Portfolio illus

Page 1

+

PORT . FOLIO PORNPITCHAYA.T


+I L L U S T A T I O N


MAP “DE MELODY”

MAP “SUKHAWADEE”

BOOK “SAVE ENERGY”

: ADOBE ILLUSTRATOR

: ADOBE ILLUSTRATOR + 3D MAX

: ADOBE ILLUSTRATOR


ถนน เพชรเกษม

บีทีเอสบางหวา

ร แยกพัฒนากา

เมโทรพารค คอนโด

ซ.ศาลธนุบรี 17 แยก 13

De Melody

น มูบา

อง ท ง ว

2

บีทีเอสวุฒากาศ ซงโภชนา

โรงเรียนฐานปญญา ซอย

ันแม

ป กลั

น

ถน

True Jesus Church

กำน

ถนน กาญจนาภิเษก

ษ ฤก

RESTAURANT POST OFFICE

POST OFFICE

หมูบานอินทราวิลลา

ทรีแมงโก

POST OFFICE

ไปรษณียบางขุนเทียน บิ๊กซี กัลปพฤกษ

ชัย

ถน

ก นเอ

ศาลธนบุรี


POST OFFICE

POST OFFICE RESTAURANT

POST OFFICE

คริสตจักรขาวดี ภาษีเจริญ

รานอาหารหนีบเนื้อ จุมจี่ยาง

หมูบานอินทราวิลลา ซอยยิ้มประยูร

บิ๊กซี กัลปพฤกษ

เมโทรพารค คอนโด

ไปรษณียบางขุนเทียน

ศาลธนบุรี

บีทีเอสวุฒากาศ บีทีเอสบางหวา

เดอ เมโลดี้

โรงเรียนฐานปญญา



MAP “SUKHAWADEE”

: ADOBE ILLUSTRATOR + 3D MAX


BOOK “SAVE ENERGY” : ADOBE ILLUSTRATOR

สำนักสิ�งแวดลอมกรุงเทพฯ


01

Air-conditioner “เคร�่องปรับอากาศ”

AIR-CONDITIONER

ระบบปรับอากาศแบบแยกสวน

- องศาที่ดีควรอยูที่ 25–26 C - ควบคุมเวลา เปด-ปด - เปดเฉพาะพ��นที่ที่ใชงาน

การประหยัดพลังงาน แบงออกเปน 2 มาตรการ

- ทำความสะอาดเคร�่อง ปรับอากาศปละ 1-2 ครั�ง - ทำความสะอาดแผนกรอง อากาศเดือนละ 1 ครั�ง - ตรวจสอบการทำงานของ เคร�่องเปนประจำสม่ำเสมอ - ปรับทิศทางใหเหมาะสมกับ ตำแหนงที่ตองการ - ติดตั�งใหสูงจากพ��นพอสมควร เพ��อกระจายลมเย็นใหทั�วถึง

B มาตรการ ที่ไมตองเสียคาใชจาย

- ใชเคร�่องปรับอากาศที่มีขนาด เหมาะสม โดยทั�วไปจะมีคาอยูในชวง 700–1,000 บีทียูตอตารางเมตร - ใชเคร�่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงแทน - การใชเทอรโมสตัทแบบอิเล็คโทรนิกส ทดแทนเทอรโมสตัทแบบไบ-เมทัล - การติดตั�งอุปกรณเสร�มที่มีการนำน้ำ ที่เกิดจากการควบแนนในหองปรับอากาศ มาชวยระบายความรอน

B

มาตรการ ที่ตองเสียคาใชจาย

*ขอหามที่ไมควรปฏิบัติ

Condenser

Windrow “หนาตาง”

- อุดรอยรั�วที่ชองวงกบ เพ��อไมใหอากาศขางนอกเขามา - เปดหนาตางระบายอากาศกอน เปดเคร�่องปรับอากาศ 15 นาที

B - ติดตั�งกันสาดบร�เวณหนาตาง เพ��อลดความรอนเขามาทาง - ติดตั�งกระจก 2 ชั�น - ติดตั�งมานบังแสงอาทิตย - ติดตั�งฉนวนกันความรอน

“คอยลรอน”

- ตำแหนงที่ติดตั�งคอยลรอน ตองระบายอากาศไดดี และอยูในรมจะชวยประหยัด ไฟฟาลงไดถึงรอยละ 15-20

- ไมควรนำสิ�งที่มีความช�้นเขา - ไมควรนำอุปกรณไฟฟา หองปรับอากาศ เพราะเคร�่อง บางประเภทเขาไวในหอง ปรับอากาศจะใชพลังงาน 70% ที่มีเคร�่องปรับอากาศ เพราะ ใชร�ดความช�้นออกจากหอง เปนการเพ��มความรอนในหอง


02

- การควบคุมเวลาในการเปด-ปด เคร�่องทำน้ำเย็น และปดเคร�่อง ทำน้ำเย็น กอนเวลาเลิกงาน 15 ถึง 30 นาที - บำรุงรักษาอุปกรณอยางสม่ำเสมอ

WATHER COOLER & FAN COIL

ระบบเคร�่องทำน้ำเย็น,เคร�่องสงลมเย็น

B - ใชอุปกรณควบคุมความเร�วรอบ (VSD : Variable Speed Drive) กับสวนตางๆ ในการทำความเย็น เพ��อควบคุมอัตราการไหลของน้ำ

Wather cooler “เคร�่องทำน้ำเย็น”

การประหยัดพลังงาน แบงออกเปน 2 มาตรการ

มาตรการ ที่ไมตองเสียคาใชจาย

B

มาตรการ ที่ตองเสียคาใชจาย

*ขอหามที่ไมควรปฏิบัติ

B

Fan coil

“เคร�่องสงลมเย็น”

B - ควบคุมอุณหภูมิเคร�่องสงลมเย็น โดยการปรับอุณหภูมิใหเหมาะสม และแยกพ��นที่การควบคุมอุณหภูมิ - บำรุงรักษาอุปกรณอยางสม่ำเสมอ

- ใชอุปกรณควบคุมความเร�วรอบ (VSD : Variable Speed Drive) กับสวนตางๆ ในการทำความเย็น เพ��อควบคุมอัตราการไหลของอากาศ

B - ปรับปรุงระบบการจายอากาศเย็น โดยเลือกใชอุปกรณที่เหมาะสมกับระบบ - ใชอุปกรณประหยัดพลังงาน ระบบ VAV ซ�่งจะชวยควบคุมอุณหภูมิหองไดอยาง แมนยำตามความตองการของแตละพ��นที่

- ใชพัดลมประสิทธิภาพสูง แบบ Airfoil, Axial Flow เพ��มประสิทธิภาพของพัดลมโดยการใช Inter Cone - ใชระบบนำความเย็นของอากาศทิ�ง กลับมาใชทำความเย็นให แกอากาศภายนอกที่นำเขามาสูอาคารโดยอุปกรณ เชน Heat Recovery Wheel หร�อแผนแลกเปลี่ยนความรอน - ใช Heat Pipe เพ��อลดความช�้นในอากาศ Heat Pipe สามารถติดตั�งกับเคร�่องสงอากาศเย็น (AHU) ทั�วไปไดโดย ทำการดัดแปลงแกไขเพ�ยงเล็กนอย และไมตองใชพลังงานเพ��มข�้น


03

Lighting

LIGHTING

“หลอดไฟ,แสงสวาง”

ระบบสองสวาง

การประหยัดพลังงาน แบงออกเปน 2 มาตรการ

- ทําความสะอาดหลอดและ โคมไฟฟา ทุก 3-6 เดือน - ควรถอดหลอดและบัลลาสต ในพ��นที่ที่ไมจำเปนออก - ใชแสงจากธรรมชาติในเวลา กลางวันใหเกิดประโยชนสูงสุด - ปดไฟในสวนที่ไมใชงาน ปดไฟ ในชวงพักเที่ยง และเมื่อเลิกใชงาน - หร�่ความสวางของแสงสำหรับ หลอดไฟที่ปรับระดับแสงได - ติดสติ�กเกอรบอกตำแหนงไวที่ สว�ตซเปด-ปดหลอดไฟ

มาตรการ ที่ไมตองเสียคาใชจาย

B

มาตรการ ที่ตองเสียคาใชจาย

B

*ขอหามที่ไมควรปฏิบัติ

B - เลือกใชหลอดไฟที่มีประสิทธิภาพสูงชวยประหยัดไฟ เชน หลอด LED หร�อหลอดฟลูออเรสเซนต แบบ T5 - ใชหลอดคอมเพคฟูลออเรสเซนตแทนหลอดไส หร�อ หลอดเมทัลฮาไลด แทนหลอดแสงจันทร ในที่สูงมากๆ - ใชโคมไฟฟาที่มีประสิทธิภาพสูงมีผิวสะทอนแสงที่ดี จะชวยใหสามารถลดจํานวนหลอดตอโคมลง - ใชบัลลาสตกําลังสูญเสียต่ำ

- ติดตั�ง Capacitor ปรับปรุง คากําลังไฟฟาใหมีคาไมต่ำกวา 0.85 ในกรณีที่ใชบัลลาสตชนิดแกนเหล็ก - จัดตําแหนงโคมใหม หร�อการจัดกลุม สว�ตซตามการใชงาน - ติดตั�งหลังคากระเบื้องหร�อกระจกที่ ยอมใหแสงผาน นำแสงสวางจากธรรมชาติ มาใชประโยชนใหไดมากที่สุด - ทาสีสถานที่ทำงานใหสวาง เพ��อลด ปร�มาณการติดตั�งหลอดไฟ

B - ติดตั�งสว�ตซแสงแดด (Photo sensor) ที่จะสั�งเปดหลอดในชวงที่คาความสวาง นอยกวาที่กำหนด (กลางคืน) และสั�งปด หลอดชวงที่คาความสวางมาก (กลางวัน) - ติดตั�งสว�ตซควบคุมความเคลื่อนไหว (Motion Sensor) จะเปดหลอดไฟกรณี ที่มีความเคลื่อนไหวเกิดข�้นในพ��นที่ที่ติดตั�ง และปดเมื่อไมมีการเคลื่อนไหวตอเนื่องกัน เกินกวาระยะเวลาที่กำหนด - ติดตั�งสว�ตซควบคุมเวลา (Timer) จะทำ หนาที่เปด ปดหลอดไฟตามชวงเวลาใชงาน ที่มีการตั�งคาไว


04

Printer

“เคร�่องถายเอกสาร,เคร�่องพ�มพ”

OFFICE EQUIPMENTS

อุปกรณสำนักงาน

การประหยัดพลังงาน แบงออกเปน 2 มาตรการ

มาตรการ ที่ไมตองเสียคาใชจาย

B

มาตรการ ที่ตองเสียคาใชจาย

*ขอหามที่ไมควรปฏิบัติ

Computer “คอมพ�วเตอร”

- ปดเคร�่องหลังเลิกงาน พรอมทั�งถอดปลั�กออก - ตั�งปดหนาจอคอมพ�วเตอร ชวงที่ไมมีการใชงาน เนื่อง จากจอภาพใชไฟฟากวา รอยละ 70

B

- เลือกซ�้ออุปกรณสำนักงานที่มี สัญลักษณประหยัดพลังงาน - เลือกซ�้อจอคอมพ�วเตอรขนาดที่ เหมาะสมกับการใชงาน เพราะจอ ภาพขนาด 14 นิ�ว ใชไฟฟานอยกวา จอภาพ 17 นิ�ว ถึงรอยละ 25

- ปดเคร�่องหลังเลิกงานพรอมทั�งถอดปลั�ก เคร�่องถายเอกสารออก - เคร�่องถายเอกสาร ควรกดปุมพัก (standby mode) เมื่อเลิกใชงาน และ หากเคร�่องถายเอกสารมีระบบปดเคร�่อง อัตโนมัติ ควรตัง� เวลาหนวง 30 นาที กอน เขาระบบประหยัดพลังงาน - ถายเอกสาร 2 หนา และถายเทาที่จำเปน รวมถึงตรวจแกไขเอกสารกอนจัดพ�มพ เพ��อชวยลดการสิ�นเปลืองพลังงาน - นำเคร�่องพ�มพไวนอกหองปรับอากาศ - ติดตั�งเคร�อขายเช�่อมโยงการทำงานของ เคร�่อง เพ��อใชเคร�่องพ�มพรวมกัน ซ�่งจะ ชวยประหยัดพลังงาน ลดการซอมบำรุง - ควรติดตั�งอุปกรณสำนักงานในบร�เวณ ที่มีอากาศถายเทไดสะดวก เพ��อให ความรอนที่ปลอยออกมาจากอุปกรณ สามารถถายเทไดสะดวก และลดอันตราย ทีม่ ตี อ สุขภาพของผูใ ชงาน ซ�ง่ เกิดข�น้ จาก ไอละเหยของหมึกพ�มพจากเคร�่อง ถายเอกสาร - ไมควรตั�งอุปกรณสำนักงานไวช�ดผนัง ตูเอกสาร หร�อชั�นวางของมากเกินไป เพราะจะทำใหระบายความรอนไมดี และ ทำใหอายุการใชงานของสั�นลง - หมั�นทำความสะอาดหัวพ�มพของ เคร�่องพ�มพ และเคร�่องถายเอกสารอยาง สม่ำเสมอ

B - เลือกซ�้ออุปกรณสำนักงานที่มี สัญลักษณประหยัดพลังงาน


Pumps

05

CONSUMER GOODS

“ปมน้ำ”

- ลดแรงดันของปมน้ำ ปรับสว�ตซแรงดัน ใหเหมาะสมกับการใชงานของอาคาร - ในการใชปมน้ำที่มีทั�งปมที่ใชทำงานหลักและ ที่ใชสำรอง เลือกขนาดพ�กัดของมอเตอรขับ ใหเหมาะสม

B

- เลือกใชปมน้ำขนาดเล็กแตหลายตัวดีกวาใช ปมน้ำขนาดใหญเพ�ยงไมกี่ตัว - เลือกประสิทธิภาพของปมน้ำใหเหมาะสม

Lift

อุปกรณอุปโภค บร�โภค

“ลิฟต”

การประหยัดพลังงาน แบงออกเปน 2 มาตรการ

- ข�้นลงชั�นเดียวควรใชบันไดแทนลิฟต - ตั�งใหลิฟตหยุดเฉพาะขั�นคี่หร�อชั�นคูเทานั�น เนื่องจากลิฟตจะใชไฟมากขณะออกตัว - กอนเปดประตูลิฟต หร�อใชงานลิฟตควรมี เพ��อนรวมทางเพ��อชวยกันประหยัดไฟฟา - ยกเลิกการปรับอากาศในหองควบคุมลิฟต ใชพัดลมระบายอากาศทดแทน - ปดลิฟตหลังเวลาเลิกงานโดยล็อคไวที่ชั�น ลางสุดของอาคาร เพ��องายตอการเปดใช งานในวันตอไป

มาตรการ ที่ไมตองเสียคาใชจาย

B

มาตรการ ที่ตองเสียคาใชจาย

Water cooler and heater “เคร�่องทำน้ำเย็น,เคร�่องทำน้ำรอน”

*ขอหามที่ไมควรปฏิบัติ

B Machine “เคร�่องจักร”

- หลีกเลี่ยงการเดินเคร�่องจักรหร�ออุปกรณ ไฟฟาที่ใชกำลังไฟฟาสูงๆ พรอมกัน - ตรวจสอบปร�มาณโหลดไฟฟาที่ตออยูกับ ระบบในเฟสตางๆ ทั�งสามเฟสและดำเนิน การโยกยายโหลดใหมีปร�มาณโหลดของ แตละเฟสมีความใกลเคียงกันมากที่สุด

- ตมน้ำทีละนอยๆ พอประมาณ ไมตมเต็มถัง เพ��อลดการทำงานของฮีตเตอรไฟฟา - หลีกเลี่ยงการเสียบปลั�กอุปกรณที่ไมจำเปน ทิ�งในชวง Stand by เพ��อลดการใชพลังงาน

- การติดตั�งสว�ตซตั�งเวลาเพ��อควบคุมการทำงาน ของเคร�่องทำน้ำเย็น โดยสั�งปดเคร�่องในชวง กลางคืน (หลังเลิกงาน 17.00–07.00 น.) - การยกเลิกการใชกระติกน้ำรอนและเคร�่องทำ น้ำเย็น หันมาใชเคร�่องที่ทำน้ำรอน-น้ำเย็นภาย ในเคร�่องเดียวกัน ซ�่งเปนการใชประโยชนจาก สารทำความเย็นรอนมาเปนตัวชวยลดการ ทำงานของฮีทเตอรในการตมน้ำ


+

PORT . FOLIO PORNPITCHAYA.T

0850888188




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.