41211 กฎหมายแพ่ง1

Page 1

1 41211 กฎหมายแพง 1 (Civil Law1) หนวยที่ 1 การใชการตีความกฎหมายและบททั่วไป 1. วิชานิติศาสตรเปนวิชาที่มีหลักเกณฑพื้นฐานหลายประการ ที่ผูศึกษากฎหมายจําเปนตองศึกษา หลักเกณฑพื้นฐานทางความคิดเหลานี้ ซึ่งจะชวยทําใหการศึกษากฎหมายเปนไปอยางมีหลักเกณฑ และ มีความคิดที่เปนระบบ 2. การศึกษากฎหมายก็เพื่อใชกฎหมาย และในการใชกฎหมายนั้นก็จําเปนจะตองมีการตีความ กฎหมายโดยผูที่ใชกฎหมายดวย 3. หลักเกณฑที่สําคัญประการหนึ่งของกฎหมายก็คือกฎหมายจะกําหนดสิทธิและหนาที่ของบุคคล และบุคคลผูมีสิทธิน้น ั ก็ตองใชสิทธิใหถูกตอง 4. ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 1 หลักทั่วไป ไดบัญญัติบทเบ็ดเสร็จทั่วไป ซึ่งเปน หลักเกณฑทั่วไปที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ ไวในลักษณะ 1 1.1 การใชและการตีความกฎหมาย

1. การใชกฎหมายมีความหมาย 2 ประการ คือ การบัญญัติกฎหมายตามที่กฎหมายแมบทให อํานาจไวประการหนึ่ง และการใชกฎหมายกับขอเท็จจริงอีกประการหนึ่ง 2. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงนั้นผูเกี่ยวของ และไดรับผลจากกฎหมายก็อยูในฐานะที่เปนผูใช กฎหมายทั้งสิ้น 3. การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงยังอาจแบงเปนการใชโดยตรงและโดยเทียบเคียง 4. การตีความกฎหมายของกฎหมายแตละระบบ หรือแตละประเทศก็มีการตีความทีแ ่ ตกตางกัน และกฎหมายแตละประเภทกันก็ยังมีหลักเกณฑในการตีความที่แตกตางกัน 5. กฎหมายที่ใชอยูอาจมีชองวางในการใชกฎหมายเกิดขึ้น จึงตองมีการอุดชองวางของกฎหมาย ซึ่งกฎหมายนั้นอาจกําหนดวิธีการไวหรือบทกฎหมายมิไดกําหนดวิธก ี ารไว ก็ตองเปนไปตามหลักทั่วไป 1.1.1

การใชกฎหมาย การใชกฎหมายมี 2 ประเภท คือ การใชกฎหมายโดยตรงและ การใชกฎหมายโดย

เทียบเคียง การใชกฎหมายกับขอเท็จจริงโดยตรงกับการใชโดยเทียบเคียงเกิดขึ้นพรอมกันได การใช กฎหมายโดยตรงตองเริ่มจากตัวบทกฎหมายกอน โดยการศึกษากฎหมายในเรื่องนั้นๆ เพื่อใหรูถึง ความหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายกอน แลวจึงมาพิจารณาวาตัวบทกฎหมายนั้นสามารถปรับใชกับ ขอเท็จจริงไดหรือไม การใชกฎหมายโดยการเทียบเคียง กฎหมายที่บัญญัติไวเปนลายลักษณอักษรแม พยายามใหรอบคอบเพียงใดบอยครั้งพบวาขอเท็จจริงที่เกิดขึ้นไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรที่บัญญัติไว โดยตรงที่สามารถยกมาปรับแกคดีได จําเปนตองหากฎหมายมาใชปรับแกคดีใหได โดยพยายามหา กฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่งที่พอจะใชปรับแกขอเท็จจริงนั้นๆ การตีความกฎหมาย การตีความตามเจตนารมณกับการตีความตามตัวอักษร การตีความในกรณีนี้จะเกิดขึ้นเมื่อ กฎหมายมีความกํากวมไมชด ั เจน หรืออาจแปลความหมายไปไดหลายทางการตีความตามกฎหมายจะแยก พิจารณาจะตองแยกพิจารณาออกเปน หลักการตีความกฎหมายทั่วไป กับหลักการตีความกฎหมายพิเศษ หลักเกณฑการตีความกฎหมายทั่วไป เปนการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย จําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมายและเหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมยของกฎหมาย การ พิเคราะหกฎหมายมี 2 ดาน คือ (1) พิเคราะหตัวอักษร (2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย การตีความตามกฎหมายพิเศษ มีหลักการตีความของตนเองโดยเฉพาะ หลักเกณฑในการหาเจตนารมณของกฎหมาย มีหลักเกณฑบางประการที่จะชวยหา เจตนารมณบางประการของกฎหมายหลักคือ 1) หลักที่ถือวากฎหมายมีความมุงหมายที่จะใชบังคับไดในบางกรณี กฎหมายอาจแปล ความไดหลายนัย ทําใหกฎหมายไรผลบังคับ ปญหาวาเจตนารมณของกฎหมายจะใชความหมายใดตอง ถือวากฎหมายมีเจตนาจะใหมีผลบังคับไดจึงตองถือเอานัยที่มีผลบังคับได 2) กฎหมายที่เปนขอยกเวนไมมีความมุงหมายที่จะใหขยายความออกไป กลาวคือ กฎหมายที่เปนบทยกเวนจากบททั่วไปหรือกฎหมายที่เปนบทบัญญัติตัดสิทธินั้นหากมีกรณีที่แปลความได 1.1.2


2 อยางกวางหรืออยางขยาย กับแปลความอยางแคบ ตองถือหลักแปลความอยางแคบเพราะกฎหมาย ประเภทนี้ไมมีความมุงหมายใหแปลความอยางขยายความ การตีความกฎหมายทั่วไปกับการตีความตามกฎหมายเฉพาะ มีหลักเกณฑตางกัน คือการตีความ กฎหมายโดยทั่วไป คือการหาความหมายที่แทจริงของกฎหมาย ซึ่งจําเปนตองพิเคราะหตัวกฎหมาย และ เหตุผลที่อยูเบื้องหลังของกฎหมาย หรือเจตนารมณของกฎหมาย การตีความกฎหมายตองพิเคราะห 2 ดานคือ (1) พิเคราะหตัวอักษร และ (2) พิเคราะหเจตนารมย หรือเหตุผลหรือความมุงหมายของกฎหมาย การแสวงหาเจตนารมณของกฎหมายมีทฤษฎี 2 ทฤษฎี คือ (ก) ทฤษฎีอัตตวิสัย หรือทฤษฎีอําเภอจิต (ข) ทฤษฎีภววิสัย หรือทฤษฎีอําเภอการณ การตีความกฎหมายพิเศษ มีหลักเกณฑการตีความของตนเองโดยเฉพาะ จะนําหลักทั่วไปในการ ตีความมาใชโดยดวยมิได เชนกฎหมายพิเศษไดแก กฎหมายอาญา ซึ่งมีหลักเกณฑพิเศษคือ (1) กฎหมายอาญาเปนกฎหมายที่กําหนดความผิดและโทษจึงตองตีความเครงคัด (2) จะตีความโดยขยายความใหเปนการลงโทษหรือเพิ่มโทษผูกระทําผิดใหหนักขึ้นไมได หลักการตีความตองตีความตามตัวอักษรกอนหากตัวอักษรมีถอยคําชัดเจนก็ใชกฎหมายไปตามนั้น แตหากตัวอักษรไมชัดเจนหรือมีปญหา จึงมาพิจารณาความมุงหมายหรือเจตนารมยของกฎหมายนั้น ไป พรอมๆ กัน เปนหลักการตีความ ไมใชถอ ื หลักวาหากตัวอักษรไมมป ี ญหาแลวก็ตองพิจารณาถึงเจตนารมย เลยซึ่งเปนเรื่องไมถูกตอง 1.1.3

การอุดชองวางของกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดกําหนดวิธีอุดชองวางของกฎหมายไวในมาตรา 4

1.2 สิทธิและการใชสิทธิ

1. สิทธิเปนสถาบันหลักในกฎหมาย เมือ ่ กฎหมายกําหนดสิทธิแลวจะตองมีบุคคลผูมีหนาที่ที่ จะตองปฏิบัติหรือตองไมปฏิบัติเพื่อใหเปนไปตามสิทธิของผูทรงสิทธินั้น 2. สิทธิอาจแบงออกไดเปนสิทธิตามกําหมายมหาชน และสิทธิตามกฎหมายเอกชน ซึ่งแตละ ประเภทยังอาจแบงออกยอยๆ ไดอีก 3. การมีสิทธิกับการใชสิทธิมีความแตกตางกัน การใชสิทธิก็ตองเปนไปตามหลักเกณฑของ กฎหมาย เชน ตองใชสิทธิโดยสุจริต สิทธิและแนวคิดเรื่องสิทธิ สิทธิ ตามความเห็นของ ศ.ดร.หยุด แสงอุทัย คือ ประโยชนที่กฎหมายรับรองและ คุมครองให สิทธิเปนทั้งอํานาจ และเปนทั้งประโยชน จึงถือไดวา สิทธิ คือ อํานาจที่กฎหมายใหเพื่อให สําเร็จประโยชนที่กฎหมายคุมครอง 1.2.1

สิทธิคอ ื อํานาจทีก ่ ฎหมายรับรองใหแกบุคคลในอันทีจ ่ ะกระทําการเกี่ยวของกับทรัพยสิน หรือบุคคลอื่น เชน อํานาจที่กฎหมายรับรองใหแกบค ุ คลในอันที่จะเรียกรองใหบุคคลอีกบุคคลหนึ่งกระทํา การหรืองดการกระทําบางอยางเพือ ่ ประโยชนแกตน เชนเรียกใหชําระหนี้ เรียกใหงดเวนการประกอบ ื อํานาจของผูทจ ี่ ะเปนเจาของใน กิจการแขงขันกับตนหรือการมีกรรมสิทธิ์ ซึ่งกรรมสิทธิท ์ ี่แทจริงแลวก็คอ อันที่จะใชสอยแสวงหาประโยชนจากทรัพยสิน ตลอดจนจําหนาย จาย โอน หามผูอื่นเขามาใชสอย เกี่ยวของสัมพันธกบ ั หนาทีค ่ ือ สิทธิและหนาที่เปนของคูกัน เมือ ่ กฎหมายกําหนดรับรองสิทธิของผูใดแลวก็ คุมครอง เกิดมีหนาที่แกบค ุ คลซึง ่ ตองกระทําหรืองดเวนการกระทําบางอยางตามสิทธิทก ี่ ฎหมายรับรอง ใหแกบุคคลนัน ้ เชน กฎหมายรับรองสิทธิในชีวต ิ ก็กอใหเกิดหนาที่แกบค ุ คลอื่นที่จะตองไมไปฆาเขา กฎหมายรับรองสิทธิในรางกาย ก็กอหนาที่แกบุคคลอื่นที่จะไมไปทํารายเขา กฎหมายรับรองสิทธิในหนี้ ของเจาหนี้ ก็กอใหเกิดสิทธิแกลูกหนีท ้ ี่จะตองชําระหนี้ เสรีภาพ ไดแกภาวะของมนุษยที่ไมอยูภายใตการครอบงําของผูอื่น หรือภาวะที่ปราศจาก การหนวงเหนี่ยวขัดขวาง เสรีภาพจึงเปนเรื่องของบุคคลที่จะกําหนดตนเองจะกระทําการใดๆ โดยตนเอง โดยอิสระปราศจากการแทรกแซงขัดขวางจากภายนอก เสรีภาพมีลักษณะตางจากสิทธิหลายประการ ไดแก (1) ทั้งสิทธิและเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกผูอน ื่ ที่จะตองเคารพแตสท ิ ธิ อาจกอใหเกิดหนาที่ ุ คลที่จะตองเคารพในสิทธินี้ไมเขาไป แกบุคคลทัว ่ ไปก็ได เชน มีสิทธิในทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่แกบค ขัดขวางการใชสอย ไมถอ ื เอามาเปนของตน แตเสรีภาพกอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปจะตองเคารพ เชน เสรีภาพในการนับถือศาสนา เสรีภาพในรางกายก็กอใหเกิดหนาที่แกบุคคลทั่วไปทีจ ่ ะตองเคารพ (2) หนาที่ซง ึ่ เกิดจากสิทธินั้นอาจเปนหนาที่ ที่ตองกระทําหรืองดเวนการกระทํา เชนสิทธิใน ทรัพยสิน กอใหเกิดหนาที่งดเวนไมเขาแทรกแซงการใชสอย ไมยุงกับทรัพยสินของเขา ผูเอาทรัพยสิน ของเขาไปก็มห ี นาที่ตอ  งกระทําคือตองสงคืนเขา หนาที่ที่เกิดจากเสรีภาพ กอใหผูอื่นมีหนาที่ตอ  งงดเวน


3 กระทําคือไมเขาขัดขวางหรือไมเขาแทรกแซงเสรีภาพของเขา เชน เสรีภาพในการนับถือศาสนา ผูอื่นก็มี หนาที่ที่จะไมขัดขวางตอการนับถือศาสนาของเขา (3) เสรีภาพนั้นกลาวกันมากในกฎหมายมหาชน เชนในรัฐธรรมนูญแหงราชอนาจักรไทย พ.ศ. 2534 มาตรา 24 บัญญัตว ิ า  บุคคลยอมมีสท ิ ธิและเสรีภาพภายใตบง ั คับบทบัญญัติแหงรํฐธรรมนูญ ชายและหญิงมีสิทธิเทาเทียมกัน การกําจัดสิทธิและเสรีภาพอันเปนการฝาฝนเจตนารมณตามบทบัญญัติ แหงรัฐธรรมนูญจะกระทํามิได องคประกอบแหงสิทธิมีสาระสําคัญ 4 ประการคือ (ก) ผูทรงสิทธิ (ข) การกระทําหรือละเวนการกระทํา (ค) วัตถุแหงสิทธิ (ง) บุคคลซึ่งมีหนาที่ การแบงสิทธิตามกฎหมายเอกชนนั้นเปนสิทธิที่รัฐยอมรับรองและบังคับการให เพราะเปน แบงตาม สิทธิของเอกชนที่จะใชยันกับเอกชน ไมกอผลมายันตอรัฐไมกระทบถึงอํานาจรัฐมากนัก หลักเกณฑตา  งๆ ดังนี้ (ก) การแบงแยกตามสภาพของสิทธิ - สิทธิสมบูรณ - สิทธิสัมพัทธ (ข) การแบงแยกตามวัตถุแหงสิทธิ - สิทธิเกีย ่ วกับบุคคล - สิทธิเกีย ่ วกับครอบครัว - สิทธิเกีย ่ วกับทรัพยสิน (ค) การแบงแยกตามเนื้อหา - สิทธิในทางลับ - สิทธิในทางปฏิเสธ (ง) การแบงแยกตามขอบเขตที่ถก ู กระทบกระทั่งโดยสิทธิอื่นๆ - สิทธิที่เปนประธาน หมายถึงสิทธิที่เกิดขึน ้ และดํารงอยูโ ดยตัวเองมิไดขึ้นอยูก  บ ั สิทธิ อื่น สิทธิที่เกิดขึ้นและเปนอิสสระไมขึ้นกับสิทธิอื่น  ็ขึ้นอยูกบ ั สิทธิ - สิทธิอุปกรณ หมายถึงสิทธิที่เกิดขึ้นเนื่องมาแตสท ิ ธิอื่น การดํารงอยูก อื่น สิทธิอุปกรณมิไดเปนอิสระของตนเองแตขึ้นอยูก  ับสิทธิอื่น 1.2.2 การใชสิทธิ

การมีสิทธิกับการใชสิทธิ เหมือนกันและแตกตางกันอยางไร การมีสิทธิกับการใชสิทธินน ั้ แตกตางกัน การมีสท ิ ธินน ั้ เมื่อกฎหมายรับรองก็มีสท ิ ธิ แตอาจ ถูกจํากัดการใชสิทธิได เชน ผูเยาวแมจะมีสท ิ ธิในทรัพยสินแตอาจถูกจํากัดสิทธิทํานิตก ิ รรมเกี่ยวกับ ทรัพยสินได

กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิไวอยางไร

กฎหมายกําหนดแนวทางการใชสิทธิเอาไว กฎหมาย และตองใชสท ิ ธิโดยสุจริต

โดยทัว ่ ไปก็คือตองไมใชสิทธิใหเปนการฝาฝน

1.3 บทเบ็ดเสร็จทั่วไป 1. บทบัญญัติที่เปนบทเบ็ดเสร็จทั่วไปนี้เปนหลักเกณฑที่อาจนําไปใชกับกรณีตางๆ

ในประมวล กฎหมายแพงพาณิชยที่ไมมีบทบัญญัติเรื่องนี้โดยเฉพาะ 2. การทําเอกสารที่กฎหมายกําหนดวาตองทําเปนหนังสือนั้น กฎหมายวางหลักเกณฑวาตองลง ลายมือชื่อ 3. เหตุสุดวิสัยเปนเหตุใดๆ ที่จะเกิดขึ้นก็ดีจะใหผลพิบัติก็ดีเปนเหตุที่ไมอาจปองกันได แมทั้ง บุคคลผูใกลจะประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควร อันจะพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะ และภาวะเชนนั้น 4. ดอกเบี้ยเปนดอกผลนิตินัยอยางหนึ่ง กฎหมายกําหนดเปนหลักเกณฑทั่วไปวา ถาจะตองเสีย ดอกเบี้ย แตมิไดกําหนดอัตราไวใหใชอัตรารอยละเจ็ดครึ่งตอป 1.3.1 การทําและการตีความเอกสาร

การที่กฎหมายกําหนดวา สัญญาเชาซื้อตองทําเปนหนังสือนั้น คูสัญญาเชาซื้อไมตองเขียน สัญญานั้นเอง แตตองลงลายมือชื่อหรือลงเครื่องหมายแทนการลงมือชื่อโดยชอบตามมาตรา 9


4 สัญญากูมข ี อความซึง ่ อาจแปลความไดสองนัย ถาแปลความนัยแรกจะเปนคุณแกผูใหกู ถา แปลตามความนัยที่สองจะเปนคุณแกผก ู ู เมื่อเปนดังนีจ ้ ะตองตีความตามนัยสอง คือ ตองตีความใหเปนคุณ แกคก ู รณี ฝายที่ตอ  งเปนผูเสียในมูลหนี้คอ ื ลูกหนี้นั่นเอง ตามมาตรา 11 1.3.2 เหตุสุดวิสัย

เหตุสุดวิสัยกับภัยธรรมชาติ ไมเหมือนกันเพราะเหตุสด ุ วิสัยอาจเกิดจากภัยธรรมชาติ หรือ อาจเกิดจากการกระทําของคนก็ได และภัยธรรมชาติก็อาจไมเปนเหตุสุดวิสัยก็ได การวินิจฉัยวา กรณีใดเปนเหตุสุดวิสัยหรือไม มีจด ุ สําคัญในประเดนสําคัญทีว ่ าบุคคลผู ประสบหรือใกลจะตองประสบไมอาจปองกันไดดี แมจะไดใชความระมัดระวังตามสมควรแลว 1.3.3 ขอกําหนดเรื่องดอกเบี้ย

กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทั่วไปกําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไวอยางไร กฎหมายในบทเบ็ดเสร็จทัว ่ ไป ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย

กําหนดเกี่ยวกับดอกเบี้ยไว

โดยกําหนดตามมาตรา

7

แบบประเมินผล หนวยที่ 1 การใชการตีความหมาย และบททั่วไป การตีความกฎหมายพิเศษจะตอง ตีความโดยเครงครัด การอุดชองวางของกฎหมาย ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยมาตรา 4 ไดกําหนดลําดับไวหากไมมี กฎหมายลายลักษณอักษรใชบังคับแลวจะตองนําหลักเกณฑ จารีตประเพณีแหงทองถิ่น มาใชบังคับ 1. 2.

(มาตรา 4 กฎหมายนั้น ตองใชในบรรดากรณีซึ่งตองดวยบทบัญญัติใดๆ แหงกฎหมายตามตัวอักษร หรือตามความมุงหมายของ บทบัญญัตินั้นๆ เมื่อไมมีกฎหมายที่จะยกมาปรับคดีได ใหวินิจฉัยคดีนั้นตามจารีตประเพณีแหงทองถิ่น ถาไมมีจารีตประเพณีเชนวานั้น ใหวินิจฉัย คดีเทียบบทกฎหมายที่ใกลเคียงอยางยิ่ง และถาบทกฎหมายเชนนั้นก็ไมมีดวย ใหวินิจฉัยตามหลักกฎหมายทั่วไป)

3.

คําวา เสรีภาพ ไมใชองคประกอบของสิทธิ

คําวา “สิทธิ” เปนถอยคําที่มีบัญญัติในกฎหมายเปนขอความที่เปนรากฐานของกฎหมาย สิทธิ คือความชอบธรรมที่บุคคลอาจใชยันตอ ผูอื่น เพื่อคุมครองหรือรักษาผลประโยชน อันเปนสวนอันพึงมีพึงไดของบุคคล สิทธิตามกฎหมายประกอบดวย (ก) ความชอบธรรม คือความถูกตอง ความรับผิดชอบ โดยความชอบธรรมนั้นจะตองอยูภายใตขอบเขตของกฎหมาย เพราะมีบางกรณี ที่อาจมิใชความชอบธรรม แตกฎหมายก็ยอมรับวาการกระทําเชนนั้นเปนความชอบธรรม เชน กรณีขาดอายุความ ลูกหนี้ปฏิเสธไมชําระหนี้ได จะ เรียกวาความชอบธรรมนั้นนั้นไมถูกตอง เพราะลูกหนี้มีหนี้ แตไมยอมชําระหนี้โดยอางสิทธิตามกฎหมาย หรือกรณีครอบครองปรปกษตามมาตรา 1382 กฎหมายยอมใหไดกรรมสิทธิ์ทั้งๆ ที่ผูครอบครองปรปกษไมใชเจาของกรรมสิทธิ์ เชนนี้เปนความชอบธรรมตามกฎหมายแตไมใชเรื่องของ ความถูกตอง (ข) ผูทรงสิทธิ สิทธิจะตองมีบุคคลเปนผูถือสิทธิ หรือที่เรียกวา “ผูทรงสิทธิ” ซึ่งมีไดทั้งบุคคลธรรมดาและ นิติบุคคล (ค) การกระทําหรือละเวนการกระทํา สิทธิเปนสิ่งที่ใชยืนยันกับบุคคลอื่นได การจะเกิดรูวาสิทธิถูกรบกวนเมื่อใดนั้นก็ตองรอใหเกิดการ กระทําหรือละเวนการกระทําเสียกอน ผูทรงสิทธิจึงอางถึงสิทธิความชอบธรรมที่มีอยูตามกฎหมายได เชน การที่ลูกหนี้ปฏิเสธไมยอมชําระหนี้ การ กระทําที่เกิดขึ้นจากลูกหนี้คือ การปฏิเสธ ทําใหเจาหนี้มีสิทธิเรียกรองบังคับใหลูกหนี้ชําระหนี้ได ดวยการใชสิทธิฟองคดีตอศาลขอใหบังคับ (ง) วัตถุแหงหนี้ วัตถุคือสิ่งของวัตถุแหงหนี้จึงหมายถึงสิ่งของที่เปนหนี้ เชน กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน สิ่งของที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือ ทรัพยสิน สิทธิในชีวิตรางกาย สิ่งที่เปนวัตถุแหงหนี้ก็คือตัวบุคคล (จ) บุคคลซึ่งมีหนาที่ กฎหมายคุมครองรับรองใหสิทธิแกบุคคล เมื่อใดเกิดการฝาฝนสิทธิจึงเกิดสภาพบังคับแหงสิทธิเกิดขึ้นตามมา บุคคลผูถูกฝาฝนความชอบธรรมคือ ผูทรงสิทธิ สวนบุคคลที่ทําการฝาฝน คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ และมีหนาที่จะตองปฏิบัติการชําระหนี้ตอผูทรงสิทธิ เชน สิทธิของเจาหนี้ เจาหนี้คือ ผูทรงสิทธิ ลูกหนี้คือบุคคลซึ่งมีหนาที่ชําระหนี้

4.

หลักเกณฑของการใชสท ิ ธิคอ ื ตองใชโดยสุจริต

(มาตรา 5 ในการใชสิทธิแหงตนก็ดี ในการชําระหนี้ก็ดี บุคคลทุกคนตองกระทําโดยสุจริต) (มาตรา 6 ใหสันนิษฐานไวกอนวา บุคคลทุกคนกระทําการโดยสุจริต)

5. นาย ก ทําสัญญากูเงินนาย ข 10,000 บาท แตเนื่องจากนาย ก ไมรูหนังสือจึงไดลงลายพิมพนิ้วมือแทน การลงลายมือมือชื่อ โดยมีนายนิดอายุ 16 ป และ นางสาวนอย อายุ 16 ป ลงลายมือชือ ่ เปนพยานรับรองการพิมพ ลายนิ้วมือของนาย ก สัญญากูฉบับนี้ จะมีผลสมบูรณตามกฎหมาย (มาตรา 9 เมื่อมีกิจการอันใดซึ่งกฎหมายบังคับใหทําเปนหนังสือ บุคคลผูจะตองทําหนังสือ ไมจําเปนตองเขียนเองแตหนังสือนั้นตอง ลงลายมือชื่อของบุคคลนั้น ลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้นที่ทําลงในเอกสารแทนการลงลายมือชื่อ หากมีพยานลง ลายมือชื่อรับรองไวดวยสองคนแลวใหถือเสมอกับลงลายมือชื่อ ความในวรรคสอง ไมใชบังคับแกการลงลายพิมพนิ้วมือ แกงได ตราประทับ หรือเครื่องหมายอื่นทํานองเชนวานั้น ซึ่งทําลงในเอกสารที่ ทําตอหนาพนักงานเจาหนาที่)

6.

หลักในการตีความเอกสารคือ ตีความใหเปนคุณแกคก ู รณีที่ซง ึ่ จะเปนผูต  องเสียในมูลหนี้

7.

เหตุสด ุ วิสัยกอใหเกิดผลในทางกฎหมายคือ เปนเหตุยกเวนความผิดของลูกหนี้

(มาตรา 10 เมื่อขอความขอใดขอหนึ่งในเอกสารอาจตีความไดสองนัย นัยไหนจะทําใหเปนผลบังคับไดใหถือเอาตามนัยนั้นดีกวาที่จะ ถือเอานัยที่ไรผล) (มาตรา 11 ในกรณีที่มีขอสงสัยใหตีความไปในทางที่เปนคุณแกคูกรณีฝายหนึ่งซึ่งจะตองเปนผูเสียหายในมูลหนี้นั้น) (มาตรา 8 คําวา “เหตุสุดวิสัย” หมายความวาเหตุใดๆอันจะเกิดขึ้นก็ดี จะใหผลพิบัติก็ดี เปนเหตุที่ไมอาจปองกันไดแมทั้งบุคคลผู ประสบหรือใกลจะตองประสบเหตุนั้น จะไดจัดการระมัดระวังตามสมควรอันพึงคาดหมายไดจากบุคคลในฐานะและภาวะเชนนั้น)

8. ในสัญญากูยืมฉบับหนึ่ง กําหนดวาจะตองเสียดอกเบี้ยในเงินกูยืมนั้น แตคส ู ัญญามิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ย ไว ในกรณีเชนนี้ลูกหนี้จะตองเสียดอกเบี้ยในอัตรา รอยละเจ็ดครึ่งตอป (มาตรา 7 ถาจะตองเสียดอกเบี้ยแกกันและมิไดกําหนดอัตราดอกเบี้ยไวโดยนิติกรรมหรือโดยบทกฎหมายอันชัดแจง ใหใชอัตรารอย ละเจ็ดครึ่งตอป)

9.

สิทธิที่เกี่ยวกับสถานะของบุคคล เปนสิทธิตามกฎหมายมหาชน


5 10. บทกฎหมายที่ใชโดยวิธีเทียบเคียงไมไดคือ บทยกเวน

หนวยที่ 2 บุคคลธรรมดา 1. บุคคลธรรมดาคือมนุษย ซึ่งสามารถมีสิทธิและใชสิทธิได 2. สภาพบุคคลเมื่อเริ่มคลอด แลวอยูรอดเปนทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตายตามธรรมดา หรือตายโดย

ผลของกฎหมายคือสาบสูญ 3. สาบสูญ เปนการสิ้นสภาพบุคคล โดยขอสันนิษฐานของกฎหมาย หากบุคคลไปเสียจากภูมิลําเนา หรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครทราบแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายไปแลว เมื่อครบกําหนดระยะเวลา 5 ป หรือ 2 ป ตามกรณีที่กฎหมายกําหนดและมีผูรองขอ เมื่อศาลมีคําสั่งแสดงความสาบสูญแลวใหถือวาบุคคลนั้น ตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังกลาวแลว 4. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลตองมีชื่อตัว และชื่อสกุล เพื่อเปนสิ่งที่เรียกขานบุคคลและกําหนดใหแน ชัดลงไปอีกวาบุคคลนั้นเปนใคร 5. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่แสดงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ซึ่งดํารงอยูใน ประเทศชาติและครอบครัวทําใหทราบสิทธิและหนาที่ของบุคคลที่พึงมีตอประเทศชาติและครอบครัว 6. ภูมิลําเนาเปนสิ่งบงชี้วาบุคคลมีที่อยูประจําที่ไหน ทําใหการกําหนดตัวบุคคลสมบูรณยิ่งขึ้น ภูมิลําเนาที่บุคคลอาจเลือกถือไดตามใจสมัครและอาจมีหลายแหง สภาพบุคคล 1. หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลมี 2 ประการประกอบกันคือ การคลอด และการมีชีวิตรอดเปน ทารก ดังนั้น ทารกในครรภมารดาจึงยังไมมีสภาพบุคคล 2. การคลอดหมายความถึง คลอดเสร็จเรียบรอยบริบูรณ โดยทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด ไมมีสวนหนึ่งสวนใดของรางการเหลือติดอยู 3. การมีชีวิตรอดอยูเปนทารก หมายถึงการที่ทารกมีชีวิตอยูโดยลําพังตนเองแยกตางหากจาก มารดา โดยถือการหายใจเปนสาระสําคัญในการวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิต 4. ทารกในครรภมารดาหมายถึง ทารกที่อยูในครรภนับแตวันที่ปฏิสนธิเปนทารกจนถึงวันคลอด การหาวันปฏิสนธินั้นใหคํานวณนับแตวันคลอดยอนหลังขึ้นไป 30 วัน 5. ทารกในครรภมารดาสามารถมีสิทธิตางๆ ไดตอเมื่อมีชีวิตอยูอยูภายหลังคลอด คือ มีสภาพ บุคคลแลว และมีสิทธิยอนหลังขึ้นไปถึงระยะเวลาที่กฎหมายสันนิษฐานวาเริ่มปฏิสนธิ 6. การนับอายุของบุคคลใหเริ่มนับแตวันเกิด ในกรณีที่บุคคลรูเฉพาะเดือนเกิดแตไมรูวันเกิดให นับวันที่หนึ่งแหงเดือนนั้นเปนวันเกิด หากไมรูเดือนและวันเกิด ใหนับวันตนปที่บุคคลนั้นเกิดเปนวันเกิด 7. การตายธรรมดาเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยถือตามคําวินิจฉัยของแพทยวาระบบ สําคัญของรางกายเพื่อการดํารงชีวิตหยุดทํางานหมด 8. กรณีมี่บุคคลหลายคนประสบเหตุราย รวมกันและตายโดยไมรูลําดับแนนอนแหงการตาย จะ หากพิสูจนไมไดตองถือตามขอ กําหนดวาใครตายกอนตายหลังตองนําสืบถึงขอเท็จจริงเปนรายๆไป สันนิษฐานของกฎหมายวาบุคคลหลายคนนั้นตายพรอมกัน 2.1

การเริ่มสภาพบุคคล (1) ประโยชนและความจําเปนที่จะตองรูวามนุษยมีสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใด สิ้นสุดเมื่อใด ก็เพื่อวินิจฉัยปญหาในทางกฎหมายบางประการ เชน (ก) ในทางแพง การรูวาสภาพบุคคลเกิดขึ้นเมื่อใดก็เพื่อวินิจฉัยถึงสิทธิหนาที่ของบุคคล นั้นเอง รวมทั้งสิทธิหนาที่และความชอบที่เกี่ยวโยงและผูกพันถึงบุคคลอื่นดวย เพราะสิทธิของบุคคลจะมี ขึ้นตั้งแตเกิดมารอดมีชีวิตอยู คือ เริ่มมีสภาพบุคคล หรืออาจมียอนขึ้นไปจนถึงวันที่ปฏิสนธิในครรภมารดา เชนสิทธิในการเปนทายาทรับมรดก ตาม ปพพ. มาตรา 1604 สวนการตายทําใหสิทธิและหนาที่ของ บุคคลสิ้นสุดลง และทรัพยมรดกของบุคคลนั้นตกทอดแกทายาท การพิจารณากองมรดก ผูตายมีทรัพยสิน อะไรบาง ผูตายมีสิทธิหนาที่และความรับผิดอยางไร กับพิจารณาหาทายาทรับมรดก กฎหมายใหพิจารณา ในเวลาที่เจามรดกถึงแกความตาย การรูว ันเกิดวันตายของบุคคลจึงมีความสําคัญ การวินิจฉัยถึงความรับผิดในทางอาญาของผูกระทําผิดฐานฆาคนตาย (ข) ในทางอาญา ตาม ปอ. มาตรา 288 หรือฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา 301 ถึงมาตรา 305 จําเปนตองวินิจฉัย เสียกอนวาทารกมีสภาพบุคคลหรือไม ทารกตายกอนคลอดหรือตายระหวางคลอด เปนการคลอดออกมา โดยไมมีชีวิตไมมีสภาพบุคคล จึงไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาได ความผิดฐานทําใหแทงลูก ตาม ปอ. มาตรา 2.1.1


6 301 ถึง ปอ. มาตรา 305 มีโทษนอยกวาความผิดฐานฆาคนตายโดยเจตนา เมื่อบุคคลตายแลว สิ้นสภาพ บุคคล ก็ไมเปนบุคคลที่จะถูกฆาไดอีก (2) การคลอดเสร็จบริบูรณตามวิชาแพทย แผนปจจุบัน ถือการคลอดเริ่มตนตั้งแตมีการเจ็บ ทองคลอดและสิ้นสุดของการคลอดถือเอาเมื่อเด็กและทารกคลอดแลว รวมทั้งการหดตัวของมดลูกเปนไป โดยเรียบรอย ซึ่งเปนเวลา 15 นาที ถึง 2 ชั่วโมง หลังเด็กคลอด ซึ่งไมเหมือนกันกับ การคลอดแลว ตาม ปพพ. มาตรา 15 นั้น ทารกตองหลุดพนจากชองคลอดของมารดาออกมาหมดตัวกอน โดยไมมีสวน หนึ่งสวนใดของรางกายติดอยูที่ชองคลอด สวนการคลอดของรกหรือการหดตัวของมดลูก ไมมีความหมาย ในการพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลตามกฎหมาย เพราะการพนชองคลอดของทารกหมายถึงการแยกตัว ออกเพื่อมีชีวิตเปนอิสระจากมารดา นักกฎหมายพิจารณาเฉพาะการคลอดที่เกี่ยวกับตัวทารกเทานั้น ไมรวมถึงอาการของการ คลอดในสวนตัวมารดา เพราะกฎหมายมุงที่จะคนหาเวลาเริ่มสภาพบุคคลของทารกเพียงประการเดียว (3) หลักวินิจฉัยการเริ่มมีชีวิตของแพทยและนักกฎหมาย แตกตางกัน และมีผลให หลักเกณฑการเริ่มสภาพบุคคลเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้ นักกฎหมายถือการหายใจเปนหลักฐานแสดงการเริ่มมีชีวิต สวนแพทยถือวานอกจากการ หายใจแลวการเตนของหัวใจ การเตนของสายสะดือ การเคลื่อนไหวรางกาย และหลักฐานอื่นๆก็แสดงวา ทารกมีชีวิตดวย ผลของความเห็นที่แตกตางนี้ ทําใหการวินิจฉัยจุดเริ่มตนของการเริ่มสภาพบุคคลของนัก กฎหมายแตกตางกันเปนสองความเห็น คือ ความเห็นแรก หากยึคดหลักวา การหายใจเปนขอสาระสําคัญของการเริ่มมีชีวิตเพียง ประการเดียว จะถือวาสภาพบุคคลเริ่มเมือ ่ ทารกเริ่มหายใจ โดยเห็นวาการคลอดและการมีชีวิตรอดอยูเปน ทารกเปนหลักเกณฑพิจารณาการเริ่มสภาพบุคคลประกอบกัน ความเห็นที่สอง หากถือตามความเห็นของแพทย เมื่อทารกคลอดหมดตัวพนชองคลอด โดยมีหลักฐานแสดงการมีชีวิตอยางอื่นแลว ถือวาเริ่มสภาพบุคคล จะหารใจหรือไมไมเปนขอสําคัญ และ ยึดหลักวาการคลอดแลวเปนหลักของการเริ่มสภาพบุคคล การอยูรอดเปนพฤติการณประกอบการคลอดวา เปนบุคคลตลอดไป มิใชจุดเริ่มตนของสภาพบุคคล 2.1.2 สิทธิของทารกในครรภมารดา

บทบัญญัติมาตรา 15 วรรคสองที่วา ทารกในครรภมารดาก็สามารถมีสิทธิตางๆได หากวา ภายหลังเกิดมารอดอยู หมายความวา โดยหลักแลว บุคคลเทานั้นที่สามารถมีสท ิ ธิหนาที่ตามกฎหมายได แตบทบัญญัตม ิ าตรา 15 วรรคสองนี้เปนขอยกเวน ใหทารกในครรภมารดาแมยง ั ไมมีสภาพบุคคล ก็สามารถมีสท ิ ธิได แตมีเงื่อนไข วา ภายหลังทารกนั้นตองเกิดมารอดอยู ทารกในครรภมารดา ที่เปนบุตรนอกกฎหมายของบิดา ก็สามารถมี สิทธิได หากภายหลังเกิดมารอดอยู และโดยมีพฤติการณทบ ี่ ิดารับรองทารกในครรภวาเปนบุตรของตน เจตนารมณของกฎหมายมี 2 ประการ คือ (1) เพื่อคุมครองประโยชนของทารกในครรภ มารดา (2) เพื่อขจัดความไมเสมอภาคในเรื่องสิทธิ 2.1.3 การนับอายุบุคคลกรณีไมแนนอนของการเริ่มสภาพบุคคล

การกําหนดวันเกิดของบุคคลตอไปนี้ (1) รูแตเพียงวา ก เกิด ป พ.ศ. 2480 >Æ เกิดวันที่ 1 เมษายน 2480 (2) รูแตเพียงวา ข เกิด ป พ.ศ. 2493 >Æ เกิดวันที่ 1 มกราคม 2493 (3) รูเพียงวา ค เกิดเดือนมีนาคม 2500 >Æ เกิดวันที่ 1 มีนาคม 2500 (4) ไมรูวา ง เกิดเมื่อใด >Æ เมื่อเปนเชนนี้ใหสอบสวนปเกิดของ ง กอนวาเกิดในปใด ได ปเกิดแลว นํา ปพพ. มาตรา 16 มาใชหาวันเกิด การสิ้นสภาพบุคคล (ตาย) 1. หากไมรูลําดับการตายของบุคคลจะเกิดปญหาประการใด เกิดปญหาเมื่อบุคคลสองคนหรือมากกวา ตางเปนทายาทซึ่งกันและกัน ไปเกิดอุบัตุเหตุ หรือเหตุรายรวมกันเปนเหตุใหบุคคลเหลานั้นตาย ไมรูใครตายกอนตายหลัง ทําใหเกิดปญหาเรื่องการรับ มรดก ซึ่งมีหลักเกณฑวา ทรัพยสินของผูตายจะเปนมรดกตกทอดไดก็แตผูที่มีชีวิตอยู ขณะตายมรดกของ ผูตายกอนจึงตกทอดมายังผูตายทีหลัง แลวผานไปยังทายาทของผูตายทีหลังนั้น เมื่อไมรูแนชัดวาใคร ตายกอนตายหลังกฎหมายจึงกําหนดสันนิษฐานไววา ตายพรอมกัน ใครจะเปนทายาทไมได และตางไมมี สิทธิรับมรดกซึ่งกันและกัน 2. คําวา “เหตุอันตรายรวมกัน” นั้นหมายความวา 2.1.4


7 เหตุภยันตรายรวมกัน หมายความวาเหตุภยันตรายเดียวกันที่บุคคลประสบดวยกันในคราว เดียวกัน เชนบุคคลหลายคนโดยสารไปในเครื่องบินลําเดียวกัน แลวเครื่องบินตก หรือโดยสารเครื่องบินไป คนละลําแลวเครื่องบินสองลําเกิดชนกันก็ได แตถาโดยสารเครื่องบินไปคนละลํา แลวเครื่องบินทั้งสองลํา ตางก็เกิดอุบัติเหตุตกเหมือนกัน เชนนี้ ไมถือเปนเหตุภยันตรายรวมกัน 3. ก ปวยเปนอัมพาตเดินไมได สวน ข เปนนักกีฬาวายน้ําทีมชาติ โดยสารเรือออกจาก กรุงเทพฯ ไปสิงคโปรดวยกัน เรือโดนมรสุมจม ตอมามีผูพบศพ ก และ ข ที่ชายฝง เชนนี้ ก และ ข บุคคล ใดจะตายกอนหลัง กฎหมายถือวา ก และ ข ตายพรอมกัน แมขอเท็จจริง ก นาจะตายกอน หากเปนการพน วิสัยที่จะพิสูจนไดวา ใครตายกอนตายหลัง สาบสูญ 1. ถาบุคคลใดไปเสียจากภูมิลําเนาและไมมีใครรูวาบุคคลนั้นมีชีวิตอยูหรือไม โดยที่บุคคลนั้น ไมไดตั้งตัวแทนในการจัดการทรัพยสินไว ผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการสามารถรองขอตอศาลจัดการ ทรัพยสินของผูไมอยูไปพลางกอนตามที่จําเปนนั้นได 2. ถาผูไมอยูไปจากภูมิลําเนาเกินกวา 1 ปโดยไมมีผูรับขาวหรือพบเห็น เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือ พนักงานอัยการรองขอ ศาลจะตั้งผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยูนั้นได 3. ผูไมอยูอาจตัง ้ ตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไป หรือผูรับมอบอํานาจเฉพาะการไวก็ได 4. ผูจัดการทรัพยสินที่ศาลตั้งมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับตัวแทนผูรับมอบอํานาจทั่วไป 5. สาบสูญเปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคลโดยกฎหมายใหสันนิษฐานวาบุคคลสาบสูญนั้นถึงแก ความตาย 6. สาบสูญ คือ สภาพการณที่บุคคลไปจากที่อยู โดยไมรูแนนอนวายังมีชีวิตอยูหรือตายแลว หากหายไปนาน 5 ป ในกรณีธรรมดา หรือ 2 ป ในกรณีพิเศษ เมื่อผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรอง ขอ ศาลจะสั่งใหบุคคลผูไมอยูนั้นเปนคนสาบสูญ 7. บุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญใหถือวาตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังที่กฎหมายกําหนด นั้น 8. หากพิสูจนไดวาคนสาบสูญยังมีชีวิตอยู หรือตายในเวลาอื่นผิดจากเวลาที่กฎหมายกําหนด ศาลสั่งถอนคําสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นได เมื่อคนสาบสูญนั้นเอง ผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการรอง ขอตอศาล แตการถอนคําสั่งนั้นยอมไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดย สุจริตในระหวางที่ศาลมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญ 2.2

2.2.1 ผูไมอยูและผูจัดการทรัพยสินของผูไมอยู

ก. หายไปจากที่อยูตั้งแตวันที่ 1 มกราคม 2500 เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม 2505 มาถึงญาตพี่นองสงขาวคราวใหทราบ จดหมายถึงวันที่ 10 มีนาคม 2505 ตอมา วันที่ 10 เมษายน 2510 มีผูพบเห็น ก. ที่จังหวัดภูเก็ต แลวไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลยวาเปน ตายรายดีอยางไร จนกระทั่งถึงปจจุบันนี้ เชนนี้ สภาพการณการเปนผูไมอยูของ ก. เริ่มและ สิ้นสุดเมื่อใด เริ่มเมื่อวันที่ 10 เมษายน 2510 แตระยะเวลาการเปนผูไมอยู คงมีเรื่อยไปไมสิ้นสุด เพราะไมมีเหตุสิ้นสุดคือ ก. ไมไดกลับมา ไมปรากฏแนชัดวา ก. ตายแลว และไมมีผูใดรองขอใหศาลสั่งวา ก. เปนคนสาบสูญ หลักเกณฑการรองขอเขาจัดการทรัพยสินของผูไมอยูมีประการใดบาง และผู รองมีสิทธิขอจัดการไดเพียงใด พิจารณาตาม ปพพ. มาตรา 48 คือ หลักเกณฑ (1) ผูไมอยูตองมีสภาพการณเปนผูใหญ คือหายไปจากที่อยูไมรูวามีชีวต ิ อยูหรือตายแลว (2) ไมไดตั้งตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปแลว และไดบัญญัติไดบัญญัติใหผูมีสวนไดเสีย และพนักงานอัยการเปนผูรองขอ 2.2.2 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยที่ศาลสั่ง

อํานาจของผูจัดการทรัพยของผูไมอยูที่ศาลตั้งมีประการใดบาง ผูจัดการทรัพยสินตาม ปพพ. มาตรา 54 ใหผูจัดการมีอํานาจจัดการมีอํานาจจัดการอยาง ตัวแทนรับมอบอํานาจทั่วไปคือทํากิจการแทนผูไมอยูได ยกเวนตามขอหาม 6 ประการตามมาตรา 801 ซึ่ง จะตองขออนุญาตศาลกอนจึงจะทําได


8 2.2.3 การจัดการทรัพยสินของผูไมอยูโดยบุคคลผูไมอยูตั้ง

ตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปที่ผูไมอยูแตงตั้งไวมีอํานาจจัดการทรัพยสิน เชนเดียวกับตัวแทนมอบอํานาจทั่วไปตามกฎหมายลักษณะตัวแทนหรือไม มีอํานาจเชนเดียวกัน เพราะ ปพพ. มาตรา 60 ใหนําบทบัญญัติกฎหมายลักษณะตัวแทน มาใชบังคับในเรื่องการจัดการทรัพยสินของผูไมอยู เพียงที่ไมขัดแยงกับกฎหมายเรื่องบุคคล เวนแตขอ หาม 6 ประการ ตาม ปพพ. มาตรตา 801 หากจําเปนตองกระทํา มีกฎหมาย มาตรา 51 บัญญัติใหขอ อนุญาตศาล เพราะไมมีตัวการจะใหคําอนุญาตได 2.2.4 สาบสูญ

มีหลักสําคัญประการใดบางที่ศาลจะมีคําสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญ การที่ศาลจะสั่งใหบุคคลเปนคนสาบสูญไดตามที่มีผูรองขอ ตองพิจารณาไดความ 2 ประการ คือ (1) บุคคลไดหายไปจากที่อยู โดยไมมีใครรูแนชัดวา ยังมีชีวิตอยูหรือตายแลว (2) มีกําหนด 5 ป ในกรณีธรรมดา และ 2 ป ในกรณีพิเศษ เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ก. เดินทางทองเที่ยวทางทะเลกับเพื่อน แลวพัด ตกเรือจมหายลงไปในน้ํา คนหาศพไมพบจะถือวา ก. จมน้ําตายในวันที่ 10 พฤษภาคม 25015 ไดหรือไมเพราะเหตุใด จะถือวา ก. จมน้ําตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2515 ไมไดเพราะไมพบศพ จึงไมมี หลักฐานแนชัดวา ก. ตายแลว ตองนําบทบัญญัติเรื่องสาบสูญมาใชบังคับ และเมื่อศาลมีคําสั่งแลวจึงถือวา ก. ตายเมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม 2518 ก. ไปรบในสมรภูมส ิ งครามเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2500 และหายไประหวาง สงคราม สงครามสงบลงเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2502 ตอมา ก. เขียนจดหมายลงวันที่ 5 มีนาคม 2503 สงขาวใหญาติพี่นองทราบวาแตงงานแลวกับสาวชาวเวียดนาม จดหมายถึงวันที่ 10 มีนาคม 2503 หลังจากนั้นไมมีใครทราบขาวคราวของ ก. อีกเลย ดังนี้ภรรยาของ ก. จะรอง ขอให ก. เปนคนสาบสูญไดเร็วที่สุดเมื่อวันที่เทาใด 10 มีนาคม 2508 เจาหนี้มีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญไดหรือไม เพราะเหตุใด เจาหนี้ไมมีสิทธิรองขอใหลูกหนี้ของตนเปนคนสาบสูญ เพราะไมใชผูมีสวนไดเสีย การรองขอใหบุคคลเปนคนสาบสูญ จะรองขอ ณ ศาลใด ศาลจังหวัดซึง่ บุคคลนั้นเคยมีภูมิลําเนาอยูในเขตศาลกอนที่จะจากไป 2.2.5 ผลของการสาบสูญ

คําสั่งศาลใหบุคคลเปนคนสาบสูญ มีผลกระทบถึงการสมรสหรือไม เพียงใด สาบสูญไมเปนเหตุใหขาดการสมรส แตเปนเหตุใหฟองหยาไดเทานั้น 2.2.6 การถอนคําสั่งแสดงความสาบสูญ

กรณีใดบางที่จะรองขอใหศาลถอนคําสั่งสาบสูญได และผลของกฎหมายของ การถอนคําสั่งแสดงสาบสูญนั้นมีประการใดบาง กรณีที่รองขอใหศาลถอนคําสั่งแสดงสาบสูญ มี 2 ประการคือ (1) ผูสาบสูญยังมีชีวิตอยู (2) ผูสาบสูญตายในเวลาอื่นผิดไปจากเวลา 5 ป หรือ 2 ป ตามที่กฎหมายสันนิษฐานไว ชื่อและสถานะของบุคคล 1. ชื่อคือสิ่งที่ใชเรียกขานเพื่อจําแนกตัวบุคคลทั้งนี้เพื่อประโยชนแกการใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่ 2. กฎหมายบัญญัติใหบุคคลทุกคนตองมีชื่อตัวและชื่อสกุล แตบุคคลอาจมีชื่ออื่นๆ ไดอีก เชน ชื่อรอง ชื่อฉายา ชื่อแฝงและชื่อบรรดาศักดิ์ 3. ชื่ออื่นๆนั้น บุคคลอาจตั้งขึ้นเองหรือผูอื่นตั้งให แตชื่อสกุลเปนชื่อที่บุตรไดรับสืบเนื่องมาจาก บิดา หรือภริยาไดรับสืบเนื่องมาจากสามี ถาเด็กไมปรากฏบิดามารดา ไมอาจไดชื่อสกุลจากบิดามารดาได ก็ตองตั้งชื่อสกุลใหใหม 4. บุคคลอาจเปลี่ยนชื่อตัวและชื่อรองไดตามใจสมัคร แตชื่อสกุลนั้น บุคคลหนึ่งบุคคลใดในวงศ สกุลหามีสิทธิจะเปลี่ยนแปลงตามใจชอบไดไม จะเปลี่ยนไดก็แตโดยตั้งชื่อสกุลขึ้นใหม หรือเปลี่ยนแปลง 2.3


9 โดยผลของกฎหมายประการอื่น เปนตนวา หญิงเปลี่ยนไปใชนามสกุลของสามี ฯลฯ กรณีเหลานี้เปนเรื่อง เฉพาะตัวของบุคคลนั้น การเปลี่ยนชื่อสกุลใหมไมมีผลใชชื่อสกุลเดิมตองเปลี่ยนแปลงไปดวย 5. กฎหมายใหความคุมครองทั้งชื่อบุคคลธรรมดาและนิตบ ิ ุคคล ในกรณีที่มีผูโตแยงการใชชื่อ และกรณีผูอื่นใชชื่อโดยไมมีอํานาจ โดยเจาของชื่อมีสิทธิใหระงับความเสียหาย หากไมเปนผล มีสิทธิรอง ขอใหศาลสั่งหาม และยังมีสิทธิเรียกคาเสียหายไดดวย 6. สถานะของบุคคลเปนสิ่งประกอบสภาพบุคคลที่ชี้บงฐานะหรือตําแหนงของบุคคล ในการใช สิทธิและปฏิบัติหนาที่ เชน เปนชายหญิง ผูเยาว ผูบรรลุนิติภาวะ บิดามารดา บุตร หรือสามี ภรรยาเปนตน 7. บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิด เพราะมีสิทธิหนาที่ตั้งแตเริ่มสภาพบุคคลหรืออาจกอใหเกิดขึ้น ภายหลัง เนื่องจากเปลี่ยนแปลงสถานะใหม เชน การสมรส การหยา เปนตน 8. สถานะของบุคคลบางประการตองจดทะเบียนการกอหรือเปลี่ยนแปลงเพื่อใหมีผลสมบูรณ ตามกฎหมาย 9. สถานะของบุคคลที่กฎหมายบังคับใหจดทะเบียนตาม พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2499 ไดแก การเกิด การตาย และตาม ปพพ. คือ การจดทะเบียนครอบครัว ไดแก การสมรส การหยา การ รับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และการเลิกรับบุตลบุญธรรม 2.3.1 ประเภทของชื่อบุคคล

ชื่อบุคคลมีกี่ประเภท แตละประเภทไดแกชื่ออะไรบาง มี 3 ประเภท คือ (1) ชื่อที่กฎหมายบังคับใหมีประจําตัวบุคคล ไดแก ชื่อตัวและชื่อสกุล (2) ชื่อที่บุคคลอาจตั้งขึ้นไดอีก ไดแกชื่อรอง ชื่อฉายา และชื่อแฝง (3) ชื่อบรรดาศักดิ์ ไดแกชื่อตามราช ทินนามที่พระมหากษัตริยตั้งให การไดมาซึ่งชื่อตัวและชื่อสกุลแตกตางกันหรือไม แตกตางกัน คือ ชื่อตัว ไดมาตั้งแตเกิดโดยตั้งขึ้นใหม ชื่อสกุล ไดสืบสกุลตอเนื่องมาจาก บิดา หรือตั้งใหม หรือกรณีไดชื่อสกุลจากสามี จําเปนหรือไมที่เด็กไมปรากฏบิดามารดาจะตองมีชื่อสกุลหากจําเปน วิธีการใดจะ หาชื่อสกุลใหเด็ก มีความจําเปน เพราะกฎหมายบังคับ เมื่อไมมีชื่อสกุลของบิดามารดา ก็ตองตั้งชื่อสกุลขึ้น ้ ใหมใหเด็กนัน ชื่อบุคคลมีลักษณะสําคัญประการใด ชื่อสกุลมีลักษณะสําคัญคือ (1) จําเปนตองมีประจําตัวบุคคล (2) ตองแนนอนคงที่ (3) ไมอาจไดมาหรือสูญเสียไปโดยอายุความ (4) ไมอาจจําหนายใหกันได 2.3.2 การเปลี่ยนชื่อบุคคลและการคุมครองชื่อบุคคล

กรณีที่เปนเหตุแหงการโตแยงชื่อมีประการใดบาง และกฎหมายใหความคุมครอง อยางไร การโตแยงเรื่องชื่อมี 2 กรณี คือ (1) มีผูโตแยงการใชชื่อของเรา (2) ผูอื่นเอาชื่อเราไป ใชโดยไมมีอํานาจ และกฎหมายใหความคุม  ครอง 3 ประการ คือ (ก) ใหระงับความเสียหาย (ข) ขอใหศาล สั่งหาม (ค) เรียกคาเสียหายได 2.3.3 สถานะและการจดทะเบียนสถานะบุคคล

สถานะของบุคคลคืออะไร ไดมาจากไหน และเหตุใดบุคคลตองมีสถานะ สถานะของบุคคลคือ ฐานะหรือตําแหนงซึ่งบุคคลดํารงอยูในประเทศชาติและครอบครัว บุคคลไดสถานะตั้งแตเกิดมีสภาพบุคคล และอาจไดมาโดยการกอขึ้นเองอีก เพราะเปลี่ยนสถานะใหม เหตุ ที่ตองมีสถานะเปนสิ่งที่บอกใหทราบถึงความแตกตางและความสามารถของบุคคล ในการใชสิทธิและ ปฏิบัติหนาที่ ภูมิลําเนา ภูมิลําเนาเปนที่กฎหมายกําหนดใหมีประกอบตัวบุคคล เพื่อชี้บงใหเปนที่รูกันทั่วไปวาเขามีที่ อยูเปนประจําที่ไหน ดังนั้นจึงอาจใหความหมายไดอีกนัยหนึ่งวา ภูมิลําเนาคือที่อยูตามกฎหมายของบุคคล 2.4

1.


10 การรูภูมิลําเนามีประโยชนเมื่อบุคคลตองการติดตอสัมพันธกัน โดยเฉพาะในทางกฎหมายที่ เกี่ยวกับการฟองคดี การสงคําคูความหรือเอกสาร การชําระหนี้หรือสาบสูญ ทั้งยังเปนประโยชนตอรัฐใน การจัดระเบียบการปกครอง และบังคับใหเปนไปตามกฎหมายอีกดวย 3. กฎหมายบัญญัติเปนหลักทั่วไปกําหนดใหที่อยูซึ่งเปนแหลงสําคัญเปนภูมิลําเนาของบุคคล แตหลักทั่วไปนี้ไมอาจครอบคลุมไป กําหนดภูมิลําเนาของบุคคลไดทุกประเภท จึงมีบทบัญญัติขยายความ หลักเกณฑทั่วไป หรือลดหยอนหลักเกณฑทั่วไปลงมา เพื่อคนหาภูมิลําเนาของบุคคลทุกคนใหจนได กลาวคือ บุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนา ถาสําคัญเทากัน แตละแหงเปนภูมิลําเนา ถาไมมีที่อยูแหลงสําคัญเลย ใหถือที่อยูเปนภูมิลําเนา และทายที่สุดถาไมมีที่อยูแนนอนเลย ใหถือวาที่นั้น เปนภูมิลําเนา 4. จากหลักเกณฑที่วาบุคคลมีที่อยูหลายแหง ใหถือแหงสําคัญเปนภูมิลําเนานั้น หมายความวา บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดโดยใจสมัคร เพราะเขาจะเลือกเอาที่อยูใดเปนแหลงสําคัญก็ได สวน หลักเกณฑขอที่วา บุคคลมีที่อยูแหลงสําคัญหลายแหง ใหถือวาแตละแหงเปนภูมิลําเนานั้น มีความหมาย อยูในตัววา บุคคลอาจมีภูมล ิ ําเนาไดหลายแหง 5. แมหลักเกณฑมีวา บุคคลอาจเลือกถือภูมิลําเนาไดตามใจสมัคร แตมีขอยกเวนสําหรับบุคคล บางประเภทที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาใหเลย ไดแก ผูเยาวและคนไรความสามารถ กฎหมายใหถือ ภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ขาราชการใหมีภูมล ิ ําเนาอยู ณ ที่ทํางานประจํา แต ขาราชการอาจถือภูมิลําเนาเดิมอีกแหงก็ได คนที่ถูกจําคุก กฎหมายใหถือเอาเรือนจํา หรือทัณฑสถานที่ ถูกจําคุกอยูเปนภูมิลําเนาจนกวาจะไดรับการปลอยตัว สวนสามีและภรรยา กฎหมายใหถือถิ่นที่อยูของสามี และภรรยาอยูกินดวยกันฉันสามีภริยาเปนภูมิลําเนา 6. นอกจากภูมิลําเนาธรรมดาแลว บุคคลอาจเลือกเอาถิ่นที่ใดที่หนึ่งเปนภูมิลําเนาเฉพาะการเพื่อ ทํากิจการอยางใดอยางหนึ่งอีกก็ได 7. ภูมิลําเนานั้น อาจเปลี่ยนแปลงไปโดย (1) ยายที่อยู และ (2) มีเจตนาจงใจจะเปลี่ยน ภูมิลําเนาเปนหลักเกณฑ 2 ประการประกอบกัน หากพฤติการณเขาหลักเกณฑเพียงขอเดียวไมถือวา ภูมิลําเนาไดเปลี่ยนแปลงไป 2.

2.4.1 ประโยชนของภูมิลําเนา

ภูมิลําเนาของบุคคลมีประโยชนในทางกฎหมายเอกชนอยางไร มีประโยชนคือ (1) การฟองคดี ทําใหทราบเขตอํานาจศาล (2) การสงคําคูความหรือ เอกสาร สง ณ ภูมิลําเนา (3) การชําระหนี้ ชําระ ณ ภูมิลําเนาของเจาหนี้ (4) การสาบสูญ ถือหลักการไป จากภูมิลําเนา 2.4.2 การกําหนดภูมิลําเนา

คําวาบุคคลอาจมีภูมิลําเนาไดหลายแหง นั้น หมายความวาอยางไร ตาม ปพพ. มาตรา 44 คือผูเยาวใชภูมล ิ ําเนาของผูแทนโดยชอบธรรม กรณีบิดามารดา ของผูเยาวแยกกันอยูใหถือภูมิลําเนาของบิดาหรือมารดาตนอยูดวย ปพพ. มาตรา 45 ภูมิลําเนาของคนไร ความสามารถไดแก ภูมิลําเนาของผูอนุบาล ก. มีบุตรภรรยาและบานพักอยูที่กรุงเทพฯ แตมีอาชีพเปนเซลแมน เดินเรขาย สินคาไปในที่ตางๆ ไมมีสํานักทําการงานแนนอน เดือนหนึ่งหรือสองเดือนจึงกลับบานและพักอยู 2-3 วัน ก็ออกเดินทางคาขายตอ ดังนี้ ภูมิลําเนาของ ก. จะอยูที่ใด กรุงเทพฯ 2.4.3 บุคคลที่กฎหมายกําหนดภูมิลําเนาให

ผูเยาวเปนคนไรความสามารถเลือกถือภูมิลําเนาของตนไดตามใจสมัครหรือไม เพราะเหตุใด เลือกภูมิลําเนาเองไมได เพราะผูเยาวและคนไรความสามารถเปนผูหยอนความสามารถ ถูกตัดทอนสิทธิในการทํานิติกรรม หากผูเยาวจะทํานิติกรรม ตองไดรับความยินยอมหรือใหผแ ู ทนโดยชอบ ธรรมทําแทน สวนคนไรความสามารถทํานิติกรรมไมไดเลย หากทําจะเปนโมฆียะ ตองใหผูอนุบาลทําแทน ดวยเหตุนี้ กฎหมายจึงกําหนดใหถือภูมิลําเนาของผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูอนุบาล ทั้งนี้ เพื่อความ สะดวกและเหมาะสมในการควบคุมดูแลและใชอํานาจปกครอง ก. รับราชการประจําอยูในกรุงเทพฯ แตทางราชการสงไปชวยราชการที่จังหวัด เชียงใหมเปนเวลา 1 ป ดังนี้ ถือวา ก. มีภูมิลําเนาที่ไหนเพราสะเหตุใด


11 กรุงเทพฯ เพราะเปนถิ่นที่ทําการตามตําแหนงหนาที่ประจํา ภูมิลําเนา เพราะเปนถิ่นที่ทําการตามตําแหนงชั่วคราวเทานั้น

สวนเชียงใหมไมเปน

2.4.4 การเปลี่ยนภูมิลําเนา

การเปลี่ยนภูมิลําเนาประกอบดวยหลักเกณฑประการใดบาง และจะพิสูจนได อยางไรวา บุคคลมีเจตนาจงใจเปลี่ยนภูมิลําเนา ก. ยายที่อยู ข. เจตนาจงใจจะเปลี่ยนภูมิลําเนา พิสูจนไดโดยดูจากขอเท็จจริงตามพฤติการณที่แสดงออกภายนอก เชน แจงยายตอนาย ทะเบียน ขนยายครอบครัวไปอยูบานใหม ฯลฯ ขอสําคัญคือ ตองไดความตามหลักเกณฑทั้ง 2 ขอ มิใช ขอใดขอหนึ่ง ก. มีชื่อในทะเบียนบานของบิดามารดาที่กรุงเทพฯ แตไปรับจางเปนลูกเรือประมง อยูที่จังหวัดระนองครั้นถึงเกณฑทําบัตรประชาชนก็กลับมาทําที่กรุงเทพฯ ในการออกเรือหาปลา ครั้งหนึ่ง เรือถูกทางการพมาจับและยึดไปในขอหาล้ํานานน้ํา ก. ถูกศาลประเทศพมาตัดสินจําคุก 5 ป ปจจุบัน ก. บรรลุนิติภาวะแลว แตยังคงตองโทษในประเทศพมา ดังนั้น ก. มีภูมิลําเนาอยูที่ใด กรุงเทพฯ 2.4.5 ภูมิลําเนาเฉพาะการ

อธิบายวิธีเลือกภูมิลําเนาเฉพาะการของบุคคลวาทําไดอยางไร ปพพ. มิไดกําหนดแบบวิธีไว การเลือกมีลักษณะเปนขอตกลงหรือสัญญาจึงดูที่เจตนา ของคูกรณี ซึ่งอาจตกลงกันโดยทําเปนลายลักษณอักษร โดยปากเปลา หรือโดยปริยายก็ได แบบประเมินผล หนวยที่ 2 บุคคลธรรมดา บุคคล (พจนานุกรรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542) โดยทั่วไปหมายถึง คนหรือสิ่งที่มีชีวิตซึ่งมิใชสัตวหรือพืช สามารถมีสิทธิและหนาที่ได ในทางกฎหมาย หมายถึงคน (บุคคลธรรมดา) และรวมถึงนิติบุคคล (บุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น) ดวย บุคคลผูไปเสียจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูโดยไมมีใครรูแนวายังมีชีวต ิ อยูหรือไม แบงเปน 2 ประเภทคือ (ก) ผูไมอยู (มาตรา 48) ตราบใดที่ยังไมมีคําสั่งศาลแสดงความสาบสูญ ก็ยังคงเปนเพียงผูไมอยู (ข) คนสาบสูญ (มาตรา 61) ผลของการที่ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ ถือวาผูนั้นตายเมื่อครบกําหนด 5 ป ในกรณี ธรรมดา หรือ 2 ป ในกรณีพิเศษ (มาตรา 62) มิไดถือเอาวันที่ศาลมีคําสั่งหรือวันที่โฆษณาในราชกิจจานุเบกษา เชน คูสมรส ผูมีสวนไดเสียหมายถึงบุคคลผูไดรับประโยชนหรือเสียประโยชนเกี่ยวของกับทรัพยสินของผูไมอยู ทายาท เจาหนี้ หุนสวน เปนตน วิญูชน หมายถึงคนปกติทั่วไป จะประพฤติปฏิบัติเชนไร สิ่งที่ประกอบสภาพบุคคลคือ สิ่งที่ประกอบตัวบุคคลที่กฎหมายกําหนดขึ้นเพื่อการดําเนินชีวิตหรือกิจการในสังคม อัน ประกอบดวย สัญชาติ ชื่อ ภูมิลําเนา สถานะ และความสามารถ

1. บุคคลธรรมดาตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ไดแก บุคคลธรรมดาและนิตบ ิ ุคคล (มาตรา 67 -----ฯลฯ----- นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา----ฯลฯ------- )

2. การเริ่มสภาพบุคคล และสิ้นสภาพบุคคล หมายถึง การคลอดแลวอยูรอดเปนทารก และตาย (มาตรา 15 สภาพบุคคลยอมเริ่มแตคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นลงเมื่อตาย)

3. สภาพบุคคลเริม ่ เมื่อ การคลอดและอยูร  อดเปนทารก 4. ก เกิดระหวางป 2482 แตเปนการพนวิสย ั จะหยั่งรูวน ั เกิดของ ก ได ดังนั้นกฎหมายใหถือวา วันเกิดของ ก คือ 1 เมษายน 2482 (มาตรา 16 การนับอายุของบุคคล ใหเริ่มนับแตวันเกิดในกรณีที่รูวาเกิดในเดือนใดแตไมรูวันเกิด ใหนับวันที่ 1 แหงเดือนนั้นเปนวันเกิด แตถาพนวิสัยที่จะหยั่งรูเดือนและวันเกิดของบุคคลใดใหนับอายุบุคคลนั้นตั้งแตวันเริ่มปปฏิทิน ซึ่งเปนปที่บุคคลนั้นเกิด)

5. กรณี ตอไปนี้ เปนเหตุแหงการสิ้นสภาพบุคคล (ก) ถูกรถยนตชนตาย (ข) ฆาตัวตายเอง (ค) สาบสูญ (ง) ปวยตาย (มาตรา 15 สภาพบุคคลยอมเริ่มแตคลอดแลวอยูรอดเปนทารกและสิ้นลงเมื่อตาย)

6. คนสาบสูญ ไมใชบค ุ คลตามกฎหมาย (เพราะเมื่อศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ ถือวาตายไปแลว) สวน คน วิกลจริต คนเสมือนไรความสามารถ คนลมละลาย คนไรความสามารถ กฎหมายยังถือวามีสภาพบุคคล (สภาพบุคคล สิ้นสุดลงเมื่อตาย Æ คนสาบสูญไดสิ้นสภาพบุคคลแลว) บุคคลที่ศาลสัง่ เปนคนสาบสูญแลว ถือวาสิน ้ สภาพบุคคล เมื่อครบกําหนดระยะเวลา 2 ป ในกรณีพิเศษ (มาตรา 62 บุคคลที่ศาลไดมีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญใหถือวาถึงแกความตายเมื่อครบกําหนดระยะเวลาดังที่ระบุไวในมาตรา 61)

7. บุคคลที่ศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญแลว ถือวาตายเมื่อครบกําหนด 2 ป ในกรณีพิเศษ

(มาตรา 61 ถาบุคคลใดไดไปจากภูมิลําเนาหรือถิ่นที่อยูและไมมีใครรูแนวาบุคคลนั้นยังมีชีวิตอยูหรือไม ตลอดระยะเวลา 5 ป เมื่อผูมี สวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรองขอ ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนสาบสูญก็ได ระนะเวลาตามวรรคหนึ่งใหลดลงเหลือ 2 ป


12 (1) นับแตวันที่การรบหรือสงครามสิ้นสุดลง ถาบุคคลนั้นอยูในการรบหรือสงคราม และหายไปในการรบหรือสงครามดังกลาว (2) นับแตวันที่ยานพาหนะที่บุคคลนั้นเดินทาง อับปาง ถูกทําลาย หรือสูญหายไป (3) นับแตวันที่เหตุอันตรายแกชีวิตนอกจากที่ระบุไวใน (1) และ (2) ไดผานพนไป ถาบุคคลนั้นตกอยูในอันตรายเชนวานั้น

8. บุคคลที่อาจถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญ ในกรณีพิเศษคือ หายไปจากทีอ ่ ยู ไมรว ู าเปนหรือตายครบ 2 ป ระยะเวลา 2 ป ในกรณีพิเศษเริ่มนับเมื่อ (ก) สงครามสงบ (ข) วันที่เรืออับปาง (ค) วันที่ภูเขาไฟหยุดระเบิดแลว (ง) วันที่น้ําเลิกทวมแลว (มาตรา 61 ----ฯลฯ---Æ )

9. ระยะเวลาแหงการเปนคนสาบสูญในกรณีธรรมดาเริ่มนับ เมื่อรองขอตอศาล

(มาตรา 61 --- ฯลฯ ---Æ ตลอดระยะเวลา 5 ป เมื่อผูมีสวนไดเสีย หรือพนักงานอัยการรองขอ ศาลจะสั่งใหบุคคลนั้นเปนคนสาบสูญ

ก็ได ฯลฯ

10. ผูมส ี ิทธิขอรองใหศาลสั่งเปนบุคคลสาบสูญ คือ พนักงานอัยการ (และผูม  ีสว นไดเสีย ไดแก ภริยา บุตร สามี พนักงานอัยการ) (มาตรา 61 )

11. นิติบุคคลมีลักษณะสําคัญดังตอไปนี้คือ เปนบุคคลตามกฎหมาย

(มาตรา 65 นิติบุคคลจะมีขึ้นไดก็แตดวยอาศัยอํานาจแหงประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น มาตรา 66 นิติบุคคลยอมมีสิทธิ และหนาที่ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ หรือกฎหมายอื่น ภายในขอบเขตแหงอํานาจหนาที่หรือวัตถุประสงคดังไดบัญญัติหรือกําหนดไว ในกฎหมาย ขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง มาตรา 67 ภายใตขอบังคบมาตรา 66 นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวน แตสิทธิและหนาที่ซึ่งโดยสภาพจะพึงมีพึงเปนไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดาเทานั้น)

12. นางแดงคลอดบุตรออกมา หายใจเพียง 1 ครัง้ ยังไมไดตัดสายสะดือ นายดํา สามีนางแดงไมพอใจจึงบีบคอ บุตรนั้นตาย นายดํา มีความผิดฐานฆาคนตาย เพราะทารกมีสภาพบุคคลแลว 13. ทารกในครรภมารดา แมไมมส ี ภาพบุคคล ก็สามารถมีสท ิ ธิตา งๆ ได ถาปรากฏวา เกิดมารอดอยูภายใน ระยะเวลา 310 นับจากบิดาตาย พิสูจนไดวา  คนสาบสูญตายตั้งแตวันแรกที่ 14. กรณีตอไปนี้ อาจรองขอถอนคําสั่งแสดงสาบสูญไดคือ หายไปจากทีอ ่ ยู เมื่อศาลพิจารณาไดความวา คนสาบสูญยังมีชีวต ิ อยูหรือตายในเวลาอื่นทีผ ่ ิดไปจากเวลาที่ กฎหมายสันนิษฐานไว ศาลตองถอนคําสั่งแสดงสาบสูญ 15. ก ไดบานมาหลังหนึ่งโดยทางมารดาของ ข ผูส  าบสูญ ตอมา ก ขายบายดังกลาวให ค ในราคา 100,000 บาท โดยสุจริต แลว ก นําเงินนั้นไปซื้อรถยนตมาใชสอย 1 คัน หาก ข ยังมีชีวิตอยู และกลับมา ก จะตองคืน ้ แทนตัวบาน ทรัพยสินแก ข โดย คืนรถยนตที่นําเงินคาบานไปซือ (มาตรา 63 เมื่อบุคคลผูถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นเองหรือผูมีสวนไดเสียหรือพนักงานอัยการรองขอตอศาล และศาลพิสูจนไดวา บุคคลผูถูกศาลสั่งใหเปนคนสาบสูญนั้นยังคงมีชีวิตอยูก็ดี หรือวาตายในเวลาอื่นที่ผิดไปจากเวลาดังระบุไวในมาตรา 62 ก็ดี ใหศาลสั่งถอนคําสั่ง ใหเปนคนสาบสูญนั้น แตการถอนคําสั่งนี้ยอมไมกระทบกระเทือนถึงความสมบูรณแหงการทั้งหลายอันไดทําไปโดยสุจริตในระหวางเวลาตั้งแตศาล มีคําสั่งใหเปนคนสาบสูญจนถึงเวลาถอนคําสั่งนั้น บุคคลผูไดทรัพยสินมาเนื่องแตการที่ศาลสั่งใหบุคคลใดเปนคนสาบสูญ แตตองเสียสิทธิของตนไปเพราะศาลสั่งถอนคําสั่งใหบุคคลนั้น เปนคนสาบสูญ ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดแหงประมวลกฎหมายนี้มาบังคับใชโดยอนุโลม )

หนวยที่ 3 บุคคลธรรมดา : ความสามารถ บุคคลมีสิทธิหนาที่อยางไร ยอมใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่ไดตามสิทธิและหนาที่ของตน สภาพ การณที่บุคคลจะมีสิทธิหรือใชสิทธิปฏิบัติหนาที่ไดแคไหนเพียงไร เรียกวา ความสามารถ ความสามารถมี 2 ลักษณะ คือ 1) ความสามารถในการมีสิทธิ และ 2) ความสามารถในการใชสิทธิ 2. ตามหลักบุคคลมีสิทธิหนาที่เทาเทียมกัน แตบุคคลบางจําพวก กฎหมายตัดทอนความสามารถใน การมีและใชสิทธิไวบางประการ ทําใหมีสภาพเปนผูหยอนความสามารถ ซึ่งกฎหมายเรียกรวมๆกันวาคนไร ความสามารถ (ในความหมายกวางขวาง) คนไรความสามารถนี้มี 3 ประเภท คือ ผูเยาว คนไร ความสามารถ (ในความหมายอยางแคบ) และคนเสมือนไรความสามารถ 3. ผูเยาวเปนคนไรความสามารถเพราะอายุนอย กฎหมายถือวาผูเยาวยังมีความคิด ความรูสติปญญา ความชํานาญ และไหวพริบไมสมบูรณพอที่จะใชสิทธิปฏิบัติหนาที่ไดโดยลําพัง ดังนั้น การทํานิติกรรมตอง ใหผูแทนโดยชอบธรรมทําแทน หรือตองไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน กิจการนั้นๆ จึงมี ผลสมบูรณ หากฝาฝนนิตก ิ รรมเปนโมฆียะ แตมีขอยกเวนสําหรับนิติกรรมบางอยาง ซึ่งเปนคุณประโยชน แกผูเยาวฝายเดียว หรือตองทําเองเฉพาะตัว หรือที่เปนการจําเปนแกการเลี้ยงชีพ ผูเยาวสามารถทําได โดยลําพัง ไมตองรับความยินยอมกอนหรือกรณีผูเยาวไดรับอนุญาตใหประกอบธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจ อื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง ผูเยาวสามารถทํากิจการในขอบเขตแหงการนั้นไดเสมือนเปนผูบรรลุนิติภาวะ แลว 4. คนไรความสามารถ (ในความหมายอยางแคบ) หมายถึง คนวิกลจริตที่ศาลสั่งใหเปนคนไร ความสามารถแลว เปนผูหยอนความสามารถเนื่องจากจิตไมปกติหรือสมองพิการ กฎหมายถือวาเปนคนไม มีความรูสึกผิดชอบ ไมสามารถแสดงเจตนาของตนไดถูกตอง และไมเปนผูอาจทํานิติกรรมใดๆใหมีผล สมบูรณไดเลย ตองมีคนอื่นอีกคนหนึ่งเรียกวา ผูอนุบาล เปนผูแทน หากฝาฝนนิตก ิ รรมจะเปนโมฆียะ 1.


13 คนเสมือนไรความสามารถนั้น เปนผูหยอนความสามารถ เนื่องจากมีเหตุบกพรองเพราะรางกาย พิการหรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบหรือมีความประพฤติสุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดในทํานองเดียวกัน จนถึงขนาดไมสามารถจัดการงานของตนเองได หรือจัดกิจการไป ในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเองหรือครอบครัว กฎหมายจึงกําหนดใหอยูในความดูแล ชวยเหลือของบุคคลอื่นซึ่งเรียกวาผูพิทักษ คนเสมือนไรความสามารถนั้น โดยหลักใชสิทธิและปฏิบัติ หนาที่ไดอยางเชนบุคคลธรรมดาทั่วไป เวนแตการทํานิติกรรมที่สําคัญบางชนิด ซึ่งอาจกอใหเกิดความ เสียหายอยางรายแรงตอคนเสมือนไรความสามารถเองและผูมีสวนไดเสียเทานั้น ที่ตองไดรับความยินยอม จากผูพิทักษกอน จึงมีผลสมบูรณ หากฝาฝนนิติกรรมจะเปนโมฆียะ 5.

3.1 ผูเยาว 1. ระยะเวลาแหงการเปนผูเยาวนั้น เริ่มตั้งแตเกิดและสิ้นสุดลงเมื่อบรรลุนิติภาวะ ซึ่งมี 2 กรณีคือ

ก) อายุครบ 20 ป บริบูรณ และ ข) สมรสตามกฎหมาย 2. กฎหมายบัญญัติเปนหลักทั่วไปไววา ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ จําตองไดรับความยินยอมจาก ผูแทนโดยชอบธรรมกอน มิฉะนั้นกิจกรรมที่กระทําไปเปนโมฆียะ หลักนี้ใชบังคับกับผูเยาวระยะที่มี ความรูสึกผิดชอบแลวเทานั้น เพราะผูเยาวระยะที่ยังไมมีความรูสึกผิดชอบไมอาจทํานิติกรรมไดดวยตนเอง อยูแลว 3. ผูแทนโดยชอบธรรมนั้น หมายถึง ก) ผูใชอํานาจปกครองซึ่งไดแก บอดามารดา และ ข) ผูปกครองซึ่งไดแกบุคคลอื่นที่ถูกแตงตั้งขึ้นเพื่อปกครองผูเยาว 4. อํานาจปกครองของผูใชอํานาจปกครองและผูปกครองนั้น หมายความรวมทั้งสวนที่เกี่ยวกับ ตัวผูเยาวและในสวนที่เกี่ยวกับการจัดการทรัพยสินของผูเยาวดวย 5. ผูใชอํานาจปกครองและผูปกครองมีอํานาจจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของผูเยาวไดทุก อยางตามลําพัง ดวยความระมัดระวังเชนวิญูชนพึงกระทํา เวนแตกิจการที่ถูกระบุหาม หรือกิจการ บางอยางซึ่งเปนหนี้ที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว หรือกิจการที่ตองขออนุญาตศาล 6. ขอยกเวนหลักทั่วไปในการทํานิติกรรมของผูเยาวมีอยู 3 ประการ คือ ก) นิติกรรมที่เปน คุณประโยชนแกผูเยาวฝายเดียว ข) นิติกรรมที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว และ ค) นิติกรรมที่จําเปนเพื่อ การเลี้ยงชีพของผูเยาว กรณีเหลานี้ผูเยาวสามารถทําไปได โดยไมตองรับความยินยอม 7. เรื่องของผูเยาวประกอบธุรกิจทางการคา หรือธุรกิจอื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง มีลักษณะ คลายกับเปนขอเวนหลักทั่วไป แตจะไมตรงกันที่เดียว เพราะมิใชวาผูเยาวจะทําการคาไปไดเลย คงตอง ขออนุญาตกอนเชนเดียวกัน ตอเมื่อไดรับอนุญาตแลวจึงสามารถทํากิจการตางๆ ได ภายในขอบเขตแหง กิจการนั้น เสมือนดั่งวาเปนผูบรรลุนิติภาวะแลว ดังนั้น จึงกลาวไดวาความยินยอมใหผูเยาวประกอบธุรกิจ ทางการคาหรือธุรกิจอื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง มีลักษณะเปนความยินยอมทั่วไป ซึ่งเปนขอยกเวน แตกตางจากความยินยอมเฉพาะการที่ใชไดเฉพาะเรื่องที่อนุญาตเปนเรื่องๆไป 3.1.1 ระยะเวลาแหงการเปนผูเยาว (ก) บุคคลธรรมดาสามารถมีสิทธิและใชสิทธิปฏิบัติหนาที่ไดโดยเสมอภาคกันหรือไม เพราะเหตุใด ไมเสมอไป เพราะบุคคลอาจถูกจํากัดการมีสท ิ ธิบางประการ เปนตนวา ถูกจํากัดโดยเกณฑอายุ เชน ผูเยาวไมอาจสมรสไดกอ  นอายุครบ 17 ปบริบร ู ณ..... สวนการใชสิทธินั้น ผูเยาว คนไรความสามารถ และคนเสมือนไรความสามารถ ผูถก ู ตัดทอนการใชสิทธิ ดวยเหตุที่เปนผูออ  นอายุ จิตไมปกติ สุขภาพไม ิ ธิไปขณะมีขอ  บกพรองดังกลาว จะเปนผลเสียแก สมบูรณหรือมีความประพฤติเสื่อมเสีย เพราะหากใชสท ประโยชนของตนเองและผูมส ี วนไดเสีย กฎหมายจึงเขาคุมครอง โดยตัดทอนการใชสิทธิเสีย

(ข) ระยะเวลาแหงการเปนผูเยาว บุคคล”

เริ่มและสิ้นสุดลงเมื่อใด

เหตุใดจึงไมใช

“ความรูสึกผิดชอบของ

เริ่มตั้งแตเกิดและสิ้นสุดเมื่อบรรลุนิติภาวะ ซึ่งมี 2 กรณี คือ (1) อายุครบ 20 ปบริบูรณ และ (2) สมรสเหตุที่ไมใชความรูสก ึ ผิดชอบของบุคคล เปนหลักเกณฑพิจารณาความสิน ้ สุดการเปนผูเยาว เพราะ ความรูค  วามคิด ความชํานาญและไหวพริบของบุคคลแตละคนไมเหมือนกัน ถาใชความรูสก ึ ผิดชอบเปน เกณฑตด ั สินแลวระยะเวลาสิ้นสุดการเปนผูเยาวยอมแตกตางกันเปนรายบุคคล ทําใหเกิดปญหายุง  ยาก มาก ความรูส  ึกผิดชอบเปนเพียงหลักเกณฑการพิจารณาวา ผูเยาวอาจทํานิตก ิ รรมไดโดยตนเองหรือไม เทานั้น

(ค) เหตุผลในการกําหนดใหบุคคลบรรลุนิติภาวะโดยอายุและโดยการสมรส แตกตางกันหรือไม แตกตางกันคือ ทีถ ่ ือหลักเกณฑอายุนั้น เพราะเห็นวาผูมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ มีความรู ความ ชํานาญ ไหวพริบ และความรูสึกผิดชอบสมบูรณพอทีจ ่ ะใชสิทธิไดตามลําพังแลว สวนทีก ่ ําหนดใหบรรลุนต ิ ิ ภาวะโดยการสมรสนั้น เพราะการสมรสกอใหเกิดสิทธิหนาที่แกคส ู มรสมากมาย หากไมสามารถทํา


14 กิจการโดยลําพังเองได จะมีปญหายุงยากและไมสะดวก บางกรณีอา ํ นาจปกครองของบิดามารดาคูสมรส อาจกาวกายหรือขัดกับสิทธิหนาที่ของคูสมรส

(ง) การบรรลุนิติภาวะโดยการสมรส มีหลักเกณฑประการใดบาง หากการสมรสผิดเงื่อนไขเพราะไมได รับความยินยอมจากบิดามารดาหรือผูปกครอง ผูเยาวจะบรรลุนิติภาวะหรือไม หลักเกณฑมี 3 ประการคือ 1. ไดมีการจดทะเบียนตอเจาหนาที่ 2. ชายและหญิงตองมีอายุครบ 17 ปบริบูรณแลว 3. อายุไมครบ 17 ปบริบูรณตอ  งขออนุญาตศาลทําการสมรส แมผิดเงือ ่ นไขดังกลาวก็บรรลุ นิติภาวะ เพราะมาตรา 20 กําหนดเงื่อนไขเรื่องอายุเพียงประการเดียว แตการสมรสอาจถูกเพิกถอนได 3.1.2

หลักทั่วไปในการทํานิติกรรมของผูเยาว

(ก) หลักทั่วไปที่วา ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอนนั้น ใชกับผูเยาวในระยะไหน เพราะเหตุใด 1)

ระยะมีความรูส  ึกผิดชอบแลว เพราะผูเยาวระยะทีย ่ ังไมมีความรูส  ึกผิดชอบทํานิติกรรมไมมผ ี ล เพราะขาดเจตนา ตองใหผูแทนโดยชอบธรรมทํานิตก ิ รรมแทนเสมอ สวนผูเยาวระยะมีความรูสึกผิดชอบ แลวทํานิติกรรมไดดว  ยตนเอง แตกฎหมายถือวายังออนความคิด ความชํานาญและความรูสึกผิดชอบ อัน นากลัววาจะเสียเปรียบผูใหญ จึงใหผูแทนโดยชอบธรรมเขาดูแล ชวยเหลือดวยการใหรับรูและยินยอม เสียกอน

กิจการใดบางที่กอใหเกิดผลในทางกฎหมาย ยินยอมในกิจการประเภทใด 2)

และกฎหมายบัญญัติใหผูเยาวตองไดรับความ

นิติกรรมและนิติเหตุ และผูเ ยาวตองรับความยินยอมเฉพาะกิจการประเภทนิตก ิ รรมเทานั้น

(ข) 1) ผูแทนโดยชอบธรรมคือใครบาง ผูแทนโดยชอบธรรม คือ ก) ผูใชอา ํ นาจปกครอง ไดแก บิดามารดา ข) ผูปกครอง ไดแก บุคคล อื่นนอกจากบิดามารดาซึ่งถูกตั้งขึ้นเพื่อปกครองผูเยาว 2) ที่วาที่วาบิดามารดาเปนผูใชอํานาจปกครองรวมกันนั้น เปนความจริงเสมอไปหรือไม ไมเปนความจริงเสมอไป มีขอยกเวนที่อา ํ นาจปกครองจะอยูก  บ ั บิดาหรือมารดาฝายเดียวในกรณีที่ ปรากฏตาม ปพพ. มาตรา 1566 วรรคสอง (1) ถึง (5) 3) เหตุตั้งผูปกครองมีประการใดบาง และจะตั้งอยางไร เหตุตง ั้ ผูป  กครองมี 3 ประการ ตาม ปพพ.มาตรา 1585 และอีกกรณีหนึง ่ คือ กรณีที่มข ี อจํากัด อํานาจมิใหใชอํานาจปกครองจัดการทรัพยสินของผูเยาว ตองตั้งผูป  กครองขึ้นใหมเฉพาะการนั้น การตั้งผูปกครองมีได 2 ทาง ตามมาตรา 1586 คือ 1. ตั้งโดยบุคคลซึ่งบิดาหรือมารดาที่ตามทีหลังไดระบุชอ ื่ ไวในพินัยกรรมใหเปนผูป  กครองเปน ผูรองขอตอศาล 2. ตั้งโดยญาติผเู ยาวหรืออัยการเปนผูรอ  งขอตอศาล (ค)

1) หลักทั่วไปที่กําหนดอํานาจของผูใชอํานาจปกครองและผูปกครอง ทรัพยสินของผูเยาวมีวาอยางไร

ในสวนที่เกี่ยวกับการจัดการ

ผูใชอํานาจปกครองและผูป  กครอง มีอา ํ นาจจัดการทรัพยสินเพือ ่ ประโยชนของผูเยาวไดทก ุ อยาง โดยจัดการไดตามลําพัง แตตองจัดการดวยความระมัดระวังเชนวิญูชนพึงกระทํา

2) คํากลาวที่วา “ผูใชอํานาจปกครองและผูปกครองมีอํานาจจัดการทรัพยสินเพื่อประโยชนของ ผูเยาวไดทุกอยาง” นั้น เปนความจริงเสมอไปหรือไม ไมเสมอไป เพราะคํากลาวดังกลาวเปนหลักทัว ่ ไป แตมีขอ  จํากัดอํานาจเปนขอยกเวนไว คือ ก) บางกรณีหา  มจัดการเลย ตาม ปพพ. มาตรา 1577, 1615 และ 1616 ข) บางกรณีตอ  งไดรับความยินยอมจากผูเ ยาวกอน ตาม ปพพ. มาตรา 1572 ค) บางกรณีตอ  งขออนุญาตศาลกอน ตาม ปพพ.มาตรา 1574, 1575


15

(ง)

1) หลักเกณฑของกฎหมายที่เขาควบคุมการจัดการทรัพยสินของผูใชอํานาจปกครองและผูปกครอง แตกตางกันหรือไม เพราะเหตุใด แตกตางกัน คือ กฎหมายกําหนดหนาทีอ ่ ันเปนบทบังคับและควบคุมผูปกครองเขมงวดกวดขันกวา ผูใชอํานาจปกครอง เพราะผูปกครองเปนบุคคลภายนอก ถาผูป  กครองไมดี อาจคิดคดโกงผูเยาวหรือใช อํานาจปกครองในทางมิชอบกอใหเกิดความเสียหายได สวนผูใชอํานาจปกครองนั้นเปนบิดามารดาจึงเชื่อ วาคงใชอา ํ นาจปกครองโดยชอบ ไมคด ิ คดโกงบุตร เปนตนวา เมื่อเริ่มเขารับหนาทีผ ่ ูปกครองตองทําบัญชี ทรัพยสินสงศาล กอนทําบัญชีหา  มทํากิจการใดๆ และหากมีหนี้เปนโทษตอผูเยาวแลวไมแจงตอศาล หนี้จะ สูญไป สวนผูใ ชอํานาจปกครองแมตอ  งทําบัญชีทรัพยสินเชนกันแตไมมีบทบังคับพิเศษ เชน ผูปกครอง ระหวางใชอํานาจปกครอง เรื่องเงินไดของผูเยาวนั้น ผูปกครองไมมีสิทธินา ํ ไปใชสวนตัว แตผูใช อํานาจปกครองอาจนําไปใชไดตามสมควร

2) มีบทบัญญัติของกฎหมายที่ใหความคุมครองผูเยาวเมื่อพนอํานาจปกครองแลว หรือไม อะไรบาง เพราะเหตุใดจึงบัญญัติเชนนั้น เมื่อสิ้นอํานาจปกครอง มีบทบัญญัติทว ั่ ไปบังคับไวทั้งผูใชอํานาจปกครองและผูป  กครอง ตองรีบ สงมอบทรัพยสินที่จัดการและทําบัญชีและมีบทบัญญัตเิ พิ่มเติมเขมงวดกับผูป  กครองโดยเฉพาะใชสงมอบ บัญชีและเอกสารภายใน 6 เดือน หรือตองเสียดอกเบี้ย ถาผูปกครองนําเงินของผูเยาวไปใชแลวยังไม สงคืน เปนตน (จ)

1) วิธีใหความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม มีแบบกําหนดไวหรือไม จะตองใหความยินยอมโดย วิธีใดและจะตองใหเมื่อใด ไมมีแบบกําหนดไวโดยเฉพาะ จึงปฏิบัตต ิ ามหลักทั่วไป โดยทําเปนลายลักษณอก ั ษร หรือโดยปาก เปาหรือปริยายก็ได และตองใหความยินยอมกอนหรือขณะผูเยาวทา ํ นิติกรรม

2) ลักษณะของความยินยอมมีกี่ชนิด อะไรบาง ลักษณะของความยินยอมมี 2 ชนิดคือ ก) ความยินยอมเฉพาะการ อนุญาตเพื่อทํานิติกรรมใด ใชไดเฉพาะสําหรับนิติกรรมทีร ่ ะบุ อนุญาตเทานัน ้ ความยินยอมเฉพาะการนี้เปนหลักทัว ่ ไป ข) ความยินยอมทั่วไป เปนขอยกเวนมีไดเรื่องเดียว คือ กรณีอนุญาตใหผูเยาวประกอบธุรกิจ ทางการคาหรือธุรกิจอื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง

3) เมื่อผูแทนโดยชอบธรรมอนุญาตใหผูเยาวจําหนายทรัพยสินอยางหนึ่งอยางใดแลวผูเยาวมีอํานาจ ทํานิติกรรมไดเพียงใด พิจารณาคําระบุอนุญาตกอนวาจํากัดวงเขตไวใหทา ํ เพือ ่ การใดหรือไม กลาวคือ ก) ถาระบุวา  เพื่อการใด แตมิไดกา ํ หนดเงื่อนไขหรือหลักเกณฑไว จําหนายทรัพยสินไดภายใน ขอบเขตของการทีร ่ ะบุ ข) ถาไมไดระบุวา  เพือ ่ การใด จําหนายทรัพยสินไดตามใจสมัคร (ฉ)

ที่วา “นิติกรรมเปนโมฆียะ” นั้น ทานเขาใจวาอยางไร นิติกรรมที่เปนโมฆียะนั้นหมายความวา นิติกรรมที่ไดกอขึ้นนั้นมีผลเปนนิติกรรมตามกฎหมาย ไม เสียศูนยเปลาไปเลยทีเดียว แตอาจถูกบอกลางโดยตัวผูเยาวเอง ผูแทนโดยชอบธรรมหรือทายาทของ ผูเยาวก็ได ดวยการแสดงเจตนาตอคูก  รณีอก ี ฝายหนึ่งซึง ่ เปนผลใหนิตก ิ รรมนั้นเปนโมฆะมาแตเริม ่ แรก ิ ธิบอกลาง ในทางตรงขาม ถาประสงคจะใหนต ิ ิกรรมนั้นสมบูรณ ก็ทา ํ ไดโดยใหสัตยาบัน โดยบุคคลผูมีสท ดังกลาวขางตนเมื่อใหสัตยาบันแลว นิตก ิ รรมนั้นจะมีผลสมบูรณมาแตเริ่มแรก มีขอสังเกตคือ โมฆียะกรรม นั้น ถาไมถูกบอกลางก็ยง ั คงมีผลเปนนิติกรรมที่ดต ี ลอดไป การใหสัตยาบันทําใหนิตก ิ รรมนั้นสมบูรณ คือ บอกลางไมไดเทานั้น 3.1.3 ขอยกเวนในการทํานิติกรรมของผูเยาว


16 หลักที่วา “ผูเยาวจะทํานิติกรรมใดๆตองไดรับคํายินยอมของผูแทนโดยชอบธรรมกอน” ความจริงเสมอไปหรือไม 1.

นั้นเปน

ไมเปนความจริงเสมอไป ตามหลักแลวผูเยาวจะทํานิตก ิ รรมใดๆ ตองไดรับความยินยอมของผูแทน โดยชอบธรรมกอน ถาผูเยาวทํานิติกรรมโดยไมไดรบ ั ความยินยอมแลว นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะ ซึ่งผูแทน โดยชอบธรรมอาจบอกลางเสียได แตมีขอยกเวนวา นิตก ิ รรมตอไปนี้ ผูเยาวทา ํ ไดเองโดยลําพังไมตองไดรับความยินยอมจากผูแทน โดยชอบธรรม คือ ิ ธิอยางใดอยางหนึ่ง เชน รับการใหโดยเสนหา (ก) นิติกรรมที่ทา ํ ใหผูเยาวไดสท นิติกรรมที่ทา ํ ใหผูเยาวไดสท ิ ธิอยางใดอยางหนึ่ง เชน รับการใหโดยเสนหา นิติกรรมที่ทา ํ ใหผูเยาวหลุดพนหนาทีอ ่ ันใดอันหนึง ่ เชน ปลดหนี้ใหผูเยาว ู ณ (ข) นิติกรรมที่ผูเยาวตองทําเองเฉพาะตัว เชน ทําพินัยกรรมเมื่ออายุครบ 15 ปบริบร (ค) นิติกรรมที่จําเปนเพื่อการดํารงชีพของผูเยาว (ง) ผูเยาวประกอบธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจอื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง ผูเยาวไดรับอนุญาต ใหประกอบกิจการดังกลาวแลว ทํานิตก ิ รรมเกี่ยวกับกิจการนั้นไดทง ั้ สิ้น ไมตองไดรับคํายินยอมจากผูแทน โดยชอบธรรมอีก

ก. ทําสัญญายกที่ดินแปลงหนึ่ง พรองสิ่งปลูกสรางใหแก ข. อายุ 14 ป ที่สํานักงานที่ดิน ข. ลง ชื่อในสัญญารับที่ดินและสิ่งปลูกสรางดังกลาว โดยปดบังมิให ค. ผูแทนโดยชอบธรรมรู เมื่อ ค. ทราบเรื่อง เดือนหนึ่งตอมา จะบอกลางสัญญาไดหรือไม เพราะอะไร ค บอกลางนิติกรรมยกใหโดยเสนหารายนี้ไมได เพราะนิตก ิ รรมรายนี้ทําให ข ผูเยาวไดมาซึง ่ กรรมสิทธิ์ในที่ดินเปนประโยชนแกผูเยาวฝายเดียว เขาขอยกเวนตาม ปพพ. มาตรา 22 ซึ่ง ข อาจทํานิติ 2.

กรรมไดตามลําพังไมตองรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม

3.1.4 ผูเยาวประกอบธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจอื่นและทําสัญญาเปนลูกจาง

ผลของความยินยอมใหผูเยาวประกอบธุรกิจการคาหรือธุรกิจอื่น แตกตางจากผลของความยินยอมในการทํานิติกรรมอยางอื่นหรือไม 1.

และทําสัญญาเปนลูกจาง

แตกตางกันคือในการทํานิติกรรมอยางอืน ่ เมื่อไดรบ ั อนุญาตจากผูแทนโดยชอบธรรมใหทา ํ นิติ กรรมเรือ ่ งใดแลว ความยินยอมนั้นใชเฉพาะเรือ ่ งที่ระบุอนุญาตเทานั้น หากประสงคจะทํานิตก ิ รรมเรือ ่ งอืน ่ อีก ตองไดรบ ั ความยินยอมเปนเรื่องๆ ทุกครั้งไป สวนกรณีผูเยาวไดรับความยินยอมใหทา ํ ธุรกิจทางการคาหรือธุรกิจอืน ่ ๆและทําสัญญาเปนลูกจาง แลว ผูเยาวขออนุญาตเพียงครัง ้ เดียว เมื่อไดรบ ั คํายินยอมแลว ผูเ ยาวมฐ ี านะเสมือนดังผูบรรลุนิติภาวะใน กิจการที่ไดรบ ั อนุญาตนั้น สามารถทํานิติกรรมตางๆ ในขอบเขตที่เกี่ยวพันกับกิจการดังกลาวไดอยาง สมบูรณ โดยมิตองรับความยินยอมอีกทีละเรื่องเปนครัง ้ ๆ ไป

ก. ผูเยาว ประสงคจะเปดรานขายเครื่องกีฬา แต ข. ผูแทนโดยชอบธรรมไมอนุญาต ก. จึงรองขอ ตอศาล ศาลอนุญาตแลว ก. จึงเชาหองแถวเปดรานขายเครื่องกีฬาอยูที่ทาพระจันทร ปรากฏวา ก. ใชจาย ฟุมเฟอย ซื้อสินคาราคาแพงจากตางประเทศมาวางขาย แตไมมีคนซื้อ รานคาขาดทุน ข. ตองการให ก. เลิกคาขาย แต ก. ไมยอมอางวาสามารถทําไดตามลําพัง ดังนี้ ข. มีทางแกไขกรณี ก. ไมสามารถทํา การคาขายนี้ไดอยางไร 2.

เปนกรณีผูเยาวไดรับอนุญาตจากศาลไปประกอบธุรกิจการคาแลวไมสามารถจัดการการคาขาย ได ทางแกไขก็โดยใหศาลเปนผูสั่งถอนคืนคําอนุญาต โดย ข เปนผูร  องขอใหศาลสั่งได 3.2 คนไรความสามารถ

1. บุคคลวิกลจริตนั้นนอกจากหมายถึงบุคคลที่มีจิตไมปกติ หรือสมองพิการไมมค ี วามรูสึกผิด ชอบอยางที่เรียกกันวา คนบา แลวยังหมายรวมถึงบุคคลที่มีกิริยาอาการผิดปกติธรรมดาเพราะสติวิปลาส เนื่องจากเจ็บปวยถึงขนาดไมมีความรูสึกผิดชอบและไมสามารถประกอบกิจการใดๆ ไดดวย 2. ผูมีสิทธิรองขอใหศาลมีคําสั่งใหบุคคลเปนคนไรความสามารถไดแก คูสมรส ผูบุพการีคือบิดา มารดา ปูยา ตายาย ทวด ผูสืบสันดาน คือ ลูกหลาน เหลน ลื้อ ผูปกครอง หรือผูพิทักษ หรือพนักงาน อัยการ 3. ผลของการเปนคนไรความสามารถนั้น ทําใหคนวิกลจริต ตกไปอยูภายใตความดูแลของ บุคคลอื่นซึ่งเรียกวา “ผูอนุบาล” และไมอาจทํานิติกรรมใดๆโดยตนเองไดเลย หากทําไปนิติกรรมเปน โมฆียะหมด หากจําเปนตองทํานิติกรรมใดๆ ผูอนุบาลตองเปนผูทําแทน ดังนั้นจึงไมมีเรืองการใหความ ยินยอมหรือขอยกเวนการทํานิติกรรม


17 4. การเปนคนไรความสามารถ เริ่มตั้งแตวันที่ศาลมีคําสั่ง ไมมีผลยอนหลังไปถึงวันที่เริ่มอาการ วิกลจริต และสิ้นสุดลงเมื่อศาลเพิกถอนคําสั่งเปนคนไรความสามารถ ในเมื่อเหตุอันทําใหไรความสามารถ สิ้นสุดลง 5. หลักเกณฑการคุมครองคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ คือคน วิกลจริตนั้นโดยหลัก ทํานิติกรรมมีผลสมบูรณ เวนแตจะพิสูจนไดวา 1) ทํานิติกรรมในขณะมีจริตวิกล และ 2) คูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูอยูแลววาผูทําวิกลจริต นิติกรรมจึงมีผลเปนโมฆียะ 3.2.1 หลักเกณฑการเปนคนไรความสามารถ

1. กฎหมายมีขอบเขตคุมครองคนวิกลจริตเพียงใด เพราะเหตุใด คุมครองคนวิกลจริตทัง ้ ทีถ ่ ก ู ศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถแลว และยังไมไดสั่งใหเปนคน ไรความสามารถ เพราะถือวาคนวิกลจริตไมมีความรูสึกผิดชอบ และไมสามารถแสดงเจตนาไดโดยถูกตอง

2. ก อายุ 74 ป เปนอัมพาต มือเทาขางขวาและรางการแถบซีกดานขวาเคลื่อนไหวไมได เคลื่อนไหวรางกายไดเฉพาะแถบดานซาย แตคลานไประยะใกลๆได สามารถลุกขึ้นนั่งได แตลุกขึ้นยืน ไมได ตอบคําถามไดบาง มีความเขาใจคําถามดี แตไมสามารถพูดประโยคยาวๆได ดังนี้ ข บุตรของ ก ซึ่ง รูวาทานเปนนักศึกษา มสธ สาขานิติศาสตร จึงมาปรึกษาเพื่อดําเนินการรองขอให ก เปนคนไร ความสามารถ ใหทานใหคําแนะนําที่ถูกตองแก ข วาจะรองขอให ก เปนคนไรความสามารถไดหรือไม เพราะเหตุใด นี้ คือ

บุคคลซึ่งศาลจะสั่งใหเปนคนไรความสามารถนั้น จะตองมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใดใน 2 ประการ

ก) เปนคนวิกลจริต คือ มีจิตผิดปกติหรือสมองพิการอยางที่เรียกกันวาคนบา ควบคุมสติตนเอง ไมไดและไมมีความรูสก ึ ผิดชอบเยี่ยงบุคคลธรรมดาและอาการวิกลจริตนี้ตอ  งเปนอยางมาก และตอง เปนอยูเปนประจํา หรือ ึ ผิดชอบเนื่องจาก ข) เปนคนมีกร ิ ิยาผิดปกติเพราะสติวิปลาส คือ ขาดความรําลึก ขาดความรูสก เจ็บปวยจนไมสามารถประกอบกิจการงานของตนเองหรือประกอบกิจการสวนตัวไดทีเดียว ตามอุทาหรณ ก. ไมเปนบุคคลวิกลจริตและอาการเจ็บปวยของ ก. ยังไมเขาลักษณะผูมก ี ร ิ ย ิ า ผิดปกติเพราะสติวป ิ ลาสตามขอ 2 เพราะยังมีความรูสก ึ ผิดชอบและสามารถประกอบกิจการงานของ ตนเองได จึงรองขอให ก. เปนคนไรความสามารถไมได

3. ก เริ่มมีอาการวิกลจริตตั้งแตเดือนมกราคม 2520 ครั้นวันที่ 15 มีนาคม 2523 ข ภริยาของ ก จึงยื่นคํารองขอให ก เปนคนไรความสามารถ ศาลมีคําสั่งเมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2523 และประกาศโฆษนา ในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2523 ดังนี้ถือวา ก เปนคนไรความสามารถตั้งแตเมื่อใด วันที่ 10 มิถุนายน 2523 3.2.2 ผูมีสิทธิรองขอใหศาลมีคําสั่งใหบุคคลเปนคนไรความสามารถ

พี่ นอง ลุง ปา นา อา หลาน (ลูกของพี่นอง) ของคนวิกลจริตมีสิทธิรองขอใหศาลสั่งคนวิกลจริต เปนคนไรความสามารถหรือไม เพราะเหตุใด โดยหลัก พี่ นอง ลุง ปา นา อา และ หลาน (ลูกของพี-่ นอง) ไมมีสท ิ ธิรองของใหคนวิกลจริตเปน คนไรความสามารถ เพราะไมใชบุคคลทีร ่ ะบุไวในมาตรา 28 แตถาบุคคลดังกลาว เปนผูพท ิ ักษตามความ จริง กลาวคือเปนผูด  ูแลพิทก ั ษและคุมครองชวยเหลือเลี้ยงดูคนวิกลจริตอยูตามความเปนจริง เปนการ พิทก ั ษตามพฤตินัย ก็มีสท ิ ธิรอ  งขอได 3.2.3 ผลตามกฎหมายของการเปนคนไรความสามารถ 1. ผลตามกฎหมายของการที่ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ มีประการใดบาง อธิบายถา ก ลูกเศรษฐีซึ่งเปนคนไรความสามารถ ไดเชารถยนตสปอรตรุนใหมมาขับขี่เลนหนึ่งคันมีกําหนดหนึ่งเดือน เสียคาเชาเดือนละ 3,000 บาท โดยผูอนุบาลไดใหความยินยอมกอนตกลงทําสัญญาเชาแลว สัญญาเชาที่ ไดทําขึ้นนี้ชอบดวยกฎหมายหรือไม เพราะเหตุใด ผลของการถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถคือ ก) ตองเปนผูอ  นุบาลคอยดูแล ข) ไมสามารถ ทํานิตก ิ รรมใดๆ ไดเลย ไมวาขณะใด หากทําลง นิตก ิ รรมเปนโมฆียะ ถาทําพินัยกรรมๆ เปนโมฆะ ตามอุทาหรณ แมจะไดรบ ั คํายินยอมของผูอนุบาลใหเชารถได สัญญาเชาก็เปนโมฆียะ เพราะคน ไรความสามารถไมอาจทํานิติกรรมใดๆ ไดเลย ไมมีขอ  ยกเวน การทํานิติกรรมและการใหความยินยอม

2. หลักเกณฑการตั้งผูอนุบาลมีวาอยางไร เพราะเหตุใดกฎหมายจึงวางหลักเกณฑเชนนั้น ในเบื้องตน พิจารณากอนวา อนุบาลเปน 2 ประการดังนี้ คือ

คนไรความสามารถสมรสแลวหรือยัง

และแยกพิจารณาการตัง ้ ผู


18 ก) ยังไมสมรส ไมวาคนไรความสามารถจะบรรลุนิติภาวะแลวหรือไมกต ็ าม ตั้งบิดามารดา รวมกันเปนผูอ  นุบาล ถามีแตบิดาหรือมารดา ใหบิดาหรือมารดาเปนผูอนุบาล กรณีทม ี่ ีขอ  ยกเวนอยูวา  ถามี เหตุผลพิเศษ ศาลจะไมตั้งบิดาหรือมารดา แตงตัง ้ ผูอื่นเปนผูอนุบาลก็ได  นุบาล โดยมีขอยกเวนวา ถามีเหตุสา ํ คัญทีส ่ ามีหรือ ข) สมรสแลว ตัง ้ สามีหรือภรรยาเปนผูอ ภรรยาไมสมควรเปนผูอนุบาลและมีผูรอ  งขอ ศาลจะตั้งบุคคลอื่นเปนผูอนุบาลก็ได เหตุที่วางหลักเกณฑไวดง ั กลาว เพราะกฎหมายใหเปนดุลพินิจของศาลที่จะพิจารณาตั้งผู อนุบาลโดยเพงเล็งถึงประโยชนแกคนไรความสามารถเปนขอใหญและความสนิทสนมของคนไร ความสามารถเปนขอพิเคราะห

3. จงอธิบายอํานาจหนาที่ของผูอนุบาล ความอนุบาลมีลักษณะคลายคลึงกับความปกครองผูเยาวโดยกฎหมายบัญญัติใหนําบทบัญญัติวา  ดวยอํานาจหนาที่ของผูใชอํานาจปกครอง และผูป  กครองมาใชโดยอนุโลม พึงสังเกตในเบือ ้ งตนวา คนไร ความสามารถไมอาจทํานิตก ิ รรมใดๆ ไดโดยตนเองเลย ดังนั้น จึงไมนําเรื่องความยินยอมและขอยกเวนการ ั การทรัพยสิน ทํานิตก ิ รรมของผูเยาวมาใชบังคับ คงมีแตเรื่องทําแทนเทานั้น สวนผูอนุบาลจะมีอํานาจที่จด แทนไดแคไหนเพียงใด ขึ้นอยูกบ ั วา ใครเปนผูอนุบาล กลาวคือ ก) กรณีบด ิ ามารดา เปนผูอ  นุบาลบุตรซึง ่ ยังไมบรรลุนต ิ ิภาวะ ผูอ  นุบาลมีอํานาจหนาที่ เชนเดียวกับผูใ ชอํานาจปกครอง ่ ิใชบิดา ข) กรณีบด ิ ามารดา เปนผูอ  นุบาลบุตรที่บรรลุนิติภาวะแลวหรือกรณี บุคคลอื่นทีม มารดาหรือคูส  มรสเปนผูอนุบาล ผูอ  นุบาลมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับผูปกครอง ค) กรณีสามีหรือภริยาเปนผูอนุบาล ผูอนุบาลมีอํานาจหนาที่เชนเดียวกับผูใชอา ํ นาจ ปกครองแตมข ี อจํากัดอํานาจเพิ่มเติมบางประการในเรือ ่ งการจัดการทรัพยสินที่เปนสินสวนตัวและสินสมรส ตามตาม ปพพ.มาตรา 1598/16 3.2.4 การสิ้นสุดเปนคนไรความสามารถ ก เปนคนไรความสามารถและอยูในความอนุบาลของ ข ภริยา ตอมา ก หายจากอาการวิกลจริต และกับมาประกอบอาชีพคาขายตามเดิม แลว ก ซื้อรถยนตคันหนึ่งใสชื่อบุคคลอื่นเปนเจาของ ข ไมพอใจ และประสงคจะบอกลางนิติกรรมซื้อขายรถยนตรายนี้ จงอธิบายวา ข สามารถทําไดหรือไม

บอกลางได เพราะนิติกรรมซื้อขายรถยนตเปนโมฆียะ ทัง ้ นี้เนื่องจากสภาพการเปนคนไร ความสามารถของ ก ยังไมสิ้นสุดลง เพราะการเปนคนไรความสามารถจะสิ้นสุดลงเมื่อ (1) อาการวิกลจริตหายเปนปกติ (2) มีคําสั่งศาลใหเพิกถอนคําสัง ่ เดิมที่ใหเปนคนไรความสามารถตามอุทาหรณ แม ก ไมมีอาการ วิกลจริตแลวแตยังไมไดรอ  งขอตอศาลใหสั่งเพิกถอนคําสั่งเดิมที่ใหเปนคนไรความสามารถ ฉะนั้นสภาพ การเปนคนไรความสามารถจึงยังคงมีอยู และจะยังมีอยูต  ลอดไปจนกวาศาลจะมีคา ํ สั่งเพิกถอนคําสั่งเดิม 3.2.5 คนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ การทํานิติกรรมของคนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถ มีผลแตกตาง จากผล การทํานิติกรรมของคนไรความสามารถหรือไม แตกตางกัน คือ ถาคนวิกลจริตที่ศาลยังไมสั่งใหเปนคนไรความสามารถทํานิตก ิ รรม กิจการนัน ้ มี

ผลสมบูรณไมเปนโมฆียะ นอกจากพิสูจนไดวา 1) นิตก ิ รรมไดทําลงในขณะวิกลจริต และ 2) คูกรณีอีก ่ ฝายหนึ่ง ไดรูอยูแลววาผูท  า ํ เปนคนวิกลจริตหากพิสูจนไดวา 2 ประการดังกลาว นิติกรรมจึงเปนโมฆียะ ซึง แตกตางจากคนไรความสามารถ กลาวคือ นิตก ิ รรมทีท ่ ี่คนไรความสามารถไดทําลงไป ไมวาขณะมีจต ิ วิกลจริต หรือขณะมีจิตปกติก็ตาม นิติกรรมนั้นเปนโมฆียะเสมอ และคูกรณีอีกฝายไมอาจอางไดวา  ไมรู เพราะการเปนคนไรความสามารถไดประกาศในราชกิจจานุเบกษา และถือวาประชาชนทั่วไปไดรแ ู ลว 3.3 ความเสมือนไรความสามารถ

1. บุคคลซึ่งมีเหตุบกพรอง เพราะรางกายพิการ หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือมีความ ประพฤติสุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นใดทํานองเดียวกันนั้น ถึงขนาดไม สามารถจัดทําการงานโดยตนเองได หรือจัดกิจการไปในทางที่อาจจะเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเอง หรือครอบครัว เมื่อมีผูรองขอ ศาลอาจสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ และใหอยูในความพิทักษของ บุคคลอื่น ซึ่งเรียกวา “ผูพิทก ั ษ” 2. คนเสมือนไรความสามารถยอมใชสิทธิและปฏิบัติหนาที่อยางบุคคลธรรมดาทั่วไป ยกเวน การ ทํานิติกรรมบางประเภทที่กฎหมายระบุไวใน ปพพ.มาตรา 34 ที่ตองไดรับความยินยอมของผูพิทักษกอน การที่ทํานั้นจึงมีผลสมบูรณ แตถาฝาฝนทํานิติกรรมไปโดยปราศจากความยินยอม การที่ทําขึ้นนั้นจะเปน โมฆียะ นอกจากนิติกรรมตามตามมาตรา 34 แลว ถามีพฤติการณ อันสมควรศาลจะสั่งใหการทํานิติกรรม อยางอื่นตองไดรับความยินยอมของผูพิทักษกอนก็ได อยางไรก็ตาม ถาเหตุแหงการเปนคนเสมือนไร ความสามารถนั้นมีเหตุมาจากการพิการ หรือจิตไมสมประกอบ ไมมีสภาพที่จะจัดการงานของตนเองไดเลย ศาลจะสั่งใหผูพิทักษเปนผูมีอํานาจกระทําการแทนก็ได


19 3. การเปนคนเสมือนไรความสามารถสิ้นสุดลงดวยเหตุ 3 ประการ คือ 1) คนเสมือนไร ความสามารถตาย 2) ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ และ 3) เหตุบกพรองหมดไป และศาลสั่งเพิก ถอนคําสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถแลว 3.3.1 บุคคลที่อาจถูกศาลสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ 1. บุคคลประเภทใดบาง ที่อาจถูกสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ บุคคล ทีม ่ ีเหตุ 2 ประการ ดังตอไปนี้ประกอบกัน คือ ก) มีเหตุบกพรอง ข) เพราเหตุบกพรองทํา

ใหไมสามารถประกอบกิจการงานไดโดยตนเอง เหตุบกพรอง มี 5 ประการ คือ ก) กายพิการ ข) จิตฟน  เฟอนไมสมประกอบ ค) ประพฤติสุรุยสุราย เสเพล เปนอาจิณ ง) ติดสุรายาเมา จ) เหตุอื่นๆ ทํานองเดียวกันกับ ขอ ก-ง

2. ก มีพี่ชายคนหนึ่งคือ ข และมีบุตรบุญธรรมจดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมตามกฎหมายแลวอีก หนึ่งคนคือ ค ก ประสบอุบัติเหตุทําใหสมองพิการ มีอาการบาๆ บอๆ ไมสามารถจัดการงานของตนเองได ข จึงใหการดูแลรักษาพยาบาลตลอดมา สวน ค แตงงานแลวแยกไปอยูกับภรรยา ใหอธิบายวา ใครเปนผูมี สิทธิรองขอให ก เปนคนเสมือนไรความสามารถและใหอยูในความพิทักษใดบาง แยกออกเปนสองกรณีคอ ื (1) ข เปนพี่ชายของ ก จึงไมเปนผูทร ี่ ะบุไวในมาตรา 28 ใหมีสิทธิรอ  งขอให ก เปนคนเสมือนไร ความสามารถ แต ข เปนผูดูแลและรักษาพยาบาล ก ตลอดมาจึงเปนผูพท ิ ก ั ษตามความเปนจริงและรอง ขอให ก เปนคนเสมือนไรความสามารถและใหอยูในความพิทก ั ษได ในฐานะผูพ  ท ิ ักษตามพฤตินัย (2) ค เปนบุตรบุญธรรม ที่จดทะเบียนรับบุตรบุญธรรมถูกตองตามกฎหมายแลว จึงมีฐานะอยาง เดียวกับบุตรชอบดวยกฎหมายของ ก และเปนผูสืบสันดานของ ก ตามที่ระบุไวในมาตรา 28 มีสิทธิรอง ขอให ก เปนคนเสมือนไรความสามารถ และใหอยูในความพิทก ั ษไดเชนเดียวกัน 3.3.2 ผลของการเปนคนเสมือนไรความสามารถ

1. อธิบายผลของการที่ถูกศาลสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถ ตองจัดใหอยูในความพิทักษ

2. ผูพิทักษ ตางกับผูอนุบาลหรือไม อธิบายหนาที่ของผูพิทักษ ผูพท ิ ักษ ไมสามารถทํานิตก ิ รรมบางชนิด คนเสมือนไรความสามารถนั้น นอกจากกรณีทก ี่ ฎหมาย ระบุไวโดยเฉพาะแลว ถือวามีความสามารถใชสิทธิไดอยางบุคคลธรรมดาทั่วไป เฉพาะกิจการที่ระบุไวใน ปพพ. มาตรา 34 หรือกิจการที่ศาลอาจสั่งเปนพิเศษเทานั้นที่คนเสมือนไรความสามารถถูกจํากัด ความสามารถ การจํากัดความสามารถนี้ก็เพียงแตวา  ตองไดรับความยินยอมของผูพ  ิทก ั ษกอ  น ซึ่งหากฝา ฝนกิจการนั้นเปนโมฆียะ ผูพท ิ ักษไมมอ ี ํานาจหนาทีจ ่ ัดการทรัพยสิน หรือทํากิจการแทนคนเสมือนไรความสามารถ และไมมี ฐานะเปนผูแทนโดยชอบธรรมของคนเสมือนไรความสามารถ ผูพ  ท ิ ักษเปนเพียงผูชวยเหลือควบคุมดูแล และใหความยินยอมในเมื่อคนไรความสามารถจะทํากิจการที่สา ํ คัญตาม ปพพ. มาตรา 34 เทานัน ้ ผูพิทก ั ษ  ําเนินงานโดยตนเอง ยกเวนเขากรณีตามมาตรา 34 มิใชผูเริ่มทํางาน แตคนเสมือนไรความสามารถเปนผูด วรรคสาม ผูพ  ท ิ ักษจะมีหนาที่เชนเดียวกับผูอนุบาล

3. คนเสมือนไรความสามารถรับการยกใหโดยเสนหา ไมมีเงื่อนไขหรือการติดพันโดยไดรับความ ยินยอมจากผูพิทักษ การรับการยกใหโดยเสนหานี้ สมบูรณเพียงใด หรือไม เพราะเหตุใด ตามหลักคนไรความสามารถทํานิตก ิ รรมไดอยางบุคคลธรรมดาทัว ่ ไปเฉพาะแตกิจการตาม ปพพ. มาตรา 34 และกิจการพิเศษที่ศาลสั่งหามเทานั้นที่ตอ  งไดรับความยินยอมจากผูพ  ท ิ ักษกอน นิตก ิ รรมจึงมี ผลสมบูรณ การรับการยกใหโดยเสนหาไมมีเงื่อนไขหรือภาระติดพันไมขัดตอมาตรา 34 (7) ซึ่งหาม เฉพาะรับการใหโดยเสนหาที่มีเงือ ่ นไขหรือคาภาระติดพัน และตาม มาตรา 35 (6) หามเฉพาะการใหโดย ่ อ  งไดรับความยินยอมของผูพ  ิทก ั ษ และไมปรากฏวาศาลไดมีคา ํ สั่งหามการรับการยกใหโดย เสนหา ทีต เสนหาวาตองไดรับความยินยอมจากผูพ  ท ิ ักษกอน ดังนั้น การรับการยกใหโดยเสนหาจึงมีผลสมบูรณ 3.3.3 ความสิ้นสุดแหงการเปนคนเสมือนไรความสามารถ ก เปนคนเสมือนไรความสามารถเพราะจิตฟนเฟอน โดยมี ข เปนผูพิทักษ ตอมา ก หายจากโรค จิตฟนเฟอนและกลับมีความรูสึกผิดชอบดังเดิมแลวสามารถทําการงานไดเปนปกติ แต ข ถึงแกความตาย ดังนี้ การเปนคนเสมือนไรความสามารถสิ้นสุดหรือไม เพราะเหตุใด เดิม

(1) ฐานะการเปนคนเสมือนไรความสามารถยังไมสิ้นสุดลง

เพราะศาลยังไมไดสง ั่ เพิกถอนคําสั่ง

(2) ผูพ  ิทก ั ษตายไมเปนเหตุสิ้นสุดแหงการเปนคนเสมือนไรความสามารถ


20 แบบประเมินผล หนวยที่ 3 ความสามารถ คนไรความสามารถ คือบุคคลวิกลจริตที่ศาลมีคําสั่งใหเปนคนไรความสามารถตองอยูในความอนุบาล (มาตรา 28 ) การใดๆ อันคนไรความสามารถทํา การนั้นเปนโมฆียะ (มาตรา 29) ซึ่งอาจบอกลางหรือใหสัตยาบันได กฎหมายกําหนดให ภูมิลําเนาของคนไรความสามารถไดแกภูมิลําเนาของผูอนุบาล (มาตรา 45) ผูอนุบาล คือบุคคลที่ศาลแตงตั้งใหเปนผูดูแลอนุบาลคนไรความสามารถ รวมทั้งการจัดการดูแลทรัพยสินตลอดจนทํา หนาที่ตางๆ แทนคนไรความสามารถในกรณีที่คนไรความสามารถมีคูสมรส คูสมรสยอมเปนผูอนุบาล (มาตรา 1463) ถาไมมีคู สมรสไมวาจะเปนผูเยาวหรือไมบิดามารดายอมเปนผูอนุบาล แตศาลอาจจะตั้งบุคคลอื่นเปนผูอนุบาลก็ได บุคคลวิกลจริต มิไดเปนเฉพาะบุคคลผูมีจิตผิดปกติ เปนคนบาเทานั้น แตหมายถึงบุคคลที่มีอาการกิริยาผิดปกติเพราะ สติวิปลาสคือขาดความลําลึก ขาดความรูสึก และขาดความรูสึกผิดชอบดวย เชน ผูที่ปวยเปนโรคเนื้องอกในสมอง ตองนอนอยู บนเตียงตลอดเวลา มีอาการพูดไมได ไมไดยิน ตาทั้งสองขางมองไมเห็น มีอาการอยางคนไมมีสติสัมปชัญญะใดๆ ถือเปนคน วิกลจริต คนเสมือนไรความสามารถ คือบุคคลที่ไมถึงกับเปนคนวิกลจริต แตเปนบุคคลที่ไมสามารถจะจัดทําการงานของ ตนเองได เพราะกายพิการ จิตฟนเฟอนไมสมประกอบ หรือประพฤติสุรุยสุรายเสเพลเปนอาจิณ หรือติดสุรายาเมา หรือมีเหตุอื่นๆ ในทํานองเดียวกันและศาลไดมีคําสั่งใหเปนคนไรความสามารถแลว ซึ่งจะตองอยูในความพิทักษ (มาตรา 32) ผูพิทักษ คือบุคคลที่ศาลแตงตั้งขึ้นใหเปนผูคอยดูแลชวยเหลือ โดยใหความยินยอมแกคนเสมือนไรความสามารถใน การทํากิจการบางอยางที่กฎหมายเห็นวาสําคัญ ความเปนคนเสมือนไรความสามารถสิ้นสุดลงเมื่อ (ก) คนเสมือนไรความสามารถตาย (ข) คนเสมือนไรความสามารถนั้นกลับกลายเปนคนวิกลจริตและถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ (ค) เหตุที่ศาลไดสั่งใหเปนคนเสมือนไรความสามารถไดสิ้นสุดลงแลว และศาลไดสั่งเพิกถอนคําสั่งที่ใหเปนคน เสมือนไรความสามารถนั้นแลว

1. ผูเยาวบรรลุนิตภ ิ าวะ เมื่อ อายุครบ 20 ปบริบูรณ

(มาตรา 19 บุคคลยอมพนจากภาวะผูเยาวและบรรลุนิติภาวะเมื่อมีอายุยี่สิบปบริบูรณ มาตรา 20 ผูเยาวยอมบรรลุนิติภาวะเมื่อทํา การสมรสหากการสมรสนั้นไดทําตามบทบัญญัติมาตรา 1448 )

2. ผูเยาวอายุ 14 ป ทําพินัยกรรมจะมีผลทําใหตกเปนโมฆะ (มาตรา 25 ผูเยาวอาจทําพินัยกรรมไดเมื่ออายุ 15 ปบริบูรณ )

3. ก ผูเยาว ขายทีด ่ ินโดยมีบิดามารดาลงชื่อเปนพยานในสัญญาซื้อขายจะมีผลคือ ทําไมไดตองขออนุญาต ศาลกอน 4. ผูวก ิ ลจริต ที่อาจถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ

(มาตรา 28 บุคคลวิกลจริตผูใด ถาคูสมรสก็ดี ผูบุพการีกลาวคือ บิดามารดา ปูยา ตายาย ทวดก็ดี ผูสืบสันดานกลาวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผูปกครองหรือผูพิทักษก็ดี ผูซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยูก็ดี พนักงานอัยการก็ดี รองขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคน ไรความสามารถ ศาลจะสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคนไรความสามารถก็ได บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความอนุบาล การแตงตั้งผูอนุบาล อํานาจหนาที่ ของผูอนุบาล และการสิ้นสุดของความเปนผูอนุบาล ใหเปนไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แหงประมวลกฎหมายนี้ )

5. คนไรความสามารถ กฎหมายบัญญัติใหตองอยูในความอนุบาล

(ตาม มาตรา 28 วรรคสอง บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถตามวรรคหนึ่งตองจัดใหอยูในความอนุบาล การแตงตั้งผู อนุบาล อํานาจหนาที่ของผูอนุบาล และการสิ้นสุดของความเปนผูอนุบาล ใหเปนไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แหงประมวลกฎหมายนี้)

6. คนวิกลจริตที่ศาลยังไมไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถทํานิติกรรม มีผลสมบูรณ แตอาจเปนโมฆียะ ถา ทําในขณะมีอาการวิกลจริต และคูก  รณีอก ี ฝายรูว  าผูทา ํ เปนคนวิกลจริต

(มาตรา 30 การใด อันบุคคลวิกลจริตซึ่งศาลยังมิไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถไดกระทําลง การนั้นจะเปนโมฆียะตอเมื่อไดกระทําใน ขณะที่บุคคลนั้นจริตวิกลอยู และคูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูแลวดวยวาผูกระทําเปนคนวิกลจริต )

7. นิติกรรมทีผ ่ ูเยาวสามารถทําไดโดยไมตองรับคํายินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรมกอน คือรับการใหโดย เสนหา

(มาตรา 34 คนเสมือนไรความสามารถนั้น ตองไดรับความยินยอมของผูพิทักษกอนแลวจึงจะทําการอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ (1) นําทรัพยสินไปลงทุน (2) รับคืนทรัพยสินที่ไปลงทุน ตนเงินหรือทุนอยางอื่น (3) กูยืมหรือใหกูยืมเงิน ยืมหรือใหยืมสังหาริมทรัพยอันมีคา (4) รับประกันโดยประการใดๆอันมีผลใหตนตองถูกบังคับชําระหนี้ (5) เชาหรือเชาสังหาริมทรัพยมีกําหนดเกินกวาระยะเวลา 6 เดือน หรืออสังหาริมทรัพยมีกําหนดระยะเวลาเกินกวา 3 ป (6) ใหโดยเสนหา เวนแตการใหที่พอควรกาฐานานุรูป เพื่อการกุศล การสังคม หรือตามหนาที่ธรรมจรรยา (7) รับการใหโดยเสนหาที่มีเงื่อนไข หรือคาภาระติดพัน หรือไมรับการใหโดยเสนหา (8) ทําการอยางหนึ่งอยางใดเพื่อจะไดมาหรือปลอยไปซึ่งสิทธิในอสังหาริมทรัพยหรือในสังหาริมทรัพยอันมีคา (9) กอสรางหรือดัดแปลงโรงเรือนหรือสิ่งปลูกสรางอยางอื่น หรือซอมแซมอยางใหญ (10) เสนอคดีตอศาลหรือหรือดําเนินกระบวนพิจารณาใดๆ เวนแตการรองขอตามมาตรา 35 หรือการรองขอถอนผูพิทักษ (11) ประนีประนอมยอมความหรือมอบขอพิพาทใหอนุญาโตตุลาการวินิจฉัย ถามีกรณีอื่นใดนอกเหนือจากที่กลาวในวรรคหนึ่ง ซึ่งคนเสมือนไรความสามารถอาจจัดการไปในทางเสื่อมเสียแกทรัพยสินของตนเอง หรือครอบครัว ในการสั่งใหบุคคลใดเปนคนเสมือนไรความสามารถ หรือเมื่อผูพิทักษรองขอในภายหลัง ศาลมีอํานาจสั่งใหคนเสมือนไร ความสามารถนั้นตองไดรับความยินยอมของผูพิทักษกอนจึงจะทําการนั้นได ในกรณีที่คนเสมือนไรความสามารถไมสามารถจะทําการอยางหนึ่งอยางใดที่กลาวมาในวรรคหนึ่ง หรือวรรคสองไดดวยตนเองเพราะ เหตุมีกายพิการหรือมีจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ ศาลจะสั่งใหผูพิทักษเปนผูมีอํานาจกระทําการแทนคนเสมือนไรความสามารถก็ได ในการเชนนี้ ใหนําบทบัญญัติที่เกี่ยวกับผูอนุบาลมาใชบังคับแกผูพิทักษโดยอนุโลม คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา การใดกระทําลงโดยฝาฝนบทบัญญัติมาตรานี้ การนั้นเปนโมฆียะ

8. บุคคลผูมส ี ิทธิรอ  งขอใหศาลสัง่ ใหบุคคลใดๆตกเปนเสมือนคนไรความสามารถ คือ พนักงานอัยการ


21 (มาตรา 28 บุคคลวิกลจริตผูใด ถาคูสมรสก็ดี ผูบุพการีกลาวคือ บิดามารดา ปูยา ตายาย ทวดก็ดี ผูสืบสันดานกลาวคือ ลูก หลาน เหลน ลื่อก็ดี ผูปกครองหรือผูพิทักษก็ดี ผูซึ่งปกครองดูแลบุคคลนั้นอยูก็ดี พนักงานอัยการก็ดี รองขอตอศาลใหสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคน ไรความสามารถ ศาลจะสั่งใหบุคคลวิกลจริตผูนั้นเปนคนไรความสามารถก็ได บุคคลซึ่งศาลไดสั่งใหเปนคนไรความสามารถตามวรรคหนึ่ง ตองจัดใหอยูในความอนุบาล การแตงตั้งผูอนุบาล อํานาจหนาที่ ของผูอนุบาล และการสิ้นสุดของความเปนผูอนุบาล ใหเปนไปตามบทบัญญัติบรรพ 5 แหงประมวลกฎหมายนี้ )

9. กิจการทีค ่ นเสมือนไรความสามารถทําไดเองโดยไมตองไดรบ ั ความยินยอมจากผูพท ิ ักษคอ ื รองขอถอนผู พิทก ั ษ (มาตรา 34 (10) )

10. เหตุสิ้นสุดแหงการเปนคนเสมือนไรความสามารถ คือ ถูกศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถ

(มาตรา 36 ถาเหตุที่ศาลไดสั่งใหเปน คนเสมือนไรความสามารถ ไดสิ้นสุดไปแลว ใหนําบทบัญญัติมาตรา 31 มาใชบังคับโดย

อนุโลม มาตรา 31 ถาเหตุที่ทําใหเปนคนไรความสามารถไดสิ้นสุดลงไปแลว และเมื่อบุคคลนั้นเองหรือบุคคลใดๆ ดังกลาวมาในมาตรา 28 รอง ขอตอศาลก็ใหศาลสั่งเพิกถอนคําสั่งที่ใหเปนคนไรความสามารถนั้น คําสั่งของศาลตามมาตรานี้ใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา )

หนวยที่ 4 นิติบุคคล 1. นิติบุคคลคือบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้นใหมีสิทธิและหนาที่ดังเชนบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและ หนาที่บางประการที่ถูกจํากัดโดยกฎหมาย โดยวัตถุประสงคของนิติบุคคลนั่นเอง หรือโดยสภาพที่จะมีและ เปนไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดาเทานั้น 2. นิติบุคคลจะมีขึ้นไดก็โดยอาศัยอํานาจของกฎหมายบัญญัติรับรองใหเปนเชนนั้น 3. นิติบุคคลตองมีผูแทนคนหนึ่งหรือหลายคน ทั้งนี้ตามที่กฎหมาย ขอบังคับหรือตราสารจัดตั้งจะได กําหนดไว ความประสงคของนิติบุคคลยอมแสดงออกโดยผูแทนของนิติบุคคล 4. การสิ้นสุดของนิติบุคคลมี 2 กรณี คือ การเลิกนิติบุคคล และนิติบุคคลรางไป 4.1 หลักเกณฑเบื้องตนของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลเกิดขึ้นมาเพื่อรองรับพัฒนาการทางดานสังคมและธุรกิจซึ่งเจริญกาวหนา นิติบุคคลนั้นมี ความสําคัญเพราะ สามารถมีสิทธิหนาที่ที่จะกอผลผูกพันในกฎหมายรวมถึงการดําเนินคดีและสามารถมี กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน 2. เปนบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น มีสิทธิและหนาที่ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ หรือ กฎหมายอื่น ภายในขอบเขตแหงอํานาจหนาที่ หรือวัตถุประสงคดังไดบัญญัติ หรือกําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ หรือตราสารจัดตั้ง 3. นิติบุคคลนั้นสามารถรับผิดไดทั้งในคดีแพง และคดีอาญา 4.1.1 ความเปนมาและความสําคัญของนิติบุคคล ความสําคัญของนิติบุคคลมีอยางไรบาง (1) ความสําคัญตอบุคคลภายนอก ซึง ่ ตองมีผูแทนของนิตบ ิ ุคคลเปนผูแสดงเจตนาแทนนิติบุคคล ในการทํางานตางๆ ตอบุคคลภายนอก (2) ความสําคัญในการดําเนินคดี เนื่องจากผูท  ี่จะฟองหรือถูกฟองคดีได จะตองเปนบุคคล ธรรมดาหรือนิติบุคคลเทานั้น (3) ความสําคัญในการมีสิทธิในทรัพยสินซึ่งนิติบุคคลสามารถมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสน ิ ไดเชน เดียว กับบุคคลธรรมดา

4.1.2 ลักษณะและสภาพของนิติบุคคล นิติบุคคลเกิดขึ้นไดอยางไร และมีสิทธิและหนาที่เหมือนบุคคลธรรมดาหรือไม นิติบุคคลเปนคณะบุคคลทีร ่ วมตัวกันสมมติขึ้น โดยอาศัยอํานาจกฎหมายรับรองใหมีสภาพบุคคล โดยอาศัยผูแทนในการดําเนินกิจการ ซึง ่ ยอมมีสท ิ ธิ หนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนแต สิทธิ หนาที่ โดยสภาพ ซึ่งพึงมีไดแตเฉพาะบุคคลธรรมดาเทานั้น

4.1.3 ความรับผิดชอบของนิติบุคคลทางคดี นิติบุคคลจะมีความรับผิดชอบทางคดีไดหรือไมอยางไร ความรับผิดชอบในทางคดีของนิติบุคคลมิไดทั้งในคดีแพง อันไดแก การที่นิติบค ุ คลทําละเมิด แม จะผานขั้นตอนจากการกระทําของผูแทนก็ตาม และความรับผิดในทางคดีอาญา หากความรับผิดชอบนั้น ผูแทนของนิตบ ิ ุคคลไดกระทําไปในการดําเนินงานตามวัตถุประสงคของนิติบุคคล

4.2

การประกอบขึ้นเปนนิติบุคคล


22 1. นิติบุคคลจะมีขึ้นไดก็แตดวยอาศัยอํานาจแหงประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น 2. ภูมิลําเนาของนิติบุคคล ไดแก ที่ตั้งสํานักงานใหญ ในกรณีที่มีที่ทําการหลายแหง หรือ สํานักงานสาขาใหถือวาที่ตั้งของที่ทําการหรือสํานักงานสาขาเปนภูมิลําเนาในสวนกิจการนั้นดวย 3. สัญชาติของนิติบุคคลนั้นใหถือวามีสัญชาติตามกฎหมายที่กอตั้งนิติบุคคลนั้น

มี

4.2.1 การกอตั้งนิติบุคคล นิติบุคคลตั้งขึ้นไดอยางไร และตั้งขึ้นไดโดยวิธีใดบาง นิติบุคคลจะกอตั้งขึ้นได โดยอาศัยอํานาจแหงกฎหมาย คือ (1) โดยอาศัยอํานาจ ปพพ. (2) โดย อาศัยอํานาจตามกฎหมายอื่น ซึ่งเปนกฎหมายเฉพาะ วิธก ี ารตั้งนิตบ ิ ุคคลมี 2 วิธี คือ - ตั้งโดยกฎหมาย คือ กฎหมายไดบญ ั ญัตก ิ อตั้งกิจการหรือองคกรขึน ้ เมื่อไดมก ี ารประกอบตัง ้ ขึน ้ ตามวิธก ี ารของกฎหมาย และกฎหมายนั้นจะบัญญัติโดยตรงเลยวา ใหกิจการหรือองคกรนั้นเปนนิติบุคคล - ตั้งโดยวิธก ี ารของกฎหมาย เปนการกระทําโดยอาศัยอํานาจของกฎหมาย แตตองปฏิบต ั ิตาม ขั้นตอนและในที่สุดจะมีการจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ เมื่อจดทะเบียนถูกตอง จึงเปนนิตบ ิ ุคคล

4.2.2 ภูมิลําเนานิติบุคคล ที่ใดเปนภูมิลําเนาของนิติบุคคล และนิติบุคคลหนึ่งสามารถมีภูมิลําเนาหลายแหงไดหรือไม ภูมิลําเนาของนิติบุคคล ไดแกที่ตั้งสํานักงานใหญ หรือถิ่นที่เลือกเอาเปนภูมิลา ํ เนาเฉพาะการใด การหนึง ่ ตามขอบังคับหรือตราสารจัดตัง ้ นอกจากสํานักงานสาขา ซึ่งอาจมีอยูใ นขอบังคับ หรือตราสาร จัดตั้ง หรือไมมีอยูในขอบังคับ หรือตราสารจัดตัง ้ ก็เปนภูมิลําเนาของนิตบ ิ ุคคลในสวนของกิจการที่ได ่ ั้งทีท ่ า ํ การหรือสํานักงานสาขา ดังนั้น นิติบค ุ คลหนึ่งจึงอาจมี กระทํานั้น หากไดความวาถิ่นนั้นเปนทีต ภูมิลําเนาไดหลายแหง

4.2.3 สัญชาติของนิติบุคคล นิติบุคคลมีสัญชาติไดหรือไม และถือสัญชาติตามกฎหมายใด นิติบุคคลมีสัญชาติไดตามกฎหมายที่กอ  ตั้งนิติบค ุ คลนัน ้ นิติบุคคลทีต ่ ั้งขึ้นตามกฎหมายไทยจะได สัญชาติไทย สวนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายตางประเทศมีฐานะเปนนิติบุคคลตางดาว

4.3 การดําเนินงานของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่ตามบทบัญญัติแหงกฎหมาย หรือภายในขอบเขตอํานาจหนาที่ หรือวัตถุประสงคที่กําหนด หรือตราสารจัดตั้ง ทั้งยังมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนแต สิทธิและหนาที่ซึ่งสภาพจะพึงมีพึงเปนไดเฉพาะแตบุคคลธรรมดาเทานั้น 2. ผูแทนของนิติบุคคลจะมีคนหนึ่งหรือหลายคนก็ได ทั้งนี้เปนไปตามกฎหมาย ขอบังคับหรือตราสาร จัดตั้งจะกําหนดไว ผูแทนของนิติบุคคลเปนผูจัดการนิติบุคคลใหเปนไปตามวัตถุประสงคของนิติบุคคล 3. นิติบุคคลตองรับผิดชอบชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายตอบุคคลอื่น ถาความเสียหาย นั้นเกิดจากการกระทําตามหนาที่ของผูแทนของนิติบุคคล แตถาผูแทนกระทํากิจการนอกขอบวัตถุประสงค หรือเกินอํานาจ นิติบุคคลไมตองรับผิด แตผูแทนนิติบุคคลตองรับผิดเปนสวนตัว 4.3.1 สิทธิและหนาที่ของนิติบุคคล นิติบุคคลมีสิทธิและหนาที่เพียงใด นิติบุคคลมีสิทธิและหนาที่ ตามกฎหมาย ไมวาตาม ปพพ หรือ กฎหมายอื่นซึ่งบัญญัติเรือ ่ งนั้นๆ ไวโดยเฉพาะ และนอกจากมีสิทธิและหนาที่ตามกฎหมายดังกลาว ในการดําเนินงานจะตองอยูใ นขอบแหง อํานาจหนาทีห ่ รือวัตถุประสงคตามที่กา ํ หนดไวในกฎหมาย ขอบังคับ หรือตราสารจัดตั้งดวย จะดําเนินงาน นอกวัตถุประสงคไมได นิติบุคคลมีสิทธิและหนาที่ เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา กลาวคือ หากโดยสภาพของสิทธิและ หนาที่นั้นบุคคลสามารถทําได ก็คือวา นิตบ ิ ุคคลทําได แตสิทธิและหนาที่บางอยางที่โดยสภาพจํากัดเฉพาะ บุคคลเทานั้นที่มห ี รือทําได นิติบุคคลก็ไมอาจทําหรือดําเนินการได

4.3.2 ผูแทนของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลจําเปนตองมีผูแทนของนิติบุคคลหรือไม เทาใด และใครคือผูแทนของนิติบุคคล

และหารกจําเปนตองมี

ตองมีจํานวน

นิติบุคคลตองมีผูแทนเปนผูแ  สดงเจตนาของนิตบ ิ ุคคลเสมอ สําหรับจํานวนของผูแทนของนิติ บุคคลนั้นจะมีคนเดียวหรือหลายคนขึ้นอยูกับกฎหมาย ขอบังคับ หรือตราสารจัดตัง ้ จะกําหนดไว สําหรับนิติ บุคคลที่ตง ั้ ขึ้นตามกฎหมายอื่นๆ ก็ตองดูวา ตามกฎหมายนั้น ใครเปนผูแสดงความประสงคของนิติบุคคล ได ผูนั้นก็เปนผูแทนของนิติบุคคลทีต ่ ั้งขึน ้ โดยวิธก ี ารของกฎหมาย ตองพิจารณาขอบังคับ หรือตราสาร จัดตั้งวากําหนดใหใครเปนผูแทนนิติบค ุ คล


23

2. หากผูแทนของนิติบุคคล กระทําการนอกขอบวัตถุประสงคของนิติบุคคลและจะมีผลผูกพัน นิติบุคคลหรือไม เพียงใด และใครจะตองรับผิดชอบตอความเสียหายที่เกิดขึ้น โดยหลักแลว ผูแทนนิติบค ุ คลตองดําเนินงานในขอบวัตถุประสงคของนิตบ ิ ุคคล กิจการนั้นจึงจะ ผูกพันนิติบุคคล ดังนั้นหากผูแทนไมทําในขอบวัตถุประสงคของนิติบุคคล หากเกิดความเสียหายขึน ้ ผูแทนนั้นตองรับผิดชอบชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูไดรับความเสียหายโดยสวนตัว และผูแทนคนอื่นๆที่ ใหความเห็นชอบในการกระทํานั้นก็ตองรวมรับผิดชอบดวย

4.3.3 ความรับผิดชอบของนิติบุคคลตอบุคคลภายนอก การกระทําของผูแทนของนิติบุคคล ซึ่งเปนเหตุใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่น ในกรณีใดที่ นิติบุคคลตองรับผิดชอบตอบุคคลภายนอก และในกรณีใดบางที่ผูแทนจะตองรับผิดชอบ ตองพิจารณาวา การกระทําของผูแทนของนิตบ ิ ุคคล ซึ่งทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลอื่นนั้น เปนการกระทําตามหนาทีข ่ องผูแทนหรือเปนการกระทําที่ไมอยูในขอบวัตถุประสงคหรืออํานาจหนาที่ของ นิติบุคคล หากเปนการกระทําตามหนาที่ของผูแทนแลว นิติบค ุ คลตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนใน ความเสียหายนั้น แตก็สามารถไลเบี้ยเอากับผูค  วามเสียหายได ่ องนิติบุคคลแลว ผูแทนของ หากเกิดการกระทําที่ไมอยูในขอบวัตถุประสงค หรืออํานาจหนาทีข นิติบุคคลที่เห็นชอบในการกระทํานั้น หรือผูแทนทีก ่ ระทําการนั้นตองรวมกันชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูที่ ไดรับความเสียหาย อยางไรก็ตามหากการกระทําของผูแทนอยูนอกขอบวัตถุประสงคของนิติบุคคล แตบุคคลไดรับ เอาผลงานโดยตรงก็เทากับเปนใหสัตยาบันแกการทํางานของผูแทน นิติบุคคลจึงตองรับผิดในความ เสียหายที่เกิดขึ้นกับบุคคลภายนอกดวย

4.4 การสิ้นสุดของนิติบุคคล 1. นิติบุคคลเมื่อเกิดขึ้นโดยบทบัญญัติของกฎหมายก็เลิกโดยบทบัญญัติของกฎหมาย โดยปฏิบัติ ตามที่กฎหมายกําหนดไว 2. นิติบุคคลมีวัตถุประสงคที่กําหนดไวในตราสารจัดตั้งและไดกําหนดเลิกนิติบุคคลไว 3. ในบางกรณีนิติบุคคลไดจัดตั้งขึ้นแลว แตไมดําเนินการใดๆ ก็เปนนิติบุคคลรางไป จึงถือไดวาเปน การเลิกนิติบุคคลไปโดยปริยาย 4.4.1 การเลิกนิติบุคคล การเลิกนิติบุคคลกระทําอยางไรบาง (1) การเลิกนิตบ ิ ุคคลตามกฎหมาย โดยพิจารณากฎหมายที่จัดตั้ง หรือกําหนดวิธก ี ารจัดตั้งนิติ บุคคลนั้นวาไดกา ํ หนดใหสน ิ้ สุดลงอยางไร (2) การเลิกนิตบ ิ ุคคลตามขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง กลาวคือ กรณีไมมีกฎหมายกําหนดไว ดู จากวัตถุประสงคทก ี่ า ํ หนดในขอบังคับหรือตราสารจัดตัง ้ เมื่อไดทําตามวัตถุประสงคเสร็จสิ้นแลว สภาพนิติ บุคคลก็ยอมหมดไป หรือบางกรณีขอ  บังคับกับตราสารจัดตั้งนิตบ ิ ุคคลอาจกําหนดวิธก ี ารเลิกนิติบุคคลไวก็ เปนไปตามนัน ้

4.4.2 นิติบุคคลรางไป กรณีใดที่ถือวานิติบุคคลรางไป และยังถือวานิติบุคคลที่รางไปยังมีสภาพบุคคลอยูหรือไม กรณีที่นิติบค ุ คลรางไป เปนกรณีที่นิตบ ิ ุคคลยังไมไดเลิกไปโดยกระทําครบถวนตามกฎหมาย แตไดดําเนินกิจการแลว ผูแทนของนิตบ ิ ุคคลที่มอ ี ยูไมไดทา ํ อะไร ปลอยใหนิตบ ิ ุคคลนั้นอยูเฉยๆ ซึ่งยังตอง ถือวามีสภาพเปนนิติบุคคลอยู หากนิตบ ิ ค ุ คลนั้นดําเนินการตอไปก็ยอมทําได แตอยางไรก็เปนกรณีที่นต ิ ิ บุคคลไดรางมาเปนเวลานาน นาจะถือวาเปนการเลิกนิติบุคคลโดยปริยาย แบบประเมินผล หนวยที่ 4 นิติบุคคล นิติบุคคลกอตั้งขึ้นไดก็โดยอาศัยอํานาจ ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ซึ่งแบงนิติบุคคลออกเปน 5 ประเภท คือ สมาคม มูลนิธิ หางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัด กฎหมายอื่น เชน เนติบัณฑิตสภา มหาวิทยาลัย สํานักงานสภา ทบวงการเมือง ไดแกกระทรวง ทบวง กรมในรัฐบาล ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 บริหารสวนกลาง บริหารสวนภูมิภาค พระราชบัญญัติคณะสงค วัดวาอาราม รวมทั้งมัสยิด


24 การสิ้นสุดสภาพนิติบุคคล สิ้นสภาพโดยการยุบ หรือยกเลิกการเปนนิติบุคคล โดยผลของกําหมาย ขอบังคับ ตราสาร จัดตั้ง ตามที่ตกลงกัน หรือโดยคําสั่งศาล การยุบหรือเลิกนิติบุคคลไมมีบทบัญญัติไวในหลักทั่วไป การพิจารณาวานิติบุคคลใดสิ้น สภาพ ตองดูจากกฎหมายเฉพาะเรื่องของนิติบุคคลแตละประเภทนั้น ุ คลนั้น เชน ผูถอ ื หุน ผูมีสวนไดเสีย หมายถึง ผูไ  ดประโยชนหรือเสียประโยชนในการดําเนินงานของนิติบค นิติบุคคล คือบุคคลที่กฎหมายสมมติขึ้น ใหมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนเสียแตโดยสภาพจะพึงมี พึงไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดา ทั้งนี้โดยอยูภายใตขอบแหงอํานาจหนาที่หรือวัตถุประสงคที่กําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับหรือ ตองดําเนินหรือ ตราสารจัดตั้งของนิติบุคคลนั้น แตนิติบุคคลจะดําเนินงานหรือปฏิบัติงานตามวัตถุประสงคดวยตนเองไมได ปฏิบัติงานโดยผูแทน ผูแทนจะเปนผูแสดงออกซึ่งความประสงคของนิติบุคคลมีอํานาจหนาที่ที่กระทําการในนามนิติบุคคลภายใน อํานาจของตน และถือเปนการกระทําของนิติบุคคลเอง มิใชผูรับมอบอํานาจจากนิติบุคคลหรือนิติบุคคลเปนผูสั่งการใหทํา จึงไม ถูกจํากัดอํานาจตามมาตรา 801

1. นิติบุคคลมีสิทธิหนาที่ เหมือนบุคคลธรรมดา เวนแตสท ิ ธิหนาที่บางประการถูกจํากัดโดยกําหมาย และ วัตถุประสงคของนิติบุคคลนั้นเอง และโดยหลักธรรมชาติ

(มาตรา 67 ภายใตขอบังคับมาตรา 66 นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและหนาที่ซึ่งโดยสภาพ จะพึงมีพึงเปนไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดาเทานั้น )

2. นิติบุคคลมีขึ้นไดโดย อาศัยอํานาจตามกฎหมายแพงและพาณิชย หรือกฎหมายอื่น

( มาตรา 65 นิติบุคคลจะมีขึ้นไดก็แตดวยอาศัยอํานาจแหงประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น มาตรา 66 นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่ตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น ภายในของเขตแหงอํานาจหนาที่ หรือวัตถุประสงคดังไดบัญญัติหรือกําหนดไวในกฎหมาย ขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง )

3. นิติบุคคลไดแก (ก) มูลนิธิ (ข) บริษท ั จํากัด (ค) สมาคม (ง) กระทรวง ทบวง กรม (ง) หางหุนสวน สามัญ ่ ั้งสํานักงาน (ข) ถิ่นที่เลือกเอาเปนภูมิลําเนาเฉพาะหารตาม 4. ภูมิลําเนานิติบค ุ คลไดแก (ก) ถิ่นทีต ขอบังคับ (ค) ถิ่นทีต ่ ั้งสํานักงานสาขา

( มาตรา 68 ภูมิลําเนาของนิติบุคคลไดแกถิ่นอันเปนที่ตั้งสํานักงานใหญ หรือถิ่นอันเปนที่ตั้งที่ทําการ หรือถิ่นที่ไดเลือกเอาเปน ภูมิลําเนาเฉพาะการ ตามขอบังคับหรือตราสารจัดตั้ง มาตรา 69 ในกรณีที่นิติบุคคลมีที่ตั้งที่ทําการหลายแหงหรือมีสํานักงานสาขา ใหถือวาถิ่นอันเปนที่ตั้งของที่ทําการหรือของสํานักงาน สาขาเปนภูมิลําเนาในสวนกิจการอันไดกระทํา ณ ที่นั้นดวย )

5. ขอความตอไปนี้ถูกตอง (ก) อันความประสงคของนิติบุคคลนั้น ยอมแสดงปรากฏจากผูแ  ทน ทั้งหลายของนิติบุคคล (ข) ผูแทนนิติบค ุ คล คือ ผูท  ม ี่ ีอํานาจหนาที่จัดการแทนนิติบุคคล (ค) นิติบุคคล อาจตองรวมรับผิดในทางอาญาดวย 6. นิติบุคคลสามารถมีสท ิ ธิ และหนาที่ เปนผูจัดการมรดกได

(มาตรา 67 ภายใตบังคับมาตรา 66 นิติบุคคลยอมมีสิทธิและหนาที่เชนเดียวกับบุคคลธรรมดา เวนแตสิทธิและหนาที่ซึ่งโดยสภาพจะ พึงมีพึงเปนไดเฉพาะแกบุคคลธรรมดาเทานั้น ) ในเมื่อบุคคลธรรมดาเปนผูจัดการมรดกได นิติบุคคลก็สามารถเปนผูจัดการมรดกไดเชนเดียวกัน

7. ถาผูจ  ัดการนิตบ ิ ุคคลทําการตามหนาที่ แตเกิดความเสียหายแกบุคคลภายนอก นิติบุคคลตองรับผิดชอบ

( มาตรา 76 ถาการกระทําตามหนาที่ของผูแทนของนิติบุคคลหรือผูมีอํานาจทําการแทนนิติบุคคล เปนเหตุใหเกิดความเสียหายแก บุคคลอื่น นิติบุคคลนั้นตองรับผิดชดใชคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายนั้น แตไมสูญเสียสิทธิที่จะไลเบี้ยเอาแกผูกอความเสียหาย ถาความเสียหายแกบุคคลอื่นเกิดจากการกระทําที่ไมอยูในขอบวัตถุประสงคหรืออํานาจหนาที่ของนิติบุคคล บรรดาบุคคลดังกลาวตาม วรรคหนึ่งที่ไดเห็นชอบใหกระทําการนั้น หรือไดเปนผูกระทําการดังกลาวตองรวมกันรับผิดชอบชดใชคาสินไหมทดแทนแกผูไดรับความเสียหายนั้น )

8. นิติบุคคลไดแก (ก) ทบวงการเมือง (ข) วัดวาอาราม (ค) หางหุนสวนจํากัดที่จดทะเบียนแลว (ค) หาง หุนสวนสามัญ เปนนิติบุคคล

นิติบุคคลไดแก สมาคม มูลนิธิ หางหุนสวนสามัญ หางหุนสวนจํากัด บริษัทจํากัด เนติบัณฑิตสภา มหาวิทยาลัย สํานักงานสภา สํานักงานศาลรัฐธรรมนูญ สภาตําบล องคการบริหารสวนตําบล มัสยิดซึ่งไดจดทะเบียนเปนนิติบุคคลแลว โรงเรียนที่เปนสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถานศึกษาของรัฐที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี ทบวงการเมือง กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด องคการบริหารสวนจังหวัด เทศบาล สุขาภิบาล ราชการสวนทองถิ่น เชน กรุงเทพมหานคร เมืองพัทยา วัดวาอาราม นิติบุคคลมีขึ้นไดก็โดยกฎหมายใหอํานาจเทานั้น ถากฎหมายไมใหอํานาจก็ไมเปนนิติบุคคล เชนรัฐบาล สุเหรา คณะกรรมการรับและ เปดซอง พวกนี้ไมอาจถูกฟองคดีในศาลได เพราะผูที่จะถูกฟองนั้นจะตองเปนบุคคลหรือนิติบุคคล ตําแหนงหนาที่บางตําแหนงมีสิทธิหนาที่ตามกฎหมาย ซึ่งอาจถูกฟองหรือฟองรองในฐานะที่กฎหมายระบุไว เชน ผูวาราชการจังหวัด นายอําเภอ ถึงแมวาจะมิไดเปนนิติบุคคล

9. ถาประโยชนไดเสียของนิติบุคคลขัดกับประโยชนไดเสียของผูแทนนิติบค ุ คล ผูแทนนิตบ ิ ค ุ คลนั้นจะเปน ผูแทนในการนั้นไมได

( มาตรา 74 ถาประโยชนไดเสียของนิติบุคคลขัดกับประโยชนไดเสียของผูแทนนิติบุคคลในการอันใด ผูแทนของนิติบุคคลนั้นจะเปน ผูแทนในการนั้นไมได )

10. ขอที่ถูกตองคือ (ก) นิติบุคคลกอตัง ้ โดยประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (ข) นิติบุคคลสามารถ กอตั้งไดโดยกฎหมายอื่น (ค) มัสยิดที่จดทะเบียนแลวเปนนิติบุคคล (ง) รัฐวิสาหกิจเปนนิติบุคคล 11. ผูจัดการทํานอกขอบวัตถุประสงคของนิติบค ุ คลทําใหเกิดความเสียหายแกบุคคลภายนอก นิติบุคคลไม ตองรับผิดชอบ และผูจด ั การตองรับผิดชอบเปนสวนตัว ( มาตรา 76 )

12. การเลิกนิติบุคคล (ก) นิติบุคคลลมละลาย (ข) นิติบุคคลราง (ค) เลิกตามตราสารจัดตั้ง (ง) เลิก ตามขอบังคับ การยุบหรือเลิกนิติบุคคลไมมีบทบัญญัติไวในหลักทั่วไป การพิจารนาวานิติบค ุ คลใดสิ้นสภาพ ตองดูจาก กฎหมายเฉพาะเรื่องของนิติบุคคลแตละประเภทนั้น


25 หนวยที่ 5 นิติบุคคล : สมาคม 1. สมาคมเปนนิติบุคคลประเภทหนึ่ง โดยมีลักษณะตอเนื่องรวมกัน และมิใชเปนการหาผลกําไรหรือ

รายไดมาแบงปนกัน ตองมีขอบังคับและจดทะเบียนตามกฎหมาย โดยมีรัฐเปนผูมีอํานาจควบคุมสมาคม 2. สมาคมประกอบขึ้นดวย ชื่อสมาคม การจดทะเบียน และภูมิลําเนาของสมาคม 3. การดําเนินงานของสมาคมกระทําโดยคณะกรรมการซึ่งเปนผูแทนสมาคม โดยมีสมาชิกของ สมาคมเปนผูตรวจตราดูแลกิจการไปตามมติที่ประชุมใหญของสมาคม 4. สมาคมเลิกไดโดยวิธีกําหนดเหตุเลิกสมาคมไวในขอบังคับนั้นเอง โดยสภาพหรือเลิกเมื่อมีบุคคล ผูมีอํานาจใหเลิกสมาคมสั่ง ซึ่งไดแก นายทะเบียน ศาล หรือผูมีอํานาจใหเลิกตามกฎหมายอื่น ลักษณะ ขอบังคับและการควบคุมสมาคม 1. สมาคมเปนนิติบุคคล การกอตั้งสมาคมตองมีวัตถุประสงคเพื่อกระทําการใดๆ อันมีลักษณะ ตอเนื่องรวมกันและมิใชเปนการหาผลกําไร หรือรายไดมาแบงปนกัน ทั้งตองมีขอบังคับและจดทะเบียน ตามบทบัญญัติแหง ปพพ นี้ 2. ขอบังคับของสมาคมเปนขอกําหนดระเบียบปฏิบัติ ใหสมาคมตองดําเนินการไปตามวัตถุประสงค ของสมาคมโดยขอบังคับตองมีรายการตามที่กฎหมายกําหนด 8 ประการ และตองจดทะเบียนสมาคมจึงจะ เปนนิติบุคคล 3. รัฐเปนผูมีอํานาจหนาที่ควบคุม การดําเนินงานของสมาคมซึ่งมีนายทะเบียนทองที่เปนผูควบคุม ดูแลโดยรัฐมีอํานาจหนาที่ในการออกกฎกระทรวง ควบคุมเก็บรักษาเอกสารทางทะเบียนของสมาคม 5.1

5.1.1 ลักษณะของสมาคม สมาคมที่จัดตั้งขึ้นมีความจําเปนตองกาผลกําไรหรือรายไดหรือไม มาตรา 83 บัญญัตว ิ า  “สมาคมที่ไดจดทะเบียนแลวเปนนิติบุคคล” การจดทะเบียนสมาคมก็เพือ ่ ให สมาคมมีฐานะเปนนิตบ ิ ุคคลและสามารถดําเนินกิจการตางๆ ไดตามกฎหมายหากไมจดทะเบียนไมถือวา เปนสมาคมผูด  ําเนินการและสมาชิกมีความผิดทางอาญา การจดทะเบียนสมาคมเปนขอบังคับทีก ่ ฎหมาย บังคับใหทํา 5.1.2 ขอบังคับและการจดทะเบียนของสมาคม

กฎหมายไดบัญญัติไวถึงเรื่องขอบังคับของสมาคมไวอยางไรบาง ในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 79 ไดบัญญัตเิ รื่องขอบังคับของสมาคมวา “ขอบังคับของสมาคมอยางนอยตองมีรายการตอไปนี”้ (1) ชื่อสมาคม (2) วัตถุประสงคของสมาคม (3) ที่ตั้งสํานักงานใหญและที่ตง ั้ สํานักงานสาขาทั้งปวง (4) วิธร ี ับสมาชิก และการขาดจากสมาชิก (5) อัตราคาบํารุง (6) ขอกําหนดเกีย ่ วกับกรรมการของสมาคม ไดแก จํานวนกรรมการ การตัง ้ กรรมการ วาระดํารง ตําแหนงกรรมการ การพนตําแหนงของกรรมการ และการประชุมคณะกรรมการ (7) ขอกําหนดเกีย ่ วกับการจัดการสมาคมการบัญชี และทรัพยสินของสมาคม (8) ขอกําหนดเกีย ่ วกับการประชุมใหญ ลักษณะนี้เปนผลบังคับของกฎหมาย ซึ่งผูร  างขอบังคับจะตองกําหนดใหมีความครบถวนตามที่ กลาวขางตนนี้ จะขาดแมแตขอใดขอหนึง ่ ยอมไมได เพราะหากขาดไปขอหนึ่งแลว นายทะเบียนจะไมยอม จดทะเบียนให 5.1.3 การควบคุมสมาคม

รัฐเขาควบคุมดําเนินงานของสมาคมทางใดบาง รัฐเขาควบคุมดําเนินงานของสมาคมไดโดยวิธก ี ารดังตอไปนี้ (1) การออกกฎกระทรวงเกี่ยวกับการจดทะเบียน คาธรรมเนียม การดําเนินงานและการปฏิบต ั ิและ การดําเนินงานบทบัญญัติกฎหมายในสวนของสมาคม (2) การขอตรวจและคาสําเนาเอกสาร 5.2 สิ่งที่ประกอบขึ้นเปนสมาคม 1. สมาคมตองใชชื่อซึ่งมีคําวา “สมาคม” ประกอบกับชอของสมาคม 2. การขอจดทะเบียนกระทําไดโดยสมาชิกของสมาคมจํานวนไมนอยกวา 3 คน รวมกันยื่นคํารองตอ นายทะเบียนแหงทองที่ที่สํานักงานใหญของสมาคมจะตั้งขึ้น พรอมกับแนบเอกสารดังตอไปนี้ คือ


26 ขอบังคับของสมาคม รายชื่อ ที่อยู และอาชีพของผูจะเปนสมาชิกไมนอยกวา 10 คน และรายชื่อที่อยู และ อาชีพของผูจะเปนกรรมการของสมาคมมากับคําขอดวย 3. ภูมิลําเนาของสมาคมถือตามหลักเกณฑของภูมิลําเนานิติบุคคล โดยใหภูมิลําเนาของสมาคมอยูที่ ที่ตั้งสํานักงานใหญ หากกรณีมีสาขาก็ใหถือวาที่ตั้งของสํานักงานสาขาเปนภูมิลําเนาของสาขานั้น 5.2.1 ชื่อของสมาคม

ชื่อของสมาคมตองใชคําวา “สมาคม” นําหนาชื่อสมาคมเสมอไปหรือไม มาตรา 80 บัญญัติวา  “ สมาคมตองใชชื่อซึ่งมีคําวา “สมาคม” ประกอบกับชื่อสมาคม ดังนั้น สมาคมใชชอ ื่ อยางไรก็ได แตตองมีคา ํ วา “สมาคม” ประกอบดวยเสมอไมวาจะไวหนาหรือหลังชือ ่ 5.2.2 วิธีการขอจดทะเบียนสมาคม การขอจดทะเบียนสมาคมตองทําอยางไรบาง การขอจดทะเบียนสมาคมตองมีหลักเกณฑดังตอไปนี้ (1) ตองมีจํานวนไมนอยกวา 3 คน รวมกันยื่นขอ (2) ตอยื่นคําขอเปนหนังสือตอนายทะเบียนทองทีท ่ ี่สํานักงานใหญตั้งขึน ้ พรอมแนบหลักฐานดังตอไปนี้ (ก) ขอบังคับของสมาคม (ข) รายชือ ่ ที่อยู และอาชีพของผูเปนสมาชิกไมนอยกวา 10 คน ่ ที่อยู และอาชีพของผูจะเปนกรรมการของสมาคม (ค) รายชือ 5.2.3 ภูมิลําเนาสมาคม ภูมิลําเนาของสมาคมนั้นจะกําหนดไดอยางไร ภูมิลําเนาของสมาคมใหเปนไปตามภูมิลา ํ เนาของนิติบค ุ คลตามมาตรา 68 นัน ่ คือ ใหทต ี่ ั้ง สํานักงานใหญเปนภูมิลําเนาของสมาคมนั้น ในกรณีทม ี่ ีสมาคมสาขาก็ใหมีภม ู ิลําเนาที่สา ํ นักงานสาขาได โดยถือวาทีต ่ ง ั้ ของสํานักงานสาขาเปนภูมิลําเนาสวนหนึ่งของสาขานั้น 5.3 การดําเนินงานของสมาคม

1. คณะกรรมการสมาคมเปนผูดําเนินกิจการของสมาคมโดยเปนผูแทนของสมาคม ในกิจการอัน เกี่ยวกับบุคคลภายนอก จํานวนของคณะกรรมการขึ้นอยูกับขอบังคับของสมาคมที่ระบุไว การดําเนินงาน ของคณะกรรมการสมาคมตองดําเนินงานตามกฎหมาย และขอบังคับภายใตการควบคุมดูแลของที่ประชุม ใหญสมาคม 2. จํานวนสมาชิกของสมาคมตองมีไมนอยกวา 10 คน สมาชิกเปนผูมีสิทธิกอตั้งสมาคม ตรวจกิจการ และทรัพยสินของสมาคมและเรียกประชุมใหญ สมาชิกมีหนาที่ตองชําระคาบํารุงสมาคมและตอง รับผิดชอบในหนี้สินของสมาคมไมเกินจํานวนคาบํารุงสมาชิกที่คางอยู 3. การประชุมใหญของสมาคมมี 2 กรณีคือ การประชุมใหญสามัญและการประชุมใหญวิสามัญ การ ประชุมใหญสามัญนั้นตองจัดใหมีอยางนอยปละครั้งตามบทบัญญัติของกฎหมายโดยคณะกรรมการสมาคม การประชุมใหญวิสามัญเปนเรื่องการเรียกประชุมใหญเปนพิเศษ ซึ่งมีกรณีเรงดวนเพื่อดําเนินการใดๆได ทันทวงที การเรียกประชุมนี้อาจเปนกรณีของคณะกรรมการสมาคมเรียกประชุม หรือสมาชิกของสมาคมซึ่ง มีจํานวนตามที่กฎหมายกําหนดเรียกประชุมก็ได โดยตองสงหนังสือนัดประชุมไปยังสมาชิกทุกคน หรือลง พิมพโฆษนากอนวันนัดประชุมไมนอยกวา 7 วัน โดยตองระบุ วัน เวลา และจัดระเบียบวาระการประชุมเพื่อ มอบใหแกสมาชิกในวันประชุมดวย 4. มติที่ประชุมใหญใหถือเอาเสียงขางมาก เวนแตกรณีที่ขอบังคับสมาคมกําหนดเสียงขางมากไว เปนพิเศษโดยเฉพาะ ถาคะแนนเสียงเทากันใหประธานในที่ประชุมออกเสียงชี้ขาด 5. หากในการลงมติในที่ประชุมใหญไมปฏิบัติตามหรือฝาฝนขอบังคับของสมาคมหรือกฎหมาย สมาชิกสมาคมหรือพนักงานอัยการอาจรองขอใหศาลสั่งเพิกถอนมตินั้นได แตตองรองขอภายใน 1 เดือน นับแตวันเริ่มลงมติ 5.3.1 คณะกรรมการของสมาคม ผูแทนสมาคมคือใคร และตองดําเนินการอยางไรในกิจการที่เกี่ยวของกับบุคคลภายนอก การดําเนินงานของสมาคมในกิจการเกี่ยวกับบุคคลภายนอก ตองกระทําในรูปของคณะกรรมการ โดยถือวาคณะกรรมการเปนผูแทนสมาคม คณะกรรมการของสมาคมตองประกอบดวยกรรมการตั้งแต 2 คนขึ้นไป ดําเนินกิจการของสมาคมตองเปนไปตามกฎหมายและขอบังคับของสมาคมภายใตการควบคุม ดูแลของทีป ่ ระชุมใหญสมาคม ตามมาตรา 87 และมาตรา 86 5.3.2 สมาชิกของสมาคม


27 สมาคมตองมีสมาชิกจํานวนเทาใด และสมาชิกมีสิทธิและหนาที่อยางไร สมาคม ตองมีสมาชิกไมนอยกวา 10 คน และสมาชิกของสมาคมมีสท ิ ธิและหนาทีด ่ ังตอไปนี้คอ ื (1) เปนผูกอ  ตั้งสมาคมโดยขอจดทะเบียน ตามมาตรา 81 (2) ตรวจตรากิจการและทรัพยสินของสมาคม ตามมาตรา 89 (3) ตองชําระคาบํารุงตามมาตรา 90 (4) ตองรับผิดในหนี้สินของสมาคมไมเกินจํานวนคาบํารุงสมาชิกที่คา  งชําระอยู ตามมาตรา 92 ิ ธิรอ  งขอตอศาลใหเพิกถอนมติในการ (5) มีสิทธิเรียกประชุมใหญ ตามมาตรา 98 ทั้งนี้มีสท ประชุมใหญไดตามมาตรา 100 5.3.3 การประชุมใหญของสมาคม การประชุมใหญของสมาคมมีกี่กรณี อะไรบาง การประชุมใหญของสมาคมมี 2 กรณีคือ (1) การประชุมใหญสามัญประจําปซึ่งตองจัดใหมีการประชุมใหญอยางนอยปละครั้ง (2) การประชุมใหญวิสามัญซึ่งจะจัดขึ้นเมื่อใดก็ไดสุดแตจะเห็นสมควร อาจจะจัดการประชุมโดย คณะกรรมการสมาคม หรือสมาชิกสมาคมแลวแตกรณี 5.3.4 มติที่ประชุมใหญและการเพิกถอนมติที่ประชุมใหญ ในการประชุมใหญครั้งหนึ่งการนัดประชุมฝาฝนขอบังคับของสมาคม ที่ประชุมไดลงมติในการ ประชุมใหญครั้งนั้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2539 ตอมามีสมาชิกมารองตอศาลใหเพิกถอนมติของสมาคมใน การประชุมครัง้ นี้ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2539 ดังนี้ ชอบที่จะทําไดหรือไม การรองขอเพิกถอนมติที่ประชุมใหญดง ั กลาว ไดรอ  งขอเกิดกําหนด 1 เดือน นับแตวันลงมติจึงไม สามารถรองขอเพิกถอนได เพราะขาดอายุความในการฟองรอง เพราะกฎหมายกําหนดใหรอ  งขอเพิกถอน เสียภายใน 1 เดือน นับแตวน ั ลงมตินั้น 5.4 การเลิกสมาคม

1. สมาคมยอมเลิกดวยเหตุผลใดเหตุผลหนึ่งดังตอไปนี้ 1) เมื่อมีเหตุตามที่กําหนดในขอบังคับ 2) ถาสมาคมตั้งขึ้นใชเฉพาะเวลาใด เมื่อสิ้นระยะนั้น 3) ถาสมาคมตั้งขึ้นเพื่อกระทํากิจการใด เมื่อกิจการนั้นเสร็จสิ้น 4) เมื่อที่ประชุมใหญมีมติใหเลิก 5) เมื่อสมาคมลมละลาย 6) เมื่อนายทะเบียนถอนชื่อสมาคมออกจากทะเบียน 7)เมื่อศาลสั่งใหเลิกสมาคม 2. ผูมีอาํ นาจเลิกสมาคมคือ นายทะเบียนสมาคม ศาล หรือผูมีอํานาจใหเลิกตามกฎหมายอื่น 3. เมื่อเลิกสมาคมแลวใหนายทะเบียนประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหมีการชําระบัญชีสมาคม ทรัพยสินที่เหลือของสมาคมใหโอนแกสมาคม หรือมูลนิธิ หรือนิติบุคคลที่ไดระบุไวในขอบังคับของ สมาคม หรือมติที่ประชุมใหญ ถาในขอบังคับหรือที่ประชุมใหญไมไดระบุไวใหทรัพยสินที่เหลืออยูตกเปน ของแผนดิน 5.4.1 เหตุเลิกสมาคม

กรณีใดบางที่จะเปนเหตุใหเลิกสมาคม กรณีที่จะเปนเหตุใหเลิกสมาคมมีบญ ั ญัติไวในมาตรา 101 ซึ่งมี 7 กรณีดังติอไปนี้ (1) เมื่อมีเหตุตามที่กา ํ หนดในขอบังคับ (2) ถาสมาคมตั้งขึ้นไวเฉพะระยะเวลาใด เมือ ่ สิ้นระยะเวลานั้น (3) ถาสมาคมตั้งขึ้นเพื่อจะทํากิจการใด เมือ ่ กิจการนั้นสําเร็จแลว (4) เมื่อที่แระชุมใหญมม ี ติใหเลิก (5) เมื่อสมาคมลมละลาย (6) เมื่อนายทะเบียนถอนชื่อสมาคมออกจากทะเบียนตามมาตรา 102 (7) เมื่อศาลสั่งใหเลิกตามมาตรา 104 5.4.2 ผูมีอํานาจใหเลิกสมาคม ผูมีอํานาจใหเลิกสมาคมไดแกใครบาง ผูมีอา ํ นาจใหเลิกสมาคมไดคือ บุคคลตอไปนี้ (1) นายทะเบียนโดยใหเลิกสมาคมตามกฎหมายแพงและพาณิชย (2) โดยศาลสั่งเลิกสมาคมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย (3) ผูมีอา ํ นาจใหเลิกสมาคมตามกฎหมายอื่น ซึ่งตองพิจารณาเปนเรื่องๆไป


28

5.4.3 ผลการเลิกสมาคม

เมื่อมีการเลิกสมาคมแลวและมีทรัพยสินเพียงพอที่จะจัดแบงใหสมาชิกได ใหแกสมาชิกไดหรือไม เพราะเหตุใด

ผูชําระบัญชีจัดแบง

ผูชําระบัญชีจะจัดแบงทรัพยสินใหแกสมาชิกไมได ทรัพยสินดังกลาวนี้ที่เหลือตองโอนใหแก สมาคม หรือมูลนิธิ หรือนิติบุคคลที่มว ี ัตถุประสงคเกีย ่ วกับการสาธารณกุศลตามที่ระบุไวในขอบังคับของ สมาคม หากขอบังคับไมระบุชื่อไวก็ตอ  งเปนไปตามมติที่ประชุมใหญ แตถาขอบังคับ หรือทีป ่ ระชุมใหญ ั โอนหรือระบุแตไมสามารถปฏิบัติไดก็ใหทรัพยสินนั้นตกเปนของแผนดิน ไมไดระบุรบ

แบบประเมินผล หนวยที่ 5 นิติบุคคล : สมาคม “สมาคม” คือนิติบุคคลที่เปนสมาชิกไดกอตั้งขึ้นเพื่อกระทําการใดๆ อันมีลักษณะตอเนื่องรวมกัน และมิใชเปนการหา ผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน ตองมีขอบังคับและจดทะเบียนใชคําวา “สมาคม” ประกอบซื่อของสมาคม สมาคม ประกอบดวยหลักเกณฑดังนี้ บุคคลผูที่จะเปนสมาชิกจํานวนไมนอยกวา 10 คน ตกลงรวมกัน เพื่อกระทําการใดๆ อันมีลักษณะตอเนื่องรวมกัน การกระทําใดๆที่ทํารวมกันนี้ ตองมิใชเปนการหากําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน ตองมีขอบังคับและจดทะเบียน ตองใชคําวา “สมาคม” ประกอบชื่อสมาคม เมื่อจดทะเบียนตาม ปพพ. แลว มีฐานะเปนนิติบุคคล การเลิกสมาคม คือการสิ้นสุดสภาพการเปนนิติบุคคลของสมาคม ถาเปรียบกับบุคคลธรรมดาก็คือการตายนั่นเอง ซึ่งมีอยู ดวยกัน 3 ประการ คือ ¾ เลิกโดยผลของกฎหมาย ¾ เลิกโดยคําสั่งของนายทะเบียน ¾ เลิกโดยคําสั่งศาล สมาชิกกับสมาคมมีความเกี่ยวพันซึ่งกันและกัน พอสรุปไดดังนี้ สมาชิกมีสิทธิที่จะตรวจกิจการและทรัพยสินของสมาคมในระหวางเวลาทําการของสมาคมได (มาตรา 89) ถานอก เวลาทําการยอมไมมีสิทธิ สมาชิกมีหนาที่ตองตองชําระคาบํารุงเต็มจํานวนในวันที่สมัครเขาเปนสมาชิก หรือในวันเริ่มตนของระยะเวลาชําระ คาบํารุงแลวแตกรณี เวนแตขอบังคับของสมาคมจะกําหนดไวเปนอยางอื่น (มาตรา 90 ) สมาชิกมีสิทธิจะลาออกจากสมาคมเมื่อใดก็ได เวนแตขอบังคับของสมาคมจะกําหนดไวเปนอยางอื่น เชนกอน ลาออกตองปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ขอบังคับกําหนดไวกอน เชนชําระคาบํารุง หรือหนี้คางแกสมาคมกอน เปนตน สมาชิกแตละคนมีความรับผิดชอบในหนี้ของสมาคมไมเกินจํานวนคาบํารุงที่สมาชิกคางชําระอยู (มาตรา 92 )

1. ลักษณะของสมาคม คือ (ก) สมาคมเปนนิติบุคคล (ข) มีลักษณะทําการตอเนื่องรวมกัน (ค) มิใช เปนการหาผลกําไร (ง) รัฐเปนผูมีอา ํ นาจควบคุม

(มาตรา 78 การกอตั้งสมาคมเพื่อกระทําการใดๆ อันมีลักษณะตอเนื่องรวมกันและมิใชเปนการหาผลกําไรหรือรายไดมาแบงปนกัน ตองมีขอบังคับและจดทะเบียนตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายนี้ )

2. สิ่งทีต ่ องมีในขอบังคับสมาคมคือ (1) ชื่อสมาคม (2) วัตถุประสงคของสมาคม (3) ทีต ่ งั้ สํานักงานใหญ และที่ตั้งสํานักงานสาขาทั้งปวง (4) วิธีรับสมาชิก และการขาดจากสมาชิกภาพ (5) อัตราคาบํารุง (6) ขอกําหนด เกี่ยวกับคณะกรรมการของสมาคม ไดแกจํานวนกรรมการ การตั้งกรรมการ วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการ การ พนจากตําแหนงของกรรมการและการประชุมของคณะกรรมการ (7) ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการสมาคม การบัญชี และทรัพยสินของสมาคม (8) ขอกําหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ (มาตรา 79 ขอบังคับของสมาคมอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ (1) ชื่อสมาคม (2) วัตถุประสงคของสมาคม (3) ที่ตั้งสํานักงานใหญและที่ตั้งสํานักงานสาขาทั้งปวง (4) วิธีรับสมาชิก และการขาดจากสมาชิกภาพ (5) อัตราคาบํารุง (6) ขอกําหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการของสมาคม ไดแก จํานวนกรรมการ การตั้งกรรมการ วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการ การพนจากตําแหนงของกรรมการ และการประชุมของคณะกรรมการ (7) ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการสมาคม การบัญชี และทรัพยสินของสมาคม (8) ขอกําหนดเกี่ยวกับการประชุมใหญ )

3. หนวยงานที่มีอาํ นาจออกกฎกระทรวงควบคุมสมาคมคือ กระทรวงมหาดไทย

(มาตรา 109 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงมหาดไทยรักษาการตามบทบัญญัติในสวนนี้ และใหมีอํานาจแตงตั้งนายทะเบียนออก กฎกระทรวงเกี่ยวกับ (1) การยื่นคําขอจดทะเบียน และการรับจดทะเบียน (2) คาธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การคัดสําเนาเอกสาร และคาธรรมเนียมการขอใหนายทะเบียนดําเนินการ ใดๆ เกี่ยวกับสมาคม รวมทั้งการยกเวนคาธรรมเนียมดังกลาว (3) การดําเนินกิจการของสมาคมและการทะเบียนสมาคม (4) การอื่นใดเพื่อปฏิบัติใหเปนไปตามบทบัญญัติในสวนนี้ กฎกระทรวงนั้น เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได )

4. ในการขอจดทะเบียนสมาคม (ก) ตองมีขอ  บังคับสมาคม (ข) ตองมีกรรมการสมาคม (ค) มีสมาชิก ไมนอยกวา 3 คน รวมกันยื่นคํารอง (ง) ตองยื่นคํารองตอนายทะเบียน ณ ทองทีท ่ ี่สา ํ นักงานใหญตั้งอยู


29 (มาตรา 81 การขอจดทะเบียนสมาคมนั้น ใหผูจะเปนสมาชิกของสมาคมจํานวนไมนอยกวาสามคน รวมกันยื่นคําขอเปนหนังสือตอนาย ทะเบียนแหงทองที่ที่สํานักงานใหญของสมาคมตั้งขึ้นพรอมกับแนบขอบังคับของสมาคม รายชื่อ ที่อยู และอาชีพของผูจะเปนสมาชิกไมนอยกวา สิบคน และรายชื่อที่อยู และอาชีพของผูจะเปนกรรมการของสมาคมมากับคําขอดวย )

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับกรรมการสมาคมคือ (ก) กรรมการสมาคมเปนผูแ  ทนของสมาคม(ข) ดําเนินการเปนผูดําเนินการสมาคม (ค) จํานวนกรรมการขึ้นอยูกับขอบังคับสมาคม

คณะกรรมการ

สมาคมที่จดทะเบียนแลวเปนนิติบุคคล ฉะนั้น โดยสภาพจึงไมอาจดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของสมาคมที่จดทะเบียนได โดยลําพัง เพราะไมมีชิวิตจิตใจ ตองมีบุคคลผูดําเนินการบริหารกิจการของสมาคม ซึ่งเรียกวา “คณะกรรมการสมาคม” คณะกรรมการสมาคม คือผูมีอํานาจเปนผูดําเนินการบริหารกิจการของสมาคมตามกฎหมายและขอบังคับ (มาตรา 86 ) เพื่อใหเปนไป ตามวัตถุประสงค โดยถือวาเปน “ผูแทน” ของสมาคมในกิจการอันเกี่ยวกับบุคคลภายนอก (มาตรา 87) ทั้งนี้อยูภายใตการควบคุมดูแลของที่ ประชุมใหญ กลาวคือ นอกจากจะตองดําเนินการใหอยูภายใตกรอบวัตถุประสงคของสมาคมแลว ยังตอใหเปนไปตามมติที่ประชุมใหญดวย แตมตินี้ ตองอยูภายใตขอบวัตถุประสงคและกฎหมายดวย คณะกรรมการตองประกอบไปดวยบุคคลมากกวา 1 คนขึ้นไป ซึ่งขอบังคับของสมาคมจะกําหนดวา คณะกรรมการสมาคมประกอบดวย ตําแหนงใดบาง ซึ่งสวนใหญก็จะประกอบดวย ตําแหนงนายกสมาคม เลขาธิการ นายทะเบียน ประชาสัมพันธ สวัสดิการ ปฏิคม เหรัญญิก สาราณียกร และกรรมการอื่นๆ ดังนั้น การดําเนินกิจการสมาคมตองเปนไปตามเสียงขางมากของกรรมการ

6. เกี่ยวกับจํานวนสมาชิกของสมาคม สมาชิกตองไมนอยกวา 10 คน (มาตรา 81)

7. สิทธิและหนาทีข ่ องสมาชิกคือ เปนผูกอ  ตั้งสมาคม 8. การประชุมใหญสมาคม มี 2 ประเภท คือประชุมใหญสามัญและวิสามัญ

การประชุมใหญคือการประชุมบรรดาสมาชิกของสมาคมทั้งมวล หรือถือเปนกระบวนการหนึ่งของการดําเนินกิจการบริหารของสมาคม เพราะคณะกรรมการสมาคมตองดําเนินกิจการภายใตการควบคุมดูแลของที่ประชุมใหญ (มาตรา 86) การประชุมใหญมี 2 ประเภทคือ (1) การประชุมใหญสามัญ อยางนองตองจัดใหมีการประชุมปละ 1 ครั้ง ซึ่งเปนหนาที่ความรับผิดชอบโดยตรงของคณะกรรมการ สมาคม ที่จะตองจัดใหมีการประชุมขึ้น (มาตรา 93 ) สวนจะขึ้นในชวงเวลาใดนั้น ในขอบังคับของแตละสมาคมมักจะกําหนดชวงเวลาที่จะจัด ประชุมไว (2) การประชุมใหญวิสามัญ คณะกรรมการสมาคมจะเรียกประชุมเมื่อใดก็สุดแตจะเห็นสมควร (มาตรา 94 ว 1 ) และหนึ่งๆ จะประชุมกี่ ครั้งก็ไดไมกําหนด นอกจากคณะกรรมการสมาคมจะมีอํานาจเรียกประชุมแลว กฎหมายยังใหอํานาจสมาชิกของสมาคมรองขอใหเรียกประชุมได ดวย

9. สิทธิและหนาทีข ่ องสมาชิกมีดงั ตอไปนี้ (ก) เปนผูกอตั้งสมาคม (ข) ตรวจตรากิจการของสมาคม (ค) ตรวจ ตรากิจการทรัพยสินของสมาคม (ง) ตองชําระคาบํารุง

(มาตรา 89 สมาชิกของสมาคมมีสิทธิที่จะตรวจตรากิจการและทรัพยสินของสมาคมในระหวางเวลาทําการของสมาคม มาตรา 90 สมาชิกของสมาคมตองชําระคาบํารุงเต็มจํานวนในวันที่สมัครเปนสมาชิกหรือในวันเริ่มตนของระยะเวลาชําระเงินคาบํารุง แลวแตกรณี เวนแต ขอบังคับสมาคมจะกําหนดไวเปนอยางอื่น )

10. การเลิกสมาคม (ก) มีเหตุตามขอกําหนดในขอบังคับ (ข) เมื่อสมาคมลมละลาย (ค) เมื่อครบระยะเวลาที่ กําหนดไว (ง) ศาลสั่งใหเลิกสมาคม (มาตรา 101 สมาคมยอมเลิกดวยเหตุหนึ่งเหตุใดดังตอไปนี้ (1) เมื่อมีเหตุตามที่กําหนดในขอบังคับ (2) ถาสมาคมตั้งขึ้นไวเฉพาะระยะเวลาใด เมื่อสิ้นระยะเวลานั้น (3) ถาสมาคมตั้งขึ้นเพื่อกระทํากิจการใด เมื่อกิจการนั้นเสร็จแลว (4) เมื่อที่ประชุมใหญมีมติใหเลิก (5) เมื่อสมาคมลมละลาย (6) เมื่อนายทะเบียนถอนชื่อสมาคมออกจากทะเบียนตามมาตรา 102 (7) เมื่อศาลสั่งใหเลิกตามมาตรา 104 )

หนวยที่ 6 นิติบุคคล : มูลนิธิ 1. มูลนิธิเปนนิติบุคคลประเภทหนึ่ง ซึ่งไดแกทรัพยสินที่จัดสรรไวโดยเฉพาะเพื่อสาธารณกุศล การ ศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณประโยชนอยางอื่น โดยมิไดมุงหา ผลประโยชนมาแบงปนกัน และตองจดทะเบียนตามบทบัญญัติของกฎหมายนี้ 2. การประกอบขึ้นเปนมูลนิธิ ก็โดยการกอตั้งมูลนิธิ ซึ่งตองทําเปนหนังสือ โดยระบุขอบังคับและ แสดงถึงวัตถุประสงค รวมถึงชื่อของมูลนิธิ โดยยื่นขอจดทะเบียนตอนายทะเบียน (กระทรวงมหาดไทย) เมื่อนายทะเบียนจดทะเบียนใหแลว จึงเปนนิติบุคคล 3. การดําเนินงานของมูลนิธิ ดําเนินงานในรูปของกรรมการมูลนิธิ ซึ่งตองดําเนินงานใหเปนไปตาม วัตถุประสงคที่ตั้งมูลนิธิ 4. การเลิกมูลนิธินั้นมี 2 ประการคือ การเลิกโดยผลของกฎหมาย การเลิกโดยคําสั่งศาล เมื่อเลิก มูลนิธิแลวตองชําระบัญชี 6.1 หลักเกณฑเบื้องตนของมูลนิธิ 1. มูลนิธิไดแกทรัพยสินที่จัดสรรไวโดยเฉพาะสําหรับวัตถุประสงค เพื่อการกุศลสาธารณ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร วรรณคดี การศึกษาหรือเพื่อสาธารณประโยชนอยางอื่นโดยมิไดมุงหาผลประโยชนมา แบงปนกัน และไดจดทะเบียนตามกฎหมายนี้


30 2. การจัดการทรัพยสินของมูลนิธิ ตองมิใชเปนการหาผลประโยชนเพื่อบุคคลใด นอกจากเพื่อ ดําเนินการตามวัตถุประสงคของมูลนิธิเอง 3. กฎหมายกําหนดใหรัฐควบคุมดูแลกิจการของมูลนิธิโดยใหมีอํานาจเขาตรวจสอบเอกสาร และ ตรวจสอบกิจการของมูลนิธิ รวมถึงอํานาจในการออกกฎขอบังคับตางๆ เกี่ยวกับมูลนิธิดวย 6.1.1 ลักษณะของมูลนิธิ มูลนิธิมีลักษณะอยางไร และจําเปนตองจดทะเบียนหรือไม มูลนิธิมีลักษณะดังตอไปนี้ ตาม ปพพ. มาตรา 110 ลักษณะของมูลนิธิคือ (1) เปนทรัพยสินที่จัดสรรไวโดยเฉพาะ (2) สําหรับวัตถุประสงคเพือ ่ การกุศลสาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร วรรณคดี การศึกษา หรือเพื่อสาธารณะประโยชน อยางนี้มิตอ  งมุงหาประโยชนมาแบงปนกัน (3) จดทะเบียนตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ดังนั้นมูลนิธิจึงตองจด ทะเบียนจึงจะเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย 6.1.2 อํานาจของรัฐเกี่ยวกับมูลนิธิ

มูลนิธิเปนนิติบุคคลตามกฎหมาย รัฐมีอํานาจเกี่ยวกับมูลนิธิในกรณีใดบาง รัฐมีอํานาจเกีย ่ วของกับมูลนิธิดังตอไปนี้ (1) รัฐมีอํานาจในการควบคุมดูแลมูลนิธิ ตามมาตรา 128 (2) รัฐมีอํานาจเกีย ่ วกับเอกสารของมูลนิธิ ตามมาตรา 135 (3) รัฐมีอํานาจในการออกกฎหมายบังคับ ตามมาตรา 136 6.2 การประกอบขึ้นเปนมูลนิธิ 1. การกอตั้งมูลนิธิ ในกรณีผูขอตั้งยังมีชีวิตอยูตองยื่นคําขอจดทะเบียนมูลนิธิตอนายทะเบียนแหง ทองที่ที่สํานักงานใหญของมูลนิธิจัดตั้งขึ้น โดยทําเปนหนังสือระบุผูเปนเจาของทรัพยสิน รายการ ทรัพยสินที่จัดสรรสําหรับมูลนิธิ รายชื่อที่อยูและอาชีพของผูจะเปนกรรมการของมูลนิธิทุกคน พรอมกับ แนบขอบังคับของมูลนิธิมาพรอมกับคําขอดวย 2. การกอตั้งมูลนิธิโดยพินัยกรรมใหบุคคลผูที่ระบุในพินัยกรรมดําเนินการกอตั้งมูลนิธิ ดําเนินการตาม ขอ 1 หากไมขอจดทะเบียนกอตั้งมูลนิธิภายใน 120 วัน นับแตรูหรือควรจะไดรูขอ  ความในพินัยกรรมใหผูมี สวนไดเสียคนหนึ่งคนใด หรือพนักงานอัยการเปนผูขอจดทะเบียนมูลนิธิก็ได 3. ขอบังคับของมูลนิธิตองมีรายการตอไปนี้ (1) ชื่อมูลนิธิ (2) วัตถุประสงค (3) ที่ตั้งสํานักงานใหญและที่ตั้งสํานักงานสาขาทั้งปวง (4) ทรัพยสินของมูลนิธิขณะที่ตั้ง (5) ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการคณะกรรมการของมูลนิธิไดแก จํานวนกรรมการ การตัง้ กรรมการ วาระการดํารงตําแหนงของกรรมการ การพนจากตําแหนง และการประชุมของคณะกรรมการ (6) ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการมูลนิธิการจัดการทรัพยสินและบัญชีของมูลนิธิ 4. ขอบังคับของมูลนิธิสามารถแกไขไดโดยคณะกรรมการผูมีอํานาจแกไข หรือโดยขอบังคับของ มูลนิธิหรือโดยบทบัญญัติของกฎหมาย 5. มูลนิธิตองใชคําวา “มูลนิธิ” ประกอบชื่อของมูลนิธิ 6.2.1 การกอตั้งมูลนิธิ

เมื่อไดมีการยืน ่ ขอถอนการจัดตั้งมูลนิธิแลว (ก) ผูยื่นคําขอจะขอถอนการจัดตั้งมูลนิธิไดหรือไม อยางไร (ข) ทายาทของผูยื่นคําขอถอนการจัดตั้งไดหรือไม อยางไร เมื่อไดมก ี ารยืน ่ ขอจัดตั้งมูลนิธิแลว (ก) ผูยื่นคําขอยอมจะขอถอนคําขอได แตจะตองกระทํากอนนายทะเบียนจดทะเบียนมูลนิธิ หาก นายทะเบียนจดทะเบียนมูลนิธิแลวจะทําไดเพียงการเลิกมูลนิธิ (ข) ทายาทของผูจ  ัดตั้งไมมีสท ิ ธิเพิกถอนการจัดตั้งมูลนิธิเนื่องจากสิทธิเฉพาะตัวไมตกทอดไปยัง ทายาท 6.2.2 ขอบังคับของมูลนิธิ

มูลนิธิตั้งขึ้นมาโดยยังไมมีขอบังคับไดหรือไม ภายหลังจะทําไดหรือไม เพียงใด

และการแกไขเพิ่มเติมขอบังคับของมูลนิธิใน


31 กฎหมายบังคับวามูลนิธิจัดตั้งขึ้นมาไดจะตองมีขอบังคับของมูลนิธิ มิฉะนั้นไมอาจตั้งเปนมูลนิธิ ขึ้นมาไดสําหรับการแกไขเพิ่มเติมขอบังคับของมูลนิธน ิ ั้นกระทําไดเฉพาะกรณีทก ี่ ฎหมายใหอํานาจไว เทานั้นคือ (1) เพื่อใหสามารถดําเนินการตามวัตถุประสงคของมูลนิธิ หรือ ี ระโยชนนอย หรือ ไม (2) เมื่อมีพฤติการณเปลี่ยนแปลงไปเปนเหตุใหวัตถุประสงคของมูลนิธิมป อาจดําเนินการใหเปนประโยชนตามวัตถุประสงคของมูลนิธิ และวัตถุประสงคของมูลนิธิที่แกไขเพิ่มเติมนั้น ใกลชิดกับวัตถุประสงคเดิมของมูลนิธิ สวนการแกไขขอบังคับในรายละเอียดเรือ ่ งอื่นๆ สามารถทําไดไมมี กฎหมายหามแตอยางใด 6.2.3 ชื่อของมูลนิธิ

มูลนิธิที่ตั้งขึ้น จําเปนจะตองมีคําวา “มูลนิธิ” อยูขางหนาชื่อของมูลนิธิหรือไม อยางไร ตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย มาตรา 113 บัญญัติใหมูลนิธต ิ องใชชื่อซึง ่ มีคา ํ วา “มูลนิธ”ิ ประกอบกับชื่อของมูลนิธิ ดังนั้น การตัง ้ ชื่อของมูลนิธิจะตั้งอยางไรก็ได แตจา ํ เปนตองมีคําวา “มูลนิธ”ิ ประกอบชื่อเสมอ โดยจะเอาไวหนาหรือหลังชื่อของมูลนิธก ิ ็ได 6.3 การดําเนินงานของมูลนิธิ

1. คณะกรรมการมูลนิธิประกอบดวยบุคคลอยางนอยสามคม ในขอบังคับของมูลนิธิอาจกําหนดการ ตั้งคณะกรรมการใหมหรือการเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิไวอยางไรก็ได การเปลี่ยนแปลงจะตอง เปนไปตามขอบังคับนั้นหากมีการเปลี่ยนแปลงกรรมการไมวาดวยเหตุใด ตองนําไปจดทะเบียนภายใน สามสิบวันนับแตวันที่มีการแตงตั้งหรือเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธินั้น 2. คณะกรรมการของมูลนิธิเปนผูแทนของมูลนิธิในกิจการเกี่ยวกับบุคคลภายนอก แมจะปรากฏใน ภายหลังวากิจการที่คณะกรรมการมูลนิธไ ิ ดกระทําไปมีขอบกพรองเกี่ยวกับการแตงตั้งหรือคุณสมบัติของ กรรมการมูลนิธิ กิจการนั้นยอมสมบูรณ 3. ในกรณีที่กรรมการดําเนินการของมูลนิธิผิดพลาดเสื่อมเสียตอมูลนิธิ หรือดําเนินกิจการฝาฝน กฎหมายหรือขอบังคับของมูลนิธิ หรือกรรมการกลายเปนผูมีฐานะหรือความประพฤติไมเหมาะสมในกิจการ ตามวัตถุประสงคของมูลนิธิ นายทะเบียนหรือพนักงานอัยการ หรือผูมีสวนไดเสียคนหนึ่งคนใด อาจจะรอง ขอตอศาลใหมีคําสั่งถอดถอนกรรมการบางคนหรือทั้งคณะเสีย และแตงตั้งกรรมการใหมได 4. การดําเนินงานของมูลนิธิตองกระทําตามวัตถุประสงคของมูลนิธิตามที่ไดจดทะเบียนไว ทั้งการ จัดการทรัพยสินของมูลนิธิตองมิใชเปนการหาผลประโยชนเพื่อบุคคลหนึ่งบุคคลใด 6.3.1 จํานวนและการเปลี่ยนแปลงกรรมการของมูลนิธิ

ในกรณีที่กรรมการของมูลนิธิพนจากตําแหนง และไมมีกรรมการของมูลนิธิเหลืออยู หรือกรรมการ ที่เหลือไมอาจดําเนินการตามหนาที่ได ใครจะทําหนาที่ผูแทนมูลนิธิตอไป กรณีดง ั กลาวตองดูวา  ขอบังคับของมูลนิธิกา ํ หนดไวอยางไร ก็เปนไปตามนั้น หากขอบังคับไมได กําหนดไว กฎหมายกําหนดใหกรรมการที่พนจากตําแหนงปฏิบัตห ิ นาทีต ่ อไป จนกวานายทะเบียนจะแจง การรับจดทะเบียนกรรมการทีต ่ ั้งขึ้นใหม 6.3.2 กิจการที่คณะกรรมการดําเนินการ การที่กรรมการคนหนึ่งกระทําการเปนผูแทนของมูลนิธิในกิจการของมูลนิธิ

ผูกพันมูลนิธิหรือไม

เพียงไร กฎหมายบัญญัติไววา “คณะกรรมการของมูลนิธิเปนผูแทนของมูลนิธใิ นกิจการอันเกี่ยวกับ บุคคลภายนอก” ดังนั้น การจะเปนผูแทนของมูลนิธิในการกระทํากิจกรรมตางๆ ทีเ่ กี่ยวกับบุคคลภายนอก ในรูปของคณะกรรมการเพียงกรรมการคนใดคนหนึ่งแสดงเจตนาออกไปยอมไมผก ู พันมูลนิธซ ิ ึ่งกฎหมาย กําหนดใหมีคณะกรรมการไมนอยกวา 3 คน เปนผูแทนมูลนิธิ 6.3.3 การถอดถอนกรรมการมูลนิธิ

เหตุที่จะขอใหศาลสั่งถอดถอนกรรมการบางคนหรือทั้งคณะมีประการใดบาง เหตุที่จะขอศาลสั่งถอดถอนกรรมการบางคนหรือทั้งคณะมี 3 ประการดังนี้คอ ื (1) กรรมการดําเนินกิจการของมูลนิธิผิดพลาด เสื่อมเสียตอมูลนิธิ หรือ (2) ดําเนินกิจการฝาฝนกฎหมายหรือขอบังคับของมูลนิธิ หรือ (3) กรรมการกลายเปนผูมีฐานะหรือความประพฤติไมเหมาะสมในการดําเนินการตาม วัตถุประสงคของมูลนิธิ 6.3.4 การดําเนินงานตามวัตถุประสงคที่จัดตั้งมูลนิธิ


32 ขอบังคับของมูลนิธิจําเปนตองกําหนดวัตถุประสงคของมูลนิธิหรือไม และการกําหนดวัตถุประสงค ของมูลนิธิมีประโยชนอยางไรบาง มาตรา 112 บัญญัตว ิ า  “ขอบังคับของมูลนิธิอยางนอยตองมี...................” วัตถุประสงคของมูลนิธิ ดังนั้นมูลนิธิตางๆ จะตองกําหนดวัตถุประสงคของตนไวในขอบังคับเสมอ ประโยชนของการกําหนดวัตถุประสงคของมูลนิธิ ไดแก การจดทะเบียนกรรมการของมูลนิธิ โดยนายทะเบียนจะพิจารณาวาผูจะเปนกรรมการตองมีฐานะและความประพฤติที่เหมาะสมตาม ั จดทะเบียนให นอกจากนีค ้ ณะกรรมการซึ่งเปนผูแทนมูลนิธิจะตอง วัตถุประสงคของมูลนิธิมิฉะนั้นจะไมรบ ดําเนินการใหเปนไปตามวัตถุประสงคของมูลนิธิ หากทํานอกวัตถุประสงคของมูลนิธิยอมรับผิดเปนสวนตัว ไมผูกพันมูลนิธิ

การสิ้นสุดของมูลนิธิ 1. มูลนิธิซึ่งเลิกโดยผลของกฎหมายยอมเลิกดวยเหตุหนึ่งเหตุใดดังตอไปนี้ (1) เมื่อมีเหตุการณที่กําหนดในขอบังคับ (2) ถามูลนิธิตั้งขึ้นใชเฉพาะระยะเวลาใดเมื่อสิ้นระยะเวลานั้น (3) ถามูลนิธิตั้งขึ้นเพื่อวัตถุประสงคอยางใดและไดดําเนินการตามวัตถุประสงคสําเร็จบริบูรณแลว หรือวัตถุประสงคนั้นกลายเปนพนวิสัย (4) เมื่อมูลนิธิจะลมละลาย (5) เมื่อศาลมีคําสัง่ ใหเลิกมูลนิธิ 2. นายทะเบียน พนักงานอัยการหรือผูมส ี วนไดสวนเสียรองขอตอศาล จะสั่งใหเลิกมูลนิธิไดเมื่อ ปรากฏกรณีใดกรณีหนึ่งดังตอไปนี้ (1) วัตถุประสงคของมูลนิธิขัดตอกฎหมาย (2) มูลนิธิกระทําการขัดตอกฎหมาย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรืออาจเปนภยันตรายตอ ความสงบสุขของประชาชน หรือความมั่นคงของรัฐ (3) มูลนิธไ ิ มสามารถดําเนินการตอไปไมวาเพราะเหตุใดๆ หรือหยุดดําเนินกิจการตั้งแตสองปขึ้น ไป 3. เมื่อเลิกมูลนิธิใหใชวิธีการชําระบัญชีของหางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด และบริษัท จํากัด มาใชแกการบังคับชําระบัญชีมูลนิธิโดยอนุโลม แลวใหผูชําระบัญชีเสนอรายงานการชําระบัญชีตอ นายทะเบียนและใหนายทะเบียนเปนผูอนุมัติรายงานนั้น 4. เมื่อชําระบัญชีแลวทรัพยสินของมูลนิธิใหโอนทรัพยสินของมูลนิธิใหแกมูลนิธิ หรือนิติบุคคลซึ่งได ระบุชื่อไวในขอบังคับมูลนิธิหรือหากขอบังคับไมกําหนด เมื่อพนักงานอัยการ ผูชําระบัญชีหรือผูมีสวนได สวนเสียคนหนึ่งคนใดรองขอ ใหทรัพยสินนั้นโอนแกมูลนิธิหรือนิติบุคคลอื่นที่มีองมูลนิธิตกเปนของ แผนดิน 6.4

6.4.1 การเลิกมูลนิธิโดยผลของกฎหมาย เหตุใดบางที่ทําใหมูลนิธิตองเลิกโดยผลของกฎหมาย เหตุที่ทา ํ ใหมล ู นิธิเลิกโดยผลของกฎหมายตามมาตรา 130 มีดังนี้ คือ (1) เมื่อมีเหตุตามที่กา ํ หนดในขอบังคับ (2) ถามูลนิธต ิ ั้งขึน ้ ไวเฉพาะระยะเวลาใด เมือ ่ สิ้นระยะเวลานั้น (3) ถามูลนิธต ิ ั้งขึน ้ เพื่อวัตถุประสงคอยางใด และไดดา ํ เนินการตามวัตถุประสงคสา ํ เร็จบริบูรณ แลว หรือวัตถุประสงคนั้นกลายเปนพนวิสัย (4) เมื่อมูลนิธินั้นลมละลาย (5) เมื่อศาลมีคําสัง ่ ใหเลิกมูลนิธต ิ ามมาตรา 131 6.4.2 การเลิกมูลนิธิโดยคําสั่งศาล

มีเหตุใดบางที่จะรองขอตอศาลใหมีคําสั่งเลิกมูลนิธิได เหตุที่ตอ  งรองขอใหศาลมีคา ํ สั่งเลิกมูลนิธไ ิ ดตามมาตรา 31 มีดังนี้ คือ (1) เมื่อปรากฏวาวัตถุประสงคของมูลนิธิขด ั ตอกฎหมาย (2) เมื่อปรากฏวามูลนิธิกระทําการขัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรืออาจจะ เปนภยันตรายตอความสงบของประชาชนหรือความมั่นคงของรัฐ (3) เมื่อปรากฏวามูลนิธิไมสามารถดําเนินกิจการตอไปไดไมวาเพราะเหตุใดๆ หรือหยุดดําเนิน กิจการตั้งแตสองปขึ้นไป 6.4.3 การชําระบัญชีทรัพยสินของมูลนิธิเมื่อชําระบัญชีแลว การโอนทรัพยสินของมูลนิธิ เมื่อชําระบัญชีแลวใหแกมูลนิธิ อยางไรบาง

หรือนิติบุคคลอื่นมีหลักเกณฑ


33 การโอนทรัพยสินของมูลนิธิเมื่อชําระบัญชีแลว มีหลักเกณฑดังนี้ (1) ตองเปนมูลนิธินิติบค ุ คลที่มว ี ัตถุประสงค เพื่อสาธารณประโยชนอยางใดอยางหนึ่งตามมาตรา 110 และ (2) ตองเปนมูลนิธิและนิตบ ิ ุคคลที่ระบุชอ ื่ ไวในขอบังคับ

แบบประเมินผล หนวยที่ 6 นิติบุคคล : มูลนิธิ กฎหมายไดใหความหมายของมูลนิธิไววา “มูลนิธิ” ไดแก ทรัพยสินที่จัดสรรไวโดยเฉพาะสําหรับวัตถุประสงคเพื่อการ กุศล สาธารณะ การศาสนา ศิลปะ วิทยาศาสตร วรรณคดี การศึกษาหรือเพื่อสาธารณประโยชนอื่น โดยมิไดมุงหาผลประโยชนมา แบงปนกัน และไดจดทะเบียนตามบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย การจัดการทรัพยสินของมูลนิธิตองมิใชเปน การหาผลประโยชนเพื่อบุคคลใด นอกจากเพื่อดําเนินการตามวัตถุประสงคของมูลนิธินั้นเอง (มาตรา 110) มูลนิธิจึงตองประกอบดวยหลักเกณฑดังนี้ ทรัพยสินที่จัดสรรไวโดยเฉพาะ ตองมีวัตถุประสงคเพื่อสาธารณประโยชนเทานั้น มิไดมุงผลประโยชนมาแบงปนกัน ตองมิใชเปนการหาผลประโยชนเพื่อบุคคลใด ตองจดทะเบียนตาม ปพพ และเมื่อจกทะเบียนแลวเปนนิติบุคคล (มาตรา 122) การกอตั้งมูลนิธิ มูลนิธิอาจกอตั้งขึ้นไดเปน 2 กรณี คือ กรณีไมมีพินัยกรรม และกรณีมีพินัยกรรมการกอตั้งมูลนิธิทั้ง สองกรณีจะตองดําเนินการดังนี้ ตองมีขอบังคับมูลนิธิ (มาตรา 111) คือการตั้งมูลนิธิเริ่มแตการทําขอบังคับซึ่งแนนอนตองทําเปนหนังสือ ขอบังคับนี้ แตเดิมเรียก “ตราสาร” ขอบังคับของมูลนิธิอยางนอยตองมีรายการดังตอไปนี้ (มาตรา 112) • ชื่อมูลนิธิ ซึ่งจะตองมีคําวา “มูลนิธิ” ประกอบชื่อของมูลนิธิ เชน มูลนิธิโรงเรียนไกลกังวล • วัตถุประสงคของมูลนิธิ • ที่ตั้งสํานักงานใหญและที่ตั้งสํานักงานสาขาทั้งปวง • ทรัพยสินของมูลนิธิขณะจัดตั้ง • ขอกําหนดเกี่ยวกับคณะกรรมการของมูลนิธิ ไดแก จํานวนกรรมการ การตั้งกรรมการ วาระการดํารงตําแหนง ของกรรมการ การพนจากตําแหนงของกรรมการ และการประชุมคณะกรรมการ • ขอกําหนดเกี่ยวกับการจัดการมูลนิธิ การจัดการทรัพยสิน และบัญชีของมูลนิธิ การขอจดทะเบียนมูลนิธิ การบริหารงานของมูลนิธิ 9 มูลนิธิที่จดทะเบียนแลวเปนนิติบุคคล (มาตรา 122) 9 คณะกรรมการมูลนิธิจะตองประกอบไปดวยบุคคลอยางนอย 3 คน (มาตรา 111) ซึง่ ตางจากคณะกรรมการสมาคม ซึ่งกฎหมายไมไดกําหนดวามีอยางนอยกี่คน เกี่ยวกับบุคคลภายนอก กฎหมายกําหนดใหคณะกรรมการมูลนิธิเปน ผูแทนของมูลนิธิ (มาตรา 123) การเลิกมูลนิธิ มาตรา 130 มูลนิธิยอมเลิกดวยเหตุใดเหตุหนึ่งดังตอไปนี้ (๑) เมื่อมีเหตุตามที่กําหนดในขอบังคับ (๒) ถามูลนิธิตั้งขึ้นไวเฉพาะระยะเวลาใด เมื่อสิ้นระยะเวลานั้น (๓) ถามูลนิธิตั้งขึ้นเพือ ่ วัตถุประสงคอยางใด และไดดําเนินการตามวัตถุประสงคสําเร็จสมบูรณแลว หรือวัตถุประสงคนั้น กลายเปนพนวิสัย (๔) เมื่อมูลนิธินั้นลมละลาย (๕) เมื่อศาลมีคําสั่งใหเลิกมูลนิธิตามมาตรา 131

1. คณะกรรมการมูลนิธิตอง ประกอบดวยบุคคลจํานวนอยางนอย 3 คน

(มาตรา 111 มูลนิธิตองมีขอบังคับ และตองมีคณะกรรมการของมูลนิธิประกอบดวยบุคคลอยางนอยสามคน เปนผูดําเนินกิจการของ มูลนิธิตามกฎหมายและขอบังคับของมูลนิธิ )

2. บุคคลทีส ่ ามารถรองขอตอศาลใหมค ี ําสั่งถอดถอนกรรมการไดคือ (1) นายทะเบียน (2) พนักงานอัยการ (3) ผูมส ี วนไดเสีย (มาตรา 131 นายทะเบียน พนักงานอัยการ หรือผูมีสวนไดเสีย คนใดคนหนึ่งอาจรองขอตอศาลใหมีคําสั่งใหเลิกมูลนิธิไดในกรณีหนึ่ง กรณีใดดังตอไปนี้ (1) เมื่อปรากฏวาวัตถุประสงคของมูลนิธิขัดตอกฎหมาย (2) เมื่อปรากฏวามูลนิธิกระทําการขัดตอกฎหมายหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน หรืออาจเปนภยันตรายตอความสงบสุขของ ประชาชนหรือความมั่นคงของรัฐ (3) เมื่อปรากฏวามูลนิธิไมสามารถดําเนินกิจการตอไปไดไมวาเพราะเหตุใดๆ หรือหยุดดําเนินกิจการตั้งแตสองปขึ้นไป )

3. เมื่อเลิกมูลนิธิแลวตองปฏิบต ั ิดงั นี้ (1) ตองชําระบัญชี (2) โอนทรัพยสินใหมูลนิธิอื่นตามที่ขอบังคับมูลนิธิ กําหนดไว (3) ใหทรัพยสินโอนแกบุคคลอื่นที่มีวต ั ถุประสงคใกลชด ิ กับวัตถุประสงคนั้น (4) ถาเลิกตามคําสั่งศาลให ทรัพยสินของมูลนิธิตกเปนของแผนดิน (มาตรา 133 ในกรณีที่มีการเลิกมูลนิธิ ใหมีการชําระบัญชี มูลนิธิและใหนําบทบัญญัติในบรรพ 3 ลักษณะ 22 วาดวยการชําระบัญชี หางหุนสวนจดทะเบียน หางหุนสวนจํากัด และบริษัทจํากัด มาใชบังคับแกการชําระบัญชีมูลนิธิโดยอนุโลม ทั้งนี้ ใหผูชําระบัญชีเสนอรายงานการ ชําระบัญชีตอนายทะเบียน และใหนายทะเบียนเปนผูอนุมัติรายงานนั้น มาตรา 134 เมื่อไดชําระบัญชีแลว ใหโอนทรัพยสินของมูลนิธิใหแกมูลนิธิหรือนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงคตามมาตรา 110 ซึ่งได ระบุชื่อไวในขอบังคับของมูลนิธิ ถาขอบังคับของมูลนิธิมิไดระบุชื่อหรือนิติบุคคลดังกลาวไว พนักงานอัยการผูชําระบัญชีหรือผูมีสวนไดเสียคนหนึ่ง


34 คนใด นั้นได

อาจรองขอตอศาลใหจัดสรรทรัพยสินนั้นแกมูลนิธิหรือนิติบุคคลอื่นที่ปรากฏวามีวัตถุประสงคใกลชิดใกลชิดที่สุดกับวัตถุประสงคของมูลนิธิ

ถามูลนิธินั้นถูกศาลสั่งใหเลิกตามมาตรา 131 (1) หรือ (2) หรือการจัดสรรทรัพยสินตามวรรคหนึ่งไมอาจกระทําได ใหทรัพยสินของ มูลนิธินั้นตกเปนของแผนดิน )

4. อํานาจของรัฐเกี่ยวกับมูลนิธิ คือ (1) ออกกฎหมายบังคับ (2) ควบคุมดูแลมูลนิธิ (3) เก็บเอกสารของมูลนิธิ

(มาตรา 128 ใหนายทะเบียนมีอํานาจตรวจตราและควบคุมดูแลการดําเนินกิจการของมูลนิธิใหเปนไปตามกฎหมายและขอบังคับของ มูลนิธิ เพื่อการนี้ใหนายทะเบียนหรือพนักงานเจาหนาที่ซึ่งนายทะเบียนมอบหมายเปนหนังสือ มีอํานาจ (1) มีคําสั่งเปนหนังสือใหกรรมการ พนักงาน ลูกจางหรือตัวแทนของมูลนิธิชี้แจงแสดงขอเท็จจริงเกี่ยวกิจการมูลนิธิหรือเรียก บุคคล หรือใหสงหรือแสดงสมุดบัญชีและเอกสารตางๆ ของมูลนิธิเพื่อตรวจสอบ (2) เขาไปในสํานักงานของมูลนิธิในระหวางพระอาทิตยขึ้น และพระอาทิตยตกเพื่อตรวจสอบกิจการของมูลนิธิ ในการปฏิบัติตามวรรคหนึ่ง ถาเปนนายทะเบียนใหแสดงบัตรประจําตัวและถาเปนพนักงานเจาหนาที่ซึ่งไดรับมอบหมายใหแสดงบัตร ประจําตัวและหนังสือมอบหมายของนายทะเบียนตอผูที่เกี่ยวของ )

หนวยที่ 7 นิติกรรมและการแสดงเจตนา 1. นิติเหตุ คือเหตุการณใดๆ ที่ทําใหเกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิตามกฎหมาย 2. นิติกรรมคือการใดๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและใจสมัคร มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธ ขึ้นระหวางบุคคล เพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ 3. แบบแหงนิติกรรมอาจแบงออกได 5 ประเภทคือ 1) ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอ พนักงานเจาหนาที่ 2) ตองจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 3) ตองทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ 4) ทําเปนหนังสือระหวางกันเอง 5) แบบอื่นๆ ที่กฎหมายกําหนด 4. ประเภทของนิติกรรมนั้นแบงไดหลายประเภท ขึ้นอยูกับวาจะพิจารณาในดานใดอาจแบงออกได เปน 5 ประเภท 1) นิติกรรมฝายเดียวกับนิติกรรมหลายฝาย 2) นิติกรรมมีผลเมือ ่ ผูทํายังมีชีวิตอยูกับนิติ กรรมมีผลเมื่อผูทําตายแลว 3) นิติกรรมมีคาตางตอบแทนกับนิติกรรมไมมีคาตางตอบแทน 4) นิติกรรมมี เงื่อนไขกับนิติกรรมไมมีเงื่อนไข 5) นิติกรรมที่จะตองทําตามแบบจึงจะสมบูรณกับนิติกรรมซึ่งสมบูรณโดย เพียงการแสดงเจตนา 5. การแสดงเจตนาเปนสิ่งซึ่งทําใหอีกฝายหนึ่ง รูถึงความประสงคที่จะผูกนิติสัมพันธของผูแสดง เจตนา 6. การแสดงเจตนาตอบุคคลผูอยูเฉพาะหนาสมบูรณเปนการแสดงเจตนาเมื่อตางฝายเขาใจกัน 7. การแสดงเจตนาทําใหแกบุคคลผูอยูหางโดยระยะทางยอมมีผลบังคับแตเวลาที่ไปถึงคูกรณีอีก ฝายหนึ่งนั้นเปนตนไป แตถาบอกถอนไปถึงผูนั้นกอนแลวหรือพรอมกันไซร แสดงเจตนานั้นก็ยอมตกเปน อันไรผล อนึ่งเมื่อเจตนาไดสงไปแลวถึงแมภายหลังผูแสดงเจตนาจะตายหรือตกไปเปนไรความสามารถ ทานวาหาเปนเหตุทําใหความสมบูรณแหงการแสดงเจตนานั้นเสื่อมเสียไปไม 8. การใดมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง โดยกฎหมายก็ดี เปนการพนวิสัยก็ดีเปนการขัดขวาง ตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนก็ดี การนั้นทานวาเปนโมฆะกรรม (ทาตรา 150) 7.1 นิติเหตุและลักษณะของนิติกรรม

1. นิติกรรมนั้นไดแก การใดๆ อันทําลงไปโดยชอบดวยกฎหมาย และใจสมัครมุงโดยตรงตอการผูก นิติสัมพันธระหวางบุคคลเพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ 2. ผลของนิติกรรม คือ เกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิโดยมีผลเกิดความผูกพันทางกฎหมายแกคูกรณี ตามวัตถุประสงคแหงนิติกรรมนั้น 3. นิติเหตุเกิดจากเหตุการณธรรมชาติและการกระทําของบุคคล 4. นิติเหตุ คือเหตุการณใดๆ ที่ทําใหเกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิตามกฎหมาย 7.1.1 นิติเหตุและประเภทของนิติเหตุ นิติเหตุแบงออกไดเปนกี่ประเภท อะไรบาง นิติเหตุแบงไดเปน 2 ประเภทคือ (1) นิติเหตุที่เกิดจากเหตุการณธรรมชาติ (2) นิติเหตุที่เกิดจากการกระทําของบุคคลซึง ่ อาจจะเปนการกระทําโดยชอบและโดยไมชอบดวย กฎหมาย

(ก) นายเกง ซึ่งเปนเจาหนี้เงินกูนายเฮ็งไดทําสัญญารับ นายซวย เขาเปนผูค้ําประกันเงินกูนั้น


35 (ข) นายบังเอิญ เก็บนาฬิกาไดเรือนหนึ่งในโรงหนังไมทราบวาใครเปนเจาของ จึงนําไปโรงพัก มอบใหตํารวจ ตํารวจสืบในเวลาตอมาวา นายเลินเลอเปนเจาของนาฬิกา นายบังเอิญมีสิทธิเรียกรอง รางวัลจากนายเลินเลอไดตาม ปพพ. มาตรา 1324 นิติสัมพันธ (ความสัมพันธทางดานกฎหมาย) ระหวางนายเกงกับนายซวยในขอ ก ก็ดี กับนิติ สัมพันธระหวางนายบังเอิญและนายเลินเลอในขอ ข ก็ดี มีลักษณะแตกตางกันอยางไร นิติสัมพันธระหวาง นายเกง กับ นายซวย เปนนิติกรรม นิติสัมพันธระหวาง นายบังเอิญ และนายเลินเลอเปนนิติเหตุ 7.1.2 นิติเหตุกับเหตุการณธรรมชาติ และนิติเหตุกับนิติกรรม

การกระทําตางๆ ดังตอไปนี้ เปนนิติกรรมหรือไม เพราะเหตุใด

1. ตอยตอบตกลงไปดูหนังตามคําชวนของโตง ไมใชนิติกรรม เพราะเปนการแสดงไมตรีทางสังคม 2. นายดางบอกเลิกสัญญาเชาบานที่นายเดนเชาอยู เปนนิติกรรม เพราะทําใหสท ิ ธิในสัญญาเชาระงับไป 3. นายซุมซามขับรถชนนายเซอซาเปนเหตุใหนายเซอซาตองไดรับบาดเจ็บ ไมใชนิติกรรม เปนนิติเหตุ เพราะเปนการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย 7.1.3 ลักษณะของนิติกรรม นิติกรรมคืออะไร อธิบาย และยกตัวอยางประกอบ ลักษณะทั่วไปของนิติกรรมบัญญัติไวในมาตรา 149 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยวา “นิติกรรมนั้น ไดแกการใดๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมาย และดวยใจสมัคร มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล เพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับซึ่งสิทธิ” ซึง ่ จากบทบัญญัติของกฎหมายจากบทบัญญัติมาตรา 149 นี้ เรา อาจบอกลักษณะทั่วไปของนิติกรรมไดเปน 5 ประการดวยกันคือ (1) การกระทําใดๆ ของบุคคล (2) กระทําโดยชอบดวยกฎหมาย (3) กระทําโดยใจสมัคร (4) มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล (5) กระทําเพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือชําระหนี้ ตัวอยางเชน สัญญาประเภทตางๆ เชน สัญญาซื้อขาย เชาซือ ้ จํานอง จํานํา การบอกลางโมฆียกรรม

7.1.4 ผลของนิติกรรม ผลของนิติกรรมคืออยางไร ผลของนิติกรรมนั้นจะมีผลเมื่อใดและจะสิน ้ ผลเมื่อใดนัน ้ ยอมขึ้นกับบทกฎหมาย แตละลักษณะที่ ไดบังคับไวเปนเรื่องๆ ไป จะวางหลักแนนอนตายตัวไปไมได เพราะนิตก ิ รรมกอใหเกิดการเคลื่อนไหวใน สิทธิแตกตางกันไป 7.2 แบบและประเภทของนิติกรรม

1. กฎหมายกําหนดแบบของนิติกรรมขึ้นเพื่อคุมครองประโยชนของรัฐและประชาชนโดยสวนรวม 2. แบบแหงนิติกรรมตามประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยอาจแบงออกเปน 5 ประเภท คือ 1) ตอง ทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 2) ตองจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ 3) ตองทํา เปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ 4) ทําเปนหนังสือระหวางกันเอง 5) แบบอื่นๆ ที่กฎหมายกําหนด 3. นิติกรรมที่ทําไมถูกตองตามแบบมีผลใหนิติกรรมนั้นเปนโมฆียะคือเสียเปลา 4. ประเภทของนิติกรรมนั้นแบงไดหลายประเภทขึ้นอยูกับวาจะพิจารณาในดานใด ซึ่งอาจแบงได ดังนี้ 1) นิติกรรมฝายเดียวกับนิติกรรมหลายฝาย 2) นิติกรรมมีผลเมื่อผูทํายังมีชีวิตอยูกับนิติกรรมมีผลเมื่อ ผูตายแลว 3) นิติกรรมมีคาตางตอบแทนกับนิติกรรมไมมีคาตอบแทน 4) นิติกรรมมีเงื่อนไขกับนิติกรรมไม มีเงื่อนไข 5) นิติกรรมที่จะตองทําตามแบบจึงจะสมบูรณกับนิติกรรมซึ่งสมบูรณโดยเพียงการแสดงเจตนา 7.2.1 แบบของนิติกรรม

แบบของนิติกรรมแบงออกไดเปนกี่แบบ อะไรบาง แบบของนิตก ิ รรมอาจแบงออกเปน 5 ประเภท คือ (1) ตองทําเปนหนังสือและจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ (2) ตองจดทะเบียนตอพนักงานเจาหนาที่ (3) ตองทําเปนหนังสือตอพนักงานเจาหนาที่ (4) ทําเปนหนังสือไวเปนหลักฐานระหวางเอง (5) แบบอื่นๆ ที่กฎหมายกําหนด


36 นิติกรรมที่ทําไมถูกแบบจะมีผลอยางไร ผลของนิติกรรมทีท ่ า ํ ไมถก ู ตองตามแบบทําใหนิตก ิ รรมนั้นตกเปนโมฆะ คือ เสียเปลา แตบางกรณีแม นิติกรรมนี้จะทําไมถูกแบบ แตก็อาจจะสมบูรณเขานิติกรรมแบบอืน ่ ๆ ได เชน ตามมาตรา 1658 ที่ พินัยกรรมฝายการเมืองซึง ่ อาจสมบูรณ เชน นิติกรรมไดโดยเขาแบบของพินัยกรรมอยางอื่น 7.2.2 ประเภทของนิติกรรม นิติกรรมแบงไดเปนกี่ประเภท อะไรบาง นิติกรรมแบงไดหลายประเภทขึ้นอยูกบ ั วาจะพิจารณาในดานใด ในทีน ่ ี้อาจแบงได 5 ประเภท (1) นิติกรรมฝายเดียวกับนิตก ิ รรมหลายฝาย (2) นิติกรรมมีผลเมื่อผูท  ํายังมีชีวิตอยูกบ ั นิตก ิ รรมมีผลเมือ ่ ผูทา ํ ตายแลว (3) นิติกรรมมีคาตางตอบแทนกับนิตก ิ รรมไมมีคาตางตอบแทน ่ นไข (4) นิติกรรมมีเงื่อนไขกับนิตก ิ รรมไมมีเงือ (5) นิติกรรมที่จะตองทําตามแบบจึงจะสมบูรณกบ ั นิตก ิ รรมซึ่งสมบูรณโดยเพียงการแสดงเจตนา 7.3 การแสดงเจตนา

1. การแสดงเจตนาตอบุคคลเฉพาะหนาสมบูรณเมื่อคูกรณีไดเขาใจกัน 2. การแสดงเจตนาตอบุคคลที่อยูหางโดยระยะทางยอมสมบูรณเปนการแสดงเจตนาเมื่อไดสงไปแต จะมีผลก็ตอเมื่อเวลาที่ไปถึงคูกรณีอีกฝายหนึ่ง 3. เมื่อเจตนาไดสงไปแลวถึงแมวาในภายหลังผูแสดงเจตนาจะตายหรือตกเปนคนไรความสามารถก็ ตามการแสดงเจตนานั้นก็ยังสมบูรณ 4. ถาคูกรณีอีกฝายหนึ่งเมื่อไดรับซึ่งการแสดงเจตนานั้นเปนผูเยาวก็ดี เปนผูที่ศาลไดสั่งเปนคนไร ความสามารถก็ดี การแสดงเจตนานั้นทานหามมิใหยกขึ้นเปนขอตอสูคูกรณีนั้น แตขอความนี้ทานมิใหใช บังคับ หากปรากฏวาผูแทนโดยชอบธรรมไดรูดวยแลว 5. ในการตีความการแสดงเจตนานั้นทานใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงกวาถอยคําสํานวนตาม ตัวอักษร 7.3.1 การแสดงเจตนาตอบุคคลผูอยูเฉพาะหนาและตอบุคคลที่อยูหางโดยระยะทาง การแสดงเจตนาตอบุคคลเฉพาะหนาสมบูรณเปนการแสดงเจตนาเมื่อใด สมบูรณเปนการแสดงเจตนาเมื่อคูกรณีเขาใจกัน และตางฝายตางไดรูเจตนาซึ่งกันและกัน

การแสดงเจตนาตอบุคคลที่อยูหางโดยระยะทาง สมบูรณเปนการแสดงเจตนา และมีผลเมื่อใด ตามนัยแหงมาตรา 130 (วรรค 2) การแสดงเจตนาตอบุคคลที่อยูห  างโดยระยะทางยอมสมบูรณ เปนการแสดงเจตนาเมื่อไดสงไป และมีผลก็ตอ  เมือ ่ เวลาที่ไปถึงคูก  รณีอก ี ฝายหนึ่งตามนัยมาตรา 130 (วรรคแรก) การไปถึงนั้นไมจําเปนที่คก ู รณีจะตองไดรู 7.3.2 การแสดงเจตนาตอผูเยาวและคนไรความสามารถ

อธิบายหลักเกณฑการแสดงเจตนาตอผูเยาว และคนไรความสามารถ การแสดงเจตนาตอผูเยาวและคนไรความสามารถกฎหมายบัญญัติหลักเกณฑไวในมาตรา 131 คือจะยกขึ้นเปนขอตอสูบ  ุคคลดังกลาวไมได เวนแตผูแทนโดยชอบธรรมของบุคคลนั้นๆ จะไดรูการแสดง เจตนาจึงจะมีผล แตอยางไรก็ดต ี ามมาตรา 28 ซึ่งเปนกรณีที่ผูเยาวอาจมีฐานะเสมอดังบุคคลผูบรรลุนิติ ภาวะ ดังนั้นไมตองคํานึงถึงผูแทนโดยชอบธรรมแตอยางไร 7.3.3 การตีความการแสดงเจตยา

อธิบายการตีความการแสดงเจตนา หลักการตีความการแสดงเจตนา บัญญัตไ ิ วในมาตรา 132 วาใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวา ถอยสํานวนความตัวอักษรแตเมื่อกฎหมายใชคําวาตีความ ดังนั้นจะใชการตีความการแสดงเจตนาเมื่อกรณี เปนที่สงสัยและการตีความตองคํานึงถึงหลักตามมาตรา 10 11 12 13 และ 14 ประกอบดวย 7.4 หลักการขัดขวางเจตนา

1. วัตถุประสงคคือประโยชนสุดทายที่ผูแสดงเจตนาทํานิติกรรมมุงประสงค 2. การอันเปนพนวิสัยคือเรื่องที่ไมเปนวิสัยที่จะทําได 3. การขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน ถือหลักวาเปนสิ่งที่กระทบถึง ประโยชนของบุคคลทั่วไปแลว ก็เปนเรื่องเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยของประชาชน และในเรื่องศีลธรรม อันดีนั้น เปนเรื่องศีลธรรมของสังคม


37 4. กฎหมายเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน มีหลักพิจารณาวาเปนบท บัญญัติกฎหมายที่มีลักษณะบังคับใหกระทําโดยไมอาจเลือกกระทําได และเปนกฎหมายที่กระทบหรือ เกี่ยวของกับประโยชนของประชาชนทั่วไป มิใชเฉพาะแตคูกรณีรวมทัง้ กระทบตอศีลธรรมของสังคมดวย 7.4.1 วัตถุประสงคที่เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย

วัตถุที่ประสงคคืออะไร

วัตถุประสงค คือประโยชนสุดทายที่ผูแสดงเจตนาทํานิติกรรมปรารถนามุง  ประสงคไววา  จะใหเกิด มีขึ้นเปนอยางไร โดยอาศัยนิตก ิ รรมนั้นเปนประโยชนเกิดผลสุดทายที่นต ิ ิกรรมนั้นจะพึงอํานวยให วัตถุประสงคมไ ี ดแตในการทํานิตก ิ รรมเทานั้น วัตถุประสงคแหงนิตก ิ รรมตางกับวัตถุแหงหนี้มีไดเพียง 3 ประการ คือ การกระทํา งดเวนการกระทํา และการสงมอบทรัพยสิน

วัตถุที่ประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย กฎหมายอยางไร

คืออยางไร

และถากระทําแลวจะมีผลใน

วัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมาย คือการที่บค ุ คลใดมีเจตนาทํานิตก ิ รรมเพื่อ ประโยชนที่จะไดมาซึง ่ สิ่งทีไ ่ มชอบดวยกฎหมาย หรือกระทําการทีก ่ ฎหมายบัญญัติหา  มได เชนสัญญาซื้อ ขายปนเถือ ่ น สัญญาจางใหไปวางเพลิง ปนเถือ ่ นเปนสิ่งที่มีไวในครอบครองเปนการผิดกฎหมาย การ วางเพลิงเปนการกระทําทีผ ่ ด ิ กฎหมาย หรืออาจเปนกรณีซึ่งปฏิบัติการอันชอบดวยกฎหมายแลวแตมีมี วัตถุประสงคเพิ่มเติมในทางผิดกฎหมาย เชน ซื้อมีดไปเพื่อใชฆาคน ซื้อปุยไปเพือ ่ ใสตนกัญชา ผลในกฎหมายคือ การที่มว ี ัตถุทป ี่ ระสงค เปนการตองหามชัดแจงโดยกฎหมายตกเปนโมฆะคือ เสียเปลาไมมผ ี ลบังคับ 7.4.2 วัตถุประสงคเปนการพนวิสัย

วัตถุประสงคที่เปนการพนวิสัยคืออะไร มีผลในกฎหมายอยางไร คือประโยชนสุดทายทีผ ่ ูแสดงเจตนาทํานิติกรรมมุง  ประสงคไววา  จะใหเกิดขึ้นนั้น เปนเรื่องที่ไมเปน วิสัยที่จะทําได อาจเปนกรณีคนทั่วไปทําไมได เชน เสกคนใหเปนเทวดา ลองหนหายตัว เปนตน หรืออีกนัย หนึ่งอาจผูกวาเปนเรือ ่ งพนวิสัยทีเดียวแตอาจเปนกรณีอันเปนวิสัยโดยปกติ แตเกิดเปนพนวิสัยเสียแลวก็ได ผลในทางกฎหมายคือ การที่มีวต ั ถุประสงคเปนการพนวิสัยตกเปนโมฆะคือเสียเปลาไมมีผลบังคับ 7.4.3 วัตถุประสงคเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนและกฎหมาย อันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดี

วัตถุประสงคเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน คืออะไร

คือประโยชนสุดทายทีผ ่ ูแสดงเจตนาทํานิติกรรมมุง  ประสงคไวขด ั กับสิ่งที่กระทบถึงประโยชน บุคคลทั่วไปหรือประชาชน หรือกระทบถึงศีลธรรมในสังคม

กฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน คืออะไร

คือกฎหมายซึง ่ มีลักษณะบังคับใหกระทําโดยมิอาจเลือกกระทําไดและเปนกฎหมายซึ่งกระทบหรือ เกี่ยวของกับประโยชนของประชาชนทัว ่ ไปมิใชเฉพาะแตคูกรณี รวมทั้งกระทบตอศีลธรรมอันดีของสังคม

วัตถุประสงคเปนการขัดตอความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชน เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยและศีลธรรมอันดีของประชาชนตางกันอยางไร

และกฎหมายอัน

วัตถุประสงคเปนการขัดตอการขัดตอความสงบเรียบรอย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชนนับเปน เรื่องซึ่งเกิดจากการแสดงเจตนาของการทํานิตก ิ รรมดังนั้นจึงเกิดขึน ้ จากการแสดงเจตนา สวนกฎหมายอัน เกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนนั้น เปนเรื่องที่มีบทบัญญัติในกฎหมายแนนอน ตายตัว แตหลักเกณฑที่จะพิจารณาวาการใดๆเกีย ่ วกับความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นั้น ใชในหลักการพิจารณาเชนเดียวกัน

แบบประเมินผล หนวยที่ 7 นิติกรรมและการแสดงเจตนา มาตรา 149 นิติกรรม หมายความวา การใดๆ อันทําลงโดยชอบดวยกฎหมายและดวยใจสมัคร มุงโดยตรงตอการผูก นิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล เพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ จากบทบัญญัติของมาตรานี้ อาจบอกลักษณะของนิติกรรมไดเปน 5 ประการดวยกันคือ (1) การกระทําใดๆของบุคคล (2) กระทําโดยชอบดวยกฎหมาย (3) กระทําดวยใจสมัคร (4) มุงโดยตรงตอการผูกนิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล (5) กระทําเพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิ นิติเหตุ คือเหตุการณใดๆ ที่ทําใหเกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิตามกฎหมาย ประเภทของนิติเหตุ มี 2 ประเภทคือ


38 (1) นิติเหตุที่เกิดจากเหตุการณธรรมชาติ โดยปกติแลวเหตุการณตามธรรมชาติไมมีผลในกฎหมายแตอยางใด เชนฝน ตก ฟารองน้ําทวม มีเหตุการณตามธรรมชาติบางประการซึ่งกอใหเกิดความเคลื่อนไหวในสิทธิได เชนการเกิด การตาย ที่งอกริ ตลิ่ง เปนเหตุการณนอกเหนือเจตนาของมนุษยแตกฎหมายยอมรับบังคับใหเกิดสิทธิและหนาที่ขึ้นได (2) นิติเหตุที่เกิดจากการกระทําของบุคคล คือนิติเหตุซึ่งบุคคลเปนผูกอใหเกิดขึ้นนั่นเอง แบงออกไดเปน 2 ชนิด คือ การกระทําที่ชอบดวยกฎหมายและการกระทําที่ไมชอบดวยกฎหมาย การกระทําของบุคคลที่ชอบดวยกําหมาย การกระทําที่อยูในกรอบภายใตบังคับแหงกฎหมายโดยผูกระทํามี เจตนาหรือตั้งไวใหเกิดผลในกฎหมายขึ้น การกระทําของบุคคลในลักษณะนี้เรียกวา นิติกรรม การกระทําที่เกิดขึ้นเองโดยอํานาจ ของกฎหมาย ผลในกฎหมายที่เกิดขึ้นเองแมวาผูก  ระทํามิไดตั้งใจใหเกิดผลในทางกฎหมาย เชน เรื่องการจัดการงานนอกสั่ง เรื่อง ลาภมิควรได การกระทําที่มิชอบดวยกฎหมาย เชนการกระทําละเมิด ซึ่งไดแกการกระทําผิดกฎหมายทําใหผูอื่นไดรับความ เสียหาย เหตุการณตามธรรมชาติอยางใดที่กฎหมายยอมรับใหเกิดผลทางกฎหมายโดยกอใหเกิดสิทธิและหนาที่ระหวางบุคคล ขึ้น เหตุนั้นๆ ยอมเปนนิติเหตุทั้งสิ้น กลาวโดยสรุปไดวานิติเหตุนั้นอาจเกิดขึ้นไดโดยเหตุการณธรรมชาติ แตเหตุการณธรรมชาติ โดยทั่วไปแลวไมใชนิติเหตุ การใดเปนนิติกรรม การนั้นยอมเปนนิติเหตุอยางหนึ่งเสมอ แตนิติเหตุไมจําเปนตองเปนนิติกรรมเสมอไป วัตถุประสงคของนิติกรรม คือ ประโยชนสุดทายหรือความมุงหมายสุดทายที่ผูทํานิติกรรมเจตนาที่จะใหเกิดผล็อยางใด อยางหนึ่งขึ้น นิติกรรมแบงออกเปน 5 ประเภท คือ (๑) นิติกรรมฝายเดียว และนิติกรรมหลายฝาย – นิติกรรมฝายเดียว เชน การทําพินัยกรรม คํามั่นจะใหรางวัล การบอก ลางโมฆียะกรรม การใหสัตยาบัน คําเสนอหรือคําสนอง - สวนนิติกรรมหลายฝาย อาจเรียกเปนนิติกรรมสองฝาย นิติกรรม ประเภทนี้คือ สัญญานั่นเอง (๒) นิติกรรมมีผลเมื่อผูทํายังมีชีวิตอยูกับนิติกรรมมีผลเมื่อผูทําตายแลว (๓) นิติกรรมมีคาตางตอบแทนกับนิติกรรมไมมีคาตางตอบแทน – นิติกรรมที่มีคาตางตอบแทน เชน ซื้อขาย เชาทรัพย จางทําของ จางแรงงาน --สวนนิติกรรมไมมีคาตางตอบแทน เชน พินัยกรรม การใหโดยเสนหา ยืมใชคงรูป ฝากทรัพยไมมี บําเหน็จ (๔) นิติกรรมมีเงื่อนไข เงื่อนเวลา กับนิติกรรมไมมีเงื่อนไขเงื่อนเวลา (๕) นิติกรรมที่จะตองทําตามแบบจึงจะสมบูรณกับนิติกรรมซึ่งสมบูรณโดยการแสดงเจตนา มาตรา 150 การใดมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดแจง โดยกฎหมายเปนการพนวิสัยหรือเปนการขัดตอความสงบ เรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นเปนโมฆะ มาตรา 151 การใดเปนการแตกตางกับบทบัญญัติของกฎหมาย ถามิใชกฎหมายอันเกี่ยวกับความสงบเรียบรอยหรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน การนั้นไมเปนโมหะ

1. ในกรณีที่ไมมีกฎหมายลายลักษณอักษรมาปรับแกคดี ศาลตอง วินิจฉัยตามคลองจารีตประเพณี 2. ในเรื่องที่เกี่ยวกับเหตุสุดวิสย ั ไดแก (ก) น้ําทวมทําใหถนนขาดทําใหไมสามารถเดินทางได (ข) ฟาผา โคตาย (ค) โจรปลน (ง) สงคราม 3. ที่งอกริมตลิ่ง ถือวาเปนนิติเหตุ 4. การปลดหนี้ ถือวาเปนนิติกรรม 5. นิติกรรมซึ่งทําไมถูกแบบ มีผลใหนิติกรรมนั้นเปนโมฆะ มาตรา 152 การใดมิไดทําใหถูกตองตามที่กฎหมายบังคับไว การนั้นเปนโมฆะ มาตรา 153 การใดมิไดเปนไปตามบทบัญญัติของกฎหมายวาดวยความสามารถของบุคคลนั้นเปนโมฆียะ

6. พินัยกรรม ถือเปนนิติกรรมฝายเดียว ิ รรม 7. การทําเปนหนังสือระหวางกัน ถือเปนแบบของนิตก 8. ผูเยาวบรรลุนิตภ ิ าวะ เปนนิติเหตุ

หนวยที่ 8 การควบคุมการแสดงเจตนา 1. กฎหมายรับรองหลักในเรื่องความศักดิ์สิทธิ์ในการแสดงเจตนาของบุคคลสําคัญ เมื่อบุคคลได แสดงเจตนาออกมาแลว ก็ตองผูกพันตามนั้น แมในใจของผูแสดงเจตนาจะไมตองผูกพันก็ตาม 2. การแสดงเจตนาเขาทํานิติกรรมจะตองเกิดจากเจตาที่แทจริง หากการแสดงเจตนานั้นวิปริตอาจ เนื่องจากถูกขมขูหรือถูกกลฉอฉลหรือสําคัญผิดก็ตาม ซึ่งทําใหการแสดงเจตนานั้นไมตรงกับเจตนาภายใน อันแทจริง หรืออาจจะเรียกวา เปนการแสดงเจตนาโดยไมสมัครใจ กฎหมายจึงตองเขามาควบคุมเพื่อ ความเปนธรรม 8.1 การแสดงเจตนาที่ไมตรงกับเจตนาที่แทจริง

1. เจตนาซอนเรนคือ ความตั้งใจที่จะไมผูกพันตามเจตนาที่ตนไดแสดงออกไป ผลของการแสดง เจตนาซอนเรนคือ ตองผูกพันตามที่ตนไดแสดงออกมา เวนแตคูกรณีอีกฝายหนึ่งจะไดรูถึงเจตนาอันซอน เรนอยูในใจของผูแสดงเจตนานั้น


39 2. เจตนาลวง คือ บุคคลสองฝายสมคบหรือหลอกบุคคลบุคคลอื่นวามีนิติกรรมซึ่งคูก  รณีทั้งสองฝาย ไดทําขึ้นจริง แตที่จริงแลวไมมี ผลของการแสดงเจตนาลวงเปนโมฆะ แตหามยกขึ้นเปนขอตอสูกับ บุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริต และตองเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้น 3. นิติกรรมอําพราง คือ การแสดงเจตนาลวงอยางหนึ่งซึ่งมีการทํานิติกรรมขึ้น 2 นิติกรรม โดยมีนิติ กรรมซึ่งคูกรณีมิไดมุงผูกพันกันจริง อําพราง คือ ปกปดนิติกรรมอีกอันหนึ่งซึ่งคูกรณีตองการจะผูกพันใหมี ผลทางกฎหมายอยางแทจริง ผลของการทํานิติกรรมอําพรางคือ ใหนําบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับ นิติกรรมที่ถูกอําพรางมาใชบังคับ 8.1.1 การแสดงเจตนาซอนเรน

ก มีนาฬิกาสวยอยูเรือนหนึ่ง ข ออกปากขอยืมหลายหนในที่สุด ก โกรธจึงถอดนาฬิกาใหแลว พูดวา “รําคาญจริงเอาอยากไดเอาไปใสใหพอใจเลยไป” เชนนี้ความผูกพันระหวาง ก และ ข จะมีผล อยางไรในกฎหมาย

ตามนัยแหงมาตรา 154 สัญญายืมระหวาง ก และ ข นั้นสมบูรณมผ ี ลผูกพันกันตามกฎหมาย ก จะอางเจตนาซอนเรนของตนที่ประชดใหนาฬิกา ข ยืมดวยความโกรธมาเปนขออางไมไดเพราะ ข ไม  กรณีฟงไดวา  ข เองก็รอ ู ยูวา  ที่ ก ทําไปนั้นเปน สามารถจะรูถง ึ เจตนาซึ่งซอนเรนอยูในใจของ ก ได แตถา การประชดตน ก ไมมีเจตนาจะใหยืม เชนนี้ เมื่อตางฝายตางรูถง ึ เจตนาที่แทจริงทั้งสองฝายก็ไมมีความ ผูกพันตามสัญญายืม สัญญายืมจึงเปนโมฆะ ใชบง ั คับไมได 8.1.2 เจตนาลวง เจตนาลวงคืออะไร มีผลในกฎหมายอยางไร (1) คือตองมีบุคคล 2 ฝายสมรูก  ันหรือสมคบกันหลอกคนอืน ่ วามีนิตก ิ รรมซึ่งคูก  รณีทง ั้ 2 ฝายได ทําขึ้นแตทจ ี่ ริงแลวไมมีตามนัยแหงมาตรา 155 (2) ผลของการแสดงเจตนาลวงนั้นตามนัยทาตรา 155 กฎหมายบัญญัติใหเปนโมฆะคือเสียเปลา ไมมีผลในกฎหมาย เพราะการแสดงเจตนาลวงนั้นถือวาไมมีอะไรที่จะผูกพันกันเลย แตสมคบทําใหคนอื่น  การแสดงเจตนาลวงนั้นมี เขาใจผิดวามีความผูกพันกัน ดังนั้นระหวางคูกรณีจึงไมมีอะไรผูกพันกัน แตถา ผลทําใหบค ุ คลภายนอกผูซง ึ่ ตองทําการโดยสุจริต และตองเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้น แลวยก ความเปนโมฆะในขอนี้มาใชยันบุคคลภายนอกไมได 8.1.3 นิติกรรมอําพราง

ข มีรถจักรยาน 2 คัน คันหนึ่งใหม อีกคันหนึ่งเกา จักรยานคันเกา ข ไดใหแก ก เพื่อนของตนขอ ยืมใชชั่วคราว แต ก และ ข ก็ไดบอกแกคนทั่วไปวา ข ไดขายจักรยานคันเกาให ก แลวเพราะไมตองการ ใหเพื่อนคนอื่นๆ มาขอยืมใชอีกตอมามีคนมาติดตอขอซื้อจักรยานคันเกา ข จึงคิดจะขายจักรยานคันเกา เสียเพราะยังไดเงินใชบางดีกวาให ก ยืมใชเปลาๆ ข จึงทวงรถจักรยานจาก ก ก ไมยอมใหโดยอางวา ไดบออกคนอื่นๆไปแลววาไดซื้อจักรยานมาแลว แลวจะมาทวงคืนไดอยางไร เชนนี้ความผูกพันระหวาง ก และ ข ในกฎหมายจะมีผลอยางไร ทั้ง ก และ ข ไดทํานิตก ิ รรมอําพรางขึ้นคือไดทํานิตก ิ รรมสัญญาขึน ้ และสัญญาซื้อขายนั้นทําขึ้น เพื่อปดบังอําพรางสัญญายืมซึ่งทั้ง ก และ ข ตองปดบังอําพรางไว ตามนัยแหงมาตรา 155 วรรคสอง ใหนา ํ บทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องนิตก ิ รรมที่ถก ู อําพรางไว ื สัญญายืมในเมื่อแตแรก ก และ ข ตองการผูกพันกันตาม มาใชบังคับ ในที่นี้นิติกรรมที่ถก ู อําพรางไวคอ สัญญายืมแลว ก จะไมยอมคืนจักรยานไมได เพราะสัญญาซือ ้ ขายซึ่งทําไวหลอกชาวบานนั้นตกเปนโมฆะ 8.2 การแสดงเจตนาโดยวิปริต

1. การแสดงเจตนาถาทําดวยสําคัญผิดในสิ่งที่เปนสาระสําคัญ แหงนิติกรรมเปนโมฆะแตถาความ สําคัญผิดนั้นเปนเพราะความประมาทเลินเลออยางรายแรงของบุคคลผูแสดงเจตนาไซร ทานวาบุคคลผูนั้น ถือเอาความไมสมบูรณนั้นมาใชประโยชนแกตนไมได 2. การแสดงเจตนา ถาทําดวยสําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย ซึ่งตามปกติยอมนับวา เปนสาระสําคัญนั้นเปนโมฆียะ 3. การแสดงเจตนาอันไดมาเพราะกลฉอฉลก็ดี เพราะขมขูก็ดีเปนโมฆียะ แตถาคูกรณีฝายหนึ่งได แสดงเจตนาเพราะกลฉอฉลของบุคคลภายนอก การจะเปนโมฆียะตอเมื่อคูกรณีอีกฝายหนึ่งไดรูหรือควรจะ รูกลฉอฉลนั้น การบอกลางการแสดงเจตนาซึ่งไดทําขึ้นเพราะกลฉอฉลนั้นหามมิใหยกขึ้นเปนขอตอสู บุคคลภายนอกผูทําการโดยสุจริต 4. การอันจะเปนโมฆียกรรมเพราะกลฉอฉลนั้นตอเมื่อถึงขนาด ซึ่งถามิไดมีกลฉอฉลนั้น การอันนั้นก็ คงมิไดทําขึ้น


40 5. กลฉอฉลเพื่อเหตุคือ เพียงไดจูงใจใหคูกรณีฝายหนึ่งยอมรับเอาซึ่งขอกําหนดอันหนักยิ่งกวาที่เขา จะยอมรับโดยปกติ กลฉอฉลเพื่อเหตุนั้นจะบอกลางเสียทีเดียวไมได คูกรณีนั้นไดแตจะเรียกเอาคาสินไหม ทดแทน 6. การขมขูที่จะทําใหการใดตกเปนโมฆียะนั้นจะตองถึงขนาดที่จะจูงใจผูถูกขมขูใหมีมูลตองกลัวจะ เกิดความเสียหายเปนภัยแกตนเอง แกสกุลแหงตนหรือแกทรัพยสินของตน เปนภัยอันใกลจะถึง และอยาง นอยรายแรงเทากับที่จะพึงกลัวตอการอันเขากรรโชกนั้น 7. การขูวาจะใชสิทธิอันใดอันหนึ่งตามปกตินิยมก็ดี เพียงแตความกลัวเพราะนับถือยําเกรงก็ดี ไมถือ เปนการขมขู 8. ในการวินิจฉัยคดีขอสําคัญผิดก็ดี กลฉอฉลก็ดี ขมขูก็ดี ทานใหพอเคราะหถึง เพศ อายุ ฐานะ อนามัย และนิสัยใจคอของผูเจาทุกข ตลอดถึงพฤติการณอื่นทั้งปวงอันอาจเปนน้ําหนักแกการนั้นดวย 8.2.1 การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิด อธิบายความสําคัญในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย ซึ่งตามปกติยอมนับวาเปนสาระสําคัญ ในเรื่องสําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพยสินที่เปนสาระสําคัญ ทําใหนิติกรรมซึ่งเกิด จากการแสดงเจตนานั้นเปนโมฆียะไมไดหมายความแตเพียงลักษณะรูปราง เนื้อตัวแตอยางเดียว แต หมายความถึงคุณลักษณะทั้งหลายทั้งปวงมีผลกระทบกระเทือนถึงความเชื่อถึงคุณคาแหงบุคคลหรือ ทรัพยสินนั้น อันนับไดวา  เปนคุณสมบัตซ ิ ึ่งเปนสาระสําคัญ ตองเปนคุณสมบัตท ิ จ ี่ ะทําใหบุคคลหรือทรัพย ตางลักษณะตางชนิดตางประเภทไปจากความเขาใจของผูท  ํานิติกรรม ซึ่งทีก ่ ลาวมาแลวเปนเพียงหลักใน การพิจารณาเทานั้นจะวางเปนกฎหมายตายตัวนั้นไมได ตองพิจารณาเปนเรื่องๆ ไปตามเจตนาแหงคูกรณี เปนเรื่องๆไป

อธิบายขอแตกตางระหวางความสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรมกับความสําคัญผิด ในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพย ซึ่งตามปกติยอมนับวาเปนสาระสําคัญ

ขอแตกตางระหวางสาระสําคัญแหงนิตก ิ รรมกับคุณสมบัตท ิ ี่เปนสาระสําคัญ คือ สาระสําคัญแหงนิตก ิ รรมเปนเรื่องที่มก ี ําหนดอยูในเรือ ่ งนิติกรรม เปนสวนที่ตอ  งอยูตามสภาพของ นิติกรรม คือประเภทของนิตก ิ รรมบุคคลทีท ่ ํานิตก ิ รรม และทรัพยที่เปนวัตถุแหงนิตก ิ รรม ซึ่งทั้ง 3 สิ่งนี้ตอง มีอยูในนิติกรรมอยูแลว แตในเรื่องคุณสมบัตินั้นดังไดกลาวแลวในนิติกรรมบางประเภท คุณสมบัติไมใช สาระสําคัญของนิตก ิ รรมแตอยางใดเลย คุณสมบัตเิ ปนเรื่องของเจตนาของแตละบุคคลซึ่งมักคิดตามแต คนจะตองการคุณสมบัตอ ิ ยางไรจึงถือเปนสาระสําคัญ ผลของความสําคัญผิดในสาระสําคัญแหงนิติกรรมนั้นคือ เปนโมฆะ แตในเรื่องสําคัญผิดใน คุณสมบัตท ิ ี่เปนสาระสําคัญนั้นมีผลทําใหนิตก ิ รรมเปนโมฆียะ 8.2.2 การแสดงเจตนาโดยถูกกลฉอฉล กลฉอฉลเพื่อเหตุคืออะไร และมีผลเปนอยางไร กลฉอฉลเพือ ่ เหตุตามนัยแหงมาตรา 161 นั้น ไมทา ํ ใหการแสดงเจตนาเปน โมฆียะ เพราะเปนกล ฉอฉลที่ไมถึงขนาด เปนเพียงแตทําใหผูแสดงเจตนา เพราะกลฉอฉลเพือ ่ เหตุนั้นตองยอมรับเอาซึ่ง ขอกําหนดอันหนักยิง ่ กวาที่เขาจะยอมรับเทานั้น กฎหมายใหผูทต ี่ องยอมรับขอกําหนดซึง ่ หนักกวาปกตินั้น ไดรับคาสินไหมทดแทนจากผูท  ี่กระทํากลฉอฉลนั้น 8.2.3 การแสดงเจตนาโดยถูกขมขู จงอธิบายถึงผลของการแสดงเจตนาเพราะถูกขมขู ผลของการขมขูถง ึ ขนาดเปนการขมขูนน ั้ ทําใหนิติกรรมเปนโมฆียะ แตอยางไรก็ตามในหลักการ วินิจฉัยคดี (มาตรา 167) ในเรื่องขมขู จะตองพิเคราะหถง ึ เพศ อายุ ฐานะ อนามัย และนิสัยใจคอของเจา ทุกขตลอดถึงพฤติการณอน ื่ ทั้งปวงอันอาจเปนน้ําหนักแหงการนั้นดวย ซึ่งกลาวงายๆ วาในการวินิจฉัยคดี เกี่ยวกับการขมขู ศาลใชหลักเกณฑดังกลาวในการพิจารณา เพราะการแสดงเจตนาโดยถูกขมขูนี้จะใช ความรูสก ึ นึกคิดของบุคคลธรรมดาเปนมาตรฐานแนนอนไมได แมการขมขูจะเกิดจากบุคคลภายนอกก็ทา ํ ใหการแสดงเจตนานั้นเปนโมฆียะ ตามนัยมาตรา 166

แบบประเมินผล หนวยที่ 8 การควบคุมการแสดงเจตนา มาตรา 154 การแสดงเจตนาใดแมในใจจริงผูแสดงจะมิไดเจตนาใหตนตองผูกพันตามที่แสดงออกก็ตาม หาเปนมูลเหตุ ใหการแสดงเจตนานั้นเปนโมฆะไม เวนแตคูกรณีอีกฝายหนึ่งจะไดรูถึงเจตนาอันซอนอยูในใจของผูแสดงนั้น มาตรา 155 การแสดงเจตนาลวงโดยสมรูกับคูกรณีอีกฝายหนึ่งเปนโมฆะ แตจะยกขึ้นเปนขอตอสูบุคคลภายนอก ผูกระทําการโดยสุจริต และตองเสียหายจากการแสดงเจตนาลวงนั้นมิได ถาการแสดงเจตนาลวงตามวรรคหนึ่งทําขึ้นเพื่ออําพรางนิติกรรมอื่น ใหนําบทบัญญัติของกฎหมายอันเกี่ยวกับนิติกรรมที่ ถูกอําพรางมาใชบังคับ มาตรา 156 การแสดงเจตนาโดยสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรมเปนโมฆะ


41 ความสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรม ตามวรรคหนึ่ง ไดแก ความสําคัญผิดในลักษณะของนิติกรรม ความสําคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเปนคูกรณีแหงนิติกรรมและความสําคัญผิดในทรัพยสินซึ่งเปนวัตถุแหงนิติกรรม เปนตน มาตรา 160 การบอกลางโมฆียกรรมเพราะถูกกลฉอฉลตามมาตรา 159 หามมิใหยกเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูกระทํา การโดยสุจริต มาตรา 161 ถากลฉอฉลถาเปนแตเพียงเหตุจูงใจใหคูกรณีฝายหนึ่งยอมรับขอกําหนดอันหนักยิ่งกวาที่คูกรณีฝายนั้นจะ ยอมรับโดยปกติ คูกรณีฝายนั้นจะบอกลางการนั้นหาไดไม แตชอบที่จะเรียกเอาคาสินไหมทดแทนเพื่อความเสียหายอันเกิดจาก กลฉอฉลนั้นได มาตรา 164 การแสดงเจตนาเพราะถูกขมขูเปนโมฆียะ การขมขูที่จะทําใหการใดตกเปนโมฆียะนั้น จะตองเปนการขมขูที่จะใหเกิดภัยอันใกลจะถึงและรายแรงถึงขนาดที่จะจูง ใจใหผูถูกขมขูมีมูลตองกลัว ซึ่งถามิไดมีการขมขูเชนนั้น การนั้นก็คงจะมิไดกระทําขึ้น มาตรา 165 การขูวาจะใชสิทธิตามปกตินิยม ไมถือวาเปนการขมขู การใดที่ทําไปเพราะนับถือยําเกรง ไมถือวาการนั้นไดกระทําเพราะถูกขมขู มาตรา 166 การขมขูยอมทําใหการแสดงเจตนาเปนโมฆียะแมบุคคลภายนอกจะเปนผูขมขู เจตนาลวง นัน ้ เปนการสมรูกันโดยคูกรณี มิไดมีเจตนาที่จะผูกนิติสัมพันธกันแตอยางใด ดังนั้นเมื่อไมมีเจตนา กฎหมายจึงบัญญัติใหการแสดงเจตนาลวงเปน โมฆะ เสียเปลา ไมเกิดผลในกําหมาย แตนิติกรรมอําพราง นั้น เปนเรื่องซึ่ง คูกรณีมีเจตนาหากแตปกปดนิติกรรมที่ตนตองการใหมีผลไว กฎหมายจึงใหบังคับใหเกิดผลในทางนิติกรรมซึ่งตองการใหมีผล ผูกพันตามเจตนาของคูกรณี การแสดงเจตนาลวง นัน ้ มีการแสดงเจตนาเพียงครั้งเดียว สวนนิติกรรมอําพรางเปนการแสดงเจตนาทํานิติกรรม 2 ครั้ง แตครั้งหลังกระทําขึ้นเพื่อปดบังอําพรางครั้งแรก

1. การแสดงเจตนาโดยวิปริตทีท ่ าํ ใหนิติกรรมตกเปนโมฆะไดแก สําคัญผิดในตัวทรัพยซง ึ่ เปนวัตถุแหงนิติ กรรม มาตรา 156 การแดสงเจตนาโดยสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรมเปนโมฆะ ความสําคัญผิดในสิ่งซึ่งเปนสาระสําคัญแหงนิติกรรมตามวรรคหนึ่งไดแก ความสําคัญผิดในลักษณะของนิติกรรม ความสําคัญผิดในตัวบุคคลซึ่งเปนคูกรณีแหงนิติกรรมและความสําคัญผิดในทรัพยสินซึ่งเปนวัตถุแหงนิติกรรม เปนตน

2. ในกรณีบุคคลสองฝาย ทํานิติกรรมขึ้นเพื่อปกปดนิติกรรมอีกอันหนึ่งเรียกวา นิติกรรมอําพราง 3. การที่เจาหนี้ขูวา ถาลูกหนี้ไมชาํ ระหนี้ ตนจะตองฟองศาลใหลูกหนี้ตกเปนบุคคลลมละลาย ลูกหนี้เกิดความ กลัวจึงไดชาํ ระหนี้ไป การชําระหนี้ในกรณีนี้จะมีผล สมบูรณเพราะเปนการใชสิทธิตามปกตินิยม 4. นิติกรรมที่มีการจูงใจใหคูกรณีอีกฝายหนึ่งยอมรับเองซึ่งขอกําหนดหนักยิ่งกวาที่เขาจะยอมรับโดยปกติจะมี ผล สมบูรณตามกฎหมาย แตอาจเรียกคาสินไหมทดแทนได 5. การพิมพลายมือชื่อในสัญญาใหเชาทีด ่ ินโดยคิดวาเปนสัญญาจางวาความ สัญญานี้มผ ี ล ตกเปนโมฆะ เพราะสําคัญผิดในประเภทของนิติกรรม 6. ในกรณีที่บค ุ คลสําคัญผิดในคุณสมบัติของบุคคลหรือทรัพยซึ่งตามปกติ ถือเปนสาระสําคัญไมอาจยก ความสําคัญผิดเกิดขึ้นเพราะความประมาทเลินเลออยาง ความสําคัญผิดนั้นมาเปนประโยชนแกตนได คือ รายแรงของผูแ  สดงเจตนา 7. การแสดงเจตนาโดยบุคคลอื่นใชอุบายหลอกลวงใหเขาใจผิด ในทางกฎหมายเรียกวา กลฉอฉล  นอยูภายในใจของตนเอง 8. เจตนาซอนเรนคือเปนการแสดงเจตนาที่ไมตรงกับเจตนาที่แทจริงที่ซอ 9. การแสดงเจตนาลวงโดยสมรูกบ ั คูกรณี จะยกเปนขอตอสูบุคคลภายนอกไมได ในกรณีบค ุ คลภายนอก สุจริต และตองเสียหาย

หนวยที่ 9 โมฆะกรรมและโมฆียะกรรม 1. นิติกรรมที่เปนโมฆะ คือ นิติกรรมที่ไมมีผลในทางกฎหมายเลยทั้งไมอาจใหสัตยาบันแกกันได และผูมีสวนไดเสียคนใดจะยกความเสียเปลาแหงโมฆะกรรมขึ้นกลาวอางก็ได 2. นิติกรรมที่เปนโมฆียะ คือ นิติกรรมที่สมบูรณแตอยูภายใตเงื่อนไขที่อาจถูกบอกลาง หรือ อาจให สัตยาบันได 3. ผูมีสิทธิบอกลางและใหสัตยาบันโมฆียะกรรม คือ ผูทาํ นิติกรรมนั่นเอง และผูที่คุมครองดูแลผู หยอนความสามารถ 9.1 โมฆะกรรม 1. นิติกรรมที่เปนโมฆะจะไมมีผลใชบังคับตามกฎหมายไดเลย 2. ผลแหงโมฆะกรรมนั้นกฎหมายไดบัญญัติใหเสียเปลาไปทั้งหมด หรืออาจมีผลบางในบางสวนหรือ

บางกรณีที่กฎหมายกําหนดไว 3. การเรียกทรัพยคืนอันเนื่องจากนิติกรรมที่ตกเปนโมฆะนั้น กฎหมายใหเปนไปตามหลักเรื่องลาภมิ ควรได


42

9.1.1 ความหมายของโมฆะกรรม และนิติกรรมที่เปนโมฆะ สาเหตุใดบางที่ทําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะ ยกตัวอยาง สาเหตุทท ี่ ําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะ เชน (1) เนื่องจากวัตถุประสงคของนิติกรรมเปนการตองหามโดยชัดแจงโดยกฎหมาย (2) เหตุเนื่องจากนิติกรรมไมทา ํ ตามแบบทีก ่ ฎหมายกําหนด (3) เหตุอันเนื่องจากเงือ ่ นไขของนิติกรรมไมชอบดวยกฎหมาย (4) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาลวง (5) นิติกรรมที่เกิดจากการสําคัญผิดในสาระสําคัญแหงนิตก ิ รรม 9.1.2 ผลของโมฆะกรรม

ผลของโมฆะกรรมมีอยางไรบาง ผลของนิติกรรมทีต ่ กเปนโมฆะคือ เสียยอมอางโมฆะกรรมได

นิตก ิ รรมนั้นเสียเปลาไมอาจใหสัตยาบันได

บุคคลผูมีสว  นได

9.1.3 โมฆะกรรมนั้นอาจแยกสวนที่สมบูรณออกได จากที่ไมสมบูรณ

โมฆะกรรมนั้นสามารถแยกสวนที่สมบูรณออกจากสวนที่ไมสมบูรณไดในกรณีใดบาง โดยหลักแลวนิติกรรมที่ทา ํ ขึ้นเผื่อเปนโมฆะทัง ้ หมด แตถา  นิติกรรมนั้นสามารถแยกไดเปนสวนโดย เปนอิสระจากกันได และโดยพฤติการณพง ึ สันนิษฐานไดวา  คูก  รณีเจตนาที่จะแยกสวนที่สมบูรณออกจาก สวนที่ไมสมบูรณ 9.1.4 โมฆะกรรมนั้นอาจสมบูรณโดยฐานเปนนิติกรรมอยางอื่น

กรณีใดบางที่โมฆะกรรมนั้นอาจสมบูรณ โดยฐานเปนนิติกรรมอยางอื่น จากการพิจารณาวานิติกรรมใดเปนโมฆะ แตอาจสมบูรณในฐานะเปนนิติกรรมอยางอื่นนัน ้ ประการแรก ตองมิใชเปนโมฆะเนื่องจากการแสดงเจตนาทํานิติกรรมนั้นเสื่อมเสีย ประการที่สอง นิติกรรม ที่เขาขอสันนิษฐานมักเปนเรื่องที่โมฆะกรรมนั้นเกี่ยวกับเรื่องแบบ เมื่อไมสมบูรณตามแบบนิตก ิ รรมอยาง หนึ่ง ก็อาจดูวา  เจตนาเปนนิติกรรมอีกแบบได และนิตก ิ รรมอยางหลังนี้ตองสมบูรณตามแบบหรือขอกําหนด ในกฎหมายดวย 9.1.5 การเรียกทรัพยคืนอันเนื่องจากนิติกรรมนั้นเปนโมฆะ

การฟองเรียกทรัพยสินเนื่องจากนิติกรรมตกเปนโมฆะนั้นตองฟองภายในกําหนดเวลาเทาใด ตองฟองเรียกทรัพยคืนใน 1 ป นับแตรถ ู ง ึ สิทธิเรียกคืน คือ รูถ  ึงความเปนโมฆะนั้น แตตองไมเกิน 10 ป นับแตวน ั ทํานิตก ิ รรมที่เปนโมฆะ 9.2 โมฆียกรรม : ลักษณะทั่วไป

1. นิติกรรมที่เปนโมฆียะนั้นเปนนิติกรรมที่สมบูรณอยู แตอยูภายใตเงื่อนไขวาหากนิติกรรมนั้นถูกบอก ลางก็มีผลเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก หากไมมีการบอกลาง หรือมีการใหสัตยาบัน นิติกรรมนั้นจะสมบูรณ ตลอดไป 2. การบอกลางหรือใหสัตยาบันแกโมฆียะกรรม ยอมกระทําไดโดยการแสดงเจตนาแกคูกรณี อีกฝาย หนึ่งซึ่งเปนบุคคลที่มีตัวกําหนดไดแนนอน จะสมบูรณตอเมื่อไดกระทําภายหลังเวลาที่มูลเหตุใหเปน 3. การใหสัตยาบันแกโมฆียกรรมนั้น โมฆียกรรมนั้นหมดสิ้นไปแลว 9.2.1 ความหมายของโมฆียะกรรมและนิติกรรมที่ตกเปนโมฆียะ สาเหตุที่ทําใหนิติกรรมตกเปนโมฆียะมีอะไรบาง สาเหตุทท ี่ ําใหนิติกรรมตกเปนโมฆียะมี 2 สาเหตุใหญๆ คือ (1) เนื่องจากไมเปนไปตามบทบัญญัติเกีย ่ วกับเรื่องความสามารถ เชน ผูเยาวทา ํ นิตก ิ รรมไมไดรับ ความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม และไมเขาขอยกเวนที่กฎหมายอนุญาต หรือผูไรความสามารถทํา นิติกรรม เปนตน (2) เนื่องจากการแสดงเจตนาโดยวิปริต เชน การแสดงเจตนา เพราะถูกขมขู หรือถูกกลฉอฉล เปนตน 9.2.2 วิธีการบอกลางโมฆียะกรรม การบอกลางโมฆียกรรมทําไดอยางไร การบอกลางโมฆียกรรมตองกระทําโดยการแสดงเจตนาตอบุคคลที่เขาทํานิตก ิ รรมอีกฝายหนึ่ง การบอกลางโมฆียกรรมไมมีแบบ จึงอาจทําไดโดยวาจาหรือลายลักษณอก ั ษรก็ได


43

9.2.3 การใหสัตยาบัน

การใหสัตยาบันโมฆียกรรมมีวิธีการอยางไร การใหสัตยาบันตองทําตอคูกรณีอีกฝายหนึ่งในนิติกรรมที่ตกเปนโมฆียะ และจะแสดงเจตนาใหสัตยาบันโดย ชัดแจงหรือโดยปริยายก็ได

9.3 บุคคลผูมีสิทธิบอกลาง และใหสัตยาบันโมฆียะกรรม 1. ผูมีสิทธิบอกลางโมฆียกรรมไดแก ตัวผูทํานิติกรรมเอง และผูที่มีหนาที่ในการดูแลผูที่หยอน ความสามารถ รวมตลอดถึงทายาทของผูทํานิติกรรมอันเปนโมฆียะนั้นดวย 2. ผลของการบอกลางโมฆียะกรรม คือ นิตก ิ รรมตกเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก คูกรณีกลับคืนสูฐานะเดิม ทั้งนี้ยอมไมอาจถูกยกเปนขอตอสูบุคคลภายนอกผูกระทําการโดยสุจริต และเสียคาตอบแทน 3. ผูมีสิทธิใหสัตยาบันแกโมฆียะกรรม คือ บุคคลประเภทเดียวกับผูมีสิทธิบอกลางโมฆียกรรมได 4. ผลของการใหสัตยาบันคือ นิติกรรมที่เปนโมฆียะยอมมีผลสมบูรณใชไดตลอดไปและไมอาจบอก ลางไดอีก 9.3.1 บุคคลผูมีสิทธิบอกลางโมฆียะกรรม บุคคลใดบางที่มีสิทธิบอกลางโมฆียะกรรม บุคคลผูม  ีสิทธิบอกลางโมฆียกรรมไดแก (1) ผูหยอนความสามารถซึ่งทํานิติกรรม เชน ผูเยาว คนไรความสามารถ ซึ่งไดหายจากการเปน ผูหยอนความสามารถแลว (2) ผูดูแลผูหยอนความสามารถ เชน ผูแทนโดยชอบธรรม ผูอนุบาล (3) ผูแสดงเจตนาโดยวิปริต (4) ทายาทของผูห  ยอนความสามารถหรือผูแ  สดงเจตนาโดยวิปริต 9.3.2 ผลของการบอกลางโมฆียะกรรม ผลของการบอกลางโมฆียะกรรม มีอยางไรบาง เมื่อมีการบอกลางโมฆียกรรมแลว กลับคืนฐานะเดิม

นิตก ิ รรมยอมตกเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก

และคูก  รณีจะตอง

9.3.3 บุคคลผูมีสิทธิ์ใหสัตยาบันโมฆียะกรรม

บุคคลใดที่มิสิทธิในการใหสัตยาบันนิติกรรมที่เปนโมฆียะ ผูที่สามารถใหสัตยาบันโมฆียกรรมได ไดแก บุคคลทีบ ่ ัญญัติไวใน ปพพ. มาตรา 177 9.3.4 ผลของการใหสัตยาบันแกโมฆียะกรรม โมฆียะกรรมที่ไดใหสัตยาบันแลว มีผลอยางไร โมฆียกรรมเมือ ่ ใหสัตยาบันแลว นิตก ิ รรมยอมสมบูรณมาแตตน แตไมกระทบกระเทือนถึงสิทธิของ บุคคลภายนอก

แบบประเมินผล หนวยที่ 9 โมฆะกรรมและโมฆียะกรรม มาตรา 172 โมฆะกรรมนั้นไมอาจใหสัตยาบันแกกันได และผูมีสวนไดเสียคนหนึ่งคนใดจะยกความเสียเปลาแหงโมฆะ กรรมขึ้นกลาวอางก็ได ถาจะตองคืนทรัพยสินอันเกิดจากโมฆะกรรม ใหนําบทบัญญัติวาดวยลาภมิควรไดแหงประมวลกฎหมายนี้มาใชบังคับ มาตรา 173 ถาสวนหนึ่งสวนใดของนิติกรรมเปนโมฆะ นิติกรรมนั้นยอมตกเปนโมฆะทั้งสิ้น เวนแตจะพึงสันนิษฐานได โดยพฤติการณแหงกรณีวา คูกรณีเจตนาจะใหสวนที่ไมเปนโมฆะนั้นแยกออกจากสวนที่เปนโมฆะได มาตรา 175 โมฆียะกรรมนั้น บุคคลตอไปนี้จะบอกลางเสียก็ได (1) ผูแทนโดยชอบธรรมหรือผูเยาวซึ่งบรรลุนิติภาวะแลว แตผูเยาวจะบอกลางกอนที่ตนบรรลุนิติภาวะก็ไดถา ไดรับความยินยอมของผูแทนโดยชอบธรรม (2) บุคคลซึ่งศาลสั่งใหเปนคนไรความสามารถหรือคนเสมือนไรความสามารถเมื่อบุคคลนั้นพนจากการเปนคนไร ความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถแลว หรือผูอนุบาล หรือผูพิทักษ แลวแตกรณี แตคนเสมือนไรความสามารถจะบอกลาง กอนที่ตนจะพนจากการเปนคนไรความสามารถก็ได ถาไดรับความยินยอมของผูพิทักษ (3) บุคคลผูแสดงเจตนาเพราะสําคัญผิด หรือถูกกลฉอฉล หรือถูกขมขู (4) บุคคลวิกลจริตผูกระทํานิติกรรมอันเปนโมฆียะตามมาตรา 30 ในขณะที่จริตของบุคคลนั้นไมวิกลแลว ถาบุคคลผูทํานิติกรรมอันเปนโมฆียะถึงแกความตายกอนมีการบอกลางโมฆียะกรรม ทายาทของบุคคลดังกลาวอาจบอก ลางโมฆียกรรมนั้นได มาตรา 176 โมฆียะกรรมเมื่อบอกลางแลว ใหถือวาเปนโมฆะมาแตเริ่มแรก และใหคูกรณีกลับคืนสูฐานะเดิม ถาเปนการ พนวิสัยจะใหกลับคืนเชนนั้น ก็ใหไดรับคาเสียหายชดใชใหแทน


44 ถาบุคคลใดรูหรือควรจะไดรูวาการใดเปนโมฆียะ เมื่อบอกลางแลว ใหถือวาบุคคลนั้นไดรูวาการนั้นเปนโมฆะ นับแตวันที่ ไดรูหรือควรไดรูวาเปนโมฆะ หามมิใหใชสิทธิเรียกรองอันเกิดแตการกลับคืนสูฐานะเดิมตามวรรคหนึ่ง เมื่อพนหนึ่งปนับแตวันบอกลางโมฆียะกรรม มาตรา 178 การบอกลางหรือใหสัตยาบันแกโมฆียะกรรม ยอมกระทําไดโดยการแสดงเจตนาแกคูกรณีอีกฝายหนึ่งซึ่ง เปนบุคคลที่มีตัวกําหนดไดแนนอน มาตรา 181 โมฆียะกรรมนั้นจะบอกลางมิไดเมื่อพนเวลาหนึ่งปนับแตเวลาที่อาจใหสัตยาบันไดหรือเมื่อพนเวลาสิบปนับ แตไดทํานิติกรรมอันเปนโมฆียะนั้น โมฆะกรรม คือการกระทําที่เสียเปลาไมมีผลอยางใดในทางกฎหมาย ไมกอใหเกิดการเคลื่อนไหวแหงสิทธิและหนาที่ ของคูกรณีที่เขาทํานิติกรรม หรืออาจจะกลาวไดวานิติกรรมใดที่ตกเปนโมฆะแลวยอมไมมีความผูกพันตามกฎหมาย และไมอาจให สัตยาบันใหกลับมามีผลสมบูรณไดอีก สาเหตุที่ทําใหนิติกรรมตกเปนโมฆะอาจเกิดขึ้นไดหลายประการคือ (1) นิติกรรมที่มีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดเจนโดยกฎหมาย (มาตรา 150) (2) นิติกรรมซึ่งมีวัตถุประสงคเปนการพนวิสัย (มาตรา 150) (3) นิติกรรมซึ่งมีวัตถุประสงคเปนการขัดขวางตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน (มาตรา 150) (4) นิติกรรมซึ่งมิไดทําใหถูกตองตามแบบที่มีกฎหมายบังคับไว (มาตรา 152) (5) นิติกรรมซึ่งเกิดจากการแสดงเจตนาซอนเรน (มาตรา 154) (6) นิติกรรมที่เกิดจากการแสดงเจตนาลวง (มาตรา 155) (7) นิติกรรมที่เกิดจากการสําคัญผิดในสิ่งที่เปนสาระสําคัญแหงนิติกรรม (มาตรา 156) (8) กรณีเพราะเหตุเงื่อนไขแหงนิติกรรม (มาตรา 187-190) (9) นิติกรรมที่เปนโมฆียะและถูกบอกลางแลว (10) เหตุอื่นๆที่กฎหมายบัญญัติไว เชน มาตรา 1466 มาตรา 1703-1706

1. เสียเปลาไมเกิดผลในทางกฎหมาย เปนความหมายของการกระทําที่ตกเปนโมฆะ ี่ ามารถกลาวอางความเปนโมฆะกรรมได 2. ผูมีสวนไดสวนเสีย เปนผูทส 3. การเรียกคืนทรัพยเนื่องจากโมฆียะกรรม เรียกไดเปน ลาภมิควรได 4. ผูเยาวอายุ 14 ป ทําพินัยกรรมจะตกเปนโมฆะ 5. ก ตกลงกับ ข วาให ข ไปดักทํารายรางกาย ค โดยใหคา จาง 10,000 บาท ขอตกลงนี้ในทางกฎหมาย ตก เปนโมฆะ เพราะมีวัตถุประสงคเปนการตองหามชัดเจนโดยกฎหมาย 6. โมฆียกรรมทีถ ่ ก ู บอกลางแลวมีผล เปนโมฆะมาแตเริ่มแรก  รณีอีกฝายหนึ่ง 7. การบอกลางโมฆียกรรมจะตองกระทํา โดยการแสดงเจตนาตอคูก 8. ผูเยาวทํานิติกรรมโดยไมไดรับความยินยอมจากผูแทนโดยชอบธรรม เปนเหตุใหตกเปนโมฆียะ ิ ธิบอกลางโมฆียะกรรม 9. ผูแทนโดยชอบธรรม มีสท 10. การบอกลางโมฆียกรรมจะตองทําภายในระยะเวลา 10 ป นับแตเวลาที่ไดเกิดโมฆียกรรมนั้น

หนวยที่ 10 เงือ ่ นไขและเงื่อนเวลา 1. เงื่อนไขคือขอความใดอันบังคับไวใหนิติกรรมเปนผล หรือสิ้นผลตอเมื่อมีเหตุการณอันใดอันไม แนนอนวาจะเกิดขึ้นหรือไมในอนาคต 2. เงื่อนไขมี 2 ประเภทคือ เงื่อนไขบังคับกอน และเงื่อนไขบังคับหลัง 3. เงื่อนไขที่ไมสมบูรณ เปนการตองหามโดยกฎหมายมี 4 ประการคือ เงื่อนไขมิชอบดวยกฎหมาย เงื่อนไขพนวิสัย เงื่อนไขบังคับกอนสําเร็จสุดแตใจของลูกหนี้ และเงื่อนไขที่สําเร็จแลวหรือไมอาจสําเร็จ ไดในเวลาทํานิติกรรม 4. ผลในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จ คูกรณีมีสิทธิในความหวังคือ หนาที่ตองงดเวนไมทําใหเสื่อม เสียประโยชน จําหนาย รับมรดก หรือจัดการทรัพยสินและหนาที่ตองทําการโดยสุจริต 5. เงื่อนเวลาคือขอกําหนดอันบังคับไวมิใหทวงถามใหปฏิบัติการตามผลแหงนิติกรรมหรือใหนิตก ิ รรม หรือมีเหตุการณอันใดอันหนึ่งขึ้นในอนาคตและแนนอน สิ้นไปจนกระทั่งถึงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต เกิดขึ้น 6. เงื่อนเวลามี 2 ประเภทคือ เงื่อนเวลาเริ่มตนและเงื่อนเวลาสิ้นสุด 7. ลูกหนี้ตองหามมิใหถือประโยชนแหงเงื่อนเวลา เมื่อถูกศาลสั่งพิทักษทรัพยเด็ดขาด หรือลูกหนี้ ไมใหประกันในเมื่อจําตองให หรือลูกหนี้นําทรัพยสินของบุคคลอื่นมาใหเปนประกันโดยเจาของทรัพยสิน นั้นมิไดยินยอมดวย หรือเมือ ่ ลูกหนี้ไดทําลายหรือทําใหลดนอยถอยลงซึ่งประกันอันไดใหไว 8. ขอแตกตางที่สําคัญระหวางเงื่อนไขกับเงื่อนเวลา คือ เงื่อนไขเปนขอกําหนดซึ่งเปนเหตุการณอัน ใดอันหนึ่งในอนาคตและไมแนนอนวาจะเกิดขึ้นหรือไม สวนเงื่อนเวลานั้นเปนขอกําหนดซึ่งอาศัยความ แนนอน 10.1 เงื่อนไข


45 1. ลักษณะของเงื่อนไข คือ เปนขอกําหนดซึ่งบุคคลแสดงเจตนากันไว ซึ่งขอกําหนดนั้น กําหนด ตามเหตุการณในอนาคตซึ่งไมแนนอน วาจะเกิดขึ้นหรือไม และบังคับไวใหนิติกรรมนั้นเปนผล 2. เงื่อนไขบังคับกอนไดแก เงื่อนไขซึ่งทําใหนิติกรรมนั้นเปนผลเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว 3. เงื่อนไขบังคับหลังไดแก เงื่อนไขซึ่งทําใหนิติกรรมนั้นสิ้นผลเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว 4. เงื่อนไขที่ไมสมบูรณมี 4 ประเภท คือ เงื่อนไขมิชอบดวยกฎหมาย เงื่อนไขเปนพนวิสัย เงื่อนไข บังคับกอนสําเร็จสุดแตใจของลูกหนี้ และเงื่อนไขที่สําเร็จแลวหรือไมอาจสําเร็จไดในเวลาทํานิติกรรม 5. ผลในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จ สิทธิและหนาที่ของคูกรณีมีดังนี้คือ (1) งดเวนกระทําการอันเปนสิ่งที่เสื่อมเสียประโยชนของอีกฝายหนึ่งที่พึงไดรับเงื่อนไขสําเร็จลง (2) คูกรณียอมจะจําหนาย รับมรดก จัดการปองกันรักษา หรือทําประกันไวก็ไดตามสิทธิและ หนาที่ที่ตนมี (3) หามคูกรณีเขาปองปดขัดขวางมิใหเงื่อนไขสําเร็จ หรือขวนขวาย จัดทําใหเงื่อนไขสําเร็จโดย ทุจริต (4) กรณีตามมาตรา 187 วรรค 3 เมื่อคูกรณีไมรูวาเงื่อนไขไดสําเร็จแลวหรือไม 6. คูกรณีอาจแสดงเจตนาใหความสําเร็จแหงเงื่อนไข มีผลยอนหลังไปถึงเวลาใดเวลาหนึง่ กอน เงื่อนไขสําเร็จก็ได 10.1.1 ลักษณะของเงื่อนไข

อธิบายลักษณะของเงื่อนไข เงื่อนไขมีลักษณะสําคัญ 4 ประการ ตามบทบัญญัติมาตรา 182 คือ (1) เปนขอกําหนดซึ่งบุคคลแสดงเจตนากันไว คือคูกรณีตา  งฝายตางไดแสดงเจตนากําหนดไว ตอกันในนิติกรรม (2) เปนขอกําหนดเกี่ยวกับความเปนผลหรือความสิ้นผลของนิตก ิ รรม หากเปนขอกําหนดวาใหนิติ ิ รรมสิ้นผล กรรมมีผลตอเมื่อเงื่อนไขไดสําเร็จลง เรียกวาเงือ ่ นไขบังคับกอน หากเปนขอกําหนดใหนิตก ตอเมือ ่ เงื่อนไขไดสําเร็จลงเรียกวาเงื่อนไขบังคับหลัง (3) เปนขอกําหนดตามเหตุการณในอนาคต (4) ตองเปนเหตุการณไมแนนอน เพราะถาเหตุการณในอนาคตที่แนนอนแลวก็จะไมเปนเงื่อนไข แตกลายเปนเงื่อนเวลาไป 10.1.2 ประเภทของเงื่อนไข

เงื่อนไขมีกี่ประเภท อะไรบาง ในเรื่องประเภทของเงือ ่ นไขนั้น ตามมาตรา 183 เราอาจแบงได 2 ประเภท คือ เงือ ่ นไขบังคับกอน และเงื่อนไขบังคับหลัง เงือ ่ นไขบังคับกอนไดแก ขอกําหนดซึ่งทําใหนิตก ิ รรมมีผลเมื่อขอกําหนดนั้นสําเร็จ แลว นั่นคือในขณะทํานิตก ิ รรมนั้นนิติกรรมยังไมเกิดผล จะเกิดผลตอเมื่อขอกําหนดที่แสดงไวนั้นเสร็จสิ้น ิ ิกรรมสิ้นผล เมื่อขอกําหนดนั้นสําเร็จ ลงเสียกอน สวนเงื่อนไขบังคับหลังนั้น ไดแก ขอกําหนดซึ่งทําใหนต แลว นั่นคือในขณะนั้นนิติกรรมมีผลอยูแลว และจะสิ้นผลลงตอเมือ ่ ขอกําหนดนั้นไดเสร็จสิ้นลง 10.1.3 เงื่อนไขที่ไมสมบูรณ

อธิบายเงื่อนไขที่ไมสมบูรณ นิติกรรมซึ่งมีเงื่อนไขที่ไมสมบูรณนั้น กฎหมายบัญญัตไ ิ วเปน 4 กรณีคอ ื (1) เงื่อนไขมิชอบดวยกฎหมาย มาตรา 188 นิติกรรมใดที่มีเงือ ่ นไขอันไมชอบดวยกฎหมายและ ขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน นิติกรรมนั้นโมฆะ (2) เงื่อนไขเปนพนวิสัย มาตรา 189 นิติกรรมที่มีเงือ ่ นไขบังคับกอนและเงื่อนไขนั้นเปนพนวิสัย ่ นไขบังคับหลังและเงื่อนไขนั้นเปนพนวิสัย นิติกรรมนั้น นิติกรรมนั้นตกเปนโมฆะ หากนิติกรรมที่มีเงือ สมบูรณปราศจากเงื่อนไข (3) เงื่อนไขบังคับกอนสําเร็จสุดแตใจลูกหนี้ นิติกรรมประเภทนี้ตองเปนนิติกรรมที่มีเงือ ่ นไขบังคับ กอนและเปนเงื่อนไขอันจะสําเร็จหรือไมสา ํ เร็จนั้นสุดแลวแตใจของลูกหนี้เทานั้น นิติกรรมนั้นตกเปนโมฆะ (4) เงื่อนไขที่สา ํ เร็จแลวหรือไมสําเร็จไดในเวลาทํานิติกรรม เงื่อนไขสําเร็จแลวแตในเวลาทํานิติ กรรมนั้นคือในขณะทํานิตก ิ รรมนั้นขอกําหนดทีค ่ ูกรณีวางไวเปนเงื่อนไขไดสําเร็จลงแลวก็แสดงวาเงือ ่ นไข ไดเปนไปตามที่คก ู รณีตอ  งการนิตก ิ รรมนั้นจึงมีผลสมบูรณเสมือนนิติกรรมนั้นปราศจากเงือ ่ นไข ในกรณีที่ เปนเงื่อนไขบังคับกอนหากเปนกรณีเงือ ่ นไขบังคับหลังก็ถอ ื เสมือนวา ไมมีนิติกรรมเลยที่เดียว กรณี เงื่อนไขไมอาจสําเร็จลงในขณะทํานิตก ิ รรมนั้น เปนเงือ ่ นไขแนนอนวาเงือ ่ นไขไมอาจสําเร็จลงได ถาหาก เปนเงื่อนไขบังคับกอนนิตก ิ รรมเปนโมฆะ ถาเปนเงื่อนไขบังคับหลังนิติกรรมนั้นสมบูรณเหมือนกนึ่ง ปราศจากเงือ ่ นไข 10.1.4 ผลแหงเงื่อนไข ผลระหวางเงื่อนไขยังไมสําเร็จ คูกรณีมส ี ิทธิและหนาที่ตอกันอยางไร


46 ผลในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จ คูกรณีมีสท ิ ธิและหนาที่ตอ  กันคือมีสิทธิในความหวังกฎหมาย บัญญัติสิทธิและหนาที่ในระหวางเงือ ่ นไขยังไมสําเร็จไวตามมาตรา 184-186 ดังนี้ (ก) การงดเวนกระทําการสิ่งอันเปนที่เสื่อมเสียประโยชนอน ั อีกฝายหนึ่งพึงไดรับเงือ ่ นไขสําเร็จลง มาตรา 184 (ข) คูกรณียอมจําหนาย รับมรดก จัดการปองกันรักษาหรือทําประกันไวก็ไดตามสิทธิและหนาที่ที่ ตนมี มาตรา 185 (ค) หามคูกรณีเขาปองปดขัดขวางมิใหเงือ ่ นไขสําเร็จหรือขวนขวายทําใหเงื่อนไขสําเร็จโดย ทุจริต มาตรา 186 (ง) ตราบใดคูกรณียังไมรูวา  เงือ ่ นไขสําเร็จแลว หรือมิอาจสําเร็จไดตราบนั้น ทานใหใชบทบัญญัติ มาตรา 184 และ 185 บังคับแลวแตกรณี มาตรา 187 วรรค 3

เมื่อเงื่อนไขสําเร็จแลวผลในกฎหมายจะเปนอยางไร ผลเมื่อเงือ ่ นไขสําเร็จ เมือ ่ เงื่อนไขสําเร็จโดยสมบูรณตามกฎหมายแลวนิติกรรมนัน ้ ก็เปนผลขึ้นมา ทันทีในกรณีเปนเงื่อนไขบังคับกอน สวนกรณีที่เปนเงือ ่ นไขบังคับหลัง นิติกรรมนัน ้ ก็สิ้นผลทันที แตอยางไรก็ตาม กฎหมายใหคก ู รณีทจ ี่ ะแสดงเจตนาใหความสําเร็จแหงเงือ ่ นไขมีผลยอนหลังไป ถึงเวลาใดเวลาหนึ่งกอนเงื่อนไขสําเร็จ 10.2 เงื่อนเวลา

1. เงื่อนไขเวลาเปนขอกําหนดอันบังคับไวมิใหทวงถามใหปฏิบัติการตามผลแหงนิติกรรมหรือใหนต ิ ิ กรรมสิ้นผลไป จนกระทั่งถึงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคต หรือมีเหตุการณอันใดอันหนึ่งในอนาคตซึ่งแนนอน 2. เงื่อนเวลามี 2 ประเภทคือเงื่อนเวลาเริ่มตน และเงื่อนเวลาสิ้นสุด เงื่อนเวลาเริ่มตนนั้นคอ ขอกําหนดมิใหทวงถามใหปฏิบัติการตามนิติกรรมกอนถึงเวลากําหนด เงื่อนเวลาสิ้นสุดไดแกเงื่อนเวลาที่ กําหนดใหนิติกรรมนั้นสิ้นผลลงเมื่อถึงกําหนดเวลาที่ตกลงกันไว 3. โดยหลักทั่วไปเงื่อนเวลานั้นกําหมายใหสันนิษฐานไวกอนวายอมกําหนดไวเพื่อประโยชนแก ลูกหนี้ แตมีบางกรณีซึ่งลูกหนี้ตองหามมิใหถือประโยชนแหงเงื่อนเวลา คือ ลูกหนี้ถูกศาลสั่งพิทักษทรัพย เด็ดขาด หรือลูกหนี้ไมใหประกันเมื่อจําตองให หรือลูกหนี้ไดทําลาย หรือทําใหลดนอยถอยลงซึ่งประกัน อันไดใหไว หรือลูกหนี้นําทรัพยสินของบุคคลอื่นมาใหเปนประกันโดยเจาของทรัพยสินนั้นไมยินยอมดวย 4. เงื่อนไขและเวลาแตกตางกันในเรื่องตอไปนี้ (1) เงื่อนไขเปนเหตุการณในอนาคตซึ่งไมแนนอน เงื่อนเวลาเปนเวลาหรือเหตุการณในอนาคตซึ่ง ไมแนนอน (2) นิติกรรมมีเงื่อนไขบังคับกอนนิติกรรมยังไมมีผลจนกวาเงื่อนไขจะสําเร็จ แตนิติกรรมมีเงื่อนไข เวลาเริ่มตนนัน ้ นิติกรรมมีผลเกิดขึ้นแลวแตจะทวงถามใหปฏิบัติการตามนิติกรรมกอนถึงเวลานั้นๆไมได (3) เรื่องลาภมิควรไดกรณีนิติกรรมมีเงื่อนไขบังคับกอน ถาหากลูกหนี้ไดชําระหนี้ไปใหแกเจาหนี้ ก็สามารถเรียกคืนไดฐานลาภมิควรได แตนิติกรรมที่มีเงื่อนเวลาเริ่มตนถาฝายลูกหนี้ชําระหนี้ใหแกลูกหนี้ ไปแลวเรียกคืนไมได (4) เรื่องบาปเคราะห กรกรีนิติกรรมมีเงื่อนไขบังคับกอนเมื่อทรัพยอันเปนวัตถุแหงสัญญาสูญหาย หรือทําลายลงในระหวางเงื่อนไขยังไมสําเร็จ เจาของทรัพยก็ตองรับบาปเคราะหไปเอง

แตในกรณีนิติกรรม

มีเงื่อนเวลาเริม ่ ตนผลเปนตรงกันขาม 10.2.1 ลักษณะและประเภทของเงื่อนเวลา

อธิบายลักษณะและประเภทเงื่อนเวลา เงื่อนเวลาเปนขอกําหนดอันบังคับไวมิใหทวงถาม ใหปฏิบัตก ิ ารตามผลแหงนิตก ิ รรม หรือใหนิติ กรรมสิ้นผลไปจนกระทั่งถึงเวลาใดเวลาหนึ่งในอนาคตหรือมีเหตุการณอันใดอันหนึ่ง ในอนาคตที่แนนอน เงื่อนเวลานั้นตามมาตรา 191 เราสามารถแบงเงื่อนเวลาไดเปน 2 ประเภทคือ เงื่อนเวลาเริม ่ ตนซึ่งเปน ขอกําหนดมิใหทวงถาม ใหปฏิบัตก ิ ารตามนิตก ิ รรมกอนถึงเวลาที่กา ํ หนด และเงือ ่ นเวลาสิ้นสุด ซึ่งไดแก เงื่อนเวลาทีก ่ า ํ หนดใหนิตก ิ รรมนั้นสิ้นผลลงเมื่อถึงกําหนดเวลาที่ตกลงกันไว เงื่อนเวลานั้นกฎหมายให สันนิษฐานไวกอนวา กําหนดไวเพื่อเปนประโยชนแกฝายลูกหนี้ ประโยชนแหงเงื่อนเวลานั้น ฝายใดฝาย หนึ่งไดรบ ั ประโยชนแหงเงื่อนเวลานั้น จะสละเสียก็ได แตการสละนัน ้ ตองไมกระทบถึงประโยชนอันคูกรณี อันฝายหนึ่งจะพึงไดรบ ั แตเงื่อนเวลานั้น 10.2.2 กรณีลูกหนี้ตองหามมิใหถือประโยชนแหงเงื่อนเวลา

มีกรณีใดบางที่กฎหมายหามมิใหลูกหนี้ถือประโยชนแหงเงื่อนเวลา กรณีที่กฎหมายหามมิใหลก ู หนีถ ้ ือประโยชนแหงเงือ ่ นเวลาตามมาตรา 193 นั้น มี 4 กรณีดังนี้ (1) ลูกหนีถ ้ ูกศาลสั่งพิทก ั ษทรัพยเด็ดขาด (2) ลูกหนี้ไมใหประกันในเมื่อจําตองให


47 (3) ลูกหนี้ไดทําลายหรือทําใหลดนอยลงซึง ่ ประกันอันไดใหไว (4) ลูกหนี้นําทรัพยสินของบุคคลอื่นมาใหเปนประกันโดยเจาของทรัพยนน ั้ มิไดยินยอมดวย 10.2.3 ความแตกตางระหวางเงื่อนไขกับเงื่อนเวลา

อธิบายขอแตกตางระหวางเงื่อนไขกับเงื่อนเวลาโดยสังเขป ขอแตกตางระหวางเงือ ่ นไข กับเงือ ่ นเวลาโดยสังเขปก็คอ ื (1) เงื่อนไขเปนเหตุการณในอนาคตซึ่งไมแนนอน เงื่อนเวลาเปนเวลาหรือเหตุการณในอนาคตซึ่ง แนนอน

(2) นิติกรรมเงือ ่ นไขบังคับกอนนิติกรรมยังไมมีผลจนกวาเงื่อนไขที่จะสําเร็จ แตนิตก ิ รรมมีเงือ ่ น เวลาเริ่มตนนั้นนิติกรรมมีผลเกิดขึ้นแลว แตจะทวงถามใหปฏิบต ั ิการตามนิตก ิ รรมกอนถึงกําหนดเวลานั้นๆ ไมได (3) เรื่องลาภมิควรไดกรณีนต ิ ิกรรมมีเงื่อนไขบังคับกอน ถาหากลูกหนี้ไดชําระหนี้ไปใหแกเจาหนี้ ก็สามารถเรียกคืนไดฐานลาภมิควรได แตนิติกรรมทีม ่ ีเงื่อนเวลาเริม ่ ตนถาฝายลูกหนี้ชา ํ ระหนี้ใหแกเจาหนี้ ไปแลวเรียกคืนไมได (4) เรื่องบาปเคราะห กรณีนิตก ิ รรมมีเงื่อนไขบังคับเพือ ่ ทรัพยอันเปนวัตถุแหงสัญญาสูญหายหรือ ทําลายลงในระหวางเงือ ่ นไขยังไมสําเร็จเจาของทรัพยก็ตอ  งรับบาปเคราะหไปเอง แตในกรณีนิตก ิ รรมมี เงื่อนเวลาเริ่มตนผลเปนตรงขาม (5) นิติกรรมมีเงื่อนไข กฎหมายใหคก ู รณีตกลงกันใหมีผลยอนหลังได นิติกรรมมีเงื่อนเวลานั้นนิติ กรรมมีผลตั้งแตมีการทํานิติกรรมแลว แตหามมิใหทวงถามใหปฏิบัติตามนิติกรรมกอนถึงเงือ ่ นเวลาที่ กําหนดไว

แบบประเมินผล หนวยที่ 10 เงื่อนไขและเงื่อนเวลา มาตรา 182 ขอความใดอันบังคับไวใหนิติกรรมเปนผลหรือสิ้นผลตอเมื่อมีเหตุการณอันไมแนนอนวาจะเกิดขึ้นหรือไม ในอนาคต ขอความนั้นเรียกวาเงื่อนไข ลักษณะของเงื่อนไข อาจแบงออกไดเปน 4 ประการ คือ (1) เปนขอกําหนดซึ่งบุคคลแสดงเจตนากันไว (2) เปนขอกําหนดเกี่ยวกับความเปนผลหรือความสิ้นผลของนิติกรรม (3) เปนขอกําหนดตามเหตุการณในอนาคต (4) ตองเปนเหตุการณไมแนนอน มาตรา 183 นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับกอน นิติกรรมนั้นยอมเปนผลตอเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลัง นิติกรรมนั้นยอมสิ้นผลในเมื่อเงื่อนไขนั้นสําเร็จแลว ถาคูกรณีแหงนิติกรรมไดแสดงเจตนาไวดวยกันวา ความสําเร็จแหงเงื่อนไขนั้นใหผลยอนหลังไปถึงเวลาใดเวลาหนึ่ง กอนสําเร็จ ก็ใหเปนไปตามเจตนาเชนนั้น (1) เงื่อนไขที่มช ิ อบดวยกําหมาย ิ รรมใดมีเงื่อนไขอันไมชอบดวยกฎหมายหรือขัดตอความสงบเรียบรอยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน มาตรา 188 นิตก นิติกรรมนั้นเปนโมฆะ (2) เงื่อนไขเปนการพนวิสัย มาตรา 189 นิตก ิ รรมใดมีเงื่อนไขบังคับกอนและเงื่อนไงนั้นเปนการพนอันวิสัย นิติกรรมนั้นเปนโมฆะ (3) นิติกรรมใดมีเงื่อนไขบังคับหลังและเงื่อนไขนั้นเปนการอันพนวิสัย ใหถือวานิติกรรมนั้นไมมีเงื่อนไข เงื่อนไขบังคับกอนสําเร็จสุดแตใจของลูกหนี้ มาตรา 190 นิตก ิ รรมใดมีเงื่อนไขบังคับกอนและเปนเงื่อนไขอันจะสําเร็จไดหรือไมสุดแลวแตใจของลูกหนี้ นิติกรรม นั้นเปนโมฆะ (4) เงื่อนไขที่สําเร็จแลวหรือไมอาจสําเร็จไดในเวลาทํานิติกรรม มาตรา 187 ถาเงือ ่ นไขสําเร็จแลวในเวลาทํานิติกรรม หากเปนเงื่อนไขบังคับกอน ใหถือวานิติกรรมนั้นไมมีเงื่อนไข หาก เปนเงื่อนไขบังคับหลังใหถือวานิติกรรมนั้นเปนโมฆะ

ิ รรมเปนผลหรือสิ้นผลตอเมื่อมีเหตุการณอันใดอันไม 1. เงื่อนไข คือ ขอความใดอันบังคับไวใหนิตก แนนอนวาจะเกิดขึ้นหรือไมเกิดขึ้นในอนาคต

(มาตรา 182 ขอความใดอันบังคับไวใหนิติกรรมเปนผลหรือสิ้นผลตอเมื่อมีเหตุการณอันไมแนนอนวาจะเกิดขึ้นหรือไม ในอนาคต ขอความนั้นเรียกวาเงื่อนไข )

2. เงื่อนไขมี 2 ประเภท คือ เงื่อนไขบังคับกอนและเงื่อนไขบังคับหลัง 3. ลักษณะของเงื่อนไขเปนขอกําหนด (ก) ซึ่งบุคคลแสดงเจตนากันไว (ข) เกี่ยวกับความเปนผลหรือ สิ้นผลของนิตก ิ รรม (ค) เกีย ่ วกับความสิ้นผลของนิติกรรม (ง) ตามเหตุการณในอนาคตซึ่งไมแนนอน 4. ก ตกลงกับ ข วาถารองเพลงประกวดไดรางวัลที่ 1 จะรับจางรองเพลงในรานอาหารของ ข ขอตกลงนี้เปน นิติกรรมที่มี เงื่อนไขบังคับกอน 5. ก ตกลงกับ ข เชาบานโดยกําหนดในสัญญาวาถา ก ถูกยายกลับมาอยูกรุงเทพฯ เมื่อใดใหสญ ั ญาเชาระงับ ขอตกลงนี้เปนนิติกรรมที่มี เงื่อนไขบังคับหลัง 6. เงื่อนเวลามี 2 ประเภทคือ เงื่อนเวลาเริ่มตนและเงื่อนเวลาสิ้นสุด (มาตรา 191 ถานิติกรรมใดมีเงื่อนเวลาเริ่มตนกําหนดไวมิใหทวงถามใหปฏิบัติการตามนิติกรรมนั้นกอนถึงเวลากําหนด นิติกรรมใดมีเงื่อนเวลาสิ้นสุดกําหนดไว นิติกรรมนั้น ยอมสิ้นผลเมือ ่ ถึงเวลากําหนด )


48 7. ก ทําสัญญาเชาบาน ข เปนเวลา 3 ป โดยกําหนดชําระคาเชาในวันที่ 1 ของทุกเดือนจนกวาจะครบ ดังนี้ ก ึ กําหนดเงือ ่ นเวลาเริ่มตน จะเรียกให ข ชําระคาเชากอนวันที่ 1 ของทุกเดือน ไมได เพราะยังไมถง  นวา กําหนดไวเพื่อประโยชนแกฝายลูกหนี้ 8. เงื่อนเวลานั้น ใหสันนิษฐานไวกอ (มาตรา 192 เงื่อนเวลาเริ่มตนและเงื่อนเวลาสิ้นสุดนั้นใหสันนิษฐานไวกอนวากําหนดไวเพื่อประโยชนแกฝายลูกหนี้ เวนแตจะปรากฏโดยเนื้อความแหงตราสาร หรือโดยพฤติการณแหงกรณีวาตั้งใจจะใหเปนประโยชนแกฝายเจาหนี้หรือแกคูกรณีทั้ง ฝายดวยกัน ถาเงื่อนเวลาเปนประโยชนแกฝายใด ฝายนั้นจะสละประโยชนนั้นเสียก็ได หากไมกระทบกระเทือนถึงประโยชนอันคูกรณี อีกฝายหนึ่งจะพึงไดรับจากเงื่อนไขเวลานั้น )

หนวยที่ 11 : ระยะเวลา และอายุความ 1. การนับระยะเวลาทั้งปวง ไมวาระยะเวลาที่กําหนดในประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย หรือ กฎหมายอื่นใดรวมทั้งระยะเวลาที่กําหนดในกิจกรรมตางๆ ตองบังคับดวยบทบัญญัติในเรื่องระยะเวลา 2. อายุความเปนระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไวสําหรับการฟองรองใหบังคับสิทธิเรียกรอง หากไม บังคับเสียภายในกําหนดอายุความ สิทธิเรียกรองนั้นจะขาดอายุความ แตอายุความไมทําใหสิทธิเรียกรอง ระงับ 3. สิทธิเรียกรองมีกําหนดอายุความแตกตางกัน แลวแตความสําคัญของสิทธิเรียกรองนั้น 11.1 ระยะเวลา 1. บทบัญญัติในเรื่องระยะเวลาตองนําไปใชบังคับแกวิธีนับระยะเวลาทั้งปวงเวนแตกฎหมาย คําสั่ง ศาล ระเบียบขอบังคับ หรือนิติกรรมกําหนดวิธีนับไวเปนประการอื่น 2. ระยะเวลาที่กําหนดเปนวินาที นาทีหรือชั่วโมงตองเริ่มนับใหทันใดนั้น และนับไปจนครบระยะเวลา ที่กําหนด 3. ระยะเวลาที่กําหนดเปนวัน วันแรกตองตัดทิ้งไปไมนับรวมเขามาในระยะเวลาดวย เริ่มนับหนึ่งใน วันรุงขึ้น และนับไปจนครบจํานวนวันที่กําหนด เวนไวแตกฎหมายกําหนดไวเปนอยางอื่น 4. ระยะเวลาที่กําหนดเปนสัปดาห เดือน หรือป วันแรกไมนับตองเริ่มนับหนึ่งในวันรุงขึ้น โดยคํานวณ ตามปฏิทินในราชการ 5. ระยะเวลากําหนดเปนเดือนและวันหรือเดือนและสวนของเดือนใหนับจํานวนเดือนเต็มกอนแลวจึง นับจํานวนวัน ทั้งนี้ใหคํานวณสวนของเดือนเปนวัน โดยถือหนึ่งเดือนเปนสามสิบวัน 6. ระยะเวลาที่กําหนดเปนปและสวนของป ใหนับจํานวนปกอน แลวคํานวณสวนของปเปนเดือนและ นับจํานวนเดือน หากมีสวนของเดือนใหคํานวณเปนวัน โดยถือหนึ่งเดือนมีสามสิบวัน 7. ระยะเวลาที่สิ้นสุดลงในวันหยุดทําการ ไมวาจะหยุดทําการติดตอกันกี่วันใหนับวันเริ่มทําการใหม เขาดวยอีกหนึ่งวัน 8. ระยะเวลาที่ขยายออกไปใหวันที่ตอจากวันสุดทายของระยะเวลาเดิมเปนวันเริ่มตน แมวันนั้นจะ เปนวันหยุดทําการก็ตองนับ 11.1.1 การใชบังคับบทบัญญัติวาดวยระยะเวลา

ขอความที่วา “บทบัญญัติในเรื่องระยะเวลาเปนบทบัญญัติที่ใชบังคับทั่วไป เด็ดขาด” นั้น ทานเขาใจวาอยางไร

แตมิใชบังคับ

บทบัญญัติเรือ ่ งระยะเวลาตัง ้ แตมาตรา 193/1 ถึงมาตรา 193/8 อันวาดวยวิธีนับระยะเวลานี้ จะตองนําไปใชบังคับในกรณีการนับระยะเวลาทั้งปวง ไมจํากัดเฉพาะแตใน ปพพ. แตรวมทั้งระยะเวลาที่ กําหนดไวในกฎหมายอื่น เชน กฎหมายอาญา กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา กฎหมายแรงงาน กฎหมายวิธพ ี จ ิ ารณาความแพง หรือกฎหมายอื่นใด ตลอดถึงระยะเวลาทีก ่ ําหนดในกิจการทางฝาย ปกครองดวย แตบทบัญญัตเิ หลานี้มิใชบทบังคับเด็ดขาด เพราะมาตรา 193/1 ตอนทาย บัญญัติยกเวนไว วา “......เวนแตจะมีกฎหมายคําสั่งศาล ระเบียบขอบังคับ หรือนิตก ิ รรมกําหนดเปนอยางอื่น” กลาวคือ มาตรา 193/8 จะไมนํามาใชบังคับในกรณีตอ  ไปนี้ (1) กฎหมายกําหนดการนับระยะเวลาไวเปนอยางอื่น (2) คําสั่งศาลกําหนดนับระยะเวลาไวเปนอยางอื่น (3) ระเบียบของบังคับกําหนดนับระยะเวลาไวเปนอยางอื่น (4) นิติกรรมกําหนดนับระยะเวลาไวเปนอยางอื่น 11.1.2 การคํานวณระยะเวลาที่กําหนดสั้นกวาวันหรือเปนวัน

ถาระยะเวลากําหนดไวเปนวัน กฎหมายบัญญัติหลักเกณฑการนับไวอยางไร ตาม ปพพ. มาตรา 193/3 ไมนับวันแรก คือตองนับหนึง ่ ในวันรุงขึ้น


49 ก เชาแทรกเตอรของ ข ไปไถนามีกําหนด 60 วัน ทําสัญญาเมื่อ 6 มีนาคม 2539 เวลา 10.00 น. ก นํารถมาคืน ข ในวันที่ 5 พฤษภาคม 2539 เวลา 20.00 น. ในกรณีนี้ ก ผิดสัญญาหรือไม กําหนด 60 วัน ตองเริ่มนับตั้งแตวันที่ 7 มีนาคม 2539 และจะครบกําหนดในวันที่ 6 พฤษภาคม 2539 คือ วันที่ 5 พฤษภาคม 2539 ยังอยูในอายุสัญญาเชาตลอดทั้งวัน จนถึง 24.00 น. ดังนั้นจึงไมถือวา ก ผิดสัญญา

จากกรณีในขอกอนหนานี้ ถาในสัญญาเชารถแทรกเตอรไดระบุไวชด ั วา ก จะตองนํารถมาคืน ใน วันที่ 5 พฤษภาคม 2539 เวลา 09.00 น. ผลจะเปนออยางไร ในกรณีนี้ถือวา ก ข ไดทา ํ นิติกรรมกําหนดนับระยะเวลาไวเปนประการอื่น จึงตองบังคับกันตาม ขอตกลงนี้ (ปพพ. 193/1) เมือ ่ ก นํารถมาคืนในวันที่ 5 พฤษภาคม 2539 เวลา 20.00 น. ตอถือวา ก ผิด สัญญา 11.1.3 การคํานวณระยะเวลาที่กําหนดเปนสัปดาห เดือน หรือป

เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2539 ก ให ข ยืมเงินไป 5,000 บาท โดยกําหนดจะใชคืนใน 7 เดือน ข จะตองใชเงินคืนให ก เมื่อไร กําหนดระยะเวลา 7 เดือน เริ่มนับตั้งแตวันที่ 7 มกราคม 2539 คํานวณตามปปฏิทินครบกําหนด ในวันกอนหนาจะถึงวันแหงเดือนสุดทายวันตรงกับวันเริม ่ ระยะเวลานัน ้ คือ วันที่ 6 สิงหาคม 2539 ดังนั้น ข จะตองใชเงินคืนให ก ภายในวันที่ 6 สิงหาคม 2539 11.1.4 การคํานวณระยะเวลาที่กําหนดคลายกัน

ก เชาพอโคของ ข เพื่อผสมพันธุกับแมโคของตน เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน 2539 มีกําหนด 3 เดือน กับ 4 สวน 5 เดือน ก จะตองคืนพอโคแก ข ภายในวันที่เทาไร

กรณีนี้ตอ  งนับจํานวนเต็มกอน คือ 3 เดือน แลวคํานวณสวนของเดือนเปนวัน 4 สวน 5 เดือน เทากับ 24 วัน (30 X 4/5= 24 วัน) ระยะเวลาเริ่มนับตัง ้ แตวันที่ 8 มิถุนายน 2539 ครบกําหนด 3 เดือน ใน วันกอนหนาจะถึงวันแหงเดือนสุดทายอันตรงกับวันเริ่มระยะเวลา คือวันที่ 7 กันยายน 2539 แลวนับจํานวน วันตอไปอีก 24 วัน ครบกําหนดระยะเวลาเชาในวันที่ 1 ตุลาคม 2539 ดังนั้น ก ตองคืนพอโคแก ข ภายใน วันที่ 1 ตุลาคม 2539 11.1.5 การขยายระยะเวลา ในกรณีที่วันสุดทายแหงระยะเวลาเปนวันหยุด จะเกิดผลประการใดในการนับระยะเวลา มีผลคือ กฎหมายใหนบ ั วันที่เริ่มทํางานใหมเขาในระยะเวลาอีก 1 วัน

แดงกูเงินธนาคาร 100,000 บาท เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม 2539 กําหนดใชคืนภายใน 1 เดือน ครบกําหนดในวันที่ 22 มิถุนายน 2539 ซึ่งเปนวันเสาร ถือวาแดงชําระเงินภายในกําหนด 1 เดือนหรือไม เมื่อวันที่ 22 และ 23 มิถุนายน 2539 เปนวันหยุดทําการกฎหมายใหนบ ั วันเริ่มทํางานเขาใน ระยะเวลาอีก 1 วัน ฉะนั้น การที่แดงนําเงินไปชําระคืนในวันที่ 24 มิถน ุ ายน 2539 ถือไดวาแดงไดชําระเงิน คืนภายในกําหนดเวลาแลว

11.2 หลักทั่วไปเกี่ยวกับอายุความ 1. อายุความเปนระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดไวเพื่อใชสิทธิเรียกรองทางศาล คูกรณีจะตกลงกันโดย นิติกรรมใหงดใช ขยายออก หรือยนเขาไมได 2. อายุความเปนระยะเวลาหนึ่งจึงตองนับอยางการนับระยะเวลา โดยเริ่มนับตั้งแตขณะที่อาจบังคับ สิทธิเรียกรองไดเปนตนไป 3. การที่อายุความสะดุดหยุดลง มีผลใหอายุความที่ผานมาแลวตองตัดทิ้งไป และเริ่มนับอายุความ ขึ้นใหมตั้งแตวันที่เหตุอันทําใหอายุความสะดุดหยุดลงหมดสิ้นไป 4. อายุความขยายออกไปไดเฉพาะในกรณีที่กฎหมายบัญญัติไวเทานั้น 5. อายุความเมื่อครบกําหนดแลวไมทําใหสิทธิเรียกรองหรือหนี้ระงับไป แตลูกหนี้มีสิทธิปฏิเสธชําระ หนี้ได การชําระหนี้ที่ขาดอายุความแลวหรือรับสภาพความรับผิดชอบในหนี้ที่ขาดอายุความลูกหนี้จะเรียก คืนหรือถอนคืนไมได 6. หากลูกหนี้มิไดยกอายุความขึ้นตอสู ศาลจะอางอายุความมาเปนเหตุผลยกฟองคดีไมได 11.2.1 ลักษณะของอายุความ

อายุความมีกี่ประเภท อายุความมี 2 ประเภทคือ (1) อายุความเสียสิทธิ หรืออายุความฟองรอง (2) อายุความไดสท ิ ธิ


50

11.2.2 การเริ่มนับอายุความ เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2539 ก ทําสัญญากูเงิน ข 200,000 บาท กําหนดชําระเงินภายใน 1 ป เมื่อหนี้ถึงกําหนดชําระ อายุความเริ่มนับตั้งแตเมื่อใด และ ข ตองฟองคดีตอศาลอยางชาที่สุดภายในวันที่ เทาใดคดีจึงจะไมขาดอายุความ การเริ่มนับอายุความ กฎหมายใหเริ่มนับตั้งแตขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกรองไดเปนตนไป ขณะที่ อาจบังคับสิทธิเรียกรองคือ ขณะที่เจาหนีส ้ ามารถฟองบังคับคดีตอ  ศาลไดนั่นเอง หนี้เงินกูร  ายนีค ้ รบกําหนดชําระในวันที่ 8 พฤษภาคม 2540 อายุความเริมนับตัง ้ แต 8 พฤษภาคม 2540 เปนตนไป เพราะถือวา เจาหนี้สามารถฟองคดีตอศาลไดตง ั้ แตวันนั้น หนี้เงินกูมอ ี ายุความ 10 ป ดังนั้น อยางชาที่สุด ข จะตองฟองบังคับคดีเสีย ภายในวันที่ 8 พฤษภาคม 2550 มิฉะนั้น สิทธิเรียกรองของ ข จะขาดอายุความ 11.2.3 อายุความสะดุดหยุดลง

เมื่อวันที่ 6 มกราคม 2537 ก ซื้อเชื่อขาวสาร 20 กระสอบจาก ข เปนเงิน 40,000 บาทเพื่อขาย ตอแลวบิดพลิ้วไมยอมชําระคาขาวสาร ข พยายามทวงถามเปนเวลาหลายเดือน จนวันที่ 20 ธันวาคม 2538 ก จึงออกเช็คสั่งจาย 40,000 บาท ชําระหนี้ให ข แตลงวันที่ลวงหนาในเช็คสั่งจายวันที่ 10 มกราคม 2538 เมื่อเช็คถึงกําหนด ข เอาเช็คไปขึ้นเงินแตธนาคารปฏิเสธการจายเงินเพราะไมมีเงินในบัญชี จะเกิดผลประการใดในหนี้รายนี้ การที่ ก ออกเช็คสั่งจายเงิน 40,000 บาท ให ข เปนการที่ ก ยอมรับวาเปนหนี้ ข จริง กฎหมาย ถือเปนการรับสภาพหนี้ ทําใหอายุความในหนี้รายนี้สะดุดหยุดลง อายุความที่ลวงพนมาแลวตองตัดทิ้งและ เริ่มนับอายุความใหมตั้งแตเหตุที่ทา ํ ใหอายุความสะดุดหยุดลงไดสิ้นสุดไป ก ออกเช็ควันที่ 20 ธันวาคม 2538 ลงวันทีล ่ วงหนาในเช็คเปนวันที่ 10 มกราคม 2539 เมื่อธนาคารปฏิเสธจายเงินอายุความสะดุดหยุด ลงในวันที่ 10 ธันวาคม 2538 ซึ่งเปนวันที่เช็คครบกําหนด อายุความที่ผา  นมาแลวตั้งแตวันที่ 6 มกราคม 2537 ถึงวันที่ 10 มกราคม 2539 ตัดทิง ้ เริ่มนับอายุความหนีร ้ ายนี้ใหมตง ั้ แตวันที่ 10 มกราคม 2539 เปน ตนไป 11.2.4 การขยายอายุความ

ก ให ข กูเงิน 500,000 บาท สิทธิเรียกรองของ ก จะครบกําหนดอายุความวันที่ 20 พฤษภาคม 2540 ก ตกเปนคนไรความสามารถในป 2535 และศาลตั้ง ค เปนผูอนุบาล ตอมา ค ถึงแกความตายเมื่อ วันที่ 3 กรกฎาคม 2540 ศาลตั้ง ง เปนผูอนุบาลคนใหมเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน 2540 สิทธิเรียกรองของ ก จะครบอายุความเมื่อไร ในกรณีที่สท ิ ธิเรียกรองของคนไรความสามารถจะครบอายุความในระหวาง 1 ป นับแตวันที่คนไร ความสามารถไมมีผูอนุบาล กฎหมายใหขยายอายุความออกไป 1 ป นับแตบุคคลนัน ้ ไดบรรลุความสามารถ เต็มภูมิหรือไดมีผูอนุบาลใหม สิทธิเรียกรองของ ก ครบกําหนดอายุความวันที่ 20 พฤศจิกายน 2540 แตผูอนุบาลของ ก ถึง แกกรรมเมือ ่ วันที่ 3 กรกฎาคม 2540 กอนที่จะครบกําหนดอายุความ และมีการตัง ้ ง เปนผูอนุบาลคนใหม เมื่อ 30 พฤศจิกายน 2540 อายุความจะขยายไปอีก 1 ป นับแตมก ี ารตั้งผูอนุบาล ดังนั้นสิทธิเรียกรองของ ก จะครบกําหนดอายุความวันที่ 30 พฤศจิกายน 2541 11.2.5 ผลของอายุความ

ก และ ข รวมกันกูเงินจาก ค จํานวน 300,000 บาท และ ก ข ไมเคยชําระหนี้ให ค จนลวงเลย ไป 11 ป ค ทวงถามให ก และ ข จัดการชําระหนี้ ก จึงนําเงินชําระให ค 50,000 บาท พรอมกับเขียน หนังสือรับรองวาจะชําระหนี้ที่คางใหหมดสิ้น ถา ก ไมชําระหนี้ตามคํารับรอง ค จึงฟอง ก ข ใหรับผิด ดังนี้ ก ข จะตอสูวาสิทธิเรียกรองของ ค ขาดอายุความแลวไดหรือไม ตามหลักกฎหมาย เมือ ่ อายุความครบกําหนดแลว ลูกหนี้จะสละประโยชนแหงอายุความก็ได แต การสละประโยชนเชนนั้นไมกระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอก ตามปญหาหลังจาก ก ข รวมกันกูเงิน ค ไปถึง 11 ปแลว ค จึงทวงถาม สิทธิเรียกรองของ ค จึง ขาดอายุความ 10 ป การที่ ก นําเงินไปชําระหนี้ให ค และรับรองจะชําระหนี้ทค ี่ างใหหมดสิน ้ เทากับ ก สละประโยชนแหงอายุความการสละประโยชนเปนเรื่องเฉพาะตัวของ ก ไมกระทบกระเทือน ข แตอยางใด ดังนั้น เมื่อ ค ฟอง ก ข ใหชําระหนี้ ก จึงไมอาจยกขอตอสูวาสิทธิเรียกรองขาดอายุความ สวนขอ สามารถตอสูไดวา  สิทธิเรียกรองของ ค ขาดอายุความแลว

11.3 กําหนดอายุความ


51 1. สิทธิเรียกรองที่กฎหมายมิไดกําหนดอายุความไวโดยเฉพาะ สิทธิเรียกรองของรัฐที่จะเรียกคา ภาษีอากร และสิทธิเรียกรองที่เกิดขึ้นโดยคําพิพากษาที่ถึงที่สุด หรือโดยสัญญาประนีประนอมยอมความมี กําหนดอายุความ 10 ป 2. สิทธิเรียกรองดอกเบี้ยคางชําระ เงินที่ตองชําระผอนคืนเปนงวด คาเชาทรัพยสินที่คางชําระ เงินเดือน เงินป เงินบํานาญ คาอุปการะเลี้ยงดู คาซื้อสิ่งของเพื่อผลิตเปนสินคาหรือเพื่อขายตอมีกําหนด อายุความ 5 ป 3. สิทธิเรียกรองในเรื่องที่มีความสําคัญไมมากนัก เชนคาซื้อสิ่งของสําหรับใชสวนตัว หรือใน ครัวเรือน คาเชาที่พัก คาระวาง คาจางที่มิไดจายเปนเดือน คาเลาเรียน คารักษาพยาบาล คาจางวาความ คาตอบแทน คาคุมงาน มีกําหนดอายุความ 2 ป 11.3.1 สิทธิเรียกรองที่มีอายุความ 10 ป

สิทธิเรียกรองกรณีใดที่มีอายุความ 10ป สิทธิเรียกรองที่มีอายุความ 10 ป มีดง ั นี้ (1) สิทธิเรียกรองที่กฎหมายมิไดกา ํ หนดอายุความไวโดยเฉพาะ (2) สิทธิเรียกรองของรัฐที่จะเรียกคาภาษีอากร (3) สิทธิเรียกรองที่เกิดขึ้นโดยคําพิพากษาถึงที่สุด หรือโดยสัญญาประนีประนอมยอมความ 11.3.2 สิทธิเรียกรองที่มีอายุความ 5 ป เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2539 ก เชาอพารทเมนต ของ ข อยูอาศัย คาเชาเดือนละ 18,000 บาท ชําระคาเชาวันสิ้นเดือน ก ชําระคาเชาตลอดมา แตเมื่อสิ้นเดือนกันยายน 2539 ก ไมชําระคาเชา และขน ของออกจากอพารทเมนตไป ข จะฟองเรียกคาเชาจาก ก ภายในวันที่เทาใด จึงจะไมขาดอายุความ สิทธิเรียกรองคาเชาอสังหาริมทรัพยมีอายุความ 5 ป ตามกฎหมาย ก ผิดนัดไมชําระคาเชาวันที่ 30 กันยายน 2539 อายุความ 5 ป จะสิ้นสุดลงในวันที่ 30 กันยายน 2544 ดังนั้น ข ตองฟองรอง ก เสียอยางชาภายในวันที่ 30 กันยายน 2544 จึงจะไมขาดอายุความ 11.3.3 สิทธิเรียกรองที่มีอายุความ 2 ป

ก ใชบัตรเครดิตซื้อตั๋วโดยสารเครื่องบินของบริษัท การบินไทย จํากัด เพื่อเดินทางไปประเทศ สหรัฐอเมริกา แลวไมชําระคาโดยสารให ดังนี้ บริษัท การบินไทย จํากัด ตองฟองรองบังคับคดีภายในอายุ ความกี่ป ตามกฎหมาย สิทธิเรียกรองของผูข  นสงคนโดยสารหรือสิ่งของเรียกเอาคาโดยสาร คาระวาง คาธรรมเนียมมีกําหนดอายุความ 2 ป การขนสงคนโดยสารตามกฎหมาย รวมทัง ้ การขนสงทางบก ทางเรือ และทางอากาศยาน บริษท ั การบินไทย จํากัด ถือวาเปนผูขนสงคนโดยสารทางอากาศยาน ดังนี้จะตองฟองบังคับคดี จาก ก ภายในกําหนด 2 ป แบบประเมินผล หนวยที่ 11 ระยะเวลาและอายุความ มาตรา 193/1 การนับระยะเวลาทั้งปวง ใหบังคับตามบทบัญญัติแหงลักษณะนี้ เวนแตจะมีกฎหมาย คําสั่งศาล ระเบียบ ขอบังคับ หรือนิติกรรมกําหนดเปนอยางอื่น มาตรา 193/4 ในทางคดีความ ในทางราชการ หรือทางธุรกิจการคาและอุตสาหกรรม วัน หมายความวา เวลาทําการ ตามที่ไดกําหนดขึ้นโดยกําหมาย คําสั่งศาล หรือระเบียบขอบังคับ หรือเวลาทําการตามปกติของกิจการนั้น แลวแตกรณี มาตรา 193/6 ถาระยะเวลากําหนดเปนเดือนและวันหรือกําหนดเปนเดือนและสวนของเดือน ใหนับจํานวนเดือนเต็มกอน แลวจึงนับจํานวนวันหรือสวนของเดือนเปนวัน ถาระยะเวลากําหนดเปนสวนของป ใหคํานวณสวนของปเปนเดือนกอนหากมีสวนของเดือน ใหนับสวนของเดือนเปนวัน การคํานวณสวนของเดือนตามวรรคหนึ่งและวรรคสอง ใหถือวาเดือนหนึ่งมีสามสิบวัน มาตรา 193/7 ถามีการขยายระยะเวลาออกไปโดยมิไดมีการกําหนดวันเริ่มตนแหงระยะเวลาที่ขยายออกไป ใหนับวันที่ ตอจากวันสุดทายของระยะเวลาเดิมเปนวันเริ่มตน มาตรา 193/8 ถาวันสุดทายของระยะเวลาเปนวันหยุดทําการตามประกาศเปนทางการหรือตามประเพณี ใหนับวันที่ เริ่มทําการใหมตอจากวันที่หยุดทําการนั้นเปนวันสุดทายของระยะเวลา

1. ระยะเวลาที่กําหนดเปนนาที ตองนับในทันที

(มาตรา 193/2 การคํานวณระยะเวลา ใหคํานวณเปนวัน แตถากําหนดเปนหนวยเวลาที่สั้นกวาวัน ก็ใหคํานวณตามหนวยเวลาที่กําหนด

นั้น )

2. ระยะเวลาที่ตองนับในทันทีคือ ระยะเวลาทีก ่ า ํ หนดเปนชั่วโมงหรือนาที

(มาตรา 193/3 ถากําหนดระยะเวลาเปนหนวยเวลาที่สั้นกวาวันในเริ่มตนนับในขณะที่เริ่มการนั้น ถากําหนดระยะเวลาเปนวัน สัปดาห เดือนหรือป มิใหนับวันแรกแหงระยะเวลานั้นรวมเขาดวยกัน เวนแตจะเริ่มการในวันนั้นเองตั้งแต เวลาที่ถือไดวาเปนเวลาเริ่มตนทําการงานกันตามประเพณี )

3. ระยะเวลาที่กําหนดเปนวัน วันแรกจะไมนับ


52 4. กําหนดระยะเวลาที่ไมนับวันแรกเขาในระยะเวลา คือ กําหนดเปนวัน กําหนดเปนสัปดาห กําหนดเปน เดือน และ กําหนดเปนป 5. ระยะเวลาที่กฎหมายกําหนดใหใชสท ิ ธิเรียกรองในศาลเรียกวา อายุความ 6. สิทธิเรียกรองทีม ่ ิไดฟองคดีบังคับภายในระยะเวลาที่กฎหมายกําหนด จะมีผลทําให ขาดอายุความ ่ าจทวงถามได 7. สิทธิเรียกรองทีต ่ องมีการทวงถามกอน อายุความเริ่มนับ ขณะทีอ 8. อายุความเริ่มนับตั้งแต ขณะที่อาจบังคับสิทธิเรียกรองได 9. วันที่ 5 มกราคม 2539 ก ทําสัญญากูเงิน ข เปนเงิน 200,000 บาท ไมมก ี ําหนดชําระคืน อายุความสิทธิ เรียกรองของ ข เริ่มนับ วันที่ 5 มกราคม 2539 10. ก ทําสัญญากูเงิน ข จํานวน 200,000 บาท เมื่อวันที่ 10 มกราคม 2539 กําหนดใชคืนใน 1 เดือน อายุความ สิทธิเรียกรองของ ข เริ่มนับ ในวันที่ 10 กุมภาพันธ 2539 11. การที่ลูกหนี้ทาํ หนังสือรับสภาพหนี้ใหเจาหนี้ จะมีผลตออายุความในหนี้รายนั้นคือ อายุความสะดุดหยุดลง 12. การที่เจาหนี้ฟอ  งคดีตอศาลเพื่อบังคับตามสิทธิเรียกรอง จะมีผลตออายุความของสิทธิเรียกรองนี้ คือ อายุ ความสะดุดหยุดลง 13. กรณีอายุความครบกําหนดในวันหยุดราชการจะมีผลคือ อายุความขยายออกไป

(มาตรา 193/8 ถาวันสุดทายของระยะเวลาเปนวันหยุดทําการตามประกาศเปนทางการหรือตามประเพณี ใหนับวันที่เริ่มตอจากวัน สุดทายของระยะเวลาเดิมเปนวันเริ่มตน )

14. 15. 16. 17.

กรณีอายุความครบกําหนดในระหวางมีเหตุสด ุ วิสัย จะมีผลคือ อายุความขยายออกไป หนี้ที่ขาดอายุความจะมีผลตอลูกหนี้คือ ลูกหนี้ปฏิเสธการชําระหนี้ ศาลจะอางอายุความเปนเหตุผลในการยกฟองโจทยไดในกรณี ลูกหนี้ยกอายุความขึ้นตอสู สิทธิเรียกรองซึง่ กฎหมายมิไดกําหนดอายุความไวโดยเฉพาะ กฎหมายใหมอ ี ายุความ 10 ป

มาตรา 193/30 อายุความนั้น ถาประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่นมิไดบัญญัติไวโดยเฉพาะ ใหมีกําหนด 10 ป มาตรา 193/31 สิทธิเรียกรองของรัฐที่จะเรียกเอาคาภาษีอากรใหมีกําหนดอายุความ 10 ป สวนสิทธิเรียกรองของรัฐที่ จะเรียกเอาหนี้อยางอื่นใหบังคับบทบัญญัติในลักษณะนี้ มาตรา 193/32 สิทธิเรียกรองที่เกิดขึ้นโดยคําพิพากษาของศาลถึงที่สุด หรือโดยสัญญาประนีประนอมยอมความ ใหมี กําหนดอายุความสิบป ทั้งนี้ไมวาสิทธิเรียกรองเดิมจะมีกําหนดอายุความเทาใด มาตรา 193/33 สิทธิเรียกรองตอไปนี้ใหมีกําหนดอายุความหาป (1) ดอกเบี้ยคางชําระ (2) เงินที่ตองชําระเพื่อผอนทุนคืนเปนงวดๆ (3) คาเชาทรัพยสินคางชําระ เวนแตคา เชาสังหาริมทรัพยตามมาตรา 193/34 (6) (4) เงินคางจาย คือ เงินเดือน เงินป เงินบํานาญ คาอุปการะเลี้ยงดูและเงินอื่นๆ ในลักษณะทํานองเดียวกับที่ มีการกําหนดจายเปนระยะเวลา (5) สิทธิเรียกรองตามมาตรา 193/34 (1) (2) และ (5) ที่ไมอยูในบังคับอายุความสองป

18. สิทธิเรียกรองเงินคาภาษีอากรของรัฐ มีอายุความ 10 ป 19. มหาวิทยาลัยของรัฐหรือเอกชนเรียกคาธรรมเนียมการศึกษาจากนักศึกษา จะตองฟองภายในกําหนดอายุ ความ 2 ป 20. ขาราชการหรือลูกจางบริษท ั เอกชนฟองเรียกเงินเดือนคางจายตองฟองภายในกําหนดอายุความ 5 ป

มาตรา 193/34 สิทธิเรียกรองตอไปนี้ใหมีกําหนดอายุความสองป (๑) ผูประกอบการคาหรืออุตสาหกรรม ผูประกอบหัตถกรรม ผูประกอบศิลปะอุตสาหกรรมหรือชางฝมือ เรียกเอา คาของที่ไดสงมอบ คาการงานที่ไดทํา หรือคาดูแลกิจการของผูอื่นรวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป เวนแตเปนการที่ไดทําเพื่อ กิจการของฝายลูกหนี้นั้นเอง (๒) ผูประกอบการเกษตรกรรมหรือการปาไม เรียกเอาคาของที่ไดสง มอบอันเปนผลิตผลทางเกษตรหรือปาไม เฉพาะที่ใชสอยในบานเรือนของฝายลูกหนี้นั้นเอง (๓) ผูขนสงโดยสาร หรือสิ่งของหรือผูรับสงขาวสาร เรียกเอาคาโดยสาร คาระวาง คาเชา คาธรรมเนียม รวมทั้ง เงินที่ไดออกทดรองไป (๔) ผูประกอบการธุรกิจโรงแรมหรือหอพัก ผูประกอบธุรกิจในการจําหนายอาหารและเครื่องดื่ม หรือผูประกอบ ธุรกิจสถานบริการตามกฎหมายวาดวยสถานบริการเรียกเอาคาที่พัก อาหารหรือเครื่องดื่ม คาบริการหรือคาการงานที่ไดทําใหแกผู มาพักหรือใชบริการ รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป (๕) ผูขายสลากกินแบง สลากกินรวบ หรือสลากที่คลายคลึงกัน เรียกเอาคาขายสลาก เวนแตเปนการขายเพื่อการ ขายตอ (๖) ผูประกอบการธุรกิจในการใหเชา สังหาริมทรัพย เรียกเอาคาเชา (๗) บุคคลซึ่งมิได เขาอยูในประเภทที่ระบุไวใน (๑) แตเปนผูประกอบธุรกิจในการดูแลกิจการของผูอื่นหรือรับทํา การงานตางๆ เรียกเอาสินจางอันจะพึงไดรับในการนั้น รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป (๘) ลูกจางซึ่งรับใชการงานสวนบุคคล เรียกเอาคาจางหรือสินจางอื่นเพื่อการงานที่ทํา รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรอง ไป หรือนายจางเรียกเอาคืนซึ่งเงินเชนวานัน ้ ที่ตนไดจายลวงหนาไป (๙) ลูกจางไมวาจะเปนลูกจางประจํา ลูกจางชั่วคราว หรือลูกจางรายวัน รวมทั้งผูฝกหัดงาน เรียกเอาคาจางหรือ สินจางอยางอื่น รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป หรือลูกจางเรียกเอาคืนซึ่งเงินเชนวานั้นที่ตนไดจายลวงหนาไป (๑๐) ครูสอนผูฝกหัดงาน เรียกเอาคาฝกสอนและคาใชจายอยางอื่นตามที่ไดตกลงกันไว รวมทั้งเงินที่ไดออกทด รองไป (๑๑) เจาของสถานศึกษาหรือสถานพยาบาลเรียกเอาคาธรรมเนียมการเรียน และคาธรรมเนียมอื่นๆ หรือคา รักษาพยาบาล และคาใชจายอยางอื่น รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป (๑๒) ผูรับคนไวเพื่อการบํารุงเลี้ยงดูหรือฝกสอน เรียกเอาคาการงานที่ทําให รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป (๑๓) ผูรับเลี้ยงหรือผูฝกสอนสัตว เรียกเอาคาการงานที่ทําให รวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป


53 (๑๔) ครูหรืออาจารยเรียกเอาคาสอน (๑๕) ผูประกอบวิชาชีพเวชกรรม ทันตกรรม การพยาบาล การผดุงครรภ ผูประกอบการบําบัดโรค หรือผูประกอบ โรคศิลปะ สาขาอื่นๆ เรียกเอาคาการงานที่ทําใหรวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป (๑๖) ทนายความหรือผูประกอบวิชาชีพทางกําหมายรวมทั้งพยานผูเชี่ยวชาญเรียกเอาคาการงานที่ทําให รวมทั้ง เงินที่ไดออกทดรองไป หรือคูความเรียกเอาคืนซึ่งเงินเชนวานั้นทีต ่ นไดจายลวงหนาไป (๑๗) ผูประกอบวิชาชีพวิศวกรรม สถาปตยกรรม ผูสอบบัญชี หรือผูประกอบวิชาชีพอิสระอื่นๆ เรียกเอาคาการงาน ที่ทําใหรวมทั้งเงินที่ไดออกทดรองไป หรือผูวาจางใหประกอบการงานดังกลาวเรียกเอาคืนซึ่งเงินเชนวานั้นที่ตนไดจายลวงหนาไป

หนวยที่ 12 สัญญา : หลักทั่วไป 1. สัญญาเปนเรื่องของกฎหมายเอกชน ซึ่งมีความเกี่ยวพันกับกฎหมายในลักษณะนิติกรรม 2. สัญญาเปนความตกลงระหวางบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป ซึ่งมีวัตถุประสงคในอันที่จะกอใหเกิด ความผูกพันในทางกฎหมาย 3. คําเสนอคือ การแสดงเจตนาของคูสัญญาฝายหนึ่งตอบุคคลอีกฝายหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงคในการ ที่จะทําสัญญาผูกพันกัน 4. คําสนองคือการแสดงเจตนาของคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ที่ตกลงยินยอมเขาทําสัญญากับผูทําคํา เสนอ 5. คําเสนอที่มีลักษณะเปนคํามั่นซึ่งผูกพันผูทําคําเสนอแตฝายเดียว อันอาจกอใหเกิดผลผูกพัน ในทางกฎหมายได เชนสัญญา 6. คํามั่นเปนการแสดงเจตนาฝายเดียวของผูใหคํามั่นและมีผลผูกพันผูใหคํามั่น 12.1 ขอความทั่วไป

1. สัญญาเปนสาขาหนึ่งของกฎหมายเอกชน 2. สัญญา คือ นิติกรรมประเภทหนึ่งซึ่งตองนําหลักกฎหมายนิติกรรมมาใชบังคับแกเรื่องของสัญญา เทาที่ในเรื่องของสัญญามิไดบัญญัติไวเปนพิเศษ 12.1.1 สัญญากับกฎหมายเอกชน ที่วาสัญญาเปนบทบัญญัติของกฎหมายในสาขาเอกชนนั้น ทานเขาใจวาอยางไร บทบัญญัตข ิ องกฎหมายในเรื่องของสัญญา เปนบทบัญญัตท ิ ี่วา  ดวยความผูกพันในทางกฎหมายที่ เอกชนทั่วไปที่อยูในฐานะเดียวกันสามารถทําความตกลงกอใหเกิดขึ้นได 12.1.2 ความเกี่ยวพันระหวางกฎหมายลักษณะสัญญากับกฎหมายลักษณะนิติกรรม

สัญญามีความเกี่ยวพันกับนิติกรรมอยางไร สัญญาเปนนิติกรรมประเภทหนึ่งที่เกิดจากการตกลงกอความผูกพันในทางกฎหมายระหวางบุคคล ตั้งแตสองฝายขึ้นไป ดังนั้นหลักทัว ่ ไปในเรื่องของการทํานิตก ิ รรมจึงตองนํามาใชบังคับแกกรณีการทํา สัญญาดวย เวนแตในเรื่องของสัญญาจะไดมีบทบัญญัตใิ นเรื่องนั้นๆ ไวเปนพิเศษ 12.2 ลักษณะทั่วไปของสัญญา

สัญญา ตองมีบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไปแสดงเจตนาตกลงยินยอม โดยมีวัตถุประสงคอยางหนึ่งอยาง ใดในการกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมายขึ้น 12.2.1 ความหมายของสัญญา

ทานเขาใจคําวา “สัญญา” วาอยางไร การใหความหมายของคําสัญญานั้นยังแตกตางกันอยูบ  างตามแนวความคิด สําหรับกฎหมายไทย นั้น สัญญานัน ้ มีความหมายคอนขางกวาง เพราะหมายถึงความตกลงระหวางบุคคลตั้งแต 2 ฝาย ทีม ่ ีความ ประสงคที่จะกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมาย หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึงนิตก ิ รรมที่แสดงการแสดงเจตนา ของบุคคลตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป 12.2.2 สาระสําคัญของสัญญา

ที่วาสัญญาตองเกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต 2 ฝายไปนั้น เพราะเหตุใดจึงใชคําวา “สองฝาย” แทนที่จะใชคําวา “สองคน” แสดงเจตนาทํานิติกรรมและสัญญานั้น กฎหมายไมไดคํานึงถึงจํานวนตัวบุคคลที่แสดงเจตนาวามี สองคนหรือกีค ่ น หากแตคา ํ นึงถึงการแสดงเจตนาที่ไดมก ี ารกระทําออกมาแตละการแสดงเจตนาเปน สําคัญเพราะฉะนั้น การแสดงเจตนาอันหนึ่งนั้นอาจเกิดจากการแสดงเจตนาของบุคคลหลายๆคน ก็ได เชน กรณีของการแสดงเจตนาของผูมก ี รรมสิทธิร ์ วมในทรัพยอันหนึ่งอันใด หรือการแสดงเจตนาของหาง หุนสวนจํากัดซึ่งเปนนิตบ ิ ุคคลประกอบดวยบุคคลเปนจํานวนมาก


54

ที่วาการทําสัญญา บุคคลซึ่งแสดงเจตนาตกลงกันจะตองมีวัตถุประสงคที่จะกอใหเกิดผลผูกพัน ในทางกฎหมายนั้น “วัตถุประสงค” เชนวานั้นคืออะไร หมายถึงความประสงคหรือความมุงหมายที่คูสญ ั ญาทัง ้ หลาย ที่ทา ํ สัญญาแตละลักษณะของ สัญญาจะพึงไดรับจากการทําสัญญานั้น เชน การตกลงทําสัญญาซือ ้ ขายไมวา  จะเปนสัญญาซือ ้ ขายสิ่งใดๆ ยอมมีวัตถุประสงคเปนการโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินของเจาของทรัพย คือผูข  าย ใหกบ ั ผูซ  ื้อโดยผูซื้อ จะตองชําระราคาของสิ่งของที่ซอ ื้ ขายกันนั้น หรือสัญญาเชาทรัพยยอมมีวัตถุประสงคที่เจาของทรัพยให คูสัญญาอีกฝายหนึง ่ ไดใชประโยชนในทรัพยของตน โดยเจาของทรัพยไดคาเชาใชประโยชนเปนการ ตอบแทน 12.3 คําเสนอ

1. คําเสนอ คือ การแสดงเจตนาที่มีขอความชัดเจน แนนอนเพียงพอที่จะถือวาเปนขอผูกพันถาหาก อีกฝายหนึ่งตอบตกลงตามที่ผูเสนอไดแสดงเจตนาไป 2. คําเสนอตอบุคคลที่อยูเฉพาะหนา และคําเสนอตอบุคคลที่อยูหางโดยระยะทาง มีผลผูกพันผูทํา คําเสนอในชวงระยะเวลาตามที่กฎหมายบัญญัติ เวนแตจะเปนกรณีที่ผูเสนอกําหนดระยะเวลาที่ตนผูกพัน ไวโดยเฉพาะ 3. ผูทําคําเสนอซึ่งถอนคําเสนอกอนที่คําเสนอของตนสิ้นความผูกพันจะตองรับผิดตอบุคคลอื่นซึ่ง เปนผูรับคําเสนอและตองเสียหายจากการถอนคําเสนอนั้น 12.3.1 การแสดงเจตนาเพื่อทําสัญญาโดยทั่วไป

แผนปลิวโฆษณาของสินคาก็ดี หรือไมอยางไร

ประกาศประกวดราคาของทางราชการก็ดี

ทั้งสองกรณีมล ี ักษณะเปนการแสดงเจตนาเชิญชวน เพื่อใหแสดงเจตนาทําคําเสนอกับตนตอไป

มีผลในทางกฎหมาย

หรือทาบทามผูรบ ั การแสดงเจตนาทีส ่ นใจ

12.3.2 ความหมายและลักษณะของคําเสนอ คําเสนอมีความหมายอยางไร คําเสนอคือการแสดงเจตนาของคูสัญญาฝายหนึ่งที่มีขอ  ความชัดเจนแนนอน เพียงพอทีถ ่ ือวาจะ เปนขอผูกพันคูกรณีอีกฝายหนึ่งได ถาคูสัญญาซึง ่ ไดรับการแสดงเจตนานั้นตอบตกลงตามคําเสนอ ซึง ่ การแสดงเจตนาทําคําเสนอนั้นอาจเปนการแสดงเจตนาตอบุคคลใดเปนการเฉพาะตัว เชน ทําคําเสนอตอ นาย ก หรือเปนแสดงเจตนาตอบุคคลทัว ่ ไป เชน การขายตัว ๋ ของโรงภาพยนตร หรือการแสดงเจตนารับ ขนสงของรถยนตโดยสารขององคการขนสงมวลชนกรุงเทพฯ 12.3.3 การทําคําเสนอตอบุคคลที่อยูเฉพาะหนาและการทําคําเสนอตอบุคคลที่อยูหาง โดยระยะทาง การแสดงเจตนาทําคําเสนอตอบุคคลที่อยูเฉพาะหนากับการแสดงเจตนาทําคําเสนอตอบุคคลที่ อยูหางโดนระยะทางมีลักษณะตางกันอยางไร การแสดงเจตนาทําคําเสนอตอบุคคลที่อยูเ ฉพาะหนานั้น ผูทําคําเสนอสามารถแสดงเจตนาทํา ความเขาใจกับคูก  รณีอก ี ฝายหนึง ่ ไดทันที เชน คูก  รณีนั่งคุยกันอยูหรืออาจจะอยูกันคนละจังหวัด แตได แสดงเจตนาทําคําเสนอโดยการโทรศัพทติดตอตกลงกันแตการแสดงเจตนาทําคําเสนอตอบุคคลที่อยูห  าง ั ที ซึ่งอาจ โดยระยะทางนั้นผูทําคําเสนอไมสามารถแสดงเจตนาทําความเขาใจกับคูกรณีอก ี ฝายหนึ่งไดทน เนื่องจากอยูหา  งไกลกันจําเปนตองเขียนจดหมายติดตอถึงกัน หรืออาจจะอยูบา  นติดกัน แตไดใชวิธีเขียน จดหมายลงทะเบียนเพือ ่ ใหมีหลักฐานในการรับแสดงเจตนาทําใหไมสามารถทําความเขาใจกันไดทันที 12.3.4 ผลผูกพันของคําเสนอ

คําเสนอที่ผูทําคําเสนอไดแสดงตอคูกรณีอีกฝายหนึ่งนั้นมีผลผูกพันผูทําคําเสนอเพียงใด แยกพิจารณาวาถาเปนคําเสนอตอบุคคลที่บงระยะเวลาใหทําคําสนอง คําเสนอนัน ้ ยอมผูกพันผูทํา คําเสนอตลอดระยะเวลาทีบ ่ งไวในคําเสนอ ถาเปนคําเสนอที่ไมไดบงระยะเวลาใหทําคําเสนอ จะตองแยกพิจารณาวาเปนคําเสนอที่กระทําตอ บุคคลที่อยูเฉพาะหนา หรือเปนคําเสนอทีก ่ ระทําตอบุคคลที่อยูหา  งโดยระยะทาง ในกรณีแรกคําเสนอยอมมี ี ารทําคําเสนอนัน ้ ผลผูกพันทําคําเสนอ ณ สถานที่และในชั่วระยะที่มก สวนในกรณีหลังคําเสนอยอมมีผลผูกพันภายในระยะเวลาอันสมควรที่ผร ู ับคําเสนอจะตอบสนอง คําเสนอนั้น แตอยางไรก็ตาม ทัง ้ สองกรณีจะตองคํานึงถึงสภาพลักษณะของคําเสนอตลอดจนพฤติการณ ทั่วไปในการทีจ ่ ะตองใชเวลาในการตอบสนองพิจารณาประกอบกัน


55 12.3.5 ปญหาความรับผิดของผูทําคําเสนอในกรณีผูเสนอถอนคําเสนอของตนกอนที่คํา

เสนอสิ้นความผูกพัน ในกรณีที่ผูทําคําเสนอถอนคําเสนอของตนกอนที่คําเสนอจะสิ้นความผูกพันตามมาตรา 354 มาตรา 355 หรือมาตรา 356 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชยในกรณีดังกลาวผูรับคําเสนอยังมิได ตอบสนอง ผูทําคําเสนอจะตองรับผิดในการถอนคําเสนอของตนหรือไม เพียงใด ถาผูรับคําเสนอตอง เสียหายจากการตระเตรียมอะไร เพื่อตอบสนองทําสัญญา ยังมีความเห็นแตกตางกันอยูบาง ฝายหนึ่งเห็นวาเมื่อยังไมเกิดสัญญา หากมีความเสียหายใดๆ เกิดขึ้นเปนเรือ ่ งที่จะตองพิจารณาจากหลักกฎหมายในเรื่องละเมิดแตอีกฝายหนึง ่ เห็นวาแมสญ ั ญาจะยังไม เกิดแตไดมีนิติกรรมฝายเดียวเกิดขึ้นแลว เมื่อมีการฝาฝนไมปฏิบต ั ิตามเจตนาของตนที่ไดแสดงไว จึง ไมใชเปนเรื่องความรับผิดทางละเมิด อยางนอยถือวาเปนความรับผิดกอนสัญญา 12.4 คําสนอง

1. คําสนองคือการแสดงเจตนาตอบตกลงเขาทําสัญญากับผูทําคําเสนอ 2. คําสนองที่ไมตรงกับคําเสนอ หรือ ที่สงมาลวงเวลา คําสนองนั้นมีผลเปนคําเสนอของผูทําคํา สนองนั้นขึ้นมาใหม 3. คําสนองลวงเวลาที่มิไดเกิดขึ้นเพราะความผิดของผูสนองเองมีผลทําใหคําสนองนั้นเปนคําสนอง ที่มีผลสมบูรณได 12.4.1 ความหมายและลักษณะของคําสนอง

คําสนองมีความหมายอยางไร คําสนองคือการแสดงเจตนาของบุคคลผูไ  ดรับคําเสนอในการตอบรับทําสัญญาตามคําเสนอโดยมี ขอความตรงคําเสนอ 12.4.2 คําสนองที่ไมตรงกับคําเสนอ

คําสนองที่ไมตรงกับคําเสนอคืออะไร มีผลในกฎหมายอยางไร คําสนองที่ไมตรงกับคําเสนอคือ คําสนองที่มีใจความแตกตางเปลี่ยนแปลงไปจากคําเสนอไมวา  จะ โดยมีขอ  ความเพิ่มเติม มีขอจํากัดหรือมีขอ  แกไขไปจากคําเสนอที่มีมาถึงตน ซึ่งตามกฎหมายถือวาคํา สนองดังกลาวมีผลเปนคําบอกปดไมรบ ั คําเสนอ และถือวาเปนคําเสนอขึ้นใหมในตัว แตที่จะมีผลเปนคํา เสนอขึ้นใหมในตัวนั้น คําสนองนั้นจะตองเปนการแสดงเจตนาที่โดยเนื้อหาสาระของคําสนองที่มีไปนั้นมี ลักษณะสมบูรณทจ ี่ ะเปนคําเสนอไดในตัวเองดวย 12.4.3 คําสนองลวงเวลา

คําสนองลวงเวลาหมายความวาอยางไร และมีผลในกฎหมายอยางไร คําสนองลวงเวลาคือ คําสนองซึ่งผูทา ํ คําสนองไดแสดงเจตนาตอบตกลงทําสัญญาแตมิไดไปถึง ผูทา ํ คําเสนอภายในกําหนดเวลาตามทีก ่ า ํ หนดไวในมาตรา 354 มาตรา 355 หรือมาตรา 356 แหงประมวล กฎหมายแพงและพาณิชย แลวแตละกรณี กฎหมายถือวาคําสนองที่ลวงเวลานั้น มีผลเปนคําเสนอขึ้นใหม ในตัว ซึ่งการที่คา ํ สนองจะมีผลเปนคําเสนอขึ้นใหมในตัว จะตองมีลก ั ษณะเชนเดียวกับคําสนองที่ไมตรงกับ ี่ ะเปนคําเสนอไดในตัวเองดวย คําเสนอคือคําสนองนั้นโดยเนื้อหาสาระของคําสนองนั้น มีลักษณะสมบูรณทจ

คําสนองลวงเวลานั้นกฎหมายถือวาเปนคําเสนอขึ้นใหมในตัวเสมอไป หรือไม เพียงใด คําสนองลวงเวลานั้นกฎหมายถือวาเปนคําเสนอขึ้นใหมในตัวนั้น ไมเสมอไป ถาเปนคําสนองที่สง

มาลวงเวลาแตเปนทีป ่ รากฏชัดวาคําบอกกลาวสนองนั้นไดโดยสงวิถีทางตามปกติ ซึง ่ ควรจะไดมาถึง ภายในกําหนดเวลา แตเพราะเหตุเชนน้ําทวม หรือพนักงานไปรษณียจ  ัดแยกจดหมายผิด ทําใหสง จดหมายไมไดหรือลาชากวาปกติทา ํ ใหผูทา ํ คําเสนอไมไดรับคําสนองภายในเวลาอันควรไดรับใน กําหนดเวลา กฎหมายบัญญัติใหผูเสนอตองบอกกลาวใหผูรบ ั คําเสนอนั้นทราบโดยพลัน (หรืออาจจะได บอกกอนแลวเชนเมื่อเลยเวลาอันควรไดรบ ั คําสนอง จึงไดไปใหทราบวาไมไดรบ ั คําสนองภายในกําหนด ) ซึ่งถาผูท  า ํ คําเสนอบอกกลาวเชนนี้แลว คําสนองลวงเวลานั้นจึงจะไมมีผลกอใหเกิดสัญญา และถือวาเปน คําเสนอขึ้นใหมในตัว ถาผูท  ําคําเสนอไมบอกกลาวผูทา ํ คําสนองโดยพลัน กฎหมายถือวาคําสนองนั้นไม ลวงเวลา ซึง ่ หากคําสนองนั้นมีความสมบูรณในฐานะเปนคําสนองก็ทา ํ ใหเกิดสัญญาขึ้นได 12.5 คํามั่น

การแสดงเจตนาของผูทําคําเสนอซึ่งกระทําตอบุคคลทั่วไปในลักษณะที่ผูกพันผูทําคําเสนอแตฝาย เดียว ซึ่งไดแก กรณีคํามั่นจะใหรางวัลในกรณีที่มีผูกระทําการอยางหนึ่งอยางใดไดสําเร็จตามมาตรา 362 และคํามั่นจะใหรางวัลในการประกวดชิงรางวัล ตามมาตรา 365 มีผลทําใหผูซึ่งกระทําการไดตามที่มีการ ใหคํามั่นไว ไดรับรางวัลอันมีผลบังคับไดดั่งสัญญา


56

12.5.1 คํามั่นจะใหรางวัลในกรณีที่มีผูกระทําการอยางหนึ่งอยางใดไดสําเร็จ คํามั่นในการใหรางวัลกับคํามั่นในการประกวดชิงรางวัลตางกับคําเสนอหรือไมอยางไร จากคํามั่นประเภทอื่นๆอยางไร

และตาง

คํามั่นตามนัยที่กลาวขางตนเปนการแสดงเจตนาอันเปนนิติกรรมฝายเดียว ซึ่งผูแสดงเจตนา ประกาศแกบค ุ คลทัว ่ ไป ผูกพันตนเองในการที่จะใหรางวัลแกผูกระทําตามที่ไดแสดงเจตนาประกาศ โฆษณาไว ทัง ้ นี้แมถึงวาผูก  ระทําการนั้นจะไมไดมุงหวังในรางวัลก็ตาม คํามั่นดังกลาวยอมแตกตางจากคํามั่นจะซื้อจะขายซึ่งเปนเรื่องของสัญญาหรือนิตก ิ รรมสองฝาย ้ หรือจะขาย สัญญาก็ยอมเกิดขึ้น ซึ่งเมื่อผูไดรบ ั คํามั่นไดแสดงเจตนาตอบตกลงจะซือ 12.5.2 คํามั่นจะใหรางวัลในการประกวดชิงรางวัล ระหวางคํามั่นจะใหรางวัลตามมาตรา 362 กับคํามั่นในการประกวดชิงรางวัลตามมาตรา 365 มีขอ แตกตางในสาระสําคัญอยางไร คํามั่นจะใหรางวัลนั้น ผูใหคา ํ มั่นมุงใหความสําเร็จของการกระทําอยางใดอยางหนึ่งตามที่ตนได ประกาศโฆษณาไว เชน จับผูรา  ยไดหรือหากระเปาสตางคทท ี่ า ํ หายไวพบ เปนตน แตคํามั่นในการประกวด ชิงรางวัลนั้น ผูใหคา ํ มั่นตองการใหบค ุ คลหลายๆคนมาทําการแขงขันกันในเรือ ่ งใดเรื่องหนึง ่ ซึ่งใครทีม ่ ี ความสามารถหรือทําไดดก ี วาคนอื่นยอมมีสิทธิไดรับรางวัล เชน คําทั่นในการประกวดภาพเขียน หรือ ประกวดนางงาม เปนตน แบบประเมินผล หนวยที่ 12 สัญญา : หลักทัว ่ ไป ความหมายของสัญญา คือ การที่บุคคลสองฝายแสดงเจตนาทํานิติกรรมโดยมีคําเสนอและคําสนอง ซึ่งมีความ ประสงคตกลงตรงกันในอันที่จะกอใหเกิดนิติสัมพันธอยางหนึ่งอยางใดขึ้น สัญญา เปนนิติกรรมซึ่งเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของบุคคลหลายฝายอันกอใหเกิดมีหนี้ สัญญา ไดแกการแสดงเจตนาระหวางบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไป ซึ่งแสดงเจตนาตอกันและกัน สัญญา เปนนิติกรรมสองฝายเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของคูสัญญา และเพื่อตกลงมุงตอผลในกฎหมาย สําหรับกรณี ของสัญญานี้ตองเปนชนิดที่กอใหเกิดหนี้ มาตรา 149 นิติกรรมหมายความวาการใดๆ อันทําลงไปโดยชอบดวยกําหมายและดวยใจสมัครมุงโดยตรงตอการผูก นิติสัมพันธขึ้นระหวางบุคคล เพื่อจะกอ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ สัญญานั้น เปนการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไปที่มุงตอการกอใหเกิดผลในทางกําหมายอันไดแกหนี้ ตามที่คูสัญญาประสงค จําแนกสาระสําคัญของความหมายของสัญญาไดเปน 3 ประการ ประการที่หนึ่งสัญญาตองมีบุคคลสองฝาย สัญญานั้นจะตองเกิดขึ้นจากการแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแตสองฝายขึ้นไป เสมอ ถาไมมีคูสญ ั ญาหรือบุคคลสองฝายแลว จะไมมีทางเกิดเปนสัญญาขึ้นได ประการที่สอง ตองมีการแสดงเจตนาอันมีการยินยอมของบุคคลสองฝาย ทั้งสองฝายมีความตกลงเห็นชอบเปนอันหนึ่ง อันเดียวกันที่เรียกวามีความตกลงยินยอมกัน ประการที่สาม ความตกลงยินยอมของบุคคลสองฝายแมจะเปนเรื่องซึ่งมีความถูกตองตรงกัน แตความตกลงยินยอมเชน วานั้น จะตองเปนเรื่องซึ่งคูสัญญาทั้งสองฝายนั้นมีวัตถุประสงคที่จะกอใหเกิดผลผูกพันในทางกฎหมายตามที่สองฝายตองการ คําเสนอ เปนการแสดงเจตนาของฝายหนึ่งซึ่งตองการจะเขาทําสัญญากับอีกฝายหนึ่งเราเรียกการแสดงเจตนาของฝาย นั้นวาเปน “คําเสนอ” คําสนอง การแสดงเจตนาของผูซึ่งประสงคจะตกลงยินยอมตอบรับเขาทําสัญญากับฝายที่แสดงเจตนาเสนอมา เรา เรียกวา “คําสนอง” มาตรา 355 บุคคลทําคําเสนอไปยังผูอื่นซึ่งอยูหางกันโดยระยะทาง และมิไดบงระยะเวลาใหทําคําสนอง จะถอนคํา เสนอของตนเสียภายในเวลาอันควรคาดหมายวาจะไดรับคําบอกกลาวสนองนั้น ทานวาหาอาจถอนไดไม มาตรา 356 คําเสนอทําแกบุคคลผูอยูเฉพาะหนา โดยมิไดบงระยะเวลาเวลาใหทําคําสนองนั้น เสนอ ณ ที่ใดเวลาใดก็ ยอมจะสนองรับไดแต ณ ที่นั้นเวลานั้น ความขอนี้ทา นใหใชตลอดถึงการที่บุคคลคนหนึ่งทําคําเสนอไปยังบุคคลอีกคนหนึ่งทาง โทรศัพทดวย

1. กฎหมายวาดวยสัญญาเปนสวนหนึ่งของกฎหมาย ในสาขาเอกชน 2. ความหมายของสัญญา คือ นิติกรรมสองฝายเกิดขึ้นโดยการแสดงเจตนาของคูสัญญา 3. คําเสนอ เปนความหมายของการแสดงเจตนาที่มีขอความชัดเจนพอทีจ ่ ะถือวาเปนความผูกพัน ถาหากอีก ฝายหนึ่งตอบตกลงตามที่มีผูเสนอไดแสดงเจตนาไป 4. ผลตามกฎหมายของกรณีคําสนองที่ไมตรงกับคําเสนอ ถือเปนคําสนองลวงเวลา 5. หลักเสรีภาพในการทําสัญญา หมายความวา คูสัญญาสามารถจะทําสัญญาผูกพันกันได ภายในของ เขตทีก ่ ฎหมายกําหนด 6. การโฆษณาขายสินคาทางหนังสือพิมพมีผลในทางกฎหมาย ไมมีผลในทางกฎหมาย เพราะเปนเพียง เจตนาเชิญชวน  ับคําเสนอทราบถึงเจตนาของผูเสนอ 7. คําเสนอที่ทําตอบุคคลเฉพาะของมีผลเมื่อ ผูร 8. คําสนอง เปนความหมายของการแสดงเจตนาตอบตกลงเขาทําสัญญากับผูแสดงเจตนาอีกฝายหนึ่ง 9. คําเสนอขึ้นใหม เปนกรณีที่คาํ สนองไมตรงกับคําเสนอ


57 10. ลักษณะของคํามั่นจะใหรางวัล เปนนิตก ิ รรมฝายเดียวทีผ ่ ูใหคา ํ มั่นแสดงเจตนาประกาศตอบุคคล ทั่วไป เกิดสัญญา ใน 11. เมื่อคําสนองตอบขอความถูกตองตรงกับคําเสนอและไดกระทําภายในระยะเวลายอม กฎหมาย 12. เมื่อคําสนองตอบขอความถูกตองตรงกับคําเสนอและไดกระทําภายในระยะเวลายอมเกิดผล เกิดสัญญา ุ คลทีอ ่ ยูเชียงใหม ถือวาเปนกรณีคําเสนอ 13. โทรศัพททางไกลจากกรุงเทพฯ ทําคําเสนอขายบานใหบค ตอบุคคลอยูเฉพาะหนา (มาตรา 168 การแสดงเจตนาที่กระทําตอบุคคลซึ่งอยูเฉพาะหนาใหถือวามีผลนับแตผูไดรับการแสดงเจตนาไดทราบ การแสดงเจตนานั้น ความขอนี้ใหใชตลอดถึงการที่บุคคลหนึ่งแสดงเจตนาไปยังบุคคลอีกบุคคลหนึ่งโดยทางโทรศัพท หรือโดย เครื่องมือสื่อสารอยางอื่นหรือโดยวิธีอื่นซึ่งสามารถติดตอถึงกันไดทํานองเดียวกัน )

14. รถประจําทางวิง่ รับสงคนโดยสาร ถือเปนคําเสนอ ิ รรมประเภทหนึ่ง 15. สัญญามีความเกี่ยวของกับนิติกรรมคือ สัญญาเปนนิตก ํ มั่นแสดงเจตนาประกาศตอบุคคลทั่วไป 16. ลักษณะของคํามั่นจะใหรางวัลเปนนิติกรรมฝายเดียวที่ผูใหคา

หนวยที่ 13 การเกิด การตีความและประเภทของสัญญา 1. สัญญาเกิดขึ้นเมื่อมีความตกลงยินยอมกันขึ้นระหวางบุคคลผูทําคําเสนอและผูทําคําสนอง 2. สัญญาตองตีความตามหลักการตีความในเรื่องนิติกรรม ตามมาตรา 171 และตองพิจารณาตาม ความมุงหมายของสัญญาในทางสุจริต โดยพิเคราะหถงึ ปกติประเพณีดวย คือ มาตรา 368 3. สัญญาแบงออกเปนประเภทตางๆ ไดดังตอไปนี้คือ สัญญาตางตอบแทน และสัญญาไมตางตอบ แทน สัญญามีคาตางตอบแทน และสัญญาไมมีคาตางตอบแทน สัญญาประธาน และสัญญาอุปกรณ สัญญามีชื่อ (เอกเทศสัญญา) และสัญญาไมมีชื่อ สัญญาที่มีลักษณะผูกมัดโดยเงื่อนไขที่ผูเสนอกําหนด สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก 13.1 การเกิดสัญญา

1. สัญญายอมเกิดขึ้นเมื่อคําสนองตอบมีขอความถูกตองตรงกันกับคําเสนอและไดกระทําภายใน ระยะเวลา เวนแตในบางกรณีที่กฎหมายใหถือวาสัญญาเกิดขึ้นไดเมื่อมีการกระทําอยางหนึ่งอยางใดโดยมิ ตองตอบตกลงเปนคําสนอง 2. ในกรณีที่คูสัญญายังมิไดตกลงกันในขอสาระสําคัญทุกขอ หรือในกรณีที่คูสัญญาตกลงกันวาจะ ทําสัญญาเปนหนังสือ และยังมิไดมีการทําเปนหนังสือ กฎหมายใหสันนิษฐานวาสัญญายังไมเกิดขึ้น 13.1.1 การเกิดของสัญญาที่ทําขึ้นระหวางบุคคลที่อยูหางโดยระยะทาง

ในกรณีการทําสัญญาตอบุคคลที่อยูหางโดยระยะทางนั้นสัญญาเกิดขึ้นเมื่อใด สัญญายอมเกิดขึ้นเมื่อคําสนองไปถึงผูท  า ํ คําเสนอ ซึ่งเปนไปตามหลักหรือทฤษฎีวา  การแสดง เจตนามีผลตามกฎหมายเมือ ่ ใด สําหรับกรณีตามที่มค ี ําถาม คงเปนไปตามทฤษฎีในขอทีถ ่ ือวาการแสดง เจตนาจะมีผลตามที่ตอ  งการ เมื่อผูต  องการจะสงการแสดงเจตนาไปถึงไดรับการแสดงเจตนานั้นแลว อันมี ความหมายวาคําสนองที่สงไปถึงผูร  ับ หรืออีกนัยหนึ่ง การแสดงเจตนานั้นอยูในอํานาจของผูร  บ ั การแสดง  บ ั จะตองไดรบ ั ทราบถึงการแสดงเจตนานั้นแลวจริงหรือไม เจตนาจะทราบได ทัง ้ นี้โดยไมคํานึงวาผูร

ในกรณีที่หลังจากผูทําคําเสนอไดสงคําเสนอไปยังผูรับคําเสนอ แตกอนที่การแสดงเจตนาเสนอ จะไปถึงผูรับคําเสนอ ปรากฏวา ผูทําคําเสนอตาย หรือศาลสั่งใหผูนั้นเปนคนไรความสามารถหรือคน เสมือนไรความสามารถ อยากทราบวาการแสดงเจตนาทําคําเสนอนั้นถาในที่สุดไปถึงผูรับคําเสนอ จะมีผล อยางไรหรือไม ในเรื่องนี้ บทบัญญัติของสัญญามาตรา 360 ปพพ. ไดบัญญัติแตกตางไปจากหลักทัว ่ ไปในเรือ ่ ง ของนิติกรรม กลาวคือ โดยทั่วไปแลวคงเปนไปตามหลักทีบ ่ ัญญัติในมาตรา 169 วรรค 2 แหง ปพพ. ซึ่ง เปนหลักทัว ่ ไปของนิตก ิ รรมซึ่งวางหลักไวแลว ในกรณีดังกลาวไมเปนเหตุใหความสมบูรณแหงการอสดง เจตนาตองเสือ ่ มเสียไป แตในเรื่องของสัญญานั้นมีขอ  ยกเวนวา เวนเสียแตกรณีนั้นจะขัดกับเจตนาที่ผท ู ํา คําสนองไดแสดงไว คือ ผูทําคําเสนอประสงคจะตกลงผูกพันแตเฉพาะกับตนซึ่งเปนผูท  า ํ คําเสนอเทานั้น หรืออีกประการหนึ่ง ถาผูรบ ั คําเสนอกอนที่จะตอบสนองไดรูแลววาผูทา ํ คําเสนอตายหรือตกเปนผูไร ความสามารถ กฎหมายจึงบัญญัตว ิ า  คําเสนอนั้นไมมีผลตามกฎหมายเปนคําเสนอ 13.1.2 การเกิดของสัญญาที่ทําขึ้นระหวางบุคคลที่อยูเฉพาะหนา

การแสดงเจตนาตอบุคคลที่อยูเฉพาะหมายความวาอยางไร การแสดงเจตนาตอบุคคลทีอ ่ ยูเฉพาะหนาหมายความวา เปนการแสดงเจตนาตอคูกรณีอีกฝาย หนึ่งในลักษณะที่สามารถทําความเขาใจไดทันที่ โดยไมตองคํานึงถึงระยะทางใกล-ไกล และกฎหมายให รวมการแสดงเจตนาทางโทรศัพทได


58

13.1.3 กรณีที่สัญญาเกิดขึ้นโดยไมตองมีคําบอกกลาวสนอง

ในกรณีใดบางที่สัญญาเกิดขึ้นโดยไมตองมีคําบอกกลาว สัญญาในบางกรณีอาจเกิดไดโดยไมตองมีคําสนอง จําเปนตองมีคา ํ สนอง หรือเปนกรณีที่ผูเสนอไดแสดงเจตนาไว

ซึ่งไดในกรณีซง ึ่ ตามปกติประเพณีไม

13.1.4 กรณีที่กฎหมายสันนิษฐานวาสัญญายังไมเกิดขึ้น

มีกรณีใดบางที่คูสัญญาไดแสดงเจตนาทําคําเสนอและคําสนองถูกตองกันแลว สันนิษฐานวาสัญญายังไมเกิดขึ้น

แตกฎหมายยัง

ตามที่กฎหมายบัญญัติไวจะเห็นวามีอยู 2 กรณี คือกรณีตามมาตรา 366 และกรณีตามมาตรา 367 ซึ่งไดแกกรณีทค ี่ ูสัญญายังไมไดตกลงกันในขอที่คูสัญญาถือวาเปนขอสาระสําคัญบางขอ กับกรณีที่ คูสัญญาตกลงกันวาสัญญาที่ทา ํ กันนั้นจะตองทําเปนหนังสือ เมื่อยังมิไดมีการทําเปนหนังสือกฎหมาย สันนิษฐานวาสัญญายังมิไดเกิดเกิดขึ้น 13.2 การตีความสัญญา

การตีความสัญญานั้น ตองคนหาเจตนาที่แทจริงของการแสดงเจตนาของคูสัญญาที่ทํากันขึ้น และ ตองตีความการแสดงเจตนาหรือความตกลงนั้น โดยคํานึงถึงความสุจริตของคูสัญญา ประกอบกับปกติ ประเพณีที่ประพฤติปฏิบัติกันในเรื่องนั้นๆ ดวย 13.2.1 การตีความสัญญา กับการตีความนิติกรรม

การตีความสัญญามีขอแตกตางจากการตีความนิติกรรมอยางไรบาง การตีความสัญญาคงยึดหลักในเรื่องการตีความนิตก ิ รรมตามทีบ ่ ัญญัติไวในมาตรา 368 แหง ประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย คือ เพงเล็งเจตนาแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนตามตัวอักษร แต นอกจากนั้นแลวในการพิจารณาถึงประเพณีที่แทจริงของคูสัญญานั้น จะตองพิจารณาตีความไปในทางที่ สุจริต โดยคํานึงถึงปกติประเพณีทค ี่ ูสัญญาพึงประพฤติปฏิบต ั ิกันในเรื่องนั้นๆ ประกอบดวย 13.2.2 ความหมายของความประสงคในทางสุจริตและปกติประเพณีกับการตีความสัญญา การตีความสัญญานั้นตองอาศัยหลักเรื่องสุจริตทั้งตองคํานึงถึงปกติประเพณีดวย มีความหมาย

อยางไร การตีความสัญญานั้นตองคํานึงถึงความตองการของคูสัญญาโดยสุจริต ประเพณีคอ ื ขอปฏิบต ั ิทว ั่ ไปในทางธุรกิจการดังนั้นๆ ดวย

และตองคํานึงถึงปกติ

13.3 ประเภทตางๆ ของสัญญา

1. สัญญาตางตอบแทน คือสัญญาซึ่งกอใหเกิดหนี้ระหวางคูสัญญาทั้ง 2 ฝาย ซึ่งจะตองกระทําตอบ แทนซึ่งกันและกัน สวนสัญญาไมตางตอบแทนนั้น ยอมกอใหเกิดหนี้จากคูสัญญาแตฝายใดฝายหนึ่งแต ฝายเดียว 2. สัญญามีตางตอบแทน คือสัญญาซึ่งมีคูสัญญาทั้งสองฝาย ตางไดรับประโยชนในทางทรัพยสิน เปนการแลกเปลี่ยนตอบแทนกัน สวนสัญญามามีคาตางตอบแทนนั้น คูสัญญาแตฝายหนึ่งฝายเดียวไดรบ ั ประโยชนในทางทรัพยสินเปนการตอบแทน 3. สัญญาอุปกรณ เปนสัญญาซึ่งเปนสวนประกอบ หรือสวนหนึ่งของสัญญาประธาน สัญญาประธาน คือ สัญญาซึ่งมีความสมบูรณในตัวของสัญญานั้นเอง 4. สัญญามีชื่อ คือสัญญาซึ่งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 ไดกําหนดลักษณะการเกิด ของสัญญานั้นๆ ไวเปนพิเศษ สวนสัญญาอื่นใดที่มิไดมีกฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะก็เปนสัญญาไมมีชื่อ 5. สัญญาที่มีลักษณะผูกมัดโดยเงื่อนไขที่ผูเสนอกําหนด ไดแก สัญญาซึ่งคูสัญญาฝายหนึ่งได กําหนดขอตกลงไวในลักษณะเปนแบบที่ผูกพันคูสัญญาอีกฝายหนึ่ง ในลักษณะซึ่งคูสัญญาอีกฝายหนึ่งนั้น ไมมีสวนรวมในการตอรอง หรือเจรจารายละเอียดในการตกลงนั้น 6. สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก คือสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกที่มใิ ชเปนคูสัญญาไดรับ ประโยชนจากผลของสัญญาที่เกิดขึ้น 13.3.1 สัญญาตางตอบแทนและสัญญาไมตางตอบแทน

สัญญาตางตอบแทนและสัญญาไมตางตอบแทน คืออะไร สัญญาตางตอบแทน คือสัญญาซึ่งกอใหเกิดหนี้ระหวางคูสัญญาทัง ้ สองฝาย ซึ่งจะตองกระทํา ตอบแทนซึง ่ กันและกัน สวนสัญญาไมตา  งตอบแทนนั้น ยอมกอใหเกิดหนี้จากคูสญ ั ญาแตฝา  ยใดฝายหนึ่ง แตฝายเดียว 13.3.2 สัญญาที่มีคาตางตอบแทน และสัญญาที่ไมมีคาตางตอบแทน


59 สัญญามีคาตอบแทนและสัญญาไมมีคาตอบแทน คืออะไร สัญญามีคา  ตางตอบแทน คือสัญญาซึ่งมีคูสัญญาทั้งสองฝาย ตางไดรับประโยชนในทางทรัพยสิน เปนการแลกเปลี่ยนตอบแทนกัน สวนสัญญาไมมีคา  ตอบแทนนั้น คูสัญญาแตฝายหนึ่งฝายเดียวไดรับ ประโยชนในทางทรัพยสินเปนการตอบแทน 13.3.3 สัญญาประธาน และสัญญาอุปกรณ

สัญญาประธานและสัญญาอุปกรณคืออะไร สัญญาอุปกรณเปนสัญญาซึ่งเปนสวนประกอบ หรือสวนหนึ่งของสัญญาประธาน สัญญาประธาน คือ สัญญาซึ่งมีความสมบูรณในตัวของสัญญานั้นเอง 13.3.4 สัญญามีชื่อ (เอกเทศสัญญา) และสัญญาไมมีชื่อ

สัญญามีชื่อและสัญญาไมมีชื่อคืออะไร สัญญามีชื่อ คือสัญญาซึ่งประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บรรพ 3 ไดกําหนดลักษณะการเกิด ของสัญญานัน ้ ๆ ไวเปนพิเศษ สวนสัญญาอื่นใดที่มิไดมก ี ฎหมายบัญญัติไวโดยเฉพาะก็เปนสัญญาไมมีชอ ื่ 13.3.5 สัญญาที่มีลักษณะผูกมัดโดยเงื่อนไขที่ผูเสนอกําหนด (Contract of Adhesion)

สัญญาที่มีลักษณะผูกพันโดยเงื่อนไขที่ผูเสนอกําหนดคืออะไร สัญญาที่มีลก ั ษณะผูกมัดโดยเงื่อนไขทีผ ่ ูเสนอกําหนด ไดแก สัญญาซึ่งคูสัญญาฝายหนึ่งได กําหนดขอตกลงไวในลักษณะเปนแบบทีผ ่ ูกพันคูสัญญาอีกฝายหนึง ่ ในลักษณะซึ่งคูสัญญาอีกฝายหนึง ่ นั้น ไมมีสวนรวมในการตอรองหรือเจรจารายละเอียดในการตกลงนั้น 13.3.6 สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก

สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอกคืออะไร สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก ประโยชนจากผลของสัญญาที่เกิดขึ้น

คือสัญญาซึ่งบุคคลภายนอกที่มใิ ชเปนคูสัญญาไดรับ

แบบประเมินผล หนวยที่ 13 การเกิด การตีความและประเภทของสัญญา มาตรา 356 คําเสนอทําแกบุคคลผูอยูเฉพาะหนา โดยมิไดบงระยะเวลาใหทําคําสนองนั้น เสนอ ณ ทีใ่ ดเวลาใดก็ยอมจะ สนองรับไดแต ณ ที่นั้นเวลานั้น ความขอนี้ทานใหใชตลอดถึงถึงการที่บุคคลคนหนึ่งทําคําเสนอไปยังบุคคลอีกคนหนึ่งทาง โทรศัพทดวย มาตรา 358 ถาคําบอกกลาวสนองมาถึงลวงเวลา แตเปนที่เห็นประจักษวาคําบอกกลาวนั้นไดสงโดยทางการซึ่ง ้ มาถึงเนิ่นชา ตามปกติควรจะมาถึงภายในเวลากําหนดแลวไซร ผูเสนอตองบอกกลาวแกคูกรณีอีกฝายหนึ่งโดยพลันวาคําสนองนัน เวนแตจะไดบอกกลาวเชนนั้นกอนแลว ถาผูเสนอละเลยไมบอกกลาวดังวามาในวรรคตน ทานใหถือวาคําบอกกลาวสนองนั้นมิไดลวงเวลา มาตรา 359 ถาคําสนองมาถึงลวงเวลา ทานใหถือวาคําสนองนั้นกลายเปนคําเสนอขึ้นใหม คําสนองอันมีขอความเพิ่มเติม มีขอจํากัด หรือมีขอแกไขอยางอื่นประกอบดวยนั้น ทานใหถือวาเปนคําบอกปดไมรับ ทั้งเปนคําเสนอขึ้นใหมดวยในตัว มาตรา 361 อันสัญญาระหวางบุคคลซึ่งอยูหางกันโดยระยะทางนั้น ยอมเกิดเปนสัญญาขึ้นแตเวลาเมื่อคําบอกกลาว สนองไปถึงผูเสนอ ถาตามเจตนาอันผูเสนอไดแสดง หรือตามปกติประเพณีไมจําเปนจะตองมีคําบอกกลาวสนองไซร ทานวาสัญญานัน ้ เกิด เปนสัญญาขึ้นในเวลาเมื่อมีการอันใดอันหนึ่งขึ้น อันจะพึงสันนิษฐานไดวาเปนการแสดงเจตนาสนองรับ มาตรา 362 บุคคลออกโฆษณาใหคํามั่นวาจะใหรางวัลแกผูซึ่งกระทําการอันใด ทานวาจําตองใหรางวัลแกบุคคลใดๆ ผู ไดกระทําการอันนั้น แมถึงมิใชวาผูนั้นจะไดกระทําเพราะเห็นแกรางวัล มาตรา 365 คํามัน ่ จะใหรางวัลอันมีความประสงคเปนการประกวดชิงรางวัลนั้น จะสมบูรณก็ตอเมื่อไดกําหนดระยะเวลาไว ในคําโฆษณาดวย มาตรา 368 สัญญานั้นทานใหตีความไปตามประสงคในทางสุจริต โดยพิเคราะหถึงปกติประเพณีดวย จากหลัก มาตรา 171 และมาตรา 368 เมื่อพิจารณารวมกันแลวก็จะไดหลักในการตีความสัญญาที่สําคัญอยู 2 ประการคือ (1) ตองคนหาเจตนาอันแทจริงของคูสัญญาที่ทํากันขึ้น (2) ตองตีความการแสดงเจตนาของคูสัญญา หรือความตกลงนั้นโดยอาศัยความสุจริตโดยคํานึงถึงปกติประเพณีเปน สําคัญ (มาตรา 171 ในการตีความการแสดงเจตนานั้น ใหเพงเล็งถึงเจตนาอันแทจริงยิ่งกวาถอยคําสํานวนหรือตัวอักษร)

1. หลักในการตีความสัญญาคือ ตองการคนหาเจตนารมณอันแทจริงของคูสัญญา ั ิในกรณีทว ั่ ๆไป 2. ปกติประเพณีหมายถึง การประพฤติปฏิบต  3. สัญญาที่เปนการกอหนี้ระหวางคูสัญญาทั้ง 2 ฝาย โดยตองกระทําตอบแทนซึ่งกันและกัน คือสัญญามีคา ตางตอบแทน ้ ขาย 4. สัญญาที่เปนสัญญาตางตอบแทนไดแก สัญญาซือ


60 5. สัญญาที่เปนสัญญาไมมีคา ตอบแทน ไดแก การให 6. สัญญาที่เปนสัญญาอุปกรณไดแก จํานอง ิ 7. สัญญาที่เปนสัญญาเพื่อประโยชนของบุคคลภายนอกคือ ประกันชีวต 8. สัญญาที่เปนสัญญาไมมีชื่อไดแก เลนแชรเปยหวย 9. คําเสนอตอบุคคลผูอยูเฉพาะหนา เชน โทรศัพททางไกลจากกรุงเทพฯ ทําคําเสนอขายบานไปถึง บุคคลที่อยูเชียงใหม 10. คําเสนอที่ทําตอบุคคลเฉพาะหนามีผลเมื่อ ผูรับคําเสนอทราบถึงเจตนาของผูเสนอ 11. คําเสนอที่ทําตอบุคคลอยูห  างโดยระยะทางมีผลเมื่อ คําเสนอนั้นไดสงไปถึงผูรับแลว  ัญญา 12. หลักในการตีความสัญญา คือ ตีความโดยอาศัยหลักความสุจริตของคูส

หนวยที่ 14 ผลแหงสัญญา มัดจํา เบี้ยปรับ 1. โดยหลักแลว สัญญากอความผูกพันระหวางคูสัญญา ดังนั้น จึงไมสงผลกระทบตอบุคคลภายนอก 2. การจะบังคับใหเปนไปตามสิทธิและหนาที่ตามสัญญาอันเปนสิทธิเรียกรอง จะตองอาศัยอํานาจ ของเจาหนาที่รัฐ มิใชเปนเรื่องที่คูกรณีใชอํานาจบังคับแกกันโดยพลการ 3. ในสัญญาตางตอบแทนนั้น คูสัญญาฝายหนึ่งจะไมยอมชําระหนี้จนกวาอีกฝายหนึ่งจะชําระหนี้หรือ ขอปฏิบัติการชําระหนี้ก็ได แตความขอนี้ทานมิใหใชบังคับ ถาหนี้ของคูสัญญาอีกฝายหนึ่งยังไมถึงกําหนด (มาตรา 369) 4. เมื่อเขาทําสัญญา ถาไดใหสิ่งใดไวเปนมัดจําทานใหถือวา การที่ใหมัดจํานั้นยอมเปนพยาน หลักฐานวาสัญญานั้นไดทํากันขึ้นแลว อนึ่งมัดจํานี้ยอมเปนประกันการที่จะปฏิบัติตามสัญญานั้นดวย (มาตรา 377) 5. ถาลูกหนี้สัญญาแกเจาหนี้วา จะใชเงินจํานวนหนึ่งเปนเบี้ยปรับเมื่อตนไมชําระหนี้ก็ดี หรือไมชําระ หนี้ใหถูกตองสมควรก็ดี เมือ ่ ลูกหนี้ผิดนัด ก็ใหริบเบี้ยปรับ ถาการชําระหนี้อันจะพึงกระทํานั้นไดแกงดเวน การอันใดอันหนึ่ง หากทําการอันนั้นฝาฝนมูลหนี้เมื่อใด ก็ใหริบเบี้ยปรับเมื่อนั้น 14.1 ผลผูกพันในกฎหมายที่เกิดจากสัญญา

1. สัญญานั้นมีผลระหวางคูสัญญาเทานั้น และไมกอความเสียหายใหแกบุคคลภายนอก กฎหมาย หามมิใหคูสัญญาตกลงกันไวเปนการลวงหนา ลูกหนี้ไมตองรับผิด เพื่อการชําระหนี้ที่เกิดขึ้นเพราะการฉอ ฉลหรือความประมาทเลินเลออยางรายแรงของลูกหนี้ 2. สัญญาอาจมีผลในลักษณะซึ่งเปนประโยชนแกบุคคลภายนอก ซึ่งมิใชคูสัญญาไดตามหลักเกณฑ ที่บัญญัติไวในมาตรา 374 14.1.1 หลักกฎหมายที่วาดวยสัญญากอผลผูกพันระหวางคูสัญญาเทานั้น

ที่วาสัญญายอมกอใหเกิดผลผูกพันระหวางคูสัญญานั้น ทานเขาใจวาอยางไร โดยหลักแลว สัญญายอมมีผลแตเฉพาะในระหวางคูส  ัญญาเทานั้น สัญญายอมไมกอใหเกิดผล ผูกพันบุคคลอื่นที่ไมใชคูสญ ั ญาในลักษณะทีก ่ อใหเกิดความเสียหายแกบค ุ คลอื่น แตอาจมีผลผูกพัน ในทางที่ใหประโยชนเปนผลดีแกบค ุ คลอื่นที่ไมใชคูสัญญาได อันไดแกกรณีของสัญญาเพื่อประโยชน บุคคลภายนอก 14.1.2 ลักษณะและวิธีการบังคับเพื่อใหการเปนไปตามขอตกลงในสัญญา

สิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากขอตกลงในสัญญานั้น คูสัญญาจะบังคับใหเปนไปตามขอตกลงกันใน ลักษณะใด สิทธิและหนาที่ที่เกิดขึ้นจากขอตกลงในสัญญาโดยหลักแลว เกิดขึ้นในลักษณะที่เรียกวาเปน บุคคลสิทธิ ซึ่งคูสญ ั ญาจะใชสิทธิเรียกรองตามสิทธิดังกลาวไดก็แตโดยอาศัยอํานาจของเจาหนาที่ของรัฐ ที่จะจัดการบังคับใหไดตามสิทธินั้นๆ ซึ่งไดแกการใชสท ิ ธิฟองรองดําเนินคดีตามกฎหมายวิธีพจ ิ ารณา ความแพง 14.1.3 ความตกลงยกเวนมิใหลูกหนี้ตองรับผิดเมื่อไมมีการชําระหนี้

กฎหมายบัญญัติเรื่องความตกลงยกเวนมิใหลูกหนี้ตองรับผิดเมื่อไมมก ี ารชําระหนี้ไวในสาระสําคัญ อยางไร กฎหมายหามมิใหคูสัญญาตกลงกันไวเปนการลวงหนาวา ลูกหนี้ไมตองรับผิดเพื่อการชําระหนี้ที่ เกิดขึ้นเพราะกลฉอฉล หรือความประมาทเลินเลออยางแรงของลูกหนี้ 14.1.4 สัญญาเพื่อประโยชนบุคคลภายนอก

สัญญามีผลเพื่อประโยชนแกบุคคลภายนอกซึ่งมิใชคูสัญญา มีไดหรือไม


61 สัญญาอาจมีผลในลักษณะซึ่งใหประโยชนแกบุคคลภายนอก บัญญัติไวในมาตรา 374

ซึ่งมิใชคูสัญญาตามหลักเกณฑที่

14.2 ลักษณะพิเศษของสัญญาตางตอบแทน

1. คูสัญญามีหนี้ที่จะตองกระทําเปนการตอบแทนซึ่งกันและกัน เวนแตหนี้ของอีกฝายหนึ่งจะยังไม ถึงกําหนดชําระ ตามมาตรา 369 2. หลักทั่วไป ลูกหนี้ตองรับผลแหงภัยพิบัติที่เกิดกับทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญา เวนแตในกรณี สัญญาตางตอบแทนที่มีวัตถุประสงคเปนการกอใหเกิดหรือโอนทรัพยสิทธิ 14.2.1 การปฏิบัติชําระหนี้ตอบแทนของคูสัญญา

การปฏิบัติชําระหนี้ตอบแทนของคูสัญญาคืออยางไร คูสัญญามีหนี้ที่จะตองกระทําเปนการตอบแทนซึ่งกันและกัน เวนแตหนี้ของอีกฝายหนึ่งจะยังไมถง ึ กําหนดชําระตามมาตรา 369 14.2.2 ปญหาเรื่องภัยพิบัติที่เกิดกับทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญา

ในสัญญาตางตอบแทนนั้น เมื่อทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญาเกิดสูญหายหรือถูกทําลายลงอัน ทําใหการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยนั้น อยากทราบวา จะมีผลตอคูสัญญานั้นอยางไรบาง โดยหลัก ถาการทีท ่ รัพยนน ั้ สูญหาย หรือถูกทําลายลง อันทําใหการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัย โดย มิใชความผิดของคูสัญญาฝายหนึ่งฝายใดแลว แมวา  ลูกหนี้จะหลุดพนจากการชําระหนี้นั้นตามหลักทั่วไป ในเรื่องนี้ตามมาตรา 219 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย บัญญัติใหลูกหนี้ตอ  งเปนผูรับบาป ี ิทธิที่จะเรียกรองใหคูสญ ั ญาอีกฝายหนึง ่ นั้นชําระตอบ เคราะหในภัยพิบัตด ิ ังกลาว กลาวคือ ลูกหนี้ไมมส แทนใหแกตน ในกรณีทก ี่ ารสูญหายหรือถูกทําลายนั้นเกิดขึ้นเพราะความผิดของเจาหนี้ ลูกหนี้ยอมมีสิทธิทจ ี่ ะ ไดรับชําระหนีต ้ อบแทน แตการไดรบ ั ชําระหนีต ้ อบแทนของลูกหนี้นั้นยอมตองคํานึงประกอบดวยวา ถาใน ่ เกิดจากการกระทําชําระหนี้ พฤติการณเชนวานั้นลูกหนี้สามารถบรรเทาความเสียหายหรือบรรเทาเหตุ ซึง พนวิสัยแตไมกระทําการบรรเทาความเสียหายดังกลาว การไดรับชําระหนีต ้ อบแทนของลูกหนี้ยอ  มลด นอยลงไปเพราะจะเอาความเสียหายที่อาจบรรเทาไดนั้น มาหักออกจากความเสียหายตามสิทธิที่ลูกหนี้จะ พึงไดรับตามปกติดว  ย สวนถาเปนกรณีทท ี่ รัพยนั้นสูญหายหรือถูกทําลายลง เพราะความผิดของลูกหนี้ ํ ระหนี้ตอบแทนแลว ยังตองรับผิดในการชําระหนี้นั้น แลว นอกจากลูกหนี้จะไมมีสิทธิที่จะเรียกใหเจาหนี้ชา ตอเจาหนี้ตามหลักทั่วไปในเรื่องการชําระหนี้อก ี ดวย หลักในเรือ ่ งภัยพิบต ั ิอันเกิดจากทรัพยอันเปนวัตถุแหงสัญญาสูญหายหรือเสียหายนัน ้ มีขอยกเวน ซึ่งกําหนดเปนเงื่อนไขพิเศษอยูในกรณีของสัญญาตางตอบแทน ซึง ่ มีวัตถุประสงคเปนการกอใหเกิดหรือ ิ ธิ (เชน สัญญาซื้อขาย สัญญาเกี่ยวกับสิทธิเก็บเกิน เปนตน) โดยมีทรัพยเฉพาะสิ่งเปนวัตถุ โอนทรัพยสท แหงสัญญา (หรือถามิใชทรัพยเฉพาะสิ่งโดยสภาพก็อาจอยูในบังคับอยางเดียวกัน ถาไดมก ี ารทําใหเปน ทรัพยเฉพาะสิ่ง ตามนัย มาตรา 195 วรรคสองแหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย) และในกรณีนั้น สัญญาที่เกิดขึ้นกอใหเกิดผลเปนการกอหรือโอนทรัพยสิทธิดวยแลว ในกรณีดังกลาว ถาทรัพยนั้นสูญหาย หรือเสียหายโดยโทษลูกหนีไ ้ มไดแลว กฎหมายบัญญัติใหการที่ทรัพยนั้นสูญหรือเสียหายตกเปนพับแก เจาหนี้ แตสัญญาที่เกิดขึ้นแมจะมีวัตถุประสงคเปนการกอใหเกิดหรือโอนทรัพยสินในทรัพยเฉพาะสิง ่ แต และ เมื่อสัญญาเกิดขึ้นแลวยังไมกอหรือโอนทรัพยสิทธิในทรัพยนั้นทันทีเนื่องจากมีเงื่อนไขบังคับกอน ทรัพยนั้นสูญหายหรือทําลายลงในระหวางที่เงื่อนไขยังไมสําเร็จเชนนี้ กฎหมายบัญญัติวา  การทีท ่ รัพยนั้น สูญหายหรือถูกทําลายลงไมเปนพับแกเจาหนี้ หรืออีกนัยหนึ่งถือวาเปนพับแกลูกหนี้ตามหลักทั่วไป อยางไรก็ตามถาการที่ทรัพยเสียหายขางตนเปนเรื่องทีโ่ ทษเจาหนี้ไมไดดวยแลว เมื่อเงื่อนไขสําเร็จ เจาหนี้ มีทางเลือกใหลูกหนี้ปฏิบัตอ ิ ยางใดอยางหนึ่ง คือบอกเลิกสัญญา หรือเรียกใหปฏิบต ั ิชําระหนี้โดยลดสวนที่ เจาหนี้จะตองชําระหนีต ้ อบแทนลงได แตถา  การทีท ่ รัพยเสียหายนัน ้ เปนความผิดของลูกหนี้แลว นอกจาก สิทธิดง ั กลาวแลว เจาหนี้ยง ั เรียกคาสินไหมทดแทนไดอีกดวย 14.3 ความตกลงเกี่ยวกับมัดจํา

1. มัดจํา คือสิ่งของซึ่งคูสัญญาฝายหนึ่งมอบไวใหแกคูสัญญาอีกฝายหนึ่งในขณะทําสัญญาเพื่อเปน ประกันการปฏิบัติตามสัญญา 2. มัดจํานั้น ถามิไดตกลงกันไวเปนอยางอื่น ทานใหเปนไปดังจะกลาวตอไปนี้คือ (1) ใหสงคืน หรือจัดเอาเปนการใชเงินบางสวน (2) ใหริบ ถาฝายผูวางมัดจําละเลยไมชําระหนี้ หรือการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณ อันใดอันหนึ่งซึ่งฝายนี้ตองรับผิดชอบ หรือถามีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายนั้น (3) ใหสงคืน ถาฝายที่รับมัดจําละเลยไมชําระหนี้ หรือการชําระหนี้นี้ตกเปนพนวิสัยเพราะ พฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งฝายนี้ตองรับผิดชอบ 14.3.1 ความหมายและลักษณะของมัดจํา


62 ทานเขาใจมัดจําอยางไร

มัดจําคือการที่คูสัญญาฝายหนึ่งมอบเงินหรือสิ่งของอื่นใหไวแกคส ู ัญญาอีกฝายหนึ่ง ในขณะทํา สัญญาเพื่อเปนประกันวาจะมีการปฏิบัตต ิ ามสัญญา ทัง ้ นี้เพราะถาฝายทีว ่ างมัดจําไมปฏิบัติชา ํ ระหนี้ หรือ การชําระหนี้เปนพนวิสัยหรือการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายวางมัดจํา กฎหมายใหคูสัญญาอีกฝาย แตถาอีกฝายหนึง ่ รับมัดจําละเลยไมชําระหนี้หรือการชําระหนี้ หนึ่งซึง ่ รับมัดจําไวสามารถริบมัดจํานั้นได ตกเปนพนวิสย ั หรือมีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายรับมัดจํา กฎหมายกําหนดใหคืนมัดจําแกผู วางมัดจํา นอกจากนั้น การวางมัดจํายังถือไดวา  เปนพยานหลักฐานวาสัญญาไดทา ํ กันขึ้นแลวอีกดวย 14.3.2 ผลตามกฎหมายของมัดจํา

เมื่อไดใหมัดจํากันแลวผลในกฎหมายเปนอยางไร กรณีเปนไปตามมาตรา 378 แหงประมวลกฎหมายแพงและพาณิชย ถาหากฝายที่วางมัดจํานั้น ละเลยไมชําระหนี้ หรือการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัย เพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งฝายที่วางมัดจํานั้น ตองรับผิดชอบหรือถามีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายทีว ่ างมัดจํา กฎหมายบัญญัตว ิ า ใหผร ู ับมัด จํานั้นไวมีสิทธิที่จะรับมัดจํานั้นได ่ นั้น เปนเรื่องซึ่งผูรบ ั มัดจําไวจะตองคืนมัดจํา ซึง ่ ก็เปนกรณีตรงกันขามกับ สวนในอีกกรณีหนึง กรณีที่กลาวแลว กลาวคือ คูสัญญาฝายที่รบ ั มัดจําไวนั้นเองเปนผูละเลยไมชําระหนี้ หรือชําระหนี้นั้นตกเปน พนวิสัยเพราะพฤติการณซง ึ่ ฝายทีร ่ ับมัดจําไวนั้นตองรับผิดชอบ 14.4 ความตกลงเกี่ยวกับเบี้ยปรับ

1. ขอตกลงซึ่งคูสัญญาฝายหนึ่งใหสัญญาแกคูสัญญาอีกฝายหนึ่งวา จะใชเงินหรือทรัพยสิน อยาง อื่นเปนเบี้ยปรับ เมื่อตนไมชําระหนี้ หรือชําระหนี้ไมถูกตองครบถวน 2. ความตกลงใหเบี้ยปรับแกกันนั้น ยอมกระทําไดทั้งที่กําหนดไววาเบี้ยปรับนั้น จะใชเปนจํานวนเงิน หรือเปนทรัพยสินอยางอื่นที่มิใชเงินก็ได 3. ในกรณีที่คูสัญญาตกลงในเรื่องเบี้ยปรับไวเปนจํานวนสูงเกินสวนศาลมีอํานาจที่จะลดลงเปน จํานวนพอสมควรได โดยพิเคราะหถึงทางไดเสียของเจาหนี้ประกอบดวย 4. ในกรณีลูกหนี้อางวา ตนไดชําระหนี้อันทําใหเจาหนี้รบ ิ เบี้ยปรับไมไดตามที่ตกลงกันไวนั้น กฎหมายกําหนดใหลูกหนี้มีหนาที่จะตองพิสูจนวา ตนไดชําระหนี้นั้นแลว 14.4.1 ความหมายและลักษณะของเบี้ยปรับ ทานเขาใจเรื่องเบี้ยปรับวาอยางไร

เบี้ยปรับ คือการทีค ่ ูสัญญาฝายหนึ่งใหสัญญาตอคูสญ ั ญาอีกฝายหนึ่งวา จะใชเงินหรือสิ่งของอื่น เมื่อตนไมชําระหนี้นั้นเลย หรือชําระหนี้ใหแตไมถก ู ตองครบถวน ทัง ้ นี้โดยไมมีการสงมอบเงินหรือสิ่งของ ใหไวแกกันเหมือนอยางในกรณีของมัดจํา 14.4.2 เบี้ยปรับที่กําหนดเปนจํานวนเงิน การกําหนดเบี้ยปรับเปนเงินในกรณีเพื่อการไมชําระหนีเ้ ลย ถูกตองสมควร ตางกันอยางไร

กับเบี้ยปรับเพื่อการไมชําระหนีใ้ ห

เบี้ยปรับเพือ ่ การไมชําระหนีเ้ ลยนั้น เมื่อไมมีการชําระหนี้เกิดขึ้น เจาหนี้ยอ  มมีสท ิ ธิเรียกเอาเบีย ้ ปรับนั้นแทนการชําระหนี้ ซึง ่ ถาไดเรียกเอาเบีย ้ ปรับในกรณีเชนวาแลวเจาหนี้จะเรียกใหลก ู หนี้ชา ํ ระหนีต ้ อบ แทนอีกไมได ถาสวนเจาหนี้มีความเสียหายอยางอื่นใดมากกวาจํานวนเบี้ยปรับดังกลาว เจาหนีย ้ อมมีสท ิ ธิ พิสูจน และเรียกคาเสียหายนั้นได สวนการตกลงเบี้ยปรับเพื่อการไมชําระหนี้ใหถก ู ตองสมควร เมื่อมีการชําระหนี้ไมถูกตองครบถวน ตามที่ตกลงกันไว เจาหนี้ยอ  มมีสิทธิเรียกรองใหลูกหนี้ชําระใหครบถวนถูกตองตอไปได และเรียกเอาเบี้ย ปรับอีกดวยก็ไดแตการที่จะริบเบีย ้ ปรับพรอมกับการชําระหนี้จากลูกหนี้นั้น เจาหนี้จะกระทําไดตอเมือ ่ ได บอกสงวนสิทธิที่จะริบเบี้ยปรับนั้นในเวลาที่เจาหนี้ยอมรับชําระหนี้จากลูกหนี้ดว  ยแลว นอกจากนี้ เจาหนี้ยง ั มีสิทธิเรียกคาสินไหมทดแทนเพือ ่ ความเสียหายอยางใดๆ ที่ตนไดรับมากกวา เบี้ยปรับที่กา ํ หนดไวได 14.4.3 เบี้ยปรับที่กําหนดเปนอยางอื่นที่มิใชจํานวนเงิน ในกรณีของการตกลงนั้นเบี้ยปรับเปนสิ่งของอยางอื่นที่มิใชตัวเงินนั้น เบี้ยปรับที่เปนเงินใชหรือไม

คงมีหลักการเชนเดียวกับ

การพิจารณาเรื่องเบี้ยปรับทีก ่ ําหนดเปนสิง ่ ของอยางอื่นที่มิใชตว ั เงินนั้นยอมมีหลักการ เชนเดียวกับเบี้ยปรับที่กา ํ หนดเปนตัวเงิน เวนแตในเรื่องคาสินไหมทดแทนที่เจาหนี้เห็นวาตนไดรับความ เสียหายมากกวา เบีย ้ ปรับทีก ่ ําหนดไวนั้น ถาเจาหนี้ไดตกลงทีจ ่ ะเรียกเอาเบี้ยปรับแลว ก็หมดสิทธิที่จะเรียก คาสินไหมทดแทนนั้น 14.4.4 อํานาจของศาลในการลดเบี้ยปรับ


63 เบี้ยปรับที่กําหนดไวนั้น จะสามารถลดไดอยางไร หรือไม การกําหนดเรือ ่ งเบี้ยปรับนั้น โดยทีส ่ วนหนึ่งมีวัตถุประสงคในการขจัดปญหายุงยากในการที่ จะตองมีการพิสูจนถึงความเสียหายกันขึ้น ดังนั้น ในกรณีทค ี่ ูสัญญาตกลงกําหนดกันไวเปนจํานวนสูง เกินไป เมือ ่ มีกรณีมาสูศาล ศาลยอมสั่งลดจํานวนเบี้ยปรับลงเปนจํานวนพอสมควรได โดยพิเคราะหถึงทาง ี ักษณะเปน ไดเสียของเจาหนีป ้ ระกอบดวย นอกจากนั้นโดยที่ลก ั ษณะของความตกลงในเรือ ่ งเบี้ยปรับนี้มล สัญญาอุปกรณ ดังนั้นถาการชําระหนี้ตามสัญญาที่ทา ํ กันไวไมสมบูรณ การตกลงในขอเบีย ้ ปรับในการไม ปฏิบัตต ิ ามสัญญานั้นก็ยอมไมสมบูรณดว  ย 14.4.5 หนาที่ของลูกหนี้ในการพิสูจนเพื่อมิใหถูกริบเบี้ยปรับ

ลูกหนี้จะพิสูจนเพื่อมิใหถูกริบเบี้ยปรับไดหรือไม อยางไร ในกรณีที่ลก ู หนี้อา  งวา ตนไดชําระหนีอ ้ ันทําใหเจาหนีร ้ ิบเบี้ยปรับไมไดตามที่ตกลงกันไวนั้น กฎหมายกําหนดใหลูกหนี้มห ี นาที่จะตองพิสูจนวา ตนไดชําระหนี้นั้นแลว แบบประเมินผล หนวยที่ 14 ผลแหงสัญญา มัดจํา เบีย ้ ปรับ มาตรา 377 เมื่อเขาทําสัญญา ถาไดใหสิ่งใดไวเปนมัดจําทานใหถือวาการที่ใหมัดจํานั้นยอมเปนพยานหลักฐานวา สัญญานั้นไดทํากันขึ้นแลว อนึ่งมัดจํานี้ยอมเปนประกันการที่จะปฏิบัติตามสัญญานั้นดวย มาตรา 378 มัดจํานั้นถามิไดตกลงกันไวเปนอยางอืน ่ ทานใหเปนไปดังจะกลาวตอไปนี้ คือ (๑) ใหสงคืน หรือจัดเอาเปนการใชเงินบางสวนในเมื่อชําระหนี้ (๒) ใหริบ ถาฝายที่วางมัดจําละเลยไมชําระหนี้ หรือการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งฝาย นั้นตองรับผิดชอบ หรือถามีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายนั้น (๓) ใหสงคืน ถาฝายที่รับมัดจําละเลยไมชําระหนี้ หรือการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะพฤติการณอันใดอันหนึ่งซึ่งฝาย นี้ตองรับผิดชอบ มาตรา 383 ถาเบี้ยปรับที่ริบนั้นสูงเกินสวน ศาลจะลดลงเปนจํานวนพอสมควรก็ได ในการที่จะวินิจฉัยวาสมควรเพียงใด นั้น ทานใหพิเคราะหถึงทางไดเสียของเจาหนี้ทุกอยางอันชอบดวยกฎหมาย ไมใชแตเพียงทางไดเสียในเชิงทรัพยสิน เมื่อไดใช เงินตามเบี้ยปรับแลว สิทธิเรียกรองขอลดก็เปนอันขาดไป

1. ระหวางบุคคล คูสัญญาเทานัน ้ ที่หลักกฎหมายวาดวยสัญญากอความผูกพันดวย 2. สัญญาอาจมีผลในลักษณะซึ่งใหประโยชนแก บุคคลภายนอกได ี่ ะตองชําระใหกับบุคคล ภายนอก 3. ลักษณะของสัญญาเพื่อประโยชนบค ุ คลภายนอก คือ คูสัญญามีหนี้ทจ 4. นาย ก จางนาย ข ใหขนสงไมสักไปตางประเทศตอมากอนที่จะถึงกําหนดสงไมสัก รัฐบาลไดออกกฎหมาย ั เพราะเหตุ หามสงไมสักออกนอกประเทศ สัญญาระหวางนาย ก และนาย ข จะมีผลคือ การชําระหนี้ตกเปนพนวิสย อันจะโทษนาย ก และนาย ข ไมได ทั้งนาย ก และนาย ข ตางจะเรียกใหแตละฝายปฏิบต ั ิตามสัญญาไมได คือสิ่งทีค ่ ส ู ัญญาฝายหนึ่งมอบไวใหแกคส ู ัญญาอีกฝายหนึ่งในขณะทําสัญญาเพื่อเปนประกันการ 5. มัดจํา ปฏิบัติตามสัญญา 6. เงินหรือทรัพยสินอยางอื่น ซึง่ คูสัญญาฝายหนึ่งใหแกคูสญ ั ญาอีกฝายหนึ่ง จะใชใหเมื่อตนไมชําระหนีห ้ รือ ชําระหนี้ไมถูกตองครบถวน คือ เบี้ยปรับ 7. ถามีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายรับมัดจํากฎหมายกําหนดให คืนมัดจําแกผูวางมัดจําทั้งหมด ิ อยางอื่น 8. เบี้ยปรับ เปนเงินหรือทรัพยสน ศาลมีอา ํ นาจลดลงเปนจํานวน 9. ผลในทางกฎหมายหากคูสญ ั ญาไดตกลงในเรื่องเบี้ยปรับไวสูงเกินสวน พอสมควรโดยคํานึงถึงทางไดเสียของเจาหนี้ ู หนี้พิสูจนไดวา  ตนไดชําระหนี้แลว ลูกหนี้มต ิ องถูกริบเบี้ยปรับ 10. ในกรณีที่ลก 11. ถาเจาหนีย ้ อมรับชําระหนี้แลวจะเรียกเอาเบี้ยปรับไดอีก ถาไดบอกสงวนสิทธิไวเชนนั้นในเวลาชําระหนี้ 12. กรณีหากมีการเลิกสัญญาเพราะความผิดของฝายทีร่ ับมัดจํา ตองคืนมัดจําทั้งหมด

หนวยที่ 15 การเลิกสัญญา 1. 2. 3. 4.

ลูกหนี้มีสิทธิเลิกสัญญาไดตามขอตกลงในสัญญาที่ทําขึ้น หรือตามที่กฎหมายบัญญัติไว การบอกเลิกสัญญานั้น ตองแสดงเจตนาตอคูสัญญา สิทธิในการบอกเลิกสัญญาของคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งยอมระงับไปโดยบังเอิญของกฎหมาย การบอกเลิกสัญญายอมมีผลใหคูกรณีกลับสูฐานะเดิมแตไมเปนที่เสื่อมเสียสิทธิของบุคคลภายนอก

15.1 สิทธิเลิกสัญญา

1. คูสัญญาสามารถตกลงทําสัญญาระงับสิทธิซึ่งคูสัญญามีตอกันตามสัญญา 2. คูสัญญามีสิทธิบอกเลิกสัญญาได ในเมื่อมีขอตกลงในสัญญาใหสิทธิคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งที่จะ บอกเลิกสัญญานั้นได ซึ่งโดยปกติจะเปนกรณีที่คูสัญญาอีกฝายหนึ่งนั้นไมปฏิบัติตามขอตกลง หรือปฏิบัติ ฝาฝนขอตกลงในสัญญาขอใดขอหนึ่ง


64 3. กฎหมายใหสิทธิแกคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งที่จะบอกเลิกสัญญาได 2 กรณี กรณีแรกคือกรณีที่ คูสัญญาอีกฝายหนึ่งไมชําระหนี้ โดยในการใชสิทธิดังกลาวจะตองบอกกลาวกําหนดระยะเวลาอันสมควร ใหคูสัญญาฝายที่ไมชําระหนี้ทําการชําระหนี้นั้นกอน เวนแตระยะเวลาชําระหนี้ที่กําหนดไวนั้นเปนขอ สาระสําคัญ สวนอีกกรณีหนึ่งนั้น เมื่อการชําระหนี้ตกเปนพนวิสัยเพราะความผิดของคูสัญญาฝายใดฝาย หนึ่ง คูสัญญาอีกฝายหนึ่งมีสิทธิบอกเลิกสัญญาได 15.1.1 สิทธิเลิกสัญญาที่เกิดจากการทําสัญญาเพื่อเลิกสัญญา

การทําสัญญาเพื่อเลิกหรือระงับสัญญามีไดหรือไม การทําสัญญาเพื่อเลิกหรือระงับสัญญาทีผ ่ ูกพันระหวางคูกรณียอมมีได ซึ่งเปนไปตามหลักเกณฑ เรื่องสัญญาโดยปกติ คือ ตองมีความตกลงระหวางคูสญ ั ญาทัง ้ สองฝาย 15.1.2 สิทธิเลิกสัญญาที่เกิดขึ้นจากขอตกลงในสัญญา

สิทธิเลิกสัญญาที่เกิดจากขอตกลงในสัญญาจะเกิดขึ้นเมื่อใด สิทธิเลิกสัญญาที่เกิดจากขอจกลงในสัญญาเกิดในกรณีที่คูสญ ั ญาฝายใดฝายหนึ่ง จะตองปฏิบัตต ิ ามสัญญานั้นไมปฏิบัติตามขอตกลง หรือขอสัญญานัน ้

ซึง ่ มีหนาที่

15.1.3 สิทธิเลิกสัญญาที่เกิดขึ้นจากบทบัญญัติของกฎหมาย

การใชสิทธิเลิกสัญญานั้นจะมีขึ้นไดในกรณีใดบาง อาจเกิดขึ้นไดอยางหนึ่งอยางใดตอไปนี้ (1) คูสัญญาตกลงเลิกสัญญาทีไ ่ ดกระทํากันไวในลักษณะทีเ่ ปนนิติกรรมสองฝาย (สัญญา) (2) เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญา ในกรณีที่ตนมีสิทธิอันเกิดจากขอตกลง ในสัญญาที่ไดมีไวตอ  กัน (3) เมื่อคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่งใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีมีบทบัญญัตข ิ องกฎหมายวาไว ซึ่งไดแก ¾ เมื่อคูสัญญาฝายหนึ่งไมชา ํ ระหนี้ หากคูส  ัญญาอีกฝายหนึ่งไดบอกกลาวกําหนดเวลาโดย สมควรใหคูสญ ั ญาอีกฝายหนึ่งชําระหนีแ ้ ลว แตคูสญ ั ญาฝายนั้นไมชําระหนี้ภายในกําหนดเวลาคูสัญญาที่ ไมไดรับชําระหนี้ยอมใชสท ิ ธิบอกเลิกสัญญาได แตถา  เปนกรณีที่คูสญ ั ญาฝายใดจะตองชําระหนี้ที่กา ํ หนด ่ ไมมีการชําระหนี้ภายในกําหนดเวลาดังกลาว คูสญ ั ญา ไว โดยทีร ่ ะยะเวลาชําระหนี้เปนขอสาระสําคัญ เมือ อีกฝายหนึ่งยอมใชสิทธิบอกเลิกสัญญาได ¾ ในกรณีทก ี่ ารชําระหนีต ้ กเปนพนวิสัยเพราะความผิดของคูสญ ั ญาฝายใด คูสญ ั ญาอีก ฝายหนึ่งยอมบอกเลิกสัญญาได 15.2 วิธีการบอกเลิกสัญญา

1. การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาตองกระทําตอคูสัญญาอีกฝายหนึ่งซึ่งตนประสงคจะเลิกสัญญา และเมื่อไดแสดงเจตนาเลิกสัญญาแลวจะกลับใจถอนการบอกเลิกสัญญามิได 2. ในกรณีซึ่งคูสัญญาแตละฝายประกอบดวยบุคคลหลายคนเปนคูสัญญาการใชสิทธิเลิกสัญญา หรือ ถูกบอกเลิกสัญญาจะตองกระทําโดยบุคคลทั้งหลายเทานั้น หรือจะกระทําตอบุคคลทั้งหลายเหลานั้น แลวแตกรณี 15.2.1 การแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาตอคูสัญญา

การบอกเลิกสัญญาจะตองกระทําอยางไร การบอกเลิกสัญญานั้น คูส  ัญญาฝายทีใ่ ชสิทธิบอกเลิกสัญญาจะตองแสดงเจตนาตอคูสัญญาอีก ฝายหนึ่ง ซึ่งโดยหลักยอมมีผลเมื่อการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญานั้นไดไปถึงคูสัญญาอีกฝายหนึง ่ 15.2.2 การใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีที่คูสัญญานั้นมีบุคคลหลายคนเปนผูใชสิทธิ เลิกสัญญาหรือเปนผูถูกบอกเลิกสัญญา การใชสิทธิบอกเลิกสัญญาในกรณีที่คูสัญญานั้นมีบุคคลหลายคนเปนผูใชสิทธิเลิกสัญญา หรือ เปนผูถูกบอกเลิกสัญญาตองปฏิบัติอยางไร ในกรณีทบ ี่ ุคคลหลายคนเปนผูใชสิทธิบอกเลิกสัญญา การใชสท ิ ธิบอกเลิกสัญญานั้น ผูเปน คูสัญญาทุกคนตองรวมกันใช และในกรณีทผ ี่ ูถก ู บอกเลิกสัญญาเปนคูสัญญาที่มห ี ลายคนรวมกัน การใช สิทธิบอกเลิกสัญญานั้น จะตองกระทําตอคูสัญญานั้นทุกคน 15.2.3 กฎหมายหามถอนการแสดงเจตนาที่ไดยอกเลิกสัญญาแลว

เมื่อแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาแลว จะถอนการแสดงเจตนานั้นไดหรือไม เมื่อไดบอกเลิกสัญญาแลว คือการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญาไดไปถึงคูสัญญาอีกฝายหนึง ่ แลว คูสัญญาฝายที่บอกเลิกสัญญาจะถอนการบอกเลิกสัญญานั้นมิได


65 15.3 การระงับซึ่งสิทธิในการบอกเลิกสัญญา

1. สิทธิของคูสัญญาในการบอกเลิกสัญญาตองระงับสิ้นไป เมื่อคูสัญญาอีกฝายหนึ่งไดบอกกลาวให ผูมีสิทธิบอกเลิกสัญญาใชสิทธินั้นเสียภายในเวลาอันสมควร แตผูมีสิทธิเลิกสัญญามิไดใชสิทธิดังกลาว 2. สิทธิของคูสัญญาในการบอกเลิกสัญญา ยอมระงับสิ้นไป เมื่อผูมีสิทธิเลิกสัญญาไดทําใหวัตถุแหง สัญญาบุบสลายไปในสวนสําคัญ หรือทําใหการคืนทรัพยอันเปนวัตถุแหงสัญญากลายเปนพนวิสัย 15.3.1 สิทธิเลิกสัญญาระงับโดยการบอกกลาวใหผูมีสิทธิเลิกสัญญาใชสิทธิเสียในเวลา

อันสมควร กรณีใด ที่คูสัญญาฝายหนึ่ง สิทธิบอกเลิกสัญญาใชสิทธินั้น

อาจกําหนดระยะเวลาพอสมควรบอกกลาวใหคูสัญญาอีกฝายที่มี

ตองเปนกรณีที่สัญญานั้นไมไดกําหนดระยะเวลาใหใชสิทธิบอกเลิกสัญญาเทานั้น 15.3.2 สิทธิเลิกสัญญาระงับเพราะวัตถุแหงสัญญาสลายไปในสวนสําคัญ ทรัพยกลายเปนพนวิสัย สิทธิในการบอกเลิกสัญญานั้นมีการระงับสิ้นไปในกรณีใดบาง

หรือการคืน

สิทธิในการบอกเลิกสัญญามีทางระงับสิ้นไปในกรณีดังตอไปนี้ (1) เมื่อผูมีสท ิ ธิบอกเลิกสัญญายังไมใชสิทธิดังกลาว คูสัญญาอีกฝายหนึง ่ จะบอกกลาวใหผูมี สิทธิบอกเลิกสัญญาใชสท ิ ธิบอกเลิกสัญญาเสียภายในเวลาอันสมควรก็ได ถาผูมส ี ิทธิบอกเลิกสัญญายังไม มีสิทธิบอกเลิกสัญญาภายในกําหนดเวลาดังกลาว สิทธิบอกเลิกสัญญานั้นยอมระงับสิ้นไป (2) เมื่อผูมีสท ิ ธิบอกเลิกสัญญาทําใหวต ั ถุแหงสัญญาบุบสลายไปในสวนสําคัญหรือทําใหการคืน ทรัพยอันเปนวัตถุแหงสัญญานั้นพนวิสัย 15.4 ผลของการเลิกสัญญา

1. การบอกเลิกสัญญา ยอมมีผลทําใหคูสัญญากลับคืนสูฐานะเดิม คือมีผลยอนหลังไปในเวลาที่มี การทําสัญญากัน 2. การกลับคืนสูฐานะเดิม ในกรณีบอกเลิกสัญญากับการกลับคืนสูฐานะเดิมในกรณีบอกลาง โมฆียะกรรม มีลักษณะที่คลายคลึงกัน จะแตกตางกันก็แตเฉพาะการกลับคืนสูฐานะเดิมในการบอกลาง โมฆียะกรรม เปนเรื่องที่ตองการคุมครองผูไรความสามารถ หรือผูแสดงเจตนาโดยวิปริต แตการบอกเลิก สัญญานั้น เปนเรื่องที่คูสัญญาตองการระงับความผูกพันกันเอง หรือเพราะความผิดของคูสัญญาฝายใด ฝายหนึ่ง นอกจากนั้น ในกรณีของโมฆียะกรรมซึ่งถูกบอกลางในกรณีที่เปนการพนวิสัยที่จะกลับสูฐานะเดิม ได กฎหมายบัญญัติใหคูสัญญาอีกฝายหนึ่งไดรับคาสินไหมทดแทน แตกรณีการบอกเลิกสัญญานั้นผูใช สิทธิเลิกสัญญามีสิทธิที่จะเรียกรองคาเสียหายไดอีกทางหนึ่งดวย 3. การที่มีการเลิกสัญญา ไมวาขอตกลงในสัญญา หรือโดยบทบัญญัติของกําหมาย ยอมไมมี ผลกระทบที่เสื่อมเสียสิทธิของบุคคลภายนอกซึ่งไดสิทธิ หรือมีสิทธิในทรัพยสินอันเปนวัตถุแหงสัญญา โดยที่มีกฎหมายรับรองในการไดสิทธิ หรือมีสิทธิในทรัพยนั้น 15.4.1 การกลับคืนสูฐานะเดิม

การบอกเลิกสัญญาโดยทั่วไป มีผลอยางไรบาง การบอกเลิกสัญญายอมมีผลทําใหคูสัญญากลับคืนสูฐานะเดิม การทําสัญญานั้น

คือมีผลยอนหลังไปในเวลาที่ไดมี

15.4.2 การกลับคืนสูฐานะเดิมในกรณีที่การที่ไดกระทําไปแลว เปนงานหรือการยอมให ใชทรัพย การกลับคืนสูฐานะเดิมในกรณีที่การกระทําไดกระทําไปแลวเปนงาน จะตองทําอยางไร การกลับคืนสูฐ  านะเดิมในกรณีทก ี่ ารกระทําไดกระทําไปแลวเปนงาน ตามคาของงานที่ไดทา ํ ขึ้น

กฎหมายใหมก ี ารชดใชเงิน

15.4.3 ขอเปรียบเทียบการกลับสูฐานะเดิมในการเลิกสัญญากับการบอกลาง โมฆียะกรรม อธิบายขอไดเปรียบการกลับสูฐานะเดิมในการเลิกสัญญาการบอกลางโมฆียะกรรม การกลับคืนสูฐ  านะเดิมในกรณีการบอกเลิกสัญญากัลปการกลับคืนสูฐานะเดิมในกรณีบอกลาง โมฆียะกรรม เปนเรื่องทีก ่ ฎหมายตองความคุมครองผูห  ยอนความสามารถ หรือผูแ  สดงเจตนาโดยวิปริต แต การบอกเลิกสัญญานั้นเปนเรื่องที่คูสญ ั ญาตองการระงับความผูกพันระหวางกัน หรือเปนเพราะความผิด ของคูสัญญาฝายใดฝายหนึ่ง


66 นอกจากนั้น ในกรณีโมฆียกรรมนี้ถก ู บอกลางหากเปนการพนวิสัยทีจ ่ ะกลับสูฐานะเดิม กฎหมาย บัญญัติเพียงใหคูสัญญาอีกฝายหนึ่งไดรบ ั คาสินไหมทดแทน แตในกรณีของการบอกเลิกสัญญานั้น ผูใช สิทธิบอกเลิกสัญญามีสิทธิที่จะเรียกรองคาเสียหายที่จะพึงมีพง ึ ไดอก ี ทางหนึ่งดวย 15.4.4 สิทธิในการเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการเลิกสัญญา

สิทธิในการเรียกรองคาเสียหายอันเกิดจากการเลิกสัญญา คืออยางไร

จากบทบัญญัติในมาตรา 391 วรรคสุดทายไดบญ ั ญัติวา  “การใชสิทธิในการเลิกสัญญานั้นหา กระทบกระทัง ่ ถึงสิทธิเรียกรองคาเสียหายไม” สําหรับในเรื่องนี้คอ ื การเลิกสัญญานัน ้ เปนเรือ ่ งซึง ่ คูสัญญา ฝายใดฝายหนึ่งอาจจะใชสท ิ ธิของตนตามขอตกลงในสัญญาหรือโดยบทบัญญัตข ิ องกฎหมาย เลิกความ ี่ ะกระทบถึงสิทธิในการ ผูกพันที่มอ ี ยูในระหวางคูสัญญาดวยกันเอง โดยการบอกเลิกสัญญา แตกรณีทจ เรียกรองคาเสียหายนั้นก็เฉพาะในกรณีทล ี่ ูกหนี้ตอ  งรับผิดในการไมชําระหนี้ และจากการไมชา ํ ระหนีข ้ อง ลูกหนี้นั้นเองกอใหเกิดความเสียหายแกคูสัญญาอีกฝายหนึง ่ เพราะฉะนั้น นอกจากการที่ถก ู บอกเลิก สัญญาแลวลูกหนี้ยง ั คงจะตองชดใชคาเสียหายแกเจาหนี้อก ี สวนหนึ่งดวย 15.4.5 การชําระหนี้ของคูสัญญาอันเกิดจากการเลิกสัญญา

ในเรื่องของการชําระหนี้ของคูสัญญาอันเกิดจากการเลิกสัญญานั้น คืออยางไร ในเรื่องการชําระหนีข ้ องคูสญ ั ญาอันเกิดจากการเลิกสัญญานั้น มาตรา 392 ไดบัญญัตว ิ า“การ ชําระหนีข ้ องคูสัญญาที่เกิดแตการเลิกสัญญานั้นใหเปนไปตามบทบัญญัติแหงมาตรา369”ซึ่งก็หมายความ วาคูสัญญาฝายหนึ่งจะไมยอมชําระหนี้ จนกวาอีกฝายหนึ่งจะชําระหนี้หรือขอปฏิบัติชําระหนีก ้ ไ ็ ด ซึ่งเปน กรณีที่ไดกลาวมาแลวในเรือ ่ งลักษณะของสัญญาตางตอบแทน 15.4.6 การเลิกสัญญากับผลกระทบที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก

การบอกเลิกสัญญาเมื่อไดเกิดขึ้นแลวมีผลตอคูสัญญาและบุคคลภายนอกอยางไรบาง การบอกเลิกสัญญายอมมีผลทําใหคูสัญญาทั้งสองฝายกลับคืนสูฐานะเดิม แตเงินอันจะตองใชคืน นั้น กฎหมายบัญญัติใหบวกดอกเบี้ยนับแตวันที่ไดรับไวดวย แตถา  การที่จะตองคืนแกกันเปนการเปนงาน อันไดทา ํ ใหแกกันหรือเปนการยอมใหใชทรัพยสิน การชดใชคืนนั้นกฎหมายบัญญัติใหทา ํ ดวย ใชเงินตาม ่ ําใหกันหรือการที่ไดใชทรัพยสินนั้น นอกจากนั้นคูส  ัญญาฝายใดฝายหนึ่งอาจใชสิทธิเรียก คาแหงการทีท คาเสียหายอยางใดๆ ที่เกิดขึ้นนั้นไดดวย ในสวนที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอกยอมไดรบ ั ความคุมครองตามที่กฎหมายไดบญ ั ญัติไว การบอก เลิกสัญญายอมไมเสื่อมเสียสิทธิ หรือกระทบกระเทือนสิทธิของบุคคลภายนอกผูไดสิทธินั้นมาโดยชอบ แบบประเมินผล หนวยที่ 15 การเลิกสัญญา 1. สิทธิการบอกเลิกสัญญาที่เกิดจากบทบัญญัติของกฎหมายคือ กรณีที่คก ู รณีอีกฝายหนึ่งไมชําระหนี้ คูกรณีกลับสูฐานะเดิมคือมีผลยอนหลังไปในเวลาทํา 2. การบอกเลิกสัญญายอมกอใหเกิดผลทําให สัญญา 3. ก ทําสัญญาเชาบาน ข โดยมีขอกําหนดวา ก ตองไมเอาบานนั้นใหผูอื่นเชาชวง หาก ข ฝาฝน มีสิทธิบอก เลิกสัญญาได ดังนี้สท ิ ธิบอกเลิกสัญญาเกิดจาก ขอตกลงในสัญญา 4. ผลเมื่อไดมีการบอกเลิกสัญญาไปแลว กฎหมายหามถอนการแสดงเจตนาบอกเลิกสัญญา 5. ก ข และ ค ทําสัญญาเชาหองของ แดง จากผูใหเชาคนละฉบับโดยแตละคนเชาเชาแตละหอง ตอมา ก แต ผูเดียว ฝาฝนขอกําหนดในสัญญาเอาหองแดงสวนของตนไปใหเชาชวง ผูใหเชาบอกเลิกสัญญา ได โดยบอกเลิก สัญญาไปยัง ก แตผูเดียว 6. ก ข และ ค เปนเจาหนี้รวม ประสงคจะบอกเลิกสัญญากับลูกหนี้รวม คือ จ และ ฉ เจาหนี้รวมทุกคนบอก เลิกสัญญาไปยังลูกหนี้รว  มทุกคน 7. ก ขายแหวนทองปลอมให ข ข รับซื้อโดยเขาใจวาเปนแหวนทองคํา ตอมา ค มาซื้อจาก ข ไปอีก 2 วัน ้ ขายแหวนกับ ก ไมได เพราะ ตอมา ค มาตอวา ข วาขายแหวนปลอมให ค เหตุการณดังนี้ จะบอกเลิกสัญญาซือ ข ทําใหการคืนทรัพยกลายเปนการพนวิสย ั 8. การบอกเลิกสัญญามีผลเหมือนกับ การบอกลางโมฆียะกรรม 9. การบอกเลิกสัญญาจะตองกระทํา แสดงเจตนาตอคูสัญญา จึงจะมีผลเปนการบอกเลิกสัญญา ี่ ูกรณีฝา  ยหนึ่งไมชําระหนี้ เกิดจากบทบัญญัติของกฎหมาย 10. สิทธิการบอกเลิกสัญญา กรณีทค


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.