หนังสือคู่มือ1

Page 1


สารบัญ คํานํา ชีวประวัติหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย

1

ประวัติพระญาณวิลาศ (เจาอาวาสวัดเขาสุกิม)

5

ความเปนมาของวัดเขาสุกิม จันทบุรี

7

ที่อยู แผนที่ และขอมูลติดตอ วัดเขาสุกิม

9

แผนที่ทองเที่ยววัดเขาสุกิม

10

12 สถานที่สําคัญภายในวัดเขาสุกิม

11


หนังสือเลมนี้จัดทําขึ้น เพื่อเปนคูมือใหแกกลุมนักทองเที่ยวที่เดินทางมา ทองเที่ยวยังวัดเขาสุกิม จันทบุรี ซึ่งเนื้อหาภายในเลมจะประกอบไปดวยขอมูล บรรยายเกี่ยวกับประวัติของหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ผูกอตั้งวัดเขาสุกิม พระญาณวิลาศ (บุญ สิริปุญโญ ) เจาอาวาสวัดเขาสุกิม ตลอดจนขอมูลแนะนํา เกี่ยวกับสถานที่สําคัญภายในวัด เชน โบสถจตุรมุข , ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ ซึ่งจะทําใหนักทองเที่ยวไดทราบความเปนมาและความสําคัญของแตละสถานที่ อันเปนสิ่งที่มีคุณคาและควรแกการอนุรักษตามเจตจํานงของหลวงปูที่ไดเก็บรักษา ไวใหสือทอดตอรุนลูกรุนหลานสือตอไป


หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานเปนชาวจังหวัดรอยเอ็ด เกิดเมื่อวันที่ 7 เมษายน 2468 ตรงกับวันอังคารขึ้น 15 ค่ํา เดือน 5 ปฉลู เวลาเที่ยงวัน ณ หมูบานเหลางิ้ว ตําบลจังหาร อําเภอจังหาร จังหวัดรอยเอ็ด ในตระกูลที่เปนชาวฮินดู หลวงปูสมชายเปนบุตรคนที่ 2 บิดาชื่อนายสอน มติยาภักดิ์ มารดาชื่อนางบุญ มติยาภักดิ์ มารดาของทานเปนบุตรีคนเล็ก ของคุณหลวงเสนา ผูนําศาสนาฮินดูในทองถิ่นนั้น หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานมีพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกันเพียง 2 คน คือ 1. นายหนู มติยาภักดิ์ 2. สมชาย มติยาภักดิ์ วันที่หลวงปูสมชายกําเนิดนั้นเปนวันตรงกับเวลาประกอบพิธีทางศาสนา พอเริ่มขบวนแห มารดาของทาน ก็ใหกําเนิดทานซึ่งทําใหพิธีการทางศาสนาที่กําลังกระทําอยูตองหยุดชะงักลง ดวยนิมิตหมายอันนี้ คุณตาหรือคุณหลวงเสนา จึงไดทํานายไววา "หลวงปูสมชาย จะเปนผูเปลี่ยนแปลงศาสนาเดิมของตระกูล" และก็เปนไปตามนั้น เพราะทานมีความสนใจในธรรมะทางพระพุทธศาสนา ทานชอบอานหนังสือ เกี่ยวกับพระพุทธศาสนามาก โดยทานมีอุปนิสัยในทางธรรมตั้งแตอายุ 16 ป ทานไดใชชีวิตอยูในทาง ฆราวาสจนถึงอายุ 19 ป

การบรรพชา-อุปสมบท หลวงปูสมชายไดเดินทางไปฝากตัวเปนศิษยกับทานอาจารยเพ็ง วัดปาศรีไพรวัลย อยูฝกฝนอบรม พอสมควรจึงไดบรรพชาเปนสามเณร ณ วัดเหนือ อําเภอเมือง จังหวัดรอยเอ็ด มีทานเจาคุณพระโพธิมุนี เจาคณะจังหวัดรอยเอ็ด ธรรมยุตเปนพระอุปชฌาย วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2487 ตรงกับวันจันทรขึ้น 15 ค่ํา เดือน 7 ปวอก พํานักจําพรรษา ณ วัดปาศรีไพรวัลย 1 พรรษา ขณะนั้นทานมีอายุประมาณ 19 ป


ในระหวางที่จําพรรษาอยูไดยินกิตติศัพทวา หลวงปูมั่น ภูริทตฺตเถร "เปนพระอรหันตผูหมดจด จากกิเลส" ใครจะไดเห็นพระอรหันตขีณาสพในสมัยปจจุบัน จึงกราบลาทานอาจารยและติดตาม พระอาจารยปอง จนฺทสาโร และคณะ 4 – 5 รูป เดินทางมุงสูสํานักหลวงปูมั่น จนลุถึงเขตสาขาสํานัก หลวงปูมั่นคือ สํานักทานอาจารยกู วัดปาบานโคกมะนาว ซึ่งเปนสํานักหนาดานอยูรอบนอก จึงไดอยู ฝกฝนอบรมจิตใจและมารยาท เมื่อสมควรแลวไดพากันไปมอบกาย ถวายตัวเปนลูกศิษยหลวงปูมั่น เมื่อปลายป พ.ศ. 2487 ที่วัดปาหนองผือ ตําบลนาใน อําเภอพรรณานิคม จังหวัดสกลนคร ขณะที่ยังเปนสามเณรอยู หลังจากเขาไปมอบกายถวายตัวเปนลูกศิษย ภูริทตฺตเถรแลว ทานก็ไดตั้งใจศึกษาธรรมะขอวัตรปฏิบัติทั้งปวง เมื่อเห็นวาจวนจะถึงฤดูกาลพรรษาจึงไดกราบลาหลวงปูมั่น ออกไปบําเพ็ญและจําพรรษา อยูกับทานพระอาจารยกงมา จิรปุญโญ วัดดอยธรรมเจดีย อ.เมือง จ.สกลนคร ที่สํานักหลวงปูมั่น เมื่อป พ.ศ. 2488 เพื่อคอยเวลาไปศึกษาธรรมะในโอกาสตอไป เมื่อทาน อาจารยอายุครบ 20 ป พอที่จะทําการญัติติจตุตถกรรมเปน พระภิกษุในบวรพระพุทธศาสนาไดแลว หลวงปูมั่น ภูริทตฺตเถร ก็ได มอบผาสังฆาฏิใหผืนหนึ่ง มีขันธ 11 ขันธ ชอน-สอม ทองเหลือง 1 คู รวมในการอุปสมบท หลวงปูสมชายเห็นวาเปนผาของครูบาอาจารยที่ทานเคยใชมาแลว ลูกศิษยไม ควรเอามาใช เพราะจัดอยูในประเภทบริโภคเจดียควรแกการกราบไหวสักการบูชาแกศิษยานุศิษย ทานจึง เก็บเอาไว หลวงปูมั่นไดทราบเจตนาจึงไดสั่งใหคุณแมนุม ชุวานนท ซึ่งเปนโยมอุปฏฐากของทานที่สําคัญ คนหนึ่งจัดการหาผาสังฆาฏิใหมมาถวาย เมื่อจัดบริขารทุกอยางเรียบรอยแลว หลวงปูมั่นไดสั่งใหทานเจาคุณพระธรรมเจดีย (จูม พนฺธุโสเถร) เปนพระอุปชฌาย หลวงปูฝน อาจาโร เปนพระกรรมวาจาจารย สั่งใหทานพระ อาจารยกงมา จิรปุญโญ เปนพระอนุสาวนาจารย ทําการอุปสมบทกรรม ณ พัทธสีมา วัดศรีโพนเมือง อ.เมือง จ.สกลนคร โดยมีหลวงปูฝน อาจาโร เปนเจาอาวาส


หลังจากการไดรับอุปสมบท หลวงปูสมชายไดออกบําเพ็ญสมาธิ

แสวงหาโมกขธรรมโดยตั้งใจประพฤติปฏิบัติธรรมตลอดมาเพื่อพิสูจนความจริง ในพระศาสนาซึ่งทานไดออกเดินทางไปกรรมฐานในภาคเหนือและภาคอีสาน ผานเกือบทุกจังหวัด รวมทั้งยังขามไปในเขตประเทศลาวและประเทศพมา การเดินธุดงคปฏิบัติกรรมฐานของทานนั้น ทานเปนพระที่ปฏิบัติอยางจริงจัง เด็ดเดี่ยว และประกอบดวยเคยมีบารมีมาแตกอน ทานจึงเปนพระ ที่มีบุญญาอภินิหารมากมาย ชาวบานตางพากันเลื่อมใสศรัทธา เมื่อครั้งทานไดเดินทางกลับมาพักที่ อ.หัวหิน จ.ประจวบขีรีขันธ มีลูกศิษยของอาจารยทานหนึ่ง แนะนําวาจังหวัดจันทบุรีเปนสถานที่ประกอบพรอมไปดวยสัปปายะ มีสถานที่ที่สงบและมีบริเวณ หลายแหงเหมาะแกการบําเพ็ญภาวนา หลวงปูจึงตกลงใจมาจันทบุรีเพื่อทดลองดู เมื่อ พ.ศ. 2504 และจึงนํามาสูการกอตั้งวัดเขาสุกิมตอมา

มรณภาพ

เมื่อหลวงปูสมชายทานไดพัฒนากอตั้งวัดเขาสุกิมแหงนี้เรื่อยมานับตั้งแตอดีตจนทําใหวัดเขาสุกมิ

ในวันนี้กลายเปนวัดที่ใหญและเจริญมากมีประชาชนมากมายเดินทางเขามาเที่ยวชม นอกจากนีไ้ มเพียงแต หลวงปูสมชายทานจะไดมีการกอสรางพัฒนาวัดเขาสุกิมเทานั้น แตทานยังไดพัฒนาสถานที่ภายนอกวัดอีก มากมาย ไมวาจะเปนโรงพยาบาล โรงเรียน ทุนการศึกษา การแจกจายเครื่องอุปโภค บริโภคแกชาวบาน และในถิ่นทุรกันดาร ฯลฯ ทั้งในจังหวัดจันทบุรีและที่จังหวัดอื่น ๆ อยางมากมาย สวนที่เปนศาสนวัตถุที่หลวงปูสมชายทานไดมีดําริและมีความปรารถนาแรงกลาที่จะสรางใหเปน ศาสนสมบัติคูบานคูเมืองอีกอยางหนึ่งนั่นก็คือ พระมหาเจดียที่มีนามวา “บูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี” ซึ่ง ขณะนี้กําลังกอสรางอยูทางภูเขาดานทิศตะวันออกของวัดเขาสุกิม โดยหลวงปูส มชาย ฐิตวิรโิ ย ทานไดเลือก สรางพระมหาเจดียแหงนี้ใหเปนแบบสถาปตยกรรมสมัยยุครัตนโกสินทร โดยเลือกวางหลักปกฐานสรางอยู ทางดานทิศตะวันออกของตัววัดเขาสุกิม ซึ่งสูงจากพื้นราบประมาณ 99 เมตร


โดยแบบเจดียที่จะสรางนั้นจะมีความสูงจากฐานพระเจดียถึงยอดรวม 119 เมตร โครงสรางฐานกวาง 99 เมตร แบงเปน 7 ชั้น รอบองคพระเจดียจ ะประดิษฐานพระพุทธรูปจํานวน 84,000 องค เทากับ จํานวนพระธรรมขันธดวย พระมหาเจดีย “บูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี” แหงนี้หลวงปูทานไดมีดําริจะ สรางขึ้นเพื่อใชเปนสถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินออนกับ พระพุทธรูปางประทานพร 101 องค เปนพิพิธภัณฑเก็บอัฐบริขาร และยังใชเปนสถานที่ปฏิบัติธรรม ของพุทธบริษัทสี่อีกดวย แลวเมื่อมาถึงตนป พ.ศ. 2548 ในขณะที่กําลังวางโครงการที่จะเริ่มกอสรางพระมหาเจดียแหงนี้ อยูนั้นหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานก็ไดอาพาธดวยโรคไตวายเรื้อรังอยางตอเนื่องมากอนหนานี้ถึง 4 ป จนตองสงเขารักษาตัวทีโ่ รงพยาบาลวิชัยยุทธเปนการเรงดวน จนเมื่อวันเสารที่ 18 มิถุนายน พ.ศ. 2548 ขึ้น 12 ค่ําเดือน 7 ประกา เวลา 10.40 น. หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย หรือ พระวิสุทธิญาณเถระ (สมณะศักดิ์ของหลวงปูในสมัยนั้น) ก็ไดมรณภาพลง ดวยอาการไตวายฉับพลัน ซึ่งหลังจากหลวงปูสมชายไดมรณภาพลงแลวในชวงเชาของวันเสารที่ 15 เมษายน 2549 ซึ่ง พระอาทิตยโคจรเคลื่อนเขาสูราศีเมษ ทางวัดเขาสุกิมจึงไดสานตอเจตนารมณของหลวงปูสมชายตอไป โดยเริ่มทําการตอกเสาเข็มวางศิลาฤกษการกอสรางพระมหาเจดียบรู พาฐิตวิริยาประชาสามัคคีมานับจาก วันนั้น


เจาคุณพระญาณวิลาศ

เดิมทานชื่อ บุญ ทาศรี เกิดเมื่อวันที่ 14 มกราคม 2491 ตรงกับวันศุกร ขึ้น 1 ค่ํา เดือน 2 ปชวด ที่บานกองโค ต.อรุม อ.พิชัย จ.อุตรดิตถ เปนบุตรของนายมั่ง และ นางลออ ทาศรี มีพี่นองทั้งหมด 9 คน โดยทั่วไปทานมีนิสยั โอบออมอารี ชอบชวยเหลือ ผูอื่นเสมอ และมีความศรัทธาในบวรพระพุทธศาสนา ทานมีความเลื่อมใสในองคหลวงปูส มชาย ฐิตกิรโิ ย จึงได เดินทางมาที่จังหวัดจันทบุรี ตามคําแนะนําบอกกลาวของ ญาติผูใหญ ซึ่งอยูที่จังหวัดจันทบุรีและไดทําการบรรพชา อุปสมบทที่วัดจันทนาราม อ.เมือง จ.จันทบุรี (ธรรมยุต) เมื่อวันที่ 11 กรกฎาคม 2516 โดยมีพระศรีวสิ ุทธินายก (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) ปจจุบันคือพระเทพสารสุธี เจาคณะจังหวัดจันทบุรี เปนพระอุปชฌาย ทานมีความ ชํานาญในดานนวกรรมการกอสราง เครื่องจักรกลวางแผน ออกแบบโครงการตางๆ ตัดเย็บจีวร และบมบาตร เปนตน เมื่อครบ 4 พรรษา ทานไดรับแตงตั้งใหเปนผูดูแลสํานักสงฆแหลมเสด็จ ดํารงตําแหนงอยู 1 ป พรรษาที่ 5 ทานไดรับมอบหมายจากหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ใหมารักษาการหัวหนาสํานักสงฆเนินดินแดง อยูจําพรรษาจนถึงพรรษาที่ 9 หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานไดเมตตาใหเขามาชวยงานที่วัดเขาสุกิม และ ดวยความขยันหมั่นเพียร มีความวิริยะอุตสาหะปฏิบัตดิ ีปฏิบตั ิชอบมาโดยตลอด หลวงปูสมชาย ฐิตวิรโิ ย จึงเสนอเจาคณะจังหวัดแตงตั้งเปนเจาอาวาสวัดเขาสุกมิ ตั้งแตป พ.ศ.2526 เปนตนมา ดวยความสามารถ ในดานการปกครอง การเผยแผ การพัฒนา การบําเพ็ญประโยชน และดานอื่นๆ ทานจึงไดรับ การโปรดเกลาฯ แตงตั้งเปนพระราชาคณะมีราชทินนามที่ "พระญาณวิลาศ" ในป พ.ศ.2535 และทาน ยังไดรับการแตงตั้งใหเปน เจาคณะตําบลเขาบายศรี และเจาคณะอําเภอทาใหม - นายายอาม (ธรรมยุต) จังหวัดจันทบุรีในเวลาตอมา


ทานไดสนองงานของครูบาอาจารย รับภารธุระพระพุทธศาสนามาตลอดโดยเฉพาะการสานตอ

ปฏิปทาของหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ในการดําเนินการกอสราง "เจดียบูรพาฐิตวิริยา ประชาสามัคคี" ซึ่ง ปจจุบันไดดําเนินการกอสรางถึงชั้นที่ 2 แลว ทานไดพัฒนาวัดเขาสุกิมจนเปนวัดที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักของ สาธุชนทั่วไป มีผลงานเปนที่ประจักษมากมาย อาทิ ทานไดพัฒนาวัดจนทางวัดไดรับรางวัลตางๆ เชน "วัดพัฒนาตัวอยาง" "วัดอุทยานการศึกษา" "วัดพัฒนาตัวอยางดีเดน" และเปน "ศูนยพัฒนาจิตเฉลิม พระเกียรติ" ป พ.ศ.2545 เปน "ศูนยปฏิบัติธรรมประจําจังหวัดแหงที่ 1" พรอมทั้งงานดาน การสงเคราะหบําเพ็ญประโยชน, การเผยแผ, การสงเสริมการบรรพชาและอุปสมบท และใหมีการปฏิบัติ บําเพ็ญภาวนา ทําใหวัดเขาสุกิมมีความเจริญมีการขยายสาขาวัดไปทั่วประเทศถึง 61 สาขา และมี คุณความดีอีกนานัปการ ทานพระญาณวิลาศ ทานเปนพระมหาเถระผูเพียบพรอมดวยศีลาจารวัตรอันดีงามมีความตั้งใจ เสียสละ ทุมเท และอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและประเทศชาติ มาเปนระยะเวลานาน อันกอใหเกิด ประโยชนตอสังคมทั่วไปอยางเห็นไดชัด ทานจึงไดรับการถวายรางวัลพุทธคุณูปการกาญจนเกียรติคุณ เพื่อยกยองเชิดชู และประกาศเกียรติคุณใหปรากฏแผไพศาล จากคณะกรรมาธิการศาสนา ศิลปะและ วัฒนธรรม สภาผูแทนราษฎร เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2553 จากผลงานอันทรงคุณคาของทานที่เพิ่มขึ้น ตามลําดับนั้น ทําใหคณะบุคคลสถาบันการศึกษา ตางๆ ไดยกยองเชิดชูเกียรติของทาน โดยเมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2553 ที่ผานมา ทางสภา การศึกษา มหามกุฏราชวิทยาลัย ไดประชุมและมี มติเปนเอกฉันทเห็นสมควรถวายปริญญา ศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชา พุทธศาสตร แดทานพระญาณวิลาศ


ใน ป พ.ศ. 2509 พันโทสนิท พรอมดวย

คุณนายประนอม บูรณะคุณและคุณรัตนา เอกครพานิช ไดมีจิตศรัทธา บริจาคที่ดิน จํานวน 6 ไร 50 ตารางวา ถวายเพื่อสรางวัด ตอจากนั้น ประชาชนชาวบานไดเขามาสนับสนุน สงเสริมดานตาง ๆ เพิ่มมากขึ้น เปนตนวาไดชวยกัน บริจาคทุนทรัพยในการสรางกุฎิกรรมฐานขนาดเล็กขึ้นจํานวนหลายหลัง เพื่อทดแทนกุฏิชั่วคราวที่ได จัดสรางไวในครั้งแรกทีไ่ ด ชํารุดทรุดโทรมลงไปและไดทําการปลูกสรางสิ่งอํานวยความสะดวกดานอื่นๆ อีก หลายอยางเพื่อถวายแกพระภิกษุ สามเณรและผูปฏิบตั ิธรรม

ในระยะเวลาตอมา กุฏิกรรมฐานขนาดเล็กก็ไดพัฒนาขึ้นเปนกุฏิกรรมฐานขนาดถาวรขนาด สองชั้นมี ทางเดินจงกรมยาว 25 กาว ทั้งชั้นลางและชั้นบน ตลอดระยะเวลาที่หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ไดกาวขึ้นมา บนภูเขาสุกิมแหงนี้ นับเปนระยะเวลาถึง 30 ปเศษ ( 2507-2543 ) หลวงปูทานเปนผูบุกเบิกริเริ่ม และ สรางสรรคภูเขาซึ่งเปนปาดงดิบ ใหเปนวัดที่รมริ่น เปนสถานที่ปฏิบัติธรรมของพระภิกษุสาม เณรและผูที่ สนใจปฏิบัติกรรมฐาน เปนสถานที่ทัศนาการของประชาชนทั้งชาวไทยและชาวตางประเทศ วัดเขาสุกิมได พัฒนา ขึ้นมาอยางชาๆ แตทุกสิ่งทุกอยางที่เกิดขึ้น ไดแก ศาสนสถาน ศาสนสมบัติ ศาสนวัตถุ เชน เสนาสนะ กุฎิ อาคาร สิ่งของตางๆ และวัตถุโบราณตางๆ ทีม่ ีอยูในวัดเขาสุกิมทั้งหมดนั้นเกิดขึ้นดวย บุญญาบารมีของหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทั้งสิ้น กลาวคือทุกสิ่งทุกอยางเกิดขึ้นดวยพลังศรัทธาของ ประชาชนที่มีความเคารพนับถือเลื่อมใสพิจารณาแลวจึงไดเสียสละทุนทรัพยจัดสรางและบริจาคสิ่งของ สนับสนุนเปนประจําวันมิไดขาดทุกสิ่งทุกอยางเกิดขึ้นจากผูที่มีศรัทธานํามาถวายทั้งสิ้น


วัดเขาสุกิมมีเนื้อที่ในการขออนุญาตสรางวัด จํานวน 6 ไร 50 ตารางวา มีเนื้อที่เปนของวัด 3,344 ไร ตอมาไดยกที่ใหโรงเรียนมัธยมวัดเขาสุกิม 50 ไร และโรงพยาบาลวัดเขาสุกมิ 14 ไร จึงเหลือ เนื้อที่ของวัด 3,280 ไร หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ไดเริ่มบุก เบิก จนเปนที่รูจักของผูปฏิบัติธรรมและสาธุชน ทั่วไปเปนที่ศักดิส์ ิทธิ์ เปนสถานทีม่ ีความสําคัญอีกแหงหนึ่งของจังหวัดจันทบุรี ในแตละวันที่วัดเขาสุกิมจะมีสาธุชน เดินทางไปกราบนมัสการ หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย เปนประจํา มิไดขาดทั้งประชาชนในทองถิ่นและ ตางจังหวัด ตลอดจนทั้งชาวตางประเทศ บุคคลที่ไปนั้นไมเฉพาะพุทธศาสนิกชน เทานั้น ศาสนิกในศาสนา อื่นก็ไดไปเยี่ยม นมัสการอยูเ ปนประจํา เชน ศาสนาคริตส อิสลาม ซิกส เปนตน หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานไดจดั ระบบการบริหารการปกครอง เปนไปตามระเบียบแบบแผนของ กรมการศาสนาและมหาเถรสมาคม คือ ทานไดแตงตั้งใหลูกศิษยของทานเปนเจาอาวาสมีหนาที่ในการ บริการปกครองคอยสอดสองดูแลและอบรมสั่งสอนพระภิกษุสามเณร และเปนผูประสานงานกับทาง ราชการ คณะสงฆฝายปกครองโดยตัวของหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย เปนประธานสงฆของวัด

วัดเขาสุกิมตั้งแตเริ่มแรกจนถึงปจจุบัน มีเจาอาวาสมาแลว 3 รูป ลําดับไดดังนี้... 1. พระอธิการคําพันธ สิริปฺโญ เปนเจาอาวาส ตั้งแตป พ.ศ. 2508-2517 (ค.ศ.1965-1974) 2. พระอธิการคําพันธ คมฺภรี ญาโณ เปนเจาอาวาส ตั้งแตป พ.ศ. 2517-2526 (ค.ศ.1974-1983) 3. พระญาณวิลาส (บุญ สิริปฺโญ) เปนเจาอาวาส ตั้งแตป พ.ศ. 2526- ปจจุบัน(ค.ศ. 1983-ปจจุบนั )



จุดหองน้ํา : 1. 2. 3. 4.

ลานจอดรถดานลาง ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ ชั้น 1 โรงอาหาร ตึกธรรมวิจัย


1. สระน้ํา

สระน้ํานี้เปนสระน้าํ ที่ไมไดเกิดขึ้นตามธรรมชาติ แตเปนสระน้ําที่เกิดขึ้นจากพระวิสุทธิญาณเถร หรือ หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย เปนผูใหขุดขึ้นเพื่อใหประชาชนที่อยูในชุมชนใกลวัดไดใชประโยชนจากน้ําเพือ่ การ อุปโภค บริโภคและใชในการทําไรทําสวนในฤดูแลง ดังเปนที่ทราบกันวา ประชาชนสวนใหญที่อาศัยอยูใน จังหวัดจันทบุรีมีอาชีพในการทําสวนผลไม เชน ทุเรียน เงาะ ซึ่งในสระน้ําจะมีสัตวน้ําอาศัยอยูมากมาย เชน ปลาดุก ปลานิล เตา เปนตน ซึ่งทางวัดไดประกาศใหเปนเขตอภัยทาน คือ หามทุกคนเขามาจับ สัตวน้ําทุกชนิดในสระ แหงนี้ หากทานสนใจที่จะชมความสวยงามของปลาที่เจริญเติบโตอยางเปนธรรมชาติ ทานสามารถซื้อขนมปง และอาหารปลาจากซุมที่ทางวัดจัดไวใหเพื่อความสะดวกของทุกทาน ซึ่งในทาง พุทธศาสนาการใหอาหารปลา คือ การทําทานอยางหนึ่ง


2. อนุสรณสถาน 50 ป จัดสรางขึ้นเนื่องในโอกาสครบรอบ 50 ปของวัดเขาสุกิม เพื่อใชเปนที่ประดิษฐานรูปหลอของ พระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย) ซึ่งสรางไวเพื่อเปนอนุสรณสถานและใหบรรดา ศิษยานุศิษยรวมทั้งกลุม นักทองเที่ยวได กราบไหวบูชา ทางวัดไดประกอบพิธีเททอง หลอรูปเหมือนของ พระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปูสมชาย ฐิตวิรโิ ย) ในวันที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2557

3. หลวงพอพระพุทธโคดม หลวงพอพระพุทธโคดม เปนศิลปะสมัยอยุธยา สรางเปนที่ระลึก ครบรอบ200ปกรุงรัตนโกสินทร สรางถวายเมื่อ พ.ศ.2525 สวนศาลาดานขางทั้ง2 ฝง สรางไวสําหรับเปนที่พักผอน ทุกทานสามารถเขาไปนั่งพักได สวนสะพานที่ทานมองเห็นอยูนั้น เปนสะพานที่เชื่อมตอไปยังสถานที่สําหรับพระสงฆ หรือ อุบาสก อุบาสิกา ไปนั่งวิปสสนากรรมฐาน ซึ่งทางวัดกําหนดใหเปน เขตหวงหามสําหรับพระสงฆและผูปฏิบัติธรรมของวัดเทานั้น


4. ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยานุสรณ

ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยาอนุสรณ มีทั้งหมด 4 ชั้นสรางขึ้นเพื่อถวายเปนพระราชกุศล

แดองคพระบาทสมเดจพระเจาอยูห ัวรัชกาลที่ 9 และมีความสําคัญ คือ เปนสถานที่ประดิษฐานรูปปนหุน ขี้ผึ้งของครูบาอาจารยสายปฏิบัตหิ ลาย องคดวยกัน และยังเปนสถานที่เก็บ รวบรวมวัตถุโบราณ เครื่องมุก เครื่องปนลายครามของเมืองจีน และ สิ่งของอื่นๆ ที่ควรแกการศึกษาคนควา อีกมากมาย หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย ทานได อุทิศสิ่งของทั้งหลายที่ศิษยานุศิษยนํามา ถวายนั้น ใหเปนสมบัติของ พระศาสนา และใหเปนสมบัติของประเทศไทย เพื่อเปนประโยชนแกผูที่สนใจศึกษาคนควา ไมวาจะเปน ประชาชนคนไทย หรือชาวตางชาติ ทางวัดเปดใหเขาชมเปนประจําทุกวัน โดยไมเรียกเก็บคาธรรมเนียม ใดๆ ทั้งสิ้น


4. ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยานุสรณ ตึก 60 ป ฯ จะประกอบไปดวยการจัดแสดงแตละชัน้ ดังนี้

ชั้นที่ 1 เปนชั้นที่ใชเปนที่ประดิษฐาน

พระพุทธรูปและใชสําหรับเปนที่ทําบุญ ฟงธรรมและประกอบพิธีกรรมทางศาสนา ในวันพระตางๆ และภายในชั้นนี้ในระหวาง ทางเดินเขายังมีตโู ชวตั้งเรียงรายจัดแสดง ของที่ระลึกจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว รัชกาลที่ 9 และพระบรมวงศานุวง เมื่อครั้งที่ไดเดินทางเสด็จ นอกจากนี้ยังเปด ใหพักคางคืนสําหรับผูที่ตองการจะมาปฏิบตั ิธรรม ซึ่งทางวัดไดจัดอํานวยความสะดวกให ทุกอยางทั้งที่พักและอาหารโดยมิไดเรียกเก็บคาใชจายใดๆทั้งสิ้น


ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยานุสรณ ชั้นที่ 2

จะเปนที่เก็บพระบรมสารีริกธาตุและที่ตั้งพระศพของพระวิสุทธิญาณเถร หรือหลวงปู สมชาย ฐิตวิรโิ ย การจัดแสดงพระธาตุของหลวงปูสมชาย ที่มีลักษณะเปนพระธาตุสีตางๆ คลายพลอยที่ ถือวาเปนสิ่งมหัศจรรย ซึ่งพระธาตุ ดังกลาวนี้ จากคําบอกกลาวของคนที่ ใกลชิดกับหลวงปูเลาวากอนทีห่ ลวงปู สมชายจะมรณภาพ ทานไดตดั เล็บ ผม และฟอกเลือดไวและมีพยาบาลไดเก็บ เลือดไวเพื่อสงตรวจแตภายหลังพบวา ของเหลานี้กลายเปนพระธาตุนั่นเอง

และในชั้น 2 นี้ ยังเปนที่จัดแสดงขอมูลตางๆเกี่ยวกับวัดเขาสุกิม ใหสาํ หรับนักทองเที่ยวและผูที่สนใจ จะศึกษา ไดเขามาอาน โดยจะมีประวัติความเปนมาของวัดเขาสุกิมตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน รวมไปถึง ภาพถายของหลวงปูสมชายเมื่อตอนสมัยตางๆ


ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยานุสรณ ชั้นที่ 3

หากนักทองเที่ยวทานใดที่เดินทางมาที่วัดและตองการที่จะทําบุญถวายสังฆทาน ชั้นที่ 3 นี้ จะมี พระสงฆนั่งรอรับถวายเครื่องสังฆทาน ปะพรมน้ํามนตและแจกของที่ระลึกจากทางวัด ซึ่งทางวัดยังคอย อํานวยความสะดวกใหกับนักทองเที่ยวโดยมีชุดสังฆทานจัดจําหนายไว พรอมใหนักทองเที่ยวสามารถ ทําบุญไดทันที ใกลเคียงกันยังมีรานที่ขายของที่ระลึกเครื่องรางปลุกเสกจากทางวัด เหรียญหลวงปูรุนตางๆ นักทองเที่ยวสามารถเชาซื้อไดที่บริเวณนี้

นอกจากนี้เมื่อเดินถัดไปทางดานหลังหองยังมีพิพิธภัณฑจดั แสดงโบราณวัตถุ เชน เครื่องมือเครื่องใช จานชาม เครื่องประดับ ที่ขุดเจอจากอดีตในสมัยลพบุรหี รือยุค บางเชียง เปนตน ตลอดจนของเกาสะสม ตางๆที่หาดูไดยากในปจจุบัน


ตึก 60 ป เฉลิมพระเกียรติ อยูวิทยานุสรณ ชั้นที่ 4 วิหารบูรพาจารยอุทิศอยูวิทยานุสรณ ซึ่งเปนชั้นสุดทาย ประกอบดวย 5 หอง ไดแก หองที่ 1 เปนกุฏิเจาอาวาส คือ พระญาณวิลาศ หองที่ 2 หองจัดแสดงชุดเฟอรนิเจอรประดับมุก ซึ่งสวนใหญ จะนําเขาจากประเทศจีน หองที่ 3 หองจัดแสดงชุดเฟอรนิเจอรประดับหยกนําเขาจากประเทศจีนเชนกัน หองที่ 4 จะเปนพิพิธภัณฑหุนขี้ผงึ้ จะเปนหุนขี้ผึ้ง ของพระที่อยูในสายเดียวกันกับหลวงปูสมชาย รวมทั้ง พระที่เปนพระอาจารยของหลวงปูสมชายดวย เชน หลวงปูฝน หลวงปูเสาร หลวงปูแหวน เปนตน ปจจุบันพระอาจารยทานตางๆที่ไดจําลองหุนขี้ผึ้งนั้น ไดมรณภาพทั้งสิ้นแลว


5. หลวงพอศิลา มหามงคล หลวงพอศิลา มหามงคล จะตั้งอยูบริเวณ

ลานอุโบสถซึ่งเปนอีกหนึ่งสถานที่ ทีก่ ลุม นักทองเที่ยวควรจะมาสักการะกราบไหวเพื่อความ เปนศิริมงคล โดยทางวัดจะมีดอกไมธูปเทียน จัดเตรียมไวให สําหรับผูทตี่ องการจะกราบไหว สักการะหลวงพอ ทั้งนี้เราสามารถบริจาค คาดอกไมธูปเทียนไดตามกําลังศรัทธา นอกจากนี้สําหรับผูที่ตองการจะ ทําบุญในการบูรณะ หรือรวมบุญกอสรางตึกอาคารวัตถุตางๆ ก็สามารถรวมทําได ณ บริเวณนีเ้ ชนกัน

6. ตําหนักเจาฟาเพชรรัตน สมเด็ จ พระเจ าภคิ นีเ ธอ เจ า ฟา เพชรรั ต น ร าชสุ ด าฯ และพระนางเจ า สุวั ทนา พระวรราชเทวี ในพระบาทสมเด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว (รัชกาลที่6) แหงราชวงศจักรี ไดทรง สรางและทรงประกอบพิธีถวายใหแกพระภิกษุสงฆ ในพุทธศักราช 2521 เพื่ออุทิศถวายแด พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ปจจุบันทางวัดไดจัดไวสําหรับใหพระอาคันตุกะที่ เดินทางมาที่วัดไดจําวัด


7. ตึกธรรมวิจัย

ตึกธรรมวิจัย เปนตึก 4 ชั้น เดิมไดทําเปนพิพิธภัณฑสถานซึ่งรวบรวมโบราณวัตถุที่ญาติโยมไดนํามา

บริจาคถวายไวใหเปนสมบัติของชาติและพระศาสนา ซึ่งปจจุบันไดยา ยของสวนใหญมาเก็บรักษาไวที่ชนั้ 3 ของตึก 60 ปเฉลิมพระเกียรติแลว สําหรับชั้นที่ 4 ใชเปนที่สําหรับใหสาธุชนทั่วไปไดเขาไปนั่งปฏิบัตสิ มาธิ ตามแนวทางการปฏิบตั ิสมาธิของหลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย และกราบไหวสักการะหลวงพอทองพระพุทธรูป ศักดิ์สิทธิ์ที่ทางจัดจัดสรางขึ้น ซึ่งถือเปนพระพุทธรูปองคแรกของวัดเขาสุกิม สวนชั้น 2 เปนหองพักคางคืน สําหรับผูที่เดินทางมาปฏิบัตเิ ปนหมุคณะ


8. ตําหนักสมเด็จพระสังฆราช เปนตําหนักที่สรางขึ้น เพื่อตอนรับการเสด็จของพระสังฆราชและเพื่อเปนที่จําวัด เนื่องจากบอยครั้งที่ สมเด็จพระสังฆราช หรือรองสมเด็จพระสังฆราช ทานไดเสด็จมายังวัดเพื่อทําพิธีวางศิลาฤกษในการ กอสรางตึกหรือปูชนียสถานตางๆภายในวัด จึงถือเปนพื้นที่สําคัญและไมไดเปดใหนักทองเที่ยวเขาไปเที่ยว ชม ถือเปนเขตหวงหาม

9. รอยพระพุทธบาทจําลองและสถานที่ระลึกอดีตชาติ รอยพระพุทธบาท ถือเปนสิ่งศักดิ์ที่ประชาชนใหความเคารพและสักการะกราบไหวทางวัดจึงได

จําลองขึ้นเพื่อใหนักทองเที่ยวไดเขามากราบไหวของพร

สถานที่ระลึกอดีตชาติ สถานที่นี้เปนสถานที่ที่หลวงปูสมชาย ฐิตวิริโย นั่งสมาธิและระลึกชาติได วา

ในปางกอนทานเคยเปนพระฤาษีอยูที่ตรงนี้ แลวทานก็ไดขุดพบขวานฟาซึ่งขวานดังกลาวพบวาสามารถ กันฟาผาได


10. หอสมุดฟูตระกูลอนุสรณ อาคารฟูตระกูลอนุสรณเปนอาคารสีเหลืองสองชั้น ชั้นบนเปนหองพักรับรองมีสี่หอง ชั้นลางเปน

หอสมุดเปนสถานที่รวบรวมหนังสือ เอกสาร ตํารา และพระไตรปฏก เปนสถานที่สําหรับคนควา ของพระสงฆ แ ละประชาชนทั่ ว ไป ซึ่ ง เป ด ให ผู ที่ สนใจสามรถเข าไปอา นไดซึ่ง สว นใหญเ ปนตํ ารา เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เปนการบริการความรูแก นักทองเที่ยว

11. อุโบสถจตุรมุข

อุโบสถนีส้ รางขึ้นเพื่อใชประกอบพิธีกรรมตางๆทางศาสนาของวัดเขาสุกิม มีทั้งหมด 2 ชั้น พระประธานอุโบสถชั้นลางเปนพระพุทธรูปศิลาเขียวซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวและ สมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ไดเสด็จพระราชดําเนิน ทรงประกอบพิธีเททองหลอพระประธานเมื่อ วันที่ 3 เมษายน พุทธศักราช 2520


12. เจดียบูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี เปนสถาปตยกรรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร

ทางวัดเขาสุกิมและศิษยานุศิษยไดรวมกันจัดสราง ขึ้นตามเจตจํานงของพระวิสุทธิญาณเถร (หลวงปูส มชาย) ที่ปรารถนาจะสรางใหเปน ศาสนสมบัติคูบานคูเมือง พระบาทสมเด็จ พระเจาอยูห ัว ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให พล.อ.อ กําธน สินธวานนท องคมนตรีเปนผูแทน พระองคประกอบพิธีวางศิลาฤกษ วันที่ 14 เมษายน 2538

พระมหาเจดีย “บูรพาฐิตวิริยาประชาสามัคคี” แหงนี้หลวงปูทานไดมดี ําริจะสรางขึ้นเพื่อใชเปน สถานที่ประดิษฐานพระบรมสารีรกิ ธาตุ เปนที่ประดิษฐานพระพุทธรูปหินออนกับพระพุทธรูปางประทาน พร 101 องค เปนพิพิธภัณฑเก็บอัฐบริขาร และใชเปนสถานที่ปฏิบัติธรรมของพุทธบริษัทสี่และเปดให พุทธศาสนิกชนทั่วไปไดกราบไหวสักการบูชา


วัดเขาสุกิม จันทบุรี ที่อยู : ตําบลเขาบายศรี อําเภอทาใหม จันทบุรี เบอรโทรศัพท : 039-495243 , 081-9418384 อีเมล : wadkhaosukim.circlecamp.com

ฝกปฏิบัติธรรม ถือศีล ตามแนวทางหลวงปูสมชาย

แบบเดี่ยว หรือเปนหมูคณะ ทางวัดมีบริการ ฟรี….. พรอมตอนรับศาสนิกชนทุกคน

จัดทําโดย อาจารยรัจนชีวา แซตัน นักศึกษาคณะนิเทสศาสตร สาขาโฆษณา รุน 54


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.