าป ญ ั ญา” สือ ่ สัญลักษณ์ 9 “เจ้ ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ
6
์
แนวทางการพัฒนาระบบ รวมบร กิ ารประสานภารก จ ิ
4
เรื่องเล่า ชาว OD
ปี ที่ 1 ฉบับที่ 1 เมษายน - มิถนุ ายน 2557
Pride of WALAILAK ความภาคภูมิใจ
รวมบริการประสานภารกิจ
Green Campus+
ประหยัดพลังงาน
Walailak University
Happy University วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยแห่งความสุข www.wu.ac.th
สารบัญ จากหัวใจ-สู-่ หัวใจ............................................................1 วลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยแห่งความสุข : WU Happy University..........................................................2 Green Campus : การประหยัดพลังงาน..........4 เรื่องเล่าชาว OD : การจัดการความรู แ้ ละ ชื่ นชมคุณค่า.....................................................................4 ความภาคภูมใิ จในการท�ำงานที่มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์.........................................................................5 แนวทางการพัฒนาระบบรวมบริการประสาน ภารกิจ..................................................................................6 สุขภาพ in trend : วิจยั ชี้ นั่งท�ำงานนานหลาย ชั่วโมง โรคภัยรุ มเร้า-เสี่ยงพิการ............................8 “เจ้าปั ญญา” สื่อสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์.........................................................................9
Once Day @Walailak Newsletter ------------------------------------------------
บรรณาธิการที่ปรึกษา : ดร.กีร ร์ ตั น ์ สงวนไทร บรรณาธิการอ�ำนวยการ : ผศ.ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป ์ นิรันดร ์ จินดานาค จิตตนา หนูณะ บรรณาธิการบริหาร : ว่าที่ ร.ต. จาตุรนต์ ชุติธรพงษ ์ กองบรรณาธิการ : นิรันดร ์ จินดานาค ว่าที่ ร.ต. จาตุรนต์ ชุติธรพงษ ์ ปรภพ ไชยบุญ อัจฉรา ทองนาค ลักขณา สาแม็ง ทีมงานหน่วยพัฒนาองค์กร
HAPPY 8
แหล่งที่มา : ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) Happy Workplace องค์กรแห่งความสุข เมื่อคนเป็นสิ่งที่มคี า่ ที่ สุดขององค์กร เมื่อองค์กรมีชีวิต เมื่อองค์กรมีวัฒนธรรม งานที่ทา้ ท้ายใน อนาคต วันนีไ้ ม่ใช่ แค่ Human Resource เท่านัน้ แต่เราต้องสร้าง Human Relationship / Happy Relationship ในองค์กร เพื่อท�ำให้ “คนท�ำงานมี ความสุข ที่ทำ� งานน่าอยู ่ ชุมชนสมานฉันท์” เกิดเป็นองค์กรแห่งความสุข ที่แท้จริง แล้วความสุขจะมีได้อย่างไรในองค์กร เครื่องมือสร้างความสุขของ องค์กร Happy 8 (8 เซี ยน ความสุข) ประกอบด้วย 1. Happy Body (สุขภาพดี) มีสขุ ภาพแข็งแรงทัง้ กายและจิตใจ เพราะมีความเชื่ อว่าถ้ามนุษย์ มีสขุ ภาพร่างกาย ที่แข็งแรงก็จะมีจติ ใจที่ดี พร้อมที่จะรับมือกับปั ญหาที่จะเข้ามาได้เป็นอย่างดี 2. Happy Heart (น�้ำใจงาม) มีน้�ำใจเอื้ออาทรต่อกันและกัน เนื่องจากมีความว่าเชื่ อความสุขที่แท้จริงคือ การเป็นผูใ้ ห้ 3. Happy Society (สังคมดี) มีความรักสามัคคีเอือ้ เฟื้ อต่อชุ มชนที่ตนท�ำงานและพักอาศัย มีสงั คมและสภาพ แวดล้อมที่ดี เพราะเชื่ อว่าการที่ผูค้ นมีความเป็นอยู ่ท่ดี ภี ายในสังคมหรือชุ มชน ย่อมเป็นพืน้ ฐานที่ดี ท�ำให้ผูอ้ ยู อ่ าศัย มีความรัก ความปรองดอง สามัคคีตอ่ กัน พร้อมร่วมแรงร่วมใจช่ วยกันพัฒนาชุ มชนให้มชี ี วติ การเป็นอยู ่ท่ดี ขี นึ้ 4. Happy Relax (ผ่อนคลาย) รูจ้ กั ผ่อนคลายต่อสิ่งต่างๆ ในการด�ำเนินชี วติ เพราะเชื่ อว่าการที่คนท�ำงาน หากไม่รูจ้ ักสรรหาการผ่อนคลายให้กับตนเอง จะท�ำให้รา่ งกายและจิตใจเกิด ความเครียด อันส่งผลกระทบต่อหน้าที่การท�ำงาน 5. Happy Brain (หาความรู)้ มีการศึกษาหาความรู พ ้ ฒ ั นาตนเองตลอดเวลาจากแหล่งต่างๆ น�ำไปสูก่ ารเป็น มืออาชี พและความมั่นคงก้าวหน้าในการท�ำงาน เพราะเชื่ อว่า ถ้าเราทุกคน แสวงหาความรูใ้ หม่ๆ มาเพิ่มพู นความรู แ้ ละพัฒนาตนเองอยู ส่ ม�่ำเสมอ ก็จะเป็นอีก หนึ่งแรงผลักดัน ช่ วยให้องค์กรพัฒนาขึน้ ด้วยบุ คลากรที่มศี กั ยภาพ 6. Happy Soul (ทางสงบ) มีความศรัทธาในศาสนาและมีศลี ธรรมในการด�ำเนินชี วติ เพราะเชื่ อว่า หลักธรรม ค�ำสอนของศาสนา เป็นสิ่งที่จะช่ วยการด�ำเนินชี วิตของทุกคนให้ดำ� เนินไปใน เส้นทางที่ดไี ด้ ท�ำให้ทกุ คนมีสติ มีสมาธิในการท�ำงาน สามารถรับมือกับปั ญหา ที่เข้ามาได้ ยึดหลักสนับสนุนให้เป็นคนดี คิดดี ท�ำดี และมีความศรัทธาใน คุณงามความดีทงั้ ปวง 7. Happy Money (ปลอดหนี)้ มีเงิน รูจ้ กั เก็บ รูจ้ กั ใช้ ไม่เป็นหนี้ ปลูกฝั งนิสยั อดออม ประหยัด รูจ้ กั วิธใี ช้เงิน ไม่ใช้สรุ ุ ย่ สุรา่ ย ใช้จา่ ยแต่เท่าที่จำ� เป็น ยึดหลักค�ำสอนการด�ำเนินชี วติ แบบเศรษฐกิจ พอเพียง 8. Happy Family (ครอบครัวดี) มีครอบครัวที่อบอุ น่ และมั่นคงปลูกฝั งนิสยั รักครอบครัว เพื่อน�ำไปเป็นหลักการ ใช้ชีวติ ให้รูจ้ กั ความรัก ความเชื่ อมั่น และความศรัทธาในความดีงาม จึงจะ เกิดเป็นคนดีในสังคม (รักตนเอง รักครอบครัว รักการงาน รักเพื่อน รักในสิ่งที่พอเพียง)
2014
สร้างบรรยากาศ จัดสภาพแวดล้อม
Once Day @Walailak
1
จากหัวใจ-สู-่ หัวใจ
เปิดตัวจดหมายข่าวสื่อสารองค์กร
สวัสดีครับทุกท่าน Once Day @Walailak ฉบับปฐมฤกษ์กไ็ ด้โอกาสเปิ ดตัวเป็นครัง้ แรกเพื่อเป็นสื่อกลางในการน�ำเสนอ เรื่องราวดีๆ ของมหาวิทยาลัย รวมไปถึงความเคลื่อนไหวต่างๆ ของมหาวิทยาลัยให้กบั ประชาคมมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ รับรู แ้ ละรับทราบทั่วกัน วันนีห้ ลายท่านอาจจะยังไม่รูว้ า่ เราได้เข้าร่วมเป็นเครือข่ายภาคีมหาวิทยาลัยแห่งความสุขร่วมกับมหาวิทยาลัยอื่นๆ ทั่วประเทศอีก 8 สถาบันและเราจะเป็นแม่ขา่ ยที่จะขยายความสุขไปยังสถาบันการศึกษาอื่นๆ ดังนัน้ สิ่งที่สำ� คัญที่สดุ คือ เราต้อง ร่วมสร้างความสุขให้กนั และกันเพื่อเป็นพลังน�ำพาองค์กรสูเ่ ป้าหมายที่ตงั้ ไว้ Once Day @Walailak ฉบับแรก ทีมงานน�ำทุกท่าน ให้ได้รูจ้ กั กับมหาวิทยาลัยแห่งความสุขตัง้ แต่จุดเริ่มต้นจนถึงการก้าวเดินในปั จจุ บัน นอกจากนี้ ในช่ วงเวลาที่ผา่ นมาเราจะเห็น นกฮู กบินในมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ วันนี้ทมี งานจะมาเล่าให้ฟังว่าท�ำไมถึงเป็นนกฮู ก และมีรายละเอียดอะไรบ้าง ไม่หมดเท่านัน้ เรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับระบบรวมบริการประสานภารกิจ ซึ่ งเป็นระบบหลักของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์มาตัง้ แต่เริ่มต้นยังถูกน�ำเสนอ ใน Once Day @Walailak ฉบับปฐมฤกษ์นดี้ ว้ ย นอกจากนัน้ ยังมีเรื่องราวเกี่ยวกับการประหยัดพลังงาน และเคล็ดลับสุขภาพ ในการที่จะท�ำให้ทกุ ท่านมีความสุข และที่สำ� คัญครับ เราปิ ดท้ายด้วยความภาคภูมใิ จของวลัยลักษณ์ (PRIDE of WALAIALK) ที่ ผ่านการบอกเล่าจากหลายๆ คนครับ ท้ายสุดนี้ หากท่านใดประสงค์ท่จี ะร่วมสร้างสรรค์ความสุขผ่านเรื่องราวดีๆ ให้กบั เพื่อนร่วมงานและประชาคมวลัยลักษณ์ ขอเรียนเชิ ญเลยครับ ส่งเรื่องราวดีๆ ขนาด 1 หน้ากระดาษ A4 มาที่ cjaturon@wu.ac.th เพื่อเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างความสุขและ สร้างสรรค์ส่งิ ดีๆ ให้กบั มหาวิทยาลัยของเรา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป ์ ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยพัฒนาและสือ่ สารองค์กร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ความสุขในการท�ำงาน
2014
Once Day @Walailak
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยแห่งความสุข
Once Day @Walailak Newsletter
นิรนั ดร์ จินดานาค / หน่วยพัฒนาองค์กร ตลอดระยะเวลาที่ทำ� งานของใครบางคนจวบจบระยะเวลาผ่านไปนานพอสมควร พอที่จะตกผลึกความคิด อาจจะเรียก ว่าบทสรุ ปก็วา่ ได้ ว่าความสุขในการท�ำงาน ปั จจัยอะไรที่จะท�ำให้ความสุขดังกล่าวก่อเกิดขึ้นและยั่งยืน จากค�ำถามที่เกิดขึ้นใน ความคิด แล้วก็คน้ หาค�ำตอบจากหน่วยงาน องค์กรในระดับนานาชาติ บุ คลากรมีความรู ส้ กึ อย่างไรในการท�ำงานแล้วเป็นสุข พบว่า ค�ำตอบดังกล่าวคือบุ คลากรมีความรู ส้ กึ ผู กพันกับผู ร้ ว่ มงาน บรรยากาศของสิ่งแวดล้อมที่ดี และการเสริมสร้างคุณค่า ของบุ คลากรซึ่ งกันและกัน จากค�ำตอบดังกล่าวน�ำมาสู่การค้นหาเครื่องมือ กระบวนการเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ของความสุขในการท�ำงาน (แม้นยิ ามความสุขของแต่ละบุ คคลอาจต่างกันแต่เชื่ อว่าแต่ละประเภทของความสุขอาจจะคล้ายกัน) มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์เลือก ใช้ Happy Workplace โดยมีแนวคิดและหลักการสร้างองค์กรแห่งความสุขแบบความสุข 8 ประการ (Happy 8) กล่าวคือ สุขภาพดี (Happy Body) น�้ำใจงาม (Happy Heart) การผ่อนคลาย (Happy Relax) การหาความรู ้ (Happy Brain) การมี คุณธรรมพืน้ ฐาน (Happy soul) การรูจ้ กั ใช้เงิน (Happy Money) ครอบครัวดี (Happy Family) และสังคมดี (Happy Society) การสร้างความสุขในการท�ำงานจึงเป็นบทบาทของทุกคน (มากกว่าหน้าที)่ เพราะตัวเรามีสว่ นร่วมในการสร้างความ ผู กพัน เป็นปั จจัยของสิ่งแวดล้อมที่ก่อให้เกิดบรรยากาศซึ่ งกันและกัน ความสุขจะบังเกิดขึ้นกับทุกคนอันเป็นจุ ดเริ่มต้นจาก... ความสุขในการท�ำงาน และเบิกบานเมื่องานส�ำเร็จ อันจะก่อเกิดเป็นหน่อพันธุ เ์ ล็กๆ ในใจของบุ คลากร พร้อมที่จะเติบโตเป็นต้นใหญ่ท่ี แข็งแรงขององค์กร สังคม ในที่สดุ
2
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อุ ทยานการศึกษาแห่งการสร้างโอกาส
วลัยลักษณ์มหาวิทยาลัยแห่งความสุข WU Happy University
เรียบเรียง : ว่าที่ ร.ต.จาตุรนต์ ชุตธิ รพงษ์ / หน่วยพัฒนาองค์กร
งความสุข” ให ก้ ับคนภายในองค์กรนัน้ “คน” เป ็นหัวใจส�ำคัญขององค์กรและ “การสร า้ ป ็น “องค์กรแหง่ ความสุข” ถือได ว้ า่ เป ็นยุทธศาสตร ส์ �ำคัญในการก า้ วไปสู ก่ ารเ สถานที่ทำ� งานน่าอยู ่นา่ ท�ำงาน
สะอาด
ปลอดภัย
สิ่งแวดล้อมดี
มีชีวิตชี วา
การสนับสนุนขององค์กร การติดต่อสื่อสาร การตรวจติดตาม ทบทวน และประเมินผล การมีสว่ นร่วมของพนักงาน
Pride of Walailak
ความภาคภูมใิ จ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ในปี พ.ศ. 2557 – 2559 มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้กำ� หนดจุ ดยืนทางยุ ทธศาสตร์ท่จี ะเป็น “อุ ทยาน การศึกษาแห่งการสร้างโอกาส” ผ่าน 4 ทิศทางนโยบายหลัก คือ “แหล่งพัฒนาความรู ้ สูส่ งั คมเข้มแข็ง เสริมแรงสังคมสุขภาพ สร้างความสามารถสูส่ ากล” เพื่อให้สมกับที่เป็นมหาวิทยาลัยสมบู รณ์แบบ (Comprehensive University) ที่เน้นการวิจยั และเป็นอุ ทยานการศึกษาที่รว่ มขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาประเทศสู่ “สังคมอุ ดมปั ญญา” ดังนั้น เพื่อให้การด�ำเนินการบรรลุตามเจตนารมณ์ทไ่ี ด้วางไว้ขา้ งต้น โดยเฉพาะ นโยบายด้าน “เสริมแรงสังคมสุขภาพ” มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์จงึ ให้ความส�ำคัญกับคนภายในองค์กร เป็นส�ำคัญ จุ ดเริ่มต้นของมหาวิทยาลัยในการก้าวไปสูก่ ารเป็นมหาวิทยาลัยแห่งความสุข (Happy University) นัน้ เริ่มจากการที่สำ� นักวิชาสหเวชศาสตร์และสาธารณสุขศาสตร์ ได้รบั การสนับสนุน จากส�ำนักงานแผนงานการพัฒนาสถาบันการศึกษาสาธารณสุขให้เป็นองค์กรการสร้างเสริมสุขภาพ (สอส.) ให้ดำ� เนินโครงการ “ต้นแบบสถานที่นา่ อยู ่ น่าท�ำงาน (Healthy Workplace Model)” ใน ปี พ.ศ. 2548 โดยใช้เครื่องมือการประเมินสถานที่ทำ� งานน่าอยู ่ น่าท�ำงาน ของกรมอนามัย เป็น แนวทางในการขับเคลื่อนกิจกรรมผ่านเกณฑ์การประเมิน 5 ด้าน คือ ด้านการสนับสนุนขององค์กร และการมีสว่ นร่วมของพนักงาน ด้านความสะอาด ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความ มีชีวติ ชี วา โดยที่มหาวิทยาลัยได้ให้การสนับสนุนในเชิ งนโยบาย และมอบหมายให้หน่วยพัฒนาองค์กรซึ่ งเป็น หน่วยงานกลางเป็นฝ่ ายเลขานุการของโครงการ และตัง้ แต่ปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา มหาวิทยาลัยได้ให้การ สนับสนุนงบประมาณในการขับเคลื่อนโครงการดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง พร้อมทัง้ ยกระดับโครงการฯ เป็น “โครงการสถานที่ทำ� งานน่าอยู ่ น่าท�ำงาน (Healthy Workplace at WU)” และได้พฒ ั นาต่อยอดโครงการฯ สร้างเสริมสังคมสุขภาพ สร้างเสริมความสามารถสากล
2014
สร้างเสริมสังคมเข้มแข็ง และสร้างเสริมแหล่งพัฒนาความรู ้
Once Day @Walailak
3
กราฟแสดงจ�านวนหน่วยงานที่เข้าร่วมตรวจประเมิน Happy Workplace 40
38
35
38
33 29
30 26 25
23 22
20
19
17
15 12
10 5 0
23
8 6
5 3 2
3
13 10
15 10
7 4
7 3
8 7
3 1
10 5 4
2 0 0 ปี 2548 ปี 2549 ปี 2550-51 ปี 2552 ปี 2553 ปี 2554 ปี 2555 ปี 2556 หน่วยงานเข้าร่วม ดี ดีเด่น (ดีมาก 5 ปี ติดต่อกัน )
พื้นฐาน ดีมาก
ดังกล่าวอีกครัง้ หลังจากได้นำ� เครื่องมือความสุข 8 ประการ (Happy 8) ของแผนงานสุขภาวะองค์กรภาค เอกชน ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) เป็น “องค์กรแห่งความสุข (Happy Workplace) ในปี พ.ศ. 2551 จนกระทั่งปั จจุ บัน ปี พ.ศ. 2557 ได้ยกระดับเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งความสุข (Happy University)” หลังจากได้เข้าร่วมเป็นหนึ่งในภาคีเครือข่ายมหาวิทยาลัยแห่งความสุข (Happy University) ซึ่ ง ประกอบด้วย มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยเชี ยงใหม่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สุรนารี มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมหาวิทยาลัยอุ บลราชธานี ตลอดระยะเวลา 8 ปี ในการขับเคลื่อนกิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชี วิตในการท�ำงานให้กบั คนในองค์กร มหาวิทยาลัยได้อาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ จะเป็นคณะ ที่ปรึกษากิจกรรม ซึ่ งประกอบด้วยผู บ้ ริหาร หัวหน้าหน่วยงาน ท�ำหน้าทีใ่ ห้การสนับสนุนเชิ งนโยบาย และประเมินกระบวนการเพื่อการพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนินงาน คณะด�ำเนินงาน ซึ่ งประกอบด้วย แกนน�ำหน่วยงานและองค์การนักศึกษาท�ำหน้าที่วางแผนและขับเคลื่อนกิจกรรมกลางด้านการส่ง เสริมคุณภาพชี วติ ให้เกิดขึน้ ในองค์กร นักศึกษาและบุ คลากร ท�ำหน้าที่ขบั เคลื่อนกิจกรรมย่อยด้าน การส่งเสริมคุณภาพชี วติ ของหน่วยงาน โดยมีศนู ย์อนามัยที่ 11 และส�ำนักงานสาธารณสุขจังหวัด นครศรีธรรมราชเป็นกรรมการประเมินรับรองมาตรฐานสถานที่ทำ� งานน่าอยู ่นา่ ท�ำงานของหน่วยงาน ภายในมหาวิทยาลัย จะเห็นได้วา่ นับตัง้ แต่ปีแรกจนถึงปั จจุ บันมีหน่วยงานของมหาวิทยาลัยเข้าร่วมโครงการ เพิ่มขึน้ อย่างต่อเนื่องและมีผลการประเมินรับรองมาตรฐานสถานที่ทำ� งานน่าอยู น่ า่ ท�ำงานจากกรมอนามัยใน ระดับที่สงู ขึน้ เช่ นกัน ทัง้ นี้ ในปี พ.ศ. 2556 พบว่า มีหน่วยงานได้รบั ใบรับรอง “ระดับดีเด่น” จ�ำนวน 10 หน่วย งาน เนื่องจากได้รบั ผลการประเมินฯ ระดับดีมากต่อเนื่องกันเป็นระยะเวลา 5 ปี ติดต่อกัน
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
Once Day @Walailak
Once Day @Walailak Newsletter
มุ ง่ เป้าสูก่ ารเป็น “อุ ทยานการศึกษาแห่งอาเซี ยน”
2014
4
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อุ ทยานการศึกษาแห่งการสร้างโอกาส
Green Campus : การประหยัดพลังงาน
ดร.วีรพงศ ์ โชติช ว่ ย / ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยอาคารสถานที่ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เป็น มหาวิทยาลัยทีไ่ ด้รับการออกแบบโดยน�ำ แนวคิดการบริหาร “รวมบริการ ประสาน ภารกิจ” และ มหาวิทยาลัยสีเขียวมาใส่ไว้ ตัง้ แต่ตน้ แล้วก็นบั ว่าโชคดี ทีไ่ ด้รบั การจัดสรร งบประมาณในการก่อสร้างทั้ง Package ผูใ้ หญ่ทา่ นหนึ่งบอกว่า ไม่ใช่ เป็นการก่อสร้าง แต่เป็นการเนรมิต เพราะการก่อสร้างจะสร้าง แต่ละอาคารต่อเติมไปเรื่อยๆ แต่น่ีเป็นการ สร้างทัง้ Campus บนพื้นที่ 9,000 ไร่ ซึ่ งถือว่าเป็น Campus ที่มพ ี นื้ ที่มากที่สดุ ใน ประเทศไทย ความเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียวของ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์นี้ ดูได้จากการ วางตัวอาคารเป็นกลุ่มๆ อาทิ เช่ น กลุ่ม อาคารเรียนรวม กลุ่มอาคารศูนย์เครื่องมือ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มอาคาร วิชาการ และกลุ่มอาคารบริการทั่วไป โดย ทุกกลุ่มอาคารจะเชื่ อโยงด้วย Cover Walk Way ซึ่ งมีทงั้ Main และ Sub Cover Walk Way เพื่อเป็นเส้นทางการใช้จกั รยานที่สามารถ ใชไ้ ด้ทงั้ ปี โดยไม่ตอ้ งค�ำนึงถึงฤดูรอ้ น หรือ
ฤดูฝน ด้านหน้าทุกกลุ่มอาคารจะหันหน้า เข้าหา Cover Walk Way ทัง้ หมด ลานจอด รถยนต์จะอยู ด่ า้ นหลังอาคาร ซึ่ งมีพื้นทีใ่ ห้ จอดรถยนต์ได้ไม่มากนัก หลังคาทุกอาคาร เป็นสีเขียว อาคารสูงไม่เกิน 3 ชั้น เพื่อไม่ ต้องใช้ลฟ ิ ต์ เป็นการประหยัดพลังงานและค่า ก่อสร้าง มหาวิทยาลัยโชคดีทไ่ี ด้รบั งบประมาณ ในการปลูกต้นไม้ ซึ่ งมีทงั้ ไม้ยืนต้น ไม้พุ่ม ไม้คลุมดินและสนามหญ้า มู ลค่าวงเงิน 1 ล้านบาท โดยพิจารณาให้ปลูกไม้ยืนต้น ประเภทไม้ท่ีมกี ลิ่นหอม ไม้ท่ีมดี อกสวยงาม ไม้พื้นถิ่นปั กษ์ใต้ เป็นต้น ตามกลุ่มอาคาร ต่างๆ ไม้ท่ีมใี บสวยงาม ท�ำให้สภาพพื้นที่ รายรอบอาคารในเขตการศึกษามีความร่มรื่น เป็นธรรมชาติ นี่คือความเป็นอยู ่จริงของ มหาวิทยาลัยแห่งนี้ พื้นที่ของมหาวิทยาลัย เป็นสีเขียวอยู แ่ ล้ว โดยไม่ตอ้ งไปสร้างเพิ่มเติม แต่ประการใด แต่การเป็นมหาวิทยาลัยสีเขียว อาจจะยั งไม่ เพี ยงพอ จะต้ อ งก้าวไปสู่ มหาวิทยาลัยที่ย่ังยืนด้วย (Sustainable University) ท่านอธิการบดีได้ประกาศเป็น
นโยบายมหาวิทยาลัยสีเขียว และได้นำ� เรื่อง การอนุรกั ษ์พลังงานมาขับเคลื่อนให้เกิดเป็น รู ปธรรม ซึ่ งเป็นการด�ำเนินการที่เป็นไปตาม กฎหมายและนโยบายควบคู่กันไป โดย มหาวิทยาลัยได้แต่งตัง้ คณะท�ำงานด้านการ จัดการพลังงานขึน้ มา 2 ชุ ด ที่ประกอบ ด้วย ฝ่ ายอ�ำนวยการ ฝ่ ายรณรงค์สง่ เสริม การมีสว่ นร่วมและฝึ กอบรม ฝ่ ายประชาสัมพันธ์ และฝ่ ายเทคนิค และแต่งตัง้ คณะท�ำงานติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล 1 ชุ ด คณะ ท�ำงานด้านการจัดการพลังงานก็ได้มีการ ประชุ มกันหลายครัง้ จนได้ขอ้ สรุ ปในเบือ้ งต้น ว่า จะเน้น 2 เรื่องก่อน การประหยัดไฟฟ้า และน�้ำมันเชื้ อเพลิง โดยจะเริ่มตั้งแต่เดือน เมษายน 2557 เป็นต้นไป พร้อมทัง้ ได้มี การรณรงค์สร้างจิตส�ำนึกให้ทุกคน ทั้ง นักศึกษา และบุ คลากร เกิดความตระหนัก ในการประหยั ดพลัง งาน และค�ำ นึงถึง ผลกระทบที่มตี อ่ สภาวะแวดล้อม จึงต้องขอ ความร่วมมือจากทุกๆ คนครับ
เรื่องเล่าชาว OD : การจัดการความรู้และชื่นชมคุณค่า
Pride of Walailak
ความภาคภูมใิ จ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
ว่าที่ ร.ต.จาตุรนต์ ชุตธิ รพงษ์ เมื่อกล่าวถึงความรู ้ เราจะพบว่าความรู แ้ บ่งเป็น 2 ชนิด ชนิดแรก คือ ความรูช้ ัดแจ้ง (Explicit Knowledge) ได้แก่ ความรู ท้ ่ ี ถอดรหัสแล้วเป็นเอกสาร งานวิชาการ การวิจยั อาทิ สื่อการสอน เป็นต้น ส่วนชนิดที่สองคือ ความรูฝ้ ั งลึก (Tacit Knowledge) ซึ่ งความรู ท้ ่อี ยูใ่ นตัวคนอันเกิดจากประสบการณ์ ซึ่ งบางครัง้ แม้แต่เจ้าของความรู เ้ อง อาจไม่ทราบว่าตัวเองมีความรูช้ นิดนีฝ้ ั งลึกอยู ่ ดังนัน้ การจัดการความรู ด้ งั กล่าว จึงต้องอาศัยเครื่องมือและกระบวนการในการจัดการความรู ้ เพื่อให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยน ความรู ้ รวมทัง้ ช่ วยให้ผูท้ ่ตี อ้ งการใช้ขอ้ มู ล สามารถเข้าถึงข้อมู ลได้โดยสะดวก ส่งเสริมให้เกิดการน�ำความรูไ้ ปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์สงู สุดต่อไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ได้ตระหนักและให้ความส�ำคัญกับการน�ำเครื่องมือการจัดการความรู ม้ าประยุ กต์ใชใ้ นการขับเคลื่อน มหาวิทยาลัยให้กา้ วไปสูก่ ารเป็น “มหาวิทยาลัยแห่งการเรียนรู ้” โดยก�ำหนดให้เป็นหนึ่งในภารกิจหลักส�ำหรับการก่อตัง้ หน่วยพัฒนาองค์กร เมื่อปี พ.ศ. 2548 ที่ผา่ นมา ทัง้ นี้ ส�ำหรับจุ ดเริ่มต้นในการน�ำเครื่องมือการจัดการความรู ้ (Knowledge Management : KM) มาใชใ้ น มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์นนั้ มิได้มุง่ หวังหรือคาดหวังว่าจะท�ำ KM เพื่อให้ได้องค์ความรู ห้ รือขุมความรู ้ แต่เป็นการใช้เครื่องมือ KM ใน การ “สร้างความศรัทธาหรือความนับถือของผู ป้ ฏิบตั งิ านที่มตี อ่ ตัวเอง ต่อเพื่อนร่วมงาน และต่อองค์กร” ซึ่ งจะช่ วยสร้างความเชื่ อที่มตี อ่ KM ว่าจะสามารถเป็นประโยชน์ตอ่ การพัฒนาตนเอง พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรได้ จากวันนัน้ ถึงวันนี้ สามารถพู ดได้วา่ KM ได้เข้าไป ฝั งรากลึกและเนียนกับเนือ้ งานของคน มวล. เป็นที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่ งจะเห็นได้จากการน�ำเครื่องมือ KM ไปใชใ้ นการพัฒนางานประจ�ำเพื่อ น�ำไปสูก่ ารพัฒนาคุณภาพงาน (Routine to Quality: R2Q) ของบุ คลากรสายสนับสนุน สามารถประหยัดงบประมาณให้กบั มหาวิทยาลัย จากการพัฒนากระบวนงานเป็นมู ลค่ากว่า 3 ล้านบาท ท�ำให้ได้เครื่องมือต้นแบบใหม่ๆ ได้ระบบฐานข้อมู ลและ Application ส�ำหรับสนับสนุน การท�ำงาน และได้กระบวนงาน/ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ านใหม่ ซึ่ งจะน�ำมาบอกเล่ารายละเอียดในโอกาสต่อไป สร้างเสริมสังคมสุขภาพ สร้างเสริมความสามารถสากล
2014
สร้างเสริมสังคมเข้มแข็ง และสร้างเสริมแหล่งพัฒนาความรู ้
Once Day @Walailak
5
ความภาคภูมใิ จในการท�ำงานทีม ่ หาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
เรียบเรียง : อัจฉรา ทองนาค
นฤมล เวทยาวงศ์ พนักงานรักษาความปลอดภัย ระบบบริการกลาง ตลอดระยะเวลาที่ทำ� งานที่วลัยลักษณ์ใน ต�ำแหน่งพนักงานรักษาความปลอดภัย (รปภ.) ถึงแม้บางครัง้ ดิฉนั อาจคิดว่า ต�ำแหน่งงาน ของตัวเองอาจดูไม่มีศักดิ์ศรีมากนัก เมื่อ เทีย บพนักงานของมหาวิท ยาลัย ท่า นอื่น อย่างไรก็ตามดิฉนั ก็มคี วามภูมใิ จในงานที่ทำ� และตั้งใจท�ำงานทีไ่ ด้รับมอบหมายอย่างมี ความซื่ อสัตย์ สุจริต ตัง้ ใจให้บริการและรักษา ความปลอดภัยในชี วติ และทรัพย์ของบุ คลากร ทุกท่านอย่างเต็มก�ำลัง งานที่ทำ� ท�ำให้ดฉิ นั มีความภาคภูมใิ จในตัวเอง บุ คลากร อาจารย์ ผู บ้ ริหารหลายท่าน ให้เกียรติดฉิ นั ไม่มอง ว่า ดิฉนั เป็นแค่ รปภ. เป็นแรงบันดาลใจให้ ดิฉันตั้งใจท�ำงานอย่างสุดความสามารถ บริการอย่างเต็มใจ นั่นท�ำให้ดฉิ นั ประสบความ ส�ำเร็จในการท�ำงานระดับหนึ่ง คือ ได้รบั รางวัลเจ้าหน้าที่รกั ษาความปลอดภัยดีเด่น ประจ�ำปี ในปี ท่ผี า่ นมา และที่สำ� คัญ ท�ำให้ ดิฉนั รู ส้ กึ ว่าตนเองมีคณ ุ ค่า -><-
Once Day @Walailak
2014
สายใจ จันทร์ใหม่ เจ้าหน้าที่ภูมิทัศน์ ระบบงานภูมิทัศน์ ความภู มใิ จที่ไ ด้ มี โอกาสเป็นส่วนหนึ่งใน การท�ำงานที่มหาวิทยาลัยวลัย ลั ก ษ ณ์ การที่ดิฉันได้ทำ� งานที่น่ี นอกจากจะสร้าง ความภาคภูมใิ จให้ตัวเองแล้ว ยังท�ำให้ ครอบครัวภูมใิ จมากด้วย เพราะวลัยลักษณ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่มีช่ื อเสียงมากในภาคใต้ การได้รบั โอกาสท�ำงานในสถาบันแห่งนี้ ท�ำให้ ดิฉันตัง้ ใจท�ำงาน และอยากจะพัฒนางาน
ของตัวเองอยู ่เสมอ มหาวิทยาลัยให้โอกาส ดิฉนั ได้ทำ� งานที่มเี กียรติ ดิฉนั มีโอกาสได้จดั สถานที่อันทรงเกียรติในพิธีพระราชทาน ปริญญาบัตรเป็นประจ�ำทุกปี การศึกษา ดิฉนั มีโอกาสเพาะเลีย้ งต้นไม้นบั หมื่นต้น มีโอกาส ดูแลสถานที่ตา่ งๆ ให้มภี มู ทิ ศั น์ท่สี วยงาม ซึ่ ง งานบางงานเป็นงานที่ยาก และต้องใช้ความ พยายามเป็นอย่างมาก แต่ดฉิ นั ก็ภาคภูมใิ จ ทุกครัง้ ทีไ่ ด้รบั มอบหมายหน้าที่นี้ ในทุกวัน ดิฉนั มีโอกาสได้ขบั รถดูแลงานภูมทิ ศั น์ ท�ำให้ ดิฉนั รู ส้ กึ หวงแหน และอยากดูแลสถานที่แห่ง นี้อย่างเต็มก�ำลัง ดิฉันได้รับสิ่งดีๆ จาก บุ คลากรหลายท่าน ได้รบั ก�ำลังใจจากทัง้ พี่ๆ เพื่อนๆ แม้บางครัง้ งานที่ทำ� จะเหนื่อยล้า และท้อใจบ้าง แต่ดฉิ นั ก็ไม่คดิ จะทิง้ งาน และ ยังตั้งใจท�ำงานให้ดีท่ีสุด เพื่อตอบแทน มหาวิท ยาลัย ที่ท�ำให้ดิฉันได้รับโอกาสดีๆ ส�ำหรับการท�ำงานที่น่เี สมอมา ......
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
มุ ง่ เป้าสูก่ ารเป็น “อุ ทยานการศึกษาแห่งอาเซี ยน”
อาวุ ธ แก่นเพชร นั ก วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ อุ ทยานการเรี ย นรู ้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 16 ปี กบั มดงานตัวน้อยๆ กับการตัง้ ใจและ ทุม่ เทกับการท�ำงานที่มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ท�ำในสิ่งที่รกั รักในสิ่งที่ทำ� มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ให้อสิ ระทางความคิด ให้อสิ ระใน การสร้างสรรค์ผลงาน เริ่มจากการเป็น นักวิทยาศาสตร์ ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ดูแลการเรียนการสอนปฏิบตั ิ การให้สำ� เร็จลุลว่ ง ซึ่ งเป็นหน้าที่หลัก และยัง มีความภาคภูมใิ จกับงานที่ทำ� ได้เกินภาระงาน คือ มหาวิทยาลัยให้โอกาสท�ำงานเพิ่มเติมใน ส่วนงานวิชาการ ปั จจุ บันได้รบั การโยก ย้ายมาท�ำงานที่อุทยานการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มีโอกาสจัดค่ายวิทยาศาสตร์ การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ซ่ึ งถือเป็นการ บริการวิชาการที่ดีแก่นักเรียน การจัดท�ำ นิทรรศการซึ่ งต้องอาศัยความคิดสร้างสรรค์ ในการจัดท�ำ งานสอนนักศึกษา และมีความ ภาคภูมใิ จกับหนังสือเล่มแรกที่จดั ท�ำขึน้ คือ คู่มือศึกษาสัตว์ท่พ ี บในป่ าชายเลนจังหวัด นครศรีธรรมราช เป็นการสอนบางส่วนของ ทัง้ ภาคบรรยายและภาคปฏิบตั กิ าร มีความ ภาคภูมใิ จกับงานที่ทำ� ซึ่ งได้รบั ผลการประเมิน การปฏิบตั งิ านในระดับดีเยี่ยม และในทุกๆ วันจะตัง้ ใจท�ำงาน พัฒนาการท�ำงานของ ตนเองให้ดยี ่งิ ขึน้ กว่าเดิม -><-
Once Day @Walailak Newsletter
จงสุข อ้นสุวรรณ อาจารย์ประจ�ำส�ำนักวิชาสารสนเทศศาสตร์ ส�ำหรับคนที่อยู ร่ ว่ มกับวลัยลักษณ์มายาวนาน ตัง้ แต่ปี 2538 สิ่งที่ผา่ นมาสิบกว่าปี ยอ่ มมี ความประทับใจมากมายอยูใ่ นนัน้ อยากจะ เล่าถึงความประทับใจของตัวเองที่ มี ต่อ วลัยลักษณ์นะคะ ในแง่ของการท�ำงานร่วม กันในที่ทำ� งาน และในแง่ของความเป็นส่วน หนึ่งในการสร้างบุ คลากรสูส่ งั คม การท�ำงานในวลัยลักษณ์ ซึ่ งเป็น องค์กรขนาดเล็กในช่ วงต้นและค่อยๆ ขยาย จนเป็นองค์กรใหญ่ในปั จจุ บัน ช่ วงต้นเราจะ ประทับใจกับเพื่อนร่วมงานมากๆ ในที่นรี้ วม หมดทัง้ สายวิชาการและปฏิบตั กิ าร เพราะเรา มีความใกล้ชิดกันมาก พักอยู ่ร่วมกันใน วลัยลักษณ์ กิจกรรมใดๆ ใครท�ำอะไรก็จะ รูก้ นั สิ่งที่เห็นจนกลายเป็นสิ่งที่มรี ว่ มกัน คือ ความรู ส้ กึ มีสว่ นร่วม เห็นอกเห็นใจกันไม่วา่ จะมีงานอะไร ทุกคนจะเต็มที่ลงไปร่วมท�ำงาน ใครชวนท�ำอะไรก็ทำ� ไม่มีเกี่ยงงอน ถ้อยที ถ้อยอาศัย ซึ่ งส่งผลดีตอ่ การท�ำงานด้วยโดย ปริยาย จนเมื่อวลัยลักษณ์เติบโต คนในองค์กร รูจ้ กั กันน้อยลง สายสัมพันธ์สว่ นตัวน้อยลง แต่ส่ิงที่ยังไม่เปลี่ยนแปลงคือความทุ่มเทใน การท�ำงาน เห็นได้ชัดมากเมื่อเรามีกจิ กรรม ของมหาวิ ท ยาลั ย ที่ต้ อ งรวมคนจากทุก หน่วยงานมาร่วมกันท�ำ ไม่วา่ จะเป็นกีฬา ระดับมหาวิทยาลัย งานจัดการประชุมวิชาการ งานสถาปนา มวล. งานจรต่างๆ ทุกครัง้ ที่ ไปร่วมท�ำงานจะรู ส้ กึ ดีเสมอที่พบว่า ทุกคน ต่างพยายามท�ำงานสุดความสามารถและ เสนอตัวช่ วยเหลือคนรอบข้างเสมอ ส่วนหนึ่งที่ภมู ใิ จมากทีไ่ ด้มาท�ำงาน ที่น่ีคือโอกาสทีไ่ ด้เป็นส่วนหนึ่งในการสร้าง บุ คลากรคุณภาพสู่สังคม ทุกครัง้ ที่เห็น นักศึกษาเรียนจบกลายเป็นบัณฑิต จะภูมใิ จ อยู ่ลึกๆ ว่าเราเป็นส่วนเล็กๆ ส่วนหนึ่งใน ความส�ำเร็จของเขา และก็สขุ ใจทีไ่ ด้เฝ้ามอง ความส�ำเร็จของเขาต่อไป ดีใจเสมอมาที่เป็นบุ คลากรคนหนึ่ง ของวลัยลักษณ์คะ่ -><-
@Walailak
6
ดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจ
แนวทางการพัฒนาระบบรวมบร กิ ารประสานภารก จ ิ
Once Day @Walailak Newsletter
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
ผศ.ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป ์ / ผูช้ ว่ ยอธิการบดีฝา่ ยพัฒนาและสือ่ สารองค์กร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ระบบรวมบริการประสานภารกิจ เป็นระบบบริการกลางที่มหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ได้ยดึ เป็นระบบบริการกลางนับ ตั้งแต่เริ่ม ต้นก่อ ตั้งมหาวิท ยาลัย เมื่อ ปี พ.ศ. 2535 ภายใต้แนวคิดการรวมงาน บริการทัง้ การบริการแก่หน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกไว้ท่สี ว่ นกลางเพื่อ เป็นการลดความซ�้ ำซ้อนในด้านอัตราก�ำลัง งบประมาณ และภาระหน้าที่ โดยงานที่มี การรวมไว้เป็นบริการกลางประกอบไปด้วย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัย ไม่วา่ จะเป็นการผลิตบัณฑิต การวิจยั และการบริการวิชาการ ประกอบ ไปด้วย 8 ศูนย์ 1 สถาบัน 1 อุ ทยาน 2 ส่วน ได้แก่ ศูนย์บริการวิชาการ ศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์บริการการศึกษา ศู น ย์ บ รรณ สารและสื่ อ การศึ ก ษา ศูนย์เครื่องมือวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศู น ย์ ส หกิ จ ศึ ก ษาและพั ฒ นาอาชี พ ศูนย์วทิ ยบริการมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จ.สุราษฎร์ธานี โครงการศูนย์กฬ ี าและ สุขภาพ สถาบันวิจยั และพัฒนา อุ ทยาน วิทยาศาสตร์ภาคใต้ ส่วนส่งเสริมวิชาการ และส่วนกิจการนักศึกษา โดยมีฟาร์ม มหาวิทยาลัยเป็นหน่วยงานสนับสนุน และ พันธกิจการท�ำนุบำ� รุงศิลปวัฒนธรรม มี อาศรมวัฒนธรรมเป็นหน่วยงานหลัก ภายใต้การสนับสนุนของส่วนวิเทศสัมพันธ์ และส่วนประชาสัมพันธ์ ในขณะที่หน่วยงานสนับสนุน บริการพื้นฐานทีใ่ ห้บริการหน่วยงานอื่น ภายในมหาวิทยาลัยทัง้ หมด ประกอบไป ด้วย 6 ส่วน 2 หน่วย ได้แก่ ส่วนพัสดุ ส่วนการเงินและบัญชี ส่วนสารบรรณและ อ�ำนวยการ ส่วนแผนงาน ส่วนอาคาร สถานที่ ส่วนการเจ้าหน้าที่ หน่วยพัฒนา องค์กร และหน่วยประสานงานมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์กรุงเทพมหานคร และมีหน่วย ช่ วยกันจัดองค์กร ช่ วยกันท�ำผลงาน
งานสนับสนุนได้แก่ หน่วยตรวจสอบภายใน และส�ำนักงานสภามหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ในการติดตามประเมินผลเพื่อเสริมเติมเต็ม ในการพัฒนาระบบงานเพื่อประสิทธิภาพ ในการด�ำ เนิ น งานของมหาวิ ท ยาลั ย นอกจากนี้ ระบบรวมบริการประสานภารกิจ จึงรวมไปถึงงานธุ รการของแต่ละส�ำนัก วิชาด้วยเนื่องจากงานธุ รการเป็นงานที่ ส�ำคัญในการที่จะเชื่ อมโยงการท�ำงานของ คณาจารย์ในส�ำนักวิชาฯ กับหน่วยงาน สนับสนุนอื่นๆ แนวคิดของระบบรวมบริการ ประสานภารกิจอยู ่ภายใต้แนวคิดการ ออกแบบระบบองค์กรให้มคี วามคล่องตัว กะทัดรัดและมุ ง่ เน้นงานหลักที่รบั ผิดชอบ ของหน่วยงานโดยตรง รวมถึงการลด ความซ�้ ำซ้อนในงานด้วยการวิเคราะห์งาน ที่มลี กั ษณะคล้ายคลึงกันและน�ำมารวมกัน เป็นหน่วยงานที่มคี วามช� ำนาญเฉพาะเรื่อง ที่จะท�ำให้หน่วยงานต่าง ๆ สามารถท�ำงาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยที่มีจ�ำนวน พนักงานในแต่ละหน่วยงานไม่มากนัก และ ในบางงานสามารถช่ วยลดต้ น ทุ น การด�ำเนินงานได้มาก ยกตัวอย่างเช่ น งานด้านการพัสดุท่จี ะท�ำให้มหาวิทยาลัย มีอำ� นาจการต่อรองในการเจรจากับตัวแทน จ�ำหน่ายหรือผู ท้ ่เี ข้าน�ำเสนองาน เป็นต้น ซึ่งระบบนีจ้ ะสอดคล้องกับโครงสร้างองค์กร แบบแบนราบ (Flat Organization) ของ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ดังนัน้ จึงกล่าวได้วา่ หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับระบบรวมบริการประสาน ภารกิจจึงเกี่ยวข้องกับการบริการให้กับ หน่วยงานภายในและหน่วยงานภายนอก ด้วยเหตุนี้ หน่วยงานต่างๆ จึงต้องให้ ความส�ำคัญกับการบริการและจิตส�ำนึก ในการบริการ (Service Mind) และการ ท�ำงานข้ามหน่วยงาน (Cross Function)
ที่ตอ้ งอาศัยการประสานงานตามปรัชญา หลักของระบบรวมบริการประสานภารกิจ นั่ น หมายความว่า นอกจากหัว หน้า หน่วยงานย่อยในมหาวิทยาลัยจะให้ความ ส�ำคัญกับงานของตนเอง ยังต้องค�ำนึง ถึงการให้บริการกับหน่วยงานอื่นๆ ภายใน มหาวิทยาลัยอีกด้วย ด้วยเหตุผลนี้ คุณภาพ การบริการของแต่ละหน่วยงานจึงขึ้นอยู ่ กับศักยภาพในการบริหารจัดการของ หัวหน้าหน่วยงานแต่ละหน่วยงาน แต่ทงั้ นี้ ระบบรวมบริการประสานภารกิจไม่ได้มกี าร วิเคราะห์หรือพัฒนาปรับปรุงมาเป็นระยะ เวลานาน ทัง้ ทีใ่ นช่ วงเริ่มต้นมีการพู ดคุย และเสวนาเพื่อพัฒนาระบบรวมบริการ ต่างๆ อย่างสม�่ำเสมอแต่ในระยะหลังขาด การบู รณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงาน ด้วยเหตุนี้ เพื่อการด�ำเนินงานที่มปี ระสิทธิภาพ ตามนโยบาย CLIPS & CLEAR ของ อธิการบดีอนั น�ำไปสูก่ ารเพิ่มศักยภาพใน การแข่งขันของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ จึงจ�ำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบรวมบริการ ประสานภารกิจของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อน�ำไปสู่การบรรลุพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัยและการเติบโตอย่างมั่นคง ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ปั ญหาและอุ ปสรรคในการด�ำเนินงาน ภายใต้ระบบรวมบริการประสานภารกิจ งานที่ส�ำคัญในเบื้องต้นก่อน การพัฒนาระบบรวมบริการประสานภารกิจ ใ ห้ ม ี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น คื อ การวิ เ คราะห์ ปั ญหาและอุ ปสรรคใน การด�ำเนินงานภายใต้ระบบรวมบริการ ประสานภารกิจ โดยอาศัยข้อมู ลซึ่ งหน่วย พัฒนาองค์กรได้รบั แนวทางและนโยบาย ของอธิการบดีไปสูก่ ารปฏิบตั ดิ ว้ ยการจัด เวทีประชุ มกลุ่มย่อยเพื่อหารือเกี่ยวกับ ปั ญหาและอุ ปสรรค รวมไปถึงแนวทาง
Once Day @Walailak
2014
ผู ท้ ่ตี อ้ งรับผิดชอบหลักในการตรวจสอบ ติดตามงานที่เกี่ยวข้อง และแจ้งให้กับ บุ คลากรที่เกี่ยวข้องโดยตรงภายในระยะ เวลาที่ก�ำหนดไว้ในระบบมาตรฐานการ บริการ ทุกฝ่ ายสามารถติดตามงานได้ และสามารถแก้ไขปั ญหาที่เกิดขึน้ ได้อย่าง มีประสิทธิภาพ ทัง้ นี้ การพัฒนาระบบ เทคโนโลยีสารสนเทศกลางต้องอาศัยการ ประชุ มหารือของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องใน การก�ำหนดบทบาทและความรับผิดชอบ ของแต่ละฝ่ ายในเครือข่ายการบริการแต่ละ เครือข่าย 6. ขาดระบบการประเมินผล คุณภาพการบริการที่มีมาตรฐานและมี ประสิทธิภาพ เนื่องจากการประเมินผล คุณภาพการบริการของแต่ละหน่วยงาน ในปั จจุ บนั มีการด�ำเนินงานอย่างเป็นอิสระ ของแต่ละหน่วยงาน ซึ่ งโดยส่วนใหญ่ใช้ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการประเมิน คุณภาพการบริการแต่มกี ารตัง้ ค�ำถามที่ แตกต่างกั น และเป็ นการมุ ่งวั ด เฉพาะ กระบวนการให้บริการที่เกี่ยวข้องกับหน่วย งานตนเองทัง้ ที่ระบบการบริการอาจจะ เกี่ยวข้องกับหน่วยงานหรือบุ คคลอื่นๆ ด้วยท�ำให้ผลการประเมินไม่ได้สะท้อนถึง คุณภาพการบริการที่แท้จริง ด้วยเหตุนี้ การประเมินผลคุณภาพการบริการจึงไม่ น�ำไปสูก่ ารปรับปรุงแก้ไขระบบการบริการ ภายในระบบรวมบริการประสานภารกิจ จากทีไ่ ด้กล่าวไปข้างต้นจะเห็น ได้วา่ ปั ญหาและอุ ปสรรคในการพัฒนา ระบบรวมบริการประสานภารกิจจะเกี่ยวข้อง กับนโยบายที่ชัดเจนของผู บ้ ริหารระดับสูง หัวหน้าหน่วยงาน ผู ป้ ฏิบัติงาน ระบบ มาตรฐานการบริการ และเครื่องมือทาง ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที่จะช่ วยท�ำให้ทกุ ส่วนที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงฐานข้อมู ล เดียวกันและสามารถท�ำงานแบบบู รณาการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ การขับเคลื่อนต้อง อาศัยองค์ประกอบทุกส่วน จึงต้องบู รณา การทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันพัฒนา กระบวนการที่มปี ระสิทธิภาพ ...โปรดติดตามตอนต่อไปฉบับหน้า...
7
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยแห่งความสุข
ความเชื่ อมโยงกับบุ คคลหรือหน่วยงานอื่น ระยะเวลามาตรฐานทีใ่ ชใ้ นการบริการ ฯลฯ จึงส่งผลให้การท�ำงานของบุ คลากรใน หลายหน่วยงานมุ ง่ เน้นเฉพาะงานที่ตนเอง รับผิดชอบ ขาดการมองถึงกระบวนการ ที่เกี่ยวข้องกับงานของตนเองและการเชื่ อม โยงกับงานอื่นที่เกี่ยวข้องของหน่วยงานอื่นๆ หรือ กล่า วได้ว่า เป็น การท�ำ งานเชิ งรับ (Reactive) ซึ่ งอาจจะเกิดมาจากการขาด จิตส�ำนึกในการบริการหรือความไม่เข้าใจ ถึงบทบาทความส�ำคัญของตนเองต่อระบบ งานโดยรวม 4. ขาดระบบมาตรฐานการบริการ ที่ชัดเจน แม้วา่ หลายหน่วยงานได้มกี าร วางแผนระบบงานที่เกี่ยวข้องแต่ขาดการ จัดท�ำเป็นลายลักษณ์อักษรจึงส่งผลให้ บุ คลากรในแต่ละหน่วยงานไม่เข้าใจบทบาท ความส�ำคัญ หน้าที่และความรับผิดชอบ ของตนเองในระบบรวมบริการประสาน ภารกิจ รวมไปถึงความจ�ำเป็นที่จะต้องมี การท�ำงานข้ามหน่วยงาน จึงส่งผลให้การ ท�ำงานของหน่วยงานในระบบรวมบริการ ประสานภารกิจขาดการเชื่ อมโยงกระบวนการ ที่เกี่ยวข้อง และส่งผลต่อการผลักภาระ ความรับผิดชอบให้กับหน่วยงานอื่นหรือ ผู ้รับ บริการ และก่ อให้เกิ ด คุณ ภาพ การบริการทีไ่ ม่มปี ระสิทธิภาพ 5. ขาดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่เชื่ อมโยงระบบรวมบริการประสานภารกิจ เนื่องจากการท�ำงานภายใต้ระบบรวม บริการประสานภารกิจเป็นการท�ำงานข้าม หน่วยงานและต้องเกี่ยวข้องกับบุ คคลหลาย ฝ่ าย ยกตัวอย่างเช่ น ปั ญหาที่เกิดขึน้ ใน ห้องเรียนจะมีความเชื่ อมโยงเกี่ยวข้องกับ เจ้าหน้าที่จากศูนย์บริการการศึกษา ส่วน อาคารและสถานที่ และศูนย์คอมพิวเตอร์ โดยแต่ละหน่วยงานจะรับผิดชอบงานที่ เกี่ ยวข้ อ งกั บ ตนเอง ท� ำให้ ข าด การบู รณาการกระบวนการแก้ไขปั ญหาที่ เกิดขึน้ และมีการแยกส่วนงานที่เกี่ยวข้อง หากมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ หน่วย งานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะมีการจัดสรร
Once Day @Walailak
Once Day @Walailak Newsletter
การพัฒนาระบบรวมบริการประสานภารกิจ ตลอดจนการสังเกตอย่างมีสว่ นร่วมกับ บุ คลากรของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ โดย สามารถวิเคราะห์ปัญหาและอุ ปสรรคได้ ดังนี้ 1. ขาดการเชื่ อมโยงกันในระดับ นโยบาย เนื่องจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับระบบรวมบริการประสานภารกิจนัน้ จะ ถูกก�ำกับดูแลโดยรองอธิการบดีและผู ช้ ่ วย อธิการบดีตามทีไ่ ด้รบั การมอบหมายจาก อธิการบดี โดยในระดับนโยบาย ผู บ้ ริหาร ระดับสูงได้มกี ารให้นโยบายแก่หน่วยงาน ที่กำ� กับดูแลที่อาจจะขาดความเชื่ อมโยง หรือเกี่ยวข้องกับการด�ำเนินงานของหน่วย งานอื่นจึงส่งผลต่อการด�ำเนินงานของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องไปในทิศทางที่แตก ต่างกัน หากผู บ้ ริหารระดับสูงมีการก�ำกับ ดูแลและก�ำหนดนโยบายความเชื่ อมโยงกับ หน่วยงานอื่นๆ จะส่งผลส�ำคัญยิ่งต่อการ พัฒนาระบบรวมบริการประสานภารกิจ 2. การขาดการมุ ่งเป้าหมาย ร่วมกันของหัวหน้าหน่วยงานในระบบรวม บริการประสานภารกิจ ดังเห็นได้จากการ จัดประชุ มกลุ่มย่อยเพื่อเสวนาและแลก เปลี่ยนปั ญหาและอุ ปสรรคในการด�ำเนิน งานของระบบรวมบริการประสานภารกิจ ไม่ได้รบั ความส�ำคัญจากหัวหน้าหน่วยงาน โดยหลายหน่วยงานส่งผู แ้ ทนเข้าร่วมประชุม ทีไ่ ม่ซ้� ำกันในแต่ละครัง้ ท�ำให้บางหน่วยงาน ขาดการน�ำผลการประชุมหารือไปปรับปรุง การบริการของหน่วยงานตนเอง รวมไป ถึงการบริหารจัดการภายในหน่วยงานที่ มุ ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ของแต่ละหน่วยงาน มากกว่าการมุ ่งเป้าหมายโดยรวมของ องค์กร 3. การมุ ง่ เน้นเฉพาะงานที่แต่ละ บุ คคลรับผิดชอบ โดยขาดการบู รณาการ เชื่ อมโยงกับหน่วยงานอื่น ที่เกี่ยวข้อง เนื่องจากหน่วยงานต่างๆ ไม่มกี ารจัดท�ำ และพัฒนาคู่มือระบบการไหลของการ บริการ (Service Flow) ที่แสดงรายละเอียด ของงานที่รบั ผิดชอบ บุ คคลที่รบั ผิดชอบ
2014
สร้างบรรยากาศ จัดสภาพแวดล้อม
@Walailak
8
ดูแลสุขภาพกาย และสุขภาพใจ
สุขภาพ in trend : วิจยั ชี้ นัง่ ท�ำงานนานหลายชัว่ โมง โรคภัยรุมเร ้า-เสีย่ งพิการ
แหล่งที่มา : http://health.kapook.com/view83804.html [24 มีนาคม 2557]
Once Day @Walailak Newsletter
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
วิจยั ชี้ การที่เรานั่งท�ำงานนานติดต่อ กันหลายชั่วโมง ท�ำให้สขุ ภาพเราแย่ จากรายงาน เว็บไซต์เดลี่เมลของอังกฤษ เผยผลวิจยั ที่ตพี มิ พ์ ลงในนิตยสาร Physical Activity & Health ของสหรัฐฯ ว่า การที่เรานั่งท�ำงานนานจน เกินไป หรือนั่งติดต่อกันนานเกิน 12 ชั่วโมง ต่อวัน ท�ำให้รา่ งกายของเรามีโอกาสเสี่ยงที่จะ เกิดปั ญหาด้านสุขภาพหลายประการ และท�ำให้ เกิดความเสี่ยงต่อการพิการมากถึง 50% ศาสตราจารย์ มาร์ก ไวท์ลยี ์ จาก ไวท์ลยี ์ คลินกิ ที่เวสท์ลอนดอน ได้อธิบายว่า การนั่งนานๆ นัน้ จะท�ำให้เลือดไม่สามารถไหล เวียนออกจากขาขึน้ มาสูห่ วั ใจได้ ท�ำให้เส้นเลือด ด�ำในขาและเท้ามีความดันโลหิตสูงตลอดเวลา และเมื่อผนังของเส้นเลือดด�ำได้รับแรงดันสูง ตลอดเวลา โปรตีนและของเหลวบางชนิดอาจ รั่วไหลไปยังเนื้อเยื่อจนส่งผลให้เกิดการติดเชื้ อ ได้ นอกจากนีจ้ ากการไหลเวียนของเลือดที่ขา ลดลง ยังสามารถเพิ่มความเสี่ยงต่อการอุ ดตัน ของเส้นเลือดได้อกี ด้วย เช่ น โรคหลอดเลือดด�ำ อุ ดตัน (DVT) เป็นต้น หากเราแกว่งเท้า หรือ ลุกขึน้ เดิน เปลี่ยนอิรยิ าบถ ทุกๆ 20 นาที จะ สามารถช่ วยการไหลเวียนของเลือดได้ นอกจากนัน้ การที่เรานั่งท�ำงานอยู ่ ่ กับทีเป็นเวลานานหลายชั่ วโมงติดต่อกัน ยัง สามารถน�ำมาซึ่ งปั ญหาสุขภาพร้ายอีกหลาย ประการ ดังนี้ 1. น�้ำตาลในเลือดสูง มาร์ก แวนเดอร์พัมพ์ วิทยากร อาวุโสด้านโรคเบาหวานและต่อมไร้ท่อ จาก Royal Free London NHS Foundation Trust เผยว่า การนั่งนานเกินไปโดยไม่มกี ารเคลื่อนไหว ร่างกายเป็นเวลานาน อาจท�ำให้เราเกิดการต่อ ต้านอินซู ลนิ ได้ และน�ำเราไปสูโ่ รคเบาหวานชนิด ที่ 2 อย่างไรก็ตาม การเคลื่อนไหวเล็กๆ น้อยๆ จะสามารถช่ วยเพิ่มระดับการท�ำงานของอินซูลนิ ที่กระท�ำต่อกลูโคส และช่ วยระบบกล้ามเนือ้ ได้
2. ท้องผู ก แอนตัน เอ็มมานูเอล ที่ปรึกษาด้าน ระบบทางเดินอาหารจาก University College Hospital ในกรุงลอนดอน อังกฤษ เผยว่า การ ที่เราไม่เคลื่อนไหวเป็นเวลานานนั้นจะท�ำให้เรา เกิดอาการท้องผู กได้ เพราะเมื่อเรานั่งนานๆ จะ ส่งผลให้การบีบหดตัวของล�ำไส้ลดลง เป็นผล ให้อุจจาระแห้งแข็งและถ่ายออกได้ยาก และ อาการนีจ้ ะเกิดขึ้นภายใน 24 ชั่วโมง หากมี การนั่งอยู ก่ บั ที่นานๆ อย่างไรก็ตาม เราสามารถ ลดความเสี่ยงได้ด้วยการออกก�ำลังกายเบาๆ สัก 10 นาทีตอ่ วัน เช่ น การเดินบันไดขึน้ ลงใน ที่ทำ� งาน
5. มะเร็งล�ำไส้ใหญ่ นักวิทยาศาสตร์ จากมหาวิทยาลัย เวสเทิรน์ ออสเตรเลีย พบว่า ผู ท้ ่ีน่งั ท�ำงาน ประจ�ำเป็นเวลานานกว่า 10 ปี มีโอกาสที่จะเกิด เนือ้ งอกที่ลำ� ไส้ใหญ่สว่ นปลายมากกว่าถึง 2 เท่า และ 44% ของผู ป้ ่ วยก็มโี อกาสพัฒนากลายมา 3. ปวดศีรษะ เป็นมะเร็งได้ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีปัจจัยอีก ่ แซมมี มาร์โก้ นักกายภาพบ�ำบัด เผย หลายประการเช่ นกัน ที่จะท�ำให้ผูท้ ่นี ่งั ติดเก้าอี้ ว่า การที่เรานั่งท�ำงานอยู ่ทโ่ี ต๊ะท�ำงานเป็นเวลา นานๆ เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็ง นาน จะท�ำให้ศรี ษะ คอ หลัง และไหล่ของเรา ล�ำไส้ใหญ่ เกิดการงอตัวเป็นรู ปตัว C ซึ่ งจะท�ำให้เราเกิด อาการปวดศีรษะได้ นอกจากนี้ การงอตัวนี้ ยังส่งผลกระทบต่อไหล ท�ำให้มอี าการปวดไหล่ ไหล่แข็ง หรือเคลื่อนไหวได้นอ้ ยลงอีกด้วย โดย แซมมี่ ได้ให้คำ� แนะน�ำว่า ท่านั่ง ที่ดนี นั้ ควรจะนั่งให้บนั้ ท้ายชิ ดส่วนในสุดของเก้าอี้ หลังติดพนักพิง และเพื่อบรรเทาอาการปวด เมื่อยที่หลังส่วนกลางและส่วนบนนัน้ สามารถ ท�ำได้ดว้ ยการเอื้อมมือทัง้ 2 ข้างไปจับกันไว้ ด้านหลัง เพื่อช่ วยกูค้ นื ลักษณะการขดตัวรูปตัว C โดยให้ทำ� ในทุกๆ ชั่วโมงของการท�ำงาน 4. หัวเข่าเสื่อม เราอาจจะคิดว่าโรคข้อเข่าเสื่อมมักจะ เกิดขึน้ ในคนที่ออกก�ำลังกายเป็นประจ�ำมากกว่า แต่ผูเ้ ชี่ ยวชาญได้เผยว่า การนั่งนานเกินไปนัน้ ยังมีส่วนเชื่ อมโยงสู่อาการหัวเข่าเสื่อมเช่ นกัน เพราะการไม่ได้เคลื่อนที่เป็นเวลานานนัน้ ได้นำ� ไป สูโ่ รคอ้วน และมวลของร่างกายที่เพิ่มขึ้นก็สง่ ผลให้เกิดความดันที่ขอ้ ต่อมากขึน้ นอกจากนี้ การไม่ได้ใช้งานกล้ามเนื้อเป็นระยะเวลานาน
สุขภาพ อยู ่ท่ีเรา เอาใจใส่ หรือไม่หนอ จิตสดใส อยูใ่ นกาย โรคคลายคุ้ม ช่ วยกันจัดองค์กร ช่ วยกันท�ำผลงาน
ยังอาจน�ำไปสูภ่ าวะกล้ามเนือ้ อ่อนแรงอีกด้วย โดย ฟิ ลปิ ส์ โคนาแกน ศาสตราจารย์ ด้านกล้ามเนื้อและกระดูก ที่มหาวิทยาลัยลีดส์ เผยว่า ให้ลองสังเกตดูวา่ หากเราต้องใช้แขน ของเราช่ วยยันในขณะที่ลุกขึ้นจากเก้าอี้ นั่น หมายถึงกล้ามเนือ้ ต้นขาของเราเริ่มอ่อนแรงลง แล้ว
อย่ามัวรอ ให้สายนาน พิการกลุ้ม อยากสาวหนุ่ม อายุ ยนื รีบตื่นตัว
2014
สร้างบรรยากาศ จัดสภาพแวดล้อม
Once Day @Walailak
9
“เจ้าป ัญญา” สือ ่ สัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผศ.ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป ์
Once Day @Walailak
สื่อสารสร้างความสัมพันธ์
วลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยแห่งความสุข
ความคิดที่จะน�ำนกฮู กมาสื่อสัญลักษณ์เพื่อ สื่อสารภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ประกอบ กับได้มโี อกาสเรียนรูแ้ ละเก็บเกี่ยวประสบการณ์ จาก ศาสตราภิชานไกรฤทธิ์ บุ ณยเกียรติ กรรมการติ ด ตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลการด�ำเนินงานของมหาวิทยาลัย วลัยลักษณ์ กูรูดา้ นการตลาดชั้นน�ำของ เมื อ งไทย ในที่ สุ ด สัญลักษณ์ของนกฮู กก็ ก่อเกิดขึ้น ในชื่ อที่ว่า N’Woo Woo (น้อง วู วู) ตามชื่ อย่อภาษาอังกฤษ ของมหาวิทยาลัย พร้อม กับข้อความที่วา่ “Join Wu to become Who’s Who” ที่มคี วามหมายว่า มาร่วมเป็นส่วนหนึ่งของ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อพัฒนาตนให้เป็นผู ท้ ่ี มีความรู ค้ วามสามารถ ตามศักยภาพของแต่ละบุ คคล” N’Woo Woo ถูกออกแบบ และเผยแพร่สู่ ประชาคมวลัยลักษณ์ดว้ ยกลยุ ทธ์ Question Marketing โดยจัดท�ำเป็นป้ายโฆษณาติด ที่ประตูทางเข้ามหาวิทยาลัย เพื่อให้เกิด ค�ำถามจากผู พ้ บเห็นป้ายนี้ จากนัน้ สัญลักษณ์ N’Woo Woo ก็นำ� ไปจัดท�ำเป็นแบนเนอร์ ประชาสัมพันธ์ในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัย
พร้อมความหมายที่ต้องการสื่อให้ทุกคน ทราบ ขณะเดียวกัน N’Woo Woo ก็ได้ ไปอยู ่ เป็ นส่วนหนึ่งของสมุ ดบั น ทึก และ สมุ ดโน้ตที่นำ� ไปมอบให้กบั บุ คคลและองค์กร ต่างๆ พร้อมกับน�ำไปสร้างสรรค์ลงบน แก้วน�้ำ มอบให้แก่แขกผู ม้ เี กียรติ รวมทัง้ เสือ้ T-shirt ที่ประชาคมวลัยลักษณ์ให้ความ สนใจซื้ อใส่กนั ด้วย การรณรงค์ N’Woo Woo ให้ ่ เป็นสือสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย ไม่ได้ หยุ ดเพียงแค่นั้น ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ ยังได้นำ� N’Woo Woo ไปเป็น ส่วนหนึ่งของการเรียนการสอนในสาขา การตลาด เพื่อให้นกั ศึกษาชั้นปี ท่ี 4 ได้มี โอกาสเรีย นรู ้และท�ำงานเปรีย บเสมื อน ทีมงานการตลาดในสถานการณ์จริง โดย นักศึกษาต้องท�ำให้ N’Woo Woo เข้าไป อยูใ่ นใจของกลุ่มเป้าหมายภายใต้แนวคิด การมีสว่ นร่วม (Value Co-Creation) ซึ่ ง ก็ประสบความส�ำเร็จในระดับหนึ่ง นอกจากนี้ ยังมีกจิ กรรมให้สมาชิ ก Facebook ของ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ได้รว่ มสนุกใน การตัง้ ชื่ ออย่างเป็นทางการ ในรอบแรก กรรมการได้เลือกชื่ อที่มผี ู ส้ ง่ เข้ามา จ�ำนวน 2 ชื่ อ คือ น้องขวัญใจ และน้องเจ้าปั ญญา เพื่อให้สมาชิ กร่วมโหวต โดยชื่ อทีไ่ ด้รบั ได้ รับความชื่ นชอบและกด Like มากที่สดุ คือ “น้องเจ้าปั ญญา” จากนัน้ “น้องเจ้าปั ญญา” ก็ได้ถูกน�ำมาสื่อสารเป็นภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย พร้อมทัง้ จัดท�ำ “น้องเจ้าปั ญญา” ในอิรยิ าบถและการสื่อความหมายที่แตกต่างกัน เพื่อน�ำไปใช้ประโยชน์ในการสื่อสารอีกด้วย ทัง้ หมดนีเ้ ป็นเพียงจุ ดเริ่มต้นของ การน�ำนกฮู ก “น้องเจ้าปั ญญา” มาเป็นสื่อ สั ญ ลั ก ษณ์ ข องการประชาสั ม พั น ธ์ ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ให้เป็นที่รู้จักกันในวงกว้าง และยังคงมี โครงการรณรงค์เกี่ยวกับ “น้องเจ้าปั ญญา” ออกมาอย่างต่อเนื่อง
Once Day @Walailak Newsletter
แต่โดยลักษณะโครงสร้างของดอกประดู่ท่ี ค่อนข้างเล็กและละเอียดอ่อน คงจะน�ำมา สื่อเพื่อให้เห็นภาพลักษณ์ในรู ปแบบต่างๆ ไม่ใช่ เรื่องง่าย ส่วนนกกระฮัง ซึ่งมหาวิทยาลัย ใช้เป็นสัตว์นำ� โชคในครัง้ ที่เป็นเจ้าภาพจัดการ แข่งขันกีฬามหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย และการแข่งขันกีฬาบุ คลากร ที่คนส่วนมาก รูจ้ กั กันดีอยู แ่ ล้ว แต่จะหาเรื่องราวเชื่ อมโยง
กับภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยได้อย่างไร ไม่ใช่ เรื่องง่าย เผอิญมาได้ยนิ เรื่องราวเกี่ยว กับนกฮู ก ซึ่ งเป็นนกที่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุ ฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ทรงชื่ นชอบเป็ น พิ เศษ จึงจุ ดประกาย
2014
“เจ้าปั ญญา” นกฮู กน้อยภายใต้ การสร้างสรรค์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ เพื่อเป็นสื่อสัญลักษณ์เชิ งภาพลักษณ์ของ มหาวิทยาลัย เป็นตัวแทนความขยัน อดทน สูง้ าน ไม่ยอ่ ท้อต่อความยากล�ำบาก ตาม อั ต ลั ก ษณ์ ข องบั ณ ฑิ ต มหาวิ ท ยาลั ย วลัยลักษณ์ท่วี า่ “บัณฑิตมีความรูค้ กู่ ารปฏิบตั ิ อุ ตสาหะสู้งาน เก่งด้านศิลปศาสตร์และ เทคโนโลยี มีคณ ุ ธรรม : Walailak graduates have practical intelligence, adversary quotient, liberal arts perspective and technology competence, all integrated with high moral.” ผู ช้ ่ วยศาสตราจารย์ ดร.ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ ผู ช้ ่ วยอธิการบดี ฝ่ ายพัฒนาและสื่อสารองค์กร เล่าถึงที่มา ก่อนที่จะมาเป็นนกฮู ก “น้องเจ้าปั ญญา” ว่า จุ ดเริ่มต้นมาจากความคิดที่จะสื่อสาร ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ ผ่านสื่อสัญลักษณ์สกั อย่าง แต่กม็ ปี ระเด็น ให้คดิ อยู ่ 2 เรื่อง คือ การน�ำต้นประดู่ ซึ่ ง เป็นต้นไม้ของมหาวิทยาลัยมาเป็นสัญลักษณ์
กิจกรรมแฮปปี้-8 หน่วยพัฒนาองค์กร มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ อาคารบริหาร ชั้น 2 เลขที่ 222 ต.ไทยบุ รี อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช 80161 ประเทศไทย โทรศัพท์ 075673847-8 โทรสาร 075673846 เว็บไซต์ http://od.wu.ac.th