สวนสาธารณะ 30 แห่ง ของคนกรุงเทพฯ

Page 1



GREENPRAKS OFBANGKOK ปัจจุบันผู้คนส่วนใหญ่ ในกรุงเทพมหานครใช้เวลาอยู่กับงานความเจริญของสังคมเมืองทำ�ให้เกิด ปัญหาต่างๆ เช่น ปัญหาการจราจร มลภาวะ สิ่งแวดล้อม ที่พักอาศัยไม่มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สวนสาธารณะ (parks หรือpublic parks) หมายถึงบริเวณที่ภาครัฐจัดให้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจแก่ ประชาชนตามชุมชนและเมืองต่างๆ โดยรัฐเป็นเจ้าของและดูแลรักษา หรือเอกชนสร้างแล้วมอบให้ประชาชน รูปแบบสวนสาธารณะจะเน้นหนักกิจกรรมนันทนาการหรือการพักผ่อนหย่อนใจเท่ากับหรือมากกว่าด้าน ความสวยงามสวนสาธารณะที่ดีจึงต้องสนองประโยชน์ ใช้สอยสูงสุด และมีความสวยงามด้วย ดังนั้นการออกแบบและวางแผนจึงมีความสำ�คัญซึ่งทำ�ให้แต่ละสวนมีความสวยงามและรูปแบบแตก ต่างกันสวนสาธารณะ สวนหย่อม รวมทั้งพื้นที่สีเขียวในกรุงเทพมหานคร นับเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะช่วยให้พวก เราได้พักผ่อนหย่อนใจ เพื่อผ่อนคลายจากภาระตึงเครียดจากที่ทำ�งาน ช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เพราะ มีต้นไม้จำ�นวนมาก เปรียบเสมือนปอดให้กับคนกรุงเทพมหานครนอกจากนั้นยังเป็นที่ศึกษาหาความรู้ ทำ� กิจกรรมนันทนาการต่างๆ จึงขอแนะนำ�สวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครทั้ง 30 แห่งที่ ได้นำ�เสนอในหนังสือ เล่มนี้ เพื่อให้ท่านได้ลองเข้าไปใช้บริการและสัมผัสบรรยากาศของสวนสาธารณะเหล่านั้น


คำ�นำ� หนังสือฺ GREENPARKS of Bangkok เล่มนี้เป็นผลงานการวิจัยการศึกษาการออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ ให้กับสำ�นักสวนสาธารณะกรุงเทพมหานคร จำ�นวนสวนสาธารณะที่นำ�เสนอทั้งสิ้น 30 แห่ง ในเล่มประกอบ ด้วยภาพบรรยากาศ สิ่งแวดล้อม ในมุมต่างๆ ความเป็นมา ตลอดจนองค์ประกอบที่มีรูปแบบเฉพาะของ แต่ละสวน ที่มีความสวยงาม ประโยชน์ ใช้สอยสูงสุดในการใช้พักผ่อนหรือนันทนาการในรูปแบบต่างๆ และ ที่ตั้ง รถประจำ�ทางสำ�หรับเดินทางไปใช้บริการ เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ทำ�ให้ประชาชนทั่วไปรับรู้ถึง ความงดงามของสวนสาธารณะที่มีอยู่ ในกรุงเทพมหานคร และให้ความสนใจเดินทางมาสัมผัสบรรยากาศ ที่แตกต่าง สร้างความสุข เสริมสร้างสุขภาพให้กับคนกรุงเทพมหานคร และผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ GREENPARKS of Bangkok เล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำ�หรับสำ�นักสวนสาธารณะกรุงเทพมหานครและผู้ อ่านทุกท่าน


แนวคิด กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงที่มีขนาดใหญ่ประชาชนอาศัยกันอยู่หนาแน่นเป็นสาเหตุหนึ่งที่ก่อ ให้เกิดมลภาวะต่างๆ ทั้งมลพิษทางเสียง ทางอากาศ การจราจรติดขัด ซึ่งเป็นปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชน เมือง พื้นที่สีเขียวหรือสวนสาธารณะนับเป็นสิ่งสำ�คัญที่จะช่วยให้พวกเราได้พักผ่อนหย่อนใจเพื่อผ่อนคลาย จากภาระและความตึงเครียดจากที่ทำ�งาน นอกจากนั้นยังช่วยแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม เพราะมีต้นไม้จำ�นวน มากเปรียบเหมือนปอด และเครื่องปรับอากาศขนาดใหญ่ ให้กับคนกรุงเทพมหานครเป็นอย่างดีข้าพเจ้า ได้มี โอกาสเข้าไปใช้บริการในสวนสาธารณะของกรุงเทพมหานคร ได้ออกกำ�ลังกาย พักผ่อนทำ�กิจกรรม ต่างๆ ท่ามกลางธรรมชาติภายในสวนที่สวยงามร่มรื่นแล้ว ทำ�ให้จุดประกายความคิดอยากที่จะให้ผู้ที่อยู่ ในกรุงเทพมหานครได้รู้จักและได้ ใช้บริการสวนสาธารณะในกรุงเทพมหานครจึงได้จัดทำ�หนังสือ โดยการ ใช้เทคนิคการถ่ายภาพ และการตกแต่งภาพมาออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์สวนสาธารณะให้กับสำ�นักงานสวน สาธารณะสำ�นักสิ่งแวดล้อมกรุงเทพมหานครเพื่อประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนได้รู้จัก มาใช้บริการเพิ่มมาก ขึ้น Shutdown your work hard. Restart your good health. เพื่อสุขภาพที่ดีของทุกคน


สารบัญ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร. 9 สวนหลวง ร.9 สวนหนองจอก สวน 60 พรรษา สวนเฉลิมพระเกียรติ เกียกกาย สวนพญาไทภิรมย์ สวนสันติภาพ สวนรมณีนาก สวนสราญรมย์ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียติ 6 รอบ พระชนมพรรษา สวนลุมพินี สวนรมณีย์ทุ่งสีกัน สวนสาธารณะบึงสีกัน สวนบึงกระเทียม สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ (สวนสายไหม) สวนกีฬารามอินทรา สวนวชิรเบญจทัศ สวนสาธารณะสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์

หน้า 9 13 17 21 25 29 33 37 41 45 49 53 57 61 65 69 73 77


สารบัญ สวนพฤกษชาติคลองจั่น สวนวังทอง สวนสะพานพระราม 8 สวนยอดแขม สวนทวีวนารมย์ สวนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ ร.6 สวนธนบุรีรมย์ สวนหย่อมรอบพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ สวนป่าวิภาวดี รังสิต สวนพรรณพิรมย์ สวนเบญจกิติ

หน้า 85 89 93 97 101 105 109 113 117 121 125



ส วนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ ร.๙ ความเป็นมา สวนแห่งนี้จัดสร้างเมื่อวันที่ 5 ธันวาคม 2530 มีเนื้อที่ทั้งหมด 7 ไร่ 2 งาน 19 ตารางวา เนื่องในวโรกาส เฉลิมพระชนมพรรษาครบ 5 รอบ ของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เพื่อเป็นประโยชน์ ในการทำ� กิจกรรม สันทนาการ พักผ่อนหย่อนใจ และออกกำ�ลัง กายของชาวเขตมีนบุรี


องค์ประกอบสวน สวนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 มีเนื้อที่ 7 ไร่ 2 งาน 19 ตารางวา เป็นป็นที่ทำ�กิจกรรมต่างๆ ที่สำ�คัญของเขตมีนบุรีเป็นที่ตั้งของ ศูนย์จัดแสดงกิจกรรมเมืองมีนบุรี มีลานทำ�กิจกรรมต่างๆ เวทีการแสดงกลางแจ้งเป็นที่ออกกำ�ลังกาย ประกอบไปด้วย โต๊ะปิงปอง เครื่องยกน้ำ�หนัก สนามบาส เปตอง สนามฟุตบอล มีผู้มาใช้บริการ เป็นที่นิยมของผู้มาออกกำ�ลังกายที่สวนแห่งนี้

10


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 11

7 – 2 – 19 ไร่ ถนนสีหบุรานุกิจ เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510 02-540-7160 05.00 – 21.00 น. สาย 26 ปอ.514



สวนหลวง ร.๙

ความเป็นมา

สวนหลวง ร.๙ สร้างขึน้ ด้วยความร่วมมือร่วมใจ ของกรุงเทพมหานคร มูลนิธิสวนหลวง ร.๙ องค์กร ภาครัฐและเอกชนรวมถึงปวงชนชาวไทยเพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในศุภมงคล สมัยเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ ในปี พ.ศ. 2530 โดยสร้างบนทีด่ นิ ของกรุงเทพมหานครบริเวณหนองบอน ที่ยังไม่ ได้ ใช้ประโยชน์แต่มีศักยภาพในการเป็นพื้นที่รับน้ำ� ก่อนระบายสู่แหล่งธรรมชาติ ซึ่งเป็นแนวทางการแก้ ไข ปัญหาน้ำ�ท่วมตามพระราชดำ�ริ โครงการเริ่มตั้งแต่ปี 2527 ตามความมุ่งหวังร่วมกันที่จะสร้าง สวนสาธารณะ ระดับนครให้เป็นหน้าตาของประเทศและสร้างพื้นที่สี เขียวเพื่อประชาชนได้มาเที่ยวพักผ่อนด้วยที่ดินผืนนี้ ไม่ ได้ต่อเนื่องเป็นผืนเดียว แต่มีหลายโฉนดหลายแปลง ปะปน และทำ�ขอรับบริจากเพิ่มเติมจากเอกชน จึงทำ�ให้ มีพื้นที่รวมกันแล้วได้ 500 ไร่ เหมาะสมกับการเป็นสวน ระดับนครและการแปรสภาพจากพื้นที่รกร้าง กลายเป็น สวนสาธารณะสมบูรณ์


องค์ประกอบสวน โครงสร้างหลักของสวนหลวง ร.๙ ได้รับการกำ�หนดให้สอดคล้องกับหลัก 5 ประการ คือ เฉลิมพระเกียรติ ส่งเสริมวิชาการ รวบรวมพันธุ์ไม้ท้องถิ่น อนุรักษ์สิ่งมีชีวิตและพักผ่อนหย่อนใจแฝงด้วยการปลูกฝังทัศนคติ การจัดภูมิทัศน์ภายในสวนจึงสอดคล้องกับ หลักดังกล่าว และลักษณะของสวนระดับเมือง ซึ่งแบ่งเป็น 6 บริเวณ ได้แก่ บริเวณเฉลิมพระเกียรติ สวนพฤกษศาสตร์ ตระพังแก้ว สวนรมณีย์ สวนน้ำ� และสนามราษฎร์” นอกจากนี้ยังมีจุดที่น่าสนใจแทรกในบริเวณหลักของสวน เช่น สวนนานาชาติ สวนขนาดเล็ก แสดงเอกลักษณ์การจัดภูมิทัศน์ของสวน 7 ชาติ คือ จีน ญี่ปุ่น สเปน อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลีและอเมริกา สวนเชิงผา สวนกำ�แพงหิน สวนบัวเบญจพันธุ์ มุมแมกโนเลีย รวบรวมพันธุ์ไม้ตระกูล Magnolia สวนไม้เมืองหนาวน้อมเกล้าฯ ถวายพ่อหลวง ในช่วงวันที่ 1 – 31 ธันวาคม เทศกาลปทุมมาเฉลิมพระเกียรติ ในช่วงวันที่ 1 – 31 สิงหาคมของทุกปี เพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสเฉลิม พระชนมพรรษา 12 สิงหามหาราชินี และงานพรรณไม้งามอร่ามสวนหลวง ร.๙ จัดร่วมกับมูลนิธิสวนหลวง ร.๙

14


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 15

500 - 0 - 0 ไร่ ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 แขวงหนองบอน เขตประเวศ กรุงเทพมหานคร 10250 02-328-1385 05:00 – 19:00 น. สาย 133 145 206 207 1013 ปอ.11 ปอ.145 ปอ.206 ปอ.207 ปอ.537



สวนหนองจอก

ความเป็นมา

สวนหนองจอก ที่ดิบริเวณนี้เดิมใช้เป็นสถาน ที่เลี้ยงไก่ขององค์การบริหารส่วนจังหวัด กระทรวง มหาดไทย จึงมอบให้กรุงเทพมหานครตามพระราช บัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2518 สำ�นักงานเขตหนองจอกในฐานะเจ้าของ พื้ น ที่ เ ข้ า พั ฒ นาพื้ น ที่ ร กร้ า งแห่ ง นี้ ส ร้ า งเป็ น สวน หนองจอก น้ อ มเกล้ า ฯ ถวายเป็ น พระราชสักกา ระเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษา 60 พรรษาในวันที่ 5 ธันวาคม 2530 โดยใช้เป็นพื้นที่สีเขียวเพื่อการพัก ผ่อน เป็นสถานที่เล่นกีฬาของประชาชน และใช้จัด งานเทศกาลงานประเพณีต่างๆ สวนหนองจอกเริ่ม เปิ ด เป็ น ทางการเมื่อวันที่ 27 พฤศจิ ก ายน 2530 จนเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน 2532 ได้มอบให้กอง สวนสาธารณะดูแล เป็นต้นมา


องค์ประกอบสวน สวนหนองจอก โดดเด่นด้วยลักษณะของ “สวนไทรงาม” ซึ่งได้จัดภูมิทัศน์เป็นแนวต้นไทรที่มีทรงพุ่มงดงาม ยาวขนาน ตลอดแนวถนนหลักของสวน กลายเป็นเอกลักษณ์ของสวนด้วยความสง่างามของพันธุ์ไม้ชนิดนี้ ภายในสวนตกแต่งด้วยสระน้ำ�ขนาด ใหญ่ปลูกบัวหลากสี มีปลาใหญ่น้อยหลายชนิดแหวกว่ายให้ชมเพลินตา ทำ�ให้กิจกรรมให้อาหารปลา กลายเป็นที่นิยมในหมู่เด็กๆ มี ทางเดินลัดเลาะไปตามจุดต่างๆ ทั่วบริเวณเพื่อชมธรรมชาติอย่างใกล้ชิดหรือเพื่อวิ่งออกกำ�ลังกาย และจัดให้มีศาลาพักผ่อนไว้หลบ ร้อน ชมวิวทิวทัศน์กระจายตามจุด 18


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 19

35 – 2 – 0 ไร่ ถนนเลียบวารี แขวงกระทุ่มลาย เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร 10530 02-543-1082 05.00 – 20.00 น. สาย 131



สวน ๖๐ พรรษา

ความเป็นมา

สวนสาธารณะแห่งนี้เกิดจากการความร่วม มือระหว่างกรุงเทพมหานคร กับการเคหะแห่งชาติ เมื่อวันที่ 25 กันยายน 2541 โดยการเคหะได้มอบ พื้ น ที่ เ คหะชุ ม ชนร่ ม เกล้ า ให้ กั บ กรุ ง เทพมหานคร ดำ�เนินการปรับปรุงเป็นสวนสาธารณะ สำ�หรับเป็น สถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจและออกกำ � ลั ง กายของ ประชาชนพร้อมทั้ง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2551 สวนแห่งนี้ ได้เปิดให้บริการอย่างเป็นต้นมา


องค์ประกอบสวน การสร้างสภาพแวดล้อมให้มีความสวยงาม และสามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ ได้อย่างเต็มที่ ได้ถูกนำ�มาใช้เป็นแนวความคิด ในการออกแบบสวนแห่งนี้ ด้วยพื้นที่เดิมเป็นบ่อน้ำ�ขนาดใหญ่ การออกแบบจัดสวนจึงมุ่งเน้นความกลมกลืนระหว่างพื้นน้ำ�กับพื้นราบ ให้สอดคล้องกัน และเพื่อไม่ ให้มีการใช้พื้นที่รบกวนซึ่งกันและกัน กิจกรรมต่างๆ จึงถูกแยกไว้อย่างเป็นสัดส่วน พร้อมทั้งยังมีป้าย บอกเส้นทางสัญจรอย่างชัดเจน โดยภายในสวนประกอบด้วย อาคารสำ�นักงาน อาคารอเนกประสงค์ ศาลาพักผ่อน ศาลากลางน้ำ� ลานกิจกรรม ลานพักผ่อน ลานแอโรบิค ลานริมน้ำ� ลานน้ำ�พุ ลานอเนกประสงค์ ทางจักรยาน ทางเดิน-วิ่ง ลานจอดรถจักรยาน และจักรยานยนต์ ลานจอดรถยนต์ สนามเด็กเล่น สนามบาสเก็ตบอลและสนามตะกร้อ 22


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 23

52 – 1 – 69 ไร่ ถนนเคหะร่มเกล้า เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520 02-543-9793 05.00 – 21.00 น. สาย ปอ.8 ปอ.92 ปอ.พ.4



สวนเฉลิมพระเกี ยรติ เกียกกาย ความเป็นมา

สวนแห่ ง นี้ ส ร้ า งขึ้ น เพื่ อ เฉลิ ม พระเกี ย รติ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว เนื่ อ งในวโรกาสพระ ราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ ในวันที่ 5 ธันวาคม 2542 โดยใช้ที่ราชพัสดุซึ่งเดิมเคย เป็นที่ตั้งขององค์การทอผ้าที่เลิกกิจการไปแล้วของกระ ทรวงกลาโหม ซึ่งได้มอบให้กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 24 กันยายน 2542 สำ�นักงานสวนสาธารณะจึงได้เข้าทำ� การปรับปรุงพื้นที่ ตั้งแต่วันที่ 30 กันยายน 2546 พร้อมทั้งเปิดให้บริการอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2548


องค์ประกอบสวน มีพน้ื ที่ 10 ไร่ การออกแบบมีลกั ษณะต่างๆ ทีน่ า่ สนใจประกอบด้วย พิพิธภัณฑ์เด็กเกียกกายซึ่งเป็นสถานที่ ศึกษาหาความรู้ และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของเด็กเป็น สถานทีพ่ กั ผ่อนหย่อนใจ และภาพจิตรกรรมการบริหารร่าง กายจำ�นวน 16 ท่าประกอบทำ�ให้ง่ายต่อการเข้าใจมีพื้นที่ ว่างในการบริหารร่างกายอย่างเพียงพอสามารถที่จะเข้า ไปออกกำ�ลังกายได้ท่สี วนสุขภาพซึ่งมีคำ�อธิบายวิธีการเล่น และประโยชน์ที่จะได้รับจากการ ออกกำ�ลังกายในท่าต่างๆ ซึ่งสามารถเลือกบริหารกล้ามเนื้อในส่วนต่างๆ สนามเด็ก เล่นเป็นอีกแห่งหนึ่งที่จะเพิ่ม และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ ทางสติปัญญา และทางร่างกายแก่เด็กๆ มีความสวยงาม และความร่มรื่นของสวนที่เกิดจากศิลปะในการจัดสวน ไม่ว่าจะเป็น สนามหญ้าไม้คลุมดิน ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้น หรือวัสดุอื่นๆ ที่อยู่ ในสวน

26


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 27

10 – 0 – 0 ไร่ ถนนทหารไทย แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร 10300 02-241-7340-1 05.00 – 21.00 น. สาย 3 30 32 64 117 ปอ.32 ปอ.641



สวนพญาไทภิรมย์

ความเป็นมา

สวนแห่งนี้เป็นแรกของเขตพญาไทโดยใช้พ้ืน ที่ว่างใต้ทางด่วนพิเศษศรีรัชทางด่วนขั้นที่ 2 สายบาง โคล่แจ้งวัฒนะ บริเวณปากซอยศาสนา ถนนพระราม ที่ 6 เนื้อที่ประมาณ 10 ไร่ ปลูกพืชสมุนไพรไว้เพื่อ อนุรักษ์ภูมิปัญญาไทยให้คงอยู่ และสืบทอดถึงลูกหลาน นอกจากนี้ภายในสวนยังจัดให้มีสนามเด็กเล่น น้ำ�ตก สว่างภิรมย์ สวนหย่อม ลานกีฬา และซุ้มหนังสือริม ทางไว้บริการประชาชนทั่วไปด้วย


องค์ประกอบสวน สวนแห่งนีเ้ ดิมเป็นสวนสาธารณะเปิด ไม่มรี ว้ั ไม่มเี วร ยาม และไฟฟ้าส่องสว่าง ทำ�ให้มีการรุกล้ำ�เข้าไปใช้พื้นที่จนมี สภาพทรุดโทรม ไม่เป็นระเบียบ และทัศนียภาพไม่สวยงามเป็น จุดเสี่ยงต่อการเกิดอาชญากรรม และความไม่ปลอดภัยในชีวิต และทรัพย์สินของประชาชนหลังจากการรับฟังความคิดเห็นจาก ประชาชนของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร จึงมีการพัฒนาสวน สาธารณะในเขตพญาไทให้น่าอยู่อย่างยั่งยืน 30


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 31

10 – 0 – 00 ไร่ ถนนพระรามที่ 6 แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 02-279-4141 ต่อ 6475 05.00 – 20.00 น. สาย 12 14 67



สวนสันติภาพ ความเป็นมา สวนนี้สร้างขึ้นบนที่ดินซึ่งกรุงเทพมหานครเช่า จากสำ�นักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์หลังจาก ผู้เช่าเดิม คือ การเคหะแห่งชาติ ที่จัดสรรเป็นที่อยู่ อาศั ย ของประชาชนหมดสั ญ ญาเช่ า ลงกรุ ง เทพ มหานครเห็ น ว่ า ที่ ดิ น ผื น กว้ า งและสิ่ ง แวดล้ อ ม หายากแห่ ง นี้ ตั้ ง อยู่ ใ นศู น ย์ ก ลางธุ ร กิ จ ใจกลางเมื อ ง จึ ง มาจั ด สร้ า งเป็ น สวนสาธารณะเพื่ อ สาธารณะ ประโยชน์ โดยมีสญ ั ญาเช่า 30 ปีตงั้ แต่เดือนตุลาคม 2533 เป็นต้นมา และก่อสร้างสวนในปี 2540 หลังจากย้าย สิ่ง ปลูกสร้างผู้ครอบครองและผู้บุกรุกออกจากพื้ นที่ สวนสาธารณะ ได้ทำ�การเปิดบริการเป็นทางการเมื่อวัน ที่ 16 สิงหาคม 2541 และตั้งชื่อขึ้นเพื่อระลึกถึงวันสิ้น สุดสงครามโลกครั้งที่ 2 ตรงกับวันที่ 16 สิงหาคม 2488 เป็นวันยุติความโหดร้ายของสงคราม และวันเริ่มต้นขอ งสันติภาพความสงบสุขแห่งมวลมนุษยชาติ


องค์ประกอบสวน

สวนสาธารณะแห่งนี้มีการออกแบบให้เป็นสวนป่าใจกลางเมือง ให้ความร่มรื่น ด้วยธรรมชาติเขียวขจีมีสระน้ำ�กลางสวน ติดตั้งน้ำ�พุเพิ่ม ความสดชื่นกำ�หนดให้มีสิ่งก่อสร้างเท่าที่จำ�เป็น จึงสร้างบรรยากาศให้สงบ ร่มเย็นปราศจากเสียงรบกวนจากภายนอก และแนวป่ารอบสวนช่วยดูดซับ ฝุน่ ละออง สร้างอากาบริสทุ ธิภ์ ายในสวนมีกิจกรรมดนตรี ในสวนสาธารณะ ช่วงยามเย็น“อุทยานดนตรี” ของกรุงเทพมหานคร“นครแห่งดนตรีกาล” 34


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 35

20 – 0 – 80 ไร่ ถนนราชวิถี แขวงพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 02-245-2461 05.00 – 21.00 น. 12 14 17 24 36 38 61 63 69 74 77 92 204 ปอ.140 ปอ.159



สวนรมณีนาถ

ความเป็นมา

สวนรมณีนาถ หมายถึง “สวนแห่งพระนางผู้ เป็นที่พึ่ง” เป็นนาพระราชทานจากสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถเดิมเป็นเรือนจำ�พิเศษ กรุงเทพ มหานครในอดีตเรียก “คุก กองมหันต์ โทษ” สร้างสมัย รัชกาลที่ 5 โดยทรงส่งเจ้ากรมไปดูรูปแบบที่สิงคโปร์ มีอายุเก่าแก่ถึง 103 ปี สวนนี้มีที่มาจากโครงการของ กระทรวงมหาดไทย เพือ่ น้อมเกล้าฯ ถวายเทิดพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรราชิน ีน าถในวโรกาสที่ ทรงมีพระชนมายุ 60 พรรษาในวันที่ 12 สิงหาคม 2535 โดยย้ายเรือนจำ�ออกไป ณ ทัณฑสถานบางเขน ในปี 2534 และจัดสร้างเป็นสวนสาธารณะกลางเมือง หลวงเพื่อสนองพระราชประสงค์ขององค์พระราชินี ใน การพัฒนาคุณภาพชีวิตและบรรเทาปัญหาสิ่งแวดล้อม ในเมือง กระทรวงมหาดไทยมอบให้กรุงเทพมหานคร จัดสร้างพร้อมดูแลบำ�รุงรักษาซึ่งแล้วเสร็จ เมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม 2536


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะแห่งนี้เป็นสถานที่พักผ่อนออกกำ�ลัง กายจัดกิจกรรมเพื่อประชาชน ในเขตพระนคร อีกทั้งยังเป็น สถานที่เพื่อการ อนุรักษ์ โบราณสถาน ซึ่งเป็นหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์พื้นที่ โบราณสถานรวม 4 ไร่ 11 ตารางวา มี ประติมากรรมสังข์สัมฤทธิ์อยู่บริเวณสูงสุดของ สวนกลาง สระมีน้ำ�พุเฉลิมพระเกียรติ ภายในสวนยังประกอบไปด้วย แปลงดอกไม้ สวนสุขภาพ ลานกีฬา และดนตรี 38


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 39

29 – 3 – 72 ไร่ ถนนศิริพงษ์ แขวงสำ�ราญราษฎร์ เขตพระนคร กรุงเทพมหานคร 10200 02-221-5181 05.00 – 21.00 น. สาย 1 5 35 37 42 56 ปอ.7 ปอ.42



สวนสราญรมย์ ความเป็นมา สวนสราญรมย์ ในอดีต ซึ่งเคยเป็นส่วนหนึ่ง ของพระราชวังสราญรมย์ ตั้งอยู่นอกกำ�แพงพระบรม มหาราชวัง ด้านทิศตะวันออก พระราชวังแห่งนี้รัชกาล ที่ 4 ทรงโปรดให้สร้างในปี 2409 ตรงบริเวณตึกดิเก่า เพื่ อ เป็ น ที่ ป ระทั บ หลั ง ทรงสละราชสมบั ติ ใ ห้ พ ระ ราชโอรสแล้ว แต่ยังสร้างไม่เสร็จก็ทรงเสด็จสวรรคต เสียก่อนจนมาแล้วเสร็จใน (รัชกาลที่) 5 ทรงโปรดให้ ตกแต่งราชอุทยานให้สวยงามร่มรื่นโดยให้นายเฮนรี่ อา ลาบาสเตอร์ (รัชกาลที่ 6) ทรงโปรดใช้พระราชอุทยาน เป็ น ที่ ฝึ ก ซ้ อ มวิ ช าทหารแก่ ม หาดเล็ ก รั ก ษาพระองค์ และเป็นศูนย์กลางขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม และแนว ความคิดใหม่ ๆ ในนาม “ทวีปัญญาสโมสร” ในรัชกาลที่ 7 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครองได้เป็นที่ตั้งของสโมสร คณะราษฎร์สราญรมย์ ต่อมา ณ วันที่ 3 มิถุนายน 2503 รัฐบาลจึงมอบให้กรุงเทพมหานครดูแลและปรับปรุง เป็นสวนสาธารณะ


องค์ประกอบสวน ความมีชีวิตชีวาของสวนสราญรมย์จะเริ่มแต่เช้ามืด ของทุกวัน ภาพกระแสผู้คนในย่านเกาะรัตนโกสินทร์ต่างมา ออกกำ�ลังกายตามความพอใจ ทั้งเช้าและเย็น สามารถเป็น สถานที่พบปะสังสรรค์ ทำ�กิจกรรมกลางแจ้ง เป็นห้องเรียน ธรรมชาติแห่งวิชาศิลปะ และนิเวศวิทยา ศาลาแปดเหลี่ยม แสดงลักษณะสถาปัตยกรรมที่นิยมในสมัยรัชกาลที่ 5

42


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 43

23 – 0 – 0 ไร่ ถนนเจริญกรุง เขตพระนคร แขวงพระบรมมหาราชวัง กรุงเทพมหานคร 10200 02-221-0195,02-222-1035 05.00 – 21.00 น. สาย 1 3 6 9 12 25 43 75 86 91 ปอ.1 ปอ.7 ปอ.12



สวนสาธารณะเฉลิ มพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา ความเป็นมา สวนสาธารณะแห่งนี้ เกิดขึ้นจากความร่วมมือ ระหว่างการทางพิเศษแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร และกระทรวงมหาดไทย เพือ่ เฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชน มพรรษาครบ 6 รอบ ในวันที่5 ธันวาคม 2542 โดยการ ทางพิเศษแห่งประเทศไทยมอบที่ดิน และส่วนประกอบ อืน่ ๆ ในบริเวณเชิงสะพานพระราม 9 ฝัง่ พระนคร และฝั่งธนบุร รวมทั้งหมด 52 ไร่ ให้แก่กรุงเทพมหานคร เพื่อจัดสร้างสวนสาธารณะโดยได้รับการสนับสนุนจาก กระทรวงมหาดไทย หน่วยงานภาครัฐและเอกชน ซึ่งได้ เปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2543 ได้รับพระราชทานชื่อว่า“สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา”


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ ได้รับการออกแบบอย่างน่าสนใจสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาโดยการนำ�ปรากฏการณ์ธรรมชาติเข้ามาเป็นองค์ประกอบของสวนได้อย่างลงตัวในลักษณะ Waterfront park ภาพรวมของสวน แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยมีแม่น้ำ�เจ้าพระยาเป็นแนวกั้นกลางตามธรรมชาติช่วยเพิ่มทิวทัศน์ที่งดงาม จึงกลายเป็น จุดชมวิวธรรมชาติของแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่มีเสน่ห์ ในแบบโลกตะวันออก ซึ่งพื้นที่บางส่วนความเจริญทางวัตถุยังเอื้อมไม่ถึง บริเวณ ริมน้ำ�ของสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ จัดไว้เพื่อการพักผ่อนในบรรยากาศธรรมชาติที่ผ่อนคลาย สงบนิ่งท่ามกลางความร่มรื่น งดงามของพันธุ์ไม้เขียวชอุ่ม และสายลมเย็นพัดพากลิ่นไอธรรมชาติที่สดชื่นสร้างความรู้สึกในการกลับเข้าสู่ธรรมชาติที่เป็นความ ต้องการอย่างแท้จริงของชีวิตคนเมืองปัจจุบัน 46


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 47

63 – 1 – 20 ไร่ เชิงสะพานพระราม 9 เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120 02-289-1578 05.00 – 21.00 น. ฝั่งพระนคร สาย 22 89 205



สวนลุมพินี ความเป็นมา

สวนแห่ ง นี้ เ ป็ น สวนสาธารณะแห่ ง แรกของ กรุงเทพมหานคร พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 6) ทรงและพระราชมรดกที่ พระราชทานไว้ แ ก่ ช าวพระนครโดยมี จุ ด เริ่ ต้ น ในปี 2468 ซึ่งทรงครองราชสมบัติครบ 15 ปี หลังจากมี พระราชดำ � ริ ใ ห้ จั ด งานแสดงพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส รรพสิ น ค้ า แล้วจัดทำ�เป็นสวนพฤกษชาติ เพื่อให้ปรชาชได้ศึกษา และใช้ พั ก ผ่ อ นพร้ อ มทั้ ง ทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ พระราชทานชื่อสวนว่า “สวนลุมพินี” หมายถึง สถาน ที่ประสูติแห่งพระพุทธเจ้า แต่ด้วยทรงเสด็จสวรรคต ก่อนเปิดงานจึงต้องล้มเลิกงานไปและถูกรื้อฟื้นอีกครั้ง ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 7 ไปบางส่วนส่วนที่เหลือเปิด เป็นสวนสาธารณะ นับแต่นั้นสวนลุมพินีจึงเป็นสถาน ที่ ให้ความเพลิดเพลิน ความสนุนสนานแก่ประชาชน โดยทรงพระราชทานที่ดินให้รัฐบาลดูแลและมีกระแส รับสั่งให้ ใช้เพื่อสวนสาธารณะเท่านั้น กลายเป็นที่ตั้ง ค่ายทหารญี่ปุ่น ต่อมาสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 ในปี 2495–2497 จึงถูกใช้เป็นที่จัดงานฉลองรัฐธรรมนูญ และมีการประกวดนางสาวสยามในปี 2485 ได้จัด พระบรมรูปรัชกาลที่ 6 เพื่อระลึกถึงมหากรุณาธิคุณ ขององค์ผู้ ให้กำ�เนิดสวนลุมพินี


องค์ประกอบสวน สวนลุมพินีมีลักษณะเป็น “สวนอเนกประสงค์” ที่รวมไว้ด้วยประโยชน์ ใช้สอย เพื่อกิจกรรมนันทนาการหลากหลายไว้บริการ ประชาชน โดยเป็นที่ตั้งของศูนย์นันทนาการ สมาคม ชมรมต่าง ๆ เช่น สโมสรพลเมืองอาวุโสแห่งเมืองกรุงเทพมหานคร กิจกรรม นันทนาการที่ออกแบบเพื่อคนพิการ ฝึกอาชีพของผู้สูงอายุ ศูนย์สร้างโอกาสเด็กสวนลุมพินี ห้องสมุดประชาชนสวนลุมพินี เวทีลีลาศ ดนตรี ในสวน ภายใต้ภาพรวมของการเป็นพื้นที่สีเขียวซึ่งมีเอกลักษณ์ที่ความร่มรื่น ด้วยต้นไม้ขนาดใหญ่เก่าแก่ ปลูกรายล้อม และ กระจายอยู่ท่ามกลางธรรมชาติที่จัดแต่งด้วยสระน้ำ�กว้างใหญ่ กลุ่มพรรณไม้ดอกไม้ประดับ สวนป่าเขียวชอุ่ม สวนปาล์ม หรือสวน ไผ่ จึงมีหน้าที่ต่อระบบนิเวศน์ โดยเป็นที่พักพิงและแหล่งอาหารของสรรพชีวิต พระบรมรูปรัชกาลที่ 6 สร้างในปี 2485 เพื่อระลึก ถึงมหากรุณาธิคุณขององค์ผู้ ให้กำ�เนิดสวนลุมพินี 50


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 51

360 – 0 – 0 ไร่ ถนนพระราม 4 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330 02-252-5948 04.30 – 21.00 น. สาย 4 13 14 15 17 47 62 67 74 76 77 106 109 115 119 ปอ.4 ปอ.5 ปอ.7



สวนรมณีย์ทุ่งสีกัน ความเป็นมา สวนแห่งนี้ ได้รับพระราชทานชื่อจากสมเด็จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีความหมายว่า “สวน ที่ ให้ความรื่นรมย์ ใจประจำ�ทุ่งสีกัน” เดิมสวนแห่งนี้ คือ สวนป่าสีกัน สำ�นักงานเขตดอนเมืองได้รับมอบจากกระ ทรวงมหาดไทย เมื่อวันที่14 กรกฎาคม 2540 และได้ ปรับปรุงสวนป่าสีกันให้เป็นสวนสาธารณะเพื่อการท่อง เที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และนันทนาการ สวนทุ่งสีกันได้ ทำ�การเปิดอย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2548


องค์ประกอบสวน สวนรมณีย์ทุ่งสีกันเป็นสวนสาธารณะอเนกประสงค์ที่เป็น ได้ทั้งสถานที่ออกกำ�ลังกายและสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สะพานไม้ ยาวที่ทอดตัวขนานริมน้ำ�ที่มีความสวยงามเผยให้เห็นถึงความร่ม รื่นภายในสวนแห่งนี้ ได้อย่าชัดเจน นอกจากนี้ยังได้จัดให้มีพื้นที่รอง รับกิจกรรมหลากหลายทั้งทางเดิน และวิ่ง เครื่องออกกำ�ลังกาย กลางแจ้งรวมถึงลานอเนกประสงค์ที่สามารถใช้เป็นจุดพักผ่อน และจัดกิจกรรมในโอกาสต่างๆ ด้วย 54


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 55

15 – 2 – 74 ไร่ ถนนเวฬุวนาราม แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง กรุงเทพมหานคร 10210 02-565-5510 05.00 – 21.00 น. สาย 29 59 187 356 ปอ.29 ปอ.510 ปอ.538 ปอ.555 ปอ.554



สวนสาธารณะบึงสีกัน ความเป็นมา เป็ น สวนสาธารณะสถานที่ พั ก ผ่ อ นหย่ อ นใจ และออกกำ�ลังกายของประชาชนที่พักอาศัยอยู่บริเวณ หมู่บ้านเมืองทองนิเวศน์ 1 และบริเวณใกล้เคียง ทั้งยัง เป็นบึงรับน้ำ�ในช่วงฤดูฝนเพื่อป้องกันปัญหาน้ำ�ท่วมใน บริเวณดังกล่าว โดยสวนดังกล่าวตั้งอยู่ภายในบริเวณ หมู่บ้านเมืองทองนิเวศน์ 1 ซอยแจ้งวัฒนะ 14 ถนน แจ้งวัฒนะ แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ ซึ่งเป็นที่ดิน ของเอกชนที่ ได้มอบให้สำ�นักงานเขตหลักสี่ ใช้เพื่อเป็น สาธารณประโยชน์ 3 ด้านของบึง เว้นด้านทิศตะวันออก


องค์ประกอบสวน สวนดังกล่าวมีพื้นที่ทั้งสิ้น 51 ไร่ ใช้เป็นพื้นที่ ในการ รองรับน้ำ� 40 ไร่ เป็นพื้นที่รอบบึง 11 ไร่ สำ�หรับการพัฒนา บึงสีกันนี้ ขานรับนโยบายกรุงเทพมหานคร : เมืองสุขภาพ ดี ผู้คนมีความสุข และกรุงเทพมหานคร : มหานครแห่งสิ่ง แวดล้อม 58


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 59

11 – 0 – 0 ไร่ ซอยแจ้งวัฒนะ 14 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร 10210 02-982-2081-2 05.00 – 21.00 น. สาย 52



สวนบึงกระเทียม

ความเป็นมา

สวนแห่ ง นี้ ส ภาพโดยทั่ ว ไปเป็ น บึ ง น้ำ � มี พื้ น ที่ 82 ไร่ แบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 จากถนนผ่าน กลางซอยรามอินทรา 78 ถึงถนนสุขาภิบาล 2 มีพื้นที่ ดิน 25 ไร่ และพื้นที่น้ำ� 15 ไร่ ส่วนที่ 2 จากถนน ผ่านกลางซอยรามอินทรา 78 ถึงถนนรามอินทรามี พื้นที่ดิน 20 ไร่ และพื้นที่น้ำ� 10 ไร่ ส่วนที่ 3 จาก ถนนผ่านกลางซอยรามอินทรา 78 ถึงคลองบางชัน มี พื้นที่ดิน 5 ไร่ และพื้นที่น้ำ� 7 ไร่ สำ�นักงานเขตมีนบุรี ได้ดำ�เนินการปรับปรุงสภาพพื้นที่เพื่อให้เป็นที่พักผ่อน หย่อนใจสำ�หรับประชาชน โดยดำ�เนินการตกแต่งปลูก ต้นไม้ และทำ�ทางเดินเท้าโดยรอบบริเวณ และได้ส่ง มอบให้กองสวนสาธารณะเพื่อดูแลบำ�รุงรักษาเป็นสวน สาธารณะอีกแห่งสำ�หรับการพักผ่อนหย่อนใจ เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 2539


องค์ประกอบสวน ภายในสวนมีการปลูกไม้ยืนต้นเป็นกลุ่มๆ เช่น กลุ่มนนทรี กลุ่มปีบ กลุ่มพญาสัตบรรณ กลุ่มหางนกยูงไทย ฯลฯ และไม้เลื้อย ต่างๆ เช่น การเวก ใบละนาด บานบุรีเลื้อย และเป็นส่วนหนึ่งของโครงการแก้มลิง โดยสำ�นักระบายน้ำ�ดำ�เนินการสร้างคันดินกั้นน้ำ� เพื่อป้องกันน้ำ�ท่วม 62


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 63

82 – 0 – 34 ไร่ ถนนหม่อมเจ้าสง่างามสุประดิษฐ์ แขวงรามอินทรา เขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร 10510 05.00 – 21.00 น. -



ส วนสาธารณะ เฉลิมพระเกียรติ (สวนสายไหม)

ความเป็นมา สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา มหาราชา ตั้งอยู่ ในซอยสัยวัตร์ ถนนสายไหม เป็นสวน สาธารณะแห่งแรกของชาวสายไหม เริ่มการก่อสร้าง เมื่อปี พ.ศ.2542 เดิมมีลัษณะเป็นนาบัวและทุ่งนาข้าว ได้รับการปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อปี พ.ศ. 2555 หลัง จากเหตุการณ์น้ำ�ท่วมครั้งใหญ่ มีพื้นที่ขนาด 9 ไร่เศษ


องค์ประกอบสวน ใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สำ�หรับการออก กำ�ลังกาย โดยมีการปรับสถานที่และอุปกรณ์การออกกำ�ลัง กาย ลู่วิ่ง และสิ่งอำ�นวยความสะดวกต่างๆ ให้ทันสมัยมาก ขึ้นอีกทั้งบรรยากาศร่มรื่นเย็นสบายมี ไม้ดอกไม้ประดับ ไม้ ยืนต้น และไม้ ใบนานาชนิด มีทั้งฝูงปลาและบึงบัวบานให้ ชื่นชม ประชาชนสามารถใช้เป็นที่พักผ่อน ออกกำ�ลังกาย

66


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 67

9 – 2 – 86 ไร่ ซอยสัยวัตร์ ถนนสายไหม เขตสายไหม กรุงเทพมหานคร 10220 02-158-7350 05.00 – 21.00 น. สาย ปอ.1009



สวนกีฬารามอินทรา ความเป็นมา พื้นที่เดิมของสวนกีฬารามอินทราเป็นที่ทิ้งขยะ และโรงงานกำ � จั ด ขยะมู ล ฝอยของสำ � นั ก รั ก ษาความ สะอาด (ปัจจุบันคือสำ�นักสิ่งแวดล้อม) หลังจากที่งดทิ้ง ขยะแล้วจึงได้นำ�ดินมาถมกลบที่ทิ้งขยะในพื้นที่ 32 ไร่ ต่อมาในปี 2532 สำ�นักงานสวนสาธารณะได้เข้าทำ�การ ปลูกต้นไม้เพื่อให้มีลักษณะเป็นสวนป่า และปลูกเพิ่มอีก ครั้งตามโครงการปลูกสวนป่าเฉลิมพระเกียรติพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในวโรกาสทรงครองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี ในปี 2539 หลังจากนั้น กรุงเทพมหานคร ได้ยกเลิกโรงงานกำ�จัดขยะมูลฝอย ซึ่งมีบริเวณพื้นที่อีก 27 ไร่ พร้อมทั้งปรับปรุงให้เป็นสวนสาธารณะและลาน กีฬา ในปี 2543 และเปิดให้บริการอย่างทางการเมื่อ วันที่ 26 ธันวาคม 2548


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะที่ ได้ออกแบบมารองรับสำ�หรับประชาชนที่ จะพักผ่อนหย่อนใจ และออกกำ�ลังกาย พายในสวนสาธารณะแห่ง นี้จะประกอบด้วย สระน้ำ� และได้ปรับปรุงพัฒนาปลูกต้นไม้ ไม้ ดอก และไม้ประดับ ดังเช่น สวนสาธารณะทั่วไป สิ่งอำ�นวยความ สะดวกในสวนฯ มีศาลาที่พัก, ห้องสุขา, ลานกีฬา, ไฟฟ้าแสงสว่าง และ ยามรักษาความปลอดภัย 70


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 71

59 – 0 – 36 ไร่ ถนนรามอินทรา ซอย 5 แขวงรามอินทรา เขตบางเขน กรุงเทพมหานคร 10220 02-552-8044 05.00 – 21.00 น. สาย 26 95 150 554



สวนวชิรเบญจทัศ ความเป็นมา สวนวชิรเบญจทัศ หรือชื่อเดิมคือ สวนรถไฟ ในสมัยพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ดำ�รงตำ�แหน่งนายก รัฐมนตรี คณะรั ฐ มนตรี ไ ด้ ม ี ม ติ เมื ่ อ วั น ที ่ 2 มกราคม 2534 และวั น ที ่ 29 มกราคม 2534 ให้ จ ั ดสร้าง สวนสาธารณะบนพื้นที่ “สนามกอล์ฟรถไฟ” ที่ดินของ การรถไฟแห่งประเทศไทย กระทรวงคมนาคม ส่วนแรก 140 ไร่ ให้สร้างเป็นสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ส่วนที่เหลือ 375 ไร่ กรุงเทพมหานครรับมอบที่ดินจาก กระทรวงคมนาคม เมื่อวันที่ 5 พฤศจิกายน 2541 และ จ่ายค่าชดเชยให้การรถไฟฯ จำ�นวน 555 ล้านบาท และเริ่มเข้าปรับปรุงพื้นที่สนามกอล์ฟเดิมเมื่อวันที่ 23 เมษายน 2542 กรุงเทพมหานครได้ขอพระราชทาน นามสวนแห่ ง นี้ จ ากสมเด็ จ พระบรมโอรสาธิ ร าชฯ สยามมกุฎราชกุมาร และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามว่า “สวนวชิรเบญจทัศ” เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2545


องค์ประกอบสวน พื้นที่เปิดโล่งกว้างและเขียวขจี มีเนินหญ้าสลับกับพื้นราบกว้าง และมีเส้นทางสำ�หรับปั่นจักรยาน สวนสาธารณะแห่งนี้ ถูกสร้างขึ้นในแนวคิดของสวนแห่งครอบครัว จะเดินชมธรรมชาติ วิ่งออกกำ�ลังก็ ได้ มีอุทยานผีเสื้อและแมลงกรุงเทพฯ จัดภูมิทัศน์ งดงามด้วยน้ำ�ตก ธารน้ำ�และมวลไม้ดอก มีศูนย์กีฬาให้บริการด้านสถานที่ และอุปกรณ์กีฬาศูนย์เยาวชนให้บริการด้านกิจกรรม นันทนาการรูปแบบต่างๆ สวนป่าในเมือง รวบรวมพันธุ์ไม้เพื่ออนุรักษ์ต้นไม้ขนาดใหญ่อายุนับร้อยปีที่ถูกรุกรานจากการพัฒนาเมือง ให้มามีชีวิตใหม่ ใน “ป่าสาธิต” แห่งนี้ นำ�เสนอกิจกรรมศึกษาธรรมชาติ จำ�ลองระบบนิเวศน์ของป่าไว้ ให้เรียนรู้ เมืองจราจรจำ�ลอง เพื่อสร้างจิตสำ�นึกในการเคารพกฎจราจรให้แก่เด็กและเยาวชน 74


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 75

375 – 0 – 0 ไร่​่ ถนนกำ�แพงเพชร 3 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 02-537-9221 04.30 – 21.00 น. สาย 3 8 26 27 28 29 34 38 39 44 55 63 90 96 104 112



สวนสาธารณะสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์

ความเป็นมา

ในปี 2534 คณะรัฐมนตรี ได้มีมติให้มีการจัด สร้างขึ้น โดยมอบให้กระทรวงคมนาคมจัดสร้างบนที่ดิน ของการรถไฟแห่ ง ประเทศไทยด้ า นทิ ศ ใต้ ข องสนาม กอล์ฟรถไฟ เพื่อน้อมเกล้าฯ ถวายในวโรกาสมหามงคล เฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรม ราชินีนาถครบ 5 รอบ ในวันที่ 12 สิงหาคม 2535 มูลนิธิสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เป็นผู้รับไปดำ�เนินการ โดยในส่วนการหาทุนสมทบ และทุนในการดูแสวนระยะ ยาวได้รับการสนับสนุนจากส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ ในสังกัดกระทรวงคมนาตม และหน่วยงานเอกชน ซึ่ง โครงการแล้วเสร็จมีพิธีเปิด เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม 2539 ต่อมาได้ส่งมอบให้กรุงเทพมหานครดูแลตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2538


องค์ประกอบสวน สวนพฤกษศาสตร ์ลักษณะที่กำ�หนดสำ�หรับสวนสมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ เพื่อต้องการพัฒนาให้เชื่อมโยงต่อเนื่อง ทั้ ง ลั ก ษณะทางภายภาพและสุ น ทรี ย สั ม ผั ส กั บ สวนรถไฟและ สวนจตุจักรที่อยู่ติดกัน นำ�มาซึ่งพื้นที่สีเขียวในเมืองที่กว้างไพศาล คืนธรรมชาติสู่สิ่งมีชีวิต และสร้างคุณค่าต่อสิ่งแวดล้อมในนามของ “อุทยานเพื่อการเรียนรู้” โดยนำ�เสนอแนวคิดหลักในการเป็น “สวนพฤกษศาสตร์” ที่สมบูรณ์แห่งหนึ่งในประเทศไทย

78


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 79

196 – 3 – 65 ไร่​่ ถนนกำ�แพงเพชร 2 แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900 02-272-4374 05.00 – 19.00 น. สาย 77 104 122 136 145 ปอ.23 ปอ.138



สวนนวมินทร์ภิรมย์ ความเป็นมา สวนแห่ ง นี้ มี ที่ ม าจากโครงการพระราชดำ� ริ ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เพื่อจุดประสงค์หลัก ในการเป็นบึงรับน้ำ�ของกรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน 2530 จนในปี 2539 ได้มอบให้กองสวน สาธารณะเป็นผู้ดูแล มีการพัฒนาขยายพื้นที่ส่วนที่อีก 260 ไร่ สร้างเป็นสวนป่า 1 ใน 9 แห่ง ตามโครงการ สวนป่ากทม. เพื่อเฉลิมพระเกียรติในวโรกาสที่พระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี ในชื่อว่า “สวนน้ำ�บึงกุ่ม” ต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น “สวนเสรี ไทย” และมีพิธีเปิดเป็นทางการเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2540 ซึ่งตรงกาบวันครบรอบ 52 ปี แห่งวัน สันติภาพไทย


องค์ประกอบสวน เป็นบึงน้ำ�ขนาดใหญ่เป็นเอกลักษณ์ เต็มไปด้วยพันธุ์ไม้ และร่มเงาไม้ ใหญ่เรียงรายเป็นทิวแถว สร้างความสงบร่มเย็น เหมาะแก่การออกกำ�ลังกาย หรือนั่งชมทิวทัศน์ธรรมชาติริมบึง การออกแบบสวนสาธารณะต้องการถ่ายทอดออกมาเป็นภาพ เพื่อความพึงพอใจแก่ผู้ ใช้สวน พร้อมตกแต่งเพิ่มจุดที่หน้าสนใจ ความเป็นธรรมชาติให้เกิดขึ้นภายในสวนสาธารณะ ทำ�ให้เกิด จินตนาการกว้างไกลแก่ผู้มาพักผ่อนในสวนสาธาณะณะได้ดีิ พื้นที่ โดยรวม ส่วนใหญ่จะเน้นความเป็นธรรมชาติ อุดมด้วยไม้ ดอกไม้ประดับอวดสีสันสวยงามหลากหลายชนิด 82


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 83

350 – 0 – 0 ไร่​่ ถนนเสรี ไทย แขวงคลองกุ่ม เขตบึงกุ่ม กรุงเทพมหานคร 10230 02-378-7884 04.30 – 21.00 น. สาย 27 109 151 ปอ.502



สวนพฤกษชาติคลองจัน่ ความเป็นมา

สวนพฤกษชาติคลองจั่น เป็นศูนย์กลางในการ ผักผ่อนหย่อนใจและออกกำ�ลังกายชาวกรุงในย่านใกล้ เคียงตั้งแต่ปี พ.ศ.2521 กิจกรรมภายในสวนพฤกษชาติ คลองจั่น เช่น วิ่งออกกำ�ลังกาย, รำ�มวยจีน, เต้น แอโรบิค, แบดมินตัน และ เล่นเปตองปรับปรุง - ลู่วิ่ง ออกกำ�ลังกายรอบสวน จากเดิม 1.50 เมตร เป็น 2.50 เมตร


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะที่ ได้ออกแบบมารองรับสำ�หรับ ประชาชนที่จะพักผ่อนหย่อนใจ และออกกำ�ลังกาย พาย ในสวนสาธารณะแห่งนี้จะประกอบด้วย สระน้ำ� และได้ ปรับปรุงพัฒนาปลูกต้นไม้ ไม้ดอก และไม้ประดับ ดังเช่น สวนสาธารณะทั่วไป สิ่งอำ�นวยความสะดวกในสวนฯ มี ศาลาที่พัก, ห้องสุขา, ลานกีฬา, ไฟฟ้าแสงสว่าง และ ยามรักษาความปลอดภัย 86


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 87

34 – 0 – 0 ไร่​่ ถนนนวมิทร์ ซอยนวมิทร์14 แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพมหานคร 10240 02-378-1612 06.30 – 20.30 น. สาย 95 150 191



สวนวังทอง

ความเป็นมา

สำ�นักงานเขตวังทองหลาง ได้ทำ�การพัฒนา ปรับปรุงที่ดิน สวนสาธารณะวังทอง 1 และสวนชาน บ้านวังทอง 2 โดยปลูกต้นไม้และตกแต่งสวนให้เป็น สวนสาธารณะและลานกีฬาอเนกประสงค์เปิดใช้ตั้งแต่ ปี 2542 อย่างไรก็ตามเพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายใน การเพิ่มพื้นที่สีเขียวของผู้ว่าราชการกทม. โดยการขอ ใช้หรือเช่าพื้นที่ว่างของเอกชนในราคาถูกเพื่อจัดทำ�เป็น สวนชานบ้าน (mini park) สำ�นักงานเขตฯจึงได้ดำ�เนิน การปรับปรุงสวนสาธาณะวังทอง 2 ให้มีลักษณะและ รูปแบบของสวนชานบ้าน โดยพื้นที่ดังกล่าวมีทั้ง ลาน อเนกประสงค์ สวนสุขภาพสำ�หรับออกกำ�ลังกาย และ มุมพักผ่อนหย่อนใจ


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะแห่งนี้ เป็นแนวความคิดในการออก แบบสวนให้มีความร่มรื่น เน้นความเป็นธรรมชาติเป็นหลัก ในการมาผ่อนหย่อนใจและใช้เป็นสถานที่ออกกำ�ลังกายซึ่ง ภายในสวนมีการปลูกพันธุ์ไม้ชนิดต่างๆ อีกทั้งไม้ดอกไม้ประ ดับ มีสีสันสวยงาม

90


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 91

1 – 0 – 41 ไร่ ถนนลาดพร้าว เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310 02-538-5350 05.00 – 19.00 น. สาย 96 145



ความเป็นมา จากการก่อสร้างสะพานพระราม 8 ข้ามแม่น�ำ ้ เจ้าพระยาเพื่อที่จะเชื่อมต่อถนนวิสุทธิกษัตริย์กับถนน อรุณอัมรินทร์ อันเป็นส่วนหนึง่ ของโครงการพระราชดำ�ริเพือ่ บรรเทาปัญหาการจราจรภายในพื้นที่กรุงรัตนโกสินทร์ ให้ระบายออกสู่ย่านธนบุรี ให้สะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้นและ เนื่อ งจากพื้น ที่ริม น้ำ� บริ เ วณนี้เ ป็ น พื้น ที่ท่ีมีคุณ สมบั ติ เฉพาะตัวในหลายๆ ด้าน เป็นพื้นที่ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่มี บรรยากาศและทิวทัศน์งดงาม สามารถมองเห็นสิง่ ก่อสร้าง ทีม่ คี วามสำ�คัญทางประวัตศิ าสตร์ของกรุงรัตนโกสินทร์ที่ อยู่ฝั่งตรงข้ามได้หลายแห่ง เช่น ป้อมพระสุเมรุ วังบาง ขุนพรหม ยอดอาคารโดมของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสะพานพระปิน่ เกล้า สามารถพัฒนาให้เกิดภูมทิ ศั น์ทด่ี ี แห่งใหม่ของการสัญจรในแม่น�ำ้ เจ้าพระยา ทัง้ การสัญจรบน สะพานพระราม 8 กรุงเทพมหานครได้เริม่ โครงการสร้าง สวนเฉลิมพระเกียรติรชั กาลที่ 8 ในพืน้ ทีบ่ ริเวณเชิงสะพาน พระราม 8 ริมแม่น�ำ้ เจ้าพระยาบริเวณฝัง่ ธนบุรี เพือ่ ถวาย เป็นราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานัน ทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยูห่ วั รัชกาลที่ 8 แห่งราชวงศ์จกั รี เพือ่ ให้ประชาชนได้ถวาย ความเคารพและเป็นสถานทพักผ่อนหย่อนใจ ต่อมาสวนแห่ง นี้ ได้รบั พระมหากรุณาธิคณ ุ พระราชทานนามจากพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ว่า “สวนหลวงพระราม 8”


องค์ประกอบสวน ภายในสวนมีร่มรื่นของต้นไม้และสายน้ำ� ประกอบด้วยพระบรมราชานุสาวรีย์รัชกาลที่ 8 เป็นพระบรมราชานุสาวรีย์ของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล พระอิริยาบถทรงยืน ประดิษฐานบนแท่นที่ความสูงระดับเดียวกันกับราวสะพาน และ้ ภายใต้พระบรมราชานุสาวรีย์เป็นอาคารอเนกประสงค์ พื้นที่นันทนาการริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา เป็นพื้นที่ดาดแข็งตลอดแนวเพื่อรองรับ การใช้งานและเป็นเขื่อนป้องกันน้ำ�ท่วม มีศาลาพักผ่อน และท่าเทียบเรือ พื้นที่สวนติดกับคลองบางยี่ขันและพื้นที่สวนสาธารณะติด กับพื้นที่ ใต้สะพานพระราม 8 โดยมีอาคารพระบรมราชานุสาวรีย์เป็นส่วนกั้น แต่สามารถเชื่อมต่อกันได้ด้วยการเดิน ใช้เป็นพื้นที่ สำ�หรับการพักผ่อนหย่อนใจ ออกกำ�ลังกายหรือเล่นกีฬา รวมทั้งสามารถใช้เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมการแสดงต่าง ๆ ด้วย 94


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 95

24 – 0 – 0 ไร่​่ ถนนอรุณอัมรินทร์ แขวงบางยี่ขัน เขตบางพลัด กรุงเทพมหานคร 10700 02-465-5009 05.00 – 21.00 น. สาย 57 81 149



สวนยอดแขม

ความเป็นมา

สวนยอดแขม เป็นสวนสาธารณะขนาดเล็กพืน้ ที่ เดิมเคยเป็นสถานีสูบน้ำ� เป็นจุดที่มีภูมิทัศน์สวยงาม โดย เป็ น จุ ด ที่ ค ลองทวี วั ฒ นาเชื่ อ มต่ อ กั บ คลองภาษี เ จริ ญ ต่ อ มาสถานีสบู น้�ำ แห่งนี้ ได้ ย้ า ยไปอยู่ที่ ส ถานี สู บ น้ำ � มหา สวัสดิ์ จึงกลายเป็นพื้นที่ว่างเปล่า ทางกรุงเทพมหานคร จึงทำ�การปรับปรุงให้เป็นสวนสาธารณะ สวนสุขภาพ สวนนันทนาการเพื่อให้ประชาชนได้ ใช้เป็นที่พักผ่อนออก กำ�ลังกายและการจัดกิจกรรมต่ างๆ โดยที่มาของชือ่ สวน ยอดแขมได้ ตั้ ง ขึ้ น เพื่ อ เป็ น เกี ย รติ ป ระวั ติ แ ก่ น ายยอด อ่ อ นโอภาส นายอำ � เภอคนแรกของเขตหนองแขม ประกอบกับชือ่ เขตซึง่ แต่เดิมพื้นที่ ในบริเวณนี้ มีต้นแขมขึ้น อยู่ริมหนองน้ำ�เป็นจำ�นวนมากเมื่อวันที่ 7 มกราคน พ.ศ. 2553 “สวนยอดแขม” ได้จัดพิธีเปิดอย่างเป็น ทางการ


องค์ประกอบสวน กรุงเทพมหานครได้ทำ�การปรับปรุงให้เป็นสวน สาธารณะ สวนสุขภาพ สวนนันทนาการ เพื่อที่จะต้อง การให้ประชาชนทั่วๆ ไปใช้พื้นที่ของสวนเพื่อการพักผ่อน ออกกำ�ลังกาย มี ไม้ดอกไม้ประดับ สวยงาม สวนอยู่ติด ริมถนน และมีคลองขนาบสองด้าน คือคลองทวีวัฒนา และคลองภาษีเจริญ โดยเฉพาะบริเวณด้านหลังที่ติดกับ คลองภาษีเจริญมีต้นไม้ ใหญ่หนาแน่นส่วนใหญ่เป็นต้นสัก มีต้นไทรกับต้นหว้าช่วยเรียกนกอยู่ 2-3 ต้น ในอนาคต กรุงเทพมหานครมีแผนที่จะพัฒนาสวนยอดแขมให้เป็น แหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ของฝั่งธนบุรี โดยได้จัดทำ�เป็น ตลาดน้ำ�ในวันเสาร์และอาทิตย์ เพื่อต้อนรับนักท่องเที่ยว

98


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 99

3 – 0 – 39 ไร่ ถนนเพชรเกษม ซอยเพชรเกษม 69 แขวงหนองค้างพลู เขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 10160 02-421-0939 06.30 – 20.30 น. -



สวนทวีวนารมย์ ความเป็นมา กรุ ง เทพมหานครเช่ า พื้ น ที่ ข องห้ า งหุ้ น ส่ ว น จำ�กัด สวนพฤกษศาสตร์ กรุงเทพเทพมหา จำ�นวน 110 ไร่ โดยทำ�สัญญาเช่าและจดทะเบียนเป็นระยะเวลา 30 ปีตั ้ ง แต่ เ ดื อ นกุ ม ภาพั น ธ์ 2545 สำ � นั ก สิ ่ ง แวดล้ อ ม ได้เข้าปรับปรุงเพื่อเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจและใช้ทำ� กิจกรรมต่างๆของประชาชนฝั่งธนบุรี เสมือนเป็นสนาม หลวงแห่งที่ 2 โดยแบ่งพื้นที่ออกเป็น 2 ส่วน คือ พื้นที่ ตลาดนัดธนบุรี และปรับปรุงเป็นสวนสาธารณะ สำ�นัก วัฒนธรรม กีฬาและการท่องเทีย่ วได้เข้าดำ�เนินการปรับปรุง พืน้ ที่ จำ�นวน 3 ไร่ ให้เป็นศูนย์เยาวชนทวีวนารมย์ ส่วน พื้นที่ที่เหลืออีก 16 ไร่ เป็นทีท่ �ำ การฝ่ายอำ�นวยการ ตลาดนัดและศูนย์ ไอที และเปิดให้บริการ อย่างเป็น ทางการเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2548


องค์ประกอบสวน สวนแห่งนี้สร้างขึ้นเพื่อให้ประชาชนใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ภายในจึงมีองค์ประกอบสวนที่หลากหลายเพื่อรองรับ กิจกรรมต่างๆ ของประชาชน อาทิ ลานศิลปะ ลานอเนกประสงค์ สนามเด็กเล่น สวนสุขภาพ สนามบาสเกตบอล และทางวิ่ง ทางเดิน นอกจากนี้ภายในสวนยังมีสะพานเชื่อมต่อไปยังสวนมะพร้าว ซึ่งยังคงบรรยากาศความร่มรื่นเดิมไว้ทุกประการ อีกทั้งยังได้ เพิ่มทางเดินและเก้าอี้นั่งพักผ่อนสำ�หรับประชาชนผู้ ใช้บริการอีกด้วย นับจากสวนธนบุรีรมย์ พร้อมทำ�การจัดภูมิทัศนปรับปรุงสนาม หญ้าและปลูกต้นไม้ ใหญ่ ตลอดจนไม้ดอกไม้ประดับเพื่อให้บรรยากาศภายในสวนมีความร่มรื่นสวยงามสมกับเป็นสวนสวยแห่งใหม่ 102


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 103

51 – 0 – 0 ไร่ ถนนเลียบคลองทวีวัฒนา แขวงทวีวัฒนา เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร 10170 02-487-3199 05.00 – 21.00 น. สาย 91ก 165



สวนสาธารณะ

เฉลิมพระเกียรติ ร.6 ความเป็นมา

สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ ร.๖ แห่งนี้ เกิดขึ้นจากความร่วมมือ ระหว่างกระทรวงมหาดไทย การทางพิเศษแห่งประเทศไทย และกรุงเทพมหานคร เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวใน วโรกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 โดยการทางพิเศษแห่งประเทศไทย มอบที่ดิน และส่วนประกอบอื่นในบริเวณเชิงสะพาน พระราม 9 ฝั่งพระนครและฝั่งธนบุรีรวม 52 ไร่ ให้แก่ กรุงเทพมหานคร เพื่อจัดสร้างสวนสาธารณะโดยได้รับ การสนับสนุนจากกระทรวงมหาดไทย หน่วยงานภาครัฐ และเอกชนซึ่งสร้างเสร็จพร้อมเปิดบริการ เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2543


องค์ประกอบสวน สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ ได้รับการออกแบบอย่างน่าสนใจสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ริมแม่น้ำ�เจ้าพระยา โดยการนำ�ปรากฏการณ์ธรรมชาติเข้ามาเป็นองค์ประกอบของสวนได้อย่างลงตัวในลักษณะ Waterfront park ภาพรวมของสวน แบ่งเป็น 2 ส่วน โดยมีแม่น้ำ�เจ้าพระยาเป็นแนวกั้นกลางตามธรรมชาติช่วยเพิ่มทิวทัศน์ที่งดงาม จึงกลายเป็นจุดชม วิวธรรมชาติของแม่น้ำ�เจ้าพระยาที่มีเสน่ห์ ในแบบโลกตะวันออก ซึ่งพื้นที่บางส่วนความเจริญทางวัตถุยังเอื้อมไม่ถึงบริเวณริมน้ำ� ของสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติฯ จัดไว้เพื่อการพักผ่อนในบรรยากาศธรรมชาติที่ผ่อนคลาย สงบนิ่ง ท่ามกลางความร่มรื่น งดงาม ของพั น ธุ ์ ไม้ เ ขี ย วชอุ ่ ม และสายลมเย็ น พั ด พากลิ่นไอธรรมชาติที่สดชื่นสร้างความรู้สึกในการกลั บ เข้ า สู ่ ธ รรมชาติ ที ่ เ ป็ น ความ ต้องการอย่างแท้จริงของชีวิตคนเมืองปัจจุบัน 106


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 107

29 – 0 – 0 ไร่ เชิงสะพานพระราม 9 เขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร 10120 02-289-1578 05.00 – 21.00 น. สาย 22 89 205



สวนธนบุรีรมย์ ความเป็นมา บริเวณที่ตั้งสวนสาธารณะแห่งนี้เคยเป็นสวน ผลไม้และทุ่งหญ้ามาก่อน โดยเฉพาะสวนส้มบางมดที่ ขึ้นชื่อ สำ�หรับที่ดิเป็นกรรมสิทธิ์ของสำ�นักงานทรัพย์สิน ส่วนพระมหากษัตริย์ แต่กรุงเทพมหานครเป็นผู้เช่าทำ� ประโยชน์ โดยในปี 2503 ผู้บริหารกรุงเทพมหานครใน ขณะนั้น คือ นายชำ�นาญ ยุวบูรณ์ ได้มีนโยบายปรับปรุง สถานที่แห่งนี้เป็น “สถานที่เพาะชำ�ต้นไม้บางมด”เพราะ ความเหมาะสมในด้านที่ตั้ง และความอุดมสมบูรณ์ของ ดินและน้ำ� จนในปี 2511 พระยามไหศวรรย์ นายก เทศมนตรี นครธนบุรี ได้เห็นความเหมาะสมของพื้นที่ จึงดำ�เนินการปรับปรุงให้เป็นสวนสาธารณะเพื่อการพัก ผ่อนของประชาชน ในย่านฝั่งธนบุรี และเปลี่ยนชื่อเป็น “สวนธนบุรีรมย์”


องค์ประกอบสวน สวนธนบุรีรมย์ มีเอกลักษณ์ที่ความร่มรื่นในบรรยากาศชานเมืองที่สัมผัสได้ถึงกลิ่นไอแห่งธรรมชาติแม้ปัจจุบันขบวนการ แห่งความเจริญของเมืองจะยึดครองบริเวณโดยรอบให้เปลี่ยนการใช้ที่ดินจากเกษตรกรรมเข้าสู่การพักอาศัยในรูปตึกแถว อาคารชุด แต่บรรยากาศความสงบ ร่มเย็น เขียวขจีด้วยกลุ่มไม้ยืนต้น และสวยสดด้วยสีสันของดงไม้ดอก ตกแต่งด้วยซุ้มไม้เลื้อยอ่อนหวานตาม ทางเดินที่ลัดเลาะตามริมสระน้ำ�ที่ทอดตัวคดเคี้ยว ปลูกบัววิกตอเรีย และบัวหลายพันธุ์ไว้ ให้ชม รวมทั้งเสียงนกร้องที่สร้างชีวิตชีวา ยังคงอยูค่ สู่ วนสาธารณะเก่าแก่ของฝัง่ ธนบุรแี ห่งนี้ ไม่เปลีย่ นแปลง โดยเฉพาะในยามเช้าตรูท่ อี่ ากาศบริสทุ ธิส์ ดชืน่ ภาพของผูเ้ ดินทางมา ออกกำ�ลังกายอย่างเนื่องแน่นจะมี ให้เห็นเป็นกิจวัตรทุกวัน แสดงถึงความต้องการใช้ส่วนหนึ่งของชีวิตประจำ�วันเพื่อกลับสู่ธรรมชาติ ของประชาชน ในอนาคตสวนธนบุรีรมย์จะพัฒนาเป็น “สวนสมุนไพรเมืองร้อน” พืชพันธุ์ที่เป็นมรดกจากภูมิปัญญาพื้นบ้านของคน ไทยที่น่าสนใจศึกษา 110


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 111

63 – 1 – 20 ไร่ ถนนพุทธบูชา แขวงบางมด เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร 10140 02-426-3210 05.00 – 21.00 น. สาย 21 75 88 ปอ.21 ปอ.พ.20



สวนหย่อมรอบพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินฯ ความเป็นมา พื้นที่สีเขียวบริเวณรอบพระบรมราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสิน มีขนาดพื้นที่ 9 ไร่ จัดเป็นสวน สาธารณะประเภท 7 หรือสวนเฉพาะทาง พระบรม ราชานุสาวรีย์ สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช มีขนาด ความสูงจากยอดพระมาลามาถึงเท้าม้า 9 เมตร สร้าง ขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2496 ในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม ทางราชการได้ประกอบพระราชพิธเี ปิด และถวายบังคม พระบรมราชาอนุสาวรีย์ ครั้งแรกเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2497 และในวันที่ 28 ธันวาคม 2497 จึงมีรัฐพิธีเปิด เป็นทางการอีกครั้งหนึ่งโดยพระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เสด็จพระราชดำ�เนินทรงวาง พวงมาลา ถวายราชสักการะวันที่ 28 ธันวาคม 2310 เป็นวันที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช กอบกู้เอกราช ชาติ ไทยกลับคืนมาได้หลังจากการเสียกรุงครั้งที่สอง ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงธนบุรี ทางราชการจึงกำ�หนดให้วันที่ 28 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันถวายบังคมพระบรมราชาอนุสาวรีย์ สมเด็จพระ เจ้าตากสินมหาราช จะมีพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณ ของพระองค์ ที่พระบรมราชานุสาวรีย์ วงเวียนใหญ่


องค์ประกอบสวน กรุงเทพมหานครได้ปรับเปลี่ยนภูมิทัศน์วงเวียน ใหญ่ด้วยไม้ดอกไม้ประดับเป็นสวนหย่อมให้แลดูสวยงาม ขึ้น มีการติดตั้งไฟส่องพระบรมราชานุสาวรีย์ ในช่วงเวลา กลางคืน ในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2548 และมีอุโมงค์ คนเดินจากทางเท้าเข้าไปถึงวงเวียนและตัวพระบรมราชา นุสาวรีย์ได้ แล้วเสร็จในเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2551 บริเวณโดยรอบพระบรมราชาอนุเสาวรีย์เป็นพื้นที่สำ�หรับ ทำ � กิ จ กรรมเช่ น พิ ธี ว างพวงมาลาในวั น ถวายบั ง คมของ ทุกปี 114


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 115

9 - 0 - 0 ไร่ ถนนสมเด็จพระเจ้าตากสิน ถนนประชาธิปก (ถนนลาดหญ้า ถนน อินทรพิทักษ์ ถนนวงเวียนใหญ่) ธนบุรี กรุงเทพมหานคร 10600 02-465-0025 4.30 - 21.00 น สาย 3 7 20 42 43 84 89 103



สวนป่าวิภาวดี รังสิต ความเป็นมา สวนสาธารณะแห่ ง นี้ ตั้ ง อยู่ บ ริ เ วณด้ า นหน้ า สำ�นักงานเขตดินแดงถนนวิภาวดี - รังสิต สวนสาธารณะ แห่ ง นี้ จั ด เป็ น สวนสาธารณะที่ มี บ รรยากาศโปร่ ง โล่ ง เหมาะสำ�หรับการมานั่งรับลมเย็นๆ โดยคนแถวนี้มักใช้ ที่ นี่ เ ป็ น จุ ด นั บ พบเพราะอยู่ ติ ด กั น กั บ ป้ า ยรถเมล์ ห รื อ ตอนเย็นๆ ก็มักจะมีคนมาวิ่งออกกำ�ลังกายเพื่อสุขภาพ กัน เปิดอย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2537 มีระยะ ทางประมาณ 280 เมตร


องค์ประกอบสวน ภายในสวนแห่งนี้ประกอบไปด้วยไม้ยืนต้นขนาดใหญ่หลากหลายชนิด สนามเป็นสนามหญ้าสำ�หรับเดินเล่น มีที่นั้งสำ�หรับนั้ง พักผ่อน ภายในสวนสาธารณะเป็นทางเดินเท้าสำ�หรับเดินและวิ่งออกกำ�ลังกาย บริเวณรอบๆ สวนติดถนนทั้ง 3 ด้าน ด้านที่ติดถนน จัดเป็นสวนหย่อมเล็กๆ บางจุดปลูกไม้ประดับเป็นรั้ว เป็นระยะนับว่าเป็นทัศนียภาพที่สวยงามเหมาะสำ�หรับเข้ามานั่งพักผ่อน หรือ เป็นจุดนัดพบ 118


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 119

8 – 0 – 0 ไร่ ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงดินแดง เขตดินแดง กรุงเทพมหานคร 10400 02-246-8514 05.30 – 20.00 น. สาย 12 13 24 36 69 92 107 138 168 187 514 529 555



สวนพรรณพิรมย์ ความเป็นมา การทางพิเศษแห่งประเทศไทย ซึ่งเป็เจ้าของ พื้นที่ ใต้ทางพิเศษศรีรัช บริเวณต่างระดับถนนพระราม ที่ 9 ตัดกับถนนประดิษฐ์มนูธรรมให้การสนับสนุนพื้นที่ ร่วมกับกรุงเทพมหานครจัดโครงการเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริ กิ ติ์ พ ระบรมราชิ นี น าถให้ ก รุ ง เทพมหานครดำ� เนิ น โครงการปลูกต้นไม้เจ็ดล้านสองแสนต้นเพื่อเฉลิมพระ เกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนา เนื่อง ในวโรกาสที่ทรงมีพระชนมายุครบ 72 พรรษา ส่วน การทางพิเศษแห่งประเทศไทยดำ�เนินโครงการปลูกต้น ราชพฤกษ์เฉลิมพระเกียติพระบาทสมเด็พระเจ้าอยู่หัว และโครงการปรับปรุงทัศนียภาพบริเวณตามแนวเส้น ทางจราจรของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย โดยให้ จัดโครงการปลูกไม้มงคลประจำ� 76 จังหวัดเอาไว้


องค์ประกอบสวน สวนพรรณภิรมย์เป็นสวนสาธารณะทีน่ �ำ การจัดสวนแนวตัง้ มาเป็นองค์ประกอบสวนได้อย่างชัดเจน โดยใช้เสาทางด่วนเป็นพืน้ ที่ จัดสวนเพื่อลดความแข็งกระด้างของสิ่งก่อสร้าง อีกทั้งเป็นการใช้ประโยชน์จากพื้นที่อย่างเต็มที่ นอกจากนั้นภายในสวนยังมีการ ปลูกต้นไม้มงคลพระราชทานประจำ�จังหวัด เพื่อเป็นแหล่ง เรียนรู้ทางธรรมชาติให้ ได้ศึกษากันด้วย รวมทั้งยังมีสนามบาสเก็ตบอล สนามตะกร้อ สนามเด็กเล่น ลานอเนกประสงค์ อุปกรณ์ออกกำ�ลังกายและยังมีลานนวดฝ่าเท้า ซึ่งทุกพื้นที่ภายในสวนพรรณภิรมย์ พร้อมให้บริการสำ�หรับผู้รักการออกกำ�ลังกายและรักสุขภาพจะได้ผ่อนคลายความเมื่อยล้าจากการทำ�งาน รวมทั้งยังใช้เป็นสถาน ที่พักผ่อนหย่อนใจด้วย

122


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 123

52 – 1 – 69 ไร่ ถนนพระราม 9 แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 02-537-8939 05.00 – 21.00 น. สาย 137 168



สวนเบญจกิติ ความเป็นมา

ด้วยคณะรัฐมนตรี ได้มมี ติเมือ่ วันที่ 24 ธันวาคม 2534 เห็นชอบในหลักการให้ย้ายโรงงานยาสูบไปอยู่ ส่วนภูมิภาคและพัฒนาพื้นที่ โรงงานยาสูบเดิมให้เป็น สวนสาธารณะโดยให้กระทรวงการคลังเป็นหน่วยงาน ผู้รับผิดชอบและเป็นแกนกลางร่วมกับสำ�นักผังเมือง กรุ ง เทพมหานครและหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งจั ด ทำ � รายละเอี ย ดแผนแม่ บ ทในการพั ฒ นาพื้ น ที่ โรงงาน ยาสู บ ให้ เ ป็ น สวนสาธารณะคณะรั ฐ บาลเห็ น ควรเข้ า ร่วมโครงการเทิดพระเกียรติโดยทูลเกล้าฯ ถวายสวน สาธารณะแห่งนี้ในวาระดังกล่าวในการนี้ สมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชิน ีน าถทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานชื่อสวนสาธารณะแห่งนี้ว่า “สวนเบญจกิติ” และประธานพิธีเปิดสวน เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2547 ต่อมากรุงเทพมหานครได้รับมอบสวนเบญจกิติจากกรม ธนารักษ์กระทรวงการคลังให้อยู่ ในความรับผิดชอบ ตั้งแต่วันที่ 1 มิถุนายน 2551


องค์ประกอบสวน สวนเบญจกิติ ได้ออกแบบภายใต้แนวคิด ป่ารักษ์น้ำ� ทั้งนี้ เพื่อเชื่อมโยงเข้ากับพื้นที่ด้านหลังซึ่งถูกกำ�หนดให้เป็นสวนป่า ที่จำ�ลองลักษณะทางธรรมชาติของป่าไม้ ในภูมิภาคต่างๆ ของประเทศไทยปลูกไม้ดอกไม้ประดับที่ออกดอกในช่วงเดือนต่างๆ ด้วย พื้นที่ของสวนแห่งนี้จึงมีความสวยงามตระการตาด้วยดอกไม้นานาชนิดที่ผลัดเปลี่ยนหมุนเวียนกันออกดอกตลอดปีและด้วยการ ออกแบบที่มุ่งเน้นให้เป็นสวนน้ำ�แห่งแรกของกรุงเทพมหานคร พื้นที่ 2 ใน 3 จำ�นวน 86 ไร่ บริเวณด้านหน้าสวนจึงถูกสร้างให้เป็น บึงน้ำ�ขนาดใหญ่ นอกจากนั้นภายในสวนยังมีพื้นที่ ใช้สอยประกอบด้วย ลานเบญจกิติ ลานองค์พระ ลานการแสดงกลางแจ้ง สวน สุขภาพ สนามเด็กเล่น ทางเดิน ลู่วิ่ง ทางจักรยาน ศาลาพักผ่อน และลานจอดรถ 126


พื้นที่ ที่ตั้ง เบอร์ โทรศัพท์ / โทรสาร เวลาเปิดให้บริการ รถโดยสารประจำ�ทาง 127

130 – 0 – 0 ไร่​่ ถนนรัชดาภิเษก เขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร 10110 02-254-1263 04.30 – 21.00 น. สาย 136 179


อาจารย์ที่ปรึกษา นายฐาปนนท์ อ่อนศรี สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

ประวัติผู้จัดทำ� นายปราณันต์ ปานชนะ รหัส52110130 ศศบ.521(4)/13A สาขาวิชาศิลปกรรม (ออกแบบนิเทศศิลป์) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม


ข้อมูลอ้างอิง -

หนังสือสวนสวรรค์ของชาวกรุง Paradise Parks of Bangkok กรุงเทพมหานคร เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องของสำ�นักงานสวนสาธารณะและสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร การสอบถามข้อมูลกับประชาชนที่อาศัยในบริเวณรอบๆ สวนสาธารณะ การสัมภาษณ์และสอบถามข้อมูลทางโทรศัพท์จากสำ�นักงานเขต สำ�นักงานสวนสาธารณะและสิ่งแวดล้อม กรุงเทพมหานคร การบันทึกข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ของสวนสาธารณะนั้นๆ คู่มือแหล่งเรียนรู้ เรื่อง ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม




www.bangkok.go.th/publicpark/


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.