Dfd สินค้าคงคลัง

Page 1

รายงานการวิเคราะหระบบ แผนภาพกระแสขอมูล (Data Flow Diagram : DFD)

นายประภัสสร วัฒนากูล รหัสนักศึกษา 5842040703

วิทยาลัยอาชีวศึกษาสุพรรณบุรี ปริญญาตรี คอมพิวเตอรธุรกิจ


บทนํา ความเปนมาและความสําคัญของปญหา ลักษณะงาน เปนโรงงานขนาดเล็กทําการผลิตและจําหนายสินคา(ขายสง) กรรมวิธีการผลิตใช เครื่องจักรอิเล็กทรอนิกสกับแรงงานคน คนงาน 90% เปนแรงงาน การจําหนายสินคาเปนการขายสง โดยกลุมลูกคาจะเปนพอคาคนกลางขนาดใหญ เมื่อลูกคาสั่งซื้อ สินคาก็จะขนสงสินคาไปใหเปนลักษณะสินคาที่ผลิตกอนจะขายกอน ระบบงานที่เขาไปศึกษา คือ ระบบการจัดการสินคาคงคลัง เมื่อทําการผลิตสินคาและบรรจุสินคาลงในกลองเล็ก กลองละ 1 โหลเรียบรอยแลว คนงานจะขน สินคาบรรจุลงในหีบใหญอีกครั้งหนึ่ง ปริมาณหีบละ 120 โหล โดยขางหนากลองจะระบุ วัน เดือน ปที่ ผลิตลงไปดวย จากนั้นจะลําเลียงไปเก็บไวในโกดังเพื่อรอการจําหนายตอไป โดยมีวิธีจัดเรียงสินคา คือ สินคาที่ผลิตกอนจะถูกจัดเรียงไวดานนอก และสินคาที่ผลิตทีหลังจะจัดเก็บไวดานในตอๆกันไปตามลําดับ ในการเช็คสตอกสินคาใชระบบ manual คือ ใชคนในการจดบันทึกสินคาคงคลังในแตละวัน และ นําไปรายงานตอฝายผลิตตอไป การวิเคราะหระบบ 1. เนื่องจากสินคาเปนสินคาที่มีวันหมดอายุ (ผลิตกอนขายกอน) การจัดเรียงสินคาในลักษณะ ดังกลาว ทําใหประหยัดเวลาในการคนหาสินคา งายและสะดวกในการคนหา 2. การบรรจุสินคาลงในหีบใหญ ทําใหสามารถเพิ่มพื้นที่ในการจัดเก็บและการสูญหายหรือ เสียหายของสินคามีปริมาณนอย 3. การเช็คสตอกสินคาแบบนี้ยังไมมีประสิทธิภาพพอ การจดขอมูลอาจผิดพลาดได ความลาชา เสียเวลา และอาจสูญหายของขอมูล


Contex Diagram


ภData Flow Diagram Level 0


Data Flow Diagram Level 1 Process 1


Data Flow Diagram Level 1 Process 2

ความสามารถของระบบใหม -

ประหยัดเวลาและแรงงานคนที่ใชในการตรวจเช็คสินคา สามารถเก็บขอมูลอยางเปนระบบ งายและสะดวกตอการคนหา ประหยัดทรัพยากรกระดาษในการจดบันทึกขอมูล สินคาจะไมขาดตลาดและไมมีสินคาตกคาง


หลักการสราง DFD ที่ดี

การสราง DFD ของระบบงานจะใชหลักการของการเขียนแบบโครงสรางจากบนลงลาง หรือ จาก ระบบใหญไปสูระบบยอย ผูสราง DFD จะตองทราบถึงหนวยงานที่เกี่ยวของกับระบบทั้งหมด ลักษณะการ เคลื่อนไหวของขอมูล และการจัดการเก็บขอมูลของระบบตางๆ สรุปขั้นตอนการเขียนแผนภาพกระแสขอมูลมีสาระสําคัญ คือ 1. กําหนดสิ่งที่อยูภายนอกทั้งระบบทั้งหมด และหาวาขอมูลอะไรบางที่เขาสูระบบหรือออกจาก ระบบที่เราสนใจสูระบบที่อยูภายนอก ขั้นตอนนี้สําคัญมากเพราะจะทําใหทราบขอบเขตของ ระบบนัน้ มีอะไรบาง 2. ใชขอมูลที่ไดจากขั้นตอนที่1 นํามาสราง DFD ตางระดับ 3. ขั้นตอนถัดมาอีก 4 ขั้นตอนโดยใหทําทั้ง 4 ขั้นตอนนี้ซ้ําๆหลายๆครั้ง จนกระทั่งได DFD ระดับ ต่ําสุด 4. เขียน DFD ฉบับแรก กําหนด โพรเซสและขอมูลที่ไหลออกจากโพรเซส 5. เขียน DFD อื่นๆที่เปนไปไดจนกระทั่งได DFD ที่สมบูรณแบบ เลือก DFD ที่เห็นวาดีที่สุด 6. พยายามหาขอผิดพลาดมีอะไรหรือไม นําขอผิดพลาดไปตรวจสอบกับผูใชระบบเพื่อหาวามี แผนภาพใดไมถูกตองหรือไม 7. ผลิตแผนภาพฉบับสุดทายทั้งหมด


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.