ประวัติของเชียงใหม่ เชียงใหม่ เป็ นจังหวัดหนึ่งของไทย ตั้งอยูท่ าง ภาคเหนือของประเทศ ครอบคลุมพื้นที่ประมาณ 20,107 ตารางกิโลเมตร ซึ่งใหญ่เป็ นอันดับ 2 ของ ประเทศ มีประชากร 1,735,762 คน มากเป็ นอันดับ 5 ของประเทศ ในจานวนนี้เป็ นประชากรที่อาศัยอยู่ ในเขตเมืองและชานเมือง 960,906 คน โดยจังหวัด เชียงใหม่ทิศเหนือติดต่อกับรัฐฉานของเมียนมา จังหวัดเชียงใหม่ จัดเป็ นเมืองใหญ่อนั ดับที่สองของ ประเทศไทย รองจากกรุงเทพมหานคร โดยแบ่งการ ปกครองออกเป็ น 25 อาเภอ โดยมีอาเภอเมืองเชียงใหม่ เป็ นศูนย์กลางของจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2552 มีการจัดตั ้ง อาเภอกัลยาณิวฒ ั นาเป็ นอาเภอลาดับที่ 25 ของจังหวัด และลาดับที่ 878 ของประเทศ ซึง่ เป็ นอาเภอล่าสุดของ ไทย จังหวัดเชียงใหม่มีประวัติศาสตร์ อนั ยาวนาน เคยเป็ น เมืองหลวงของอาณาจักรล้ านนาแต่โบราณ มี "คาเมือง" เป็ นภาษาท้ องถิ่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวทั ้งด้ านประเพณี วัฒนธรรม และมีแหล่งท่องเที่ยวจานวนมาก โดยเริ่ ม วางตัวเป็ นนครสร้ างสรรค์ และกาลังพิจารณาสมัครเข้ า เป็ นนครสร้ างสรรค์ และเมืองมรดกโลกจากองค์การ ยูเนสโก
เมืองเชียงใหม่ มีชื่อปรากฏในตานานว่า "นพบุรีศรี นครพิงค์เชียงใหม่" สถาปนาขึ ้นในปี พ.ศ. 1839 โดยพญามังราย และมีอายุครบ 720 ปี ในปี พ.ศ. 2559 ในอดีตเชียงใหม่มีฐานะเป็ นเมืองหลวงของ ราชอาณาจักรนครรัฐอิสระ ชื่อว่า อาณาจักร ล้ านนา ซึง่ ปกครองโดยกษัตริย์ราชวงศ์มงั ราย ประมาณ 261 ปี (ระหว่าง พ.ศ. 1839-2101) กระทัง่ ในปี พ.ศ. 2101 เชียงใหม่ได้ เสียเมืองให้ แก่ พระเจ้ าบุเรงนองแห่งพม่า และได้ อยู่ภายใต้ การ ปกครองของพม่ามานานกว่าสองร้ อยปี จนถึงสมัย สมเด็จพระเจ้ ากรุงธนบุรี จึงได้ มีการทาสงครามเพื่อ ขับไล่พม่าออกจากเมืองเชียงใหม่และเชียงแสนได้ สาเร็จ โดยการนาของเจ้ ากาวิละและพระยาจ่า บ้ าน และเปลี่ยนชื่อเป็ น เมืองรัตตนติงสาอภินวปุรี หลังจากนั ้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬา โลกมหาราช ทรงพระกรุณาโปรดเกล้ าฯ สถาปนา เจ้ ากาวิละขึ ้นเป็ นพระบรมราชาธิบดี ปกครองนคร เชียงใหม่และเป็ นประมุขแห่งราชวงศ์ทิพย์จกั ร (ราชวงศ์เจ้ าเจ็ดตน) และต่อมา เจ้ านายซึง่ เป็ นเชื ้อ สายของพระเจ้ ากาวิละ ก็ได้ ปกครองเมืองเชียงใหม่ และหัวเมืองต่างๆ สืบต่อมา
การแต่งกายของเชียงใหม่ การแต่งกายของชาวล้ านนา แม้ จะเป็ นชนกลุม่ ใด ก็ตาม ก็จะมีลกั ษณะร่วมกันอยู่ โดยเฉพาะ จะ ประกอบด้ วยเครื่ องนุ่งและเครื่ องห่ม ซึง่ แม้ ว่าเวลา จะผ่านเลย นับตังแต่ ้ สมัยของพระญามังรายมา จนถึงสมัยเชื ้อสายของพระเจ้ ากาวิละแล้ วก็ตาม ก็ย่อมจะมีลกั ษณะไม่ตา่ งกัน ในแง่ของผ้ าที่ทอขึ ้น ในท้ องถิ่นและการใช้ งานที่ไม่ตา่ งกัน จึงน่าจะมี ความคล้ ายคลึงกันอยู่ในแง่ของรูปแบบและ ประเพณีนิยม ล้ านนา” ในปั จจุบนั หมายถึงอาณาเขต 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย ได้ แก่ จังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย พะเยา ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน และแม่ฮ่องสอน การแต่งกายพื ้นเมืองของล้ านนา จึงหมายถึงการแต่งกายของชนกลุม่ ต่างๆ ที่ อาศัยอยู่ในล้ านนาในอดีตอาณาจักรล้ านนาในบางยุคสมัยอาจครอบคลุมไป ถึงรัฐ ต่างๆ เช่นสิบสองปั นนา รัฐฉาน เชียงตุง เป็ นต้ น ซึง่ ต่างก็เคยมี ความสัมพันธ์กนั มาช้ านาน ชนกลุม่ ใหญ่ที่สร้ างสมอารยธรรมในล้ านนาก็คือ “ชาวไทยวน” ซึง่ ปั จจุบนั เรี ยกตัวเองว่า “คนเมือง” นอกจากนี ้มีวฒ ั นธรรม กลุม่ ชนต่างๆ ผสมผสานกันได้ แก่ ชาวไทลื ้อ ไทเขิน ไทใหญ่(ไต) ชาวไทยวน ในล้ านนามีวฒ ั นธรรมในการทอผ้ าเพื่อใช้ สอยและแต่งกายเป็ นเอกลักษณ์มา แต่โบราณ จากหลักฐานด้ านจิตรกรรมฝาผนังวัดต่างๆ ในเชียงใหม่และน่าน ในเชียงใหม่เช่นวัดบวกครกหลวง วัดพระสิงห์วรวิหาร และวัดป่ าแดด จิตรกร ได้ เขียนไว้ เป็ นหลักฐานประกอบกับการบันทึกของมิชชัน่ นารี หรื อผู้ร้ ูที่เล่าสืบ ต่อกันมา
การแต่งกายยุคฟื้นฟูวัฒนธรรม ปั จจุบนั ชาวเชียงใหม่ได้ มีการ ฟื น้ ฟูวฒ ั นธรรมการแต่งกาย พื ้นเมืองขึ ้น ซึง่ มีหลายรู ปแบบ ตามเผ่าพันธุ์ของกลุม่ ชนที่อาศัย อยูใ่ นอาณาจักรล้ านนาใน อดีต เป็ นการประยุกต์รูปแบบของ เสื ้อผ้ าในยุคดังเดิ ้ มมาแต่งโดย พยายามรักษาความ เป็ น เอกลักษณ์ของชาวพื ้นเมือง เชียงใหม่ไว้ จึงได้ มีการพิจารณา ให้ ความเห็นชอบในรูปแบบการ แต่งกายพื ้นเมืองโดย คณะอนุกรรมการวัฒนธรรม จังหวัดเชียงใหม่เมื่อปี พทุ ธศักราช 2534
เมนูอาหารล้านนา ไส้ อ่ วั เมื่อก่อนไปภาคเหนือเมื่อไรต้ องไปกิน ไส้ อวั่ ทุกครัง้ และก็ต้องซื ้อเป็ นของฝาก ญาติมติ รเสมอ แต่พกั หลังไม่ค่อยว่าง วันนี ้ อยากย้ อนราลึกความหลังด้ วยการทาอาหาร เหนือสักหน่อย ขอเลือกทาไส้ อวั่ สูตรจากคุณ เนินน ้า กระซิบว่าไม่ต้องไปล้ างไส้ หมูเองนะคะ เพราะใช้ ชดุ ทาไส้ อวั่ แบบสาเร็จที่ในซองมีไส้ แบบสาเร็จรูปที่ทามาจากคอลลาเจน อุ๊ตะ ! ง้ าย ง่ายเนอะ คราวนี ้ก็ได้ เวลาไปหาซื ้อส่วนผสมกัน แล้ ว
ข้ าวซอยไก่ ทังไส้ ้ อวั่ และน ้าพริ กหนุ่มก็ทาง่ายและกิน อร่อย แต่เริ่ มเบื่อแล้ วล่ะสิอยากทาอาหารจาน เดียวอย่างข้ าวซอยไก่ดบู ้ าง สูตรข้ าวซอยไก่ที่ เรายกมาเสนอในวันนี ้เป็ นสูตรจากคุณเนินน ้า เนื ้อไก่น่มุ หอมกลิ่นเครื่ องแกง เส้ นบะหมี่ก็ลื่นคอ แถมยังโรยหน้ าด้ วยบะหมี่ทอดกรอบอีก มา พร้ อมกับเครื่ องเคียงหลากหลาย เหมาะทากิน ในวันหยุดนี ้จริ ง ๆ
นา้ พริกหนุ่ม ทาอาหารเหนือทั ้งทีนอกจากไส้ อวั่ แล้ ว ต้ องมีน ้าพริกหนุ่มมาเพิ่มความสาราญสัก หน่อย แม้ จะพอหาซื ้อได้ ในเมืองกรุงแต่ถ้าทา เองก็ไม่ยากเกินไป วันนี ้ขอยกตัวอย่างน ้าพริก หนุ่มสูตรจากเฟซบุ๊ก พาทา พาทาน เป็ นสูตร ทาง่ายไม่ต้องใส่ถวั่ เน่า หรื อปลาร้ า จับ ส่วนผสมทุกอย่างมาโขลกเข้ าด้ วยกัน ปรุ งรส ออกเผ็ดและเค็มหน่อยแล้ วเอาแคบหมูมาจิ ้ม กิน โอ้ ว... สุขเกินบรรยาย
ขนมจ๊ อก อาหารหวานของทางภาคเหนือ และถือ เป็ นของหวานที่เป็ นขนมยอดนิยม ทากัน ทุกบ้ านในเวลาเทศกาลโดยเฉพาะ สงกรานต์ หรื อเทศกาลเข้ าพรรษา เดือน ยี่เป็ ง เวลาไปทาบุญที่วดั เราจะพบเห็น ขนมพื ้นบ้ านที่ทกุ บ้ านจะนิยมทา คือ “ขนมจ๊ อก” คาว่า “จ๊ อก” เป็ นคากริ ยาที่ หมายถึง การทาสิง่ ของให้ มีลกั ษณะเป็ น คล้ ายๆ กระจุก มียอดแหลม คือ การห่อ ขนมเทียนของทางภาค กลางนัน่ เอง ขนมจ๊ อกของภาคเหนือดั ้งเดิมนิยมทาไส้ หวานจากมะพร้ าวเท่านั ้น ไม่นิยมทาไส้ ถัว่ หรื อไส้ เค็มเลย
แกงอ่ อมหมู เอาใจคนชอบกินเผ็ดด้ วยแกงอ่อม หมูสตู รจากคุณสล่าปู่ สมาชิกเว็บไซต์พนั ทิปดอทคอม ส่วนผสมรวมเอาสารพัด ชิ ้นส่วนหมู ทังขั ้ วตั ้ บหมู เครื่ องในหมู เลือด หมู และหมูสามชันเคี ้ ่ยวกับพริ กแกงอ่อม จนเปื่ อย กินกับขนมจีนก็เข้ ากัน หรื อข้ าว สวยก็ได้ ค่ะ
ข้ าวแต๋ น เป็ นขนมที่นิยมทากันในเทศกาลปี ใหม่ เมือง หรื อสงกรานต์ งานปอยลูกแก้ ว และ งานปอยหลวง ปั จจุบนั นิยมผสมน ้า แตงโมลงในข้ าวเหนียวที่นงึ่ แล้ ว ก่อน นามากดลงพิมพ์ เพื่อเพิ่มกลิ่นหอมและ ความหวานอร่อย (บัวจันทร์ นนทวาสี, สัมภาษณ์, 10 กรกฎาคม 2550)
สถานที่ท่องเที่ยวที่ไม่ควรพลาด
อุทยานหลวงราชพฤกษ์ เป็ นสวนพฤกษศาสตร์ นานาชาติ ขนาดใหญ่ เป็ นสถานที่ทอ่ งเที่ยวทางเกษตรและเป็ นแหล่ง เรี ยนรู้เกี่ยวกับพืชสวน เคยเป็ นสถานที่จดั แสดงงานพืชสวน โลกเฉลิมพระเกียรติฯ เมื่อปี พ.ศ. 2549 และ ปี พ.ศ. 2554 ไฮไลท์ของสถานที่คือเข้ าเยี่ยมชม หอคาหลวง สถาปั ตยกรรมล้ านนาอันวิจิตรงดงาม ภายในมีการจัดแสดง นิทรรศการพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยูห่ วั และพระบรมศานุวงศ์
วัดพระธาตุดอยสุเทพ เป็ นวัดคูบ่ ้ านคูเ่ มืองเชียงใหม่มาอย่างช้ านาน เรี ยกได้ ว่า หากใครมาเที่ยวจังหวัดเชียงใหม่แล้ วไม่ขึ ้นไปนมัสมารองค์พระธาตุก็ เปรี ยบเสมือนยังมาไม่ถึงเชียงใหม่ แน่นอนว่า ในการมาวัดพระธาตุดอยสุเทพ นัน้ คือการเดินขึ ้นไปยังบันไดพญานาค 306 ขัน้ อันโด่งดัง หากใครเดินไม่ไหว ก็สามารถเลือกซื ้อตัว๋ ขึ ้นกระเช้ าขึ ้นไปได้ ไปสูอ่ งค์พระธาตุ เยี่ยมชม เจดีย์พระ ธาตุดอยสุเทพ เจดีย์สถาปั ตยกรรมทรงเชียงแสน รอบตัวเจดีย์ปิดด้ วยทองดีบกุ เหลืองอร่าม ใต้ ฐานเจดีย์บรรจุพระบรมสารี ริกธาตุขององค์สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้ า และ ถัดจากเจดีย์ไปไม่กี่ก้าว เป็ นจุดชมวิวที่สามารถมองเห็น ทัศนียภาพอันสวยงามของเมืองเชียงใหม่ได้ แบบมุมกว้ าง
ดอยอ่างขาง ตังอยู ้ ่บริ เวณเส้ นกันพรหมแดนของไทย-พม่า ใน ทิวเขาแดนลาว อ. ฝาง จ.เชียงใหม่ คาว่าอ่างขาง นันเป็ ้ นภาษาเหนือแปลว่า อ่างรูปสี่เหลี่ยมคล้ าย ชามอ่างหรื อก้ นกระทะเหมือนดัง่ ลักษณะของ ดอยอ่างขาง ที่เป็ นหุบเขา มีความ ยาวโดยรอบประมาณ 5 กิโลเมตร และ ก้ วาง 3 กิโเลเมตร ตรงกลางกลางหุบเขา เป็ นที่ตงของ ั ้ สถาณีเกษตรหลวงอ่างขาง ซึง่ อยู่เหนือระดับน ้าทะเลประมาณ 1,400 เมตร เป็ นสถาณีวิจยั ทดลองปลูกพืชไม้ เมืองหนาวหลากหลายชนิด ทัง้ แปลงผัก แปลงดอกไม้ อากาศบนดอยอ่างขางนันเย็ ้ นสบายตลอดทังปี ้ นักท่องเที่ยวสามารถเดินเยี่ยมชม หรื อ เช่าจักรยานเพื่อปั่ นดูความสวยงาม โดยรอบของสถาณีวิจยั โดยไม่ต้องกลัวเดินเหนื่อยได้ อีกด้ วย เมื่อมาเที่ยวดอยอ่าง ขางกันแล้ ว ส่วนใหญ่นกั ท่องเที่ยวมักจะเดินทางขึ ้นไปกราบไหว้ นมัสการ “พระ ธาตุดอยอ่างขาง” เพื่อความเป็ นสิริมงคลแก่ชีวิต นอกจากนี ้ยังได้ ชมวิถีชีวิตของ ชาวเขาเผ่าต่างๆ เช่น เผ่ามูเซอ เผ่าปะหล่องเป็ นต้ น นอกจากนี ้บนดอยอ่างขางยัง มี “จุดชมวิวกิ่วลม” ที่สวยงามไม่แพ้ ที่ใดทางภาคเหนือ
ขุนช่างเคี่ยน ตั้งอยูใ่ น อ.เมือง จ.เชียงใหม่ มีอีกชื่อหนึ่งเรี ยกว่า สถานีวจิ ยั และศูนย์ฝึกอบรม เกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยน เป็ นแหล่งท่องเที่ยวชมความสวยงามของดอกซากุระเมืองไทย หรื อ ดอกนางพญาเสื อโคร่ ง ที่มกั จะออกดอกบานสะพรั่งอวดสี ชมพูสดใส ในช่วงเดือน ธันวาคม ถึง มกราคม ของทุกปี ช้าหรื อเร็ วแล้วแต่สภาพอากาศ นับเป็ นแหล่งชมดอกซากุระยอดฮิตอันดับ ต้นๆของประเทศไทย ถึงแม้การเดินทางเข้ามายังขุนช่างเคี่ยนจะค่อนข้างสมบุกสมบันซักหน่อย แต่รับรองว่าคุม้ ค่าต่อการเดินทางอย่างแน่นอน ตลอดสองข้างทางเรี ยงรายไปด้วยป่ าต้นพญาเสื อ โคร่ งบานสะพรั่งงดงามท่ามกลางภูเขาสลับสู งต่าทาให้ววิ ทิวทัศน์บริ เวณขุนช่างเคี่ยนดูมีมิติ สวยงามไม่เหมือนที่ใด ต้นนางพญาเสื อโคร่ งที่นี่มีดอกสี ชมพูสดใสและอยูต่ ิดๆ กันเป็ นดง เวลา ออกดอกจึงดูสวยงาม มีชีวติ ชีวากว่าที่อื่นๆ หากนักท่องเที่ยวท่านใดอยากจะนอนค้างแรมเพื่อ สัมผัสกับอากาศหนาวยามเช้าพร้อมชมดอกพญาเสื อโคร่ งกันอย่างเต็มอิ่มก็ลองติดต่อสอบถาม ทางสถานีวจิ ยั ศูนย์อบรมเกษตรที่สูงขุนช่างเคี่ยน ที่เบอร์ 053-222-014 หรื อ 053-944-053 เพราะที่นี่เค้ามีบริ การห้องพักไว้คอยบริ การนักท่องเที่ยว หรื อใครอยากจะหาสถานที่กางเต๊นท์ ใกล้เคียง ห่างไปประมาณ 3 กิโลเมตร ก็มีสถานที่กางเต๊นท์ที่บริ เวณอุทยานแห่งชาติดอยสุ เทพปุยจัดไว้ให้
หากมาเที่ยวเชียงใหม่แล้ วยังไม่ได้ เข้ าไปชความน่ารักของเจ้ าหมีแพนด้ าที่ “สวน สัตว์เชียงใหม่” แล้ วล่ะก็เหมือนยังมาไม่ถึงเชียงใหม่ ซึง่ นับเป็ นจุดเด่นที่ดงึ ดูดคน เข้ ามาเที่ยวยังสวนสัตว์เชียงใหม่เป็ นจานวนมาก นอกจากเจ้ าแพนด้ าแล้ วยังมีสตั ว์ อีกนานาชนิดกว่าเจ็ดพันตัว ท่ามกลางธรรมชาติขนุ เขาอันกว้ างใหญ่ถึง 531 ไร่ ซึง่ ประกอบไปด้ วย สวนนกนครพิงค์ ศูนย์จดั แสดงนกเพนกวิน อาคารแมวน ้า และที่ พลาดไม่ได้ เลยคือ ซู อควาเลี่ยม หรื ออุทยานสัตว์น ้าที่รวบรวมเอา สัตว์น ้าจืดและ น ้าเค็มไว้ หลากหลายสายพันธ์ุุมากกว่า 60 ชนิด สวนสัตว์เปิ ดให้ บริ การทุกวัน ตังแต่ ้ เวลา 09.00 น. ถึง 17.00 น. ราคาบัตรค่าเข้ าชมสาหรับผู้ใหญ่ ราคา 100 บาท เด็ก (สูงไม่เกิน 135 ซ.ม.) 50 บาท ค่าธรรมเนียมในการชมแพนด้ า ผู้ใหญ่ 50 บาท เด็ก (สูงไม่เกิน 135 ซ.ม.) 20 บาท และ บัตรค่าเข้ าชมอควาเรี ยม ผู้ใหญ่ 290 บาท เด็ก (สูงไม่เกิน 135 ซ.ม.) 190 บาท
Thank you