โครงการศึกษาและพัฒนาคุณภาพผลิตภัณฑ์ และกราฟิ กสําหรั บบรรจุภณ ั ฑ์
ร้ าน ชวนนังชิ ้ ม (Choun-Nung-Chim)
เสนอ ผศ.ประชิด ทิณบุตร โดย น.ส. พลอยไพรริ นทร์ ปานมี รหัส 5213000515 สาขาวิชาศิลปกรรม แขนงออกแบบนิเทศศิลป์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม ปี การศึกษา 2556
1
ผังความคิดและวิเคราะห์ ข้อมูลผลิตภัณฑ์ และบรรจุภณ ั ฑ์ ด้วย วิธีการ 3ส. สืบค้ น สมมุตฐิ าน และสรุ ป
ศึกษาข้ อมูลบรรจุภณ ั ฑ์จาก กรณีศกึ ษา โครงการศึกษาและพัฒนา คุณภาพผลิตภัณฑ์ ร้ าน ชวน
ส.1 สืบคน
แบบเพื่อเลือกไปผลิตจริ ง ออกแบบกราฟิ กสําหรับบรรจุ ภัณฑ์ตามที่ได้ วางแผนไว้
ชื่อร้ านที่จะออกแบบ ศึกษาข้ อมูลสินค้ า
ออกแบบร่าง ศึกษาข้ อดีข้อด้ อยของแต่ละ
กําหนดลักษณะสินค้ าและตัง้
ส.2 สมติฐาน สรุปการออกแบบ
ส.3 สรุป
นําเสนอผลงานการออกแบบ
2
ส1. สืบค้ น กรณีศกึ ษา:บรรจุภณ ั ฑ์ร้านขนมเค้ ก
- บรรจุภณ ั ฑ์ : บรรจุภณ ั ฑ์เบเกอรี่ สําหรับใส่ 1 ชิ ้น - สถานที่ : ร้ านบ้ านนารี สโมสร - ขนาดของกล่อง : กว้ าง 11 cm. ยาว 14 cm. สูง 7 cm.
3
กําหนดลักษณะสินค้ าและตังชื ้ ่อร้ านที่จะออกแบบ จากการศึกษากรณีศกึ ษาในข้ างต้ น ข้ าพเจ้ าจึงมีแนวคิดจะพัฒนาต่อยอด เป็ นร้ านเบเกอรี่ ซึง่ มีลายละเอียด ต่อไปนี ้คือ - ชื่อร้ าน : ร้ านชวนนั ้งชิม (Choun-Chim) - สินค้ า มีดงั นี ้
1. บัทเตอร์ เค้ ก
ส่ วนผสมที่สาํ คัญประกอบไปด้ วย - แป้งเค้ ก 300ก. - ผงฟู 10ก. - เกลือป่ น 1/2ช้ อนชา. - นํ ้าตาลทราย 280ก. - ไข่ไก่ 400ก. - เนยละลาย 300ก. - โอวาเล็ต 15ก. - นมสด 1/2ถ้ วยตวง
ขัน้ ตอนการทํา : เริ่ มจากนําส่วนผสมทุกอย่างยกเว้ นเนยละลาย ตีให้ เข้ ากันด้ วย ความเร็ วสูงสุดของอุปกรณ์เบเกอรี่ ระยะเวลาประมาณ 5 นาที จากนั ้น ลด ความเร็ วของเครื่ องลงเป็ นตํ่าสุดและใช้ เวลาต่อไปอีก 1 นาที เติมเนยละลายผสม ให้ เข้ ากัน นําไปเทใส่พิมพ์ที่เตรี ยมไว้ และมีกระดาษลอกลายรองไว้ เทประมาณ ครึ่งนึงของพิมพ์ สุดท้ ายนําไปอบในอุณหภูมิ 350องศาฟาเรนไฮต์(176องศา เซลเซียส) ระยะเวลาประมาณ 30-45 นาที หรื อจนกระทัง่ สุกได้ ที่ ที่มา:http://betterequipments.com
4
2. ครัวซองค์ ส่ วนผสมที่สาํ คัญประกอบไปด้ วย - แป้งขนมปั ง 1000 กรัม - ยีสต์ 25 กรัม - นํ ้าตาล 50 กรัม - เกลือ 20 กรัม - สารเสริ มเคเอส 505 12 กรัม - เนยสดชนิดจืด 120 กรัม - นํ ้าเย็น 550 กรัม -เนยสดสําหรับรี ดครัวซองค์ 500 กรัม ขั ้นตอนในการทําครัวซองค์ 1.เตรี ยมวัตถุดิบส่วนผสมให้ พร้ อม 2.บัตเตอร์ ครัวซองค์สําหรับรี ด ทุบให้ เป็ นแผ่นสี่เหลี่ยม ความหนาประมาณ 1 ซ.ม. เข้ า ตู้เย็นให้ แข็งตัว วิธีทําครัวซองค์ 1.นําแป้ง, ยีสต์ เข้ าเครื่ องผสม ใช้ หวั ตะขอตีด้วยความเร็ วตํ่า ให้ แป้งและยีสต์เข้ ากัน 2.เติมนํ ้าตาล, เกลือ, สารเสริมเคเอส 505 ลงไป ตามด้ วยนํ ้าเย็น ตีผสมพอเข้ ากันแล้ ว จึง เติมเนยสดชนิดจืด เปลี่ยนเป็ นความเร็วปานกลาง ตีสว่ นผสมให้ เข้ ากัน 3.นําขึ ้นมารี ดบนเครื่ อง ให้ เป็ นสี่เหลี่ยม นําเนยสดสําหรับรี ดครัวซองค์ใส่ตรงกลาง ห่อให้ สนิท นําไปรี ดเป็ นแผ่นยาว สําหรับพับ (3 ทบ) พับตามจังหวะ รี ดเข้ าตู้แช่แข็งให้ เนย แข็งตัว) รี ดครบ 4 ครัง้ เก็บเข้ าตู้แช่แข็ง พักให้ แป้ง (โด) แข็งตัว จึงนํามารี ดเป็ นแผ่นบาง ตัดขึ ้นรูปสามเหลี่ยม ม้ วนขึ ้นรูปครัวซองค์ เรี ยงใส่ถาด ปล่อยให้ ขึ ้นเต็มที่ก่อนเข้ าเตาอบ ทาไข่ให้ ทวั่ 4.นําเข้ าเตาอบ กดสตรี มไอนํ ้า อุณหภูมทิ ี่ 220 องศาเซลเซียส อบประมาณ 18-25 นาที อบจนกระทัง่ สุก
5
ส.2 สมมุตฐิ าน แบบร่างบรรจุภณ ั ฑ์เบเกอรี่ ร้ าน ชวนชิม แบบที่1: แนวความคิดการออกแบบ เป็ นการออกแบบที่อิงรูปทรงสามเหลี่ยมสําหรับ เค้ ก 1 ชิ ้น เน้ นรูปทรงตามสินค้ าและออกแบบกล่อง ให้ เห็นบรรจุภณ ั ฑ์ภายในเพื่อความแตกต่างของ ท้ องตลาด การออกแบบกล่องเค้ กสําหรับ 1 ชิ ้น
ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ คือ การออกแบบค่อนข้ างไม่ได้ มมาตรฐาน ลักษณะการ เปิ ดเปิ ดยาก ไม่ค่อยมีแนวคิดในการออกแบบเท่าที่ควร
6 แบบที่ 2
แนวความคิดการออกแบบ เป็ นการออกแบบที่อิงรูปทรงสามเหลี่ยมเหมือนกับบรรจุภณ ั ฑ์ชิ ้นที่ 1 เน้ นรูปทรงตาม สินค้ าและออกแบบกล่องให้ หหู ิ ้ว ใส่ทิชชู ที่ใส่ช้อน สําหรับผู้บริ โภคที่ไม่ต้องการ รับประทานที่บ้าน
ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ คือ การออกแบบค่อนข้ างเปิ ดยาก มีการออกแบบที่ เยอะเกินไป ต้ นทุนมากไม่เหมาะสําหรับการวางขายทัว่ ไป
6 แบบที่ 3 (แบบที่เลือก) แนวความคิดการออกแบบ เป็ นการออกแบบที่อิงรูปทรงสามเหลี่ยม เหมือนกับบรรจุภณ ั ฑ์ชิ ้นที่ 2 แต่เป็ นแนวตั ้ง การออกแบบกล่องไม่เน้ นติดกาว เปิ ดง่ายมี ดีไซน์ไม่เหมือนใคร การออกแบบกล่องเบ เกอรี่
ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ ปั ญหาที่พบในบรรจุภณ ั ฑ์ คือ การออกแบบค่อนข้ างเปิ ดยาก มีต้นทุนมาก ไม่เหมาะสําหรับการวางขายทัว่ ไป
7
ส.3 สรุ ป สรุปผลการออกแบบ แบบโลโก้ ร้าน “ชวนนัง่ ชิม”
การออกแบบกล่องบรรจุภณ ั ฑ์แบบคลีช่ ิ ้นที่ 2 การออกแบบกล่องบรรจุภณ ั ฑ์แบบคลี่ชิ ้นที่ 1
7