2
3
โดย พลวัฒ ประพัฒน์ทอง
พิมพ์ข้ ึนเพื่อเป็ นหนังสื อที่ระลึกในการจัดงาน “ทัศนศิลป์ ประจาปี พ.ศ.2557”
4
แถลงการณ์ นาบทความ บทความเรื่ อง“เปลือย(อุดมการณ์)อารี ” : เปลือยพัฒนาการหลักสู ตรศิลปะ (Fine Arts) มา เป็ นหลักสู ตรทัศนศิลป์ (Visual Arts) เป็ นการศึกษา อุดมการณ์ ของปัญญาชน ที่ชื่อ อารี สุ ทธิพนั ธุ์ ในการ สร้างหลักสู ตรปริ ญญาทางศิลปะที่มีชื่อหลักสู ตรว่า “ศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอกศิลปะ” สังกัดภาควิชาศิลปะ และวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ เป็ นการศึกษาทางเอกสารและการ สัมภาษณ์ ตลอดจนการสังเกตแบบมีส่วนร่ วมในการศึกษาหลักสู ตรดังกล่าวของผูเ้ ขียนเอง ซึ่ งหลักสู ตรดังกล่าวนี้ได้งดรับนักศึกษาตั้งแต่ปีปี พ.ศ.2536 แล้วซึ่ งเป็ นปี เดียวกันที่ ก่อกาเนิดคณะศิลปกรรมศาสตร์ ในมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ รวมทั้งการยุบหน่วยงานคือ ภาควิชา ศิลปะและวัฒนธรรม การผลิตบัณฑิตสาขาวิชานี้ได้ออกไปสู่ สังคมไทยเป็ นระยะเวลายาวนานกว่า 16 ปี มี จานวนไม่นอ้ ยกว่า 300 คน (โดยประมาณ) โดยผูค้ นเหล่านี้ไปสร้างพื้นที่ที่เรี ยกว่า “สุ นทรี ยภาพทาง ทัศนศิลป์ ” ในพื้นที่ต่างๆของสังคมไทยซึ่ งในขณะนั้นเป็ นช่วงเวลาที่มีเปลี่ยนแปลง จากการขับเคลื่อนสังคม ด้วยระบบราชการ มาเป็ นการขับเคลื่อนสังคมด้วยเอกชนโดยประชาชนก่อให้เกิดพื้นที่ทางสังคมใหม่ที่มี พื้นที่ศิลปะที่หลากหลายในสังคมไทย บทความนี้เป็ นการทบทวนความคิด(อุดมการณ์)ของ อาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ ที่ผา่ นมาใน ระหว่างที่หลักสู ตรนี้กาลังผลิตบัณฑิตออกไปสร้างประโยชน์ให้กบั สังคม โดยกล่าวถึงอุดมการณ์ การศึกษา แบบพิพฒั นาการนิยม ที่เป็ นหลักในการสร้างบัณฑิตขึ้นในช่วงเวลานั้นและกอปรกับ สภาพสังคมและ อุดมการณ์ทางสังคม ได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรและในที่สุดอุดมการณ์ของ อาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ได้ พัฒนาการไปสู่ อุดมการณ์แนวคิดหลังสมัยใหม่และอุดมการณ์แบบแนวคิดหลังโครงสร้างนิยม เป็ น การศึกษาผ่านสิ่ งที่อาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ได้สร้างขึ้นคือคาที่ทรงพลังทางวิชาการที่เรี ยกว่า “ทัศนศิลป์ ” บทความนี้แม้ไม่ใช่บทความแรกที่เขียนถึงอุดมการณ์ของอาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ได้มี บทความที่เขียนถึงอุดมการณ์ของอารี สุ ทธิ พนั ธุ์มาอย่างยาวนานในกลุ่ม “ศิลปศึกษา” ทั้งที่กลุ่มลูกศิษย์ และ เป็ นวิทยานิพนธ์ทางวิชาการศึกษาจานวนมาก เป็ นการสร้างพื้นที่ทางวิชาการ “ศิลปศึกษา” อย่างเข้มแข็งของ กลุ่มอุดมการณ์ บทความนี้เป็ นบทความวิชาการทางสังคมศาสตร์ บทความแรกที่ อุดมการณ์อาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ธ์ ถูกกล่าวถึงจากกลุ่มของลูกศิษย์ที่ไม่ได้เรี ยนมาทาง “ศิลปศึกษา” แต่ เรี ยนจากอาจารย์อารี เป็ น ผลผลิตในหลักสู ตร “ศิลปะ” และเป็ นบทความที่เขียนในแนวคิดทางสังคมศาสตร์ มากกว่าเขียนในทาง ศิลปกรรม ดังนั้นขนบประเพณี ที่อาจารย์อารี เคยได้รับการกล่าวถึงที่ผา่ นมานั้น อาจไม่ปรากฏในบทความนี้ และบทความนี้ไม่ได้เขียนเพื่อ อาจารย์อารี แต่เป็ นบทความที่เขียนขึ้นเพื่อให้เหล่าลูกศิษย์อาจารย์อารี เข้าใจ ตนเอง และเห็นถึงการต่อสู ้ของคนคนหนึ่งในฐานะปั ญญาชน
5
การนาเสนอบทความนี้เป็ นงานศึกษาค้นคว้า ของผูเ้ ขียนมีการอ้างอิงและเชิงอรรถอธิ บาย อาจทาให้รกรุ งรังไป แต่ดว้ ยเหตุผลทางวิชาการจึงจาเป็ นต้องมี ในประเด็นสาคัญที่ทาให้เกิดบทความนี้ข้ ึน คือการที่บณั ฑิตที่จบไปแล้วและเรี ยกตัวเองว่า ทัศนศิลป์ ได้มีการพูดคุยกันว่า จะเผยแพร่ แนวคิดของอาจารย์ อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ ที่เป็ นอาจารย์ของพวกเขา บทความนี้น้ ีจึงเกิดขึ้นด้วยตัวผูเ้ ขียนเองที่มีขอ้ สงสัย ในแนวทาง ของอาจารย์อารี สุ ทธิ พนั ธุ์วา่ คืออะไรกันแน่และ ทัศนศิลป์ คืออะไร โดยนามาเผยแพร่ ในการจัดงาน ทัศนศิลป์ วันที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ.2557 พลวัฒ ประพัฒน์ทอง 14 ตุลาคม 2557 เชียงราย “ชายแดนประเทศไทย”
6
“เปลือย(อุดมการณ์)อารี ” : เปลือยพัฒนาการหลักสู ตรศิลปะ (Fine Arts)1 มาเป็ นหลักสู ตรทัศนศิลป์ (Visual Arts)
ยังไม่ มีกลไกของรั ฐอันไหนที่จะสามารถกากับกะเกณฑ์ เด็กทุกคนให้ นั่ง ฟั ง นิ่ง เป็ นเวลา 7- 8 ชั่วโมงต่ อวัน และเป็ นเวลา 5 - 6 วันต่ อสัปดาห์ ยาวนาน เป็ นเวลานับสิ บกว่ าปี เหมือนเช่ นโรงเรี ยนในระบบทุนนิยมทุกวันนี ้ ที่กระทาได้ (Louis Althusser) 2 1. บทนา : เทคนิคการระบายเรียบ ในพื้นที่ของวงการศิลปะในประเทศไทย เราพบว่ามีความพยายามที่จะสร้างความเชื่อมต่อของ ประวัติพฒั นาการทางศิลปะร่ วมสมัยอย่างยิง่ ยวด ให้เห็นว่าเป็ นพัฒนาการแบบมีเส้นทางหลักเส้นทางเดียว เท่านั้นที่เป็ นที่ยอมรับ หมดยุคแห่งรสนิยมเชิงคุณค่าหนึ่ง ต่อเนื่องด้วยรสนิยมของคุณค่าอีกแบบหนึ่ง แบบ สื บทอดกันไป แต่ความเป็ นจริ งนั้น ประวัติศาสตร์ และพัฒนาการ ทางศิลปะร่ วมสมัยในประเทศไทยไม่เป็ น เช่นนั้น ในภาพรวมขนาดใหญ่ รู ปแบบ รสนิยมและคุณค่าทางศิลปะนั้น ถูกกาหนดปั จจัยการเปลี่ยนแปลง ทางสังคมทั้งสิ้ น ถึงแม้นว่าศิลปะนั้น เชื่อว่าเป็ นวิถีของปั จเจกชนสุ ดโต่ง แต่ปัจเจกนั้นถูกโลกภายนอก กระทาและรู ้สึกถึงคุณค่าจึงแสดงออกมา ในส่ วนเทคนิควิธีการนั้น ก็เกิดขึ้นตามการพัฒนาของเทคโนโลยีที่ ก้าวหน้าไปของสังคมโลก บทความนี้จะกล่าวถึง มนุษย์คนหนึ่งที่พยายามสถาปนาแนวทางศิลปะที่แตกต่างจากกระแสหลัก ของสังคมไทยในขณะนั้น ให้เป็ นทางเลือกทางการศึกษาแก่สังคม คนคนนั้นชื่อ อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ ขณะที่เขียน บทความนี้มีอายุ 84 ปี (พ.ศ.2557) ตาแหน่งทางสังคมล่าสุ ดคือศิลปิ นแห่งชาติ ในเอกสารประกาศเกียรติคุณ ศิลปิ นแห่งชาติน้ นั มีคากล่าวหนึ่งที่น่าสนใจว่า “เป็ นผูน้ าในการบุกเบิกทางด้านศิลปะสมัยใหม่มาใช้ในการเรี ยนการสอนใน ประเทศไทยเป็ นคนแรก.... ได้สะท้อนให้เห็นเสรี ภาพทางจินตนาการ ความคิดและการ สร้างสรรค์ เทคนิคและกระบวนการที่กา้ วล้ า หน้าอยูต่ ลอดเวลา.....เป็ นครู ศิลปะผู้ 1
ประวัติศาสตร์การศึกษาหลักสู ตรศิลปะที่เล็กๆสั้นๆ(จานวน16รุ่ น) เป็ นหลักสูตรที่เป็ นผลการทดลองของยุคสงครามเย็น ที่ประกอบด้วยคา สอนหลักๆสามคา experience integration interaction บนพื้นฐานของการจาแนกศิลปะตามประสาทสัมผัส (ซึ่งในขณะนั้นศิลปะแยกแยะตาม ทักษะและวัสดุ) หลักสูตรนี้ เป็ นอิทธิพลจากอเมริ กาที่เรี ยกว่าProgressive educationโดยในสาขาศิลปะมีความพยายามที่สร้างว่าคุณค่างานศิลปะ แบบอเมริ กา ว่าเป็ นพื้นที่ของโลกประชาธิ ปไตย 2 กาญจนา แก้วเทพ อุดมการณ์และกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ แปลจาก Ideology and Ideological State Apparatuses ของ Louis Althusser สานักพิมพ์ Text พิมพ์ครั้งที่ 2, 2557, กทม. ,หน้า (73-74)
7
บุกเบิกด้านศิลปศึกษา เป็ นผูส้ ร้างสรรค์ศิลปะแนวทางพิพฒั นาการนิยมในกระแสสังคม ประชาธิปไตย3สมัยใหม่ไว้ในสังคมไทย” โดยบทความนี้เป็ นการเขียนถึงอุดมการณ์และปฏิบตั ิการของ อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ (ต่อไปจะกล่าวเพียงแค่ อารี ) ในแนวทางประวัติศาสตร์สังคม เรื่ องแนวคิดทางศิลปะและหลักสู ตรการศึกษาทางศิลปะหลักสู ตรหนึ่ง ที่สถาปนาขึ้นในประเทศไทย โดยจะอธิ บายเป็ นการคู่ขนานไปกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคม โลก เพื่อให้เห็นว่า “ศิลปะ” นั้นไม่ได้โดดเดี่ยวจากสังคม และตกอยูภ่ ายใต้อานาจโครงสร้างทางสังคม อย่างไรบ้าง และ”การเปลือย(อุดมการณ์)อารี ” เป็ นการศึกษา “ปฏิบตั ิการทางแนวคิด”ของ อารี ผูม้ ีส่วนใน การผลักดันและสร้างกลไกอุดมการณ์ทางศิลปะขึ้นใหม่ในสังคมไทยบนเส้นทางการเปลี่ยนแปลงของสังคม โลกและถ้าบทความนี้จะให้ความหมายที่เป็ นบทความทางวิชาการก็จะมีการวิเคราะห์เชิงอุดมการณ์ของ อานาจ ในแนวทางของ Louis Althusser และการสร้างอานาจนา (Hegemony) ของ Antonio Gramsci4 Louis Althusser เป็ นนักโครงสร้างนิยมมาร์ กซิ สม์ ที่ให้ความสาคัญกับโครงสร้างส่ วนบนของสังคม เท่าๆกับโครงสร้างส่ วนล่างที่เป็ นเรื่ องการผลิตและคงวามสัมพันธ์ทางการผลิต เนื่องจากโครงสร้างส่ วนบน นั้นในทางแนวทางของระบบเป็ นส่ วนที่เกิดขึ้นเนื่องจากการผลิตในโครงสร้างส่ วนล่าง หรื อเศรษฐกิจ Althusser เชื่องว่า โครงสร้างส่ วนบนได้สร้าง “กลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ” ซึ่ งไม่ใช่ “กลไกทางการ ปราบปรามของรัฐ” โดยกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐที่ Althusser ให้ความสาคัญคือเรื่ อง กลไกอุดมการณ์ทาง การศึกษา จากเดิมที่สังคมใช้กลไกทางอุดมการณ์ ในสถาบัน วัดและครอบครัว มาสู่ กลไกทางอุดมการณ์ของ รัฐแบบใหม่ที่เป็ นสถาบัน โรงเรี ยนและครอบครัว กลไกอุดมการณ์ของรัฐเพื่อให้บรรลุเป้ าหมายนั้นแต่ละตัวมีวธิ ี การแตกต่างกัน กลไกทางการเมืองจะกดหัวให้ปัจเจกยอมขึ้นต่ออุดมการณ์ทางการเมืองแบบต่างๆ และ อุดมการณ์แต่ละประเภทเช่น ชาตินิยม การคลัง่ ชาติ เสรี นิยม จริ ยธรรมนิยม วัฒนธรรม ประเพณี ได้รับการสนับสนุน อัดฉี ดกรอกหูแก่ประชาชนโดยผ่านกลไกการสื่ อสารชนิด ต่างๆส่ งเสี ยงประสานกันเป็ นอย่างดี แต่มีกลไกทางอุดมการณ์ของรัฐ อันหนึ่งที่ทางาน อย่างแข็งขันแต่เราจะไม่ได้ยนิ เสี ยงมัน มันทางานอย่างแผ่วเบา นัน่ คือ บทเพลงของกลไก ทางอุดมการณ์ของรัฐที่เรี ยกว่า “โรงเรี ยน” 5 ในบทความนี้เป็ นการอธิ บายถึง ปั ญญาชนคนหนึ่งในวงการศิลปะของประเทศไทย ที่เป็ นผูต้ ่อสู ้กบั กลไกทางอุดมการณ์ในเรื่ องศิลปะ และกลายเป็ น “องค์ประธานในเรื่ องอุดมการณ์” ใหม่ทางแนวคิดเรื่ อง 3 4
คาว่า “ประชาธิปไตย” ในคาประกาศเกียรติคุณของศิลปิ นสาขาทัศนศิลป์ มีเพียงคนเดียวที่มีคานี้อยูด่ ว้ ย และเป็ นเรื่ องหลักของบทความนี้
อันโตนีโอ กรัมชี (Antonio Gramsci) นักทฤษฎีการเมือง นักเศรษฐศาสตร์การเมืองชาวอิตาเลี่ยนแนวมาร์กซิสม์และเลขาธิการพรรค คอมมิวนิสต์อิตาลี เกิดเมื่อวันที่ 22 มกราคม ค.ศ. 1891 เสี ยชีวิตเมื่อวันที่ 27 เมษายน ค.ศ. 1937 5 อ้างแล้ว Althusser,แปลโดย กาญจณา แก้วเทพ ,หน้า71-72
8
ศิลปะผูส้ ร้างแนวทางที่เรี ยกกันว่า “ทัศนศิลป์ ” แต่สุดท้ายองค์ประธานก็ไม่สามารถควบคุมอุดมการณ์ที่ ตนเองสร้างขึ้นได้ ในการสื บทอด แนวคิดขององค์ประธานอีกรุ่ นหนึ่ง บทความนี้ยงั ใช้แนวคิดเรื่ อง “อานาจนา ( Hegemony)” ของ Antonio Gramsci ซึ่งเป็ น มาร์กซิสม์ที่ เป็ นผูเ้ ปิ ดทางให้กบั แนวมาร์ กซิ สม์ที่เรี ยกว่า Neo Marxism ซึ้ ง Antonio Gramsci ได้เขียนหนังสื อชื่อ Prison Notebooks ที่มีใจความสาคัญ ในประเด็นที่ทาไมชนชั้นกรรมาชีพถึงปฏิวตั ิไม่สาเร็ จ และอธิ บายถึงการสร้าง อานาจนาของคนชั้นสู งที่สร้างขึ้นในสังคมทาให้การต่อสู ้ทางชนชั้นนั้นไม่สามารถกระทาได้ โดย องค์ประกอบของ อานาจนานั้นมีดงั นี้ ชนชั้นนาได้สร้าง “กลุ่มประวัติศาสตร์ (History bloc)”ขึ้นเพื่อครอบงาผูค้ นให้รวมเข้าเป็ นหนึ่ง เดียวกัน จนกลายเป็ นสามัญสานึกของสังคม สามัญชนรับเอามุมมองแบบชนชั้นปกครองมาเป็ นของตนเอง โดยผ่านกลุ่มคนที่เรี ยกว่า “ปัญญาชน” โดยกรัมซี่ ได้ให้ความหมายของปั ญญาชนไว้ในวงกว้าง หมายถึงกลุ่ม คนที่มีการจัดตั้งที่มีบทบาททางกลไกอุดมการณ์และวัฒนธรรม ในสังคม ในบทความนี้คือกลุ่มนักวิชาการ ทางการศึกษา รัฐ และศิลปิ น ซึ่ งคนแหล่านี้เป็ นตัวจักสาคัญในการขับเคลื่อนการสร้างอานาจนา เชื่อมโยง ผ่านการศึกษาและปฏิบตั ิการของสังคม โดยกรัมซี่ กล่าวว่า “ทุกคนเป็ นปั ญญาชน แต่จะมีบางคนเท่านั้นทา หน้าที่ปัญญาชน” โดยหน้าที่ของปั ญญาชนนั้นก็คือ การครอบครองอานาจนาของชนชั้นตนเองเหนือสังคม โดยรวม ผ่านการสร้างความชอบธรรม กรัมซี่ ได้แบ่งปั ญญาชนออกเป็ นสองแบบคือ กลุ่มแรก เป็ นปั ญญาชน แบบธรรมเนียมประเพณี ที่สนับสนุนและสื บทอดกลไกทางอุดมการณ์ของสังคมเชิงโครงสร้าง และหลง เข้าใจในตนเองว่าเป็ นอิสระจากชนชั้นทางสังคมดารงอยูเ่ หนือความเปลี่ยนแปลงทั้งทางสังคมและการเมือง ในบทความนี้หมายถึง นักการศึกษาและศิลปิ น ซึ่ งกรัมซี่ ก็กล่าวว่าเป็ นกลุ่มปั ญญาชนแบบธรรมเนียม ประเพณี กลุ่มที่สอง ได้แก่ปัญญาชนจัดตั้ง เป็ นกลุ่มคนที่สร้างจิตสานึกร่ วมในชนชั้นของตนเอง มุ่งมัน่ เพื่อ เพื่อการสร้างความครอบงาเชิงอุดมการณ์ ในสังคม และชนชั้นแต่ละชนชั้นจะต้องสร้าง ปั ญญาชนจัดตั้งขึ้น ในชนชั้นตนเองให้เป็ นผูน้ าในการปฏิบตั ิการ(ปฏิวตั ิ) การสถาปนา อานาจนานั้น นอกเหนือจาก กลุ่มประวัติศาสตร์ ปั ญญาชน ที่เป็ นนักรบแล้ว กรัมซี่ ยงั ได้กล่าวว่า การทาสงครามแย่งชิงพื้นที่เป็ นเรื่ องสาคัญ แต่ไม่ใช่เป็ นสงครามที่ใช้กาลังรบ แย่งชิงทาง ภูมิศาสตร์ แต่เป็ นการทาสงครามแย่งชิงพื้นที่ทางอุดมการณ์ เนื่องจาก อุดมการณ์ใหม่ที่จะสถาปนาได้น้ นั ไม่ใช่มีพ้นื ที่วา่ งแปล่าให้สร้างขึ้นได้ แต่เป็ นการสร้างบนพื้นที่อุดมการณ์เดิมที่มีอยูแ่ ล้ว โดยกลุ่มคนที่ เรี ยกว่า ปั ญญาชนของแต่ละอุดมการณ์ บทความนี้จึงใช้แนวทางของนักคิดทั้งสองมาเป็ นแนวทางในการศึกษาเพื่ออธิ บายอุดมการณ์และ กลไกการสร้างอุดมการณ์ ของ อารี สุ ทธิพนั ธุ์ ในฐานะที่เป็ นปัญญาชน ของแนวคิด การศึกษาแบบพิพฒั นา การ สายศิลปกรรม คนสาคัญของประเทศไทย อารี เป็ นนักเรี ยนศิลปะที่สนใจเข้ามาศึกษาในวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็ นคนแรกที่ เรี ยนการศึกษาใน ระบบแนวคิดของอเมริ กนั ในประเทศไทย และกลายเป็ นโฆษกคนสาคัญในการเผยแพร่ ความรู ้การศึกษา แบบพิพฒั นาการ ในวงการศิลปะ ถึงแม้วา่ ตัว อารี เองนั้นจะกล่าวเสมอว่าเป็ นครู ศิลปะไม่ใช่ศิลปิ น แต่การ ใช้แนวทางการสอนศิลปะที่เป็ นแนวคิดที่แตกต่างจากกลุ่มกระแสหลักทางศิลปะในขณะนั้นก็เป็ นส่ วนหนึ่ง
9
ที่สร้างความเคลื่อนไหวทางประวัติศาสตร์ศิลปะ สุ นทรี ยศาสตร์ และวิธีการสอนศิลปะ ในประเทศไทยให้มี สี สันและทางเลือกของรสนิยมทางศิลปะให้กบั สังคมไทยอีกทางหนึ่ง 2. เทคนิคเปี ยกบนเปี ยก : การศึกษาเปลวไฟจากอดีต การศึกษาศิลปะในประเทศไทยในยุคที่เรี ยกว่า ศิลปะจากยุโรปนั้น เริ่ มที่โรงเรี ยนเพาะช่าง ที่เน้นการ พัฒนาช่างในรู ปแบบช่างฝี มือ และต่อมาเมื่อรัชกาลที่ 6 ได้ให้คนต่างชาติเข้ามารับราชการเป็ นนายช่างปั้ น เพื่อสร้างอนุสาวรี ยแ์ ต่การสร้างอนุสาวรี ยน์ ้ นั เป็ นงานที่ใหญ่ตอ้ งมีลูกมือจึงมีการจ้างคนไทยเข้ามาเป็ นลูกมือ จนเกิดเป็ นโรงเรี ยนต่อมานั้นเมื่อรัฐบาลเห็นว่าศิลปะแบบโรงเรี ยนประณี ตศิลปกรรมนั้นสามารถตอบสนอง นโยบายหลักหกประการของรัฐบาลได้ดีจึงได้จดั ตั้งขึ้นเป็ นมหาวิทยาลัยศิลปกร และมีหลักสู ตรที่เน้นทักษะ ทางช่างฝี มือ โดยแยกแยะการเรี ยนการสอนตามสาขาช่างและวิชาตามเทคนิคการสร้างสรรค์งานศิลปะ วิธีการเช่นนั้นได้รับการตอบรับจากสังคมไทยเป็ นอย่างดีเพราะสอดคล้องกับ แนวทางของศิลปะแนว ประเพณี ซึ่ งผลผลิตของมหาวิทยาลัยศิลปกรก็สามารถยืนหยัดและเป็ นแนวทางทางศิลปะแบบยุโปและก้าวสู่ พื้นที่ศิลปะในกะแสโลกในเวลาต่อมาได้ แนวทางการสอนทางศิลปะของไทย ทั้งที่โรงเรี ยนเพาะช่างและมหาวิทยาลัยศิลปกรนั้น สอดคล้องกับหลักการเรี ยนรู ้ในสังคมไทยยุคนั้นที่ได้รับอิทธิ พลจากยุโรปที่เรี ยกว่า วิธีการห้าขั้นตอนของ แฮร์ บาร์ ต Herbart Method ที่เป็ นเป็ นนักปรัชญาการศึกษาชาวเยอรมัน และเป็ นผูร้ ิ เริ่ มการจัดการเรี ยนการ สอนแบบบูรณาการ โดยการเรี ยนการสอนในตามความคิดของ แฮร์บาร์ต (Herbart Method) นั้น คือ นักเรี ยนจะเรี ยนรู้ สิ่งใดนั้นจะต้ องมาจากความสนใจของเราก่ อนเป็ นอันดับแรก ในด้ าน การเรี ยนการสอนนั้นครู ผ้ สู อนจาเป็ นต้ องสร้ างความสนใจก่ อนเป็ นอันดับแรก จึงเข้ าสู้ขนั้ ตอน ของการสอนจริ งๆเพื่อให้ เกิดการเรี ยนรู้ โดยการศึกษาแบบนีเ้ ป็ นการศึกษาที่เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง ความรู้ และเน้ นที่ตัวตัวหลักวิชาโดยการศึกษามีแนวทางวิธีการดังนี ้ 1. ขั้นเตรียม เป็ นขัน้ เร้ าให้ ผ้ เู รี ยนเกิดความสนใจก่ อนเพื่อจะเรี ยนรู้ สิ่งใหม่ ๆ ครู ต้อง ทบทวนความรู้ เดิมที่มีอยู่ของผู้เรี ยน 2. ขั้นสอน เป็ นขัน้ ตอนที่ครู ดาเนินการสอนความบทเรี ยน 3. ขัน้ สัมพันธ์ หรื อทนทวนเปรี ยบเทียบ เป็ นต่ อจากการสอนเมือครู สอนเสร็ จแล้ วครู ต้อง ทบทวนความรู้ ที่ผ้ เู รี ยนได้ รับ และครู ต้องทบทวนเปรี ยบเทียบว่ าความรู้ ใหม่ กับความรู้ ที่ เพิ่มมาสัมพันธ์ กันไหมและจดบันทึก 4. ขั้นตั้งกฎหรื อข้ อสรุป ครู กับผู้เรี ยนช่ วยกันรวบรวมความรู้ ที่เรี ยนมาตั้งแต่ แรกแล้ ว จัดลาดับตามขัน้ ตอนให้ เป็ นระบบ เพื่อนให้ ผ้ เู รี ยนสามารถนาความรู้ ไปใช้ ในชี วิตประจาวัน ได้ 5.ขั้นนำไปใช้ เป็ นขัน้ ตอนที่ผ้ เู รี ยนนาเอาความรู้ ที่ได้ รับไปใช้ ในชี วิตประจาวันได้
10
การสอนในแนวนี้เป็ นพื้นฐานหลักของสังคมไทยมาอย่างยาวนานโดยเน้นครู ผสู ้ อนเป็ นประธานใน องค์ความรู ้ และถ่ายทอดความรู ้เป็ นผูป้ ระเมินผลและควบคมมารฐานให้เป็ นไปตามกติกาที่ได้ต้ งั ไว้ แนวทางการศึกษาแบบนี้ได้รับการยอมรับในยุโรป การส่ งคนไปศึกษานั้นพบว่าเป็ นการส่ งไปเรี ยนต่อใน ยุโรปทั้งสิ้ นและในสาขาทางศิลปะเช่นกัน
จอมพล ป.พิบูลสงคราม และศาสตราจารย์ ศิลป พีรศรี
หลังพ.ศ.2500 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงที่สืบเนื่องจากโลกเข้าสู่ กระแสสงครามเย็นที่แบ่งแยก กลุ่มประเทศเป็ นสองฝั่งใหญ่ๆ คือฝ่ ายประชาธิ ปไตยที่มีอเมริ กาเป็ นหัวเรื อใหญ่ และฝ่ ายสังคมนิยม ที่มี สหภาพโซเวียตรัสเซีย (ชื่อในขณะนั้น) เป็ นหัวเรื อใหญ่อีกฝั่งหนึ่ง ทาให้มีการสร้างการเทียบเคียงระหว่างทั้ง สองระบอบขึ้น ทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วิทยายาศาสตร์ เทคโนโลยี และที่สาคัญคือระบบ สุ นทรี ยศาสตร์ ที่มีการเทียบเคียงกันว่าอะไรคือคุณค่า ดังนั้นศิลปะก็ตกอยูภ่ ายใต้เงื่อนไขนี้เช่นกัน ทางฝ่ าย สังคมนิยมที่มีรากฐานทางการศึกษาแบบยุโรปนั้นได้ยดึ แนวทางการสร้างงานศิลปะแนวสัจนิยมสังคม เน้น ทักษะและการแสดงออกเหมือนจริ ง เพื่อสะท้อนภาพสังคมที่กาลังไม่เท่าเทียมกัน การเรี ยนการสอนเน้น ทักษะตามสาขาช่างเป็ นหลัก ในส่ วนอีกฝั่งหนึ่งนั้นได้สร้างพื้นที่ทางคุณค่าศิลปะขึ้นใหม่ตามแนวทางของ ปรัชญาการศึกษาแบบพิพฒั นาการ ของ John Dewey ที่กล่าวถึง การศึกษากับประชาธิ ปไตย การเรี ยนที่เน้น เด็กเป็ นศูนย์กลาง การศึกษาที่วดั และประเมินผลที่มีความเป็ นวิทยาศาสตร์ เน้นการทดลองเพื่อสร้างองค์ ความรู ้ทางการศึกษาโดยตั้งโรงเรี ยนทดลองขึ้นในคณะวิชาการศึกษาต่างๆ การศึกษาแนวนี้ใช้การบูรณาการ องค์ความรู้ทางสังคมศาสตร์ทางจิตวิทยา พฤติกรรมศาสตร์ พัฒนาการของมนุษย์ เทคโนโลยี มาสร้างระบบ การศึกษาในโลกของประชาธิ ปไตย และใช้เป็ นเครื่ องมือในการโฆษณาเชื่อมโยงกับรัฐประชาธิ ปไตยทัว่ ไป
11
สาหรับประเทศไทยนั้นการเลือกข้างกับอเมริ กานั้นเริ่ มจาก ช่วง พ.ศ.2500 และวงการการศึกษาแล้ว การที่มีบุคลากรทางการศึกษาไทยได้ไปศึกษาชั้นสู งในอเมริ กาได้กลับมาปฏิบตั ิงานในหน่วยงานทาง การศึกษาหลายหน่วย ซึ่ งในขณะนั้นการศึกษาด้านวิชาการศึกษาในประเทศไทยไม่มีการเรี ยนถึงขั้นให้ ปริ ญญาเลย การเปลี่ยนแปลงการศึกษาโดยใช้ระบบการศึกษาแบบอเมริ กนั นั้นได้เริ่ มที่ วิทยาลัยวิชาการ ศึกษา ประสานมิตร เป็ นแห่งแรก และเป็ นจุดเริ่ มต้นของการศึกษาแบบที่เรี ยกว่า พิพฒั นาการนิยม สื บเนื่อง มาจนถึงทุกวันนี้ในทางเทคนิค แต่เดิมนั้นวิทยาลัยวิชาการศึกษาไม่มีการเรี ยนถึงขั้นปริ ญญา แต่เมื่อ ศาสตราจารย์ ดร. สาโรช บัวศรี เข้ามาทางานในฐานะอาจารย์และก้าวขึ้นสู่ ผอู ้ านวยการโรงเรี ยนฝึ กหัดครู ช้ นั สู งถนนประสานมิตร ก็ได้เริ่ ม ใช้วธิ ี การสอนและเนื้อหาวิชาการศึกษาแบบใหม่ สร้างคาใหม่และความหมายใหม่ของการศึกษาหลายคา เช่น คา Experience Integration Interaction มีคาในศัพท์ทางการศึกษาที่สร้างขึ้นใหม่หลายคา แต่สามคานี้ เป็ นคาที่ได้รับความประทับใจของผูท้ ี่เคยเรี ยนและศึกษาจากอเมริ กาว่าจะกลับมาประกาศการศึกษาแบบใหม่ ที่เชื่อว่าเป็ นความก้าวหน้ามากกว่า อดีต ถึงขั้นตกลงกันว่าจะกลับมาตั้งสมาคมการศึกษาแบบอเมริ กาและ เผยแพร่ แนวคิดนี้ 6
ศาสตราจารย์ ดร. สาโรช บัวศรี 6
มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ 2537 ศาสตราจารย์สาโรช บัวศรี ราลึก หนังสื อเนื่องในวาระครบร้อยวัน ในการถึงแอนิจกรรม ศาสตราจารย์ ดร.สาโรจน์ บัวศรี หน้า37-38
12
อารี ได้กล่าวถึงการสร้างคาใหม่ๆในวงการศึกษาว่า ครู ผมชื่ อสาโรช บัวศรี เป็ นคนแรกที่ตั้งคาว่ าประสบการณ์ ให้ แก่ ประเทศนี ้ นะ แล้ วก็ ท่ าน ท่ านไปตั้งมาเมื่อวานนี ้ เมื่อรุ่ งเช้ านี ้ ท่ านมาสอนพวกผม พวกผมก็อยู่เป็ น กศบ. รุ่ น 3 ไม่ มีผ้ หู ญิง มีแต่ ผ้ ชู าย วันหนึ่งท่ านก็บอกว่ า เมื่อวานนีไ้ ปบัญญัติคามาคานึง คือ ประสบการณ์ แล้ วท่ านก็อธิ บาย จากนั้นท่ านก็อธิ บายถึงความคิด ความหมาย (สัมภาษณ์ อารี สุ ทธิพนั ธุ์ 8กันยายน 2557) เมื่อการศึกษาแบบอเมริ กนั ในฐานะผูน้ าของฝ่ าย “ประชาธิปไตย” ได้สถาปนาขึ้นในประเทศไทย ประกอบกับสงครามเย็นได้เปิ ดพื้นที่การแย่งชิงพื้นที่รัฐต่างๆในเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ประเทศไทยได้รับ ความสนใจจากอเมริ กาในฐานะมิตรประเทศ และรัฐบาลที่เป็ นรัฐบาลที่ไม่ได้รับการเลือกตั้งในระบอบ ประชาธิ ปไตยก็มีความต้องการที่จะสร้างภาพว่าเป็ นส่ วนหนึ่งของฝ่ ายเสรี นิยม ประเทศไทยเลยกลายเป็ น ฐานทัพของอเมริ กาในการต่อสู ้กบั ฝ่ ายสังคมนิยม เป็ นสงครามอุดมการณ์ที่แตกต่างกัน ทั้งที่การตั้งแนวทาง ว่าสังคมนิยมจะมีชยั ชนะทาให้ประเทศที่ใกล้เคียงจะเป็ นสังคมนิยมไปด้วยแบบโดมิโน จึงเป็ นที่มาของ ทฤษฎีโดมิโน การให้ความช่วยเหลือประเทศไทยของอเมริ กานั้น เป็ นสิ่ งที่สร้างความเปลี่ยนแปลงให้กบั สังคมไทย เป็ นอย่างมาก ทั้งเรื่ องสาธารณสุ ข โดยมูลนิธิ Rockefeller Foundation ยังมีองค์กรต่างๆอีกจานวนมากและ การช่วยเหลือที่สาคัญคือการให้ทุนการศึกษาให้คนไทยไปศึกษาต่อในหลากหลายสาขาวิชา และก็ในสาขา ศิลปะเช่นกันในอเมริ กาเป็ นจานวนมาก และการเข้ามาศึกษาเรื่ องเมืองไทย ที่เน้นเรื่ องชนบท และคนบน พื้นที่สูงเป็ นหลัก มีการตั้งศูนย์ศึกษาประเทศไทยและผลิตงานวิจยั เกี่ยวกับสังคมไทย จนเกิดวิกฤตการณ์ทาง วิชาชีพเช่นกรณี ของนักมานุษยวิทยา ในไทยที่ถูกกล่าวหาว่า เป็ นคนให้ขอ้ มูลกับ CIA จนต้องมีการปรับตัว ของนักมานุษยวิทยาในประเทศไทยอย่างหนัก ในเรื่ องการสนับสนุนโดยหน่วยงานความมัน่ คงของอเมริ กาที่อยูเ่ บื้องหลังกิจารและทุนให้ความ ช่วยเหลือได้กระจายไปทัว่ รวมถึงวงการศิลปะด้วย ดังที่มีการออกมายอมรับกันเมื่อปี ที่แล้วว่า ศิลปะแบบ อเมริ กนั เอ็กซ์เพรสชันนิสม์7 และ ศิลปิ นอเมริ กนั บางคนได้รับการสนับสนุนจากCIA8 ในการเป็ นหัวหอก
7
ศิลปิ น : วิลเลม เดอ คูนนิง (Willem de Kooning, 1904-1997), ฟิ ลิป กัสตัน (Philip Guston, 1913-1980), โรเบิร์ต มาร์เธอร์เวลล์ (Robert Motherwell, 1915-1991), บาร์เนทท์ นิวแมน (Barnett Newman, 1905-1970), แจ็คสัน พ็อลล็อก (Jackson Pollock, 1912-1956), มาร์ ค ร็ อธโก้ (Mark Rothko, 1903-1970), คลิฟฟอร์ด สติลล์ (Clyfford Still, 1904-1980) 8
Sam Biddle How the CIA Spent Secret Millions Turning Modern Art Into a Cold War Arsenal เผยแพร่ เมื่อ 11/10/10 6:40pmhttp://gizmodo.com/5686753/how-the-cia-spent-secret-millions-turning-modern-art-into-a-cold-war-arsenal FRANCES STONOR SAUNDERS Modern art was CIA 'weapon' เผยแพร่เมื่อ 22 OCTOBER 1995http://www.independent.co.uk/news/world/modern-art-was-cia-weapon-1578808.html
13
สร้างคุณค่าทางความงามขึ้นมาเพื่อสู ้กบั คุณค่างานศิลปะแบบที่สังคมนิยมใช้ปฏิบตั ิการส่ งเสริ มอุดมการณ์ ที่ สหรัฐอเมริ กาเรี ยกว่า “ประชาธิปไตย” การเข้ามาสนใจในพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ของสหรัฐอเมริ กา เพราะหลังสงครามโลกครั้งที่ สอง มีการเปลี่ยนแปลงเชิงอานาจในพื้นที่แห่งนี้เป็ นอย่างมากการปฏิวตั ิในจีน(พ.ศ.2492) สงครามเกาหลี (พ.ศ.2493) สงครามฝรั่งเศสที่เดียนเบียนฟู (พ.ศ.2497) ทาให้สหรัฐอเมริ กาให้ความสาคัญกับพื้นที่เอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้มากขึ้นโดยมีแนวทางให้ประเทศไทย เป็ นฐานในการต่อต้านลัทธิ คอมมิวนิสต์ในเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้ เป็ นศูนย์กลางการปฏิบตั ิการลับและปฏิบตั ิการทางจิตวิทยา ในภูมิภาคนี้ 9 สหรัฐอเมริ กาได้เข้ามาหาแนวทางความร่ วมมือทางวิชาการการศึกษาผ่าน USOM10 (ชื่อในขณะนั้น) ได้เข้าพบกับ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี อธิ การวิทยาลัยวิชาการศึกษาในขณะนั้นและพึงพอใจใน คาตอบของศาสตราจารย์ ดร.สาโรช เป็ นอย่างมากและได้สนับสนุนเงินช่วยเหลือในเวลาต่อมาตลอดจน มหาวิทยาลัยอินเดียน่าได้ให้การสนับสนุนที่วทิ ยาลัยวิชาการศึกษาให้ส่งบุคคลากรไปเรี ยนต่อในวุฒิที่สูงขึ้น
3. เทคนิคแห้ งบนเปี ยก : ศิลปะสมัยใหม่ สาหรับคนรุ่ นใหม่ อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ เป็ นหนึ่งในกระบวนการสนับสนุนของอเมริ กา ผ่านวิทยาลัยวิชาการศึกษา ที่อารี ทางานเป็ นอาจารย์อยูใ่ นขณะนั้น การเดินทางไปเรี ยนศิลปะในยุคที่ศิลปะสมัยใหม่ในอเมริ กาก้าวหน้ามาก และบนพื้นฐานการศึกษาแบบ progressive education ในมหาวิทยาลัยอินเดียน่า นั้นทาให้อารี มัน่ ใจในการ เรี ยนการสอนตามแนวทางของวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็ นอย่างยิง่ ว่า เป็ นวิธีการที่ดีและสอดคล้องกับกระแส โลกประชาธิ ปไตย การเรี ยนที่วทิ ยาลัยวิชาการศึกษาที่ใช้ระบบการศึกษาและวัดผลแบบอเมริ กนั ทาให้ นักเรี ยนไทยที่ไปจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาปรับตัวได้ง่าย รวมถึงอารี ดว้ ยเช่นกัน แต่สิ่งที่ปรับตัวได้ยากคือ วิธีการเรี ยนศิลปะและระบบคุณค่าในแนวทางศิลปะสมัยใหม่แบบอเมริ กนั อารี เคยถูกเชิญให้ออกจาก ห้องเรี ยนเนื่องจากวาดรู ปไม่ทนั เพราะอารี ใช้วธิ ี การแบบเดิมในการวาดภาพคน ในแนวทางการศึกษาแบบ 9
ทวีศกั ดิ์ เผือกสม : file:///C:/Users/SAMSUNG/Downloads/USOM-USAID.pdf
10
ความช่วยเหลือขององค์กรให้เงินช่วยเหลือจากประเทศสหรัฐอเมริ กาที่เรี ยกว่า “USOM (United States Operation Mission)เป็ นชื่อเรี ยก ชัว่ คราวของเงินช่วยเหลือในด้านที่ไม่ใช่ดา้ นการทหารที่ให้แก่ต่างประเทศจากงบของ Agency for International Development (หน่วยงานเพื่อ การพัฒนาระหว่างประเทศ หรื อ AID) พ.ศ. 2504 จึงมีการจัดตั้งองค์กร USAID (ยูเซด ซึ่งมาจาก United States Agency for International Development) อย่างเป็ นทางการ ด้วยเงินสนับสนุนของ USAID ได้นาไปสู่การพัฒนาประเทศในด้านสาธารณูปโภคเบื้องต้น ถนน ไฟฟ้ า ประปา บ่อน้ า ฯลฯ รวมถึงการศึกษาและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ดว้ ย
14
ช่าง ซึ่ งเป็ นลักษณะการศึกษาแบบเดิมของประเทศไทย หลังจากนั้น อารี ก็เข้าใจในแนวทางศิลปะในแนว อเมริ กนั มากขึ้น ผนวกกับการเจริ ญก้าวหน้าอย่างยิง่ ของการศึกษาแบบ progressive education ในช่วงนั้น
ตึก 4 เป็ นที่ต้ งั ของภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม แหล่งกาเนิดคาทัศนศิลป์
กระบวนการรื้ อสร้างระบบคุณค่าทางสุ นทรี ยศาสตร์ ของอเมริ กานั้น เป็ นการสร้างระบบขึ้นใหม่ โดยที่ศิลปะนั้นไม่ใช่การให้ความสาคัญกับทักษะทางศิลปะตามวิธีการตามสาขาช่างแบบหลักวิชา แต่เป็ น การสร้างพื้นที่ทางศิลปะใหม่ เทียบเคียงได้กบั ระบบทางวิทยาศาสตร์ หรื อสังคมศาสตร์ ที่สามารถวัดและ ประเมินผลได้ จับต้องได้ มีการบูรณาการใช้ศาสตร์ ต่างๆเข้ามาในการศึกษาศิลปะมากขึ้น เช่นจิตวิทยา ธรรมชาติวทิ ยา ประสาทสัมผัสการรับรู ้ตามวัยของมนุษย์ รวมถึง หลักการของฟิ สิ กส์ ฯลฯ วิชาต่างๆเหล่านี้ ที่ในยุคนั้นเชื่อกันว่าสร้างให้โลกก้าวหน้า และที่สาคัญคือให้ความสาคัญกับ วิธีแห่งปั ญญาที่จะค้นหาความ จริ งตามแนวทางเดียวกับวิทยาศาสตร์ และสังคมศาสตร์ อื่นๆ ศิลปะจึงไม่ใช่เรื่ องพรสวรรค์ หรื อการฝึ กฝนเชิง ช่างเพียงอย่างเดียวศิลปะจับต้องได้ ยืนคู่กบั ศาสตร์ ต่างๆได้ เมื่อความหมายของศิลปะเปลี่ยนไปการสร้างคาใหม่ข้ ึนอธิ บาย ที่จะเรี ยกศิลปะในแนวใหม่ สิ่ งที่ใช้ ในอเมริ กา คือ คาว่า Visual Artsโดยคานี้ถูกกล่าวถึงครั้งแรก โดย รัสกิ้น (Ruskin) ชาวอังกฤษ ราวปี ค.ศ. 1860 ในขณะที่ที่องั กฤษ การศึกษาศิลปะยังอยูใ่ นรู ปแบบวิชาชีพ รัสกิ้น ได้เสนอแนะว่าการศึกษาควรให้ ความสาคัญกับประสบการณ์สุนทรี ยะ แก่ผเู ้ รี ยนในมหาวิทยาลัย นักศึกษาควรได้เรี ยนในวิชา ดนตรี ทัศนศิลป์ และวรรณกรรม11 แต่คานี้ไม่ได้มีอิทธิ พลต่อการเปลี่ยนแปลงทางแนวคิดทางศิลปะแต่อย่างใด จนเมื่อทฤษฎีทางการ ศึกษาของ John Dewey ที่สร้างขึ้นเพื่อให้เห็นว่าศิลปะแบบนี้แยกแยะตามประสามสัมผัสของมนุษย์ ที่ใช้ตา ในการรับรู ้ ทาให้สิ่งที่เรี ยกว่าศิลปะ หรื อวิจิตรศิลป์ นั้นชัดเจนขึ้นในการจับต้องได้มีตวั ตนเป็ นหน่วยใน การศึกษาได้ สิ่ งที่ อารี ศึกษาศิลปะนั้นไม่ใช่ ศิลปะในสายวิชาการศึกษา หรื อที่เรี ยกกันในประเทศไทยว่า ศิลปศึกษา แต่ อารี เรี ยน ในหลักสู ตร Fine arts เมื่อจบหลักสู ตรจึงได้ปริ ญญา M.F.A.โดยอารี เป็ นคนที่สองที่ จบปริ ญญา M.F.A. จากอเมริ กา (คนแรกคือ ทรงคุณ อัตถากร) ทั้งสองคนจบที่เดียวกันในระยะเวลา ใกล้เคียงกัน ซึ่ ง ทรงคุณ มีพ้นื ฐานปริ ญญาตรี ทางสถาปั ตยกรรมมาก่อน ผลงานของอารี ได้ ถูกเขียนถึงใน 11
มะลิฉตั ร เอื้ออานันท์ 2545ศิลปศึกษาแนวปฏิรูป ศูนย์ตาราและเอกสารทางวิชาการ คณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย หน้า3
15
แนวของประสบการณ์ที่ได้รับจากอเมริ กา และได้เปรี ยบเทียบกับสถานการศิลปะของการเรี ยนการสอนใน ประเทศไทย ดังนี้ ศาสตราจารย์ศิลป์ พีรศรี เชื่อว่าศิลปิ นไทยยังมีภูมิปัญญาไม่แก่กล้าเพียงพอถึงขั้น เซอร์ เรี ยลลิสม์หรื อแอบสแตรค นอกจากนั้น ผูช้ มชาวไทยยังจะต้อง “เริ่ มทาความเข้าใจ ศิลปะสมัยใหม่ในรู ปแบบที่ง่ายกว่านี้ก่อน ในขณะที่ท่านพยายามจะป้ องกันไม่ให้นกั เรี ยน ขอท่านได้รับอิทธิ พลจากความเคลื่อนไหวของศิลปะตะวันตกที่เกิดขึ้นหลังจาก คิวบิสม์น้ นั ท่านไม่ทราบว่ามีคนไทยคนหนึ่งสาเร็ จการศึกษาจากมหาวิทยาลัยอินเดียน่า ได้รับปริ ญญา โททางวิจิตรศิลป์ ในปี พ.ศ. 2504เขาผูน้ ้ นั คือคุณอารี สุ ทธิ พนั ธุ์ ภาพ “Woman” ของเขาที่ วาดอย่างเสรี และจากความรู ้สึกของตนเองชวนให้นึกถึงภาพเอ๊กเพรสชันนิสม์ก่ ึงแอบส แตรคของ Willem de Kooning คุณอารี เป็ นคนไทยผูห้ นึ่งในจานวน 150 คนจากวิทยาลัย วิชาการศึกษาประสานมิตร ที่ไปศึกษาต่อที่มหาวิทยาลัยอินเดียน่าตามสัญญาระหว่าง มหาวิทยาลัยทั้งสอง โดยได้รับความช่วยเหลือด้านเงินทุนจากองค์การเพื่อการพัฒนา ระหว่างประเทศอันเป็ นโครงการแปดปี ระหว่าง พ.ศ.2497-2505 12 เมื่อ อารี กลับมาสอนที่วทิ ยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร เหมือนพยัคฆ์ติดปี กทั้งวิชาการทาง การศึกษาแนวใหม่ และความใหม่ของวงการศิลปะในประเทศไทย ที่ยงั ไม่มีใครเทียบเคียงได้ แต่ก็เป็ นเพียง คนหนึ่งคนเท่านั้นที่จะผลักดันสังคมให้ยอมรับรับแนวทางนี้ได้อย่างไร จากการเริ่ มต้นผลักดันการสอนวิชาศิลปะนิยม และต้องการสร้างความหมายทางศิลปะในทาง วิชาการว่าต้องวัดและประเมินผลได้ ต่างจาก วิชาศิลปะแบบเดิมที่เรี ยนกันมา และเป็ นข้อตกลงกันในการ เรี ยนว่า เราจะเรี ยนในสิ่ งที่วดั ได้ในสิ่ งที่เรี ยกว่าศิลปะที่เห็นด้วยตา ผมพยายามทายังไงให้ ร้ ู ว่า Fine art นั่นมันเป็ น Fine ด้ าน Academic แต่ ถ้าเป็ นวิชา มันต้ องวัดผลได้ และในเมื่อวัดผลได้ มันก็ต้องมีวิธีวดั ผล........ .........ในราว 1963- 65 คนก็เริ่ มทบทวนมัน ขณะเดียวกันทางอเมริ กันก็มีหนังสื อ มาเล่ มหนึ่ง ชื่ อว่ า Art as Experience เขียนโดย จอห์ น ดิวอี ้ กับนายวิลเลี่ยม เจมส์ (John Dewey กับ William James ) ควบคู่กัน กระผมก็ถือสองท่ านนี่แหละ เป็ น เป็ นต้ นแบบนา ความคิดมา เพราะฉะนั้นมาถึงว่ า ที่เราทาเพื่อสวยงามนะ เราวัดไม่ ได้ นะ งามจากตานี่วดั ไม่ ได้ นะ งามได้ ดังใจมองนี่ ทาไมไม่ ใช้ งามจากตาล่ ะ เพราะว่ า ถ้ างามจากตามันต้ องเห็น พอเห็นทันที ก็ visual conception เห็นหรื อไม่ ก็มีหนังสื อหนึ่งเล่ มที่เป็ นฐานของเรื่ องนี ้ 12
พิริยะ ไกรฤกษ์ 2529 ภาพสะท้อนจากประสบการณ์ในสหรัฐอเมริ กาของศิลปิ นไทย สิ ริวฒั นาการพิมพ์ กรุ งเทพ หน้ า 21
16
นั่นคือ Rudolf Arnheim เขียนไว้ ว่า Art and Visual conception หลายคนก็บอกว่ าศิลปะจะ เป็ นวิทยาศาสตร์ ไปแล้ วเหรอ เราก็บอกว่ าถ้ าท่ านจะวัดผล ก็ต้องมีเกณฑ์ ในการวัดผล เรา จะมาหยัง่ รู้ ไม่ ได้ เราไม่ เห็น หยัง่ รู้ บางทีเราก็ตีขลุมมากเกินไป เราตีกินมากเกินไปมากกว่ า (สัมภาษณ์ อารี สุ ทธิพนั ธุ์ 8กันยายน 2557) อารี จึงสร้างหลักสู ตร ศิลปศึกษาขึ้น ในวิทยาลัยวิชาการศึกษา เพื่อผลิตปั ญญาชน(นักรบ)ทาง วิชาการศึกษาแนวใหม่ ในปี พ.ศ. 2511 ชีวติ ของ “ครู อารี ” คงมีความสุ ขมาก ในวงการศึกษา ทุกสิ่ งทุอย่าง เป็ นสิ่ งที่ควบคุมคาดหวังได้บนฐานความรู ้แบบ การศึกษาแบบพิพฒั นาการของวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่ เปรี ยบได้ดงั กับ ตักศิลาของวงการผลิตบุคลากรทางการศึกษาที่มีความเข้มแข็งยิง่ และได้รับการยืนยันว่า อารี เป็ นผลผลิตชิ้นเยีย่ มของระบบการศึกษาศิลปะแบบอเมริ กนั ในประเทศไทย จากบทความของพิริยะ ไกฤกษ์ ดังนี้ ในบรรดาศิลปิ นเหล่านี้ (คนที่ไปศึกษาต่อยังอเมริ กา : ผูเ้ ขียน) คุณอารี คุณกาจร (สุ นพงษ์ศรี : ผูเ้ ขียน)13 ได้กลายเป็ นโฆษกคนสาคัญสาหรับศิลปะตะวันตกโดยการ จัดพิมพ์หนังสื อที่ท่านเขียน ดังเช่นหนังสื อของคุณอารี ชื่อ ศิลปะนิยม และหนังสื อของ คุณกาจรเป็ นหนังสื อชุด สามเล่มเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ของศิลปะตะวันตก อันนับได้วา่ เป็ นตารามาตรฐานในสาขาวิชาของแต่ละท่าน 14 แต่สายลมแห่งความเปลี่ยนแปลงผันผวนยิง่ นัก ทาให้วทิ ยาลัยวิชาการศึกษาต้องมีการปรับตัวไปอีก แบบหนึ่งกล่าวคือในปี พ.ศ. 2517 ได้มีการเรี ยกร้องจากนิสิต ของวิทยาลัยวิชาการศึกษาให้ยกฐานะวิทยาลัย วิชาการศึกษาขึ้นเป็ นมหาวิทยาลัย การรี ยกร้องนี้ตอ้ งการความเท่าเทียมกันในสถานภาพ ของ สถาบันอุดมศึกษาของไทย15 สื บเนื่องจากการเปลี่ยนโครงสร้างอานาจทางการเมืองของไทยหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ.2516 ทาให้พลังนิสิต นักศึกษาที่สามารถเปลี่ยนแปลงสังคมไทยได้โดยการสร้างให้ ประชาชนเห็นว่ารัฐต้องให้ประชาชนมีส่วนร่ วมทางการเมือง และผลที่สืบเนื่องนั้นไม่เพียงแต่ การเมือง เท่านั้น พื้นที่ทางการมีส่วนร่ วม อื่นๆเช่นสถานภาพ และสิ ทธิ ต่างๆได้รับการพูดคุยกันระหว่างอานาจเดิม และอานาจของประชาชน ดังนั้นวิทยาลัยวิชาการศึกษา ก็หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่จะต้องเผชิญสถานการเช่นนี้ แต่ก็ เป็ นเพราะสถาบันนี้ได้กล่าวอย่าเต็มภาคภูมิเสมอเรื่ อง ประชาธิ ปไตย 13
กาจร สุ นพงษ์ศรี เป็ นรองศาสตราจารย์ในสาชาวิชาศิลปศึกษาคณะครุ ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
14
อ้างแล้วพิริยะ ไกรฤกษ์, 2529, หน้า 26)
15
ในประเทศไทยการจัดตั้งสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะได้รับการยอมรับเฉพาะที่เรี ยกชื่ อว่ามหาวิทยาลัยเท่านั้น การมีชื่อเรี ยก เป็ น วิทยาลัย สถาบัน และโรงเรี ยนในขณะนั้นมีการศึกษาถึงขั้นปริ ญญา ด้วย แต่ในปั จจุบนั นี้หลายแห่ งได้พยายามปรับชื่ อให้ข้ ึนต้นด้วยคาว่า มหาวิทยาลัย เหลือแค่โรงเรี ยนทางทหารเท่านั้นที่ยงั คงเรี ยกชื่ อเป็ นโรงเรี ยนแต่สามารถได้ปริ ญญาเช่นกัน กรณี การตั้งชื่ อที่ผจู ้ ดั การศึกษาเห็นว่า ควรเป็ นวิทยาลัย เช่นกรณี ของมหาวิทยาลัยศิลปกร คือตอนยกฐานะให้เป็ นสถาบันอุดมศึกษา ศาสตราจารย์ศิลป พีระศรี เห็นว่า ควรเป็ น ราช วิทยาลัยศิลปะ จะตรงกว่า แต่ จอมพล ป.พิบูลสงครามเห็นว่าถ้าเป็ นวิทยาลัยจะไม่น่าเชื่ อถือจึงกลายเป็ นมหาวิทยาลัย
17
นิสิตเรี ยกร้องในการยกฐานะวิทยาลัยวิชาการศึกษามาเป็ นมหาวิทยาลัย คน ขวามือสุดไม่สามารถเป็ นครู ได้จึงเปลี่ยนสายอาชีพมาเป็ นนักบินของ กองทัพอากาศ (ภาพจากหอจดหมายเหตุ มศว)
การเรี ยกร้องด้วยการประท้วงเป็ นผลสาเร็ จ รัฐบาลเห็นชอบให้เปลี่ยนจากวิทยาลัยวิชาการศึกษาเป็ น มหาวิทยาลัย ภายใต้เงื่อนไขที่จะต้องมีหลักสู ตร อื่นๆที่ไม่ใช่การศึกษาด้วย ในส่ วนของหลักสู ตรศิลปะ เช่นกันในเมื่อ มีหลักสู ตรทางการศึกษาศิลปะอยูแ่ ล้ว การสร้างหลักสู ตรเพื่อให้ทนั การเป็ นมหาวิทยาลัยทา อย่างรวดเร็ วโดย ใช้แนวทางการศึกษาแบบอเมริ กนั ตามแนวทางทางการศึกษาแบบพิพฒั นาการ จึงเกิด หลักสู ตร ศศ.บ. ศิลปะขึ้นในภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ โดยการเรี ยนการสอนโดย กลุ่มคณาจารย์ที่สอนหลักสู ตร กศบ. ศิลปศึกษา ทั้งสิ้ น นับว่าเป็ นการทดลองการนาแนวทางการสอน แนวทางการศึกษาแบบพิพฒั นาการมาใช้กบั หลักสู ตรที่ไม่ใช่การศึกษาอย่างเต็มตัว สถานการณ์ประเทศไทยกับความช่วยเหลือของสหรัฐอเมริ กา ลดลงอย่างมากในช่วงเวลานั้น เนื่องจากการถอนทหารออกจากเวียดนามใต้ การประท้วงให้ถอนฐานทัพอเมริ กนั ออกจากประเทศไทย ซึ่ ง ทาให้สหรัฐอเมริ กาหยุดใช้ไทยเป็ นพื้นที่สาหรับต่อต้านลัทธิ คอมมิวนิสต์ (อย่างเป็ นทางการ) เมื่อนโยบาย ของอเมริ กาเปลี่ยนแปลงความช่วยเหลือต่างๆก็ลดลงเป็ นอย่างมาก ความพยายามที่จะเชื่อมต่อโลกเสรี ประชาธิ ปไตย ไม่สามารถทาได้ง่ายระหว่างรัฐต่อรัฐอีกต่อไป ประกอบกับทฤษฎีโดมิโน ยังคงเป็ นสิ่ งที่คาว ว่าประเทศไทยก็คงกลายเป็ นสังคมนิยมไป ในที่สุดหลังจากที่ ลาว และกัมพูชาได้กลายเป็ นสังคมนิยมไป แล้ว (ราวปี พ.ศ. 2518) ในทางศิลปะก็เช่นเดียวกัน การเกิดขึ้นของศิลปะเพื่อชีวติ ก็กลายเป็ นกระแสหลัก ของกลุ่มศิลปิ นที่สร้างสรรค์ผลงานแนวนี้ที่ได้รับอิทธิ พลจากประเทศสังคมนิยม ในแนวทางสัจจะนิยม แบบรัสเชีย และสาธารณรัฐประชาชนจีน ในส่ วนการแข่งขันของสงครามเย็นนั้น สิ่ งที่เป็ นประเด็นการแข่งขันที่สาคัญเรื่ องหนึ่งนอกเหนือจาก เรื่ องอุดมการณ์ทางการเมืองแล้วคือการแข่งขันด้า นวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีเพื่อให้เห็นว่า อุดมการณ์ใดมี ความก้าวหน้ามากกว่ากัน และโครงการที่สาคัญคือโครงการพิชิดอวกาศ ซึ่ งทางสหภาพโซเวียตและรัชเซี ย
18
ได้กลายเป็ นผูน้ าในเรื่ องนี้กล่าวคือ รัสเซี ยได้ส่งยานอวกาศลาแรกคือ ดาวเทียมสปุตนิก 1 เป็ นดาวเทียมดวง แรก และเป็ นวัตถุมนุษย์สร้างเครื่ องแรกของโลกที่ส่งขึ้นสู่ วงโคจร เมื่อ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2500 (ค.ศ. 1957)และ หลังจากการส่ งดาวเทียม สปุตนิก 2 สหภาพโซเวียตรัสเซี ย ก็ได้ส่งสุ นขั ขึ้นไปในอวกาศอีกครั้ง กับยาน อวกาศสปุตนิก 5 เมื่อวันที่ 19 สิ งหาคม พ.ศ. 2502 พร้อมกับสุ นขั พันธุ์ผสม 2 ตัว ชื่อ เบลก้า (Belka) และ สเตรลก้า (Strelka) กับ หนูและต้นไม้จานวนหนึ่ง ยานกลับสู่ บรรยากาศโลกอย่างปลอดภัยในวันที่ 20 สิ งหาคม พ.ศ. 2502 หลังจากนั้น สเตรลก้ามีลูกครอกหนึ่ง ทางการสหภาพโซเวียตรัสเซี ยได้จดั ส่ งลูกของส เตรลก้า ให้เป็ นของขวัญแก่ แจกเกอลีน เคนเนดี ภริ ยาประธานาธิ บดี จอห์น เอฟ. เคนเนดี และวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2503 สหภาพโซเวียตรัสเซี ย ส่ ง "ยูริ กาการิ น" มนุษย์คนแรกของโลกที่ข้ ึนไปบนอวกาศ ถึงแม้วา่ ประเด็นเรื่ องวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี จะดูวา่ ไม่เกี่ยวกับเรื่ องศิลปะ แต่ทว่าเมื่อ สหรัฐอเมริ กา รู ้สึกถึงความล้าหลังกับอีกฝ่ ายหนึ่ง ซึ่ งกลายเป็ นประเด็นปั ญหาทางการเมืองภายในของ สหรัฐอเมริ กาอย่างยิง่ ว่าทาไมถึงไม่สามารถเอาชนะอีกฝ่ ายหนึ่งได้ ข้อกล่าวหาถึงตัวการที่เป็ นสาเหตุมี หลากหลาย แต่ที่เกี่ยวข้องกับบทความนี้คือข้อกล่าวหาถึงระบบการศึกษาแบบ Progressive Education เป็ น ส่ วนหนึ่งของสาเหตุน้ ีดว้ ย16 ความไม่เชื่อมัน่ ของโลกประชาธิ ปไตยกับการศึกษาแบบ Progressive Education มากขึ้นเรื่ อยๆจนต้องมีการปรับตัวให้เน้นทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีเพิม่ มากขึ้นด้วยวิธีการอัน หลากหลายรู ปแบบ สาหรับวิทยาลัยวิชาการศึกษาที่ได้ปรับเปลี่ยนให้มีลกั ษณะเป็ นมหาวิทยาลัยที่จะต้องรองรับสาชา วิชาอื่นๆ มากขึ้น เป็ นการเดินทางเข้าสู่ โลกทางวิชาการและระบบที่ตนเองไม่คุน้ ชินมาก่อน ที่สามารถ ควบคุมแนวทางการศึกษาและเชื่อมโยงกับวิชาชีพครู ที่ได้รับการยกฐานะให้สูงขึ้น อย่างที่ทามาได้เป็ นอย่าง ดี ตลอดจนเมื่อนิสิตจบการศึกษาไปทางานแล้ว การเชื่อมโยงองค์ความรู ้กระทาได้อย่างเป็ นเอกภาพ ในการ ควบคุมของระบบราชการออย่างเข้มงวด 17 เป็ นการปรับเปลี่ยนระบบความสัมพันธ์ใหม่ กับมหาวิทยาลัย ต่างๆที่รับนักศึกษาร่ วมกัน มีระบบวิชาการที่ผลิตบัณฑิตเข้าสู่ สังคมอย่างยาวนาน ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่ มหาวิทยาลัยใหม่แต่สืบเนื่องจากสายวิชาการศึกษาต้อพยายามแข่งขัน แต่การเชื่อมโยงกับแหล่งกาเนิดที่ เรี ยกว่า การศึกษาแบบ Progressive Education นั้นไม่สามารถเชื่อมกับโลกของตนเองได้อีกแล้ว ดังนั้นจึง เป็ นการเริ่ มต้นที่เป็ นตัวของตัวเองกับระบบความสัมพันธ์เชิงอานาจแบบใหม่ แต่สาหรับ อารี เป็ นความท้า ทายใหม่ที่กาลังเข้าสู่ การต่อสู ้เชิงอุดมการณ์ทางศิลปะในพื้นที่แห่งอานาจใหม่ที่จะสร้างผูค้ นทางศิลปะผ่าน กลไกอุดมการณ์ของการศึกษาแบบพิพฒั นาการนิยม 4. แห้ งบนแห้ ง : สั ตว์ เลีย้ งอยู่ในคอกมนุษย์ อยู่นอกคอก 16 17
สุดใจ เหล่าสุนทร 2549 ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษา หน้า 117
ในประเด็นนี้อยากจะกล่าวถึงระบบของวงการการศึกษาที่เข้มแข็ง มากแม้กระทัง่ กลุ่มนิ สิตที่เป็ นแกนนาในการเรี ยกร้องให้วิทยาลัยวิชา การศึกษาเป็ นมหาวิทยาลัย ก็ไม่สามารถเข้าทางานหรื อรับราชการเป็ นครู ได้ บางคนต้องกลายเป็ นนักหนังสื อพิมพ์หรื อบางคนก็ตอ้ งไปรับ ราชการที่กระทรวงอื่น หรื อแม้กระทัง่ เป็ นนักบินของกองทัพอากาศ ทาให้เห็นว่าวิทยาลัยวิชาการศึกษาไม่ได้ยนิ ดีการการปรับเปลี่ยนเช่นนี้เลย แม้กระทัง่ ชื่อของนิ สิตที่เป็ นแกนนาในการเรี ยกร้องก็ไม่ได้รับการยกย่องเชิ ดชู (มีเพียงภาพสองสามภาพในหอประวัติเท่านั้น)การบันทึกเรื่ อง เหล่านี้มีนอ้ ยมากในประวัติศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยทั้งที่ผลประโยชน์ท้ งั หมดตกอยูก่ บั อาจารย์และข้าราชการทั้งสิ้ น
19
“มันเป็ นหมาตัวผู ้ เมื่อไหร่ มีหมาตัวเมียอยูใ่ กล้ๆมันจะตื่นเต้นจนคุมไม่ได้ แล้ว เจ้าของมันก็จะตีมนั ตามกฏของพัฟลอฟ เหตุการณ์เป็ นอยูอ่ ย่างนี้จนเจ้าหมาที่น่าสงสาร ไม่รู้จะทาอย่างไร พอได้กลิ่นหมาตัวเมียมันจะวิง่ หูลู่หางจุกก้น ส่ งเสี ยงร้องครางไปรอบ สวนเพื่อพยายามหาที่ซ่อนตัว........ .........เราน่าจะลงโทษหมาสาหรับความผิดอย่างเช่นกัดรองเท้า การถูกตีเพราะ กัดรองเท้าถือเป็ นความยุติธรรมที่หมายอมรับได้ แต่อารมณ์ปรารถนาของมันเป็ นคนละ เรื่ องกัน ไม่มีสัตว์ตวั ไหนยอมรับได้วา่ การถูกลงโทษเพราะปล่อยตัวตามสัญชาตญาณ เป็ นเรื่ องยุติธรรม 18 ในปี พ.ศ. 2519 หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอกศิลปะ ที่สร้างขึ้นเมื่อวิทยาลัยวิชาการศึกษา เปลี่ยนเป็ นมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ โดยหลักสู ตรใหม่น้ ีมีชื่อเป็ นภาษาอังกฤษว่า B.A. Fine Arts ได้รับนักศึกษาเข้ามาศึกษาเป็ นครั้งแรก การใช้คาว่าศิลปะและในภาษาอังกฤษเป็ น Fine Artsนั้น ยังไม่ สามารถสื่ อความหมายในแนวทางการศึกษาแบบพิพฒั นาการได้ดีเท่าไรนัก อาจเป็ นเพราะอารี จบการศึกษา มหาบัณฑิตทาง วิจิตรศิลป์ ( M.F.A. Fine Arts) การสร้างหลักสู ตรจึงต้องสอดคล้องกับคุณวุฒิของอาจารย์ที่ จบมา แต่อย่างไรก็ตามความพยายามที่จะสร้างคาให้เหมาะสมกับแนวทางของศิลปะของอุดมการณ์ การศึกษาแบบพิพฒั นาการ จึงต้องมีคาที่มีความหมายเฉพาะ ดังนั้น การสร้างคาใหม่จึงเกิดขึ้น อารี ได้ให้ ความเห็นถึงการสร้างคาใหม่สาหรับการเรี ยนการสอนศิลปะ ดังนี้ “ผมมีความเห็นว่าเมื่อพูดถึงศิลปะ เรามักจะหมายความกันกว้างและถ้าเรี ยน เพาะช่างหรื อศิลปกรก็จะเข้าใจว่าวิจิตรศิลป์ หรื อ Fine Arts ซึ่งคาและความหมายของคา นี้มนั เข้าใจยากและเป็ นนามธรรมและเราพยายามที่จะเอานามธรรมแปลให้เป็ นรู ปธรรม ปั ญหามันจึงมาก นอกจากนี้เมื่อเราหมายถึงวิจิตรศิลป์ เราก็ยงั แยกออกไปอีกว่ามีหา้ แขนง คือจิตรกรรม ประติมากรรม สถาปัตยกรรม ดนตรี และวรรณกรรมซึ่งแขนง เหล่านี้มนั สัมผัสจับต้องได้ ต่างกับวิจิตรศิลป์ หรื อศิลปะที่มีความงามมันจับต้องไม่ได้ 18
จากวรรณกรรมแปล เรื่ อง “ไร้เกียรติยศ” โดย J.M. Coetzee แปลโดยขจรจันทร์ (2555) หน้า 115 เป็ นหนังสื อที่ อารี สุทธิพนั ธุ์ได้กล่าวถึงใน การสัมภาษณ์วนั ที่ 8 กันยายนพ.ศ.2557 ว่าควรอ่านและอารี ได้เอ่ยถึง ผูเ้ ขียนบทความนี้ ว่าต้องอ่านอย่างยิง่ จึงได้นา เนื้อหาในหนังสื อมา ประกอบการเขียน ในบทความนี้ ดว้ ยเพื่อแสดงให้เห็นว่าผูเ้ ขียนได้ทาตามที่อาจารย์สงั่ ไว้แล้ว การที่ยกเรื่ องการลงโทษหมาในเรื่ องนี้ หลายคนที่ อ่านอาจคิดว่าคนกับหมามันแตกต่างกันดังนี้ เพื่อไม่ให้เป็ นการติดขัดในใจจึงขออ้างอิง สถิติที่น่าสนใจของโรงเรี ยนใน ศ.ที่19 ดังนี้ "การลงโทษ นักเรี ยนรุ นแรงมากในสมัยนั้นในโรงเรี ยนบางแห่ งถึงกับมีเสาผูกเฆี่ยน(whipping port) ตั้งขึ้นไว้ในโรงเรี ยนเลย ข้าพเจ้าพบหนังสื อเล่มหนึ่ ง ปรากฏหลักฐานว่า มีครู คนหนึ่งเป็ นครู อยู่ 51ปี 7 เดือน ได้เฆี่ยนนักเรี ยนด้วยไม้เรี ยว(cane) 911,527 ครั้ง ด้วยไม้เรี ยวเล็ก (rot) 124,010ครั้ง ตีดว้ ย ไม้บรรทัด 20,989ที ตีมืออีก 136,715 ที ตีที่ปาก 10,235 ที ตบที่กกหู 7,905 ที เขกกระบาล 1,115,800 ที ฟาดด้วยหนังสื อ 22,763 ที และมีการ ลงโทษอื่นๆที่แปลงกอีกมาก ตลอดจนด่าอีก 3,000 ประโยค....เท่าที่กล่าวมานี้ อาจจะดูนอ้ ยกว่าความเป็ นจริ ง คงจะลืมจดอีกนับไม่ถว้ น" (สุดใจ เหล่าสุ นทร2549,ความเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษา,67-68)
20
ดังนั้นผมมีความเห็นว่าน่าจะเปลี่ยนมาใช้ (คา: ผูเ้ ขียนบทความ) เรี ยกเฉพาะที่จบั ต้อง หรื อสัมผัสเห็นได้ดว้ ยตา” (60 ปี อารี สุทธิพนั ธุ์ หน้า 239-240) เพราะคาว่า ทัศนศิลป์ ยังไม่ถูกใช้ในวงการศิลปะในประเทศไทยเลย จากการสัมภาษณ์ อารี ให้ ความเห็นว่า “หลังจากที่ผมสอนไปได้ประมาณสองปี 19 ( ราวปี พ.ศ. 2506: ผูเ้ ขียนบทความ) ก็สัมผัสถึงความเจริ ญก้าวหน้าทางศิลปะและการศึกษาทาให้มนั่ ใจว่าถ้าเราจะเปลี่ยน หรื อปรับปรุ งอะไรใหม่ก็น่าจะได้จึงได้แปลคาว่า Visual Arts” (60 ปี อารี สุทธิพนั ธุ์ หน้า 240) การใช้คาว่าทัศนศิลป์ นั้น อารี ได้ปรึ กษากับอาจารย์ทางภาษาไทย ร่ วมกัน ประดิษฐ์คาจาก Visual Arts จึงได้คาว่า “วิทศั นศิลป์ ” แต่เมื่อใช้ไปคนนิยมคาว่าทัศนศิลป์ มากกว่า คาว่าทัศนศิลป์ (คาดว่า) ได้ถูกใช้ ในหลักสู ตร ประถมและมัธยม ที่มีการปรับเปลี่ยนจากหลักสู ตร พ.ศ. 2503 มาเป็ นหลักสู ตร พ.ศ. 2521 เป็ น กลุ่มแรกๆ สาหรับการศึกษาในอุดมศึกษานั้น คาว่าทัศนศิลป์ จึงเป็ นเรื่ องที่ยงั ไม่สามารถสื่ อความหมายกับ สังคมไทยได้ดีนกั ในเรื่ องชื่อหลักสู ตร เมื่อต้องขออนุมตั ิเปิ ดสอนซึ่ งต้องผ่านคณะกรรมการพิจารณาที่ยงั ไม่ เข้าใจความหมายของคานี้แต่ในทางปฏิบตั ิน้ นั ได้เริ่ มใช้เป็ นข้อตกลงกันระหว่างผูส้ อนกับผูเ้ รี ยน อารี กล่าวว่า “ถ้ าจะเรี ยนจะสอนกับผมผมสอนได้ เฉพาะศิลปะที่มองเห็นหรื อทัศนศิลป์ เท่ านั้นนะ” 20 หลักสู ตรและการรับนิสิต การเริ่มตั้งสมมุติฐาน หลักสู ตรใหม่ใช้การบูรณาการทักษะต่างๆในอดีตเข้าเป็ นหลักสู ตรเดียว และต้องศึกษาวิชาโท นอกเหนือจากเรี ยนวิชาเอกศิลปะให้นิสิตเรี ยนด้วย นับว่าเป็ นประสิ่ งที่เป็ นจุดเด่นให้กบั หลักสู ตรนี้เป็ นอย่าง มากตามแนวทางการศึกษาแบบพิพฒั นาการ ซึ่ งในขณะนั้นการเรี ยนศิลปะเน้นความชานาญในทางทักษะใด ทักษะหนึ่งเป็ นหลักเพื่อประกอบวิชาชีพ ความแตกต่างนี้ดูเหมือนว่าจะเป็ นเรื่ องดี แต่ส่งผลต่อความเข้าใจ ของผูเ้ รี ยนที่ตอ้ งการทักษะวิชาชีพเป็ นอย่างมาก การสร้างความเข้าใจระหว่า หลักสู ตร กับนิสิต โดยผูส้ อน เป็ นไปอย่างยากเย็นมาก มีประเด็นข้อสงสัยในทุกรายวิชา แต่ถึงกระนั้นก็เป็ นเรื่ องดีที่ ทุกคนสามารถมีส่วน ร่ วมและถกเถียงกันได้จนเกิดเป็ นสิ่ งที่เรี ยกว่า การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน (Integrations) นับว่าเรื่ องนี้ประสบ ความสาเร็ จเป็ นอย่างมาก แต่หลักสู ตรก็ไม่เปลี่ยนแปลงแต่อย่างใดในช่วงแรก 19
เรื่ องเวลาการจบการศึกษาของอารี สุทธิ พนั ธุ์น้ นั ไม่เป็ นที่แน่นอนจากการศึกษาเอกสาร ในงานวิจยั ของ วิรุณ ตั้งเจริ ญ เรื่ อง พลังความคิดเพื่อ พัฒนาคณะศิลปกรรมมหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ 2545 นั้นกล่าวว่า อารี สุทธิ พนั ธุ์จบการศึกษา เมื่อ พ.ศ. 2503 :7j’อารี สุ ทธิพนั ธุ์ เริ่ มสอนที่ วิทยาลัยวิชาการศึกษาเมื่อปี พ.ศ.2500 และพิริยะไกร ฤกษ์ ได้กล่าวว่า อารี สุทธิ พนั ธุ์ สาเร็ จ MFA เมื่อปี พ.ศ. 2504 (พิริยะ ไกรฤกษ์,ภาพสะท้อน จากประสบการณ์ในอเมริ กา ,2529) และเริ่ มเปิ ดหลักสู ตร กศบ.ศิลปศึกษาเมื่อปี พ.ศ.2511 ดังนั้นในบทสัมภาษณ์น้ ี น่าจะหมายถึงหลังจากที่กลับ จากการศึกษาจากสหรัฐอเมริ กา 20
60 ปี อารี สุทธิพนั ธุ์ 2534 หน้า 240
21
ความต้องการผูเ้ รี ยนในหลักสู ตรใหม่น้ ี อารี ได้เห็นว่าเราต้องรับนักเรี ยนมัธยมศึกษาตอนปลายสาย วิทยาศาสตร์ เนื่องจากอารี ได้เห็นว่าหลักสู ตรมัธยมศึกษาตอนปลายสายวิทยาศาสตร์ น้ นั ได้เรี ยน “วิธีการทาง ปัญญา” คือการค้าหาความจริ งมาแล้ว มีการเรี ยนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ในห้องปฏิบตั ิการ และเข้าใจ หลักการทางจิตวิทยา ชีววิทยา ฯลฯ อารี คิดว่าถ้าได้นิสิตที่มีพ้นื ฐานเหล่านี้จะสามารถเรี ยนและเข้าใจในสิ่ งที่ อธิ บายถึง ศิลปะแนวพิพฒั นาการนี้ได้เป็ นอย่างดี การรับนิสิตเข้าศึกษาในระบบ ที่เรี ยกกันอย่างทัว่ ไปว่า การสอบ Entrance นั้นเป็ นระบบการสอบ รวมในส่ วนกลาง ยกเว้นการสอบในระบบโควตาของมหาวิทยาลัยในภูมิภาค ทาง มศว ประสานมิตร เองนั้น ก็ตอ้ งสอบร่ วมกับส่ วนกลางทั้งหมด และต้องตัดสิ นใจว่าจะใช้วชิ าอะไรสอบบ้าง ซึ่ งเป็ นสิ่ งที่อารี ตั้งใจไว้วา่ ต้องรับเด็กที่เรี ยนจบมัธยมศึกษาสายวิทยาศาสตร์ และสุ ดท้าย สาขาวิชาศิลปะ คณะมนุษยศาสตร์ มศว ประสานมิตร ก็เลือกการสอบแบบเดียวกับกลุ่มสถาปั ตยกรรมเพราะเป็ นกลุ่มวิชาทางสายวิทยาศาสตร์ สาย เดียวที่มีการสอบความสามารถทางศิลปะ21 และในเวลาต่อมาก็มีขอ้ สอบเป็ นของตนเองในรายวิชาเฉพาะทาง จนถึงรุ่ นที่ 7 (ปี การศึกษา2526) ต่อมาในปี การศึกษา 2527 ก็ปรับไปเป็ นรับนิสิตที่จบจากสายศิลป์ ภาษาและ สายศิลป์ คานวณ ซึ่ งหวังว่าจะได้ผเู ้ รี ยนที่มีความสามารถทางศิลปะจากสายอาชีวะเข้ามาเรี ยนด้วย แต่กระนั้น ก็ยงั มีคนจบมัธยมสายวิทยาศาสตร์ เข้ามาเรี ยน (จากประสบการณ์และการสังเกตของผูเ้ ขียนคนที่มี ความสามารถทางศิลปะนั้นจบสายสามัญมากว่าสายวิชาชีพ) ในส่ วนเรื่ องการสอนหลักสู ตรนี้ นับว่าเป็ นสิ่ งที่สร้างความลาบากใจให้กบั ผูเ้ รี ยนเป็ นอย่างมาก 22 การจัดประสบการณ์ทางศิลปะให้กบั ผูเ้ รี ยนนั้น อารี ได้ใช้ความพยายามเป็ นอย่างมากในการ จัดประสบการณ์ ให้กบั กลุ่มคนเหล่านี้ เนื่องจากถึงจะมีทกั ษะในด้านวิธีแห่งปั ญญา แต่ติดขัดในเรื่ องทักษะทางศิลปะที่ไม่ สามารถถ่ายทอดความคิดให้ชดั เจนได้มีคนส่ วนน้อยเท่านั้นที่มีทกั ษะทางศิลปะที่ยอดเยีย่ มในช่วง 8 ปี แรก และคณาจารย์เองนั้น มีหลากหลายรู ปแบบ ในส่ วนของอารี เป็ นผูท้ ี่ชดั เจนมากที่สุดและเข้าใจว่า กาลังผลิต บัณฑิตอย่างไรด้วยวิธีการอย่างไร บนพื้นฐานอุดมการณ์ทางการศึกษาอะไร อารี มีเป้ าหมายที่ชดั เจน แต่ อาจารย์บางส่ วนได้กลายเป็ นกลุ่มคนที่เติบโตมากับอีกอุดมการณ์หนึ่ง ซึ่ งมีอุดมการณ์คนละยุคกับ อารี ถึงแม้วา่ บางคนจะได้ไปศึกษาที่ อเมริ กากลับมาก็ตาม แต่การเรี ยนการสอนก็ ใช้วธิ ี Interactions ระหว่างกัน ไปได้ดว้ ยดี ในหลักสู ตรที่มี ความ Integrations นี้ เรื่ องราวต่างๆในวิถีชีวติ ของนิสิตศิลปะและครู อารี น้ นั ถูก ถ่ายทอดเป็ นนิยายเรื่ องเงาสี ขาว23
21
กรณี น้ ีในช่วงเวลาที่ครบรอบสิ บปี ของหลักสูตร อารี ได้ เปิ ดเผยว่าเหตุที่เลือกสอบกับสถาปั ตย์น้ นั เพราะอาจารย์สถาปั ตย์สวย ซึ่งน่าจะ เป็ นเรื่ องที่พดู เล่นมากกว่า เพราะโครงสร้างการสอบตามเงื่อนไขของอารี ที่ตอ้ งการนั้นเป็ นนักเรี ยนสายวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็ นไปไม่ได้เลยที่ จะไม่เลือกการสอบร่ วมกับกลุ่มสถาปั ตยกรรมเพราะเป็ นกลุ่มเดียวที่เป็ นสายวิทยาศาสตร์และมีการสอบทักษะศิลปะสองวิชา 22
จากประสบการณ์ที่สัมผัสกับผูเ้ รี ยนในช่วงปี พ.ศ.2527-2531 นั้นพบว่านิสิตที่จบการศึกษาจากโรงเรี ยนสาธิตของมหาวิทยาลัยต่างๆ บอกเป็ นเสี ยงเดียวกันว่า เรี ยนแล้วเข้าใจมากเหมือนอยูโ่ รงเรี ยนเก่า ก็คือโรงเรี ยนที่เน้นการเรี ยนการสอยแบบพิพฒั นาการอย่างเต็มรู ปแบบ จะเข้าใจในการเรี ยนการสอนแบบนี้เป็ นอย่างดี 23
บรรยากาศการศึกษาของนิ สิตศิลปะกับอารี น้ นั เป็ นไปอย่างมีสีสนั และสร้างความตื่นตาตื่นใจผสมกับความตระหนกใจในการเห็นนิสิตที่ใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยเป็ นอย่างมาก ในพื้นที่ที่เคยเป็ นระเบียบแบบแผนเป็ นพื้นที่ที่ผลิตคนไปเป็ นตัวอย่างในสังคม ถ้าอยากทราบบรรยากาศการ
22
หลักสู ตรมีการปรับปรุ งเนื้อหาการสอนเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รี ยนและความ เปลี่ยนแปลงของสังคมไทยที่กาลังเปลี่ยนแปลงแบ่งออกเป็ นสองช่วงดังนี้ การปรับตัวจากผลการทดลองของประสบการณ์ ในช่วงปี พ.ศ. 2525 จนถึงปี พ.ศ.2530 เป็ นช่วงที่สังคมไทย ลดความขัดแย้งเชิงอุดมการณ์ทาง การเมืองลง ได้อย่างไม่เป็ นไปตามทฤษฎีโดมิโนที่ได้พยากรณ์เอาไว้ การมีรัฐบาลที่เรี ยกว่า ประชาธิ ปไตย ครึ่ งใบคือมีกาเลือกตั้งแต่นายกรัฐมนตรี มากจากการแต่งตั้ง เป็ นช่วงที่รัฐเข้ามาควบคุมกิจการทางด้านการเงิน และการคลังอย่างเข้มงวด โดยรัฐบาลพล.อ.เปรม ประกาศลดค่าเงินบาท สามครั้ง คือ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2524 ครั้งที่สองในวันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ.2524 ครั้งที่สาม เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2527 และเปลี่ยนจาก“อัตราแลกเปลี่ยนคงที่ “ระหว่างเงินบาทกับเงินเหรี ยญสหรัฐ มาเป็ น “ระบบตะกร้า เงิน” เพื่อที่จะได้ไม่ยดึ อัตราแลกเปลี่ยนผูกเอาไว้กบั เงินดอลลาร์ เพียงอย่างเดียวและเพื่อแก้ปัญหาการขาด ดุลการค้า รัฐบาลมีการกาหนดเวลาการใช้ไฟฟ้ าและช่วงเวลาการเปิ ดและปิ ดปั๊ มน้ ามัน เพื่อประหยัดเงินของ ประเทศ และมีมาตรการเสริ มเพื่อรองรับผลกระทบที่เกิดขึ้น เช่น การตรึ งราคาน้ ามัน ลดหย่อนภาษีเพื่อช่วย ผูป้ ระกอบการและการควบคุมราคาสิ นค้าเพื่อไม่ให้ประชาชนได้รับความเดือดร้อนสุ ดท้ายคือการจากัด สิ นเชื่อธนาคารพาณิ ชย์ เพื่อให้เกิดการลดการใช้จ่ายที่ฟุ่มเฟื อยลงและลดสิ นเชื่อที่ไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อ ระบบเศรษฐกิจและรณรงค์ให้คนไทยใช้สินค้าไทย มีความประหยัด คณะรัฐมนตรี ท้ งั คณะแต่งกายด้วยผ้า ไทย ชุดไทยพระราชทาน เป็ นต้น จนประเทศไทยสามารถกลับมาเกินบัญชีเดินสะพัดสาเร็ จเป็ นครั้งแรกในปี พ.ศ.2529 หลังจากที่ประเทศไทยขาดดุลบัญชีเดินสะพัดติดต่อกันถึง 20 ปี ก่อนหน้านั้น รัฐยังให้การสนับสนุนนักธุ รกิจต่างๆให้เข้ามามีส่วนร่ วมในการปรึ กษาหารื อในเรื่ องนโยบายต่างๆ ด้วยในชื่อคณะกรรมการร่ วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปั ญหาทางเศรษฐกิจ ตั้งขึ้นตามมติของ คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2524 การให้ความสาคัญกับนักธุ รกิจไทย จนมีความเข้มแข็งถึงขั้น ที่สามารถเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐได้ ในกรณี ของหอการค้าแห่งประเทศไทย เคยทักท้วงนโยบายรัฐบาล จนรัฐต้อปรับเปลี่ยนนโยบายเป็ นผลสาเร็ จ นับว่าเป็ นยุคสมันที่เอกชนสามารถสร้างโอกาสทางสังคมขึ้นได้ มีอาชีที่เป็ นเป็ นความต้องการใหม่ๆ ขึ้นมาอย่างมากมาย และเกิดบริ ษทั รองรับการขยายตัว ที่สืบเนื่องจากการมีเงินจับจ่ายใช้สอยของประชาชนที่ กาลังเพิ่มขึ้นมากเรื่ องๆ ธุ รกิจที่สาคัญที่เป็ นพื้นที่ใหม่ของง คนที่ทางานศิลปะ คือธุ รกิจการออกแบบสิ่ งพิมพ์ และการโฆษณา สาหรับนิสิตรุ่ น1-3 ที่จบการศึกษา ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2523 นั้นได้ทางานอย่างหลากหลายสาย งาน ส่ วนใหญ่ทางานในธุ รกิจเอกชน แต่ผลการเติบโตทางธุ รกิจในประเทศไทย ซึ่ งส่ งผลให้กบั นิสิตรุ่ นที่ 4 ซึ่งจบการศึกษาในปี 252624 ซึ่ งในระบบธุ รกิจการออกแบบส่ งพิมพ์และการโฆษณาต้องการบุคลากรใหม่ เป็ นจานวนมากและ ความต้องการ นั้นการผลิตในสถาบันการศึกษาต่างๆไม่สามารถ สนองความต้องการได้ ซึ่ งสิ่ งที่ตอ้ งการนั้นคือต้องการ บุคลากรที่มีความสามารถรอบด้าน ทั้งมีความรู ้แลทักษะทางด้านศิลปะและ เรี ยนและการสอนของอารี ถูกบันทึกไว้ในนิยายที่ ชื่อ “เงาสี ขาว” ของแดนอรัญ แสงทอง ตั้งแต่หน้า 317 เป็ นต้นไป ในนิ ยายเรื่ องนี้ กล่าวถึง “สิ งโตเฒ่า” ชื่อในนิยายคือรองศาสตราจารย์ชีวา สุทธิพงษ์ ว่า “เป็ นผูท้ ี่เรี ยนรู ้จากลูกศิษย์มากกว่าที่ลูกศิษย์จะเรี ยนรู ้จากเขา” 24
มีการเว้นรับนิสิต ไปหนึ่งปี ในปี การศึกษา 2522
23
รอบรู ้ดา้ นสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลง ไม่ได้ตอ้ งการคนที่มีทกั ษะใดทักษะหนึ่งที่เชียวชาญ ในการสร้างงาน โฆษณา ที่มีตาแหน่งงานใหม่ๆเกิดขึ้น แต่ก็ยงั มีอาชีพอื่นๆด้วยเช่นกันเช่น นักเขียน ช่างภาพ ศิลปิ นอาชีพ เป็ นต้น การจัดประสบการณ์ทางศิลปะให้กบั กลุ่มคนที่ทกั ษะทางวิธีการทางปั ญญานั้น สร้างพื้นที่การ ถกเถียงระหว่างผูส้ อนผูเ้ รี ยน หลักสู ตรกับความคาดหวังของสังคม นิสิตศิลปะที่เข้ามายังได้จดั ประสบการณ์ ในด้านอื่นๆให้กบั ตนเองอย่างมากมาย ซึ่ งพบว่า นิสิตศิลปะบางคนไปเรี ยนภาษาอังกฤษแล้วทาคะแนนสู สุด ของมหาวิทยาลัย นิสิตบางคนไปลงเรี ยนวิชาฟิ สิ กส์กบั นิสิตวิทยาศาสตร์ ผลการสอบได้คะแนนสู งสุ ด ของปี นั้น แต่ไม่ใช่เพียงคนเดียวเท่านั้น ในอีกสองสามปี ต่อมาก็มีนิสิตศิลปะทาได้เช่นนี้อีกคน การจัดแสดงละครเวที ประจาปี การจัดแสดงดนตรี ทั้งที่เป็ นนักดนตรี อาชีพ หรื อการแสดงของนิสิต เองนั้น เกิดขึ้นอยูอ่ ย่างต่อเนื่องรวมถึงการแสดงผลงานทางทัศนศิลป์ ด้วยเช่นกัน ดังคากล่าวของ อารี ที่ กล่าวถึงข้อโต้แย้งถึงหลักสู ตรที่ตอ้ งเรี ยนวิชาอื่นนอกเหนือจากวิชาศิลปะอย่างมากมายว่า “ผมไม่ ได้ สอนให้ คุณจบออกไปเป็ นเด็กมุมห้ องคือ คนที่ไม่ มีความสามารถพูดคุยเรื่ องต่ างๆได้ เลยในงานเลีย้ งจึงต้ องหลบมุม อยู่คนเดียว” การจัดประสบการณ์ของอารี ให้กบั นิสิต วิธีการสอน และการที่ผเู ้ รี ยนเองนั้นได้มีพ้นื ที่ในการ จัดประสบการณ์ของตนเองอย่างอิสระ สร้างสี สันให้กบั พื้นที่ของมหาวิทยาลัยที่มีพ้นื ฐานโรงเรี ยนฝึ กหัดครู เป็ นอย่างมาก ความอิสระที่เรี ยกขานในหมู่คณาจารย์วา่ ไม่มีระเบียบนั้นซึ่ งลดลงด้วยการชดเชยกับความ มุ่งมัน่ ในการเรี ยนและสามารถสร้างความตื่นตาตื่นใจในผลการศึกษากับวิชาต่างๆเป็ นจานวนมาก เรี ยกได้วา่ กลุ่มนิสิตศิลปะ นี้เป็ นกลุ่มคนที่กาลังรื้ อสร้างระบบของวิทยาลัยวิชาการศึกษาในทุกๆด้าน การแต่งกาย การ เรี ยน ความคิด การใช้พ้นื ที่ในมหาวิทยาลัย การวิพากษ์สิ่งที่ไม่ยตุ ิธรรม รวมถึงการมุ่งมัน่ ทางานใน มหาวิทยาลัย อย่างดึกดื่นจนถึงตอนเช้า (แต่บางคนใช้การทางานเป็ นข้ออ้างก็มีอยูบ่ า้ ง)ความไร้ระเบียบที่ เกิดขึ้นเป็ นการจัดระเบียบเชิงประสบการณ์ของผูเ้ รี ยนทั้งสิ้ น เมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นเช่น มหาวิทยาลัยบอก บอก กับอารี วา่ นิสิตไว้ผมยาวไม่เรี ยบร้อย อารี ก็ตอบไปว่า “ ผมไม่สนใจว่าเส้นผมของนิสิตจะยาวขนาดไหน ผม สนใจสิ่ งที่อยูใ่ ต้เส้นผมนั้นมากกว่า” แต่เมื่อมาเล่าให้นิสิตฟัง นอกจากคาตอบที่กล่าวมาแล้ว อารี ยังได้ เพิ่มเติมประโยคนี้กบั นิสิตด้วยว่า “ แต่ถา้ นิสิตมีอะไรใต้เส้นผมจานวนมากพอนั้นคงคิดได้เองว่าต้องไว้ผม ทรงอะไรถึงเหมาะสม” เมื่อถึงบรรทัดนีแ้ ล้ วอยากให้ ระลึกถึง “สุนัขที่ถกู ตีในตอนต้ นของบท” ว่ า เมื่อ มนุษย์ ถกู ทาให้ สูญเสี ยและหวาดกลัวในสั ญชาตญาณของตนเอง มันช่ างไร้ ศักดิ์ศรี เช่ นกัน อารี ปกป้ องสัญชาติญาณของนิสิตอย่ างเต็มที่ และสอนการควบคุมสัญชาตญาณนั้น โดย ไม่ ใช้ การลงโทษ แต่ ใช้ วิธีการทางปั ญญาแทน สิ่ งมีชีวิตที่เรี ยกว่ ามนุษย์ ที่อารี กาลังสร้ าง ประสบการณ์ ให้ นั้น ไม่ ใช่ เป็ นสัตว์ เลีย้ งเชื่ องๆ ที่มีชื่อเรี ยกหรื อหมาล่ าเนือ้ ที่เมื่อหมด ประโยชน์ แล้ วเจ้ าของต้ องฆ่ าทิง้ แต่ อารี สร้ างหมาป่ าหรื อสร้ างสัตว์ ป่าขึน้ มาที่มี ความสามารถใช้ สัญชาตญาณ สร้ างวิธีทางปั ญญาอยู่ได้ ด้วยตัวเอง ที่เรี ยนรู้ ประสบการณ์ ใหม่ ๆได้ ทุกวัน และไร้ ความหวาดกลัว
24
นิสิตสาขาวิชาเอกศิลปะ
ดังคากล่าวของ ถวัลย์ดชั นีกล่าวกับศิลปิ นรุ่ นน้องในเชียงรายที่วา่ “นกอินทรี เวลาไปไหนไปตัวเดียว บินสู ง ไม่เหมือนกับพวกนกกระจอกไปไหนไปเป็ นฝูงบินต่าๆ ศิลปิ นจะยิง่ ใหญ่ก็ตอ้ งเหมือนนกอินทรี ” คนเราสร้างเกียรติยศขึ้นได้ดว้ ยตนเองเกียรติยศจึงเป็ นของตนเองจึงเกิดเป็ นความยัง่ ยืนไม่มีใครเอาเกียรติยศ ของเราไปได้เพราะเราไม่ได้รับมาจากใคร การเติบโตจากผลของหลักสู ตรพืน้ ฐานวิชาทัศนศิลป์ พ.ศ.2521 ในช่วงที่สองหลังจากการวางรากฐานแล้วซึ่ งเป็ นช่วง พ.ศ.2531-2536 สังคมไทยเป็ นช่วงสั นติภาพ ภายใต้นโยบายเปลี่ยนสนามรบให้เป็ นตลาดการค้า ได้ส่งผลดีต่อการค้าชายแดนซึ่ งปกปิ ดและลักลอบค้าขาย กันมานานกว่า 8 ปี ให้กลายเป็ นการค้าที่ถูกกฎหมายและสร้างรายได้เข้าประเทศอย่างมหาศาล มูลค่าการค้า กับกลุ่มประเทศอินโดจีนเพิ่มสู งขึ้นจาก 300 ล้านบาทในปี พ.ศ.2531 เพิ่มเป็ น 1,200 ล้านบาทในปี พ.ศ.2532 และเพิ่มเป็ น 2,000 ล้านบาทในปี พ.ศ.2533 เศรษฐกิจไทยเติบโตสู งที่สุดในโลกถึง 2 ปี ซ้อน คือปี 2531 สู ง ถึง ร้อยละ 13.2 และปี 2532 สู งถึงร้อยละ 11.2 ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจของโลกโดยรวมซบเซาการรักษา วินยั การเงินการคลังอย่างเคร่ งครัด ด้วยการควบคุมหนี้สาธารณะภาครัฐ ภายใต้เพดานเงินกูไ้ ม่เกิน 1000 เหรี ยญสหรัฐ และเป็ นรัฐบาลแรกในระบอบประชาธิปไตยที่มีเงินคงคลังมากที่สุดในรอบ 60 ปี คือสู งถึง 1.8 แสนล้านบาท25 อุดมการณ์ของโลกที่แบ่งเป็ นสองฝ่ ายยุติลง นักวิชาการมาร์ กซิ ส ม์ กล่าวว่า “เป็ นการสิ้ นสุ ด ประวัติศาสตร์ ” สัญลักษณ์แห่งสงครามเย็นคือกาแพงเบอร์ ลิน ได้หมดอานาจลงในปี พ.ศ. 2532 และถูกม ทาลายลงในปี ต่อมา การเคลื่อนไหวประชาธิ ปไตย ในพม่า เหตุการณ์ 8888 26 การยุติการรบ ในสงครามกลาง เมืองของกัมพูชา ด้วยการเจรจาระหว่างเขมร 4 ฝ่ าย การล่มสลายของ สหภาพโซเวียตรัสเซี ย ในปลายปี พ.ศ. 2534เศรษฐกิจของไทยเจริ ญเติบโตเป็ นอย่างมากในช่วงเวลาดังกล่าว แต่ส่วนใหญ่กลายเป็ นการเจริ ญเติบโต แบบฟองสบู่ และสุ ดท้ายก็จบสิ้ นลงในวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 25
ผูเ้ รี ยบเรี ยง อดิศร หมวกพิมาย http://www.kpi.ac.th/wiki/index.php นโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็ นสนามการค้า
26
หมายถึงวันที่ 8 เดือนสิ งหาคม (เดือนที่8) ปี ค.ศ. 1988
25
ผลผลิตของหลักสู ตรศิลปะของมศว ประสานมิตรในช่วงเวลาดังกล่าวได้รับผลดีในระบบการจ้างงานที่ เป็ นผลจากระบบเศรษฐกิจดังกล่าว ซึ่ งในกลุ่มนิสิตที่เข้ามาหลังปี พ.ศ. 2527 นั้นยังเป็ นกลุ่มที่ได้รับการศึกษา ในแบบการศึกษาแบบพิพฒั นาการในประเทศไทยกล่าวคือ การปรับหลักสู ตรขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2503 มาเป็ น หลักสู ตร ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2521 และมีการแก้ไขปรับปรุ ง ในปี พ.ศ. 2533 ดังนั้น การสร้างความเข้าใน ความหมายของอุดมการณ์ อารี จึงไม่เป็ นเรื่ องยากที่จะเข้าใจได้ อย่างเช่นคาว่า “ทัศนศิลป์ ” 27 ก็ได้กลายเป็ น คาสามัญทางการศึกษาไปในระดับมัธยมศึกษาแล้ว หลักสู ตรนี้ อารี ได้ดูแลจนกระทัง่ เกษียณอายุราชการไป ในปี พ.ศ. 2533 และเห็นความก้าวหน้าขอผลผลิตที่จบออกไปอย่างดียงิ่ การแตกตัวเพือ่ สร้ างความรู้ ใหม่ ของคนรุ่ นใหม่ การเข้ามาดาเนินการในภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ ของคนรุ่ นใหม่ในกลุ่ม คณาจารย์ศิลปะที่สืบทอดจาก อารี นั้น ได้มีความพยายามที่จะ สร้างคณะศิลปกรรมขึ้นใน มศว ประสานมิตร ได้เริ่ มโครงการจัดตั้งคณะขึ้นได้มีการประชุมครั้งแรกเพื่อการจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ เมื่อ ปี พ.ศ.253028 เกิดขึ้น โดยมี วิรุณ ที่เป็ นลูกศิษย์คนสาคัญที่กา้ วหน้าที่สุด นั้นเป็ นผูด้ าเนินการ การจัดตั้งคณะศิลปกรรม ศาสตร์ เป็ นไปด้วยความยากลาบากมาก ในช่วงเวลานั้น ในระหว่างการดาเนินการขอจัดตั้งคณะศิลปกรรม ศาสตร์ การดาเนินการ หลักสู ตรใหม่ทางศิลปะ ก็ควบคู่ไปด้วย มีการสร้างหลักสู ตร สาขาวิชาการออกแบบ ทัศนศิลป์ ขึ้น นับว่า คาว่า “ทัศนศิลป์ ” ได้ใช้เป็ นคาเรี ยกชื่อหลักสู ตรอย่างเป็ นทางการที่เกิดขึ้นในพื้นที่ ที่ สถาปนาคานี้มาอย่างยาวนาน29 และการใช้ชื่อนี้ ทางจุฬาลงการณ์มหาวิทยาลัย ได้จดั ตั้งคณะศิลปกรรมขึ้น และได้มีการใช้เป็ นชื่อภาควิชาและสาขาวิชาทัศนศิลป์ แล้วเป็ นแห่งแรกโดยรับนักศึกษามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 252630 การจัดตั้งคณะศิลปกรรมศาสตร์ ใน มศว ประสานมิตร สาเร็ จในปี พ.ศ.2536 และพร้อมกันนั้นได้ ปรับ โครงสร้างโดยยุบภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม และได้ใช้หลักสู ตร ศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอกออกแบบ ทัศนศิลป์ แทนหลักสู ตร ศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอกศิลปะ โดยมีเนื้อหาดังนี้ เนื่องด้วยภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ ได้พฒั นาหลักสู ตร ศิลปศาสตรบัณฑิต วิชาเอกออกแบบทัศนศิลป์ เพื่อใช้แทนหลักสู ตรศิลปศาสตร บัณฑิต วิชาเอกศิลปะ ฉบับเดิมที่ใช้อยูใ่ นปั จจุบนั โดยหลักสู ตรดังกล่าวมุ่งผลิตนัก ออกแบบทัศนศิลป์ (Visual Designer) ดังเช่นหลักสู ตรเดิม แต่ได้พฒั นาให้สอดคล้อง 27
การหาหนังสื อเรี ยนทัศนศิลปศึกษาตามหลักสูตร พ.ศ.2521 เป็ นไปอย่างยากมากจึงใช้อา้ งอิงจาก ปริ ญญานิพนธ์ของ นวพร พงศ์อฉั ริ ยกุล 2531 เรื่ อง วิเคราะห์เนื้อหาของแบบเรี ยนทัศนศิลปศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1ในด้านความสอดคล้องกับหลักสูตรวิชาศิลปศึกษาชั้น มัธยมศึกษาตอนต้น พุทธศักราช 2521 หน้า 16 และพบว่า อารี สุทธิพนั ธ์ เป็ นผูร้ ่ วมเขียน แบบเรี ยน ทัศนศิลป์ ศึกษา ในปี พ.ศ. 2523 28
วิรุณ 2545หน้า 24
29
โดยในหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาศิลปะ นั้นมีเพียงรายวิชาสองรายวิชาเท่านั้นที่ใช้ชื่อทัศนศิลป์
30
คานี้ กระจายตัวได้รับความนิ ยมในการใช้เป็ นชื่ อหลักสู ตรเป็ นจานวนมาก จาการค้นชื่ อหลักสู ตรที่มีคาว่าทัศนศิลป์ ทั้งใช้เพียงคาเดี่ยวๆ และ ประกอบกับคาอื่นๆนั้นในหลักสู ตร ระดับอุดมศึกษาของรัฐ ทั้งที่ เป็ นหลักสู ตรที่ยงั ไม่ปรับปรุ งและหลักสู ตรที่ปรับปรุ งรวมกัน ในปี พ.ศ.2557 มีท้งั สิ้น 82 หลักสูตร ที่ สานักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรื อน(กพ.) รับรอง
26
กับพัฒนาการวิชาชีพในสังคมยิง่ ขึ้น บัดนี้หลักสู ตรดังกล่าวได้รับการอนุมตั ิเรี ยบร้อย แล้ว ทางภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม จึงขอใช้หลักสู ตรศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอก ออกแบบทัศนศิลป์ สาหรับปี การศึกษา 2536 ต่อไป31 เป็ นการหยุดการรับนิสิตในหลักสู ตรเดิมและเริ่ มหลักสู ตรใหม่ที่เป็ นวิชาชีพมากขึ้นกว่าเดิม ที่เป็ น เป็ นแบบทางกว้างแล้วนิสิตไปศึกษาในสิ่ งที่ตอ้ งการเอง ว่าตนเองสนใจในการประกอบอาชีพด้านใด โดย หลักสู ตรเดิมนี้ วิรุณ ตั้งเจริ ญ ได้ยอมรับว่า “ปัจจัยหลักของการขยายตัวของภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม” 32 แต่สาหรับหลักสู ตรใหม่น้ ี ได้ใช้ชื่อ “ทัศนศิลป์ ” ประกอบด้วยแต่เน้นการออกแบบ เพื่อการสื่ อสาร ออกแบบ ผลิภณั ฑ์ และการออกแบบแฟชัน่ ซึ่ งเป็ นการบอกว่าจะไม่ใช่การผลิตศิลปิ นทาง Fine Arts อีกต่อไปใน หลักสู ตรนี้ โดยมีการแยกสาขาที่เป็ น Fine Arts ออกเป็ นอีกหลักสู ตรหนึ่ง เป็ นจิตรกรรม ภาพพิมพ์ และ เครื่ องปั้ นดินเผา ในระดับปริ ญญาตรี เป็ นการแตกเพื่อสร้างฐานความเชียวชาญเฉพาะทางมากขึ้น 33การแตก ตัวของหลักสู ตรมากขึ้นในปี พ.ศ.2545 ได้ปรับหลักสู ตรการออกแบบทัศนศิลป์ ให้มีสองส่ วนคือ สาขาการ ออกแบบทัศนศิลป์ ที่มีสาขาย่อยสามสาขา และอีกสาขาหนึ่งคือสาขาการออกแบบสื่ อสาร แต่ที่สาคัญคือการ รวมสาขาย่อยทางทัศนศิลป์ ที่มีจิตรกรรม ภาพพิมพ์และเครื่ องปั้ นดินเผา รวมกัน ให้มีชื่อว่าสาขาศิลปะจินต ทัศน์ (Imaging Arts) โดยเป็ นการใช้ชื่อใหม่ที่ เป็ นพัฒนาการจาก “ทัศนศิลป์ ” ซึ่งจะให้ความหมายรวมถึง การศึกษาศิลปะในแบบหลังสมัยใหม่ดว้ ย การสร้างคณะศิลปกรรมในพื้นที่ของการศึกษาแบบพิพฒั นาการที่ได้สร้างกลุ่มคนทางศิลปะออกไป ทางานในสังคมไทยที่กาลังเปลี่ยนแปลง แต่การพัฒนาการของมหาวิทยาลัยและคณะศิลปกรรมที่เกิดขึ้นมา หลังจากยุบส่ วนงานที่เรี ยกว่า ภาควิชาศิลปวัฒนธรรม คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ และยุติการรับ นิสิตในสาขาวิชาเอกศิลปะ มาใช้หลักสู ตรใหม่แทนนั้น คณบดีคณะศิลปกรรมศาสตร์ ใน ขณะนั้นได้กล่าวถึงปั ญหาของการจัดการเรี ยนการสอนศิลปะที่ตอ้ งแก้ในการสร้างคณะศิลปกรรม 34ดังนี้ “คณะศิลปกรรมศาสตร์ ได้รับการสถาปนาขึ้นเมื่อวันที่ 16 มิถุนายน 2536ในช่วงเวลา นั้นเราย้ายไปอาคาร14(วงกลม)เพื่อรอให้อาคารคณะศิลปกรรมเสร็ จ อาคาร14ที่ไร้ ระบบขาดการดูแลเอาใจใส่ ได้สร้างปั ญหาการจัดการนิสิตรุ่ นแรกๆเป็ นอย่างมาก กอปรกับเป็ นช่วงเศรษฐกิจขาขึ้นคนหนุ่มสาวที่เป็ นผลพวงของความฟุ้ งเฟ้ อ รวมทั้ง ค่านิยมผิดที่สังคมมอบให้กบั นิสิตนักศึกษาที่เข้าศึกษาเล่าเรี ยน เสรี ภาพที่ขาดความ 31
หนังสื อที่ ทม 1003/1753 ลงวันที่ 31 สิ งหาคม 2535
32
วิรุณ 2545หน้า24
33
วิรุณ 2545 หน้า61
34
วิรุณ ตั้งเจริ ญ 2545 บทความเรื่ อง 9ปี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มศว 9ปี แห่ งการสร้างผูน้ าทางศิลปะ ในหนังสื อที่ระลึกโครงการศิลปกรรม ศาสตราวิชาการและงานสร้างสรรค์9ปี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มศว 9ปี แห่ งการสร้างผูน้ าทางศิลปะคณะศิลปกรรมศาสตร์ 2545 สันติสิริการพิมพ์ กรุ งเทพ
27
รับผิดชอบ ความไม่มีระบบระเบียบ ค่านิยมที่ตอ้ งนอนค้างในอาคาร การแต่งการที่ ต้องผิดปกติ การเรี ยนที่หลงผิดแต่เพียงการปฏิบตั ิ การรับน้องแบบอานารยชน ฯลฯ คงมิใช่เพียงค่านิยมของนิสิตเท่านั้นคณาจารย์ส่วนหนึ่งที่คุน้ ชินและมีตราบาป เหล่านั้นติดตัวมาก็เห็นพ้องต้องกันไปด้วย เหนื่อยมากกว่าค่านิยมเหล่านั้นจะลดลง วันนี้ตราบาปเหล่านั้นยังติดตัวนิสิตส่ วนหนึ่งเข้าสู่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ แม้จะเป็ น ส่ วนน้อย35 ถึงแม้วา่ สังคมโลกจะเปลี่ยนแปลงไปในเรื่ องอุดมการณ์ แต่การสถาปนาการศึกษาแบบพิพฒั นาการ นิยม นั้นกาลังเคลื่อนไหวอย่างมีชีวติ ชีวา และสามารถกาหนดลงไปในกฎหมายของของประเทศ ที่ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 แต่สาหรับการปฏิบตั ิแล้ว การศึกษาแบบพิพฒั นาการยังไม่ สามารถสร้างขึ้นให้เป็ นผลสาเร็ จอย่างกว้างขวางได้ในสังคมไทย โรงเรี ยนยังอยูใ่ นอานาจนิยม และ สังคมไทยที่ไม่เป็ นประชาธิ ปไตยได้อย่างสมบูรณ์แบบ36 การปรับตัวเป็ นคณะศิลปกรรมศาสตร์ มศว ประสานมิตร ในกระแสของโลกนั้นเป็ นช่วงที่ อุดมการณ์ฝ่ายตรงข้ามของอุดมการณ์ประชาธิ ปไตยแบบทุนนิยมเสรี เรี ยกว่ายุค “การสิ้ นสุ ดของ ประวัติศาสตร์ ”นั้น โลกเหลืออยูเ่ พียงแนวทางเดียว ซึ่ งไร้ทางเลือกโดยสิ้ นเชิง การเกิดขึ้นของการสร้างความ หลากหลายเชิงพหุ สังคมวัฒนธรรมเกิดขึ้น การหวนกลับไปหาแนวทางการรื้ อสร้างโครงสร้างต่างๆใหม่ การ เกิดขึ้นของทางเลือกต่างๆนั้นไม่ใช่เกิดขึ้นหลังการล่มสลายของอุดมการณ์ แต่มนั เกิดขึ้นมาอย่างอิสระและ ยาวนานพอๆกับอุดมการณ์ท้ งั สอง โดยกระแสของวิชาการในประเทศไทยได้มีกลุ่มคนที่เริ่ มใช่แนวทางที่ เรี ยกว่า หลังสมัยใหม่ (Post-Modern) นักสังคมศาสตร์ ในประเทศไทยกล่าว่า “ในสาขาศิลปะรู้จกั โพสต์ โมเดิร์นก่อนสังคมศาสตร์ อีก” คาว่าหลังสมัยใหม่37ถูกใช้ครั้งแรกโดยนักปรัชญาชาวฝรั่งเศสฌัง-ฟรังซัวร์ ไล โอตารด์ (Jean-François Lyotard) ที่มาของคาว่าหลังสมัยใหม่ก็มาจากชื่อหนังสื อของไลโอตารด์ที่ตีพิมพ์ใน ค.ศ. 1979 คือ “สภาวะหลังสมัยใหม่ : รายงานว่าด้วยความรู ้ (The Postmodern Condition : A Report on Knowledge)” ไลโอตาร์ ดเรี ยกร้องให้มนุษย์ปฏิเสธเรื่ องเล่าหลัก หรื อทฤษฎีต่างๆที่อา้ งความเป็ นสากลของ วัฒนธรรมตะวันตกสิ่ งสาคัญที่สุดที่ทาให้กล่าวกันว่าได้กา้ วเข้าสู่ ยคุ หลังสมัยใหม่ (postmodern era) คือ ความคิดที่วา่ สิ่ งที่เป็ นจริ ง (the real) กับสิ่ งที่ปรากฏ (apparent) นั้นอาจไม่ใช่เรื่ องเดียวกัน ซึ่ งพัฒนาการมา จากแนวความคิดของฟรี ดริ ช นิทซ์เชอ (Friedrich Wilhelm Nietzsche) ซึ่ งความคิดดังกล่าวเข้าไปมีอิทธิ พล ในวงการศิลปะในช่วงทศวรรษที่ 1920 ซึ่ งนักคิดหลังสมัยใหม่จะตั้งคาถามต่อสิ่ งที่เชื่อว่าเป็ นความจริ งที่เชื่อมี เพียงหนึ่งเดียวและพิสูจน์ได้ที่ในยุคสมัยใหม่เชื่อ โดยนามารื้ อสร้างและประกอบขึ้นในฐานะที่ต่างเป็ นเพียง “เรื่ องเล่าหลัก (meta-narrative)” ที่เกิดขึ้นมาจากข้ออ้างของความเป็ นสมัยใหม่ (modernity) ของแนวคิด สมัยใหม่ (modernism) 35
อ้างแล้ว วิรุณ ตั้งเจริ ญ 2545 หน้า91
36
หมายถึงมีการรัฐประหารขึ้นอีกหลายครั้ง และการปฏิรูปการศึกษาได้แค่เพียงการปรับโครงสร้างเท่านั้น
37
http://th.wikipedia.org/wiki/แนวคิดหลังยุคนวนิยม
28
การกล่าวถึงงานศิลปะว่าเป็ นส่ วนหนึ่งที่ก่อให้เกิดแนวทางของ หลังสมัยใหม่ เช่น บทนาในหนังสื อ The Order of Things ของมิเชล ฟูโก(Michel Foucault) ได้พดู ถึงภาพ "Las Meninas(1656)" ของดีเอโก้ เว ราซเควซ (Diego Velazquez) จิตกรชาวสเปนในศตวรรษที่ 17 ซึ่ งเป็ นการรื้ อสร้างระบบความสัมพันธ์ ระหว่าง”องค์ประธานว่าไม่ได้เป็ นอย่างที่เห็น”
"Las Meninas(1656)" ของดีเอโก้ เวราซเควซ (Diego Velazquez)
กลุ่มนักสังคมศาสตร์ บางกลุ่มก็ใช้งานศิลปะเป็ นวัตถุในการวิเคราะห์และอธิ บายถึงแนวคิดหลัง โครงสร้างนิยมได้อา้ งถึงผลงาน Fountainของ Marcel Duchamp ว่า ตัวหมาย กับสิ่ งที่หมายไม่ใช่เป็ นเรื่ อง เดียวกัน โดยนักภาษาศาสตร์ชาวสวิสต์ชื่อ Ferdinand de Saussure ซึ่ งต่อมามีการหยิบยกภาพกล้องยาสู บที่ มีคาอธิ บายใต้ภาพว่านี่ไม่ใช่กล้องยาสู บ วาดโดย Rene Margritte (The Treachery of Images, 1929) มา อธิบาย เรื่ องหลังโครงสร้างนิยม
Fountainของ Marcel Duchamp
29
Rene Margritte (The Treachery of Images, 1929) อารี หลังจากหมดภาระในชีวติ ราชการแล้วแต่ยงั คงเป็ น “ครู อารี ” ที่คิดและสร้างสิ่ งใหม่อยูเ่ สมอ ไม่ได้ยดึ ติดกับ อดีตที่ตนเองประสบความสาเร็ จและสร้างขึ้นมา ตามที่อารี ได้พดู เสมอว่า “ไปที่แท่นบูชาอย่า นาเอาขี้เถ้ากลับมา จงเอาเปลวไฟในอดีตส่ องทาง” ดังนั้นในปั จจุบนั นี้ อารี สอน หรื อพูดคุยเรื่ องศิลปะ เราจะ พบว่า ความคิดของอารี ได้กา้ วไปอีกพื้นที่หนึ่งคือ ในงานวิชาการที่เรี ยกว่า Visual Literacy ดังเช่นอารี ได้ให้ สัมภาษณ์ดงั นี้ ขณะนีผ้ มคิดวิชาใหม่ ขึน้ มา ก็บอกว่ าใครจะเอา ผมจะไปสอนให้ Visual Thinking, Visual Art และตอนนี ้ Visual Thinking สอนให้ เลย ความคิดเห็น เพราะฉะนั้นความ คิดเห็นผมก็มนั วิเคราะห์ ว่า หนึ่ง ถ้ าเราทราบ Intuitive Thinking เราทราบ Reflexive Thinking เราก็ต้องมาเป็ น Creative Thinking และ Creative Thinking ก็จะมีวิธีการใช้ 6วิธีการ อยู่ด้วยกัน หนึ่ง เอา ความเร็ วใส่ สอง เปลี่ยนมุมมอง สาม แบ่ งให้ เท่ าๆกัน สี่ สกัดเอาสาระออกมา ห้ า เพิ่ม เข้ าไปหก ทาลาย รู้ สึกจะเขียนไว้ ในหนังสื อผมนะ ทาโดยใช้ แนวคิดของ Pragmatism ที่ว่า เป็ นไป ได้ หรื อไม่ ถ้ าเป็ นไปได้ อะไรมันเกิดขึน้ เกิดขึน้ แล้ วคุมมันได้ หรื อไม่ คุมแล้ วเอาไปทา อะไรได้ เอาไปทาประโยชน์ กับใคร ประโยชน์ ส่วนตัวหรื อประโยชน์ ส่วนรวม ทา ประโยชน์ แล้ ว สร้ างเป็ นองค์ ความรู้ ได้ หรื อไม่ ได้ สามารถพัฒนาต่ อไปได้ หรื อไม่ นี่คือ แนวคิดตรงที่เห็นนี่ล่ะ พอเข้ าใจนะ ส่ วนใหญ่ เค้ าจะไม่ คิดกัน (สัมภาษณ์ อารี สุ ทธิพนั ธุ์ 8 กันยายน พ.ศ. 2557)
30
ห้องทางานของ อารี ที่ตึก 4 ภาควิชาศิลปะและวัฒนธรรม
พื้นที่ทางศิลปะจะไม่มีพรมแดนระหว่างศาสตร์ ต่างๆอีกต่อไป ศิลปะเคยก้าวล่วงไปในศาสตร์ อื่นมา อย่างยาวนาน บัดนี้ ศาสตร์ ต่างๆกลับมาใช้พ้นื ที่ทางศิลปะในการวิพากษ์สรรพสิ่ ง รวมถึงนักวิชาการหลาย สาขากาลังสนุกสนานกับพื้นที่ใหม่ๆ ที่เรี ยกว่า “ผลงานศิลปะ” ถ้าเรายังไม่รีบสร้างพื้นที่ของประสบการณ์ ขึ้นมาในกระแสความเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ การตกเป็ นเหยือ่ ของกาลเวลาย่อมก้าวเข้ามาในไม่ชา้ 5. บทสรุ ป: การวาดภาพคนจากข้ างนอกเข้ าข้ างใน อารี สุ ทธิ พนั ธุ์ เป็ นคนหนึ่งที่สร้างความรู ้ทางศิลปะในกลุ่มแนวคิดแบบ “พัฒนาการนิยม” ที่เป็ น ส่ วนหนึ่งของอุดมการณ์การประชาธิ ปไตย ในช่วงสงครามเย็น นัวว่า อารี ได้เป็ นปั ญญาชนคนหนึ่งที่มี บทบาททางสังคมศิลปกรรมในประเทศไทย ที่เสนอทางเลือกรสนิยมทางศิลปะใหม่ แต่บางบริ บท อารี ก็ ถึงกับต่อสู ้กบั แนวคิด ดั้งเดิม หลายคนจดจาอารี ในบทบาทขอครู ศิลปะ ซึ่ งเป็ นพื้นที่ที่อารี ได้ครอบครองมา ย่างยาวนาน จนถึงทุกวันนี้ การสร้างคาที่มีพลังอานาจทางศิลปะ คือคาว่า “ทัศนศิลป์ ” ให้สังคมไทย ซึ่ งคานี้ มีความชัดเจนในวิธีวทิ ยาของการหาความรู ้ และการสร้างความจริ งทางศิลปะ ว่าสามารถวัดและประเมินผล ได้ ทาให้การศึกษาศิลปะมีความน่าเชื่อถือในสังคมวิทยาศาสตร์ เป็ นใหญ่ที่มีกลุ่มคนที่เรี ยกว่า “นักเทคโน แครต (technocrat)”ที่มีอานาจในการสร้างความจริ งให้กบั สังคมไทยในช่วงสงครามเย็น อุดมการณ์ของอารี กล่าวได้วา่ ประสบความสาเร็ จเป็ นอย่างดี ในวงวิชาการศึกษาสาขาศิลปศึกษา (Art Education) และคาว่าทัศนศิลป์ ได้ไปปรากฏในพื้นที่การศึกษาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตราบจนทุก วันนี้ กลุ่มลูกศิษย์ได้กลายเป็ นกลุ่มปั ญญาชน ในการเสริ มสร้างอุดมการณ์ให้เข้มแข็งเป็ นอย่างมากในพื้นที่ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ต่างๆ และในโรงเรี ยน สามารถเปลี่ยนการเรี ยนการสอนที่เน้นทักษะมาเป็ นการ เรี ยนการสอนที่เน้นพัฒนาการตามวัย และศิลปะที่มองเห็น อารี ได้สร้างหลักสู ตร การศึกษาบัณฑิตสาขา ศิลปศึกษาขึ้นเพื่อสร้างเผยแพร่ อุดมการณ์ออกไปเป็ น จานวนมากตราบจนปั จจุบนั นี้ แต่แล้วด้วยสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงหน่วยงานที่อารี สังกัดได้ปรับตัวจาก วิทยาลัยวิชาการศึกษาที่มุ่งเน้นการผลิตครู ได้กลายเป็ นมหาวิทยาลัย และต้องมีการสร้างหลักหลักสู ตรที่
31
ไม่ใช่การศึกษาขึ้นมาอีกด้วย อารี จึงได้สร้างหลักสู ตร ศิลปศาสตรบัณฑิตวิชาเอกศิลปะ ขึ้นมาอีกหลักสู ตร หนึ่งในพื้นที่อุดมการณ์ของอารี ที่เชื่อมัน่ ในความสามารถของมนุษย์ที่จะสร้างความรู ้และหาความจริ งได้ ด้วยวิธีการทางปัญญา กลุ่มคนที่เป็ นผลผลิตจากฐานแนวคิดการศึกษาแบบพิพฒั นาการ ภายใต้อุดมการณ์ของอารี สุ ทธิ พันธุ์ นั้น แตกต่างจากผูเ้ รี ยน “ศิลปศึกษา” เป็ นอย่างมาก ทั้งวิธีการสอนและการจัดการประสบการณ์ และ พื้นที่ของความรู ้ ความสงสัยที่เป็ นคาถามมาตลอดในช่วงครึ่ งแรกของหลักสู ตรนั้น เป็ นคาถามที่ว่า “เรี ยน แล้ วจะไปทางานอะไรได้ บ้าง” แม้คากล่าวที่เขียนในประวัติพฒั นาการของคณะศิลปกรรมศาสตร์ เขียนไว้วา่ เป็ นการผลิตบัณฑิตเพื่อเป็ นนักออกแบบการสื่ อสาร แต่เป็ นการอธิ บายในระยะหลังเท่านั้น เพราะว่า โครงสร้างของหลักสู ตรและวิธีการสอนในระยะแรกไม่มีแนวทางดังกล่าว แต่หลักสู ตรได้ผลิตบัณฑิตที่ในช่วงเวลาที่เหมาะสมกับความเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างสังคมไทยที่ ต้องการคนที่แตกต่างจากเดิมไม่ใช่คนที่มีเพียงทักษะเท่านั้นแต่เป็ นคนที่สามารถจัดการประสบการณ์เพื่อ สร้างความรู ้ของตนเองได้ ซึ่ งมีอาชีพใหม่ๆที่เกิดขึ้นในสังคมไทยที่กาลังต้องการ ไม่ใช่การผลิตเพื่อรับ ราชการและการเป็ นครู ศิลปะเท่านั้น อุดมการณ์แบบอารี สุ ทธิ พนั ธุ์ได้จดั ประสบการณ์ให้กบั ผูค้ นเหล่านี้ ในรู ปแบบงานศิลปะที่เป็ น ข้อตกลงระหว่างผูเ้ รี ยนกับผูส้ อนว่า เราจะเรี ยนกันในศิลปะที่มองเห็นเท่านั้น และเรี ยกสิ่ งนั้นว่า “ทัศนศิลป์ ” และทัศนศิลป์ ของอารี น้ นั ไม่ใช่แค่ทกั ษะการสร้างภาพที่มองเห็นได้ แต่เป็ น ทักษะทางปั ญญาในการเห็นภาพ อย่างวิพากษ์ดว้ ย ที่เรี ยกว่า “ทัศนปัญญา(Visual literacy)” สอดคล้องการแนวทาง วัฒนธรรมทัศน์ (Visual culture) ที่วพิ ากษ์สื่อหรื อภาพในประเด็น อานาจ อัตลักษณ์ และความไม่เท่าเทียม ฯลฯ คนที่จะมีความรู ้ทาง ทัศนปัญญาได้ตอ้ งมีความรู้ที่หลากหลาย แบบ “หลักสู ตรศิลปะ” ที่อารี สุทธิ พนั ธุ์ได้สร้างขึ้น หลักสู ตรนี้ได้ดาเนินการผลิตบัณฑิตมาได้ 16 รุ่ นและยุดรับนิสิตเข้าศึกษาในปี การศึกษา พ.ศ. 2536 แต่หลักสู ตรที่ใช้แทนนั้นยังคงวัตถุประสงค์ในการผลิตบัณฑิตตามเดิมและที่สาคัญกลไกทางอุดมการณ์อารี ยังคงปรากฏอยูใ่ นการเรี ยนการสอนสื บเนื่องมาจนทุกวันนี้ ถึงแม้ อารี จะตกอยูภ่ ายใต้กลไกทางอุดมการณ์หนึ่งที่เรี ยกว่า การศึกษาแบบพิพฒั นาการ แต่อารี ได้ กลายมาเป็ นองค์ประธานในการจัดการกลไกนั้นเพื่อสร้างพื้นที่ทางสังคมให้ผคู ้ นมีอิสรภาพ “ไม่ใช่สัตว์เลี้ยง แสนเชื่อง หรื อหมาล่าเนื้อที่เมื่อหมดประโยชน์เจ้าของต้องยิงทิ้ง”
32
หมายเหตุ บทความนี้เขียนขึ้นเพื่อ ตอบคาถามกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่เป็ นผลผลิตของกลไก อุดมการณ์แบบอารี สุทธิ พนั ธุ์ ที่กาลังจะรวมตัวกันประกาศ แนวคิดทัศนศิลป์ และ สาน ต่อแนวความคิดไปสู่ สังคม ว่าแนวคิดที่กาลังจะใช้ดาเนินการนั้น คืออะไร และเป็ น ส่ วนหนึ่งส่ วนใดของกระบวนการความคิดที่เกิดขึ้นในสังคมโลกที่มนุษย์สร้างขึ้น เพื่อ ไม่ให้ตกเป็ นเหยือ่ ของโครงสร้างที่ครอบงาอย่างไม่เข้าใจ ขอบคุณ อรพรรณ, อุรชา, สุ ภฏั ,สมชาย และพี่นอ้ งทุกท่านที่ช่วยให้บทความนี้ สาเร็ จ แม้วา่ บทความนี้จะดูเหมือนว่ามันยังไม่จบดีนกั ซึ่ งต้องมีบทสรุ ปทางวิชาการ อีกส่ วนหนึ่ง ในอนาคตบทความนี้จะส่ งเข้านาเสนอในวงวิชาการและตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อไป