Prathomroek Wongsaengkham Portfolio

Page 1

ARCHITECTURAL

PORTFOLIO PRATHOMROEK WONGSAENGKHAM

FACULTY OF ARCHITECTURE I CHULALONGKORN UNIVERSITY 083-1716994 I PRADHOM@GMAIL.COM


PRATHOMROEK WONGSAENGKHAM 5 JUNE,1995 HATYAI, SONGKHLA, THAILAND BRANCH OF THAI ARCHITECTURE, DEPARTMENT OF ARCHITECTURE FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

EDUCATION 2O13 2O17

GRADUATE FROM HATYAIWITTAYALAI SCHOOL STUDYING AT FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

COURSES ARCHITECTURAL DESIGN I THAI ARCHITECTURAL DESIGN I-VII FUNDAMENTAL OF THAI ARCHITECTURE I-II ADVANCE THAI ARCHITECTURE ARCHITECTURAL CRITERIA & CONCEPT I-III MEASUREWORK & RESEARCH IN ARCHITECTURE CONTEMPORARY ARCHITECTURE IN ASIA MUSEUM ARCHITECTURE DWELLING ARCHITECTURE TROPICAL ARCHITECTURE

SKILLS ADVANCED AVERAGE BASIC

HISTORY OF ART HISTORY OF ARCHITECTURE THAI ARCHITECTURAL HERITAGE ANCIENT ART IN SIAM & SOUTHEAST ASIA ART RATTANAKOSIN ANCIENT ART IN THAILAND BEFORE 19 BUDDHIST CENTURY STRUCTURAL DESIGN I-III BUILDING TECHNOLOGY AND CONTRUCTION I-IV BUILDING PERFORMANCE TECHNOLOGY

INTERESTS HAND DRAFTING, AUTOCAD, SKETCHUP, MICROSOFT OFFICE VRAY 3DSMAX PHOTOSHOP

LANGUAGES THAI (NATIVE), ENGLISH

1 I CURRICULUM VITAE

ARCHITECTURE, HISTORY, ART, DRAWING, SKETCHING, CALIGRAPHY, THAI ART, STAGE PLAY AND DANCING


CONTACT: +66831716994 PRADHOM@GMAIL.COM HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/P.PRADHOM INSTAGRAM: PRADHOM

EXPERIENCES 2O12

HIGHEST ADMISSION SCORE

2O13

JUNIOR TEACHING ASSISTANCE

2O14

TUTOR

2O15

DIRECTOR, EDITOR OF TUTORIAL BOOK, CLASS LECTURER

DIRECT ADMISSION, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY ADVANCE ARCITECTURAL TUTORIAL : ARTSTUDIO ART & DESIGN TRAINING 2014 PRE-ADMISSION CAMP, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY 2015 PRE-ADMISSION CAMP, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

MODERATOR

2015 CU OPENHOUSE, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

2O16

ART DIRECTOR, DESIGNER

THE CORONET PALANQUIN, 71ST CHULA–THAMMASAT TRADITIONAL FOOTBALL MATCH

CHOREOGRAPHER, ART DIRECTOR

‘THAWIPHOP’ STAGE PLAY, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

2O17

SENIOR TEACHING ASSISTANCE

THAI ARCITECTURAL TUTORIAL : ARTSTUDIO ART & DESIGN TRAINING

EXHIBITION DIRECTOR, CURATOR

2017 CHULA EXPO, FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY

TRAINEE

OFFICE OF ARCHITECTURE, FINE ARTS DEPARTMENT, MINISTRY OF CULTURE DURING THE ROYAL CREMATION CEREMONY OF HIS MAJESTY THE KING BHUMIBHOL ADULYADEJ

AWARDS 2O15

SCHOLARSHIP M.R. MITRARUNA KASEMSRI

2O16

SCHOLARSHIP M.R. MITRARUNA KASEMSRI

2O17

NARISARA NUWATTIWONGSE AWARD IN VISUAL ARTS

FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY FACULTY OF ARCHITECTURE, CHULALONGKORN UNIVERSITY NARISARA NUWATTIWONGSE FOUNDATION

CURRICULUM VITAE I 2


ป ฐ ม ฤ ก ษ์ ว ง ศ์ แ ส ง ขำ 5 มิ ถุ น า ย น 2 5 3 8 ห า ด ใ ห ญ่ , ส ง ข ล า , ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ส า ข า วิ ช า ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ไ ท ย ภ า ค วิ ช า ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ค ณ ะ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม ศ า ส ต ร์ จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย

ก า ร ศึ ก ษ า 2556 256O

จบการศึกษาจาก โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย แผนวิทย์ – คณิต กาลังศึกษาอยู่ที่ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย ภาควิชาสถาปัตยกรรม

ห ลั ก สู ต ร การออกแบบสถาปัตยกรรม 1 การออกแบบสถาปัตยกรรมไทย 1-7 มูลฐานสถาปัตยกรรมไทย 1-2 สถาปัตยกรรมไทยขั้นสูง แนวความคิดและเกณฑ์การออกแบบสถาปัตยกรรม 1-3 การรังวัดและการค้นคว้าทางสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมร่วมสมัยในเอเชีย สถาปัตยกรรมพิพิธภัณฑ์ สถาปัตยกรรมที่พักอาศัย สถาปัตยกรรมเขตร้อน

ทั ก ษ ะ ขั้นสูง

ประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันตก ประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรม มรดกสถาปัตยกรรมไทย ศิลปะโบราณในสยามและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศิลปะรัตนโกสินทร์ ศิลปะโบราณในประเทศไทย ก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 การออกแบบโครงสร้างทางสถาปัตยกรรม 1-3 เทคโนโลยีและการก่อสร้าง 1-4 เทคโนโลยีการจาลองและการแสดงผลอาคาร

ความสนใจ

พอใช้ พื้นฐาน

การเขียนแบบด้วยมือ, AUTOCAD, SKETCHUP, MICROSOFT OFFICE VRAY 3DSMAX PHOTOSHOP

ภาษา

ไทย, อังกฤษ

3 I CURRICULUM VITAE

สถาปัตยกรรม, ประวัติศาสตร์, ศิลปะ, การวาดภาพ, การสเกตช์ภาพ, อักษรประดิษฐ์, ศิลปะไทย, การเล่นละครเวที และ การเต้น


ติ ด ต่ อ : +66831716994 PRADHOM@GMAIL.COM HTTPS://WWW.FACEBOOK.COM/P.PRADHOM INSTAGRAM: PRADHOM

ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ 2555

คะแนนสอบเข้าสูงสุก

2556

JUNIOR TEACHING ASSISTANCE

2557

ผู้สอน

2558

ประธาน, บรรณาธิการหนังสือ, วิทยากร

ระบบรับตรง แบบพิเศษ สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ADVANCE ARCITECTURAL TUTORIAL : ARTSTUDIO ART & DESIGN TRAINING 2557 ค่ายติว THE HARRY POTTECT, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2558 ค่ายติว INTECTSTELLAR, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้ดาเนินรายการ

2558 CU OPENHOUSE, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2559

ผู้กากับศิลป์, ผู้ออกแบบ

เสลี่ยงอัญเชิญพระเกี้ยว งานฟุตบอลประเพณี จุฬา – ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 71

ผู้ออกแบบท่าเต้น, ผู้กากับศิลป์

ละครเวที ‘ทวิภพ’ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

256O

SENIOR TEACHING ASSISTANCE

THAI ARCITECTURAL TUTORIAL : ARTSTUDIO ART & DESIGN TRAINING

ผู้ออกแบบนิทรรศการ, ภัณฑารักษ์

2560 CHULA EXPO, คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

นิสิตฝึกงาน

สานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปกร กระทรวงวัฒนธรรม ระหว่างการก่อสร้างพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร

ร า ง วั ล 2558

ทุน หม่อมราชวงศ์ มิตรารุณ เกษมศรี

2559

ทุน หม่อมราชวงศ์ มิตรารุณ เกษมศรี

256O

รางวัลนริศรานุวัติวงศ์ ลาขาทัศนศิลป์

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สาขาวิชาสถาปัตยกรรมไทย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มูลนิธินริศรานุวัติวงศ์ วังปลายเนิน

CURRICULUM VITAE I 4


TRADITIONAL

RESIDENTIAL

1

3

NAVARAJABOPITRA

HERITAGE RESORT

SHRINE

ห อ พ ร ะ พุ ท ธ น ว ร า ช บ พิ ต ร

UDHAYATARA อุ ท้ ย ธ า ร เ ฮ อ ริ เ ท จ รี ส อ ร์ ท

2

4

BUDDHAMANDALA

SUWANNABHUMI BUDDHAJAYANTI TEMPLE

SONGKHLA พุ ท ธ ม ณ ฑ ล ส ง ข ล า

MONASTERY สั ง ฆ า ว า ส แ ห่ ง วั ด สุ ว ร ร ณ ภู มิ พุ ท ธ ช ยั น ตี

5 I SELECTED WORKS


CONTEMPORARY

OTHERS

5

8

NATIONAL MUSEUM

IN DESIGN

CHAIYA

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ ส ถ า น แ ห่ ง ช า ติ ไ ช ย า

EXPERIENCES ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร ทา ง า น อ อ ก แ บ บ

6

9

ADMINISTRATION COURT

DESIGN

RAYONG

INTERIOR การออกแบบภายใน

ศาลปกครองระยอง

7

1O

THAMMASAT UNIVERSITY

ACTIVITIES

AUDITORIUM

INTERESTS ง า น อ ดิ เ ร ก

ห อ ป ร ะ ชุ ม ใ ห ญ่ แ ห่ ง ม ห า วิ ท ย า ลั ย ธ ร ร ม ศ า ส ต ร์

SELECTED WORKS I 6


7 I TRADITIONAL WORKS


หอพระพุ ท ธนวรำชบพิ ต ร SHRINE OF PHRA BUDDHA NAVARAJABOPITRA

TRADITIONAL WORKS I 8


หอพระพุ ท ธนวรำชบพิ ต ร SHRINE OF PHRA BUDDHA NAVARAJABOPITRA

ค ว า ม เ ป็ น ม า

“ หอพระพุทธนวราชบพิตร ” ตั้งอยู่ภายในสวนหลวง ร.9 เขตสวนหลวง กรุงเทพมหานคร สร้างขึ้นในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา ครบ 7 รอบ ของ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 โดย ประดิษฐาน “ พระพุทธนวราชบพิตร ” ซึ่งเป็นพระพุทธรูปที่พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 มีพระราชดาริให้สร้างขึ้น เพื่อพระราชทานเป็น พระประจาจังหวัด เมื่อ พ.ศ. 2508 ภายในหอพระพุทธรูปแห่งนี้

9 I TRADITIONAL WORKS


แ น ว ค ว า ม คิ ด

หอพระพุทธนวราชบพิตร ออกแบบให้เป็นสถาปัตยกรรมไทยประเพณี แบบ “ เครื่องยอด “ ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรยไทยที่มีฐานานุศักดิ์สูงสุด มี ความหมายเจาะจงถึงพระมหากษัตริย์ โดยหอพระมีลกั ษณะเป็นอาคาร จัตุรมุข ยอดทรงมณฑป ประดิษฐานพระพุทธรูปอยูภ่ ายในคูหาของมุข หลัง แสดงลักษณะของ “ ศาลาในสวน ” แบบสถาปัตยกรรมไทย และ สัญลักษณ์อันสือ ่ ถึง “ ป่า ” และ “ น้า “ เช่น นาค หรือ ลายเถาวัลย์

TRADITIONAL WORKS I 1O


ลวดลาย

และ

ก า ร ป ร ะ ดั บ ต ก แ ต่ ง

การออกแบบลวดลาย เน้นให้มีความสง่างาม สมกับฐานาศักดิ์ของอาคาร พระพุทธนวราชบพิตร ประดิษฐานภายในเรือนแก้ว ลักษณะเหมือนซุ้มจรนา ขนาบด้วย “ ราชสีห์ ” และ “ คชสีห์ ” ประคองฉัตร 7 ชั้น อันแสดงถึงพระราชอานาจ และ บารมี ลวดลายหน้าบัน ก็มกี ารออกแบบสัญลักษณ์ที่สอ ื่ ถึงพระ เกียรติยศ นัน้ คือ “ พระราชลัญจกร “ และ “ สังวาลนพรัตน์ ” อันสือ ่ ถึงพระมหากษัตริย์ วัสดุเลือกใช้ให้มี ความสมัยใหม่ และ สง่างาม เช่น แผงกระจกของคูหาพระพุทธรูป เครือ ่ งลายองหล่อโลหะปิดทอง เสาลาย รดน้า ลานพื้นหินอ่อน รวมไปถีง องค์ประกอบฐาน เสาหัวเม็ด แล พนักระเบียง

11 I TRADITIONAL WORKS


TRADITIONAL WORKS I 12


13 I TRADITIONAL WORKS


พุ ท ธมณฑลสงขลำ SONGKHLA BUDDHA MANDALA

TRADITIONAL WORKS I 14


พุ ท ธมณฑลสงขลำ SONGKHLA BUDDHAMANDALA

ค ว า ม เ ป็ น ม า

“ พุทธมณฑลสงขลา ” ตั้งอยู่ ณ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาของภาคใต้ตอนล่าง รวมถึงเป็นพื้นที่ หลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประกอบพิธีกรรมในวันสาคัญทาง ศาสนา ตลอดจน การศึกษา และ ปฏิบัติธรรมของศาสนิกชน แนวแกนหลัก พระบรมธาตุ ส่วนสนับสนุน หอประชุม พระประธาน พระวิหาร

ที่จอดรถ ดอกบัว ทางเข้าโครงการ

ก า ร ว า ง ผั ง “ พุทธมณฑลสงขลา ” เน้นรูปแบบผังทีส่ ง่างาม เป็นระเบียบ เข้าใจง่าย โดยแนวแกนหลักวางทิศเหนือ – ใต้ ตามรูปร่าง ของที่ตั้งโครงการ ทางเข้าหลักอยู่ทางทิศใต้ พื้นที่นอก แนวแกนทางทิศตะวันออก ใช้เป็นที่ตั้งของส่วนสนับสนุน โครงการ เช่น ที่พัก โรงอาหาร ที่จอดรถ ถนนเส้นหลักของ โครงการอยู่รอบที่ตั้ง และ แนวแกนหลัก เพื่อตอบการใช้ สอย

15 I TRADITIONAL WORKS


แ น ว ค ว า ม คิ ด

“ พุทธมณฑลสงขลา ” นาแนวความคิดหลักมาจาก “ วันสาคัญทาง พระพุทธศาสนา “ ที่เชื่อมโยงกับเหตุการณ์ในพุทธประวัติที่สาคัญ คือ “ ประสูติ – ตรัสรู้ – ปฐมเทศนา – โอวาทปาฏิโมกข์ – ปรินิพพาน “ โดยแทน เป็นสถาปัตยกรรมในแนวแกนหลัก ได้แก่ “ ดอกบัว – พระวิหาร – พระพุทธรูปประธาน – หอประชุม – พระบรมธาตุ “ ทั้งนี้ เพื่อแสดงถึง ความเป็นมณฑลแห่งพระพุทธศาสนา ป ร ะ สู ติ

ต รั ส รู้

ปฐมเทศนา

โ อ ว า ท ป า ฏิ โ ม ก ข์

ป ริ นิ พ พ า น

ด อ ก บั ว

พ ร ะ วิ ห า ร

พระประธาน

ห อ ป ร ะ ชุ ม

พ ร ะ ส ถู ป

รูปแบบสถาปัตยกรรมในโครงการ เน้นความเป็นท้องถิ่น และ ความเฉพาะตัว คือ “ สถาปัตยกรรมไทยภาคใต้ “ ที่มีลักษณะผสมผสานระหว่าง ไทย ประเพณี, ไทยพระราชนิยม, จีน, มลายู และ ตะวันตก อันแสดงถึงอัต ลักษณ์อันสง่างาม เฉพาะตัว โดยเกิดจากการสารวจมรดกสถาปัตยกรรม ในจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้ ได้แก่ สงขลา นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส และ จากอาคารหลากหลายประเภท ตั้งแต่ สถูปเจดีย,์ อุโบสถ, วิหาร, วัง, ศาลเจ้า, มัสยิด, กุฏิ และ เรือนพักอาศัย รวมถึงข้อมูลสี วัสดุ และ ลวดลายที่ปรากฏ และ หาลักษณะร่วมเพื่อนามาใช้ในการออกแบบ สถาปัตยกรรม

TRADITIONAL WORKS I 16


พ ร ะ วิ ห า ร

“ พระวิหาร ” ออกแบบให้สอ ื่ ถึง “การตรัสรู้ “ ของพระพุทธเจ้า โดยนาลักษณะ การประดิษฐานพระพุทธรูปประธานมาจาก “ มหาโพธิวิหาร พุทธคยา “ สถานที่ ตรัสรู้ ออกแบบให้มีสัญลักษณ์แทนความหมาย ภายใต้รูปแบบสถาปัตยกรรม ท้องถิ่น เช่น “ ดอกบัว ” หรือ “ ดวงแก้ว ” อันแทนปัญญาของพระพุทธเจ้า พื้นที่ภายในกว้างขวาง ไม่มีเสาร่วมใน รองรับคนได้จานวนมาก ที่ว่างภายในล้อไป กับหลังคาของพระวิหาร ทาให้ดูสูงโปร่ง สง่างาม

17 I TRADITIONAL WORKS


พระประธาน

“ พระประธาน ” ออกแบบให้สื่อถึง “การปฐมเทศนา “ ของพระพุทธเจ้า แสดงผ่านปาง และ มุทราของพระพุทธรูปประธาน นัน่ คือ “ วิตรรกมุทรา “ ใช้ พุทธศิลป์แบบอยุธยา สกุลช่างนครศรีธรรมราช ประดิษฐานบนฐานสูง ล้อม ด้วย “ เสาโคมดวงประทีป “ ทั้ง 4 มุม สื่อถึงแสงธรรมอันส่องนาทาง เปรียบ เหมือน “ ประภาคาร “ ของชาวประมง ลานประทักษิณ มี 2 ชั้น สาหรับภิกษุ และ ฆราวาส มีศาลาจัตุรมุข อยู่ทั้ง 4 มุม เชือมต่อกับพระวิหารผ่านทาง “ ลานประธาน ” ฐานของพระประธาน เป็นอาคารสาหรับศึกษาพระพุทธศาสนา

TRADITIONAL WORKS I 18


ลานประธาน

“ ลานประธาน ” ทาหน้าที่เชื่อมต่อ “ พระประธาน ” กับ “ พระวิหาร ” ออกแบบให้เป็นลานยกระดับ เข้าถึงได้จาก 2 ลักษณะ คือ บันได และ ทางลาด คนเดิน สาหรับผู้ใช้รถเข็น มีศาลานั่งพักเป็นระยะ ตาแหน่งกลางลานประธาน ออกแบบให้ตรงกับมุมมองที่ดีที่สุด ไปยังพระประธาน และ พระวิหาร

19 I TRADITIONAL WORKS


ลวดลาย

โครงการเน้นใช้ลวดลายแบบ “ เถาพรรณพฤกษา ” แบบภาคใต้ นาตัวอย่างมาจาก ลายฉลุของสถาปัตยกรรม ลายเครื่องถม เรือกอและ มาออกแบบใหม่ เพื่อสร้าง ลักษณะเฉพาะตัว โดยให้มีกลิ่นอายของศิลปกรรมแบบจีน มลายู และ ตะวันตก นามา ปรับใช้กบั องค์ประกอบอาคาร เช่น เรือนแก้วพระประธาน ลายช่อบ๊วย แผงฉลุโปร่ง ของพระวิหาร

TRADITIONAL WORKS I 2O


21 I RESIDENTIAL WORKS


อุ ทั ย ธำร เฮอริ เ ทจ รี ส อร์ ท UDHAYATARA HERITAGE RESORT

RESIDENTIAL WORKS I 22


R E S T A U R A N T

อุ ทั ย ธำร

เฮอริ เ ทจ รี ส อร์ ท UDHAYATARA HERITAGE RESORT

ค ว า ม เ ป็ น ม า “ อุทัยธาร เฮอริเทจ รีสอร์ท ” เป็นที่พักตากอากาศเชิง วัฒนธรรม ตั้งอยู่ทอ ี่ าเภอเมือง จังหวัดอุทัยธานี โดย ที่ตั้งโครงการติดแม่น้าสะแกกรัง เป็นพื้นที่สาหรับรับรอง นักท่องเที่ยว หรือ บุคคลสาคัญ ที่เข้ามาพักภายใน จังหวัด จัดกิจกรรมเชิงวัฒนธรรมท้องถิ่น เพื่อเป็นการ อนุรักษ์ สร้างความตื่นตัว และ สร้างเสริมอาชีพให้แก่คน ในพื้นที่

L A Y

O U T

R E S T A U R A N T

23 I RESIDENTIAL WORKS


R E S O R T L O B B Y

C H I N E S E G A R D E N

แ น ว ค ว า ม คิ ด สือ ่ ความเป็นอุทัยธานี ความเป็น “ เมืองน้า “ ผ่านทาง สถาปัตยกรรมรูปแบบต่างๆ ได้แก่ “ ตรอก “ แสดง ความเป็นเมืองท่าการค้าที่คึกคัก ด้วยส่วนร้านค้า “ บ้าน ” สถาปัตยกรรมริมน้า – บนน้า ด้วยส่วนห้องพัก “ สะพาน ” ทางสัญจรหลักของเมืองข้ามแม่น้าสะแกกรัง แทนด้วยทางเข้าหลักของโครงการ และ “ วัด ” พื้นที่ กิจกรรมของเมือง แทนด้วยส่วนห้องอาหาร สถาปัตยกรรม ผสมผสาน

สถาปัตยกรรม ริมน้า + บนน้า

ภูมิทัศน์ วัฒนธรรม

สังคม เกษตรกรรม P O O L

ตรอก

บ้าน สะพาน

V I L L A

วัด

วางผังเน้นกลุม่ อาคารห้องพักเป็นหลัก ได้ความเป็น ส่วนตัว และ มุมมองที่ดี เลือกรูปแบบสถาปัตยกรรมให้ เหมาะสมกับการใช้สอยของอาคาร และ มีความน่าสนใจ เช่น สปา ตึกแถวจีน และ สวนจีน, POOL VILLA เรือน แฝด เป็นต้น

D E L U X E

RESIDENTIAL WORKS I 24


25 I RESIDENTIAL WORKS


สั ง ฆำวำส วั ด สุ ว รรณภู มิ พุ ท ธชยั น ตี THE MONASTERY OF SUWANNABHUMI BUDDHA JAYANTI TEMPLE

RESIDENTIAL WORKS I 26


สั ง ฆำวำส วั ด สุ ว ร ร ณ ภู มิ พุ ท ธ ช ยั น ตี

MONASTERY OF SUWANNABHUMI BUDDHAJAYANTI TEMPLE

ค ว า ม เ ป็ น ม า

L A Y

“ พุทธมณฑลสงขลา ” ตั้งอยู่ ณ อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา สร้างขึ้น เพื่อเป็นศูนย์กลางพระพุทธศาสนาของภาคใต้ตอนล่าง รวมถึงเป็นพื้นที่ หลักในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ประกอบพิธกี รรมในวันสาคัญทาง ศาสนา ตลอดจน การศึกษา และ ปฏิบัติธรรมของศาสนิกชน

O U T

27 I RESIDENTIAL WORKS


แ น ว ค ว า ม คิ ด

ออกแบบเน้นความเป็นส่วนตัวของพระภิกษุสงฆ์ และ ผู้ปฏิบัติธรรม โดย แยกกลุ่มที่พักออกเป็นส่วนๆ เชื่อมด้วย หอฉัน โรงครัว และ หอสมุด กุฏิ สงฆ์ ประกอบด้วย “ หมู่กุฏิเรือนเครื่องก่อ “ ของ เจ้าอาวาส และ พระ เถระ มี “ หอระฆัง “ เป็นประธาน และ “ กุฏิตึก ” ของพระนวกะ และ สามเณร โดยออกแบบให้เหมาะสมกับวัตรปฏิบัติของสงฆ์ “ เรือนแถว “ ที่ พักของฆราวาส อยู่อีกฝั่งหนึ่ง ออกแบบแยกชาย และ หญิง รูปแบบสถาปัตยกรรม อิงจาก “ สถาปัตยกรรมพระราชนิยม สมัยรัชกาลที่ 3 “ นามาประยุกต์ใช้กับรูปแบบผังที่หลากหลาย การใช้งาน และ ฐานานุศักดิ์ ที่ต่างกัน ทั้งนี้เพื่อเอื้อให้เกิดบรรยากาศอันสงบสงัด เหมาะแก่การเจริญ ภาวนา ปฏิบัติธรรม และ การดูแลกันของเหล่าภิกษ

S E C T I O N

RESIDENTIAL WORKS I 28


29 I CONTEMPORARY WORKS


พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถำนแห่ ง ชำติ ไชยำ CHAIYA NATIONAL MUSEUM

CONTEMPORARY WORKS I 3O


พิ พิ ธ ภั ณ ฑสถำนแห่ ง ชำติ ไชยำ CHAIYA NATIONAL MUSEUM ค ว า ม เ ป็ น ม า L A Y

“ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ” ตั้งอยู่ตรงข้ามวัดพระบรมธาตุไชยา อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี สร้างขึ้นโดยกรมศิลปากร เพื่อจัดแสดง ศิลปวัตถุ จากวัดพระบรมธาตุไชยา และ โบราณสถานสาคัญต่างๆ ใน คาบสมุทรภาคใต้ ประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการ ส่วนโถงทางเข้า ส่วน ร้านค้า ส่วนสานักงาน และ คลังพิพิธภัณฑ์

O U T

31 I CONTEMPORARY WORKS

ผั ง พื้ น พ ร ะ บ ร ม ธ า ตุ ไ ช บ า


แ น ว ค ว า ม คิ ด

“ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ไชยา ” ออกแบบโดยนารูปแบบ ลักษณะของผัง และ ที่ว่าง มาจากการศึกษา “ สถาปัตยกรรมแบบศรีวิชัย “ ที่ปรากฏอยู่ใน ภาคใต้ของไทย และ อินโดนีเซีย เช่น การอิงแนวแกนจากองค์พระบรมธาตุ กรอบซุ้มกระบังหน้า หูช้าง บัวฐาน การย่อเก็จ คานึงถึงสภาพภูมิอากาศของ ภาคใต้ การใช้แสงธรรมชาติในการจัดแสดง และ การใช้งานส่วนสนับสนุนอืน่ ๆ

ห้ อ ง ไ ช ย า

ห้ อ ง ก่ อ น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์

ห้ อ ง พุ ท ธ ศิ ล ป์

แ ล ะ

ท ว า ร ว ดี

ห้ อ ง ศิ ล ป วั ฒ น ธ ร ร ม

นิ ท ร ร ศ ก า ร ถ า ว ร P E R M A N E N T

E X H I B I T I O N

CONTEMPORARY WORKS I 32


นิ ท ร ร ศ ก า ร

นิทรรศการถาวร ตั้งอยู่ภายในอาคารหลัก แบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ “ ห้องไช ยา “ เล่าภาพรวมของเมืองไชยา และ วัดพระบรมธาตุไชยา ในฐานะศูนย์กลาง ทางศาสนาของคาบสมุทรภาคใต้ ศิลปวัตถุชิ้นสาคัญคือ “ ประติมากรรมพระ โพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ” ซึ่งประดิษฐานอยู่ใต้พื้นที่ว่าง ซึ่งจาลองจากห้อง ครรภคฤหะของพระบรมธาตุไชยา ส่วนต่อมา เล่าเรื่องประวัติศาสตร์ ตามลาดับเวลา ได้แก่ “ ห้องก่อนประวัติศาสตร์ – ห้องทวารวดี – ห้องพุทธ ศิลป์ “ และ “ ห้องศิลปวัฒนธรรม ” ซึ้งรวบรวมงานศิลปหัตถกรรมท้องถิ่น ของพื้นที่ เช่น ผ้าทอพุมเรียง เครื่องแต่งกายมโนราห์ เชี่ยนหมากถมเงินถม ทอง เป็นต้น ภายในคอร์ทหลักของอาคาร จาลอง “ องค์พระบรมธาตุไชยา ” สภาพ สมบูรณ์ ตามแบบสันนิษฐาน ก่อนการบูรณปฏิสังขรณ์ ซึ่งสัมพันธ์กบั แนวแกน ของพระบรมธาตุ อาคารพิพิธภัณฑ์ และ สามารถมองเห็นได้จากภายนอก

33 I CONTEMPORARY WORKS


E L E V A T I O N

CONTEMPORARY WORKS I 34


35 I CONTEMPORARY WORKS


ศำลปกครองระยอง RAYONG ADMINISTRATION COURT

CONTEMPORARY WORKS I 36


ศำลปกครองระยอง

RAYONG ADMINISTRATION COURT ค ว า ม เ ป็ น ม า “ ศาลปกครองระยอง ” ตั้งอยู่ ณ อาเภอเมือง จังหวัดระยอง มีอานาจ เหนือ 7 จังหวัดของภาค ตะวันออก โดยทาหน้าที่ พิจารณาข้อพิพาททาง ปกครอง ระหว่างราษฎรกับ รัฐ หรือ เจ้าหน้าทีข่ องรัฐ หรือ ระหว่างเจ้าหน้าที่ของ รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐ ด้วยกันเอง ซึ่งศาล ปกครองระยอง ประกอบด้วย 4 องค์คณะ และ พิจารณคดีทั้งหมด 3 บัลลังก์

แนวแกนหลัก

แนวแกนรอง (บุคคลากร)

แนวแกนรอง (ประชาชน)

AXIS

อิงแนวแกนจาก SITE วางผังสมมาตรแนวแกนหลัก แนวแกนรองแบ่งตามการใช้งาน

MASS

MASS หลักวางตามแนวขวาง เชื่อมกันด้วย MASS ขนาดเล็กกว่า MASS หน้าสูง MASS หลังเตีย

CIRCULATION ประชาชน บุคคลากร

ตุลาการ บันไดหนีไฟ

ZONING ส้านักงาน ทางเดินตุลาการ พิจารณาคดี / ไต่สวน ตุลาการ / ผู้บริหาร บริการ บันได / ลิฟต์ ทางเดิน ห้องน้า 1ST FLOOR

37 I CONTEMPORARY WORKS

2ND FLOOR

3RD FLOOR


แ น ว ค ว า ม คิ ด ออกแบบโดยใช้แนวแกนตามการใช้งาน แยกทางผู้พิพากษา เจ้าหน้าที่ และ ประชาชนออกจากกัน ทั้งทางการวางผัง และ ทางสัญจรแนวตั้ง ของอาคาร เลือกออกแบบแมสอาคารให้ดูมั่นคง สง่างาม หนักแน่น โดยนาลักษณะทางสถาปัตยกรรมไทยมาใช้ คือ การเล่นลักษณะ “ บัว ฐาน ” และ “ ลวดบัว ” รวมถึงวัสดุ คือ กระจก และ ทองเหลือง ให้ ความเป็นสมัยใหม่ แสดงความมีมาตรฐาน

CONTEMPORARY WORKS I 38


39 I CONTEMPORARY WORKS


หอประชุ ม

มหำวิ ท ยำลั ย ธรรมศำสตร์ THE AUDITORIUM OF THAMMASAT UNIVERITY

CONTEMPORARY WORKS I 4O


หอประชุ ม

ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย ธ ร ร ม ศ ำ ส ต ร์

ค ว า ม เ ป็ น ม า

แ น ว ค ว า ม คิ ด

AUDITORIUM OF THAMMASAT UNIVERSITY และ

“ หอประชุม แห่ง มหาวิทยาลัยธรรศาสตร์ ” ตั้งอยู่ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต จังหวัดปทุมธานี สร้างขึ้นเพื่อใช้ ในงานพระราชทานปริญญาบัตร การประชุม การแสดง ตลอดจนงาน สาคัญอื่นๆ ประกอบด้วย หอประชุมใหญ่ 2,500 ทีน่ ั่ง ห้องประชุม 400 ที่นั่ง จาวนวน 2 ห้อง และ อนุสาวรีย์อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ แนวความคิด คือ “ แก่นของศาสตร์ คือ ธรรม ” แสดง “ จิตวิญญาณ ธรรมศาสตร์ ” ผ่านสัญลักษณ์แห่งใหม่ ของธรรมศาสตร์ ศูนย์รังสิต “ น้า “ คือ ตัวแทนของความรู้อนั จะดับความกระหายของราษฎร การ สะท้อนของน้า แสดงถึงจิตวิญญาณธรรมศาสตร์อนั สะท้อนสังคม เส้น สายอาคารที่มาจาก “ รัศมีของธรรมจักร “ ที่ปรากฏในผัง แทนถึง แสง แห่งธรรม และ ปัญญาอันหลักแหลมของชาวธรรมศาสตร์

41 I CONTEMPORARY WORKS


CONTEMPORARY WORKS I 42


43 I CONTEMPORARY WORKS


รู ป แ บ บ ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม

และ

วั ส ดุ

การลดทอนรูปแบบสถาปัตยกรรมไทยแบบประเพณี สู่รูปทรงที่เรียบง่าย มีความเป็นเรขาคณิต ช่วยให้เกิด มิติแสงเงาที่งดงาม ทาให้อาคารดูมีความมั่งคง หนักแน่น รูปทรงอาคารที่มีความใหญ่โต มองเห็นได้แต่ไกล แสดงถึงสัจจะของโครงสร้างที่มีความชัดเจน “ ลานชุมนุม “ใช้จัดกิจกรรมต่างๆ การชุมนุมนี้แสดงถึงความ เป็นธรรมศาสตร์ ที่มีความผูกพันกับประวัติศาสตร์ชาติ ลานโอบล้อมอาคาร มีการใช้งานที่ต่างกันตาม โอกาส วัสดุที่ใช้ ได้แก่ “ หินอ่อน “ แสดงความหนักแน่น เรียบหรู ดูสมัยใหม่แต่คลาสสิค “ ทองเหลือง “ ใช้เป็นเส้นสายของกรอบ ผนัง กระจก ช่องเปิด สีทองให้ความรู้สึกเป็นไทย “ กระจกใส “ แสดงถึงความเป็น สมัยใหม่ ความโปร่งเบา สามารถนาแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ประโยชน์ภายในอาคารได้ “ ไม้ “ ให้ความรู้สึก อบอุน่ โทนสีที่สบายตา และ คุณสมบัติในการซับเสียง ใช้กับพื้นทีภ่ ายในอย่างหอประชุมได้อย่างลงตัว ผสานกับมิติพับโค้งของผนังและฝ้าเพดาน ที่ได้แรงบันดาลใจมาจากเส้นสายของไทย

CONTEMPORARY WORKS I 44


45 I OTHERS WORKS


ประสบกำรณ์ ก ำรทำงำนออกแบบ EXPERIENCES IN DESIGN

กำรออกแบบภำยใน INTERIOR DESIGN

งำนอดิ เ รก INTERESTS ACTIVITIES

OTHERS WORKS I 46


นิ ท รรศกำรสถำปั ต ยกรรมไทย งำน CHULA EXPO 2017

ค ณ ะ ส ถ ำ ปั ต ย ก ร ร ม ศ ำ ส ต ร์ จุ ฬ ำ ล ง ก ร ณ์ ม ห ำ วิ ท ย ำ ลั ย วั น ที่ 1 5 – 1 8 มี น ำ ค ม 2 5 6 0

แ น ว ค ว า ม คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ นิ ท ร ร ศ ก า ร แนวคิดหลัก คือ “ สถาปัตยกรรมไทย เป็นอะไรได้บ้าง ? ” โดยสื่อผ่านพัฒนาการของมรดกสถาปัตยกรรม ไทย ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดศตวรรษที่ผ่านมา โดยใช้สื่อต่างๆ เช่น แบบจาลอง ภาพลายเส้น แบบสถาปัตยกรรม ภาพถ่ายเก่า หรือ แบบไอโซเมตริกของอาคาร โดยมีจุดเด่นคือ “ แบบจาลอง หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ” และ “ แบบขยาย ซุ้มพระเกี้ยว “ ซึ้งถูกเขียนขึ้นด้วยมือ อีกส่วนของนิทรรศการ สือ ่ ผ่านงานสถาปัตยกรรมไทยประเพณี “ ชั้นครู ” ของอาจารย์ผู้ก่อตั้งสาขา สถาปัตยกรรมไทย เช่น หนังสืองานวิจัย ของ ศ.กิตติคุณ ม.ร.ว.แน่งน้อย ศักดิศ์ รี แบบขยาย 1:1 ของ รศ. ดร. ภิญโญ สุวรรณคีรี นอกจากนี้ ยังออกแบบโถงทางเดินของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ เพื่อบอก เล่าเรื่องราวประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมไทย โดยมีจุดสนใจ คือ “ แผงรวงผึ้ง กระจกสี ” เพื่อแสดงออก ถึงงานสถาปัตยกรรมไทยสมัยใหม่

47 I EXPERIENCES IN DESIGN


ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ ท พ รั ต น ร า ช สุ ด า ส ย า ม บ ร ม ร า ช กุ ม า รี

ท ร ง เ ส ด็ จ ฯ ท อ ด พ ร ะ เ น ต ร นิ ท ร ร ศ ก า ร เ มื่ อ วั น ที่ 1 7 มี น า ค ม 2 5 6 0

EXPERIENCES IN DESIGN I 48


เสลี่ ย งอั ญ เชิ ญ พระเกี้ ย ว

ง ำ น ฟุ ต บ อ ล ป ร ะ เ พ ณี จุ ฬ ำ ฯ – ธ ร ร ม ศ ำ ส ต ร์ ค รั้ ง ที่ 7 0

ง ำ น อ อ ก แ บ บ แ ล ะ จั ด ส ร้ ำ ง ร่ ว ม กั บ นิ สิ ต ส ำ ข ำ ส ถ ำ ปั ต ย ก ร ร ม ไ ท ย

แ น ว ค ว า ม คิ ด ก า ร อ อ ก แ บ บ ออกแบบให้เรียบง่าย สง่างาม มองเห็นรายละเอียดได้จากจากระยะใกล้ และ ไกล โดยประดิษฐาน “ พระเกี้ยว “ อยู่กึ่งกลาง บนพานแว่นฟ้า ฐานปัทม์ และ ฐานเชิงบาตร รูปแปดเหลี่ยม มีดอกไม้ไหวโดยรอบ สร้างให้เกิด “ ทรงจอมแห “ เพื่อส่งพระเกี้ยวให้สง่างาม ด้านหลังเป็นที่นั่งของผู้อัญเชิญพระเกี้ยวชาย และ หญิง มี เสา หัวเม็ด และ ราวระเบียง เพื่อแสดงอาณาเขต ใช้สีชมพู ขาว และ ทอง เป็นหลัก เพื่อให้ดูสง่างาม สูงส่ง ใน๘ณะเดียวกัน ดูออ ่ นโยน ใช้วัสดุคือ กระดาษ ชานอ้อย ซ้อนชั้นกันอย่าง “ ลายซ้อนไม้ “ และ ออกแบบให้มีดอกไม้ และ พานพุ่ม เป็นองค์ประกอบเพื่อ ส่งเสริม ทาให้ดูมีชีวิตชีวา น่าสนใจ

49 I EXPERIENCES IN DESIGN


ฝึ ก งำน ณ โรงขยำยแบบ วิ ธ ำ น ส ถ ำ ป ก ศ ำ ล ำ ส น ำ ม ห ล ว ง ฝึ ก ง ำ น เ ป็ น เ ว ล ำ 2 เ ดื อ น ใ น ฐ ำ น ะ นิ สิ ต ส ำ ข ำ ส ถ ำ ปั ต ย ก ร ร ม ไ ท ย ฝึกงานกับสานักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ได้รับมอบหมายให้ ร่างแบบ ขยายแบบ คัดลอกแบบ และ ออกแบบ ลวดลายองค์ประกอบสถาปัตยกรรม อาคารประกอบพระเมรุมาศ พระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร ได้แก่ 1. พระที่นั่งทรงธรรม 2. พลับพลายกสนามหลวง 3. พลับพลายกหน้าวัดพระเชตุพนฯ 4. พลับพลายกหน้าพระที่นั่งสุทไธสวรรย์ 5. ศาลาลูกขุน 1 และ 2 6. ทับเกษตร และ ทิม

EXPERIENCES IN DESIGN I 5O


FLAGSHIP STORE DESIGN

ง ำ น อ อ ก แ บ บ วิ ช ำ I N T R O T O I N T E R I O R A R C H I T E C T U R E อ อ ก แ บ บ ร่ ว ม กั บ น า ย ธั ช ส ง ว น ไ ท ย แ ล ะ น า ง ส า ว ก น ก ภ ร ณ์ ภู่ พิ พั ฒ น์ ภ า พ

51 I INTERIOR DESIGN


INTERIOR DESIGN I 52


THAI ARCHITECTURE IN GRAYSCALE

ARCHITECTURE IN THAILAND THROUGH THE LENS OF IPHONE

53 I INTERESTS ACTIVITIES


INTERESTS ACTIVITIES I 54


PRATHOMROEK WONGSAENGKHAM FACULTY OF ARCHITECTURE I CHULALONGKORN UNIVERSITY 083-1716994 I PRADHOM@GMAIL.COM


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.