ไรสํานึกสูสาํ นึก (Subconscious to be Conscious)
โดย นางสาวณัฐนันท วัฒนแสงพันธ
ศิลปนิพนธฉบับนี้เปนสวนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาศิลปบัณฑิต ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปการศึกษา ๒๕๕๔
ก
Subconscious to be Conscious
By Miss Natthanan Vatthanasangpan
A thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree Bachelor of Fine Art (B.F.A.) Department of Painting, THE FACULTY OF PAINTING SCULPTURE AND GRAPHIC ARTS SILPAKORN UNIVERSITY 2011 ข
คณะจิ ต รกรรมประติ ม ากรรมและภาพพิ ม พ มหาวิท ยาลั ย ศิ ลปากร อนุ มั ติใ ห นั บ เอกสารศิ ล ปนิ พ นธ ฉ บั บ นี้ เป น ส ว นหนึ่ ง ของการศึ ก ษาตามหลั ก สู ต รปริ ญ ญาศิ ล ปบั ณ ฑิ ต สาขาวิชาจิตรกรรม ................................................................... (รองศาสตราจารยปริญญา ตันติสุข) คณบดีคณะจิตรกรรมประติมากรรมและภาพพิมพ ………./…………………/………. คณะกรรมการตรวจศิลปนิพนธ
.......................................................... ประธานกรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยไพโรจน วังบอน) …………./…..……………/…………… .......................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยพิชิต ตั้งเจริญ) …………./…..……………/…………… .......................................................... กรรมการ (อาจารยธณฤษภ ทิพวารีย) …………./…..……………/…………… .......................................................... กรรมการ (ผูชวยศาสตราจารยนาวิน เบียดกลาง) …………./…..……………/…………… ...................................................... กรรมการและเลขานุการ (อาจารยพรรษา พุทธรักษา) …………./…..……………/……………
ผูควบคุมศิลปนิพนธ
.......................................................... (ผูชวยศาสตราจารยนาวิน เบียดกลาง) …………./…..……………/…………… ค
หัวขอศิลปนิพนธ ชื่อนักศึกษา สาขาวิชา ภาควิชา ปการศึกษา
ไรสํานึกสูสํานึก นางสาวณัฐนันท วัฒนแสงพันธ จิตรกรรม จิตรกรรม ๒๕๕๔ บทคัดยอ
สุนทรียภาพเปนสิ่งหลอเลี้ยงจิตใจและชีวิตของสิ่งมีชีวิต ขาพเจาสรางสุนทรียภาพผาน ทางกระบวนการสร า งสรรค ผ ลงาน จากสั ม ผั ส ในพลั ง ความเคลื่ อ นไหวในธรรมชาติ แ ละ สภาพแวดลอมจากประสบการณการดํารงชีวิต คือ พลังของการแสดงออกถึงความเปนธรรมชาติ และสัญชาตญาณ ที่สะทอนถึงความเปนชีวิตและจิตวิญญาณของสิ่งนั้น เปนปฏิสัมพันธระหวาง ขาพเจากับสรรพสิ่งตาง ๆ ในธรรมชาติและสภาพแวดลอม จึงกอเกิดเปนสัมผัสและภาษาภาพใน จินตนาการที่เปนนามธรรมทางความรูสึกภายในตอขาพเจา นํามาถายทอดสูผลงานผานทาง กระบวนการสรางสรรคดวยการแสดงออกทางสัญชาตญาณและความจริงภายในที่มี เปนเสมือน ชวงเวลาแหงการสรางสุนทรียภาพและสัจจะของกระบวนการสรางสรรคที่ขาพเจาไดรับจากการได ถายทอดภาษาภาพที่เปนนามธรรมทางความรูสึกจากสัมผัสในพลังความเคลื่อนไหวนี้
ง
Thesis Title Name Concentration Department Academic Year
Subconcious to be Conscious Ms. Natthanan Vatthanasangpan Painting Painting 2011 Abstract
The aesthetic is the power and spirit of living things. Through the process of my work, I have created this aesthetic within my mind. My process stems from my sense of feeling and the power of nature in daily life. This kind of power is the true power of the soul that can create an image of spirit and a connection between myself and all that I encounter within my environment. In response, forms of abstract imagination and internal feelings emerge. I draw upon this imagination and feelings to create my work through a process reminiscent of natural instinct. My work emerges as an aesthetic representation of the truth of this process and this period of time
ŕ¸ˆ
กิตติกรรมประกาศ ขาพเจาขอนอมลําลึกถึงพระคุณของบิดา มารดา ผูที่ใหการเลี้ยงดูขาพเจาจนเติบโต ตลอดจนสงเสียใหขาพเจาไดรับการศึกษาจนถึงระดับปริญญาศิลปบัณฑิตนี้ อีกทั้งนาสาวที่ใหการ อุปถัมภทางการศึกษาแกขาพเจา และพี่ชายที่เปนเสมือนแรงบันดาลใจที่ทําใหขาพเจาไดรูจักการ วาดรูป การศึกษาศิลปะ และคอยใหกําลังใจในการสรางสรรคผลงานของขาพเจามาโดยเสมอ และขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารยอิทธิพล ตั้งโฉลก ผูชวยศาสตราจารยนาวิน เบียดกลางที่ เปนอาจารยที่ปรึกษาโครงการศิลปนิพนธ ที่ใหคําปรึกษาและขอมูลตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอการ สรางสรรคผลงาน ที่ทําใหขาพเจาสามารถสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธชุดนี้สําเร็จลุลวงไปได ดวยดี ตลอดจนครูบาอาจารยทุกทานที่ไดอบรมสั่งสอน ประสิทธิ์ประสาทวิชาความรูใหกับขาพเจา ใหมีความรูตาง ๆ จนความสามารถในการสรางสรรคผลงานศิลปะจนถึงปจจุบัน ขอใหคุณความดีและความสําเร็จของศิลปนิพนธชุดนี้ เปนขอมูลที่มีประโยชนตอการ สรางสรรคผลงานในโลกศิลปะ เพื่อการจรรโลงจิตใจใหเจริญกาวหนาตอไป และสงผลถึงผูมี พระคุณตอขาพเจาทุกทานตามที่ไดกลาวมาจงมีแตความสุขสําเร็จเชนกัน
ฉ
คํานํา เอกสารประกอบศิลปนิพนธชุดนี้ ใชเปนเอกสารประกอบการอธิบายในการสรางสรรค ผลงานศิ ล ปนิ พ นธ ใ นชื่ อ โครงการ “ไร สํ า นึ ก สู สํ า นึ ก ” ที่ ไ ด จั ด ทํ า ขึ้ น ตามหลั ก สู ต รการศึ ก ษา ปริญญาศิลปบัณฑิต ภาควิชาจิตรกรรม คณะจิตรกรรม ประติมากรรมและภาพพิมพ มหาวิทยาลัย ศิลปากร ในปการศึกษา ๒๕๕๔ โดยมีเนื้อหาเกี่ยวกับการถายทอดสัมผัสภายในจิตใตสํานึกใน พลังความเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสภาพแวดลอมจากประสบการณในการดํารงชีวิตของ ขาพเจา นํามาถายทอดดวยจิตสํานึกขณะสรางสรรคผลงานดวยเทคนิคในการสรางสรรคเฉพาะ ตนของขาพเจา ตามวัตถุประสงคในการสรางสรรคที่ตองการสรางสุนทรียภาพใหเกิดขึ้นภายใน จิตใจ อีกทั้งประกอบดวยเนื้อหาที่อธิบายถึงที่มาของการสรางสรรคผลงาน กระบวนการในการ สรางสรรค ตลอดจนการคิดวิเคราะหในเชิงความคิดและกายภาพผลงาน เพื่อพัฒนาการและ ประโยชน ต อ ความเข า ใจในการสร า งสรรค ผ ลงาน และข า พเจ า หวั ง เป น อย า งยิ่ ง ว า เอกสาร ประกอบศิลปนิพนธของขาพเจาชุดนี้จะมีประโยชนตอผูที่ไดอานและศึกษาไมมากก็นอย หากเกิด ขอผิดพลาดประการใด ขาพเจาผูจัดทําเอกสารและผลงานศิลปนิพนธชุดนี้ขออภัยมา ณ ที่นี้ดวย
ช
สารบัญ
บทคัดยอภาษาไทย ................................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ.............................................................................................. กิตติกรรมประกาศ .................................................................................................... คํานํา ...................................................................................................................... สารบัญภาพ............................................................................................................. บทที่ ๑ บทนํา ....................................................................................................... ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ ......................................... วัตถุประสงคของการสรางสรรค………………………………………… แนวความคิดในการสรางสรรค .......................................................... ขอบเขตของการสรางสรรค ............................................................... ขั้นตอนและวิธีการสรางสรรค ....... .................................................... แหลงขอมูลทีน่ าํ มาใชในการสรางสรรค ...... ....................................... อุปกรณที่ใชในการสรางสรรค ....... .................................................... ๒ ขอมูลที่ใชและอิทธิที่ไดรับในการสรางสรรค ...... ........................................... ที่มาของขอมูลที่ใชในการสรางสรรคผลงาน ..... .................................. อิทธิพลจากประสบการณทพี่ บในธรรมชาติและสภาพแวดลอม ............ อิทธิพลที่ไดรับจากขอมูลทีไ่ ดทําการศึกษาคนควาเพิม่ เติม ................... อิทธิพลที่ไดรับแรงบันดาลใจจากขอมูลศิลปน ..................................... ๓ ขั้นตอนกระบวนการในสรางสรรคผลงาน ..................................................... ขั้นตอนการประมวลความคิดในการสรางสรรค ................................... ขั้นตอนการทําภาพรางกอนสรางสรรคบนผลงานจริง ........................... ขั้นตอนการวาดเสนรางโครงสรางโดยรวมของภาพ .............................. ขั้นตอนการทําน้าํ หนักสีโดยรวมของภาพจากพื้นสีน้ําพลาสติก ............. ขั้นตอนการระบายสีเพิ่มเติมบนพืน้ สีนา้ํ พลาสติกที่เกิดขั้นจากเทคนิค ...
ซ
หนา ง จ ฉ ช ญ ๑ ๑ ๒ ๒ ๓ ๔ ๕ ๕ ๗ ๗ ๗ ๙ ๑๔ ๒๑ ๒๑ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๙
บทที่ ๔
การวิเคราะหและสังเคราะหผลงานเพื่อพัฒนาการในการสรางสรรค ............... การวิเคราะหเชิงความคิดในการสรางสรรค ......................................... การวิเคราะหเชิงกายภาพของผลงาน ................................................. การสังเคราะหผลงานสูพัฒนาการในการสรางสรรค ............................ บทสรุป ..................................................................................................... ภาพผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ ....................................................... ภาพผลงานศิลปนิพนธ .....................................................................
หนา ๓๐ ๓๐ ๓๑ ๔๔ ๔๖ ๓๖ ๔๗
บรรณานุกรม ...........................................................................................................
๕๖
ประวัติการศึกษา ......................................................................................................
๕๗
๕
ฌ
สารบัญภาพ ภาพที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗
ภาพอุปกรณทใี่ ชในการสรางสรรค ........................................................... ภาพขอมูลจากประสบการณจริง............................................................. ภาพขอมูลจากประสบการณจริง.............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพ ขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพ ขอมูลจากการศึกษาคนควา ............................................................. ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน ....................................................... ตัวอยางภาพรางกอนสรางสรรคผลงานจริง ............................................... ตัวอยางภาพรางกอนสรางสรรคผลงานจริง ............................................... ภาพขั้นตอนการวาดเสนรางโครงสรางภาพ ............................................... ภาพขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก………………………… .......... ภาพขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก .............................................. ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก…………………… ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก............................. ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก…………………… ภาพรางที่เปนโครงสรางองคประกอบหลักผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ ....... ภาพรางที่เปนโครงสรางองคประกอบหลักผลงานศิลปนิพนธ ...................... ญ
หนา ๖ ๘ ๘ ๑๐ ๑๐ ๑๑ ๑๑ ๑๒ ๑๒ ๑๓ ๑๓ ๑๖ ๑๗ ๑๗ ๑๙ ๒๐ ๒๐ ๒๓ ๒๔ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๗ ๒๘ ๒๘ ๓๒ ๓๒
ภาพที่ ๒๘ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖
ภาพทัศนธาตุดานสีของผลงาน................................................................ ภาพทัศนธาตุดานน้ําหนักของผลงาน ....................................................... ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๑ .............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๒.............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๓.............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๔.............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๕.............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๖ .............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๗.............................................. ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๘……………………………….. . ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๑ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๒ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๓ ............................................................... ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๔ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๕ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๖ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๗ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๘ ................................................................ ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๙ ................................................................
ฎ
หนา ๓๔ ๓๔ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒ ๔๓ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕
บทที่ ๑ บทนํา การดําเนินชีวิตและการเจริญเติบโตของมนุษยและสิ่งมีชีวิต ลวนถูกหลอหลอมไป พรอมกับธรรมชาติและสภาพแวดลอมรอบตัว โดยมีจิตสํานึกภายในจิตใจที่มีสัญชาตญาณในการ แสวงหาความงาม เพื่อใหกอเกิดเปนสุนทรียภาพภายในจิตใจ ซึ่งเปนสิ่งที่หลอเลี้ยงสภาวะจิตใต สํ า นึ ก ที่ ม นุ ษ ย เ ราตลอดจนสิ่ ง มี ชี วิ ต ใช ใ นการเดิ น ทาง และการดํ า เนิ น ชี วิ ต ไปพร อ มกั บ สภาพแวดลอมที่แตกตางกันไปตามที่ตนเองไดดํารงอยู ดังนั้นสําหรับทัศนคติที่มีตอสุนทรียภาพ ความงามของขาพเจา คือ สุนทรียภาพที่เกิดจากปฏิสัมพันธของการเห็น สัมผัส และการสราง สมดุลของขาพเจากับความเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสภาพแวดลอมจากประสบการณการ ดํา รงชี วิ ต ประจํา วั น และจากข อมู ลที่ ไ ด ทํ า การค น คว า ทํ า ให เ กิ ดเป น แนวความคิด และความ ตองการถายทอดภาษาภาพในจินตนาการผานทัศนธาตุตาง ๆ สูผลงาน จึงเกิดเปนการคนควา และทดลองในกระบวนการสรางสรรคผลงานเฉพาะตน ตลอดจนการศึกษาคนควาขอมูลเพื่อ สงเสริมความเขาใจในกระบวนการสรางสรรค และเกิดเปนผลงานศิลปนิพนธชุดนี้ขึ้น ความเปนมาและความสําคัญของปญหา จากเจตนารมยในการสรางสรรคผลงานที่กอใหเกิดเปนสุนทรียภาพความงาม และเปน ผลงานศิลปะที่สามารถจรรโลงจิตใจใหกับทั้งตัวของขาพเจาเองที่เปนผูสรางสรรคผลงานตลอดจน ถึงผูที่ไดรับชมผลงาน ดังนั้นจึงไดเกิดเปนการคนหาและทดลองในแนวทางวิธีการสรางสรรค ผลงานเฉพาะตนของขาพเจาเอง พรอมไปกับการศึกษาคนควาขอมูลเพิ่มเติม เพื่อสงเสริมความ เขาใจตอจินตนาการของขาพเจา ที่ไดถายทอดออกมาเปนภาษาภาพสูผลงาน ผานทางเทคนิค กระบวนการสรางสรรคผลงานที่ไดคนควาและทดลอง ทําใหเกิดเปนความเขาใจของขาพเจาและ จับใจความสําคัญถึงสุนทรียภาพความงาม วาสุนทรียภาพความงามของแตละคนนั้น อาจมีวิธีการ สรางหรือเกิดขึ้นที่แตกตางกัน นั้นคือ ความเขาใจในตัวเอง และสิ่งใด หรือหนทางใดที่สามารถ สร า งความงามใหกับตนเอง เพราะสุนทรีย ภาพความงามในจิ ตใต สํา นึกของมนุษ ยตลอดจน สิ่งมีชีวิตตาง ๆ ลวนมิอาจปฏิเสธถึงอิทธิพลและปฏิสัมพันธของตนเองที่มีไดรับมาจากธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่ตนไดดํารงอยูตั้งแตอดีต จนถึงขณะปจจุบัน ดังนั้น จึงทําใหเกิดเปนทัศนะคติ เฉพาะตนตอสุนทรียภาพความงามที่มีความแตกตางกันออกไป ๑
๒ สําหรับตั วของข าพเจาเองที่เปนผูสรางสรรคผลงานศิลปนิ พนธ ชุ ดนี้ ขึ้น ได นํ าความ ตองการและแนวความคิดในการสรางสุนทรียภาพความงามเพื่อหลอเลี้ยงจิตใตสํานึกนี้ สรางขึ้นผาน กระบวนการสรางสรรคผลงาน เปนสุนทรียภาพของความบริสุทธิ์ จากความเขาใจในตัวตนภายในที่ แทจริง และจากการไดแสดงออกสูผลงานดวยสัญชาตญาณ และความจริงภายในที่มี ซึ่งไดรับ อิทธิพลและแรงบันดาลใจจากสัมผัสในพลังความเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสภาพแวดลอมจาก ประสบการณในการดําเนินชีวิตประจําวัน ที่มีพลังความเคลื่อนไหวที่บริสุทธิ์ เหนือการควบคุมดวย เหตุผลหรือกฏเกณฑใด ๆ ไดนํามาใชเปนสิ่งถายทอดออกสูผลงาน ผานกระบวนการสรางสรรคที่ได ทําการคนควาทดลอง และเกิดเปนแนวความคิดในการสรางสรรคศิลปนิพนธชุดนี้ขึ้นมา วัตถุประสงคของการสรางสรรค เพื่อสะทอนถึงคุณคาของสภาวะจิตใตสํานึกของสิ่งมีชีวิตและมนุษยเรา ที่มีอิทธิพลตอ จิตวิญญาณภายในที่ใชดํารงชีวิต การดูแล ใหความสําคัญตอสภาวะจิตใตสํานึก จึงเปนการสราง คุณคาใหกับจิตใตสํานึกที่มีผลตอการเดินทางและการดําเนินชีวิตตอไปของสิ่งตาง ๆ สําหรับตัว ขาพเจาที่เปนผูสรางสรรคศิลปนิพนธชุดนี้ขึ้น ไดสรางสุนทรียภาพความงามนี้ จากแรงบันดาลใจ และสัมผัสที่ไดจากพลังความเคลื่อนไหวในธรรมชาติและสภาพแวดลอมรอบตัวจากประสบการณ การดํ ารงชีวิต นํามาสรางคุณคาและใชในการหล อเลี้ยงสภาวะจิตใตสํานึ ก โดยสรางขึ้ นผา น กระบวนการสรางสรรคผลงาน ที่ขาพเจาไดถายทอดนามธรรมทางความรูสึกในจิตใจและภาษา ภาพที่เกิดขึ้นภายในจินตนาการจากสัมผัสที่ไดรับในธรรมชาติ แนวความคิดในการสรางสรรค สุ น ทรี ย ภาพเป น แรงขั บ เคลื่ อ นของจิ ต ใจและชี วิ ต ของสิ่ ง มี ชี วิ ต ข า พเจ า ได ส ร า ง สุนทรียภาพนี้ผานทางกระบวนการสรางสรรคผลงาน จากสัมผัสในพลังความเคลื่อนไหวของ ธรรมชาติและสภาพแวดลอมในประสบการณการดํารงชีวิต สําหรับขาพเจาแลวความเคลื่อนไหวที่ เกิดพลัง คือความเคลื่อนไหวที่ไมใชที่เกิดจากการเคลื่อนที่เพียงเทานั้น แตเปนความเคลื่อนไหว จากการแสดงออกจากสัญชาตญาณ ความเคลื่อนไหวจากความเปนธรรมชาติของตัวตนสิ่งนั้น ที่มี การเปลี่ยนแปลง การเจริญเติบโตตามสภาพแวดลอมและกาลเวลา สามารถสะทอนไดถึง จิต วิญญาณและความเป นชีวิ ต เปรี ยบเสมือนกับการแสดงออกจากความบริสุท ธิ์และความจริ ง ภายในของสิ่งนั้น ซึ่งสงตอมายังสัมผัสภายในจิตใตสํานึกของขาพเจา ใหเกิดเปนภาษาภาพใน จินตนาการที่ขาพเจาไดนํามาถายทอดผานจิตสํานึกในขณะสรางสรรคผลงาน จึงเปนตรรกะของ กระบวนการสรางสรรคผลงาน ที่ทําใหเกิดเปนสุนทรียภาพความงามและความบริสุทธิ์ตอขาพเจา จากการไดถายทอดภาษาภาพจากสัมผัสของพลังความเคลื่อนไหวนี้
๓ ขอบเขตของโครงการ ๑. ขอบเขตทางแนวความคิด ถ า ยทอดจิ น ตนาการที่ เ ป น ภาษาภาพจากสั ม ผั ส ในพลั ง ความเคลื่ อ นไหวใน ธรรมชาติและสภาพแวดลอมจากประการณ และขอมูลที่ไดศึกษาคนควาเพิ่มเติม ผานเทคนิค กระบวนการสร า งสรรคผ ลงานเฉพาะตน ที่เ ปน วิธีในการสร า งสุ น ทรี ย ภาพความงามสํ า หรั บ ขาพเจา เพื่อหลอเลี้ยงและจรรโลงจิตใตสํานึกภายในจิตใจ ตามแนวความคิดและวัตถุประสงคใน การสรางสรรคผลงาน ๒. ขอบเขตของรูปแบบผลงาน ผลงานมีรูปแบบเปนจิตรกรรม ๒ มิติ ลักษณะแบบนามธรรม สรางสรรคบนผืน ผาใบ มีลักษณะโครงสรางทางองคประกอบและทิศทางการเคลื่อนไหวภายในภาพโดยรวม จาก ทิ ศ ทางความเคลื่ อ นไหวของธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล อ ม จากข อ มู ล ที่ ไ ด ค น คว า และจาก ประสบการณตรง นํามาผสมผสานกับจินตนาการของขาพเจาที่คิดตอจากพลังความเคลื่อนไหวนี้ นั้นคือ จินตนาการในเรื่องราวของเสน สีสัน รูปทรง ใหสอดคลองกับเอกลักษณของความเปน ธรรมชาติ เพื่อใหสามารถรูสึกถึงการแสดงออกสัญชาตญาณและลักษณะความเคลื่อนไหวของสิ่ง นั้น ที่เปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรค ๓. ขอบเขตของเทคนิคในการสรางสรรค ขาพเจาไดทดลองและคนควาเทคนิคที่นํามาใชในการสรางสรรค ใหสอดคลองกับ แนวความคิดในการสรางสุนทรียภาพความงาม จึงเกิดเปนกระบวนการเทคนิคของการทําพื้นสี จากแมสีของสีน้ําพลาสติก โดยอาศัยปจจัยของทิศทางของลมที่ไดจากการเปาสีดวยไดรรอน สําหรับผม ซึ่งเปนปจจัยของธรรมชาติ อาจจะไมไดเกิดจากปรากฏการณจากธรรมชาติโดยตรง แต เปนธรรมชาติของการแสดงออกของการเคลื่อนไหวจากการกําหนดทิศทางลมในการเปาสีน้ํา พลาสติ ก ที่ ไ ด ทํ า การผสมไว ใ นน้ํ า หนั ก และเฉดสี ต า ง ๆ ที่ ไ ด เ ทลงไปบนผื น ผ า ใบให เ กิ ด การ ผสมผสานตามโครงสรางของภาพรางที่ไดวางโครงสรางไวอยางคราว ๆ เมื่อพื้นสีแหงสนิท ก็เขาสู กระบวนการขั้นตอนการเขียนบนพื้นสีดว ยสีอะคริลิคและสีน้ํามันตามจินตนาการในทิศทางของพืน้ สีที่เกิดขึ้นและสัมผัสของจิตใตสํานึกขาพเจาในทิศทางพลังความเคลื่อนไหวธรรมชาติที่เปนแรง บันดาลใจในการสรางสรรค
๔ ขั้นตอนและวิธีการสรางสรรค ๑. ทดลองและศึกษาคนควาเทคนิควิธีการสรางสรรคผลงานจิตรกรรมเฉพาะตน จาก การคนหาขอมูลผลงานศิลปน บทความและรูปภาพตาง ๆ ภายในหนังสือ และทดลองเทคนิค กระบวนการสรางสรรค ผานการวาดเสน การรางภาพอยางคราว ๆ จัดวางโครงสรางองคประกอบ โดยรวมภายในผลงาน การทํ า น้ํ า หนั ก เฉดสี คู สี จ ากแรงบั น ดาลใจต า ง ๆ ในธรรมชาติ แ ละ สภาพแวดลอม ซึ่งเปนการแสดงออกทางทัศนธาตุ โดยทําการคนควาและทดลอง ไปพรอม ๆ กับ การคิดตอและจินตนาการเพิ่มเติมจากภาพรางและพื้นสีที่กําลังทดลองและศึกษาคนควา ๒. คนควาขอมูลเพิ่มเติมที่สอดคลองกับแนวทางในการสรางสรรคผลงานของขาพเจา ทั้งขอมูลที่เกี่ยวกับลัทธิทางศิลปะ บทความอางอิงเกี่ยวกับความหมายของรูปนามธรรมจากการ แสดงออกทางสัญชาตญาณความรูสึกในจิตใตสํานึกที่เปนภาวะอัตวิสัยจากสัมผัสในพลังความ เคลื่ อ นไหวของธรรมชาติ ในจิ ต ใต สํา นึ ก ข า พเจ า และข อ มูล เกี่ ย วกั บ พลั ง ความเคลื่ อ นไหวใน ธรรมชาติ สภาพแวดลอมที่หลากหลาย จากสื่อตาง ๆ และจากประสบการณตรง จากที่ไดการ เดินทางและการดํารงชีวิต ที่สามารถสรางแรงบันดาลใจใหกวางขวางมากขึ้น เพื่อสงเสริมความรู ความเขาใจในรูปแบบของการสรางสรรคเฉพาะตนและสิ่งที่กําลังทํา ทดลองศึกษาคนควา และ เพื่อพัฒนาการในการสรางสรรค ๓. นําขอมูลและแรงบันดาลที่สนใจเปนหลัก มารางเปนภาพโครงสรางคราว ๆ ใหเห็น เปนภาพผลงานโดยรวม และเพื่อใหรูถึงทิศทางในการทําเทคนิคเปาพื้นสี ใหเห็นเปนน้ําหนัก โดยรวมของภาพ ๔. ทดลองผสมเฉดสีตาง ๆ ใหมีน้ําหนักที่หลากหลาย และทดลองการอยูดวยกันของคู สีตาง ๆ บนพื้นเศษกระดาษและผาใบ ทําการทดลองโดยคํานึงถึงอารมณของบรรยากาศของสีให สอดคลองกับเอกลักษณของความเปนธรรมชาติจากขอมูลของธรรมชาติที่ไดเลือกนํามาใช ใหมี ความเขากันของสีและน้ําหนักโดยรวมภายในภาพ จากนั้นจึงเลือกสีที่จะนําไปใชเปนสีหลักภายใน ผลงานจากสีที่ไดทําการทดลองผสมไว ๕. ทําภาพรางคราว ๆ บนกระดาษ โดยนําโครงสรางขององคประกอบและทิศทางการ เคลื่อนไหวโดยรวมในภาพที่คิดไวกอนหนานี้ และคูสีจากการทดลองที่เลือกนํามาใชในผลงาน มา ใชทําเปนภาพรางตัวอยางผลงาน เพื่อใหเห็นเปนภาพผลงานอยางคราว ๆ กอนทําผลงานจริง ๖. วิเคราะหถึงภาพรางที่ไดทดลองทํา และสรุปปญหาที่เกิดขึ้นระหวางที่ทํา จากนั้น นําภาพรางนําเสนออาจารย เพื่อรับฟงคําวิจารณและคําแนะนําที่สามารถนํามาใชปรับปรุงขณะ สรางสรรคผลงาน
๕ ๗. นําขอสรุปจากการที่ไดวิเคราะหผลงานภาพรางและคํา วิจารณ คําแนะนําจาก อาจารย มาใชในการปรับปรุงในการสรางสรรคผลงานจริง เพื่อใหผลงานมีความสมบูรณ ๘. วิเคราะหผลงานและสรุปปญหาที่เกิดขึ้นขณะสรางสรรคผลงานจริง หลังจากเสร็จ สมบูรณแลว เพื่อพัฒนาการในการสรางสรรคผลงานชิ้นตอไป แหลงขอมูลที่นํามาใชในการสรางสรรค ๑. แหลงขอมูลจากประสบการณจริง ๒. แหลงขอมูลจากบทความในหนังสือ หรือ สูจิบัตรของศิลปน ๓. ขอมูลภาพจากหนังสือตาง ๆ ๔. ขอมูลจากสื่อตาง ๆ ไดแก อินเตอรเน็ต, หนังสือพิมพ, สื่อโฆษณาตาง ๆ เปนตน อุปกรณที่ใชในการทําศิลปนิพนธ ๑. เฟรมผาใบปูรองพื้นดวยไมกระดาน เพื่อปองกันผาใบหยอนยาน ขณะทําการเทพื้นสี ๒. ผาใบ canvas ๓. สเปรยกาวสําหรับการยึดติดผาใบ canvas กับ เฟรมไมกระดานเขาดวยกัน ๔. สีน้ําพลาสติกแมสีตาง ๆ ๕. ขวดใสซอสพลาสติกสําหรับบีบ เทสีแมสีพลาสติกที่ทําการผสมตามเฉดสีที่ตองการ แลว บนพื้นผาใบ ๖. สีอะครีลิก และสีน้ํามัน ใชสําหรับเขียนบนพื้นสีเมื่อแหงแลว ๗. ตัวผสมสีน้ํามันตาง ๆ ไดแก น้ํามันสน ลีนสําหรับแหงเร็ว เพื่อใชในการเขียนสีน้ํามัน ๘. ไดรรอนสําหรับเปาผม นํามาใชในการเปาสีน้ําพลาสติก เพื่อทําพื้นสีภายใยผลงาน
๖
ภาพที่ ๑ ภาพอุปกรณที่ใชในการสรางสรรค
๗
บทที่ ๒ ขอมูลที่ใชและอิทธิทไี่ ดรบั ในการสรางสรรค มนุษยและสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในธรรมชาติ ตลอดจนตัวของขาพเจาที่เปนผูสรางสรรค ผลงานศิลปนิพนธชุดนี้ ตางไดรับอิทธิพลจากประสบการณในการเติบโตไปพรอมกับธรรมชาติ สภาพแวดลอมที่ตนเองไดดํารงอยู ซึ่งเปนสิ่งที่หลอหลอมสภาวะของจิตใตสํานึก และพื้นฐานของ จิตใจ ที่ทําใหมีทัศนคติตอสุนทรียภาพความงามนั้นมีความแตกตางกันออกไป มีมุมมองและวิธีใน การสรางสุนทรียภาพตามความเขาใจในความงาม วาสุนทรียภาพความงามสําหรับตน คือสิ่งใด และดวยวิธีใด ที่มาของขอมูลที่ใชในการสรางสรรคผลงาน ขาพเจาไดสรางสุนทรียภาพผานกระบวนการสรางสรรคผลงานชุดนี้ โดยนําสัมผัสของ พลั ง ความเคลื่ อ นไหวจากแรงบั น ดาลใจและอิ ท ธิ พ ลที่ ไ ด รั บ จากพลั ง ในความเคลื่ อ นไหวใน ธรรมชาติ และสภาพแวดล อมจากประสบการณจริง และขอมูลที่ ไดพบจากการศึกษาค นคว า เพิ่มเติมเพื่อการสรางสรรคผลงาน ซึ่งขอมูลที่ไดจากการศึกษาคนควาและอิทธิพลที่ไดรับตาง ๆ นี้ ขาพเจาไดนํามาวิเคราะหและนํามาผสมผสานกับจินตนาการและความรูสึกภายในของขาพเจาใช ในการถายทอดสูผลงาน อิทธิพลจากประสบการณที่พบในธรรมชาติและสภาพแวดลอม ขอมูลจากประสบการณนี้ สวนใหญมาจากความเคลื่อนไหวที่ไดพบเห็นในธรรมชาติ และสภาพแวดล อ มจากสถานที่ ต า ง ๆ ที่ ไ ด เ ดิ น ทางไปและประสบการณ จ ากการดํ า รง ชีวิตประจําวัน เปนความเคลื่อนไหวจากสรรพสิ่งตาง ๆ ที่ไมใชเพียงธรรมชาติบริสุทธิ์เพียงอยาง เดียว แตเปนความเคลื่อนไหวของธรรมชาติในสัญชาติญาณ การแสดงออก ของสรรพสิ่งตาง ๆ ที่ ทําใหเกิดเปนผัสสะใหรับรูถึงความบริสุทธิ์ อันเกิดจากการแสดงออกของความจริงภายในที่มีของ สิ่งนั้น ที่ปราศจากเรื่องราวของกรอบและกฏเกณฑมากําหนด รวมไปถึงการเคลื่อนไหว และการ แสดงออกสูผลงานขาพเจาเองเชนกัน จึงเปนความบริสุทธิ์และความพิเศษของธรรมชาติ ที่มีความ เปนเอกลักษณเฉพาะตนของแตละสิ่ง
๘ ขอมูลสวนนี้เปรียบเสมือนขอมูลของการสรางแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงาน ขาพเจา เพราะเปนขอมูลที่ไดสัมผัสและรับรูถึงสัมผัสระหวางตัวขาพเจากับพลังความเคลื่อนไหวที่ เกิดขึ้น ขาพเจาไดนํา ขอมูลสวนนี้ มาปรับใชในเรื่องพัฒนาการของทัศนธาตุภายในผลงาน ที่ นํามาใชเปนสําคัญนั้น สวนใหญเปนเรื่องของสี และโครงสรางของเสนของทิศทางการเคลื่อนไหว ภายในผลงาน เพื่อสงเสริมใหผลงานสมบูรณยิ่งขึ้น
ภาพที่ ๒ ภาพขอมูลจากประสบการณจริง
ภาพที่ ๓ ภาพขอมูลจากประสบการณจริง
๙ อิทธิพลที่ไดรับจากขอมูลที่ไดทําการศึกษาคนควาเพิ่มเติม ขอมูลที่ขาพเจาไดทําการศึกษาคนควาเพิ่มเติม สวนใหญมักมีแหลงที่มาจากรูปภาพ บทความที่เปนเนื้อหาภายในหนังสือ และสูจิบัตรของศิลปนหลาย ๆ ทาน ขอมูลภายในหนังสือสวนใหญ เปนขอมูลที่เกี่ยวกับภาพธรรมชาติและสภาพแวดลอม ตาง ๆ ที่ขาพเจาไมไดมีโอกาสไดสัมผัสโดยตรง แตภาพนั้น คือภาพที่มีแรงดึงดูดความนาสนใจใน ความพิเศษของมุมมองตอการเคลื่อนไหวในธรรมชาติและสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่มีความแตกตาง กัน ตามเอกลักษณและคุณลักษณะเฉพาะของตนเอง นํามาใชประกอบกับการพิจารณาถึงความ สอดคลองกั บสัมผัสในความรูสึกภายในจิตใตสํานึกของขาพเจา และปรับใชในดานทัศนธาตุ ภายในผลงานที่เกี่ยวกับโครงสรางขององคประกอบหลักภายในผลงาน ซึ่งขาพเจาไดทําการศึกษา คนควา เนื่องดวยรูปแบบผลงานมีรูปแบบเปนนามธรรมที่อาศัยเทคนิคในการสรางสรรคเฉพาะตน จึงทํ าใหขาพเจ ามีความพยายามสรางสรรคผลงานไปพรอมกับพัฒนาการในเทคนิคที่ใช การ สรางสรรคผลงาน ขอมูลสวนนี้จึงสามารถนํามาชวยในเรื่องของโครงสรางขององคประกอบ และ ทิศทางการเคลื่อนไหวโดยรวมภายในภาพ เพื่อความตองการของขาพเจา ที่ตองการใหผลงานมี ทิศทางหลักของมุมมองตอผลงาน เสมือนกับการที่มีประเด็นหลักของการสื่อสารตอผูที่ไดชมให ไดรับรูถึงสัมผัสในพลังของธรรมชาติและความรูสึกที่ขาพเจาตองการถายทอดสูผลงาน และความ เปนเอกภาพภายในผลงานใหมากยิ่งขึ้น
๑๐
ภาพที่ ๔ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
ภาพที่ ๕ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
๑๑
ภาพที่ ๖ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
ภาพที่ ๗ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
๑๒
ภาพที่ ๘ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
ภาพที่ ๙ ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
๑๓
ภาพที่ ๑๐
ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
ภาพที่ ๑๑
ภาพขอมูลจากการศึกษาคนควา
๑๔ ในสวนของขอมูลดานเนื้อหาหรือบทความที่ไดอานศึกษาคนควาจากหนังสือและสูจิ บัตรของศิลปนทานตาง ๆ เปนขอมูลที่ชวยในการขยายคําอธิบายความหมายของภาพนามธรรม สิ่งที่ขาพเจากําลังสรางสรรค และรูปลักษณตาง ๆ ที่ปรากฏภายในผลงาน และมีสวน ชวยในการสงเสริมความเขาใจในสมดุลกับปฏิสัมพันธระหวางตัวขาพเจากับสัมผัสในพลังความ เคลื่อนไหวของธรรมชาติ ใหเกิดจินตนาการจากแกนแทของความจริงที่เปนเอกลักษณสําคัญของ สิ่งนั้น และสามารถถายทอดอารมณจากสัมผัสในธรรมชาติใหอยูเหนือเหตุผลของความสมบูรณ ของผลงาน จากการคําถึงแตโครงสรางหรือทิศทางที่ไดกําหนดไวกอนจากการรางภาพ หรือ จาก รูปแบบทิศทางการเคลื่อนที่ของสิ่งที่นํามาใชเปนขอมูลในการสรางสรรคเพียงอยางเดียว เพราะ การไดถายทอดสัมผัสและความรูสึกมากกวาเหตุผลของกฏเกณฑความถูกตอง ก็สามารถทําให ผลงานมีเสนหและแรงดึงดูดความนาสนใจไดเชนกัน ดังนั้น ขอมูลทั้ง๒สวนนี้ขาพเจาจึงไดนํามาใช เพื่อเปนพัฒนาการในการสรางสรรค ผลงาน และใหรูปแบบผลงานมีความสมบูรณยิ่งขึ้น อิทธิพลที่ไดรับแรงบันดาลใจจากขอมูลศิลปน ขอมูลศิลปนที่เปนประโยชนตอการสรางสรรคผลงานของขาพเจา สวนใหญศิลปนที่ ขาพเจาไดเลือกทําการศึกษาคนควาภายในหองสมุด เปนศิลปนที่ขาพเจาไดระลึกถึงแนวทางการ สรางสรรคผลงาน ที่ทําใหขาพเจาไดศึกษาถึงความเปนเอกลักษณในผลงานและกระบวนการใน การสรางสรรคผลงานเฉพาะตนของแตละทานเปนสําคัญ ทําใหเราทราบถึงความเปนมาในการ สรางสรรคผลงานของศิลปนทานนั้น ซึ่งเปนสิ่งที่เชื่อมโยงใหไดเขาใจในเสนทางการดําเนินชีวิต ตลอดจนประวัติและอุดมคติความเชื่อที่มีของศิลปนแตละทานที่แตกตางกันออกไป สิ่งเหลานี้ลวน เปนสิ่งที่มีอิทธิพลและสงผลตอการแสดงออกในการสรางสรรคผลงานของตัวศิลปนเอง ทําใหเรา รับรูถึงความหมายในการสรางสรรคของศิลปนและเขาใจในความตองการของศิลปนที่จะสื่อสาร ตอผูที่ไดชม ศิลปนเหลานี้ลวนแลวแตมีขอมูลที่เปนประโยชนในการสรางแรงบันดาลใจและความรู ความเขาใจตอการสรางสรรคผลงานรูปแบบนามธรรมของขาพเจาไดเปนอยางดี เพราะถือไดวา เปนศิลปนที่เปนตํานานและผลงานของเขายังคงอยูและมีคุณคาแกการศึกษาคนควาจนถึงปจจุบนั อีกทั้ งมีประสบการณ ในการสรางสรรคผลงานที่น าสนใจ เปนผูคิดคน บุกเบิ กในแนวทางการ สรางสรรคที่แปลกใหมและมีความนาสนใจ แตกตางจากศิลปนในยุคเดียวกัน จึงเปนความพิเศษ ในตัวของศิลปนแตละทาน ที่มีมุมมองที่แปลกใหมแตกตางไดจากสิ่งที่พวกเขาเห็นอยางคุนชินใน ยุคสมัยนั้น แตประเด็นสําคัญไมใชศิลปนเหลานี้สรางสิ่งใหม แตเปนการที่พวกเขาเหลานั้นลวนรู
๑๕ วา ตัวของเขาตองการสิ่งใด เขาใจอะไร เพื่อสรางสิ่งใดสูผลงานตนเอง มีมุมมองพิเศษเฉพาะตน ที่ ทําใหคนรุนหลังอยางขาพเจาไดศึกษาและสามารถพัฒนาผลงานศิลปะตอไป ศิลปนที่ขาพเจาใหความสนใจศึกษาเพื่อเปนประโยชนตอการสรางสรรคผลงาน ไดแก ๑. Vincent Van Gogh Vincent Van Gogh จากการศึกษาในชีวประวัติของศิลปนทานนี้ กลาวไดวา ขณะที่เขานั้นยังมีชีวิตอยู เขาไมสามารถสรางครอบครัว หรือทํางานหาเลี้ยงตัวเอง หรือ แมแตมีเพื่อนฝูง แตในเชิงจิตรกรรม เขาสามารถสรางแนวคิดแหงความเปนระเบียบ ทามกลางความสับสนยุงเหยิงของความจริงรอบตัว ๑ หลังจากที่เขาไดจากโลกนี้ไป ผลงาน ของเขากลับกลายเปนที่นาสนใจ จนถือไดวาเปนตํานานของการสรางสรรคผลงานในโลกศิลปะ ที่ เรารูจักกันในแนวทางการสรางสรรค Impressionism การถายทอดสูผลงานดวยความจริงใจนี้ จึง เปนแรงดึงดูดความสนใจตอขาพเจาในการศึกษาผลงาน ตลอดจนชีวประวัติการดําเนินชีวิตที่ สงผลตอการสรางสรรคผลงานโดยตรงของศิลปนทานนี้ ที่ถึงแมวาจะมีความทุกขยากมากเพียงใด แตเขาก็ไมเคยยอทอตอการสรางสรรคผลงานศิลปะ การสรางสรรคผลงานเปนเสมือนการเยียวยา เพื่อนที่มีและโลกที่รับฟงความรูสึกสําหรับเขา เพราะนั้นคือหนทางที่เขาสามารถแสดงออกถึง ความจริงภายในที่เขารูสึก เชนเดียวกับการสรางสรรคผลงานของขาพเจาและผูสรางสรรคผลงาน ศิลปะทุกทาน ตางตองเคยเผชิญกับอุปสรรคในการสรางสรรคของตนเอง ที่ทําใหเราตองแกปญหา จนอาจทําใหรูสึกยอทอตออุปสรรคที่เผชิญ แตเมื่อไดศึกษาชีวประวัติของศิลปนทานนี้ กลับทําให ขาพเจามีแรงบันดาลใจและกําลังใจในการสรางสรรคผลงานตอไป โดยที่ไมคิดวาสิ่งที่เผชิญอยูนั้น เปนปญหา แตมีมุมมองความคิดใหมวา เปนสัจจะธรรมของการสรางสรรคผลงานที่เราในฐานะผู สรางสรรคผลงานศิลปะตองเผชิญ เพื่อใหมีพัฒนาการในการสรางสรรคตอไป โดยที่สิ่งที่เราเผชิญ อยูนั้นเทียบไมไดเลยกับสิ่งที่ศิลปนทานนี้ไดเผชิญ แตเขากลับไมเคยละทิ้งการสรางสรรคผลงาน ของตนเอง ทําใหขาพเจาเกิดเปนแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานที่ถายทอดความรูสึก ภายในพรอมไปกับการคนหาเทคนิควิธีการที่สามารถสรางสุนทรียภาพไดดวยการแสดงออกสู ผลงานอยางจริงใจเชนเดียวกับศิลปนทานนี้ นอกจากแรงบันดาลใจที่ไดรับจากศิลปนทานนี้ ขาพเจายังไดนําพัฒนาการในการ สรางสรรคผลงานของศิลปนทานนี้ มาเปนขอมูลปรับใชในพัฒนาการของการสรางสรรคผลงาน ๑
อินโก เอฟ วอลเตอร, วินเซนต แวน โกะห, แปลโดย สมพร วารนาโด (กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒),๗.
๑๖ ของตนเองดวยเชนกัน โดยเปนขอมูลจากการที่ไดคนควาเกี่ยวกับผลงานวาดเสนของศิลปนทานนี้ นํามาปรับใชในขั้นตอนการเขียนเพิ่มเติมบนพื้นสีที่เปนขั้นตอนสุดทายของการสรางสรรคผลงาน ใหสมบูรณ เปนการวิเคราะหพิจารณาทางพลังความเคลื่อนไหวของเสนในชวงระยะเวลาที่เขาได สรางสรรคเกี่ยวกับวิวทิวทัศน ที่เปนชวงของพัฒนาการทางการสรางสรรคทางทัศนธาตุของเสน และสีของศิลปนทานนี้ ซึ่งจะเห็นไดวาถึงแมเสนที่อยูในผลงานมีลักษณะเปนลวดลาย ไมมีน้ําหนัก ที่เกิดจากการแรเงา แตภายในผลงานของเขาก็ยังมีมิติที่สมบูรณได ที่เกิดขึ้นดวยน้ําหนักของเสนที่ แตกตางกัน และดวยฝแปรงที่มีพลังและมีชีวิตที่สะทอนถึงสภาวะธรรมชาติขณะนั้นใหเราสามารถ รูสึกไดที่ไมใชดวยความเหมือนจริงของธรรมชาติ แตรูสึกไดถึงความจริงที่อยูเบื้องหลังสิ่งนั้น คือ อารมณความรูสึกที่เปนความจริงภายในของศิลปน จึงกลายเปนพื้นฐานบุคลิกเฉพาะตนในการ สรางสรรคผลงานของศิลปนทานนี้ ขาพเจาจึงไดนําประโยชนจากการศึกษาและวิเคราะหนี้มาปรับ ใชในขั้นตอนการเขียนสีอะคริลิกและสีน้ํามันบนเทคนิคพื้นสี
ภาพที่ ๑๒ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
๑๗
ภาพที่ ๑๓ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
ภาพที่ ๑๔ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
๑๘ ๒. Jackson Pollock ผลงานของศิ ล ป น ท า นนี้ มีค วามโดดเดน ในช ว งการสรา งสรรค ผ ลงานแนวทาง Abstract Expressionism ซึ่งขาพเจาไดศึกษาขอมูลในดานแนวความคิดและที่มาในการ สรางสรรคผลงานในชวงระยะการสรางสรรคดวยเทคนิคการหยดสี สาดสีที่เปนเอกลักษณของ ศิลปนทานนี้ นักเขียนโรเบิรต โคตสไดกลาวถึงศิลปนทานนี้วา “ศิลปนผูนี้เปนหนึ่งในบรรดา ศิลปนหัวดื้อที่ไมยอมออนขอใหใคร” ๒ ในความเขาใจสําหรับของขาพเจามิไดตีความคํากลาว นี้ในเชิงการเอาชนะของศิลปนทานนี้ แตมีมุมมองในแงของความมุงมั่น ความมั่นใจในแนวทางการ สรางสรรคผลงานของตนเอง ถือไดวาชวงระยะเวลาการสรางสรรคผลงานนามธรรมของศิลปน ทานนี้ เปนสิ่งใหมเกิดขึ้นสําหรับยุคสมัยนั้นที่ศิลปนไดดํารงอยู เขาไดเคยกลาวไววา “การมองวา การเขียนภาพเปนบททดสอบความเปนตัวเอง หรือการเสริมสรางความเปนตัวตน และ การแสดงอารมณความรูสึกของตนเอง” ๓ ทําใหขาพเจาไดใชขอมูลศึกษาถึงความเกี่ยวของซึ่ง กันและกันระหวางผลงานนามธรรมกับการถายทอดความรูสึกภายในของขาพเจาสูผลงาน ซึ่ง ขาพเจาไดคนควาในชวงเริ่มตนของการสรางสรรคผลงานศิลปะนามธรรมที่มีความแนวความคิด เชนเดียวกับศิลปนทานนี้ในความตองการถายทอดตัวตนและความจริงภายในสูผลงาน และทําให เข า ใจในความเป น รู ป แบบนามธรรมของผลงานมากขึ้ น ที่ ถึ ง แม ว า บางครั้ ง ผลงานรู ป แบบ นามธรรมทําใหเราดูไมรูเรื่องหรือเขาใจความหมายไดยากกวาสัญลักษณตาง ๆ ที่เปนรูปธรรม แต เขาไดกลาวถึงรูปแบบผลงานนามธรรมนี้วา “ บางครั้งผมก็วาดภาพที่ดูรูเรื่อง แตสวนใหญดู ไมคอยจะเปนภาพอะไรนักหรอก เวลาที่เราวาดภาพแบบปลอยใจใหลองลอยไปอยางไร กระแสสํ า นึ ก ภาพตา ง ๆ จะปรากฏเปน รูปเป น ร างออกมาเอง” ๔ ขา พเจ าไดวิ เคราะห พิจารณาจากคํากลาวนี้วา การวาดภาพที่ปลอยใจลองลอย สิ่งนี้แสดงใหเห็นถึงสุนทรียภาพของ ศิลปนที่ไดจากการสรางสรรคผลงาน และเขาไดใชความตองการถายทอดถึงอารมณความรูสึกที่มี ผานกระบวนการสรางสรรคผลงานที่เปนเอกลักษณเฉพาะตน โดยที่มีความสอดคลองกันกับใน ชวงเวลาขณะที่ขาพเจากําลังสรุปวัตถุประสงคและแนวความความคิดและทดลองเทคนิควิธีการ สรางสรรคเฉพาะตนของขาพเจา จึงทําใหขอมูลสวนนี้ที่เกี่ยวกับแนวทางการสรางสรรคผลงาน
๒
บารบารา เฮสส ยูทา โกรเซนิค, แอ็บสแตร็กเอ็กเพรสชั่นนิสม, แปลโดย อณิมา ทัศจันทร, (กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒), ๑๐. ๓ เรื่องเดียวกัน, ๑๐ ๔ เรื่องเดียวกัน, ๑๐.
๑๙ นามธรรมของศิลปนทานนี้ เปนประโยชนใชเปนขอมูลในการสรางสรรคผลงานของขาพเจา จาก การการศึกษาคนควาเกี่ยวกับขอมูลรูปแบบผลงานนามธรรม ๓. Robert Venosa ขาพเจาไดทําการศึกษาถึงทัศนธาตุภายในของศิลปนทานนี้เปนสําคัญ เพราะดวย รูปแบบนามธรรมที่มีความสอดคลองกับผลงานของขาพเจา และพลังของทัศนธาตุภายในผลงาน ของศิลปนทานนี้ที่มีแรงดึงดูดความนาสนใจเปนอยางยิ่ง ที่สะทอนใหเห็นถึงความเชื่อความศรัทธา บางสิ่ง ที่มีความสํา คัญตอตัวศิลปน เอง ทําใหผลงานของศิ ลปน ทานนี้ใหความรูสึกถึง มิติทาง ความรูสึกภายในที่มีความลี้ลับและเปนสิ่งเฉพาะตนในตัวศิลปน โดยการถายทอดถึงมิติทาง ความรูสึกภายในสูทัศนธาตุในผลงานไดอยางสมบูรณแบบนี้ ถือไดวาเปนสิ่งพิเศษเฉพาะตนของ ศิลป น ที่มี ที่ ใช ใ นการสร า งสรรคผ ลงานของตนเอง ทํา ใหขาพเจา จึง นํา ข อมู ลส ว นนี้ ที่มีค วาม สอดคลองกับการถายทอดทางสัมผัสภายในจิตใตสํานึกเชนกัน เปนขอมูลที่ใชเพื่อพัฒนาการใน ดานรูปแบบและทัศนธาตุภายในผลงานใหมีความสมบูรณมากขึ้น พรอมไปกับการที่สามารถ ถายทอดทางความรูสึกภายในที่มีไดดวยเชนกัน
ภาพที่ ๑๕ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
๒๐
ภาพที่ ๑๖ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
ภาพที่ ๑๗ ภาพขอมูลผลงานตัวอยางของศิลปน
๒๑
บทที่ ๓ ขั้นตอนกระบวนการในสรางสรรคผลงาน ดวยรูปแบบผลงานของขาพเจาที่เปนนามธรรม การแสดงออกทางทัศนธาตุภายใน ผลงานจึงเปนสิ่งที่เห็นไดชัดมากที่สุด ที่เปนการสื่อสารของผลงานผานภาษาทางทัศนศิลปดวย เสน สี รูปทรงจากโครงสรางของพลังความเคลื่อนไหวในธรรมชาติที่เปนภาวะอัตวิสัย จากสัมผัส ภายในจิตใตสํานึกขาพเจา เพราะทัศนธาตุที่เกิดขึ้นนี้ เปรียบเสมือนพลังที่ใชในการดึงดูดความ นาสนใจใหผลงาน อีกทั้งเปนสิ่งสําคัญที่แสดงใหเห็นถึง สุนทรียภาพความงาม อารมณ ความรูสึก และความจริงใหประจักษแกขาพเจาและผูที่ไดชมผลงานมากที่สุด ที่มาจากการถายทอดสัมผัสใน พลังความเคลื่อนไหวที่เกิดสัมผัสในจิตใตสํานึกสูจิตสํานึกที่เกิดขึ้นขณะสรางสรรคผลงาน เพราะ คือความจริงที่เกิดขึ้น จากการที่ขาพเจาไดลงมือสรางสรรค ขั้นตอนการประมวลความคิดในการสรางสรรค ผลงานนามธรรมเปนผลงานที่ขาพเจาไดทําการทดลองพรอมไปกับการศึกษาคนควา หาขอมูลเพิ่มเติมในชวงระยะกอนผลงานศิลปนิพนธ โดยกอนหนานี้การสรางสรรคผลงานของ ขาพเจาไดเริ่มตนจากการทดลองและสรางสรรคหลายรูปแบบ ทั้งที่สื่อสารดวยรูปทรงสัญลักษณ ตาง ๆ ตลอดจนสรางสรรคเปนรูปเหมือนของตนเอง เพื่อสะทอนถึงอารมณความรูสึกสวนตัวอยาง ตรงไปตรงมา สิ่งเหลานี้ลวนมาจากความเชื่อของขาพเจาเกี่ยวกับการสรางสรรคผลงานศิลปะ เชนเดียวกับศิลปนอเมริกา แจ็คสัน พอลล็อคที่กลาวไววา “การเขียนรูปคือสภาวะจิต.....การ เขียนรูปคือการแสวงหาตัวตน ศิลปนดี ๆ เขามักจะเขียนภาพที่แสดงความเปนตัวของ ตัวเองทั้งนั้น” ๕ แตก็ยังเปนเพียงการทดลองสรางสรรคในแบบตาง ๆ และการคนหารูปแบบการ สรางสรรคเฉพาะตัว จึงทําใหตอมาในชวงระยะเวลากอนการสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธ ทําให ขาพเจาริเริ่มประมวลผลทางความคิดของตนเองใหมีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น อีกทั้งตองคนหาและ สรุปเกี่ยวกับเทคนิควิธีการสรางสรรคเฉพาะตัว เพื่อเปนขอบเขตในการศึกษาคนควา ดงนั้นจึงทํา ใหมองเห็นสิ่งหนึ่งวา ตลอดที่ผานมาผลงานในแตละชิ้นถึงมีรูปแบบในการสรางสรรคที่แตกตางกัน ๕
บารบารา เฮสส ยูทา โกรเซนิค, แอ็บสแตร็กเอ็กเพรสชั่นนิสม, แปลโดย อณิมา ทัศจันทร, (กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒), ๑๐.
๒๒ แต มีสิ่ ง ที่ เ ชื่ อ มโยงกั น อยู ที่ค ลา ยคลึ ง กั น นั้ น คื อ ปฏิ สั ม พัน ธ ร ะหว า งสั ม ผั สทางความรู สึ ก ของ ขาพเจากับธรรมชาติและสภาพแวดลอมจากประสบการณในการดํารงชีวิต ขาพเจาจึงไดทดลอง ถายทอดเปนเสนของพลังความเคลื่อนไหวผานกระบวนการเทคนิคในการสรางสรรคและผานการ ทดลองที่นึกถึงเปนลักษณะของปจจัยในธรรมชาติที่สามารถภายทอดใหสอดคลองกับสัมผัสในจิต ใตสํานึกนี้ได เกิดเปนความคิดคํานึงถึงปรากฏการณที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ นั้นคือ ปจจัยของลม และอากาศที่เปนเสมือนปจจัยที่เราเห็นไดชัดเจนในสภาพแวดลอมวา เมื่อใดที่มีลมพัดก็จะเกิด เปนปฏิกริยาการเคลื่อนไหวหรืออาจไมเกิดการเคลื่อนที่ แตมีปฏิกริยาทางสัมผัสในการรับรูทาง ความรู สึก ในสวนอีก ปจจัย หนึ่ง ที่เปนปจจัย ที่ขาพเจาไดนึ กถึง และนํามาใชในการสรางสรรค ผลงานเคียงคูกับปจจัยของลม คือ น้ํา ดวยการสรางสรรคผลงานของขาพเจามีรูปแบบเปนผลงาน จิตรกรรม ผลงานจึงขาดไมไดในเรื่องราวของทัศนธาตุของสีในผลงาน จึงเปนการถายทอดปจจัย ของน้ํานี้ ดวยน้ําสีที่เกิดจากผสมสีที่มาจากแรงบันดาลใจจากสีในธรรมชาติและสีปจเจกของตัว ขาพเจาเอง โดยนํามาผสมผสานกันในระหวางการสรางสรรค ทั้งสองปจจัยนี้เปนเสมือนปจจัย หลักของเทคนิคการสรางสรรคเฉพาะตนของขาพเจาที่ไดทําการทดลองและใชในการสรางสรรค ผลงาน แมวาจะเปนปจจัยที่เกิดจากการสรางขึ้นจากตัวของขาพเจา ไมไดเกิดจากปรากฏการณ จริงในธรรมชาติสภาพแวดลอม แตหัวใจสําคัญของทั้งสองปจจัยนี้ คือ ธรรมชาติการแสดงออกสู ผลงานของขาพเจา เปนธรรมชาติของสัญชาตญาณ การแสดงออกในจิตใตสํานึก ที่ทําใหขาพเจา ไดรับตรรกะจากกระบวนการสรางสรรคนี้ใหรับรูถึงความบริสุทธิ์จากความเขาใจตัวตนผานการ แสดงออกสูผลงานดวยการนําทั้งสองปจจัยนี้มาผสมผสานกันถายทอดไปสูผลงานแตละชิ้น จึง เกิดเปนพื้นสีของสีน้ําพลาสติกที่ทําใหมีจินตนาการคิดตอจากรูปทรงของพื้นสีที่เกิดขึ้น จากการที่ ไดทดลองเทคนิค และไดทําการการเขียนจากจินตนาการนี้ใหผสมผสานกับพื้นสีที่เกิดขึ้นภายใน ผลงาน เพื่อใหผลงานมีความสมบูรณมากขึ้น จะเห็ น ไดวา ความคิดและจิน ตนาการตา ง ๆ เกิด ขึ้น มากมาย ระหวา งการทดลอง คนควาและการสรางสรรคผลงาน จึงทําใหเปนการแสวงหาคนควา ,เสนทางการสรางสุนทรียภาพ ความงามและการถายทอดจินตนาการที่พัฒนาตอไปอยางไมรูจบ ยังทําใหขาพเจาไดรับรูตรรกะ มากมายจากการที่ไดสรางสรรค เชนเดียวกับศิลปน โรเซ็นเบิรกกลาววา “ศิลปะคือการลงมือทํา สําหรับศิลปนแลวแลวการยอมรับวาศิลปะคือความจริงก็ตอเมื่อเขาไดลงมือทํางานแลว เทานั้น” ๖ ขาพเจาจึงไดทําการรวบรวมประมวลผลรูปแบบการสรางสรรคผลงานเฉพาะตน จาก ๖
บารบารา เฮสส ยูทา โกรเซนิค, แอ็บสแตร็กเอ็กเพรสชั่นนิสม, แปลโดย อณิมา ทัศจันทร, (กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒), ๒๓.
๒๓ การที่ได ทดลองศึกษาคนควากระบวนการสรางสรรคและรูปแบบผลงานของขาพเจาจากแรง บันดาลใจในสัมผัสจากธรรมชาติและสภาพแวดลอมตามที่กลาวมา นํามาใชในการสรางสรรคเปน ผลงานศิลปนิพนธชุดนี้ ขั้นตอนการทําภาพรางกอนสรางสรรคบนผลงานจริง ภาพรางเปนเสมือนผลงานจริงขนาดยอสวน และเปนสิ่งที่สามารถทําใหขาพเจารูถึง ลําดับขั้นตอนกระบวนการสรางสรรคผลงานในแตละภาพและทัศนธาตุที่จะเกิดขึ้นโดยรวมอยาง คราว ๆ ภายในผลงาน และมองเห็นปญหาบางสวนที่อาจเกิดขึ้นขณะสรางสรรคผลงานจริงที่มี ขนาดที่ใหญขึ้น ดังนั้นถึงแมวาผลงานนามธรรมของขาพเจาจะเปนการสะทอนถึงพลังธรรมชาติ และการแสดงออกทางกระบวนการเทคนิ ค สร า งสรรค ข องข า พเจ า เป น สํ า คั ญ แต ก ารที่ มี จินตนาการภาพผลงานอยางคราว ๆ บนผืนผาใบสีขาวที่ยังวางเปลา ปราศจากการแตงแตมใด ๆ นั้น และการทําภาพรางไวกอนสรางสรรคจริงนั้น สามารถทําใหขณะการสรางสรรคผลงานจริง เปนไปอยางมีจุดหมายปลายทางมากกวาการที่ไดแสดงออกในการสรางสรรคอยางฉับพลันเพียง อยางเดียว ดังนั้นขั้นตอนในการทําภาพรางนี้ จึงเปนเสมือนการทดลองเบื้องตนของการสรางสรรค เพื่อใหเราไดมองเห็นถึงปญหาที่อาจจะเกิดขึ้นขณะสรางสรรค และผลงานโดยรวม และนํามา ปรับปรุงแกไข สามารถทําใหผลงานขาพเจามีพัฒนาการเพิ่มขึ้น
ภาพที่ ๑๘
ตัวอยางภาพรางกอนสรางสรรคผลงานจริง
๒๔
ภาพที่ ๑๙ ตัวอยางภาพรางกอนสรางสรรคผลงานจริง ขั้นตอนการวาดเสนรางโครงสรางโดยรวมของภาพ องคประกอบโครงสรางโดยรวมของภาพ เปนโครงสรางของทิศทางการเคลื่อนไหวหลัก ของพลังความเคลื่อนของธรรมชาติ ที่เปนแรงบันดาลใจที่ขาพเจาไดใชเปนขอมูลในการสรางสรรค ผลงาน เสมือนเงาสะทอนของมุมมองขาพเจาที่มีตอธรรมชาติและสภาพแวดลอม โดยผลงานใน แต ละชิ้ น จะมีทิศทางที่แตกตา งกั นออกไปตามการแสดงออกของธรรมชาติแต ละสิ่ง จึ งทํ า ให ผลงานแตละชิ้นมีโครงสรางและทิศทางการเคลื่อนไหวที่แตกตางกัน โครงสรางโดยรวมของภาพนี้ เปนขั้นตอนในการสรางสรรคผลงานขั้นเริ่มตนของการ สรางสรรคผลงานของขาพเจาในแตละชิ้น ที่เปนขั้นตอนที่เอื้อประโยชนตอขั้นตอนการสรางสรรค ในการสรางน้ําหนักโดยรวมของภาพจากการทําพื้นสีดวยการเปาสีน้ําพลาสติกในผลงาน เพราะ ทําใหธรรมชาติการแสดงออกผานทางเทคนิคการเปาสีเฉพาะตนของขาพเจา มีทิศทาง ไมกระจัด กระจายจนเกินไป และทิศทางนี้ยังสามารถชวยควบคุมการเทสีน้ําพลาสติกที่ไดเลือกใช ไมให เกิดการปะปนกัน จนทําใหความสดหรือคาน้ําหนักของสี ไมผิดเพี้ยนหรือหมนหมองไปจากเดิม
๒๕ ซึ่ง ขั้น ตอนนี้ถือ ไดวา เปน ขั้น ตอนสํา คัญ ที่สามารถทํา ใหผ ลงานขา พเจา มีพัฒ นาการทางดา น เอกภาพของทิศทางการเคลื่อนไหวของทัศนธาตุภายในผลงานและเอกภาพทางมุมมองที่มีตอ ผลงานของผูชมดวย
ภาพที่ ๒๐
ภาพขั้นตอนการวาดเสนรางโครงสรางภาพ
ขั้นตอนการทําน้ําหนักสีโดยรวมของภาพจากพื้นสีน้ําพลาสติก สี เปรี ย บเสมื อ นทั ศ นธาตุ ห ลั ก ในการสื่ อ สารเรื่ อ งราวของความหมาย อารมณ ความรูสึก และสุนทรียภาพ ที่เปน “ภาษาของจิตรกรรม” ๗ มีอิทธิพลตอการรับรูทางความรูสึกได ไว ซึ่งแตละคนนั้นตางมีสีที่เปนปจเจกของตน แตกตางกันตามแตประสบการณของแตละคน สีจึง เปนเสมือนสารที่สื่อถึงความเปนตัวตนของผูสรางสรรคทั้งในดานความคิด อารมณ ความรูสึก ออกมาจากจิตใจโดยตรง ดังนั้น ขั้นตอนการทําพื้นสีจากสีน้ําพลาสติก จึงเปนขั้นตอนที่แสดงให เห็นถึงการแสดงออกของขาพเจาอยางฉับพลันในกระบวนการสรางสรรคเทคนิคเฉพาะตนของ ขาพเจาอยางเห็นไดชัด สีสันตาง ๆ ภายในผลงานขาพเจา โดยสวนใหญมีที่มาจากประสบการณ ของการดํารงอยูในธรรมชาติสภาพแวดลอมตรงผนวกกับสีที่เปนปจเจกจากความรูสึกภายใน ผสมผสานกัน เปนเสมือนขั้นตอนการทําน้ําหนักโดยรวมของภาพทั้งหมด เพราะน้ําหนักโดยรวมจะ ๗
อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสรางสรรคผลงานจิตรกรรมขั้นสูง. (กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท., ๒๕๕๐) ,๖๕.
๒๖ เปนอยางไร ขั้นตอนนี้ถือเปนปจจัยหลัก ที่สรางขึ้นดวยอาศัยการสรางน้ําหนักจากการผสานกัน ของเฉดสีที่ผสมไวเปนสีหลักที่มีคาน้ําหนักออนแกในแตละเฉดสีอยางคราว ๆ เทานั้น สวนคา น้ําหนักที่เหลือจะเกิดขึ้น จากการผสมผสานกันของคูสีที่ไดเทลงบนผืนผาใบ ดวยการใชเทคนิค การเปาสีดวยไดรรอน โดยเปาไปตามรูปทรง หรือ โครงสรางของเสนรางที่ไดรางไวกอนหนานี้ นอกจากนี้สีน้ําพลาสติกที่ไดผสมไวกอนหนานี้ ก็เปนสิ่งสําคัญตอน้ําหนักโดยรวมของภาพเชนกัน ดังนั้นในขั้นตอนการเตรียมสีผสมก็ ตองคํานึงถึงคาน้ําหนัก ออนแกในแตละเฉดสี ที่ไมใหมีคา น้ําหนักใกลเคียงกันมากนัก เพราะเมื่อมีคาน้ําหนักที่ใกลเคียงกันจนเกินไป ถึงแมวาจะเปาสีให ผสมผสานกัน ก็จะเกิดปนคาน้ําหนักที่ใกลเคียงกัน ไมแตกตางจากคาน้ําหนักเดิมเทาใดนัก ก็จะ สงผลใหคาน้ําหนักในผลงานไมสมบูรณตามมาดวย
ภาพที่ ๒๑
ภาพขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก
๒๗
ภาพที่ ๒๒
ภาพขัน้ ตอนการทําเทคนิคพื้นสีน้ําพลาสติก
ภาพที่ ๒๓
ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก
๒๘
ภาพที่ ๒๔
ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก
ภาพที่ ๒๕
ภาพรายละเอียดขั้นตอนการทําเทคนิคพืน้ สีนา้ํ พลาสติก
๒๙ ขั้นตอนการระบายสีเพิ่มเติมบนพื้นสีน้ําพลาสติกที่เกิดขึ้นจากเทคนิค นอกจากทัศนธาตุของสี ผลงานจะสมบูรณได มิใชเกิดจากทัศนธาตุของสีเพียงอยาง เดียว ดังนั้นขาพเจาจึงตองนําทัศนธาตุอื่น ๆ มาใชผสมผสานกับทัศนธาตุของสี สรางสรรคใน ผลงานเพิ่ ม เติ ม จึ ง ได ใ ช ทั ศ นธาตุ ข องการเขี ย นเส น ระบายสี ส ร า งน้ํ า หนั ก ให กั บ รู ป ทรงและ องคประกอบของผลงานโดยรวม เปนการเขียนดวยสีอะคริลิคและสีน้ํามันตามลําดับ ขั้นตอนนี้เปน เสมือนขั้นตอนที่ทําใหผลงานมีชีวิตชีวาและสมบูรณยิ่งขึ้น อีกทั้งเปนอีกขั้นตอนหนึ่งที่ถายทอด ทัศนธาตุที่แสดงถึงตัวตนของขาพเจา ออกมาจากการเขียนดวยสัมผัสในจิตไรสํานึก โดยลักษณะ การเขียนของขาพเจา ในชวงเริ่มตนสรางสรรคผลงานนามธรรมจะเปนการเขียนที่คํานึงถึงรูปทรง และลวดลายที่อยูในธรรมชาติและสภาพแวดลอมใหสอดคลองกับพื้นสีเกิดขึ้นดวยเทคนิค จากนั้น ตรรกะทางกระบวนการสรางสรรคที่ขาพเจาไดรับ ทําใหประจักษถึงสุนทรียภาพที่บริสุทธิ์จากการ แสดงออกของธรรมชาติที่แทจริง นั้นคือ ธรรมชาติของการแสดงออกความจริงจากความรูสึก ภายใน ทําใหตอมาการเขียนมีลักษณะลื่นไหลไปกับลักษณะของพื้นสีน้ําพลาสติกที่เกิดขึ้นจาก การเปาสี พรอมไปกับการพิจารณาถึงความพอเหมาะพอดีในการเขียน เพราะในชวงสรางสรรค ผลงานกอนศิลปนิพนธมีการเขียนทับบนพื้นสีน้ําพลาสติกเปนสวนใหญ แตการสรางสรรคผลงาน เรื่อย ๆ มา ทําใหเห็นถึงเสนหบางชวงในผลงานที่เกิดจากกระบวนการทางเทคนิค ขาพเจาจึงได คํานึงถึงความพอดีในการเขียน เพราะสิ่งที่เกิดขึ้นจากเทคนิคในการสรางสรรคนี้ เปนสิ่งที่สามารถ ชวยใหผลงานมีความนาสนใจและเห็นไดถึงการแสดงออกสูผลงานขาพเจาไดเชนกัน
๓๐
บทที่ ๔ การวิเคราะหและสังเคราะหผลงานเพื่อพัฒนาการในการสรางสรรค ผลงานศิลปนิพนธชุดนี้ที่มีรูปแบบนามธรรม ขาพเจาไดสรางสรรคตอเนื่องมาจาก ผลงานระยะกอนศิลปนิพนธที่สรางสรรคในชวงภาคการศึกษาตอนตน ทําใหตลอดระยะเวลาที่ได สรางสรรค ตางพบเจอสิ่งใหมทั้งที่เกิดขึ้น จากการที่ไดทดลอง ความบังเอิญหรือความผิดพลาด ทางเทคนิค ตลอดจนการเผชิญกับปญหาอุปสรรคตาง ๆ ที่เกิดขึ้นทางเทคนิคขณะสรางสรรค ที่ทํา ใหคนหาวิถีทางตาง ๆ มาปรับใชและแกไข จนกอเกิดเปนความรูความเขาใจใหม ๆ มากมาย ในขณะที่สรางสรรคเรื่อยมา สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตเปนประสบการณในการสรางสรรคผลงานของ ขาพเจา ที่มี อิท ธิพ ลต อผลลัพ ธข องผลงานของขาพเจา และสามารถนํามาใชวิเคราะหตอการ สรางสรรคผลงานของตนเอง เพื่อเปนประโยชนตอพัฒนาการในการสรางสรรคผลงานตอไป การวิเคราะหเชิงความคิดในการสรางสรรค การสรางสุนทรียภาพความงามใหเกิดขึ้นในจิตใตสํานึก ที่เปนแนวความคิดในการ สรางสรรคผลงานของขาพเจา โดยมาจากการไดถายทอดสัมผัสภายในจิตใตสํานึกสูจิตสํานึกที่ใช ถายทอดทางกระบวนการสรางสรรค ดังนั้นขณะที่ไดสรางสรรคผลงานนามธรรมชุดนี้ ขาพเจาจึง ไดพยายามประมวลความคิด ศึกษาคนควาขอมูลและแรงบันดาลใจใหม ๆ ที่สามารถเปดกวาง ทางความคิดและจินตนาการของขาพเจาใหเพิ่มพูนมากขึ้น ทําใหการวิเคราะหในเชิงความคิดใน การสรางสรรคขาพเจา จึงมิไดวิเคราะหและทําการสังเคราะหเพียงขอมูลที่มีอยูกอนหนานี้ในชวง ผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ การที่ไดรับรูขอมูลและเปดใจกวางรับแรงบันดาลใจใหม ๆ ทําใหผล งานขาพเจาไมไดถูกตีกรอบและจํากัดอยูในจินตนาการจากเพียงขอมูลที่มีอยู ทําใหมีมุมมองใหม และมีสัมผัสในทิศทางโครงสรางการเคลื่อนไหวตาง ๆ มากขึ้น สิ่งเหลานี้ลวนแลวแตเปนสิ่งสําคัญ ที่สงผลตอทัศนธาตุตาง ๆ ที่เกิดขึ้นภายในผลงาน และเปนองคประกอบสําคัญของโครงสราง โดยรวมของผลงาน ที่ ส ะท อ นถึ ง ทั ศ นะคติ เ ฉพาะตนของข า พเจ า ที่ มี ต อ ธรรมชาติ แ ละ สภาพแวดลอม แตในการคนควาศึกษาเพื่อเปดรับแรงบันดาลใจใหมนี้ คงไมเพียงแตเปนแรง บันดาลใจจากประสบการณทั้งหมด แตเปนขอมูลจากแรงบันดาลใจที่ไดกลั่นกรองใหสอดคลอง กับความรูสึกภายในจิตใตสํานึกที่ตองการถายทอดดวยเชนกัน เพราะดวยผลงานของขาพเจามี
๓๑ การแสดงออกทางสัมผัสของความรูสึกภายในเปนสําคัญ ดังนั้นแรงบันดาลใจที่สอดคลองตอ ความรู สึ ก นี้ จะทํ า ให เ กิ ด จิ น ตนาการและการถ า ยทอดออกสู ผ ลงานเป น ไปอย า งลื่ น ไหล มี เปาหมายรับรูถึงจุดหมายปลายทางตลอดจนระบบขั้นตอนกระบวนการสรางสรรคผลงาน และใช ในการพัฒนาทางความคิดในการสรางสรรคผลงานตอไป การวิเคราะหเชิงกายภาพของผลงาน การวิเคราะหเชิงกายภาพของผลงาน กลาวไดวาเปนการวิเคราะหที่มีความเชื่อมโยง และตอเนื่องมาจากการวิเคราะหและพัฒนาการในดานความคิดในการสรางสรรค เพราะแรง บันดาลใจที่เพิ่มพูนขึ้นจากการวิเคราะหทางความคิดนั้น สงผลตอทัศนธาตุภายในผลงานโดยตรง ดวยผลงานที่เปนนามธรรม ทัศนธาตุภายในผลงานจึงเปนสิ่งที่เห็นไดชัดเจนมากที่สุด ในการ วิเคราะหผลงานเชิงกายภาพเพื่อพัฒนาการในการสรางสรรค ขาพเจาไดทําการวิเคราะหทัศนธาตุ โดยการพิจารณาแยกเปนสวนตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๑. การวิเคราะหทัศนธาตุดานองคประกอบโครงสรางของผลงาน องคประกอบโครงสรางของผลงาน คือ ทิศทางของการเคลื่อนไหวภายในผลงาน โดยรวม ที่เกิดจากเสนรางภาพ ที่เปนเสนจากแรงบันดาลใจการเคลื่อนไหวในธรรมชาติ โดยวาด ขึ้นกอนการทําพื้นสีภายในผลงานดวยเทคนิค จึงทําใหเสนโครงสรางนี้มีฐานะเปนเสมือนพลังงาน ของผลงาน ที่ขับเคลื่อนทิศทางการเคลื่อนไหวโดยรวมของผลงานซึ่งสงผลตอมุมมองตอผลงาน เชนกัน จากการวิเคราะหผลงานที่รวมถึงผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ระยะเริ่มตนเสน ของการเคลื่อนไหวภายในผลงานขาพเจา มีลักษณะแข็งกระดาง เคลื่อนไหวอยางเปนระเบียบมาก จนเกินไป เมื่อไดยอนกลับคํานึงถึงไปสูแนวความคิดในการสรางสุนทรียภาพเพื่อจรรโลงจิตใจ จึง ทําใหขาพเจาริเริ่มทดลองและคนหาโครงสรางการเคลื่อนไหวที่ใหความรูสึกถึงความมีชีวิตชีวา เสนจากการเคลื่อนไหวในลักษณะอื่น ๆ ที่ใหความรูสึกออนนุมเพื่อลดความกระดางแตแฝงดวย พลังการแสดงออกที่มากขึ้น และสามารถสรางสุนทรียภาพไดเชนกัน และเปดกวางทางความคิด ทางการถ า ยทอดเทคนิ ค การสร า งสรรค สู ผ ลงาน ที่ ไ ม ใ ช เ กิ ด จากมุ ม มองของข า พเจ า ต อ การ แสดงออกความรูสึกภายในสูผลงานเพียงอยางเดียว แตเปนมุมมองที่เปดกวาง โดยใชความงาม ของความบริสุทธิ์จากธรรมชาติจากแรงบันดาลใจที่เพิ่มขึ้นที่ไดทําการวิเคราะหทางความคิดกอน หนานี้มาปรับใชดวย ใหมีลักษณะการเคลื่อนไหวใหม การเปดกวางทางความคิดนี้ คือ แรงบันดาล ใจจากพลังความเคลื่อนไหวในธรรมชาติที่เราสามารถรับรูไดมากมายมหาศาล มิรูจบ และไมติด
๓๒ อยูกับการเคลื่อนไหวแบบโครงสรางเดิม เพื่อพัฒนาการในการสรางสรรค และใหผลงานมีพลังและ นาสนใจมากยิ่งขึ้น
ภาพที่ ๒๖
ภาพรางที่เปนโครงสรางองคประกอบหลักผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ
ภาพที่ ๒๗
ภาพรางที่เปนโครงสรางองคประกอบหลักผลงานศิลปนิพนธ
๓๓ ๒. การวิเคราะหทัศนธาตุดานสีและน้ําหนักภายในผลงาน ทัศนธาตุของสีและน้ําหนักภายในผลงาน ถือไดวาเปนทัศนธาตุที่ขาพเจาพยายาม พัฒนาและใหความสนใจในการทดลองและศึกษาคนควาจากแหลงขอมูลเปนพิเศษในชวงการ สรางสรรคผลงานศิลปนิพนธ เนื่องจากทัศนธาตุของสีเปนทัศนธาตุที่เปนเสมือนแรงดึงดูดความ นาสนใจของผลงาน และเปนทัศนธาตุที่สัมผัสของมนุษยเรารับรูไดไว สามารถบงบอกและสะทอน ถึงสภาวะความรูสึกภายในของขาพเจาไดเปนอยางดี กล า วได ว า ทั ศ นธาตุ ข องสี แ ละน้ํ า หนั ก ของผลงานนั้ น เป น ทั ศ นธาตุ ที่ มี ค วาม เชื่ อ มโยงกั น เพราะเกิ ด ขึ้ น ในช ว งเวลาที่ ไ ล เ ลี่ ย กั น จากที่ ไ ด ก ล า วไว ใ นขั้ น ตอนกระบวนการ สรางสรรคถึงเทคนิคการสรางพื้นสีภายในผลงาน สีที่ใชในผลงานเปนสีที่เกิดจากการผสมสีน้ํา พลาสติก พรอมไปกับการคํานึงถึงคาน้ําหนักออนแกของแตละสี ซึ่งทําใหสงผลตอน้ําหนักโดยรวม ของภาพ สีที่ผสมไวมีแคคาน้ําหนักออนแกที่ใชเปนน้ําหนักหลักเทานั้น สวนน้ําหนักที่เหลือจะ เกิดขึ้ น ตามมาหลั ง จากใช เทคนิ คเป า สี เ ป น ตัว ผสมผสานเข า ด ว ยกั น ขา พเจา ไดเ ห็ น ถึง ความ เกี่ยวของระหวางสองทัศนธาตุนี้ ในระหวางการผสมสีขาพเจา จึงไดพยายามเพิ่มพูนพัฒนาการใน ดา นของการอา นค า น้ํ า หนั ก ของสี เพื่อ ใหผ ลงานโดยรวมมี น้ํ า หนั ก ที่ ค รบถ ว น เพราะน้ํา หนั ก เปรียบเสมือนทัศนธาตุที่สามารถสรางมิติใหเกิดขึ้นในผลงานได เมื่อผลงานมีมิติมากเทาไหร ก็ สามารถทําใหมุมมองตอผลงานไมนาเบื่อ และหยุดนิ่ง เกิดเปนการนาคนหา และเพลิดเพลินไปกับ มิติที่ซอนอยูใหผูชมไดหาคําตอบ นั้นคือ ปฏิกริยาที่ตอบโตซึ่งกันและกันระหวางผูชมกับผลงาน เปนการคํานึงของขาพเจาเกี่ยวกับปฏิสัมพันธของทัศธาตุของผลงานกับการดูผลงาน เกี่ยวกับมิติ ในผลงาน ทําใหขาพเจาคนหาวิธีสรางพัฒนาการนี้ดวยพัฒนาการทางดานการผสมสี การอานคา น้ําหนักสีที่ใชในผลงาน เพื่อน้ําหนักและมิติที่สมบูรณมากขึ้นในผลงาน
๓๔
ภาพที่ ๒๘
ภาพทัศนธาตุดานสีของผลงาน
ภาพที่ ๒๙
ภาพทัศนธาตุดานน้ําหนักของผลงาน
จากการวิเคราะหความสําคัญของทัศนธาตุนี้ นอกจากความพยายามพัฒนาในดาน ของคาน้ําหนักของสี ขาพเจาไดคํานึงถึงคูสีที่เลือกนํามาใชในผลงาน เปนพัฒนาการที่เกิดจาก มุมมองใหมตอทัศนธาตุของสีในผลงานจิตรกรรม เนื่องจากผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธผลงาน มีลักษณะของทัศนธาตุของสีโทนเดียวเปนสวนใหญ ทําใหขาพเจาไดนําสีสันที่ไดจากแรงบันดาล ในธรรมชาติที่มากขึ้นมาปรับใชสูผลงาน เพราะสีสันเปนทัศนธาตุที่สงผลตอประสาทสัมผัสในการ รับรูทางความรูสึกโดยตรงตอมนุษยตลอดจนสิ่งมีชีวิตไดไว จึงอีกเปนทัศนธาตุที่สามารถสราง
๓๕ สุนทรียภาพไดอยางชัดเจน แตในการพัฒนาจากการเลือกสีตาง ๆ มาใชในผลงาน ทําใหตองมีการ วิเคราะหถึงความเหมาะสมผานทฤษฏีสีทางศิลปะเชนกัน นํามาปรับใชใหเขากับสีที่เปนปจเจก ของขาพเจา ปรับใชโดยการผสมเปนเฉดสีที่เหมาะสม เพราะในสีแตละสีตางมีเฉดสีและคาน้ําหนัก ในตัวของมันเองมากมาย ทําใหขาพเจาทดลองการผสมสีตาง ๆ เขาดวยกันหลายรูปแบบ จนเกิด เปนประสบการณทั้งในดานการผสมสี การตวง กะเกณฑปริมาณการผสมสีตาง ๆ เขาดวยกัน ตลอดจนการอานคาน้ําหนักของสีและการอยูดวยกันของคูสีภายในผลงาน สิ่งเหลานี้ลวนเปน พัฒนาการจากประสบการณทางการสรางสรรคและทดลองทั้งสิ้น
๓๖
ภาพที่ ๓๐
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๑ ชื่อผลงาน “Blue Swan” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๘๐ x ๒๕๐ ซ.ม.
๓๗
ภาพที่ ๓๑
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๒ ชื่อผลงาน “Blue Bird” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๔๐ x ๒๑๐ ซ.ม.
๓๘
ภาพที่ ๓๒
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๓ ชื่อผลงาน “โผบิน” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๒๐ x ๒๐๐ ซ.ม.
๓๙
ภาพที่ ๓๓
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๔ ชื่อผลงาน “วัฏจักร ๑” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๒๐๐ x ๒๐๐ ซ.ม.
๔๐
ภาพที่ ๓๔
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๕ ชื่อผลงาน “วัฏจักร ๒” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๒๐๐ x ๒๐๐ ซ.ม.
๔๑
ภาพที่ ๓๕
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๖ ชื่อผลงาน “ไรสํานึกสูสํานึก” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๒๐ x ๒๐๐ ซ.ม.
๔๒
ภาพที่ ๓๖
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๗ ชื่อผลงาน “งอกงาม” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๗๐ x ๑๗๐ ซ.ม.
๔๓
ภาพที่ ๓๗
ภาพผลงานในระยะกอนศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๘ ชื่อผลงาน “คลื่น (ภายใน) ฉัน” เทคนิค สีอะคริลิคและสีน้ํามันบนผาใบ ขนาด ๑๓๐ x ๒๐๐ ซ.ม.
๔๔ ๓. การวิเคราะหทัศนธาตุดานการระบายสีภายในผลงาน ขั้นตอนการระบายสีบนพื้นสีน้ําพลาสติก เสมือนขั้นตอนการสรางชีวิตใหกับผลงาน ดวยลักษณะการถายทอดเสนสี ลวดลาย เฉพาะตนของขาพเจาใชสรางสรรคเพิ่มเติมและเปน ขั้นตอนทายสุดในการแตงเติมใหผลงานเสร็จสมบูรณ การเขียนเพิ่มเติมนี้เกิดจากการเขียนดวยสี อะคริลิคและสีน้ํามันตามลําดับ เปนการเขียนดวยความลื่นไหล ใหสอดคลองไปกับธรรมชาติของ พื้นสีที่เกิดขึ้น จากลําดับการเขียนเนื้อสีเปนชั้นสีตามลําดับ ทําใหขาพเจาไดเห็นถึงปญหาของความ แตกตางระหวางชั้นสีที่แตกตางกัน แมวาการเขียนจะมีผลลัพธที่ความสมบูรณตามความตองการ แต ด ว ยความแตกต า งกั น ของเนื้ อ สี ที่ ต า งชนิ ด กั น จึ ง ทํ า ให เ กิ ด ป ญ หาในพื้ น ผิ ว ของงานที่ ไ ม สม่ําเสมอกัน นั้นคือ ทําใหเมื่อแสงสองกระทบสูผลงาน สวนที่เขียนดวยชั้นสีน้ํามันจะมีพื้นผิวที่มัน วาว แต ใ นส ว นที่ เ ขี ย นด ว ยเฉพาะสี อ ะคริ ลิ ค จะมี พื้ น ผิ ว ที่ มี ค วามด า นกว า เกิ ด เป น ความ กระดํากระดางจากความแตกตางของพื้นผิวจากเนื้อสีบนพื้นงานที่ตางชนิดกัน ซึ่งจะเห็นไดชัดเจน ในผลงานระยะกอนศิลปนิพนธ ทําใหขาพเจาไดแกปญหาดวยการเขียนดวยพื้นสีชนิดเดียวใหทั่ว ทั้งภาพ แมวาจะชวยแกปญหาใหผลงานมีเอกภาพของพื้นสีมากขึ้น แตธรรมชาติความบริสุทธิ์ที่ เกิดขึ้นจากเทคนิคการทําพื้นสีก็จะหายไป ดังนั้น จากสิ่งตางที่เกิดขึ้นทําใหขาพเจานํามาพิจารณาและคิดตอวา สิ่งที่เกิดขึ้นนั้น มิใชปญหาที่เกิดขึ้น แตเปนตรรกะที่ไดจากการสรางสรรค ที่ทําใหขาพเจาตองมีพัฒนาการไป พรอมกับมุมมองตอผลงานจากสิ่งที่เกิดขึ้นทางเทคนิคกระบวนการสรางสรรค นั้นคือ การคํานึงถึง ความพอดีในการเขียนเพิ่มเติมบนพื้นสี ความพอดีนี้ คือ ความเขาใจวาบริเวณใดคือสวนดีของ ผลงานที่เพียงพอแลว เปนเสนหทางกระบวนการทางเทคนิคสรางสรรค สงเสริมใหผลงานมีความ นาสนใจ และสวนไหนที่เราควรเขียนสรางสรรคเพิ่มเติม เพื่อใหผลงานมีความสมบูรณมากยิ่งขึ้น การสังเคราะหผลงานสูพัฒนาการในการสรางสรรค เมื่อไดวิเคราะหผลงานทั้งในดานความคิดในการสรางสรรคและดานกายภาพของ ผลงาน ทําใหขาพเจาไดทําการสังเคราะหผลงานเพื่ อใชในการพิจารณาถึงพัฒนาการในการ สรางสรรค เปนมุมมองตอผลงานโดยรวมในดานเอกภาพของผลงาน เพื่อความเขาใจในผลงาน ของขาพเจา สิ่งที่ตนเองกําลังสรางสรรค และการพิจารณาถึงพัฒนาการในการสรางสรรค ซึ่งจาก การวิ เ คราะห ผ ลงาน ทํ า ให เ ห็ น ถึ ง ความสอดคล อ งซึ่ ง กั น และกั น ระหว า งแรงบั น ดาลใจการ สรางสรรคจากกับทัศนธาตุในผลงาน จึงเปนประเด็นสําคัญที่ไดจากการวิเคราะหแลวสังเคราะห
๔๕ ผลงาน เมื่อมีแรงบันดาลใจที่เพิ่มขึ้นก็สงผลโดยตรงตอทัศนธาตุที่จะเกิดขึ้นในผลงาน ดวยทัศน ธาตุที่ถือเปนหัวใจหลักของการแสดงออกสูผลงานของขาพเจาและทําใหผลงานนามธรรมมีความ น า สนใจมากยิ่ ง ขึ้ น ซึ่ ง การค น หาแรงบั น ดาลใจที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ข า พเจ า สร า งด ว ยการค น คว า จาก แหลงขอมูลที่มากขึ้น และพิจารณาจากประสบการณจริงในธรรมชาติใหลึกซึ้งกวาเดิม เพื่อใหมี สัมผัสในพลังความเคลื่อนไหวในธรรมชาติที่นํามาใชในการถายทอดสูผลงานผานทัศนธาตุใหมาก ขึ้น ใหเกิดเปนพัฒนาการในการสรางสรรคผลงานตอไป
๔๖
บทที่ ๕ บทสรุป ตลอดระยะเวลาที่ขาพเจาไดสรางสรรคผลงานศิลปนิพนธนี้ ตั้งแตทําการศึกษาคนควา ขอมูลที่ใชในการสรางสรรค สรุปประมวลผลแนวคิดในการสรางสรรค ตลอดจนการถายทอด แนวความคิดและความรูสึกจากแรงบันดาลใจดวยเทคนิควิธีการสรางสรรคเฉพาะตนสูผลงานให เสร็ จ สมบู ร ณต ามวั ต ถุป ระสงค ใ นการสร า งสรรค สามารถกลา วโดยสรุ ปว า เป น เรื่ อ งราวของ ดุ ล ยภาพระหว า งตั ว ข า พเจ า กั บ จากธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล อ มที่ ไ ด ดํ า รงอยู ที่ เ กิ ด จาก ปฏิสัมพันธของสัมผัสทางความรูสึกภายในจิตใตสํานึกของขาพเจาที่มีตอพลังความเคลื่อนไหวใน ธรรมชาติและสภาพแวดลอมนี้จากประสบการณในการดํารงชีวิต โดยถายทอดผานสูผลงาน เพื่อ ความเขาใจถึงสัจจะที่มิไดเกิดขึ้นเพียงการมองเห็น แตเปนความเขาใจถึงการแสดงออกดวยความ บริสุทธิ์ในสัญชาตญาณของสิ่งนั้น ที่สงผลตอความเขาใจในการเรียนรูของความจริงภายในที่เปน ตัวตนขาพเจาเองที่แสดงออกสูผลงานดวยเชนกัน ความเขาใจนี้ไมเพียงแตชวยในการสรางสรรค ผลงานศิลปะของขาพเจาเทานั้น แตยังสงผลตอมุมมองในการดําเนินชีวิตของขาพเองตอสิ่งตาง ๆ รอบตัวดวยความเขาใจ เมื่อเรามีความตั้งใจและใหความใสใจในมุมมองตอสิ่งตาง ๆ รอบตัวดวย จิตใจที่เปดกวาง ก็จะทําใหเราเขาใจตอความเปนไปของสิ่งรอบตัวไดลึกซึ้งมากขึ้น ซึ่งความเขาใจ นี้เปรียบเสมือนสมดุลของสรรพสิ่งในธรรมชาติที่ใชในการดํารงอยูดวยกันอยางสงบสุข
๔๗
ภาพที่ ๓๘
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๑ ชื่อผลงาน “Irene” เทคนิค สีน้ํามันและสีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๑๕๐ x ๒๕๐ ซ.ม.
๔๘
ภาพที่ ๓๙
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๒ ชื่อผลงาน “เติบโต” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๒๓๐ x ๑๔๐ ซ.ม.
๔๙
ภาพที่ ๔๐
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๓ ชื่อผลงาน “(ฉัน) ในยามเย็น” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๑๕๐ x ๒๓๐ ซ.ม.
๕๐
ภาพที่ ๔๑
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๔ ชื่อผลงาน “แมงกะพรุนลอยน้ํา” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๒๒๐ x ๑๔๐ ซ.ม.
๕๑
ภาพที่ ๔๒
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๕ ชื่อผลงาน “.....เพอ.....” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๑๔๐ x ๒๒๐ ซ.ม.
๕๒
ภาพที่ ๔๓
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๖ ชื่อผลงาน “จังหวะของน้ํา” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๑๖๐ x ๒๕๐ ซ.ม.
๕๓
ภาพที่ ๔๔
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๗ ชื่อผลงาน “ดั่งฝน ... ในฤดูใบไมผลิ” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๑๗๐ x ๒๕๐ ซ.ม.
๕๔
ภาพที่ ๔๕
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๘ ชื่อผลงาน “ ฝนไป ...” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๒๕๐ x ๑๖๐ ซ.ม.
๕๕
ภาพที่ ๔๕
ภาพผลงานศิลปนิพนธ ชิ้นที่ ๙ ชื่อผลงาน “ฤดู...หนาว” เทคนิค สีอะคริลิคบนผาใบ ขนาด ๒๓๐ x ๑๒๐ ซ.ม.
๕๖ บรรณานุกรม อิทธิพล ตั้งโฉลก. แนวทางการสอนและสรางสรรคผลงานจิตรกรรมชั้นสูง. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท., ๒๕๕๐. บารบารา เฮสส ยูทา โกรเซนิค. แอ็บสแตร็กเอ็กเพรสชั่นนิสม. แปลโดย อณิมา ทัศจันทร. กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒ อินโก เอฟ วอลเตอร. วินเซนต แวน โกะห. แปลโดย สมพร วารนาโด. กรุงเทพมหานคร : เดอะเกรทไฟนอารท, ๒๕๕๒ วราวุฒิ โตอุรวงศ. วัตถุแหงกิเลส. ศิลปนิพนธปริญญาศิลปบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๙. ปณณวิชญ พิพัฒนจิรโชติ. รูปลักษณแหงจิตใตสํานึก. ศิลปนิพนธปริญญาศิลปบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๑. Nicholas Wadley. The Drawing of Van Gogh. London : The Hamlyn Publishing Group Limited. 1969. Robert Venosa. Noospheres. Pomegranate , 1991 Stephen Delton. At The Water’s Edge. New Zealand : Century Hutchinson New Zealand Ltd. 1989. The Editors of Time-Life Books, Photographing Nature, Time-Life. Tim Fitzharris. Nature Photography. Firefly Books Ltd. 2008.
๕๗ ประวัติการศึกษา ชื่อ-นามสกุล วัน เดือน ปเกิด ที่อยูปจจุบัน
นางสาวณัฐนันท วัฒนแสงพันธ ๑๕ มกราคม ๒๕๓๑ ๘๕ ซอยเอกมัย ๓๐ ถนนสุขุมวิท ๖๓ แขวงคลองตันเหนือ เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ๑๐๑๑๐ โทรศัพท ๐๘๙ - ๗๗๑ - ๑๙๙๔
ประวัติการศึกษา ระดับอนุบาล : โรงเรียนจินดาพงศ ระดับประถม - มัธยมปลาย : โรงเรียนเซนตโยเซฟคอนเวนต ระดับปริญญาตรี : คณะจิตรกรรม ประติมากรรม และภาพพิมพ มหาวิทยาลัยศิลปากร ประวัติการแสดงงาน ๒๕๕๔ - นิทรรศการแสดงผลงานนักศึกษาเนื่องในวันศิลป พีระศรี ๒๕๕๕ - รวมแสดงผลงานวาดเสนและภาพพิมพนานาชาติครั้งที่ ๓ เกียรติประวัติ ๒๕๕๑ ๒๕๕๔
- ไดรับทุนการศึกษาจาก “ทุนสวัสดิการรานคาชัยวัฒนา” - ไดรบั ทุนการศึกษา “ทุนอาจารยจักรพันธุ โปษยกฤต”