Rectal bleeding

Page 1

Rectal Bleeding การมีเลือดออกจากทางเดินอาหารสวนลาง (LGI bleeding) คือ ภาวะที่มีเลือดออกโดยมีสาเหตุจาก ทางเดินอาหารสวนที่เลยบริเวณligament of Treitzไป ปกติใชอธิบายถึงการมีเลือดออกจากลําไสสวนลาง รวมถึงการมีเลือดสด ๆ ออกที่ Rectum และ การถายเปนเลือดสีแดง การมีเลือดออกที่ทวารหนักรวมกับอาการอื่น ๆ เล็กๆนอยๆ จะพัฒนาเปน hemorrhage ที่ใหญจน shock ได นาเสียดายที่ความหมายนี้ ไมสามารถบอกถึงความชัดเจนของความรุนแรง หรือตําแหนงที่เกิด เลือดออกได แตก็เปนลักษณะทางคลินิกที่พบไดบอย ๆ ที่สําคัญสําหรับแพทยผูเชี่ยวชาญดานนี้ ภาวะการมีเลือดออกที่ทางเดินอาหารสวนลาง (LGI) อยางเฉียบพลัน เปนหนึ่งในสาเหตุของการเขา รักษาตัวในโรงพยาบาลของผูปวย และอุบัติการณจะเพิม่ ขึ้นตามอายุ อยางไรก็ตาม การมีเลือดออกในทางเดิน อาหารสวนลางอยางเฉียบพลันเปนลักษณะเฉพาะบุคคล A. การซักประวัติผูปว ยที่มีเลือดออกในทางเดินอาหารสวนลาง ควรถามถึงความรุนแรง ความชัดเจนของ การมีเลือดออก ปริมาณของเลือดที่ใชแกไข และประวัติของการมีโรคเกี่ยวกับการบงพรองในการแข็งตัวของ เลือด ซึ่งมีความจําเปนที่จะตองหาสาเหตุของการมีเลือดออกในทางเดินอาหารสวนตนดวย ถึงแมประวัติ และการตรวจรางกายจะมีความสําคัญในการประเมินผูป วยที่มีเลือดออกในทางเดิน อาหารสวนลางแลว ปจจัยทางระบาดวิทยา เชน อายุ และโรคที่เปนรวมกอนมาโรงพยาบาลก็เปนขอมูลสําคัญ ในการตัดสินใจ ในผูปวยอายุมากกวา 65 ป สาเหตุที่พบบอยมาจากการโปงพองของหลอดเลือด การมี เลือดออกจากกระเปาะลําไส (diverticular hemorrhage) หรือการขาดเลือดของลําไสใหญ สวนผูปว ยทีย่ ังเปน หนุมสาว การติดเชื้อหรือการอักเสบของลําไสเปนสาเหตุที่พบได การประเมินความรุนแรงของการมีเลือดออก ระยะเวลา วาเปนเฉียบพลัน รุนแรงหรือเรื้อรัง ความถี่ และสีของเลือดที่ออกมา ปกติเลือดที่ออกมามีสีดําเหนียวเหมือนยางมะตอย (melena) จะเปนเลือดที่ออกจาก ทางเดินอาหารสวนบน เชน ลําไสเล็ก หรือลําไสใหญสวนตน ถาเลือดมีสีแดงสด จะมีเลือดออกที่ลําไสใหญ สวนปลาย หรือบริเวณของทวารหนักเอง สิ่งสําคัญที่ควรจําคือ รอยละ 10 ของการมีเลือดออกในทางเดิน อาหารสวนตน จะเปนสาเหตุใหมีอาการถายเปนเลือดได และเปนเหตุใหเกิดอาการช็อค หรือ ความดันต่ําเมื่อ เปลี่ยนแปลงทาทาง (orthostatic hypertension) ปจจัยสําคัญในประวัติของผูปวยกลุมนี้คอื การมีอาการทองผูกเรื้อรัง หรืออาการทองเดิน (ริดสีดวง ทวาร, ลําไสอักเสบ),ทางเดินอาหารเปนกระเปาะ,เคยรักษาโดยการฉายรังสีของลําไสมากอน (ลําไสอักเสบ จากการฉายรังสี), ประวัติการทํา polypectomy, อาการปวดทอง (การขาดเลือด หรือ อาการอักเสบหรือติดเชื้อ ของลําไส),ประวัติเปนโรคเกีย่ วกับหลอดเลือด,ความดันโลหิตต่ํา หรือประวัติเคยผาตัดเกี่ยวกับ vascular surgery ในชองทอง(ischemia),โรคทางหูรูดทวารหนัก (Ano Rectal disease)และการบาดเจ็บของทวารหนัก ประวัติการรับประทานยาแกปวด กลุม NSAIDs หรือยาตานการแข็งตัวของเลือด มีความสัมพันธกับการมี เลือดออกในทางเดินอาหารสวนลางโดยเฉพาะอยางยิ่งการมีเลือดออกที่กระเปาะของลําไส(diverticular


bleeding) ประวัตกิ ารเปนมะเร็งของลําไสหรือมีติ่งเนื้อของบุคคลในครอบครัว ก็เปนปจจัยที่เพิ่มโอกาสทําให เกิดเนื้องอกทีล่ ําไสได สวนสาเหตุอื่น ๆ ที่พบไดแก solitary rectal ulcer,หลอดเลือดอักเสบ,เยื่อบุมดลูก เจริญผิดที่,ลําไสกลืนกัน, portal colopathy และ divertion colistic ผลของการตรวจรางกายจะชวยในการประเมินถึงสภาวะการไหลเวียนเลือดในผูปวย,ปริมาณเลือดที่ เสียไป,สาเหตุของการเสียเลือด และโรคที่พบรวม เชน ผูปวยจะมีอาการหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตลดลง ขณะเปลี่ยนทาทาง (Syatolic Blood Pressure ลดลงมากกวา 20 mmHg) หรืออัตราการหายใจเพิ่มขึน้ มากกวา 20 ครั้ง/นาที ซึ่งเปนสัญญาณบอก เมื่อรางกายสูญเสียเลือด รอยละ 15 เมื่อรางกายเสียเลือดมาก 20-25 % จะมีความดันโลหิตต่าํ มาก และอาการช็อค ซึ่งตองใหการ ชวยเหลือโดยการเพิ่มปริมาณเลือดทดแทนโดยเร็ว และควรนําผูปวยดูแลอยางใกลชดิ ในหนวย ICU ลักษณะการบาดเจ็บของเยื่อบุผิว เชน เสนเลือดฝอยขยาย (telongiectasia) (Osler-Weber-Rendu disease) ,โรคแผลที่ลําไสเรื้อรังปากดํา (Peutz-Jeghers syndrome) , การกดเจ็บบริเวณหนาทอง, คลําพบกอน และมามโตผิดปกติ เปนสิ่งสําคัญที่ใชบงชี้โรค ลักษณะเหลานี้สามารถใชเปนขอบงชีห้ รือเปนแนวทางการ วินิจฉัยและทําการรักษาได การตรวจทางทวารหนักและสีของอุจจาระ สามารถใชบงบอกตําแหนงของโรค ทางทวารหนักได B. สิ่งที่สําคัญและแนะนําใหทําคือการใส nasogastric tube และทํา Lavage เพื่อใหแนใจวาไมมี Upper GI bleeding ในภาวะฉุกเฉินการสองกลองเพื่อดูหลอดอาหาร กระเพาะอาหาร และลําไสเล็กสวนตน ถาพบ เลือดสด ๆ ในการสวนลางอาจแสดงถึงการที่ผูปวยรับประทานยากลุม NSAIDs ได C. การตรวจ Anoscopy/ Sigmiodoscopy เปนสิ่งที่มีประโยชนในการจัดการกับการมีเลือดออกในทางเดิน อาหารสวนลาง (LGI) ซึ่งยังคงเปนที่ถกเถียงกันอยูโดย ผูเชี่ยวชาญเชือ่ วาการทํา Anoscopy จะเปนการ ประเมินในระยะเริ่มตนของการมีเลือดออก สวน Sigmiodoscopy จะชวยไดในสวนของพยาธิสภาพที่ ลําไส ใหญสวนปลายตอกับทวารหนัก เชน การอักเสบหรือการติดเชื้อของลําไส,ริดสีดวงทวาร,การอักเสบของ ลําไสใหญสวนปลาย หรือการอักเสบของกน ซึ่งถามีสิ่งขับออกจากรางกายนี้ การตรวจวินิจฉัยจําเปนตองทํา การสองกลองแบบฉุกเฉิน และขอมูลการเกิดพยาธิสภาพ ไมสามารถสงสัยไดวาเปนที่ทางเดินอาหารสวนตน มีวิธีการที่ใชสาํ หรับตรวจวินจิ ฉัยและการรักษา ภาวะมีเลือดออกในทางเดินอาหารสวนลาง 3 วิธี ไดแก การสองกลอง (endoscopic) การใชรังสี (radiologic) และการผาตัด (surgical) การสองกลองของลําไสใหญ (Colonoscopy) เปนวิธีการแรกที่ควรทําเกือบทุกราย เพราะสามารถ วินิจฉัยไดเร็วที่สุดและทําการรักษาไดดี อยางไรก็ตาม ยังมีการโตเถียงอยางมากถึงเวลาที่เหมาะสมในการใช วิธีสองกลองที่ลําไส การสองกลอง สามารถตรวจพบได ตั้งแต 8- 24 ชั่วโมงแรกที่มีอาการ ในการเตรียม ลําไส เพียงแคการใสสายยางผานทางปาก หรือ ผานทางจมูกเขาสูกระเพาะอาหาร การสองกลองภายใน (Endoscope) เพื่อหามเลือด สามารถทํารวมกับอีกหลายวิธี เชน การฉีดยาหามเลือด การใชความรอน การใช


กระแสไฟฟาเพื่อหามเลือด หรือการใช Hemoclips ซึ่งมีลักษณะคลายเข็มเย็บกระดาษ เย็บ และการผูกเสน เลือด D. การใชรังสีในการตรวจ Tagged red blood cell scan เปนวิธีที่กําลังโตแยง เพราะวามีความแมนยําในการ หาบริเวณที่เลือดออกไดหลากหลาย แตมนั มีขอไดเปรียบที่มันสามารถตรวจได แมวาจะมีเลือดออกเพียง 0.1-0.5 cc ตอนาที และในความเปนจริงมันเปนวิธกี ารทดสอบที่ยังไมแพรหลาย เปาหมายสําคัญของการทํา red blood cell scan จะใช เปนการคัดกรองความเปนไปไดของการทํา Angiography และหรือ สําหรับการ รักษาโดยการผาตัด การทํา Angiography สามารถประเมินอัตราการสูญเสียเลือดได มากกวา 0.5 ml/min และใชในการประเมิน ตนทุนที่เพิ่มขึน้ ของการใชยา ความเปนไปไดในการรักษา (การเลือก Microembolizartion หรือการฉีดสารที่ ทําใหเสนเลือดหดตัว ภาวะแทรกซอนไดแกการมีเลือดออก, การมีกอนเลือดออกใตผิวหนังบริเวณที่ใสสาย, หลอดเลือดแดงถูกทําลาย, และลําไสขาดเลือดมาเลี้ยง การรักษาดวยการทํา Angiography เปนแนวทางสํารอง สําหรับผูปวยที่ไมสามารถเลือกศัลยแพทยได และแพทยยังใชเปนแนวทางสําหรับการทําผาตัดถาจําเปน E. การผาตัดรักษา จะตองทําถาผูปวยมีเลือดออกไมหยุด และมีการกลับมามีเลือดออกซ้ําอีก โดยทั่วไปผูปวยที่มีความตองการเลือดจํานวนมาก (มากกวา 4-6 Unit เกินกวา 24 ชม. หรือโดยรวมมากกวา 10 Unit) ศัลยแพทยจะแนะนําวิธีการผาตัดรักษาใหถาเปนไปได F. สุดทาย ถาไมพบสาเหตุของการมีเลือดออกในทางเดินอาหารสวนลางแลว การตรวจวินิจฉัยในลําไส เล็กจึงมีความจําเปนที่จะตองทํา ซึ่งพบวาการมีเลือดออกในทางเดินอาหารสวนลาง รอยละ 2-15 มีสาเหตุมา จากลําไสเล็ก ผูปวยที่มีเลือดออกในลําไสเล็ก ทั่วไปตองทํามากกวาการตรวจเพื่อวินจิ ฉัย การใหเลือด และ นอนใน โรงพยาบาลนานเมือ่ เทียบกับผูปว ยที่มีสาเหตุของการมีเลือดออกจากสาเหตุอื่น ๆ มีผูใหขอเสนอแนะวา ควรแยกการตรวจวินิจฉัย วิธีEndoscopicเชนระหวาง การใช Enteroscopy กับ Capsule endoscope วามีความเหมาะสมกันอยางไร ในผูป วยแตละราย



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.