ปรัชญาของหลักสูตร หลักสูตรนี้มุ่งเน้นที่จะผลิตบุคลากรที่มีความเชี่ยวชาญ ด้านวิจยั ในสาขาวิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ อันเป็นสาขาทีป่ ระกอบ ไปด้วยความรูใ้ นด้านวิทยาศาสตร์ประยุกต์ คณิตศาสตร์ประยุกต์ และคอมพิวเตอร์ รวมถึงสาขาอืน่ ๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง โดยใช้แบบจำ�ลอง หรือการคำ�นวณร่วมกับคอมพิวเตอร์ทม่ี สี มรรถนะสูง เพือ่ ให้เกิด ความเข้าใจนำ�ไปสู่การตัดสินใจและพยากรณ์สิ่งที่จะเกิดขึ้น
รายละเอียดของหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต แผน ก 1 (เน้นทำ�เฉพาะวิทยานิพนธ์) 36 หน่วยกิต แผน ก 2 (ทำ�วิทยานิพนธ์และศึกษางานรายวิชา) 36 หน่วยกิต หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต แบบ 1.1 (สำ�หรับผูส้ �ำ เร็จการศึกษาปริญญาโท) 48 หน่วยกิต แบบ 1.2 (สำ�หรับผูส้ �ำ เร็จการศึกษาปริญญาตรี) 72 หน่วยกิต แบบ 2.1 (สำ�หรับผูส้ �ำ เร็จการศึกษาปริญญาโท) 48 หน่วยกิต แบบ 2.2 (สำ�หรับผูส้ �ำ เร็จการศึกษาปริญญาตรี) 72 หน่วยกิต ทุนการศึกษา ผู้ช่วยสอน ผู้ช่วยวิจัย ทุนเรียนดีวิทยาศาสตร์ เงินสนับสนุนการศึกษา เงินอุดหนุนการวิจัย และนำ�เสนอผลงาน
วิทยาศาสตร์เชิงคำ�นวณ สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ ภาพโดย : นายพชร กางกั้น
สำ�นักวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
333 หมู่ 1 ต.ท่าสุด อ.เมือง จ.เชียงราย 57100 โทร. 053916775 fax. 053916776 email: science@mfu.ac.th เวบไซต์หลักสูตร bit.ly/ComputationalScienceMFU
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
กลุ่มวิจัยแบบจำ�ลองทางคณิตศาสตร์
กลุ่มวิจัยชีวคำ�นวณ หัวข้อวิจัย
หัวข้อวิจัย
การจำ�ลองการกระจายพันธุ์ของสิ่งมีชีวิต การใช้เหมืองข้อมูลในชีวสารสนเทศ
การจำ�ลองการไหลของของไหลและความร้อน
การจำ�ลองผิวบนใบหน้า จากกระโหลกศีรษะ การศึกษาสภาวะแวดล้อม ที่ เ หมาะสมของชาป่ า ใน พื้นที่ภาคเหนือ
ผลการคำ�นวณการกระจายตัว ของอุณหภูมิและการไหลของอากาศ ภายในเตาเผาเซรามิกที่ถูกออกแบบ ใหม่เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพในการกระจาย ความร้อนและการใช้พลังงาน
ผลการทำ�นายการกระจายความหลากหลาย ทางชนิด พืชวงศ์ปาล์มของไทยในภูมภิ าคเอเซีย ตะวันออกเฉียงใต้
กลุ่มวิจัยฟิสิกส์ดาราศาสตร์
กลุ่มวิจัยพิบัติภัยและการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
หัวข้อวิจัย
หัวข้อวิจัย
การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุในสนามแม่เหล็กปั่นป่วนในอวกาศ การแผ่รงั สีแกมม่าและรังสีเอ็กซ์ของบริเวณรอบๆ ใจกลางดาราจักรกัมมันต์ แบบจำ�ลองของการเกิดรังสีแกมม่า พลังงานสูงในบริเวณรอบๆ ใจกลาง ดาราจักรกัมมันต์ (Active Galactic Nuclei, AGNs) โดยที่ข้อมูลที่ผู้สังเกตการณ์จะ ได้รับคือพลังงานและตำ�แหน่งของรังสี แกมม่าที่พบ
ผลการคำ�นวณโดยใช้เทคนิกการจำ�ลองแบบ Monte Calro ทำ�ให้เราเห็นว่าขนาดของบริเวณที่ให้ กำ�เนิดรังสีแกมม่าที่พลังงานต่างๆ ไม่เท่ากัน
ตัวอย่างผลการจำ�ลอง เส้ น สนามแม่ เ หล็ ก และ การเคลื่อนที่ของอนุภาค ทีม่ ปี ระจุในสนามแม่เหล็ก ปั่นป่วน
การไหลของแม่น้ ำ� การพังทลายของดิน การเจริญเติบโตของต้นไม้ การพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก
การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุ ในสนามแม่เหล็กในอวกาศ แบบจำ�ลองอุทกภัยในพื้นที่บริเวณ แม่น้ำ�ลาว จ.เชียงราย การศึกษาวิธีการลดปัญหาอุบัติภัยจากดินถล่ม