การออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สินค้าการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท เพื่อพัฒนาขีด ความสามารถในการแข่ งขันที่มีประสิ ทธิภาพ ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products to improve competitiveness and efficiency under the concept of the creative economy.
ประชิด ทิณบุตร 1, เกวริ นทร์ พันทวี1 , ฐปนนท์ อ่อนศรี 1 Prachid Tinnabutr1, Kawarin Panthawee1,Tapanon On sri 1 0
บทคัดย่ อ การวิจยั ครั้งนี้ มีวตั ถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาข้อมู ลพื้นฐานเกี่ ยวกับผลิ ตภัณฑ์และบรรจุ ภัณฑ์สินค้าทางการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท 2) เพือ่ ออกแบบพัฒนาต้นแบบบรรจุ ภัณฑ์สินค้าการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท ภายใต้กรอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้มีประสิทธิภาพเพือ่ การแข่งขันทางการค้า และ 3) เพื่อประเมินประสิ ทธิภาพต้นแบบบรรจุภณ ั ฑ์สินค้า ใหม่ ซึ่ งการวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาวิจยั แบบพัฒนาทดลอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาพัฒนาคือ บรรจุ ภัณฑ์สิน ค้าด้านการเกษตรของกลุ่ ม วิสาหกิ จชุ ม ชน ทั้ง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัด ชัยนาท อําเภอละ 2 ผลิ ตภัณฑ์ จํานวนรวม 16 รายการ ที่อ อกแบบภายใต้แนวคิดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์ โดยมี การประเมิ น ประสิ ทธิ ภาพและคุ ณ ภาพโดยใช้ตวั แทนจากกลุ่ ม ผูเ้ ชี่ ยวชาญ 5 กลุ่ ม อันได้แ ก่ ผูป้ ระกอบการ/ฝ่ าย การตลาด นักวิชาการ/ผูเ้ ชี่ยวชาญ/ที่ปรึ กษา/นักวิจยั นักวิชาการพัฒนาชุมชน/เจ้าหน้าที่รัฐ/หน่ วยงานของ จังหวัดชัยนาท นักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ และผูซ้ ้ื อหรื อผูบ้ ริ โภคทัว่ ไป โดยวิธีการสุ่ มแบบเจาะจงเลือกใน ฐานะผูม้ ีส่วนร่ วมพัฒนา และการสุ่มแบบบังเอิญ รวมจํานวนทั้งสิ้ น 80 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการ นําเสนอผลงานแบบกลุ่มย่อย การสอบถามความคิดเห็นทั้งโดยตรงและแบบสอบถามออนไลน์ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ขอ้ มูลได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลจากการวิจยั ตามกระบวนการสร้างสรรค์และวิธีดาํ เนิ นการวิจยั แบบมีส่วนร่ วม ทําให้ได้ชุด ผลงานต้นแบบที่มีส่วนประกอบทางโครงสร้างและกราฟิ กอัตลักษณ์สาํ หรับบรรจุภณ ั ฑ์สินค้า ของกลุ่ม วิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในแต่ละอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมทั้งสิ้ น 16 ราย โดยกลุ่ม ผูเ้ ชี่ยวชาญที่ได้ร่วมประเมินประสิ ทธิภาพและคุณภาพผลงานต้นแบบบรรจุภณ ั ฑ์สินค้า เห็นว่าภาพรวม ด้านการออกแบบโครงสร้าง ด้า นการออกแบบกราฟิ กสําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ และด้านการรับรู ้ทางด้า น การตลาด เป็ นผลงานการออกแบบที่มีคุณภาพและประสิ ทธิ ภาพที่เป็ นไปตามตามวัตถุประสงค์ อยูใ่ น เกณฑ์ระดับมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยรวมทุกอําเภออยูท่ ี่ 4.61 ส่ วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 ผูว้ ิจยั ได้สรุ ป รวบรวมไฟล์ตน้ แบบดิจิตลั ที่มีลิขสิ ทธิ์ถูกต้องขององค์ประกอบทางกราฟิ กอัตลักษณ์ ข้อมูลสารสนเทศ ของสินค้าและผูผ้ ลิต บันทึกลงแผ่นดีวดี ี มอบให้แก่ผปู ้ ระกอบการแต่ละราย และได้นาํ เสนอเผยแพร่ องค์ ความรู ้สาระสําคัญการวิจยั ครั้งนี้ไว้ที่เว็ปบลอกชื่อที่อยู่ http://chainatotop.blogspot.com คําสํ าคัญ : การออกแบบพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ สิ นค้าการเกษตรวิสาหกิจชุ มชน ขีดความสามารถในการ แข่งขันทางการค้า เศรษฐกิจสร้างสรรค์ จังหวัดชัยนาท
1
สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุ ษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
Research Title
Packaging design and development of Chai Nat agricultural community enterprise products to improve competitiveness and efficiency under the concept of the creative economy.
Researcher Prachid Tinnabutr, Kavarin Panthawee, Tapanon On sri Research Year 2014 Abstract The research objectives are 1) to gain a better understanding and more knowledge of Chainat’s community enterprise product and package designs 2) to develop a set of new designs under the concept of the creative economy, which aims to promote consistency in visual identity as well as improve competitiveness. 3) to evaluate an efficiency of the new designs. This experimental research takes place in eight districts in Chai Nat with a corporation from local communities. The products involved in this research consist of two agricultural products from eight districts in Chai Nat, which result in the total of sixteen new package designs under the concept of the creative economy. To evaluate the effectiveness of the experimental research, experts from five different sectors, including entrepreneur/marketing, scholar/advisor/researcher, social worker/government agent/government institute, professional product designer and regular consumer, are chosen by a simple random sample method in the total of eighty samples. The final designs are presented to a small group of people before collecting the evaluating questionnaires and opinions using a focus group method. The evaluation is done through both online questionnaires and in person. The descriptive statistics used in this experimental research include percents, mean, and standard deviation. The result from this experimental research, which involve a corporation from local communities leads to the set of products that embrace the true branding identity of Chai Nat agricultural community enterprise products as well as strengthen market perception and competitiveness. According to the selected groups of experts, the evaluation results in a mean of 4.61 S.D. 0.57 for the entire districts involved in this research. Furthermore, the experts also have agreed that this new set of package design is relevance to the creative economy. Thus, DVDs including a digital copy of the final package designs as well as product and manufacturer information are given to entrepreneurs involved in the project. For online version of this experimental research, please visit a blog URL: http://chainatotop.blogspot.com. Keywords: Packaging Design and Development, Agricultural Community Enterprise Product, Chai Nat Province, Competitiveness and Efficiency, Creative Economy 1
Fine and Applied Art Department , Faculty of Humanities and Social Scienes Chandrakasem Rajabhat University
3 บทนํา
จากสภาวะความเจริ ญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีการผลิต การสื่อสาร การคมนาคมขนส่ ง และ ความต้องการทางการอุปโภคบริ โภคของพลเมืองในประเทศและพลเมืองในโลกปั จจุบนั นี้ มีเพิ่มมาก ขึ้น ทําให้เกิดมีผลผลิตหรื อผลิตภัณฑ์สินค้าเข้าสู่ ตลาดการพาณิ ชย์มากมายเป็ นเงาตามตัว เป็ นผลให้ เกิดสถานการณ์ การแข่งขันทางการค้าสู งขึ้นตามมา ทั้งจากภายในและจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ อย่างยิ่ง จากเหตุการณ์ ร่วมสมัยปั จจุบนั นับแต่น้ ี ไ ป ที่จะมีการรวมกลุ่มประเทศสมาชิ กอาเซี ยน 10 ประเทศ ขึ้นเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนหรื อ AEC : Asean Economy Community ภายในปี พ.ศ. 2558 นี้น้ นั ยิง่ ทําให้ทุกภาคส่วนของการผลิตผลิตภัณฑ์สินค้าในประเทศไทย มีความจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ จะต้องปรับตัวเพือ่ เตรี ยมความพร้อมไว้รองรับกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม อันนับว่า เป็ นโอกาสสําคัญในการที่จ ะต้อ งมี การพัฒนาขีด ความสามารถทางการค้า เพื่อ การแข่งขัน ให้ไ ด้ ประสิทธิภาพเป็ นมาตรฐานสากล (สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย,2556) ซึ่ งการที่ตอ้ งมีการปรับปรุ ง พัฒนาขีดความสามารถทางการค้าให้ได้อย่างมีประสิ ทธิภาพได้น้ ัน จึงต้องอาศัยความร่ วมมือกันโดย ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่ วมของภาคีการพัฒนาทุกภาคส่ วน ทั้งในระดับชุมชน ระดับภาค และ ระดับ ประเทศ ควรต้อ งเป็ นไปตามและสอดรั บ แผนพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสัง คมของชาติ มี แ ผน ยุทธศาสตร์หลักของชาติเป็ นแนวทาง ซึ่ งแผนพัฒนาประเทศของสังคมไทยได้อญ ั เชิญหลัก"ปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง" ไปประยุกต์ใช้อย่างกว้างขวางนับแต่แผนระยะที่ 8 - 10 เป็ นต้นมา ในระยะ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ ฉบับที่ 11 จึงเป็ นการนําภูมิคุม้ กันที่มีอยู่ พร้อมทั้งเร่ งสร้าง ภูมิคุม้ กันในประเทศให้เข้มแข็งขึ้น เพือ่ เตรี ยมความพร้อมคน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศ ให้สามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม โดยให้ความสําคัญกับ การพัฒนาคนและสังคมไทยให้มีคุณภาพ มี โอกาสเข้าถึ งทรัพยากร และได้รับประโยชน์จากการ พัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมอย่า งเป็ นธรรม รวมทั้ง สร้ า งโอกาสทางเศรษฐกิ จ ด้ว ยฐานความรู ้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ บนพื้นฐานการผลิ ตและการบริ โภคที่เป็ นมิตรต่อ สิ่ งแวดล้อม (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ, 2556) ซึ่ งจะนําไปสู่ การพัฒนาเพื่อประโยชน์สุขที่ยงั่ ยืนของสังคมไทย ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ได้อย่าง ต่อเนื่องนัน่ เอง จังหวัดชัยนาท เป็ นจังหวัดหนึ่ งที่จดั อยูใ่ นเขตยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลาง ตอนบน 2 (ลพบุรี สิ งห์บุรี ชัยนาท อ่างทอง) ซึ่ งทางสภาหอการค้าแห่ งประเทศไทยได้จดั ทําไว้ โดย ให้มีวิสัยทัศน์ (Vision) ร่ วมกันว่า เป็ นแหล่งผลิตอาหารปลอดภัย ศูนย์กลางการขนส่ งสิ นค้าทางนํ้า และแหล่งท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์และธรรมชาติ ตั้งเป้ าประสงค์ (Goals) ไว้คือ การเพิ่มมูลค่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด (GPP: Gross Provincial Products) ภาคเกษตรกรรม เพิ่มขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี มีรายได้จากการท่องเที่ยว เพิม่ ขึ้นร้อยละ 5 ต่อปี และมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ของภาคการค้า การบริ ก าร และการขนส่ ง เพิ่ ม ขึ้ นร้ อ ยละ 5 ต่ อ ปี โดยได้ก ํา หนดแผนยุท ธศาสตร์ ก ารพัฒ นา (Development Strategies) ภายใต้ศกั ยภาพด้านการเป็ นแหล่งผลิตสินค้าเกษตร และฐานการผลิตสิ นค้า อุตสาหกรรมที่สาํ คัญของประเทศ มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม และธรรมชาติ ที่มีความโดดเด่น ประกอบกับมีที่ต้งั ที่อยูใ่ กล้เมืองหลวง และมีแม่น้ าํ สายสําคัญ ได้แก่ แม่น้ าํ เจ้าพระยา แม่น้ าํ ลพบุรี แม่น้ าํ ป่ าสัก และแม่น้ ําท่าจีน มีการคมนาคมขนส่ งสะดวก โดยเฉพาะระบบคมนาคม
4 ขนส่ งทางนํ้า หอการค้าไทยจึ งได้ก าํ หนดยุท ธศาสตร์ การพัฒ นากลุ่ ม จังหวัด ฯ ไว้เ ป็ น 3 ประเด็ น ยุทธศาสตร์ ดังนี้คือ (สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย,2556) 1. สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กับ สิ น ค้า เกษตรและปศุ สัต ว์ต ลอดห่ ว งโซ่ อุ ป ทาน เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการสร้ างรายได้ให้แก่ ก ลุ่ ม จัง หวัด ภาคกลางตอนบน2 (ลพบุรี สิ ง ห์บุ รี ชัยนาท อ่างทอง) โดยมีกลยุทธ์ดงั นี้ 1.1 ปรับโครงสร้างและพัฒนากระบวนการผลิตอาหารปลอดภัยให้ได้มาตรฐานสากล เพือ่ การส่งออก (ข้าว และปศุสตั ว์) 1.2 สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ผลิตภัณฑ์แปรรู ปเกษตร 1.3 พัฒนาเชื่อมโยงทางการตลาดทั้งในประเทศ และต่างประเทศ 2. สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับภาคธุ รกิจท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ และธรรมชาติ เพื่อทําให้เกิ ด การจ้างงาน และกระจายรายได้ โดยมีกลยุทธ์ดงั นี้ 2.1 สร้างสรรค์กิจกรรมท่องเที่ยวและผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อเสริ มศักยภาพ การท่องเที่ยวระยะยาว 2.2 เชื่อมโยงการท่องเที่ยวระหว่างกลุ่มจังหวัด และภูมิภาคอื่นๆ 2.3 เร่ งทําการประชาสัมพันธ์ตลาดท่องเที่ยวในเชิงรุ กอย่างต่อเนื่อง 2.4 พัฒนาสิ่งอํานวยความสะดวกเพือ่ เพิม่ ความสามารถในการให้บริ การ 3. พัฒ นาและปรั บ ปรุ ง ระบบโครงสร้ า งพื้ น ฐานด้า นโลจิ ส ติ ก ส์ เพื่อ ใช้เ ป็ นฐานในการ ขับเคลื่อนภาคเศรษฐกิจและสังคมทั้งในปั จจุบนั และอนาคตโดยมีกลยุทธ์ดงั นี้ 3.1 พัฒนาโครงข่ายคมนาคมและขนส่งพื้นฐาน 3.2 พัฒนาระบบโลจิสติกส์ เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการขนส่งทางนํ้า จังหวัดชัยนาท ได้เริ่ มดําเนินการตามโครงการสร้างเสริ มขีดความสามารถของผูป้ ระกอบการ ในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซี ยน โดยมีวิสัยทัศน์ตามแผนพัฒนาจังหวัดประจําปี 2556 เอาไว้ว่า “เมือ ง เกษตรมาตรฐาน สื บสานคุณภาพชีวิต” ซึ่ งเป็ นการให้ความสําคัญแก่ดา้ นการเกษตร ที่สอดคล้องกับ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมระดับชาติ ด้วยการกําหนดประเด็นยุทธศาสตร์ขอ้ ที่ 1 เอาไว้คือการเพิ่ม ประสิทธิภาพการผลิตและการตลาดด้านการเกษตร โดยมีเป้ าประสงค์หลักเอาไว้ 3 ข้อคือ 1) ผลผลิต ทางการเกษตรมีคุณภาพปลอดภัยได้มาตรฐาน 2) เพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร และ3) เพิ่มรายได้ เกษตรกร(สํา นั ก งานจัง หวัด ชัย นาท,มปป.) มี ก ารจัด อบรมความรู ้ ต ามประเด็ น ยุท ธศาสตร์ แ ก่ ผูป้ ระกอบการ SMEs และ OTOP ซึ่ งถือว่าเป็ นรากฐานสําคัญต่อการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจของ ประเทศและของจังหวัด แต่จากสภาวการณ์ที่ผ่านมาพบปั ญหาว่า ผูป้ ระกอบการกลุ่มดังกล่าวภายใน จังหวัดยังขาดความรู ้ในเชิงการตลาด การคาดการณ์ การออกแบบ การส่ งออกสิ นค้าและการสื่ อสาร กับผูค้ า้ ในระดับสากล(บ้านเมือง,2556) ดังนั้นการที่จะพัฒนาจังหวัดชัยนาทให้เป็ นแหล่งผลิตทางการ เกษตร ปลอดสารพิ ษ ที่ สํา คัญ ระดับ ประเทศและการส่ ง ออก เกื้ อ หนุ น อุ ต สาหกรรมแปรรู ป การเกษตร ส่ งเสริ มและพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงอนุ รักษ์ ยกระดับคุณภาพชีวิตให้สูงขึ้น และจัดการ คุณภาพสิ่งแวดล้อม ให้เป็ นเมืองน่าอยูไ่ ด้จริ งตามวิสัยทัศน์การพัฒนา จึงยังคงต้องการและเน้นการมี ส่วนร่ วมจากประชาชนและจากภาคีทุกภาคส่วน ดังนั้นเพือ่ เป็ นการสนับสนุ นการมีส่วนร่ วมของภาคีของภาคการศึกษา กอปรกับพื้นที่ของ จังหวัด ชัยนาท เป็ นเขตพื้ นที่ของการให้บริ การทางการศึก ษา และจัดการศึก ษาของมหาวิทยาลัย
5 ราชภัฏจันทรเกษม คือมีศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม-ชัยนาท ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่บา้ นดอน อรัญญิก ต.แพรกศรี ราชา อ.สรรคบุรี จ.ชัยนาท อันมีภารกิจและวิสัยทัศน์ที่สอดคล้องกันคือ ศูนย์ การศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม - ชัยนาท เป็ นศูนย์กลางแห่ งการเรี ยนรู ้ตลอดชีวิต นําภูมิ ปั ญ ญาท้อ งถิ่ น สู่ ส ากลและสร้า งสัง คมอุ ด มคุ ณ ธรรม และจากสภาพปั จจุ บ ันและปั ญ หาดังกล่ า ว คณะผูว้ จิ ยั ในฐานะของคณาจารย์สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุ ษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ที่มีความรู ้ ความเชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ ด้านการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์สินค้าและบรรจุภณ ั ฑ์แก่ชุมชน มาแล้ว โดยตรง จึ ง มี ค วามเห็ น ร่ ว มกัน ว่า การปรั บ ปรุ ง พัฒ นาคุ ณ ภาพของผลิ ต ภัณ ฑ์สิ น ค้า ด้า น การเกษตรของกลุ่ ม OTOP/ SMEs ให้สามารถมี การขยายขีดความสามารถทางการค้า เข้าสู่ ระบบ เศรษฐกิจสากลได้อย่างเหมาะสม และสอดคล้องสอดรับกับแผนพัฒนาฯทุกระดับได้ดีน้ นั ควรต้องนํา แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์มาใช้เป็ นแนวทางสําหรับการพัฒนาและสร้างองค์ความรู ้ใหม่ให้แก่กลุ่ม ผูป้ ระกอบการผลิตภัณฑ์ชุมชน วิสาหกิจชุมชนและหรื อกลุ่มผูป้ ระกอบการขนาดเล็กขนาดย่อม ใน เขตจังหวัดชัยนาท ที่มีความต้องการยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์สินค้าและบรรจุภณ ั ฑ์ให้แก่กลุ่ ม ตนเอง ให้ส ามารถมี ค วามพร้ อ มและทํา ให้เ กิ ด การสร้ างสรรค์พ ฒ ั นาผลิ ตภัณฑ์ไ ด้อ ย่า งต่อ เนื่ อ ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในด้านการออกแบบ พัฒนาผลิตภัณฑ์ การออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ และการสร้างตรา สิ นค้า อันเป็ นเครื่ องมือสําคัญหลักในทางการค้า สามารถนําพาให้การดําเนิ นการธุรกิจอยูร่ อด และ เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างเป็ นระบบและยัง่ ยืนได้ตลอดไป กรอบแนวคิดของการวิจัย การศึ ก ษาวิจ ัย ครั้ ง นี้ เป็ นการศึ ก ษาวิเ คราะห์ สัง เคราะห์ เพื่อ การออกแบบและพัฒ นา สร้ า งสรรค์ผ ลงานด้า นการออกแบบบรรจุ ภ ัณฑ์สิ นค้า ตามหลักการและกระบวนการออกแบบ สร้ า งสรรค์แ ละการพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์แ ละบรรจุ ภ ัณ ฑ์ (Product and Packaging Design and Development Process ) โดยมีขอบเขตดังนี้คือ 1. ขอบเขตด้านพื้นที่วิจยั เป็ นการศึกษาสํารวจข้อมูลทัว่ ไป เกี่ยวกับด้านการประกอบการ การผลิ ต การบรรจุ และการตลาด ผลิ ตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์สินค้าเฉพาะทางด้านการเกษตร ของ วิสาหกิจชุมชนเดิมที่มีอยูใ่ นเขตจังหวัดชัยนาท จํานวน 8 อําเภอ อําเภอละ 4 แห่ง รวม 32 ราย 2. ขอบเขตด้ า นประชากร เป็ นการศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ลเชิ ง ประจั ก ษ์ ( Visual Communication Analysis) สังเคราะห์และออกแบบสร้างสรรค์ (Synthesis and Creative Design) เกี่ยวกับรู ปแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์สินค้าเฉพาะทางด้านการเกษตร ของวิสาหกิจชุมชนเดิมที่มี จํานวน 8 อําเภอ ของจังหวัดชัยนาท เพื่อใช้เป็ นพื้นฐานสู่ การออกแบบพัฒนา ภายใต้กรอบแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้แก่ผปู ้ ระกอบการอําเภอละ 2 ราย รวม 16 ผลิตภัณฑ์ 3. ขอบเขตด้านเนื้ อหา แนวคิดการออกแบบพัฒนา การปรับปรุ งรู ปแบบเดิมและต้นแบบ ใหม่ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิ จสร้างสรรค์ โดยการคัดเลือ กใช้ผลิตภัณฑ์ของผูป้ ระกอบการในแต่ล ะ อําเภอที่มีความพร้อม มีความต้องการรับการปรึ กษา ให้ความร่ วมมือโครงการ โดยมีศกั ยภาพทางการ ผลิตและหรื อความพร้อมรับการพัฒนาขีดความสามารถเพื่อการแข่งขันทางการค้า ด้วยการออกแบบ สร้า งสรรค์ใ ห้ไ ด้ผลงานต้นแบบภายใต้บริ บ ทและเทคนิ ควิธี ของกระบวนการออกแบบและทาง ศิลปกรรม โดยผ่านการตรวจสอบ กรองความคิดเห็นการพัฒนา แบบมีส่วนร่ วมของกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญ ตัวอย่าง
6 กรอบแนวคิดในการวิจัย ในการศึกษาวิจยั ครั้งนี้ผวู ้ จิ ยั ได้กาํ หนดกรอบแนวคิดในการวิจยั โดยปรับใช้แนวคิดจากเรื่ อง บรรจุภณั ฑ์ : บทบาทหน้าที่ทางการตลาด ของประชิด ทิณบุตร, 2531: 22-30) สรุ ปได้ดงั นี้คือ
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการวิจยั ที่มา : ประชิด ทิณบุตร, 2557 วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อ ศึ ก ษาข้อ มู ล พื้น ฐานเกี่ ย วกับ ผลิ ต ภัณ ฑ์แ ละบรรจุ ภ ัณ ฑ์สิ น ค้า ทางการเกษตรของ วิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัดชัยนาท 2. เพือ่ ออกแบบพัฒนาต้นแบบบรรจุภณั ฑ์สินค้าการเกษตรของวิสาหกิจชุมชน ในเขตจังหวัด ชัยนาท ภายใต้กรอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ให้มีประสิทธิภาพเพือ่ การแข่งขันทางการค้า 3. เพือ่ ประเมินประสิ ทธิภาพต้นแบบบรรจุภณ ั ฑ์สินค้าใหม่ ที่ได้พฒั นาภายใต้กรอบแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ วิธีดําเนินการวิจัย การวิจยั ครั้งนี้ เป็ นการศึกษาวิจยั แบบพัฒนาทดลอง (Experimental Development) โดย วิธีการให้กลุ่มบุคคลในชุมชนที่เป็ นสถานที่ทาํ การศึกษาวิจยั ทดลอง ในเขตพื้นที่จงั หวัดชัยนาท ทั้ง 8 อําเภอ ได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการศึกษาและพัฒนา (Community-based participatory research (CBPR) ร่ วมให้ขอ้ มูล และร่ วมตัดสิ นใจคัดเลือกผลงานโดยวิธีการประชุมสนทนากลุ่ม(Focus Group) โดยมี วิธีการดําเนิ นการวิจยั เป็ นลําดับขั้นตอนของการออกแบบและการพัฒนา(Design and Development Work Flow) ผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ ดังนี้ คือ 1. การกําหนดคุ ณลักษณะผลิ ตภัณฑ์แ ละบรรจุภณ ั ฑ์ (Product and Packaging Design Specification) โดยอาศัยข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆจากการศึกษาและการมีส่วนร่ วม
7 2. ขั้นการกําหนดมโนทัศน์ผลิตภัณฑ์ (Product Concept Generation Stage) เพื่อ กําหนด แนวคิดหลักตามกรอบงานวิจยั 3. ขั้นการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์ (Product and Packaging Design Stage) เป็ นขั้นตอนการทํางานออกแบบในระดับต่างๆของนักออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ 4. ขั้นการผลิ ต (Production Stage) เป็ นการสร้างสรรค์ผลงานตามกระบวนการออกแบบ ต้นฉบับทางการพิมพ์และบรรจุภณั ฑ์ 5. ขั้น การสรุ ป และประเมิ น ผล (Conclusion and Evaluation) เพื่อ การตรวจสอบ ประสิทธิภาพของผลงานออกแบบ และการสรุ ปประเมิน การบันทึกข้อมูลรายงาน การจัดเก็บต้นฉบับ ไฟล์ดิจิตลั ทางการพิมพ์ และการนําเสนอเผยแพร่ ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง 1. ประชากรที่ศึกษาคือ บรรจุภ ัณฑ์สินค้าด้านการเกษตรของกลุ่ ม วิสาหกิ จชุ ม ชน ทั้ง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท จากรายชื่อสิ นค้าของผูป้ ระกอบการจํานวน 89 ราย ที่ได้ลงทะเบียนคัด สรรผลิตภัณฑ์ดีเด่นประจําจังหวัดชัยนาท ในปี พ.ศ. 2555 2. กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาพัฒนาคือ บรรจุภณ ั ฑ์สินค้าด้านการเกษตรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ทั้ง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท อําเภอละ 2 ผลิตภัณฑ์ จํานวนรวม 16 รายการ การเลือกกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจงเลือก ตามที่ผวู ้ ิจยั และทีมงานได้กาํ หนด นิยามประชากรเป้ าหมายไว้ตามกรอบแนวคิดการวิจยั ไว้คือ เป็ นบรรจุภณ ั ฑ์สินค้าด้านการเกษตรของ กลุ่มวิสาหกิ จชุมชน ทั้ง 8 อําเภอ ในเขตจังหวัดชัยนาท ที่มีการผลิตอย่างต่อเนื่ อง มีศกั ยภาพ และมี ความพร้อมที่จะเข้าร่ วมโครงการออกแบบพัฒนาฯ โดยวิธีการเข้าชี้ แจง-สัมภาษณ์ การมีส่วนร่ วมเพื่อ การตัดสินใจ ทั้งทีมผูว้ จิ ยั ผูป้ ระกอบการและนักวิชาการพัฒนาชุมชน รวม 5 คน ร่ วมกันคัดเลือก และ สรุ ป ผลจากการเข้าศึ ก ษา-สัม ภาษณ์ เ ชิ งลึ ก ณ สถานที่ ต้ ัง ของที่ ท าํ การกลุ่ ม อําเภอละ 4 รายการ ผลิตภัณฑ์ รวม 32 ผลิตภัณฑ์แล้วสรุ ปผลการคัดเลือกตามเงื่อนไขไว้เพียง 2 รายการผลิตภัณฑ์ ในแต่ ละอําเภอ รวม 16 รายการผลิตภัณฑ์ เพือ่ เข้าสู่กระบวนการออกแบบพัฒนา เครื่องมือวิจัยที่ใช้ ในการวิจัย ได้กาํ หนดใช้เครื่ องมือในการศึกษาวิเคราะห์ดงั นี้คือ 1. แบบบันทึก-สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ด้านข้อมูลผูป้ ระกอบการ กระบวนการผลิตและ ความต้องการด้านการออกแบบพัฒนา 2. แบบสํารวจประเมินความคิดเห็นต่อประสิ ทธิภาพต้นแบบการพัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ ที่สร้าง ขึ้นตามกรอบแนวคิดของการวิจยั ผ่านการหาค่าความเที่ยงของเนื้ อหา ค่าความสอดคล้องของกลุ่ ม ผูเ้ ชี่ยวชาญ(IOC) 3. ต้นแบบอาร์ ต เวิร์ตและแบบจําลองเหมื อ นจริ งบรรจุภ ัณฑ์สินค้าใหม่ (ที่ไ ด้พฒั นาขึ้ น ภายใต้กรอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และความต้องการของผูป้ ระกอบการ แต่ละรายที่เข้าร่ วม โครงการ โดยการนําเสนอแบบสนทนากลุ่มย่อยและให้มีส่วนร่ วมในการตัดสินใจ ผลการวิจัย ผลจากการวิจยั ตามกระบวนการสร้างสรรค์และวิธีดาํ เนิ นการวิจยั แบบมีส่วนร่ วม ทําให้ได้ ชุดผลงานต้นแบบที่มีส่วนประกอบทางโครงสร้างและกราฟิ กอัตลักษณ์ สําหรับบรรจุภณ ั ฑ์สินค้า ให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรในแต่ละอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมทั้งสิ้ น 16
8 ราย โดยกลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญที่ได้ร่วมประเมินประสิ ทธิภาพและคุณภาพผลงานต้นแบบบรรจุภณ ั ฑ์สินค้า ใหม่ที่ได้พฒั นาภายใต้กรอบแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เห็นว่าภาพรวมด้านการออกแบบโครงสร้าง ด้านการออกแบบกราฟิ กสําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ และด้านการรับรู ้ทางด้านการตลาด เป็ นผลงานการ ออกแบบที่มี คุณภาพและประสิ ทธิ ภาพที่เป็ นไปตามตามวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมี ค่าเฉลี่ ยรวมทุกอําเภออยูท่ ี่ 4.61 ส่ วนเบิ่ยงเบนมาตรฐาน 0.57 โดยที่ผูว้ ิจยั ได้สรุ ปรวบรวมไฟล์ ต้นแบบดิ จิตลั ที่มีลิ ขสิ ทธิ์ ถู ก ต้อ งขององค์ประกอบทางกราฟิ กอัตลักษณ์ อาทิ แบบตัวอักษรและ ตัวพิมพ์ ตราสัญลักษณ์ ภาพถ่าย ภาพประกอบ ข้อมูลสารสนเทศของสินค้าและผูผ้ ลิต บันทึกลงแผ่นดี วีดีมอบให้แก่ผปู ้ ระกอบการแต่ละรายที่เข้าร่ วมโครงการวิจยั และได้นาํ เสนอเผยแพร่ ขอ้ มูลพื้นฐาน เกี่ ยวกับผลิ ตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์สินค้าทางการเกษตร องค์ความรู ้สาระสําคัญที่เกี่ยวข้องไว้ที่เว็ป บลอกชื่อที่อยู่ http://chainatotop.blogspot.com อภิปรายผลการวิจัย การอภิปรายผลวิจยั ครั้งนี้ มีดงั นี้คือ ผลจากการวิจยั ครั้งนี้ ทําให้มีสินค้ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดชัยนาทได้รับการพัฒนา บรรจุภ ัณฑ์ให้มีประสิ ทธิ ภาพเพื่อ สามารถเข้าสู่ การแข่งขันทางการค้า รวมจํา นวนทั้ง สิ้ น 16 ราย ดังนี้คือ วิสาหกิจชุมชนกลุ่มผลิตภัณฑ์จากกะลา อําเภอเมืองชัยนาท วิสาหกิจชุมชนกลุ่มสมุนไพรเพื่อ สุ ขภาพ อําเภอเมืองชัยนาท วิสาหกิจชุมชนกลุ่มจักสานไม้ไผ่บา้ นเนิ นไผ่ อําเภอมโนรมย์ วิสาหกิ จ ชุมชนกลุ่มจักสานไม้ไผ่บา้ นท่าแขก อําเภอมโนรมย์ ผลิตภัณฑ์ถวั่ กรอบแก้ว ตราลุงผล อําเภอวัดสิ งห์ วิสาหกิ จ ชุ มชนกลุ่ มเกษตรรักษ์โ ลก อําเภอวัดสิ งห์ วิสาหกิ จชุ ม ชนหัตถกรรมศิล ป์ ถิ่ นเจ้าพระยา อําเภอสรรพยา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มส้มโอกวนสี่ รสบ้านใหม่บางกระเบียน อําเภอสรรพยา วิสาหกิ จ ชุมชนกลุ่ มเกษตรกรบ้านสระไม้แดง อําเภอสรรคบุรี วิสาหกิ จชุ ม ชนกลุ่ ม แม่ บา้ นเกษตรกรดอน อรัญญิก อําเภอสรรคบุรี วิสาหกิ จชุมชนกลุ่มไม้กลึงบ้านดอนกะโดน อําเภอหันคา วิสาหกิ จชุมชน กลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรบ้านเชี่ยน อําเภอหันคา วิสาหกิจชุมชนกลุ่มกลุ่มออมทรัพย์บา้ นเขาเกล็ด อําเภอ หนองมะโมง วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรบ้านกุดจอก อําเภอหนองมะโมง วิสาหกิจชุมชน กลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรเนินขามพัฒนา อําเภอเนินขาม และวิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บา้ นเกษตรกรทอผ้า ม.5 อําเภอเนินขาม ความสําเร็จของการวิจยั ที่ได้ดาํ เนินตามกระบวนการสร้างสรรค์และวิธีดาํ เนิ นการวิจยั แบบ มี ส่วนร่ วม นับแต่ในขั้นตอนการสื บค้นข้อ มู ล ระยะแรกที่ผูว้ ิจยั ได้ล งพื้นที่เพื่อ ศึกษาและคัดเลื อ ก ผูป้ ระกอบการเพื่อ เชิ ญ เข้า ร่ วมโครงการวิจ ัยนั้น ทํา ให้ไ ด้รั บ ข้อ มู ล เชิ ง ลึ กทั้ง ทางภูมิ ศ าสตร์ แ ละ สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์ การบรรจุภณ ั ฑ์ การจัดจําหน่ าย รู ปแบบการใช้ วัสดุ การออกแบบโครงสร้า งและการออกแบบคุ ณลักษณะกราฟิ กของสิ นค้า ทางการเกษตรของ วิสาหกิจชุ มชน ในเขตจังหวัดชัยนาท ของผูป้ ระกอบการ และได้รับความร่ วมมื อจากหน่ วยงานใน พืน้ ที่ นับแต่องค์การบริ หารส่วนตําบล กํานัน ผูใ้ หญ่บา้ นและสํานักงานพัฒนาชุมชนประจําอําเภอใน พื้นที่การวิจยั เพื่อ นํามาใช้เป็ นฐานข้อ มูลสําหรับการศึกษาวิจยั ออกแบบพัฒนา ซึ่ งก็เป็ นหลักการ ศึกษาวิจยั ที่สอดคล้องกับวิธีการดําเนินงานวิจยั ของ ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ และสุ พฒั น์ โตวิจกั ษณ์ชยั กุล (2554) ที่ใช้วธิ ีปฏิบตั ิการกลุ่มแบบมีส่วนร่ วมสร้างกรอบแนวคิดเพื่อนําจุดเด่นทางวิถีชุมชนที่เป็ น ต้นทุนทางวัฒนธรรมดั้งเดิมมาเป็ นจุดขายทางวัฒนธรรมร่ วมสมัย เพื่อสร้างกระบวนการออกแบบ บรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์จกั สาน การเสวนากลุ่ม ผูน้ าํ ชุมชนและหน่ วยงานองค์กรที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้าง
9 เครื อ ข่ายการประสานงานเชิ งกลยุทธ์ด้านการบริ หารจัดการและคัดกรองกลุ่มวิสาหกิจชุ มชน การ สัมภาษณ์ปราชญ์ชุมชนเพื่อค้นหาองค์ความรู ้ภูมิปัญญาชุมชน รวบรวม วิเคราะห์ขอ้ มูลจากตัวชี้ วดั ผลสัมฤทธิ์ ผลงานการออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์ เช่ นเดียวกัน ซึ่ งข้อมู ลเบื้อ งต้นเหล่านี้ ผูว้ ิจยั ได้นําเสนอ เผยแพร่ และจัดทําตําแหน่งพิกดั แผนที่ทางภูมิศาสตร์ โดยการจัดทําการเชื่อมโยงใช้กบั แผนที่ของกูเกิ้ล (Google Map) ที่ส ามารถเข้าถึ ง เข้า ใช้ข ้อ มู ล ได้ต ลอดเวลา เพื่อ การเผยแพร่ การวางแผนพัฒ นา ผลิตภัณฑ์และบรรจุภณั ฑ์ได้ในอนาคต ที่ URL : http://chainatotop.blogspot.com/p/location.html
ภาพที่ 2.แสดงเว๊ปบล็อกบันทึกข้อมูลและเผยแพร่ ผลการวิจยั ที่ http://chainatotop.blogspot.com ที่มา: ประชิด ทิณบุตร,2557 ในส่ ว นการออกแบบพัฒ นาต้น บรรจุ ภ ัณ ฑ์ค รั้ ง นี้ นั้ น ทํา ให้ไ ด้ชุ ด ผลงานต้น แบบที่ มี ส่วนประกอบทางโครงสร้างและกราฟิ กอัตลักษณ์สาํ หรับบรรจุภณั ฑ์สินค้าให้แก่กลุ่มวิสาหกิจชุมชน ด้านการเกษตรในแต่ล ะอําเภอ รวม 8 อําเภอ อําเภอละ 2 ราย รวมทั้งสิ้ น 16 ราย ผูป้ ระกอบการ สามารถนํา ไปใช้เ ป็ นต้นแบบจริ ง ในการวางแผนการตลาด การผลิ ต จริ ง การจัดจําหน่ าย การจด ลิขสิทธิ์ สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ สร้างภาพลักษณ์ที่ดีต่อสิ นค้า และหรื อใช้เป็ นผลิตภัณฑ์ทดสอบทาง การตลาดต่อคู่คา้ และผูบ้ ริ โภคได้จริ ง อย่างเหมาะสมกับขีดความสามารถทางการค้า การผลิตและการ ลงทุนของแต่ละราย และหรื อสามารถนําไปปรับประยุกต์ใช้ได้กบั เทคโนโลยีการผลิตที่มีอยูเ่ ดิมหรื อ ที่เปลี่ยนแปลงไปตามสภาพเศรษฐกิจและสังคม ทั้งนี้ เพราะผูว้ ิจยั มีความรู ้และประสบการณ์ในการ สอนมานานกว่า 30 ปี มีประสบการณ์ ในการเป็ นนักออกแบบบรรจุภณ ั ฑ์อิ สระ การเป็ นวิทยากรที่ ปรึ กษางานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์สินค้าสิ นค้าชุมชนให้แก่หน่ วยงานภาครัฐและ เอกชนอยู่เป็ นประจํา ทําให้มี ความเข้า ใจในขั้น ตอนและการดํา เนิ นการออกแบบพัฒ นานั้น ต้อ ง ดําเนิ นการอย่างครอบคลุ ม ทัว่ ทั้งทุกส่ วนประกอบหลักสําคัญ 2 ประการ ซึ่ งได้แก่ การออกแบบ โครงสร้ างบรรจุ ภณ ั ฑ์แ ละการออกแบบกราฟิ กสํา หรับ บรรจุ ภณ ั ฑ์ (ประชิ ด ทิ ณ บุต ร,2531) ซึ่ ง คุณลักษณะของกราฟิ กอัตลักษณ์บนบรรจุภณั ฑ์และแบรนด์สินค้าของผูป้ ระกอบการในแต่ละท้องถิ่น นั้น ผูว้ ิจยั ได้อ อกแบบตามแนวคิ ดเศรษฐกิ จ สร้า งสรรค์ เพิ่ม เป็ นการสร้ า งมู ล ค่า เพิ่ม และให้เ ป็ น มาตรฐานอย่างถู ก ต้อ งตามกฏหมายลิ ขสิ ท ธิ์ โดยต้อ งการให้เป็ นแบรนด์ข องชุ ม ชน เพื่อ ให้เ ป็ น
10 ประสบการณ์ ความภาคภูมิใจร่ วมในแบรนด์ เกิดประทับใจให้รู้สึกรับรู ้ความเป็ นเจ้าของร่ วม ก็ได้รับ การเห็นด้วย เกิดการยอมรับทั้งสมาชิกในกลุ่มและเจ้าหน้าที่พฒั นาชุมชน ซึ่ งก็สอดคล้องกับหลักการ สร้างคุณลักษณะของแบรนด์ที่ เกรี ยงไกร กาญจนโภคิน (2551) ได้กล่าวสนับสนุนแนวคิดสร้างสรรค์ นี้เอาไว้วา่ Brand Attribute เป็ นสิ่ งที่ผคู ้ นมองเห็นและสัมผัสได้อย่างชัดเจน เป็ นรู ปร่ างภายนอกและ เป็ นคุณสมบัติที่ทุกคนสามารถสัมผัสได้ เช่นตราสัญลักษณ์สินค้า (Symbol & Logo ) และกราฟิ กร่ วม สื่อสาร (Corporate Graphic Identity) ที่สามารถนําไปจดทะเบียนลิขสิทธิ์และนํามาประเมินมูลค่าเป็ น สินทรัพย์ของผูป้ ระกอบการได้
ภาพที่ 3.แผ่นภาพสรุ ปรวมผลงานการออกแบบพัฒนาประสิทธิภาพบรรจุภณั ฑ์ ทั้งทางด้านโครงสร้าง และทางด้านกราฟิ กอัตลักษณ์ ตามแนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยอาศัยแนวคิดและข้อมูล ทางศิลปวัฒนธรรมการทอผ้าพื้นเมื องของกลุ่ มชาวลาวเวียงจันทน์เก่ า ของ อ.เนิ นขาม จ. ชัยนาท มาเป็ นเนื้ อ หาและแนวทางการออกแบบพัฒนา มี อ งค์ประกอบที่ สื่อ ความหมาย แสดงอัตลักษณ์ ทําให้เกิดมูลค่าเพิม่ มีความพร้อมที่สามารถใช้เป็ นต้นแบบการผลิต และเพิ่ม ขีดความสามารถเพือ่ การแข่งขันทางการค้าได้จริ ง ที่มา: ประชิด ทิณบุตร,2557 ซึ่ งภาพรวมของการสรุ ปผลงานและการประเมินประสิ ทธิภาพผลงานออกแบบของแต่ละ กลุ่ม วิสาหกิ จนั้น กลุ่มผูเ้ ชี่ยวชาญที่ได้ร่วมประเมิ นประสิ ทธิภาพและคุณภาพผลงานต้นแบบบรรจุ ภัณ ฑ์สิ น ค้า ใหม่ ที่ ไ ด้พ ฒ ั นาภายใต้ก รอบแนวคิ ด เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ เห็ น ว่า ภาพรวมด้า นการ ออกแบบโครงสร้าง ด้านการออกแบบกราฟิ กสําหรับบรรจุภณ ั ฑ์ และด้านการรับรู ้ทางด้านการตลาด เป็ นผลงานการออกแบบที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพที่เป็ นไปตามตามวัตถุประสงค์ อยูใ่ นระดับมาก ที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ ยรวมทุกอําเภอ มีค่าอยูท่ ี่ 4.61 ซึ่ งการประเมิ นประสิ ทธิภาพนี้ ก็เป็ นขั้นตอนการ สรุ ปผลรวมที่สอดคล้องกับผลงานวิจยั ของ นพวรรณ ชีวอารี (2555) ที่ได้ทาํ การวิจยั เรื่ อง การวิจยั และ
11 พัฒนาบรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์หมูแปรรู ปเพื่อส่ งเสริ มการขายกรณี ศึกษาบรรจุภณ ั ฑ์ผลิตภัณฑ์หมูแปร รู ปในชุม ชนท้อ งถิ่ นจังหวัดนครปฐม ที่ใช้หลักการประเมินโดยผูเ้ ชี่ ยวชาญและแบ่งประเด็นเป็ น 4 ด้าน คือด้านการปกป้ องผลิตภัณฑ์ ด้านการบรรจุผลิตภัณฑ์ ด้านอํานวยความสะดวก และด้านส่งเสริ ม การจําหน่าย
ภาพที่ 4 แสดงตัวอย่างผลการออกแบบพัฒนาบรรจุภณั ฑ์และผลิตภัณฑ์บางส่วนของผูป้ ระกอบการ วิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรจาก 8 อําเภอ จํานวน16 ราย ที่มา: ประชิด ทิณบุตร,2557 และในขั้น การส่ ง มอบงานนั้น ผูว้ ิจ ัย ได้นํา ข้อ มู ล ความต้อ งการเพิ่ม เติ ม คํา แนะนํา และ ข้อ คิด เห็ น ต่า งๆของผูม้ ี ส่ วนร่ ว มพิจ ารณาตัดสิ น ใจเลื อ กภาพรวมของผลงาน และแก้ไ ขข้อ มู ล ที่ เกี่ยวข้องกับกราฟิ กอาร์ตเวิร์คบนบรรจุภณั ฑ์ ให้ถูกต้องตามกฏหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องแล้ว จึง สรุ ปบันทึกไฟล์ดิจิตลั ต้นแบบทั้งหมดอันได้แก่ ไฟล์ภาพถ่ ายผลิ ตภัณฑ์สินค้าไฟล์ตราสัญลักษณ์ และอัตลักษณ์กราฟิ กที่เกี่ยวข้องกับสื่ อ ทัศน์ภาพประกอบ ทางการพิมพ์ แบบตัวอักษรและตัวพิม พ์ ไฟล์ภาพกิจกรรมการมีส่วนร่ วมในการวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์ ฯลฯ ของผูป้ ระกอบการแต่ละราย ลงในแผ่นดีวดี ี เพือ่ นําส่งมอบให้ผปู ้ ระกอบการได้นาํ ไปใช้ประโยชน์ทางการผลิตและในเชิงพาณิ ชย์ สามารถใช้เป็ นเครื่ องมือเพือ่ การแข่งขันทางการค้าที่มีประสิทธิภาพได้จริ งในอนาคตต่อไป ข้ อเสนอแนะการวิจัย ข้อเสนอแนะอันเป็ นผลจากการวิจยั และหรื อสาระสืบเนื่องในครั้งนี้ มีดงั นี้คือ 1.ข้ อเสนอแนะเชิงนโยบาย 1.1 ทางมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม และวิทยาเขตชัยนาท ควรดําเนิ นการรวบรวม ข้อมูลการวิจยั ที่กระจัดกระจายไว้ให้เป็ นระบบ หรื อจัดดําเนินการจัดตั้งศูนย์ขอ้ มูลการวิจยั ในพื้นที่ ตั้ง
12 ศูนย์บริ การความรู ้ ศูนย์การเรี ยนรู ้คู่กบั ชุมชนหรื อนักปราชญ์ชุมชน ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงที่สอดรับ กับนโยบายของทางจังหวัดและพืน้ ที่บริ การข้างเคียง 1.2 วิทยาเขตชัยนาทควรได้รับการจัดงบประมาณให้เป็ นศูนย์การพัฒนาทดลองงานวิจยั และงานสร้ า งสรรค์ เกี่ ย วกับ การพัฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของชุ ม ชนท้อ งถิ่ น นี้ ควรมี ก าร ประสานงาน การจัดฝึ กอบรมด้านการออกแบบพัฒนาสินค้าชุมชนร่ วมกับทางศูนย์บ่มเพาะ(UBI) และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของทางมหาวิทยาลัย ร่ วมมือให้การสนับสนุ น เผยแพร่ ผลงานของนักวิจยั ที่ไป ทําวิจยั ในเขตพืน้ ที่ เป็ นต้น 1.3 มหาวิท ยาลัย ฯ ควรกํา หนดใช้น โยบายให้มี ก ารบู ร ณาการงานวิจ ัย ในศาสตร์ ที่ เกี่ยวข้องหลากหลาย ทั้งงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ ระหว่างนักวิจยั จากสาขาวิชาต่างๆที่เกี่ยวข้องจาก คณะหรื อหน่วยงานอื่นภายนอก 2.ข้ อเสนอแนะเชิงปฏิบัติ 2.1 มหาวิทยาลัยฯ ควรสนับสนุ นและส่ งเสริ มงบประมาณ ค่าดําเนิ นการให้มีการวิจยั หรื องานออกแบบสร้างสรรค์เพื่อการพัฒนาสิ นค้าชุ มชนอื่ นๆ โดยใช้กระบวนการวิ จยั แบบมีส่วน ร่ วมกับชุมชนอย่างต่อเนื่อง 2.2 มหาวิทยาลัยฯ ควรมีการจัดทําโครงการวิจยั ร่ วมกับทางหน่ วยงานในพื้นที่หรื อทาง จังหวัดชัยนาทโดยตรง เพือ่ ให้กลุ่มผูป้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชน หรื อองค์กรพัฒนาชุมชนในพื้นที่ มี โอกาสได้ใช้ประโยชน์จริ งทั้งจากผลงานวิจยั และงานสร้างสรรค์ของนักวิจยั 2.3 ผลงานวิจยั และออกแบบงานสร้างสรรค์ที่เกิ ดจากการวิจยั ผูป้ ระกอบการวิสาหกิ จ ชุมชนเป็ นผูไ้ ด้รับผลประโยชน์โดยตรง ก็ควรต้องมีการลงทุนและดําเนินการผลิตจริ งในลําดับต่อไป 2.4 มหาวิทยาลัยฯ ควรมีการจัดอบรมผูป้ ระกอบการสินค้าชุมชนในพื้นที่จงั หวัดชัยนาท เพื่อ เพิ่ม เติม ความรู ้ และประสบการณ์ ด้านการจ้างงาน ด้านการคิ ดสร้างสรรค์ เกี่ ย วกับ กฎหมาย ลิขสิทธิ์และสิทธิทางปั ญญา การละเมิดสิทธิทางปั ญญาทางเครื่ องหมายการค้า ซอฟท์แวร์ แบบอักษร และตัวพิมพ์ ภาพประกอบที่ใช้ทางการพิมพ์การโฆษณา ด้านการออกแบบสร้างสรรค์โครงสร้างและ กราฟิ กสื่อสารบนบรรจุภณั ฑ์ การสร้างแบรนด์ระดับท้องถิ่น เป็ นต้น 3.ข้ อเสนอแนะสํ าหรับการวิจัยครั้งต่ อไป 3.1 ควรมี ก ารศึ ก ษาวิจ ัย หรื อ นํา ผลวิจ ัย ไปต่ อ ยอด โดยใช้ค วามคิ ด สร้ า งสรรค์จ าก แนวความคิ ด ในการขับ เคลื่ อ นเศรษฐกิ จ บนพื้น ฐานของการใช้อ งค์ค วามรู ้ ท างการศึ ก ษา การ สร้างสรรค์งาน และการใช้ทรัพย์สินทางปั ญญา ที่เชื่อมโยงกับรากฐานทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาของ สังคม นวัตกรรมและเทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เพื่อออกแบบพัฒนาผลิ ตภัณฑ์และบรรจุภณ ั ฑ์และ หรื อธุรกิจบริ การอื่นๆ ให้กบั กลุ่มวิสาหกิจชุมชนที่เป็ นสินค้าด้านอื่นๆอีก 3.2 ในการดําเนิ นการศึกษาวิจยั เพื่อออกแบบพัฒนาสิ นค้าและบรรจุภณ ั ฑ์ระดับชุมชน ผูว้ ิจยั ผูอ้ อกแบบ หรื อถ้าหากมีการว่าจ้างงานนักออกแบบดําเนิ นการ ควรต้องคํานึ งถึงลิขสิ ทธิ์ทาง ปั ญญาของผูอ้ ื่น นับแต่การอ้างอิงใช้งานโปรแกรมสร้างสรรค์งานต้นแบบด้วยคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้อง และส่วนประกอบทางกราฟิ กอัตลักษณ์ต่างๆที่ได้นาํ มาใช้ท้งั แบบที่แจ้งว่าใช้ได้ฟรี หรื อจําหน่ ายก็ตาม นักวิจยั หรื อ นักออกแบบจึง ควรต้อ งตรวจสอบสิ ทธิ์ การนํามาใช้ว่า มี เ งื่อ นไขและการอนุ ญาตให้ นํามาใช้ได้เช่นใด ดังนั้นวิจยั และออกแบบจึงต้องมีหลักฐานการซื้ อ หรื อการจ้างงานออกแบบ จ้างโรง พิมพ์ให้ถูกต้องตามกฏหมาย และตามจรรยาบรรณของนักวิจยั ที่พงึ ประสงค์
13
กิตติกรรมประกาศ ผูว้ จิ ยั ขอขอบพระคุณกลุ่มผูป้ ระกอบการวิสาหกิจชุมชนทุกกลุ่มที่เข้าร่ วมโครงการ สํานักงาน พัฒนาชุมชนทุกอําเภอในเขตจังหวัดชัยนาท ที่กรุ ณาให้ความร่ วมมือช่วยเหลือการวิจยั ให้สาํ เร็ จลุล่วงได้ เป็ นอย่างดี และขอขอบคุณสํานักวิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม ที่สนับสนุ นทุนวิจยั ใน ครั้งนี้เป็ นอย่างสูง เอกสารอ้ างอิง เกรี ยงไกร กาญจนะโภคิน.(2551) .Interactive Communications. กรุ งเทพฯ:เกียวโด เนชัน่ พริ้ นติง้ เซอร์วสิ . ณงค์ณุช นทีพายัพทิศ และสุพฒั น์ โตวิจกั ษณ์ชยั กุล. (2554). รายงานการวิจัยเรื่องการออกแบบ บรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ จักสาน.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ภาคพายัพเชียงใหม่. นพวรรณ ชีวอารี .(2555).การวิจยั และพัฒนาบรรจุภณั ฑ์ผลิตภัณฑ์หมูแปรรู ปเพือ่ ส่งเสริ มการขาย กรณี ศึกษาบรรจุภณั ฑ์ผลิตภัณฑ์หมูแปรรู ปในชุมชนท้องถิ่นจังหวัดนครปฐม.วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริ ญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมการออกแบบ มหาวิทยาลัยศรี นคริ นทรวิโรฒ. บ้านเมือง. (2556).”ชัยนาทติวเข้ม SMEs และ OTOP พร้อมลุยศึก AEC.” บ้ านเมือง. (2556, 3 มีนาคม) สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2556. จาก http://www.banmuang.co.th/2013/03/ชัยนาทติวเข้ม smes และ oto/ ประชิด ทิณบุตร. (2531). ออกแบบบรรจุภัณฑ์ .กรุ งเทพมหานคร:โอเดียนสโตร์. สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย. (2556). บทสรุปสํ าหรับผู้บริหาร(Executive Summary) ยุทธศาสตร์ การ พัฒนากลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนบน 2 (ลพบุรี สิ งห์ บุรี ชัยนาท อ่ างทอง).สืบค้นเมื่อ 28 มีนาคม 2556จาก http://www.thaichamber.org/scripts/stratigic.asp?Tag=7 &nShowMag =1&nPAGEID=91 สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สั งคมแห่ งชาติฉบับที่สิบเอ็ด พ.ศ. 2555 – 2559. สืบค้นเมื่อ 31 มีนาคม 2556. จาก http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=395 สํานักงานจังหวัดชัยนาท. (2556). แผนพัฒนาจังหวัดชัยนาท ปี พ.ศ. 2553-2556 ฉบับปี 2556. สื บ ค้น เมื่ อ 31 มี น าคม 2556.จากhttp://www.chainat.go.th/sub/gov_office/site/ index.php? option= com_content&view=category&id=40&layout=blog&Itemid=67