดสอบทางเคมีของชาแก่หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก จำ�นวน 55 ตัวอย่าง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

67

โครงการจัดตั้งศูนย์ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โครงการจัดตัง้ ศูนย์ศกึ ษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม เป็นหน่วยงานทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ เพือ่ ประสาน ความร่วมมือและดำ�เนินงานค้นคว้าวิจัย และเป็นศูนย์กลางจัดการฝึกอบรม สัมมนาทั้งในระดับประเทศ ระดับ ภูมิภาคและระดับนานาชาติ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และยกระดับความสามารถในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 โครงการจัดตั้ง ศูนย์ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีเป้าหมายมุ่งพัฒนาการฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมความร่วมมือด้านวิจัยในอนุภูมิภาคลุ่มนํ้าโขงตอนล่าง และในบริเวณตอนบนของ ประเทศไทย โดยได้ดำ�เนินการทำ�ข้อตกลงความร่วมมือการวิจัยมหาวิทยาลัย 4 ประเทศ คือ ไทย ลาว กัมพูชา และเวียดนาม ในงานวิจยั เรือ่ ง Ecological Security White Paper นอกจากนี้ในส่วนงานวิจยั ในพืน้ ทีน่ นั้ ได้รเิ ริม่ จัดตั้ง “โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีและฝึกอบรมเพื่อการพัฒนาการเกษตรที่ยั่งยืน” โดยได้รับทุนสนับสนุน จากองค์กรภายนอก และมีงานวิจัยพัฒนาควบคู่กันไปด้วย


68

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

2. การวิจัยสถาบัน มหาวิทยาลัยได้ดำ�เนินงานวิจัยสถาบัน เพื่อนำ�ผลการวิจัยไปใช้ในการบริหาร วางแผน และปรับปรุงการปฏิบัติ งานด้านต่างๆ ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้ดำ�เนินการศึกษาในหัวข้อหลัก ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 26 การวิจัยสถาบันหัวข้อหลัก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ลำ�ดับ 1 2 3 4 5 6

ชื่อโครงการวิจัย การศึกษาภาวะการหางานทำ�ของบัณฑิต รุ่นปีการศึกษา 2551 การศึกษาความพึงพอใจของนายจ้างที่มีต่อการทำ�งานของบัณฑิต มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รุ่นปีการศึกษา 2551 การศึกษาจำ�นวนนักศึกษาเต็มเวลาและภาระงานสอนของอาจารย์ ปีการศึกษา 2552 การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการใช้ห้องเรียน ปีการศึกษา 2552 การศึกษาค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา ปีงบประมาณ พ.ศ. 2552 การศึกษาข้อมูลนักศึกษาใหม่ ปีการศึกษา 2553

นอกจากการดำ�เนินการวิจัยสถาบันหัวข้อหลักแล้ว มหาวิทยาลัยได้มีนโยบายในการพัฒนาและเสริมสร้าง สมรรถนะบุคลากรในการทำ�การวิจัยสถาบัน โดยให้ทุนอุดหนุนการวิจัยสถาบันในหัวข้อที่เป็นประโยชน์ต่อ การบริหารงานของมหาวิทยาลัย โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการดำ�เนินการวิจัยในหัวข้อ “ประสิทธิผล ของการใช้เทคนิคการสอนแบบ KWL Plus ที่มีต่อการอ่านเพื่อจับใจความภาษาอังกฤษ ของนักศึกษาที่เรียน รายวิชาการอ่านและการเขียนเชิงวิชาการ” โดยอาจารย์พิรุฬคณา พิเชียรเสถียร สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์


69

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

การบริการวิชาการแก่สังคม

1. การบริการวิชาการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้จัดให้มีการอบรมและสัมมนา การบรรยายพิเศษ ทางวิชาการ การเผยแพร่ความรู้ บทความ และการจัดนิทรรศการ รวมถึงกิจกรรมอื่นๆ สรุปได้ดังนี้ ตารางที่ 27 การบริการวิชาการแก่สังคม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 สาขาที่ ให้บริการ ด้านการเกษตร ด้านวิทยาศาสตร์ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ รวม

อบรม และสัมมนา 21 19 6 91 6 143

การเป็น วิทยากร 2 1 10 47 60

ประเภทที่ ให้บริการ (กิจกรรม) ที่ปรึกษา เผยแพร่ การจัด บทความ การแข่งขัน 11 29 1 36 11 5 5 53 40 5

16% การเป็นที่ปรึกษาและผู้ทรงคุณวุฒิ 53 กิจกรรม 18% การเป็นวิทยากร 60 กิจกรรม

กิจกรรม อื่นๆ 1 6 19 26

64 27 16 209 11 327

12% การเผยแพร่บทความ 40 กิจกรรม 8% กิจกรรมอื่นๆ 26 กิจกรรม 2% การจัดแข่งขัน 5 กิจกรรม 44% อบรมสัมมนา 143 กิจกรรม

แผนภูมทิ ี่ 12 จำ�นวนประเภทการบริการวิชาการแก่สงั คม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

รวม


70

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

8% ด้านวิทยาศาสตร์ 27 กิจกรรม 20% ด้านการเกษตร 64 กิจกรรม

5% ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 16 กิจกรรม 3% ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 11 กิจกรรม

64% ด้านสังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ 209 กิจกรรม

แผนภูมิที่ 13 จำ�นวนสาขาที่ให้บริการวิชาการแก่สังคม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

การบริการวิชาการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีโครงการที่สำ�คัญ ดังนี้

โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน ร่วมกับ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ดำ�เนินโครงการเสริมสร้าง ประสิทธิภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้จาก 5 จังหวัด คือ จังหวัดสตูล ปัตตานี นราธิวาส สงขลา และยะลา ได้ผอ่ นคลายจากสภาวะบีบคัน้ อันเกิดจากสถานการณ์ความไม่สงบ ทำ�ให้ ข้าราชการที่ปฏิบัติราชการในพื้นที่ดังกล่าว เกิดความหวาดกลัว ความเครียดที่ต้องเผชิญสภาวะบีบคั้นทั้งด้าน การทำ�งานและการดำ�เนินชีวิต ส่งผลให้ขวัญกำ�ลังใจ และคุณภาพชีวิตตกตํ่าลงเป็นอันมาก จึงได้จัดกิจกรรม เพือ่ พัฒนาประสิทธิภาพในการปฏิบตั ริ าชการและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของข้าราชการ ตลอดจนเป็นการบำ�รุงขวัญ กำ�ลังใจ และเสริมสร้างคุณภาพชีวติ ของข้าราชการเป็นกรณีพเิ ศษ โดยดำ�เนินโครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของข้าราชการในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้จัดกิจกรรมให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ของสำ�นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

71

โครงการนักประชาสัมพันธ์มืออาชีพ โครงการนักประชาสัมพันธ์มืออาชีพ จัดทำ�ขึ้นเพื่อเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ของ นักประชาสัมพันธ์ในองค์กร พัฒนาทักษะการเป็นนักประชาสัมพันธ์มอื อาชีพ เพราะปัจจุบนั ภาคธุรกิจหรือแม้แต่ องค์กรภาครัฐ กำ�ลังเผชิญกับสภาวะการแข่งขันเพิม่ สูงขึน้ ซึง่ นอกจากการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสารในรูปแบบของ การโฆษณา (Advertising) เพื่อจำ�หน่ายสินค้าหรือบริการแล้ว องค์กรยุคใหม่จำ�เป็นต้องทำ�การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) เพื่อช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ที่ดี (Favorable Image) ให้เกิดขึ้นในสายตาของประชาชน โดยมุ่งให้ประชาชน ลูกค้าประทับใจในคุณค่าต่างๆขององค์กร เช่น ความซื่อสัตย์ต่อลูกค้า การให้บริการที่ เป็นมิตร การช่วยเหลือสังคม เพื่อทำ�ให้หน่วยงานหรือองค์กรมีผลงานที่เหนือกว่าและแตกต่างจากที่อื่น

โครงการสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ประจำ�ปี พ.ศ. 2553 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้สนับสนุนให้มีการจัดงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ ส่วนภูมิภาค ทัว่ ประเทศ 28 สถาบัน ประกอบด้วยสถาบันการศึกษาศูนย์ภมู ภิ าค 5 สถาบัน และสถาบันการศึกษาส่วนภูมภิ าค อีก 23 สถาบัน ภายใต้แนวคิด “จุดประกายความคิด พัฒนาชีวิตด้วยวิทยาศาสตร์” ประกอบด้วยการจัดแสดง นิทรรศการเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย การจัดแสดงนิทรรศการและผลงานทางวิชาการ การอภิปรายทางวิชาการ การแข่งขันตอบปัญหาทางวิทยาศาสตร์ การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ การประกวดแข่งขันวาดภาพทางวิทยาศาสตร์ การแข่งขันจรวดขวดน้ำ�กู้ภัย และการแข่งขันวิ่ง 31 ขา เป็นต้น


72

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

โครงการหมู่บ้านต้นแบบ ชุมชนเข้มแข็ง ประชาชนสุขภาพดี โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงเชียงราย เป็นหน่วยงานที่ ให้บริการสุขภาพแก่ชุมชน ได้ดำ�เนินการ อบรมเพื่อสร้างทีมงานชุมชนเข้มแข็งตามหลักการสร้างพลังชุมชน (EmPowerment) โดยนำ�แกนนำ�ในชุมชน ประกอบด้วย กรรมการหมู่บ้าน ผู้นำ�กลุ่มแม่บ้าน ผู้นำ�เยาวชน ประธานผู้สูงอายุ เจ้าหน้าที่องค์การบริหาร ส่วนตำ�บล เจ้าหน้าที่สถานีอนามัยมาร่วมอบรม ยึดหลักประชาชนเป็นศูนย์กลาง เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์ ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และหาแนวทางแก้ไขปัญหาสุขภาพที่พบในชุมชนตนเอง โดยชุมชนนั้น จะมีความเข้มแข็ง ประชาชนมีสุขภาพดี สามารถเป็นหมู่บ้านต้นแบบที่เรียกว่า “ชุมชนเข้มแข็ง” ได้

โครงการบริการชุมชนหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ได้ให้บริการรักษาพยาบาลในชุมชน และให้บริการทางการแพทย์ที่ไม่คดิ มูลค่า เพือ่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้โดยสะดวก ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ทำ�การออกหน่วยพืน้ ที่ จำ�นวน 11 ครัง้ ในพืน้ ที่ 4 อำ�เภอ ประกอบด้วย อำ�เภอเวียงชัย อำ�เภอแม่จนั อำ�เภอเวียงป่าเป้า และอำ�เภอเมือง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

73

โครงการสวนพฤกษศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา มหาราชา โครงการสวนพฤกษศาสตร์มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงฯ เป็นหน่วยงานพิเศษจัดตัง้ ขึน้ เพือ่ เป็นการเฉลิมพระเกียรติ แด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ฯ เนือ่ งในวโรกาสทรงเจริญพระชนมายุ 80 พรรษา และเพือ่ สนองพระราชดำ�ริ ที่ ได้ทรงริเริ่มและส่งเสริมให้มีการปลูกป่าเพื่อพัฒนาแหล่งนํ้าในโครงการตามพระราชดำ�ริทั่วทุกภูมิภาค ของประเทศ โดยจะเป็นแหล่งรวบรวมพันธุ์พืชหลากหลายชนิดที่สามารถขึ้นได้ตามธรรมชาติทุกภูมิอากาศ ทางภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย รวมทั้งเป็นแหล่งศึกษาหาความรู้ทางพฤกษศาสตร์ของนักศึกษาและ ประชาชน ในลักษณะที่เป็นอุทยานการศึกษาทางพฤกษศาสตร์ ในพื้นที่ทั้งหมดของมหาวิทยาลัย 4,997 ไร่ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการก่อสร้างสวนวิวัฒนาการ ซึ่งมีแนวคิดในการออกแบบพื้นที่ ใช้สำ�หรับ การศึกษากลุ่มพืชสิ่งมีชีวิตโดยเริ่มจาก กลุ่มที่ 1 พืชวิวัฒนาการไม่มีเนื้อเยื่อลำ�เลียง คือ มอส ลิเวอร์เวิรต และฮอนเวิรต กลุ่มที่ 2 พืชวิวัฒนาการที่มีเนื้อเยื่อลำ�เลียง คือ พืชประเภทเฟิร์นทั้งใบเลี้ยงเดี่ยว และใบเลี้ยงคู่ กลุ่มที่ 3 พืชวิวัฒนาการที่มีเมล็ดเปลือย คือ ปรง แป๊ะก๊วย มะเมื่อย และพืชตระกูลสน กลุ่มที่ 4 พืชวิวัฒนาการที่มีดอก คือ พืชที่ ให้ดอกทุกชนิด นอกจากนี้ ได้มีงานสร้างสวนสมุนไพร ซึ่งมีแนวคิดในการนำ�พืชสมุนไพรมาใช้เป็น ส่วนผสมในการทำ�ยา รักษาโรค โดยได้จัดกลุ่มพืชตามสรรพคุณการรักษา ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ยารักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ยาถ่ายพยาธิ ยาแก้โรคเรื้อ ยารักษา เหา หิด จี๊ด ยารักษาโรค นํ้ากัดเท้า ยารักษาหูด สมุนไพรไล่ยุงหรือฆ่าแมลง กลุ่มที่ 2 ยาถ่าย ยาแก้ท้องขึ้น ท้องอืด ท้องเฟ้อ ยาแก้บิด ท้องร่วง โรคกระเพาะ ยาแก้อาเจียน กลุ่มที่ 3 ยาบำ�รุงหัวใจ ยาลดความดันโลหิตสูง กลุ่มที่ 4 ยาแก้ออ่ นเพลีย บำ�รุงกำ�ลัง กล่อมประสาท ทำ�ให้นอนหลับ ยาแก้ปวดฟัน สมุนไพรแก้ฟกชาํ้ ปวดข้อ เส้นพิการ กลุ่มที่ 5 พืชถอนพิษ พืชมีพิษ กลุ่มที่ 6 ยาลดไขมันในเส้นเลือด ยาขับเสมหะ แก้ไอ ยาแก้ไข้ ลดความร้อน ยาขับปัสสาวะ ยาขับนํ้านม ยากันหรือแก้เลือดออกตามไรฟัน ยาริดสีดวงทวาร สมุนไพรแก้มะเร็ง ยาขับประจำ�เดือน ยารักษา เบาหวาน รักษาตา คางทูม แก้ปวดหู และสมุนไพรให้สีแต่งอาหาร


74

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการ หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นหน่วยงานพิเศษที่จัดตั้งขึ้นเพื่อทำ�หน้าที่ ในการผลักดัน ส่งเสริม และสนับสนุนให้เกิดสังคมผูป้ ระกอบการ โดยจัดอบรมบ่มเพาะหลักสูตร “เสริมสร้างผูป้ ระกอบการใหม่” (New Entrepreneurs Creation-NEC) ภายใต้โครงการเสริมสร้างผูป้ ระกอบการใหม่ เพือ่ พัฒนาบุคลากรทีจ่ ะทำ� หน้าทีเ่ ป็นนักธุรกิจรุน่ ใหม่ ให้มแี นวคิดเชิงการบริหารจัดการทีเ่ ป็นระบบ มีวสิ ยั ทัศน์ในการพัฒนา และสร้างธุรกิจ ในรูปแบบทีเ่ หมาะสม ตัง้ แต่การเริม่ ต้นของการดำ�เนินธุรกิจ คือ รูจ้ กั การวิเคราะห์สถานการณ์ให้ความสำ�คัญกับ ข้อมูล รูแ้ นวทางการบริหารการตลาด การวางแผนการผลิต การวิเคราะห์ทางการเงิน และยังเป็นเตรียมความพร้อม ให้แก่ทายาทธุรกิจในการขยายโอกาสธุรกิจต่อไปในอนาคต นอกจากนี้ ยังเป็นการสนับสนุนบัณฑิตใหม่ ผู้ว่างงาน ผู้ถูกออกจากงาน และพนักงานลูกจ้างที่มีพื้นฐานการศึกษาดี และมีศักยภาพให้มีโอกาสประกอบ อาชีพด้วยตนเองด้วยการเป็นผู้ประกอบการ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ดำ�เนินโครงการในพื้นที่ 4 จังหวัด คือ เชียงราย ตาก น่าน กำ�แพงเพชร มีสนใจเข้าร่วมโครงการจำ�นวน 220 คน


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

75

2. การให้บริการข้อมูลข่าวสาร มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้ให้บริการข้อมูลข่าวสารเพื่อการประชาสัมพันธ์ และเป็น สื่อกลางระหว่าง มหาวิทยาลัยกับพนักงาน นักศึกษา และหน่วยงานภายนอก ดังนี้

ข่าวสารทางอินเทอร์เน็ต เป็นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ของมหาวิทยาลัยผ่านทางโฮมเพจของมหาวิทยาลัย จำ�นวน 380 ครั้ง (http://www.mfu.ac.th)

จัดทำ�วารสารเพื่อเผยแพร่ข่าวสารของมหาวิทยาลัย • จดหมายข่าว ฉบับภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จัดทำ�ขึน้ เพือ่ เผยแพร่ขา่ วสารของมหาวิทยาลัย การจัดกิจกรรม ด้านต่างๆ และความเคลื่อนไหวภายในมหาวิทยาลัยไปยังสถาบันการศึกษาต่างๆ และหน่วยงานภายนอก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • e - Newsletter Online

การบริการทางโทรทัศน์และวิทยุกระจายเสียง • รายการ “Love and Care” ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 • รายการ “เพราะพ่อเหนื่อยหนักหนามามากแล้ว” ทางสถานีโทรทัศน์โมเดิร์นไนน์ • รายการ “ฟ้าห่มดิน” เทิดพระเกียรติ เทิดไท้องค์ราชันย์ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 • รายการ “ตามรอยแม่ฟ้าหลวง” ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย กรมประชาสัมพันธ์ • รายการ “คิดได้ ไทยทำ�” ตอน สบู่ล้างมือ ทางสถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 7 • รายการ “ก้าวไกลไปกับความรู้คือประทีป” ตอน เมืองแห่งชา ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ Thai PBS • รายการ “รอบรั้ว มฟล.” ทาง สวท. เชียงราย คลื่น FM 95.75 MHz. • รายการ “สวัสดีเชียงราย” ทางสถานีวิทยุกรมการรักษาดินแดน รด.ชร. คลื่น FM 90.75 MHz. • สถานีวิทยุ อสมท. เชียงราย ช่วง “อสมท. เพื่อชุมชน” คลื่น FM 101.25 MHz. • รายการ “Music Box” ทางสถานีวิทยุชุมชนเสียงมวลชน FM 92.25 MHz. • รายการ “วันนี้ที่เชียงราย” ทางสถานีวิทยุ 914 เชียงราย • รายการ “รอบรั้ว มฟล.” ทางสถานีวิทยุชุมชนเสียงมวลชน FM 92.25 MHz.

การให้ข้อมูลข่าวสารผ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย และหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นในพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ


76

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

3. การเยี่ยมชม ศึกษาดูงาน

การเยี่ยมชม ศึกษาดูงานจากหน่วยงานภายในประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีหน่วยงานภายในประเทศเข้าเยี่ยมชม ศึกษาดูงานของมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ เช่น การบริหารจัดการ การเรียนการสอน การบริการวิชาการ การวางผังอาคารสถานที่ เป็นต้น รวมจำ�นวน หน่วยงานที่เข้าศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น 188 คณะ ประกอบด้วย • สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา จำ�นวน 111 คณะ • สถาบันการศึกษาระดับตํ่ากว่าอุดมศึกษา จำ�นวน 41 คณะ • หน่วยงานภาครัฐ จำ�นวน 8 คณะ • หน่วยงานภาคเอกชน จำ�นวน 28 คณะ

4% หน่วยงานภาครัฐ 8 คณะ 15% หน่วยงานเอกชน 28 คณะ

59% สถาบันการศึกษา ระดับอุดมศึกษา 111 คณะ

22% สถาบันการศึกษา ระดับตํ่ากว่าอุดมศึกษา 41 คณะ

แผนภูมทิ ่ี 14 จำ�นวนหน่วยงานภายในประเทศทีเ่ ข้าเยีย่ มชม ศึกษาดูงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

77

การเยี่ยมชม ศึกษาดูงานจากหน่วยงานต่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีคณะจากต่างประเทศเข้าเยีย่ มชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวง รวม 4 ทวีป 20 ประเทศ 42 คณะ ประกอบด้วย • คณะศึกษาดูงานจากทวีปเอเชีย จำ�นวน 14 ประเทศ 30 คณะ • คณะศึกษาดูงานจากทวีปยุโรป จำ�นวน 3 ประเทศ 6 คณะ • คณะศึกษาดูงานจากทวีปอเมริกาเหนือ จำ�นวน 2 ประเทศ 5 คณะ • คณะศึกษาดูงานจากทวีปออสเตรเลีย จำ�นวน 1 ประเทศ 1 คณะ

2% ทวีปออสเตรเลีย 1 คณะ 12% ทวีปอเมริกาเหนือ 5 คณะ

72% ทวีปเอเชีย 30 คณะ

14% ทวีปยุโรป 6 คณะ

แผนภูมิที่ 15 จำ�นวนคณะต่างประเทศที่เข้าเยี่ยมชม ศึกษาดูงานมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553


78

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

การทำ�นุบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยมีสว่ นร่วมในการทำ�นุบ�ำ รุงศิลปวัฒนธรรม โดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปวัฒนธรรมในท้องถิน่ และส่งเสริม การจัดกิจกรรมวันสำ�คัญต่างๆ รวมทัง้ สนับสนุนการจัดตัง้ ชมรมด้านศิลปวัฒนธรรมของนักศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ ตารางที่ 28 การเข้าร่วมกิจกรรมศิลปวัฒนธรรมกับชุมชน ลำ�ดับ 1

วัน เดือน ปี 21 ต.ค. 52

2 3 4

29-31 ต.ค. 52 7-9 พ.ย. 52 27 พ.ย.-1 ธ.ค. 52

5 6 7 8 9 10

18 ม.ค.-22 ก.พ. 53 28 ก.พ. 53 6-7 มี.ค. 53 12 มี.ค.53 1-21 พ.ค. 53 18 ก.ค. 53

กิจกรรม พิธีเดินเทิดพระเกียรติและถวายสดุดี เนื่องในวันคล้ายวันพระราชสมภพ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี งานดนตรีไทยอุดมศึกษาครั้งที่ 37 งานศิลปวัฒนธรรมอุดมศึกษาครั้งที่ 9 งานสานสัมพันธ์มิตรภาพ 7 มหาวิทยาลัย ไทย-ลาว โครงการสืบสานศิลปวัฒนธรรมไทย ประเพณีนมัสการและสรงนํ้าพระธาตุดอยตุง โครงการศิลปวัฒนธรรมสัมพันธ์ โครงการค่ายศิลปวัฒนธรรมสู่ชุมชน โครงการ Thai Culture Corner 2553 พิธีทานหาแม่ฟ้าหลวง

สถานที่จัด พระตำ�หนักดอยตุง จังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยสุภานุวงศ์ สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว โรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดเชียงราย พระธาตุดอยตุง จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ อำ�เภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงใหม่ ไร่แม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

79

นอกจากนี้ มหาวิทยาลัย ได้ดำ�เนินโครงการพิพิธภัณฑ์อารยธรรมลุ่มน้ำ�โขงโดยมีวัตถุประสงค์ที่จะส่งเสริมสนับสนุน การอนุรักษ์หลักฐานทางวัฒนธรรมและจัดทำ�ฐานข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ของสังคมลุ่มนํ้าโขง เพื่อเป็นแหล่งศึกษา ค้นคว้าวิจัยสำ�หรับนักศึกษาและผู้ที่สนใจ และเพื่อเป็นการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมในรูปแบบพิพิธภัณฑ์ที่ได้จากการ ศึกษาวิจัย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ดำ�เนินงานในรูปแบบโครงการที่สำ�คัญ ดังนี้

โครงการจัดหาและอนุรักษ์วัตถุทางวัฒนธรรม จัดตั้งขึ้นตามแนวทางของมหาวิทยาลัยที่มุ่งเน้นการอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อันก่อให้เกิด องค์ความรู้ด้านศิลปะล้านนาและลุ่มนํ้าโขง โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ได้รับวัตถุทางวัฒนธรรมเข้ามา จำ�นวนทั้งหมด 60 ชิ้น

โครงการนิทรรศการหมุนเวียน เรื่อง “วัฒนธรรมข้าว เล่าชีวิต” “วัฒนธรรมข้าว” คือวิถีชีวิตของชนชาติต่างๆ ในภูมิภาคลุ่มนํ้าโขง ซึ่งถือได้ว่าเป็น พื้น ที่ที่อุดมสมบรูณ์ แห่งหนึ่งของโลก นิทรรศการดังกล่าวแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของวัฒนธรรมข้าวที่ส่งผลต่อการดำ�เนินชีวิต ของผู้คน


80

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

โครงการ “การสำ�รวจอ่านจารึกและร่วมพัฒนาวนอุทยานประวัติศาสตร์เวียงเชียงรุ้ง” เป็นโครงการทีจ่ ดั ขึน้ ตามแนวทางของมหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงที่ได้ให้ความสำ�คัญกับการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ การอนุรักษ์และถ่ายทอดศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น อันก่อให้เกิดองค์ความรู้ด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและ ลุม่ นาํ้ โขง อีกทัง้ ยังเป็นการเผยแพร่และสร้างเครือข่ายทางด้านศิลปวัฒนธรรมให้กบั มหาวิทยาลัย ซึง่ โครงการ ดังกล่าวได้รับความร่วมมือจากคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการส่งคณะผู้เชี่ยวชาญด้านการ ทะเบียนวัตถุเข้าร่วมดำ�เนินโครงการ ณ วัดเวียงเชียงรุ้ง อำ�เภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย


81

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ความร่วมมือกับหน่วยงานอื่น

1. ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในประเทศ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้มีการร่วมมือและดำ�เนินกิจกรรมกับหน่วยงานภายใน ประเทศในหลายลักษณะ อาทิ การร่วมมือในด้านการจัดการเรียนการสอน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลทาง วิชาการ รายละเอียดความร่วมมือ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางที่ 29 ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ลำ�ดับ 1 2 3 4

5 6

กิจกรรมความร่วมมือ ความร่วมมือทางวิชาการในการวิจัย และพัฒนาอุตสาหกรรมชาครบวงจร โครงการพัฒนาเครือข่ายและประเมิน ผลการจัดการศึกษา จังหวัดเชียงราย การพัฒนาฝีมือแรงงาน และการวิจัยด้านการตลาด และด้านโลจิสติกส์และซัพพลายเชน 1) การสร้างผู้ประกอบการ และสร้างอาชีพด้านไอซีทแี ก่เยาวชน 2) ส่งเสริมและพัฒนา ความรู้ ความสามารถและศักยภาพ แก่บุคลากร และพัฒนาเครือข่าย ผู้ประกอบการในท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย ผลิตบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โครงการต้นแบบศูนย์ทางไกล เพื่อการศึกษาและพัฒนาชนบท

หน่วยงาน สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ และบริษัทบุญรอดบริวเวอรี่ จำ�กัด สำ�นักงานเลขาธิการ สภาการศึกษา กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน

หน่วยงานที่รับผิดชอบ โครงการจัดตั้งสถาบันชา ส่วนประกันคุณภาพการศึกษา และพัฒนาหลักสูตร สำ�นักวิชาการจัดการ

บริษทั เอ็ม เอฟ อี ซี จำ�กัด (มหาชน)

สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

บริษทั เอ็ม เอฟ อี ซี จำ�กัด (มหาชน) บริษัท เอ โฮสต์ จำ�กัด บริษัท ซอฟต์สแควร์ 1999 จำ�กัด สำ�นักงานคณะกรรมการ กิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ

สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ


82

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 29 ความร่วมมือกับหน่วยงานภายในประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ลำ�ดับ กิจกรรมความร่วมมือ 7 โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ผ่านระบบออนไลน์หรือ UMAP หลักสูตร A (Pledge Agreement for UMAP Multilateral student Exchange Program) 8 ความร่วมมือทางวิชาการ 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19

การพัฒนาศูนย์ความรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี การวิจัยและพัฒนาสบู่ดำ� เพื่อเป็นวัตถุดิบในการทำ�เชื้อเพลิง ดีเซลชีวภาพ โครงการนํ้าผึ้งอินทรีย์ทางการแพทย์ การผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ การกีฬาและสุขภาพ การผลิตบุคลากรด้านการบริการ สุขภาพศึกษา การพัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์ แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การพัฒนาบุคลากรขององค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น หลักสูตร ปริญญาตรี ด้านรัฐประศาสนศาสตร์ โครงการความร่วมมือการจัดตั้ง เครือข่ายโครงการอุทยานวิทยาศาสตร์ ภาคเหนือ เครือข่ายภาคเหนือตอนบน โครงการความร่วมมือในการจัด ประชุมสัมมนาและฝึกอบรมให้แก่ หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน โครงการจัดตั้งหน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ ในสถาบันอุดมศึกษา การสนับสนุนและร่วมมือใน กิจกรรมทางด้านวิชาการ ศิลปะ และวัฒนธรรมระหว่างประเทศไทย กับประเทศฝรั่งเศส

หน่วยงาน UMAP, University Student Connection Online, USCO

หน่วยงานที่รับผิดชอบ สำ�นักวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์ แห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี กระทรวงวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี บริษัท โตโย-ไทย จำ�กัด (มหาชน)

สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์

สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ การกีฬาแห่งประเทศไทย

สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ

บริษัท ประสิทธิ์พัฒนา จำ�กัด (มหาชน) สำ�นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข และกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย

หน่วยวิจัยทางสังคมศาสตร์

สถาบันพัฒนาทรัพยากร เพื่อสังคม

ศูนย์บริการวิชาการ

สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา สมาคมฝรั่งเศส-ไทย เชียงราย

หน่วยบ่มเพาะวิสาหกิจ หน่วยความร่วมมือ ทางวิชาการฝรั่งเศส -อนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

83

2. ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้พัฒนาความร่วมมือกับต่างประเทศในด้านต่างๆ โดยมีการสร้างเครือข่ายกับ มหาวิทยาลัยและหน่วยงานในสาขาวิชาที่เปิดสอน ซึ่งประกอบด้วย การพัฒนาการเรียน การสอน การทำ�วิจัย การแลกเปลี่ยนอาจารย์และนักศึกษา ตลอดจนแลกเปลี่ยนข้อมูลทางวิชาการ ดังนี้

ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธรและสถาบันขงจื่อ ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร และสถาบันขงจื่อ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็นหน่วยงานสนับสนุน และให้บริการวิชาการด้านภาษาและวัฒนธรรมจีนของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เกิดขึ้นจากความร่วมมือ ระหว่างมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกับรัฐบาลประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ซึ่งในรอบปีงบประมาณที่ผ่านมา ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร ได้เน้นการสอนภาษาจีนระยะสั้น และจัดกิจกรรมต่างๆ เพื่อเสริมสร้าง ทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนและวัฒนธรรมจีน สร้างทัศนคติที่ดีต่อภาษาจีนและวัฒนธรรมจีน พัฒนา ครูสอนภาษาจีนในภูมิภาค พัฒนาบุคลากรด้านภาษาจีนในชุมชน สังคมและประเทศชาติให้มีคุณ ภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ คือ • เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนให้มีมาตรฐาน • เป็นสถาบันพัฒนาครูสอนภาษาจีน • เป็นศูนย์ทดสอบความรู้ภาษาจีน • จัดอบรมหลักสูตรภาษาจีนให้แก่ผู้สนใจทั้งในประเทศและประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง • จัดการสัมมนาทางวิชาการที่เกี่ยวข้องกับจีนหรือความสัมพันธ์จีน-ไทย • ดำ�เนินการเสริมสร้างความเข้าใจทางศิลปะและวัฒนธรรมของทั้งสองประเทศ • เสริมสร้างมิตรภาพและความสัมพันธ์ระหว่างจีน-ไทย ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการดำ�เนินงานด้านการจัดอบรม สัมมนา การเผยแพร่ความรู้ ภาษา วัฒนธรรม และการจัดแข่งขัน อาทิ โครงการอบรมภาษาจีนให้กับนักศึกษา บุคลากร จำ�นวน 13 ครั้ง โครงการอบรม ภาษาจีนให้กับหน่วยงานภายนอก จำ�นวน 26 ครั้ง โครงการอบรมครูสอนภาษาจีน จำ�นวน 8 ครั้ง การจัด นิทรรศการหนังสือและสื่อการเรียนรู้ภาษาและวัฒนธรรมจีนในสถานศึกษาในเขตภาคเหนือ โครงการสอบ วัดระดับความรู้ภาษาจีน (HSK) โครงการประกวดเรียงความและสุนทรพจน์ภาษาจีนในเขตภาคเหนือครั้งที่ 5 และกิจกรรมค่ายภาษาและวัฒนธรรมจีน


84

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

โครงการจัดตั้งหน่วยความร่วมมือทางวิชาการฝรั่งเศส-อนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง โครงการจัดตั้งหน่วยความร่วมมือทางวิชาการฝรั่งเศส-อนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง ณ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เป็ น หน่ ว ยงานพิ เ ศษ มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ สร้ า งความร่ ว มมื อ แบบยั่ ง ยื น ระหว่ า งประเทศฝรั่ ง เศสและ ประเทศไทย ทางด้านวิชาการ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และด้านศิลปวัฒนธรรม ตลอดจนการแลกเปลี่ยน ความรู้และประสบการณ์ทางวิชาการระหว่างกัน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 มีการดำ�เนินงานโครงการ “การศึกษาความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมร่วมภูมิภาคตามเส้นทางเชื่อมต่อ ไทย-พม่า ผลกระทบต่อวัฒนธรรม ล้านนา” ซึ่งเป็นโครงการร่วมระหว่างมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงกับสำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ เพือ่ ศึกษาถึงสถานการณ์ แหล่งวัฒนธรรมร่วมภูมภิ าค-ชนชาติไท รวมทัง้ วิเคราะห์เปรียบเทียบแหล่งวัฒนธรรม ร่วมภูมิภาค-ชนชาติไท ในบริเวณพื้นที่ล้านนาและในเขตเส้นทางเชื่อมต่อไทย-พม่า

นอกจากนี้ มหาวิทยาลัยแม่ฟา้ หลวงได้ด�ำ เนินกิจกรรมความร่วมมือกับสถาบันและองค์กรต่างประเทศ ภายใต้ขอ้ ตกลง ความร่วมมือด้านการพัฒนาหลักสูตรร่วม การทำ�วิจยั ร่วม การแลกเปลีย่ นนักศึกษา บุคลากร ตลอดจนการจัดกิจกรรม ทางวิชาการร่วมกัน ดังนี้ ตารางที่ 30 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 ประเทศ กัมพูชา

หน่วยงาน 1. Royal University of Agricultural 2. Royal University of Phnom Penh

เกาหลี

จีน

3. Duksung’s Women University 4. Kyonggi University 5. Ajou University 6. University of Seoul 7. Fudan University (International Master Program) 8. Xiahung Banna Education Ministry 9. Yunnan Normal University

ญี่ปุ่น

10. Juntendo University 11. Meio University 12. Nagaoka University of Technology (Sato Laboratory)

กิจกรรมความร่วมมือ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษากับโครงการจัดตั้งศูนย์ ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรกับโครงการ จัดตั้งศูนย์ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและบุคลากรไทย กับประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่นํ้าโขง 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาภายใต้โครงการ UMAP Student Connection Online (USCO) 1) โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางวิชาการ บุคลากรและนักศึกษา 2) การเปิดหลักสูตรร่วมและการพัฒนาการเรียนการสอน ภาษาจีน 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา 2) โครงการแลกเปลี่ยนบุคลากร 1) โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางวิชาการสำ�นักวิชา เวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา 1) โครงการวิจัยร่วมกัน


85

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ตารางที่ 30 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ประเทศ เดนมาร์ก

หน่วยงาน 13. Aalborg University

เบลเยียม

14. Group T International University Colleage Leuven 15. The University of Joensuu

ฟินแลนด์

มาเลเซีย

16. University Putra Malaysia 17. University Sains Malaysia 18. University Teknologi MARA Malaysia

กิจกรรมความร่วมมือ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และบุคลากร 2) โครงการวิจัยร่วมในสาขาวิชา Problem-based Learning และ Information and Communication Technology 3) โครงการจัดทำ�หลักสูตรปริญญาเอกร่วม 4) โครงการแลกเปลี่ยนข้อมูลทางวิชาการ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาสาขาโลจิสติกส์ และซัพพลายเชน 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และบุคลากรกับโครงการ จัดตั้งศูนย์ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2) โครงการวิจัยร่วมกัน แลกเปลี่ยนความรู้ทางการศึกษา และการฝึกอบรม 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ภายใต้โครงการนำ�ร่อง การแลกเปลี่ยนนักศึกษาไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สาชาวิชาเทคโนโลยีการอาหาร


86

ผ ล ก า ร ด ำ� เ นิ น ง า น ต า ม ภ า ร กิ จ

ตารางที่ 30 ความร่วมมือกับหน่วยงานต่างประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 (ต่อ) ประเทศ เยอรมนี

หน่วยงาน 19. Villa Medica

ลาว

20. National University of Laos 21. Souphanouvong University

เวียดนาม อินเดีย

22. Hanoi University of Technology 23. Vietnam National University 24. Vietnam University of Commerce 25. International Institute of Information Technology

อินโดนีเซีย

26. Bogor Agricultural University

ออสเตรีย

27. Brawajaya University 28. Management Center Insbruck

สวิสเซอร์แลนด์

29. FHS. St. Gallen University

สหรัฐอเมริกา

30. Holt Institute of Medicine 31. University of Hawaii 32. University of Wisconsin Milwaukee

กิจกรรมความร่วมมือ 1) โครงการพัฒนาหลักสูตรร่วม ทำ�วิจัยร่วมและแลกเปลี่ยน บุคลากร สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง และสำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับโครงการจัดตั้งศูนย์ ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา และบุคลากร ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารและสารเทศ 2) โครงการแลกเปลี่ยนความรู้ทางการศึกษา และปรับปรุง พัฒนาหลักสูตร 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา กับโครงการจัดตั้งศูนย์ ศึกษาการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขา Advanced Information Technology และ สาขา Advanced Software Technology 2) โครงการจัดทำ�หลักสูตรปริญญาโทร่วมในหลักสูตร • Master of Science Degree in Advanced Information Technology • Master of Science Degree in Advanced Software Technology 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา ภายใต้โครงการนำ�ร่อง การแลกเปลี่ยนนักศึกษาไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย สาชาวิชา เทคโนโลยีการอาหาร 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ การท่องเที่ยว สำ�นักวิชาการจัดการ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาสาขาวิชาบริหารธุรกิจ สำ�นักวิชาการจัดการ 1) โครงการจัดทำ�หลักสูตรร่วม การวิจัยร่วม การแลกเปลี่ยนบุคลากร และการจัดอบรม สัมมนา 1) โครงการจัดทำ�หลักสูตรร่วม การวิจัยร่วม การแลกเปลี่ยนบุคลากร และการจัดอบรม สัมมนา ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ 1) โครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษา

จากความร่วมมือกับต่างประเทศดังกล่าว มหาวิทยาลัยได้มีการแลกเปลี่ยนนักศึกษา จำ�นวน 24 คน จาก 9 ประเทศ ประกอบด้วย จีน สวิสเซอร์แลนด์ ญี่ปุ่น เกาหลี ออสเตรีย มาเลเซีย อินโดนีเซีย เบลเยียม และเดนมาร์ก และมีการ แลกเปลี่ยนบุคลากร จำ�นวน 12 คน จาก 4 ประเทศ ประกอบด้วย จีน เวียดนาม เกาหลี และเดนมาร์ก


มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

Mae Fah 87 Luang University

4 กิจกรรมและ ผลงานดีเด่น


88

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น

เหตุการณ์ที่สำ�คัญในรอบปี 2553

พิธีถวายสักการะพระราชานุสาวรีย์ฯ เนื่องในวันพยาบาลแห่งชาติ วันที่ 21 ตุลาคม 2552


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีถวายผ้ากฐินพระราชทาน ณ วัดสันทราย อำ�เภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย วันที่ 30 ตุลาคม 2552

89


90

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น

พิธีจุดเทียนชัยถวายพระพร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ เนื่องในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 5 ธันวาคม 2552


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดำ�เนินแทนพระองค์ ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่ผู้สำ�เร็จการศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2551 วันที่ 13 มกราคม 2553

91


92

กิจกรรมรวมพลังสร้างสันติสุขให้กับประเทศไทย วันที่ 6 พฤษภาคม 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีทานหาแม่ฟ้าหลวง วันที่ 16 กรกฎาคม 2553

93


94

พิธีลงนามถวายพระพร สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามมกุฎราชกุมาร เนื่องในวโรกาสวันคล้ายวันพระราชสมภพ วันที่ 28 กรกฎาคม 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีลงนามถวายพระพร สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เนื่องในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันที่ 12 สิงหาคม 2553

95


96

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น

ผลงานดีเด่นของบุคลากร

เนื่องในโอกาสครบรอบ 12 ปี แห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวงในวันที่ 25 กันยายน 2553 มหาวิทยาลัย ได้มอบโล่ประกาศเกียรติคุณและใบประกาศเกียรติคุณแก่ผู้ทำ�คุณประโยชน์ให้แก่มหาวิทยาลัยเพื่อเป็นขวัญกำ�ลังใจ ให้แก่บุคลากรและเป็นแบบอย่างในการปฏิบัติงาน ดังนี้ ตารางที่ 31 บุคคลและหน่วยงานที่ทำ�คุณประโยชน์แก่มหาวิทยาลัย ประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายนาม/คณะกรรมการ โล่ประกาศเกียรติคุณผู้มีคุณูปการ ต่อมหาวิทยาลัย รองศาสตราจารย์ ดร.ประพิณ มโนมัยวิบูลย์ ใบประกาศเกียรติคุณพนักงานดีเด่น นายสอง มะโนสุข นายกิติ ดวงสนิท นางสาวจันทร์ธิรา ปัญญา ใบประกาศเกียรติคุณ ผู้สร้างชื่อเสียงให้แก่มหาวิทยาลัย Miss Gao Yunru ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ รอดคืน นางสาวธัญญรัตน์ ทวีนุต นายธีรชาติ ปัทมาลัย นายสามารถ สายอุต นายสมรรถมน สุทธานนท์กุล คณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงพื้นที่ ที่เอื้อต่อคนพิการ

หน่วยงาน

ประเภทผลงาน

อดีตผู้อำ�นวยการ ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร

ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีน

ส่วนอาคารสถานที่ ส่วนอาคารสถานที่ ส่วนสารบรรณ อำ�นวยการและนิติการ

ด้านปฏิบัติการ ด้านปฏิบัติการ ด้านปฏิบัติการ

สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ส่วนพัฒนานักศึกษา นักศึกษาปริญญาโท สำ�นักวิชา อุตสาหกรรมเกษตร หน่วยประสานงานมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีน ด้านการวิจัย ด้านกีฬา ด้านกีฬา ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีน ด้านภาษาและวัฒนธรรมจีน ด้านสถาปัตยกรรม


97

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

บุคลากรสายวิชาการของมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ได้สร้างชื่อเสียงให้กับมหาวิทยาลัยในด้านต่างๆ ดังนี้ ตารางที่ 32 บุคลากรสายวิชาการที่ได้รับรางวัลด้านต่างๆ รายนาม สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรัตน์ ละภูเขียว อาจารย์ ดร.พัชรา ปัญญามูลวงษา สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง อาจารย์ ดร.ภาณุพงษ์ ใจวุฒิ

อาจารย์ ดร.ปัญญวัฒณ์ ปินตาทอง

รางวัล

หน่วยงานผู้มอบ

รางวัลนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ ประจำ�ปี 2552 ทุนสนับสนุนทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ทุนการศึกษา Endeavour Awards ประเภท Endeavour Australia New South Wales

มูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ ประเทศไทย ประเทศออสเตรเลีย

การนำ�เสนอผลงานปากเปล่าดีเยี่ยม เรื่อง “Optimization of the ethanolic extraction of phenolic antioxidants from lychee and longan seeds using response methodology” จากการประชุม วิชาการนานาชาติ The 3rd Technology and Innovation for Sustainable Development International รางวัลเหรียญเงิน ด้านเนื้อหาวิชาการ จากผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ เรื่อง “Three-phase partitioning of protease from papaya peel extract” รางวัลเหรียญเงิน ด้านเนื้อหาวิชาการ จากการนำ�เสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ เรื่อง “Three-phase partitioning of protease from papaya peel extract”

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับสมาคมวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ร่วมกับสมาคมเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งประเทศไทย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ร่วมกับสมาคมเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งประเทศไทย


98

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น

ตารางที่ 32 บุคลากรสายวิชาการที่ได้รับรางวัลด้านต่างๆ (ต่อ) รายนาม สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผณินทรา ธีรานนท์

สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร อาจารย์ ดร.ธีรพงษ์ เทพกรณ์ อาจารย์ เสาวภา ไชยวงศ์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ รอดคืน อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร

รางวัล

หน่วยงานผู้มอบ

TRF-CHE-SCOPUS Young Researcher Award และ Poster Presentation Award ผลงานเรื่อง “The interaction between fundamental frequency and duration of vowels in Tai and Mon-Khmer languages: Implications for tonogenesis theory”

สำ�นักงานกองทุนสนับสนุน การวิจัย ร่วมกับสำ�นักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษา

รางวัลดีมากในการนำ�เสนอผลงาน ภาคบรรยาย สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “ความแปรปรวนของสารออกฤทธิ์ กลุ่มฟลาโวนอยด์ในส้มโอไทย” รางวัลระดับดีในการนำ�เสนอผลงาน ภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “สารออกฤทธิ์สำ�คัญทางชีวภาพ และฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของส้มโอ พันธุ์ทองดีและแชนเลอร์ในระยะความบริบูรณ์” รางวัลระดับดีในการนำ�เสนอผลงาน ภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “การศึกษาเบื้องต้นของอาการผลลาย ต่อสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์ การต้านออกซิเดชันในส้มเขียวหวาน พันธุ์สายนํ้าผึ้ง” รางวัลระดับดี ในการนำ�เสนอผลงาน ภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “สารออกฤทธิ์สำ�คัญทางชีวภาพและ ฤทธิ์การต้านออกซิเดชันของเปลือกส้มโอ สามพันธุ์” รางวัลเหรียญเงิน ด้านเนื้อหาวิชาการ จากการนำ�เสนอผลงานวิจัยแบบโปสเตอร์ เรื่อง “Three-phase partitioning of protease from papaya peel extract” ทุนสนับสนุนทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตรมหาวิทยาลัย เทคโนโลยี ราชมงคลสุวรรณภูมิ

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี ร่วมกับสมาคมเทคโนโลยี ชีวภาพแห่งประเทศไทย มูลนิธิโทเรเพื่อการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ ประเทศไทย


99

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ผลงานดีเด่นของนักศึกษา รายนาม สำ�นักวิชาการจัดการ นายธันฐกรณ์ ชูศรี นายพรวศิน ศิริสวัสดิ์ นายณรัฐ หัสชู นางสาวณลิภรณ์ มิโนสุข นางสาวธิดาวรรณ เพชรรัตน์ นางสาวสุดาทิพย์ จิราสุคนธ์ นางสาวอรพรรณ ทองน้อย นายอำ�พล เกิดคำ� นางสาวอัจฉราพร พลรบ นางสาวพัชรินทร์พร บุญเรือง นางสาวปาณิศา สุรินเปา นางสาวจีรวดี สายสงวน นายณัฐกิตติ์ บุตรประวัติ สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ นางสาวชฤวัลย์ นิธิรัตน์กุลภัค

นายศิริพงษ์ สูงกลาง นายทศพล ไชยวงศ์ นางสาวปิยพัชร พรหมสุวรรณ

นายวทัญญู ทนันชัย นายภานุพล มะโณเรศ นายฤทธิ์วิสุทธิ์ ตั้งเกษมศักดิ์ นายอาทิตย์ ศิริ นายนรินทร์ คำ�ซอน นายวุฒิพงษ์ วันดี นายศิริพงษ์ สูงกลาง

ทีม IT’ ME

รางวัล

หน่วยงานผู้มอบ

รองชนะเลิศอันดับที่ 1 ในการนำ�เสนอ แผนการปรับปรุงและพัฒนากระบวนการ ในองค์กรด้วย Green Logistics รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ในการแข่งขัน MICE 4 Youth Contest

สภาผู้ส่งเสริมสินค้าทางเรือ แห่งประเทศไทย ร่วมกับกรมส่งเสริม การส่งออก สำ�นักงานส่งเสริมการจัดประชุม และนิทรรศการ(องค์การมหาชน)

รองชนะเลิศระดับประเทศในการประกวด แผนพัฒนาธุรกิจ โครงการ One-2 Call Brand Age Award การเขียนแผนธุรกิจ ”งานเข้า…OTOP” รองชนะเลิศอันดับ 2 รุ่น expert class ในการแข่งขัน “The 2010 Total Cambodia Motocross Championship”

บริษัทแอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำ�กัด(มหาชน) ร่วมกับนิตยสาร แบรนด์เอจ

รางวัลที่ 1 การประกวดพูดในที่ชุมชน หัวข้อ “ความดีต้องเพียงพอ ชีวิตต้องพอเพียง” ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 สำ�นักงานพัฒนาภาค 3 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารไทย บริษัทอยุธยา อลิอันซ์ ซี.พี. ประกัน ชีวิต ร่วมกับมูลนิธิ 5 ธันวามหาราช และศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และ คอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำ�นักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม แห่งชาติ

รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 ระดับอุดมศึกษา Thailand Animation Contest 2009 รางวัลดีเด่น ระดับภาค การประกวดการ์ตูน แอนิเมชั่น โครงการเสริมสร้างวัฒนธรรม ประชาธิปไตย โครงงานสหกิจศึกษาดีเด่นด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และการจัดการ ระดับเครือข่าย ผลงานดีเด่น โครงการ “โทรคมนาคม กับ เยาวชนท้องถิ่น” รางวัลชมเชยการประกวด Animation หัวข้อ Democracy รางวัลชมเชย จากการประกวด Digital Content “3 ดี : ส่งเสริมประชาธิปไตย, คุณธรรม จริยธรรม ความเป็นไทย, ห่างไกลยาเสพติด จากผลงาน “Finding” ทุนส่งเสริมอุตสาหกรรมภาพยนตร์ และวิดีทัศน์แห่งชาติ รางวัลชมเชย การประกวดผลงานด้าน ICT (ICT Contest) การจัดทำ�ภาพยนตร์สั้น ระดับอุดมศึกษา

ประเทศกัมพูชา

สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับ สมาคมสหกิจศึกษาไทย สถาบันคุ้มครองผู้บริโภค ในกิจการโทรคมนาคม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

สำ�นักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร


100

รายนาม สำ�นักวิชานิติศาสตร์ นายฐากูร อัมพะวา สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ นางสาวนิรมล วงศ์ใหญ่

สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ นางสาวอนิลดา เนตตกุล นางสาวกนกพิชญ์ ช่วยบุญส่ง สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ นางสาวนงคราญ ภู่ทองอ่อน

สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ นางสาววารี แซ่เฮ้อ

นายอาทิตย์ เมฆอากาศ นายนิพนธ์ แซ่เฉิน นายศิริวุฒิ แซ่จาง นายอนุชา กิตินิรันดร์กุล นางสาวกันย์สินี สมใจ

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น

รางวัล

หน่วยงานผู้มอบ

รางวัลพระราชทาน นักศึกษาดีเด่น ระดับอุดมศึกษา สถานศึกษาขนาดกลาง เขตภาคเหนือตอนบน

สำ�นักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษา

รางวัล Best Practice โครงการ กุหลาบงาม... หนามต้องคม ในการประชุมวิชาการมหกรรม เรียนรู้ “เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ : เครือข่าย พยาบาลศาสตร์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ”

แผนงานพัฒนาเครือข่าย พยาบาลศาสตร์เพื่อการสร้างเสริม สุขภาพ

รางวัลประกาศเกียรติคุณ

มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.แถบ นีละนิธิ

รางวัลที่ 2 ประกวดพูดในที่ชุมชน หัวข้อ “ความดีต้องเพียงพอ ชีวิตต้องพอเพียง” ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 สำ�นักงานพัฒนาภาค 3 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารไทย

รางวัลชนะเลิศการแข่งขันกล่าวสุนทรพจน์ ภาษาจีนระดับอุดมศึกษา ครั้งที่ 9

สำ�นักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ร่วมกับสำ�นักส่งเสริมการเรียน ภาษาจีนนานาชาติ และฝ่ายการศึกษา สถานเอกอัครราชทูตสาธารณรัฐ ประชาชนจีนประจำ�ประเทศไทย มูลนิธิร่มฉัตรร่วมกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา Singapore Tourism Board, Education ร่วมกับ EFL Learning Centre มูลนิธิร่มฉัตรร่วมกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา

รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันภาษาจีน เพชรยอดมงกุฎ (นานาชาติ) ครั้งที่ 4 รางวัลชนะเลิศ ยุวทูตด้านความสามารถพิเศษ และรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ยุวทูตด้านบุคลิกภาพ รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันภาษาจีน เพชรยอดมงกุฎ (นานาชาติ) ครั้งที่ 4 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ยุวทูตด้านทักษะความรู้

นางสาวสุจารี วิเศษนคร

รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ยุวทูตด้านบุคลิกภาพ

นางสาวอรอุมา แซ่กอ

รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 การแข่งขันภาษาจีน เพชรยอดมงกุฎ (นานาชาติ) ครั้งที่ 4 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดโต้วาที ภาษาจีน ระดับอุดมศึกษา เขตภาคเหนือ ของประเทศไทย ครั้งที่ 1 รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 การประกวดโต้วาที ภาษาจีน ระดับอุดมศึกษา เขตภาคเหนือ ของประเทศไทย ครั้งที่ 1

นายนิพนธ์ แซ่เฉิน นายศิริวุฒิ แซ่จาง นายอนุชา กิตินิรันดร์กุล

Singapore Tourism Board, Education ร่วมกับ EFL Learning Centre Singapore Tourism Board, Education ร่วมกับ EFL Learning Centre มูลนิธิร่มฉัตรร่วมกับมหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่


101

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

รายนาม รางวัล สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ นางสาวทิภารัตน์ เอี่ยมวราวุฒิกุล Tenth Prize - Certification of Excellence นางสาวกรวิกา ศรีสังวร

รางวัลชมเชย ประกวดพูดในที่ชุมชน หัวข้อ “ความดีต้องเพียงพอ ชีวิตต้องพอเพียง” ระดับมัธยมศึกษาและอุดมศึกษา

นางสาวอรชา ซื่อสัตย์ นางสาวสุทธินี แจ่มนิยม

รางวัลชมเชยการประกวดเรียงความอาเซียน ได้รับการคัดเลือกเข้าโครงการ เรือเยาวชนเอเชียอาคเนย์ ประจำ�ปี 2553

สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร นายสามารถ สายอุต (ระดับบัณฑิตศึกษา)

นางสาวปวีณ์ธิดา บุญเรือง

นางสาวพรศิริ ศิลปศร

นายธวัชชัย เบิกบาน

ผลงานวิจัยดีเยี่ยม และการนำ�เสนอผลงาน แบบปากเปล่าดีเยี่ยม ในผลงานเรื่อง “Optimization of the Ethanolic Extraction of Phenolic Antioxidants from Lychee and Longan Seeds Using Response Surface Methodology” ใบประกาศเกียรติคุณระดับดี ในการนำ�เสนอ ผลงานภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “สารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์การต้าน ออกซิเดชั่นของเปลือกส้มโอสามพันธุ์” ใบประกาศเกียรติคุณระดับดี ในการนำ�เสนอ ผลงานภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “สารออกฤทธิ์สำ�คัญทางชีวภาพ และฤทธิ์การต้านออกซิเดชั่นของส้มโอพันธุ์ทองดี และแชนเลอร์ในระยะความบริบูรณ์” ใบประกาศเกียรติคุณระดับดี ในการนำ�เสนอ ผลงานภาคโปสเตอร์ สาขาไม้ผล/ไม้ยืนต้น เรื่อง “การศึกษาเบื้องต้นของอาการผิวผลลาย ต่อสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพและฤทธิ์การต้าน ออกซิเดชั่นในส้มเขียวหวานพันธุ์สายนํ้าผึ้ง”

หน่วยงานผู้มอบ มูลนิธิธรรมกายร่วมกับชมรม พุทธศาสตร์สากลในอุปถัมภ์ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์ สถานีวิทยุกระจายเสียง 914 สำ�นักงานพัฒนาภาค 3 หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา กองบัญชาการทหารไทย กระทรวงการต่างประเทศ รัฐบาลประเทศญี่ปุ่นร่วมกับรัฐบาล 10 ชาติเอเซียน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับสมาคมวิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ร่วมกับสมาคมพืชสวน แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ร่วมกับสมาคมพืชสวน แห่งประเทศไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สุวรรณภูมิ ร่วมกับสมาคมพืชสวน แห่งประเทศไทย


102 กิจกรรมภายในของมหาวิทยาลัย

พิธีส่งมอบตำ�แหน่งและสถาปนาอธิการบดี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที่ 2 ตุลาคม 2552

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีสืบชะตา อธิการบดีผู้ก่อตั้งและประธานกรรมการอำ�นวยการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วันที่ 6 ธันวาคม 2552

103


104

พิธีประสาทอนุปริญญาบัตร สาขาวิชาการส่งเสริมสุขภาพ รุ่นที่ 3 วันที่ 18 มีนาคม 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีทำ�บุญอุทิศส่วนกุศลแด่อดีตผู้บริหารและพนักงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ประจำ�ปี 2553 วันที่ 8 เมษายน 2553

105


106

พิธีรดนํ้าดำ�หัวผู้บริหารเนื่องในเทศกาลสงกรานต์ (ปี๋ใหม่เมือง) วันที่ 26 เมษายน 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีสืบชะตาผู้บริหารมหาวิทยาลัย วันที่ 10 มิถุนายน 2553

107


108

พิธีถวายเทียนพรรษาและผ้าอาบนํ้าฝน วันที่ 23 กรกฎาคม 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

พิธีทำ�บุญตักบาตรเป็งปุ๊ด (ตักบาตรพระอุปคุตหรือตักบาตรเที่ยงคืน) วันที่ 24 สิงหาคม 2553

109


110

พิธีสถาปนามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ครบรอบ 12 ปี วันที่ 24 กันยายน 2553

กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ผ ล ง า น ดี เ ด่ น


มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

Mae Fah111 Luang University

5 รายนามคณะกรรมการ และผู้บริหาร


112

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

รายนามคณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 28 พฤศจิกายน 2551 ถึง 27 พฤศจิกายน 2553

นายกสภามหาวิทยาลัย

อุปนายกสภามหาวิทยาลัย

พลตำ�รวจเอก เภา สารสิน

1

นายสุนทร อรุณานนท์ชัย

2

3

กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำ�แหน่ง 1. นายสุเมธ แย้มนุ่น เลขาธิการคณะกรรมการการอุดมศึกษา 2. รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 3. พลเอก สำ�เภา ชูศรี


113

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผู้ทรงคุณวุฒิ

1. นายชัย โสภณพนิช 2. ศาสตราจารย์ ไชยยศ เหมะรัชตะ 3. ศาสตราจารย์ ดร.ติน ปรัชญพฤทธิ์ 4. ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย 5. ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ 6. ศาสตราจารย์ ดร.ยอดหทัย เทพธรานนท์ 7. นายสงคราม ชีวประวัติดำ�รง 8. ศาสตราจารย์พิเศษ สมชาย พงษธา 9. นายสันติ ภิรมย์ภักดี 10. พลตำ�รวจเอก ดร.ประสาน วงศ์ใหญ่ 11. นายนพพร ต้อนรับ 12. นายเรียบ นราดิศร


114

1

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

2

4

3

กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทผู้บริหาร 1. รองศาสตราจารย์ กัลณกา สาธิตธาดา 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ (28 พฤศจิกายน 2551 - 31 มีนาคม 2553) 3. รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์ (8 เมษายน 2553 - 27 พฤศจิกายน 2553) 4. อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์

1

2

3

กรรมการสภามหาวิทยาลัยประเภทคณาจารย์ประจำ�

เลขานุการสภามหาวิทยาลัย

1. รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ 3. อาจารย์ พฤทธิ์ พุฒจร

1

2

นางพรทิพย์ ภูติโยธิน

ที่ปรึกษาสภามหาวิทยาลัย 1. นายประจวบ ไชยสาส์น

2. นายแสวง เครือวิวัฒนกุล


115

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

รายนามคณะกรรมการตรวจสอบและติดตามการดำ�เนินการ วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552 ถึง 30 กันยายน 2554

1. นายกำ�ธร จันทรแสง 2. ศาสตราจารย์ ดร.พจน์ สะเพียรชัย 3. นายพายัพ พยอมยนต์ 4. นายนนทพล นิ่มสมบุญ 5. หัวหน้าหน่วยตรวจสอบภายใน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ เลขานุการ

รายนามคณะกรรมการส่งเสริมกิจการมหาวิทยาลัย

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ประธานกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2552 ถึง 29 มิถุนายน 2554 วาระการดำ�รงตำ�แหน่งกรรมการ ตั้งแต่วันที่ 11 สิงหาคม 2552 ถึง 10 สิงหาคม 2554

1. พลเอก สำ�เภา ชูศรี 2. นายสุเมธ ตัณธุวนิตย์ 3. นายทวิช เตชะนาวากุล 4. นายวัชระ ตันตรานนท์ 5. นายชเยนทร์ คำ�นวณ 6. นายสมพันธ์ จารุมิลินท 7. นายหาญ เชี่ยวชาญ 8. นายอัศวิน ชินกำ�ธรวงศ์ 9. นายชัย โสภณพนิช 10. นายมนตรี ด่านไพบูลย์ 11. นายโยธิน อนาวิล 12. นายสมชาย คูสุวรรณ 13. นายอนันต์ เหล่าธรรมทัศน์ 14. นายแสวง เครือวิวัฒนกุล 15. นายหาญ จันทร์ตระกูล 16. นายวิวัฒน์ ศิริจางคพัฒนา 17. นายอินหวัน บั้งเงิน 18. นายแพทย์กอบชัย จิตรสกุล 19. นายแพทย์ปลื้ม ศุภปัญญา 20. นายสัตวแพทย์ถนอมศักด เสรีวิชยสวัสดิ์ 21. นายไกรสร จันศิริ 22. นายไพบูลย์ ดำ�รงชัยธรรม 23. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ


116

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

รายนามคณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2551 ถึง 17 ธันวาคม 2553 1. นายสุนทร อรุณานนท์ชัย 2. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป 3. ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธ์ คูวัฒนาชัย 4. นายสงคราม ชีวประวัติดำ�รงค์ 5. ดร.มารวย ผดุงสิทธิ์ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล 7. นางสาวศรีสุนันทา ปาลวัฒน์ 8. รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ กัลณกา สาธิตธาดา 9. รองอธิการบดี นางพรทิพย์ ภูติโยธิน 10. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด 11. นายกัมพล ไชยเลิศ

ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ

รายนามคณะกรรมการบริหารงานบุคคล

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 6 มีนาคม 2551 ถึง 5 มีนาคม 2553 1. ประธานกรรมการอำ�นวยการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ 2. ศาสตราจารย์ ไชยยศ เหมะรัชตะ 3. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป 4. ศาสตราจารย์ ติน ปรัชญพฤทธิ์ 5. นายโอภาส เขียววิชัย 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประวิตร นิลสุวรรณากุล 7. นางสาวพรทิพย์ กาญจนนิยต 8. รองศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธุ์ วงษ์บูรณาวาทย์ 9. รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์ 10. อาจารย์ทรงสรรค์ อุดมศิลป์ 11. นางสาวสุชาดา พัฑฒนะ 12. รองอธิการบดี นางพรทิพย์ ภูติโยธิน 13. หัวหน้าส่วนการเจ้าหน้าที่ นางสาวกัญหา หยุ่นตระกูล

ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ


117

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

รายนามคณะกรรมการอำ�นวยการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 1. 2. 3. 4. 5.

รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ ศาสตราจารย์ ดร.นักสิทธิ์ คูวัฒนาชัย ศาสตราจารย์ ไชยยศ เหมะรัชตะ นายสงคราม ชีวประวัติดำ�รง รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ

รายนามคณะกรรมการสภาวิชาการ

วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 6 พฤศจิกายน 2551 ถึง 5 พฤศจิกายน 2553 กรรมการสภาวิชาการโดยตำ�แหน่ง 1. อธิการบดี รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 2 ตุลาคม 2552) 2. คณบดีสำ�นักวิชาการจัดการ รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์ 3. คณบดีสำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุดวันที่ 31 มีนาคม 2553) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณฤมล เต็มดี (รักษาการ) (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่วันที่ 1 เมษายน 2553) 4. คณบดีสำ�นักวิชานิติศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชลอ ว่องวัฒนาภิกุล 5. คณบดีสำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี (รักษาการ) 6. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ 7. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ 8. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ อาจารย์ นายแพทย์ สำ�เริง กาญจนเมธากุล 9. คณบดีสำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.ธัมม์ทิวัตถ์ นรารัตน์วันชัย (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553) อาจารย์ นายแพทย์ มาศ ไม้ประเสริฐ (รักษาการ) (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2553)

ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


118

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

10. คณบดีสำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธุ์ วงษ์บูรณาวาทย์ 11. คณบดีสำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ ดร.อรพิน ภูมิภมร 12. ผู้อำ�นวยการศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธี วัฒนศิริเวช (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 10 สิงหาคม 2553) อาจารย์ ดร.ประภัสสร ดำ�รงกุล อึ้งวณิชยพันธ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 11 สิงหาคม 2553) 13. ผู้อำ�นวยการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์ 14. ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา อุปโยคิน (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 มกราคม 2553) อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553) 15. ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ นิลทอง 16. ผู้อำ�นวยการศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 11 พฤษภาคม 2553) Professor Cen Rong lin (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2553) กรรมการสภาวิชาการประเภทคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชา ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาการจัดการ 17. อาจารย์ ดร.ปิยธิดา เพียรลุประสิทธิ์ 18. อาจารย์ ดร.ณัฐพรพรรณ อุตมา 19. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.แสงจันทร์ กันตะบุตร ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 20. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณฤมล เต็มดี 21. อาจารย์ ดร.สุรพงษ์ อุตมา 22. อาจารย์ พฤทธิ์ พุฒจร ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชานิติศาสตร์ 23. อาจารย์ วรนนท์ ลีลาเวทพงษ 24. อาจารย์ วีระพงษ์ บึงไกร 25. อาจารย์ ฤทธิภัฎ กัลยาณภัทรศิษฎ์

กรรมการ กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


119

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ 26. รองศาสตราจารย์ ดร.สายพิณ เกษมกิจวัฒนา 27. รองศาสตราจารย์ ดร.ชมนาด พจนามาตร์ 28. รองศาสตราจารย์ กาญจนี สิทธิวงศ์ ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ 29. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เอกชัย ชูเกียรติโรจน์ 30. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดรุณี วัฒนศิริเวช 31. อาจารย์ ดร.อนันต์ อึ้งวณิชยพันธ์ ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง 32. อาจารย์ ดร.ภานุพงษ์ ใจวุฒิ 33. อาจารย์ อำ�ภา จิมไธสง 34. อาจารย์ ดร.ภัชราพร วงศ์วิฑูรยาพร ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ 35. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ แพทย์หญิง มิตรา คาสลี 36. อาจารย์ ดร.ธวัชชัย อภิเดชกุล 37. อาจารย์ สรายุทธ มงคล ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ 38. อาจารย์ นายแพทย์ มาศ ไม้ประเสริฐ 39. อาจารย์ นายแพทย์ อาชวิน สตางค์มงคล 40. อาจารย์ เภสัชกร ดร.กานต์ วงค์ศุภสวัสดิ์ ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ 41. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สรบุศย์ รุ่งโรจน์สุวรรณ 42. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ผณินทรา ธีรานนท์ 43. อาจารย์ ฉลองรัฐ เจริญศรี ผู้แทนคณาจารย์ประจำ�สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร 44. อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร 45. อาจารย์ ดร.นิรมล ปัญญ์บุศยกุล 46. อาจารย์ ดร.พันธุ์สิริ สุทธิลักษณ์ เลขานุการคณะกรรมการสภาวิชาการ 47. รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 2 ตุลาคม 2552) รองศาสตราจารย์ กัลณกา สาธิตธาดา (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 3 ตุลาคม 2552)

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ


120

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

รายนามคณะกรรมการการประกันคุณภาพการศึกษา วาระการดำ�รงตำ�แหน่ง ตั้งแต่วันที่ 26 ตุลาคม 2552 ถึง 16 ธันวาคม 2553

1. ประธานกรรมการอำ�นวยการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ ดร.วันชัย ศิริชนะ 2. อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป 3. รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ กัลณกา สาธิตธาดา 4. รองอธิการบดี นางพรทิพย์ ภูติโยธิน 5. รองอธิการบดี รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน 6. รองอธิการบดี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ 7. ผู้ช่วยอธิการบดี อาจารย์ ดร.ชูเกียรติ น้อยฉิม 8. ผู้ช่วยอธิการบดี อาจารย์ ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ 9. ผู้ช่วยอธิการบดี อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร 10. คณบดีสำ�นักวิชาการจัดการ รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์ 11. คณบดีสำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณฤมล เต็มดี (รักษาการ) 12. คณบดีสำ�นักวิชานิติศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชลอ ว่องวัฒนาภิกุล 13. คณบดีสำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี (รักษาการ) 14. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ 15. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ 16. คณบดีสำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ อาจารย์ นายแพทย์ สำ�เริง กาญจนเมธากุล 17. คณบดีสำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ อาจารย์ นายแพทย์ มาศ ไม้ประเสริฐ (รักษาการ)

ที่ปรึกษา ที่ปรึกษา ประธานกรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ


121

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

18. คณบดีสำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ รองศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธุ์ วงษ์บูรณาวาทย์ 19. คณบดีสำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร รองศาสตราจารย์ ดร.อรพิน ภูมิภมร 20. ผู้อำ�นวยการศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี อาจารย์ ดร.ประภัสสร ดำ�รงกุล อึ้งวณิชยพันธ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 11 สิงหาคม 2553) 21. ผู้อำ�นวยการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์ 22. ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ นิลทอง 23. ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการวิชาการ อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง 24. ผู้อำ�นวยการศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร Professor Cen Ronglin 25. หัวหน้าส่วนนโยบายและแผน 26. หัวหน้าส่วนการเจ้าหน้าที่ นางสาวกัญหา หยุ่นตระกูล 27. หัวหน้าส่วนการเงินและบัญชี นายกัมพล ไชยเลิศ 28. หัวหน้าส่วนพัฒนานักศึกษา นายวีระชัย เจริญจิตติชัย 29. หัวหน้าส่วนบริการงานวิจัย นายฉัตรชัย โรจนวิทิต 30. หัวหน้าส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร 31. เจ้าหน้าที่บริหารส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร

กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ


122

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

รายนามคณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย

อธิการบดี รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป

1

2

3

4

5

6

ที่ปรึกษาอธิการบดี

1. นายจิโรจน์ สุภาพพงศ์ 2. นายสิน พวงสุวรรณ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปริตนา ประทีปะเสน 4. นายโดมเดช บุนนาค 5. ศาสตราจารย์ เกียรติคุณ ดร.ทวี ตันฆศิริ 6. พลตำ�รวจตรี วรเดช พิสุทธิ์ศักดิ์

ด้านอาคารสถานที่ ด้านอาคารสถานที่ ด้านพิธีการและกิจการพิเศษ ด้านกิจการต่างประเทศ ด้านวิจัย ด้านมวลชนสัมพันธ์


123

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

1

2

3

รองอธิการบดี

1. นางพรทิพย์ ภูติโยธิน 2. รองศาสตราจารย์ กัลณกา สาธิตธาดา 3. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์

1

2

ผู้ช่วยอธิการบดี 1. อาจารย์ ดร.ชูเกียรติ น้อยฉิม 2. อาจารย์ ดร.ร่มเย็น โกไศยกานนท์ 3. อาจารย์ ดร.มัชฌิมา นราดิศร

3

4


124

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

1

2

3

4

5

6

7

8

9

10

11

12

คณบดี

1. รองศาสตราจารย์ ดร.จุฑา มนัสไพบูลย์ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553) 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรรณฤมล เต็มดี (รักษาการ) (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2553) 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ชลอ ว่องวัฒนาภิกุล 5. รองศาสตราจารย์ สุปราณี อัทธเสรี (รักษาการ) 6. ศาสตราจารย์ ดร.สิริวัฒน์ วงษ์ศิริ 7. รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณวิภา กฤษฎาพงษ์ 8. อาจารย์ นายแพทย์ สำ�เริง กาญจนเมธากุล 9. ศาสตราจารย์ นายแพทย์ ดร.ธัมม์ทิวัตถ์ นรารัตน์วันชัย (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 มีนาคม 2553) 10. อาจารย์ นายแพทย์ มาศ ไม้ประเสริฐ (รักษาการ) (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 1 เมษายน 2553) 11. รองศาสตราจารย์ ดร.จักรพันธุ์ วงษ์บูรณาวาทย์ 12. รองศาสตราจารย์ ดร.อรพิน ภูมิภมร

สำ�นักวิชาการจัดการ สำ�นักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

สำ�นักวิชานิติศาสตร์ สำ�นักวิชาพยาบาลศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์เครื่องสำ�อาง สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ สำ�นักวิชาเวชศาสตร์ชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ

สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ สำ�นักวิชาอุตสาหกรรมเกษตร


125

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

1

2

3

4

5

6

7

8

ผู้อำ�นวยการ 1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุธี วัฒนศิริเวช (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 10 สิงหาคม 2553) 2. อาจารย์ ดร.ประภัสสร ดำ�รงกุล อึ้งวณิชยพันธ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 11 สิงหาคม 2553) 3. อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์ 4. อาจารย์ ดร.รุ่งโรจน์ นิลทอง 5. รองศาสตราจารย์ ดร.ปรีชา อุปโยคิน (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 มกราคม 2553) 6. อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553) 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์ (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 11 พฤษภาคม 2553) 8. Professor Cen Rong lin (ดำ�รงตำ�แหน่งตั้งแต่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2553)

ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา ศูนย์บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์บริการวิชาการ

ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร


126

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

1

2

3

4

5

6

7

8

หัวหน้าส่วน/หัวหน้าสำ�นักงาน/หัวหน้าหน่วย

1. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด 2. นายกัมพล ไชยเลิศ 3. นางสาวกัญหา หยุ่นตระกูล 4. นางสาวรัชดาภรณ์ พิมพ์ประพันธ์ 5. นางสาวกัลยา ทับเกร็ด 6. นายวิเชียร ขานฤทธี 7. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน (ผู้กำ�กับดูแล) 8. นางเพ็ญทิพา วรอาคม (ดำ�รงตำ�แหน่งสิ้นสุด วันที่ 31 สิงหาคม 2553)

ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานบริหารกลาง ส่วนการเงินและบัญชี ส่วนการเจ้าหน้าที่ ส่วนประชาสัมพันธ์ ส่วนพัสดุ ส่วนสารบรรณ อำ�นวยการและนิติการ ส่วนอาคารสถานที่ ส่วนจัดหางานและฝึกงานนักศึกษา


127

ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

9

10

11

12

13

14

15

16

หัวหน้าส่วน/หัวหน้าสำ�นักงาน/หัวหน้าหน่วย

9. นางสาวสุชาดา พัฑฒนะ 10. นายฉัตรชัย โรจนวิทิต 11. รองศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ยุทธนา ตระหง่าน (ผู้กำ�กับดูแล) 12. นางสาวขจีมาส สุภาพันธุ์ 13. นายวีระชัย เจริญจิตติชัย 14. นางสาวพนมพร โพธิวงค์ 15. นางสาวยศวรรณ วงศ์เสงี่ยม 16. นางสาวสิขรินทร์ แสงจันทร์

ส่วนทะเบียนและประมวลผล ส่วนบริการงานวิจัย ส่วนประสานงานบัณฑิตศึกษา ส่วนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ส่วนพัฒนานักศึกษา สำ�นักงานสภามหาวิทยาลัย หน่วยประสานงานกรุงเทพมหานคร หน่วยตรวจสอบภายใน


128

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

1

2

3

4

5

6

7

8

หัวหน้าฝ่าย

1. นางสาวผ่องพรรณ นะติกา 2. นางสาวมนต์ทริกา เรืองยศ 3. นางเมตตา อุดมปละ 4. นางสาวสุจิตรา กระหมุดความ 5. นางฐาปนีย์ พัวพันพัฒนา 6. นายชัยพงศ์ แกล้วกล้า 7. นายศรัณยู โกเมนต์ 8. นายเรืองศักดิ์ เกลี้ยงกมล

ฝ่ายการเงิน ส่วนการเงินและบัญชี ฝ่ายบัญชี ส่วนการเงินและบัญชี ฝ่ายบัญชีหน่วยงานพิเศษ ส่วนการเงินและบัญชี ฝ่ายจัดหางานและฝึกงานนักศึกษา ส่วนจัดหางานและฝึกงานนักศึกษา ฝ่ายวางแผนและติดตามประเมินผล ส่วนนโยบายและแผน ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา ส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ฝ่ายพัฒนาหลักสูตร ส่วนประกันคุณภาพการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร ฝ่ายรับนักศึกษา ส่วนรับนักศึกษา


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

รายนามผู้บริจาคประจำ�ปีงบประมาณ พ.ศ. 2553 รายนามผู้บริจาคเพื่อสนับสนุนกิจกรรม/บริการวิชาการ/วิจัย จำ�นวนเงินตั้งแต่ 500,001 บาท 1. สำ�นักงานคณะกรรมการกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ 2. CONFUCIUS INSTITUTE HEADQUARTERS 3. สำ�นักงานส่งเสริมอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) 4. กรมการค้าต่างประเทศ 5. สำ�นักงานการศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดปัตตานี 6. สำ�นักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ 7. กองบัญชาการกองทัพไทย 8. สำ�นักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย 9. สถาบันคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการโทรคมนาคม 10. บริษัท บุญรอด เทรดดิ้ง จำ�กัด 11. Aalborg University 12. ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ 13. สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง จำ�นวนเงินตั้งแต่ 100,000 - 500,000 บาท 1. ธนาคารไทยพาณิชย์ จำ�กัด (มหาชน) 2. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 3. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย 4. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ 5. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 6. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 7. สำ�นักงานปลัดกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 8. แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิตเพื่อสุขภาวะสังคมไทย 9. สำ�นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 10. สำ�นักงานสภาพัฒนาเมือง สถาบันพระปกเกล้า 11. สมาคมข้าราชการพลเรือนแห่งประเทศไทย 12. มูลนิธิธนาคารกสิกรไทย 13. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 14. สถานสงเคราะห์เด็กชายบ้านมหาเมฆ 15. กรมพัฒนาการแพทย์ 16. สำ�นักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 17. จังหวัดเชียงราย

129


130

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร

18. สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย 19. โรงพยาบาลยี่งอเฉลิมพระเกียรติ 20. กรมสอบสวนคดีพิเศษ DSI 21. บริษัท ชวี่ เฉวียน ฟูดส์ จำ�กัด 22. สำ�นักงานนวัตกรรมแห่งชาติ 23. สำ�นักงานสลากกินแบ่งรัฐบาล 24. ธนาคารกสิกรไทย จำ�กัด (มหาชน) รายนามผู้บริจาคเพื่อสนับสนุนการศึกษา จำ�นวนเงินตั้งแต่ 500,001 บาท 1. นายชัย โสภณพนิช 2. บริษัท ไทยพรอสเพอริตีเทอมินอล จำ�กัด 3. บริษัท ที ไอ พี เอส จำ�กัด 4. สมาคมนักศึกษาเก่ามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จำ�นวนเงินตั้งแต่ 100,000 - 500,000 บาท 1. มูลนิธิ 100 ปี สมเด็จพระศรีนครินทร์ 2. บริษัท ไทยบริดจสโตน จำ�กัด 3. บริษัท วิริยะประกันภัย จำ�กัด รายนามผู้บริจาคเพื่อสนับสนุนซื้อที่ดิน สร้างอาคาร และจัดหาวัสดุอุปกรณ์ จำ�นวนเงินตั้งแต่ 500,001 บาท 1. บริษัทโงฮก จำ�กัด 2. พลตำ�รวจเอก เภา สารสิน 3. มูลนิธิเจริญโภคภัณฑ์


ร า ย ง า น ป ร ะ จ ำ� ปี 2 5 5 3 ม ห า วิ ท ย า ลั ย แ ม่ ฟ้ า ห ล ว ง

131

คณะผู้จัดทำ�หนังสือรายงานประจำ�ปี 2553 1. อธิการบดี ที่ปรึกษา (รองศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.เทอด เทศประทีป) 2. รองอธิการบดี ประธานกรรมการ (ผู้ช่วยศาสตราจารย์ นาวาอากาศเอก ดร.ธงชัย อยู่ญาติวงศ์) 3. ผู้อำ�นวยการศูนย์บริการวิชาการ กรรมการ (อาจารย์ ดร.พนม วิญญายอง) 4. ผู้อำ�นวยการศูนย์บรรณสารและสื่อการศึกษา กรรมการ (อาจารย์ ดร.พฐา สุวรรณรัตน์) 5. อาจารย์ สำ�นักวิชาศิลปศาสตร์ กรรมการ (อาจารย์จิตรลดาวรรณ ศรีสุนทรไท) 6. หัวหน้าส่วนทะเบียนและประมวลผล กรรมการ (นางสาวสุชาดา พัฑฒนะ) 7. หัวหน้าส่วนพัฒนานักศึกษา กรรมการ (นายวีระชัย เจริญจิตติชัย) 8. หัวหน้าส่วนพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ กรรมการ (อาจารย์ ดร.พรรณรวี พรหมนารท) 9. หัวหน้าส่วนบริการงานวิจัย กรรมการ (นายฉัตรชัย โรจนวิทิต) 10. หัวหน้าส่วนประชาสัมพันธ์ กรรมการ (นางสาวรัชดาภรณ์ พิมพ์ประพันธ์) 11. หัวหน้าฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา กรรมการ (นายชัยพงศ์ แกล้วกล้า) 12. หัวหน้าส่วนนโยบายและแผน กรรมการและเลขานุการ (นางฐาปนีย์ พัวพันพัฒนา หัวหน้าฝ่ายวางแผนและติดตามประเมินผล) 13. เจ้าหน้าที่บริหารส่วนนโยบายและแผน ผู้ช่วยเลขานุการ (นางรุ่งกานต์ วิชาลัย) 14. เจ้าหน้าที่บริหารส่วนนโยบายและแผน ผู้ช่วยเลขานุการ (นางสาวมาลีรัตน์ นิ่มนวล)


132

ร า ย น า ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ล ะ ผู้ บ ริ ห า ร


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.