Book สัมมนา ปักกิ่ง : การเชื่อมโยงศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์ 22112557

Page 1


หลักสูตรการจัดการทางวัฒนธรรม รุ่นที่ 8 บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย www.macmthai.grad.chula.ac.th Facebook : Cultural-management พฤศจิกายน 2557



13.00 – 13.30 น. 13.30 – 13.35 น. 13.35 – 13.40 น. 13.40 – 13.45 น. 13.45 – 13.50 น. 13.50 – 13.55 น. 13.55 – 14.35 น.

14.35 – 14.45 น. 14.45 – 15.30 น.

15.30 – 15.40 น. 15.40 – 15.45 น. 15.45 – 16.00 น. 3

กำหนดการ

ลงทะเบียน การบรรเลงกู่เจิ้งระหว่างการลงทะเบียน พิธีกรกล่าวต้อนรับ ตัวแทนนิสิตหลักสูตรการจัดการวัฒนธรรม รุ่นที่ 8 กล่าวรายงาน ผู้อำนวยการหลักสูตรกล่าวเปิดงาน การแสดงชุดที่ 1: จีน-ไทยไมตรี นำชมวิดีทัศน์ภาพรวม บรรยายพิเศษโดยวิทยากรรับเชิญภายใต้หัวข้อ “ปักกิ่ง: การเชื่อมโยงศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์” วิทยากร - นายฉิน อวี้เซิน ที่ปรึกษาอาวุโส ศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศจีน ณ กรุงเทพฯ ดำเนินรายการโดย ร.อ. บุณยฤทธิ์ ฉายสุวรรณ และนางสาวปฐมาภรณ์ จริยวิทยานนท์ พักรับประทานอาหารว่าง พร้อมชมการแสดง ชุดที่ 2: ระบำจีน ชุดจาซีเตอเล่อ การอภิปรายโดยตัวแทนนิสิตภาพรวมของการเชื่อมโยง ศิลปวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์วัฒนธรรมในปักกิ่ง • แนวนโยบายทางวัฒนธรรม • การพัฒนาการท่องเที่ยวในปักกิ่ง • การสื่อความหมาย • การจัดการสถานที่และผู้เข้าชม • การพัฒนาผลิตภัณฑ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัย สรุปประเด็นองค์ความรู้ที่เกิดจากการสัมมนาทางวิชาการ พิธีปิดการสัมมนา

** หมายเหตุ กำหนดการอาจเปลี่ยนแปลงไดตามความเหมาะสม **


โครงการประชุมสัมมนาดานการจัดการทางวัฒนธรรม ภายใตหัวขอ “ปกกิ่ง : การเชื่อมโยงศิลปวัฒนธรรมสูงานสรางสรรค” เปนกิจกรรมสวนหนึ่งในรายวิชา ๒๐๐๘๕๐๔ สัมมนาการจัดการทางวัฒนธรรม ประจำภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา ๒๕๕๗

หลักการและเหตุผล เนื่องดวยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม (การเรียน การสอนทางไกล/ภาษาไทย) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ซึ่งเปนหลักสูตรปริญญา มหาบัณฑิตที่จัดการเรียนการสอนในระบบ (Flexible learning) โดยมีวัตถุประสงคเพื่อผลิต มหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถดานการจัดการทางวัฒนธรรม มีความสามารถในการประยุกต ดานความรูดานการจัดการทางวัฒนธรรม เพื่อประกอบอาชีพทางการทองเที่ยวทางวัฒนธรรม การ จัดเทศกาล การจัดนิทรรศการ การจัดการหอศิลป การจัดการพิพิธภัณฑ และการจัดการแสดง ในภาคการศึกษาปลาย ปการศึกษา ๒๕๕๗ ไดเปดใหมีการเรียนการสอนในรายวิชา ๒๐๐๘๕๐๔ สัมมนาการจัดการทางวัฒนธรรม เพื่อใหนิสิตของหลักสูตรมีประสบการณและความรู ในดานการจัดการสัมมนา และนำความรูท ไ่ี ดจากการศึกษาไปประยุกตใชในการทำงานตอไปในอนาคต จึงจัดใหมีกิจกรรมเสริม โดยกำหนดใหนิสิตจัดงานประชุมสัมมนาดานการจัดการทางวัฒนธรรม ภายใตหัวขอ “ปกกิ่ง : เชื่องโยงศิลปวัฒนธรรมสูงานสรางสรรค” จีน เปนประเทศหนึ่งที่มีอารยธรรมยาวนาน มีเรื่องราวทางประวัติศาสตรที่หยั่งรากลึก และมีศิลปวัฒนธรรมที่โดดเดนเปนเอกลักษณ ในชวงที่ผานมาประวัติศาสตรจีนมีทั้งชวงที่เปน ปกแผนและแตกแยกเปนหลายอาณาจักรสลับกัน ไป ในบางครั้งก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น วัฒนธรรมของจีนจึงมีอิทธิพลอยางสูงตอชาติอื่นๆ ในทวีปเอเชีย ซึ่งถายทอดไปทั้งการอพยพ การคาและการยึดครอง จนมาถึงในชวงที่ประเทศจีนเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานการปกครอง ครั้งสำคัญ ปกกิ่ง หรือ เปยจิง Beijing เมืองหลวงของสาธารณรัฐประชาชนจีน เปนศูนยกลางทาง การเมื อ ง เศรษฐกิ จ การศึก ษา วิทยาศาสตรแ ละวัฒนธรรมของจี น โดยมี ส ถานที ่ ส ำคั ญทาง ประวัตศิ าสตรมากมาย เชน จตุรสั เทียนอันเหมิน กำแพงเมืองจีน พระราชวังฤดูรอ น พระราชวังกูก ง หรือพระราชวังตองหาม เปนตน ปจจุบันปกกิ่งกลายเปนศูนยกลางทางการเมือง วัฒนธรรม วิทยาศาสตร การศึกษาและ เขตศูนยทางกลางทางการคมนาคมทั่วประเทศ อีกทั้งยังเปนเมืองทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงดึงดูด นักทองเที่ยวทั้งในประเทศและตางประเทศ โดยเฉพาะหลังศตวรรษที่ ๒๐ เมืองปกกิ่งไดพัฒนา เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว สงผลใหปจจุบันนี้ปกกิ่ง มีถนนที่สลับกับตึกสูงๆ และบานเมืองใน รูปแบบสมัยโบราณ เปนการผสานกับเมืองใหมที่มีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีกับความขลัง ของวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาของบรรพบุรุษไดอยางลงตัว

4


และดวยความนาสนใจในมิติทางสังคมและวัฒนธรรมของปกกิ่ง ประกอบกับการพัฒนาดาน อุตสาหกรรมทองเที่ยวที่ชัดเจน ไมวาจะเปนนโยบายทางดานวัฒนธรรม การสงเสริมดานการทองเที่ยว และการพัฒนารูปแบบดานการบริหารจัดการอยางเปนระบบ จนสามารถทำใหเกิดการพัฒนาผลิตภัณฑ ทางวัฒนธรรม จึงเกิดการศึกษาดูงานและนำความรูที่ไดจากการศึกษาดูงานมาจัดงานสัมมนาและ แลกเปลี่ยนความรูทางดานการจัดการวัฒนธรรมระหวางกัน โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนิสิตระดับ ปริญญาโท รวมถึงผูทรงคุณวุฒิทางดานวัฒนธรรมจากหนวยงานตางๆ บุคคลที่เกี่ยวของและบุคคล ทั่วไปที่สนใจ ไดแลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการจัดการทางวัฒนธรรม อันจะชวยพัฒนาองคความรู ดานการจัดการทางวัฒนธรรมของประเทศ ตลอดจนเปนการประชาสัมพันธหลักสูตรฯ ใหเปนที่รูจัก อยางกวางขวางอีกดวย

บทนำ

“ความฝนของจีน (Zhong guo meng)” เปนคำกลาวของ ประธานาธิบดี สีจน้ิ ผิง ผูน ำรุน ที่ 5 ของจีน ประกาศเมือ่ ครัง้ ขึน้ ดำรงตำแหนง เลขาธิการพรรคคอมมิวนิสตจนี ขณะเยีย่ มชมนิทรรศการ “หนทางสูค วาม เจริญรุงเรือง” ที่พิพิธภัณฑแหงชาติจีน กรุงปกกิ่ง โดยกลาววา “ขณะนี้ทุกคนกำลังถกเถียงถึงความฝนของจีน ผมเห็นวา ชนชาติจีนฟนฟูความเจริญรุงเรืองที่ยิ่งใหญ ก็คือ ความฝนที่ยิ่งใหญ ของชนชาติจีน” โดยมีเปาหมายชัดเจนวา “ประเทศจีนตองบรรลุ เปาหมายสังคมพออยูพอกินอยางทั่วถึงใหได .... เปนประเทศที่มี ความทันสมัยในระบอบสังคมนิยม มีความเขมแข็งฯ (ในดานตาง ๆ) …ชนชาติจีนเปนชนชาติผานความยากลำบากมา …ประวัติศาสตรจีน หลายชวงสะทอนวา ชนชาติจีนสามารถสรางความยิ่งใหญ สราง ความเจริญรุง เรือง ทำใหประเทศจีนเปนศูนยกลางของโลกได ขอเพียง แตพวกเรามีความใฝฝน ทีย่ ง่ิ ใหญ มีความเลือ่ มใสศรัทธาทีแ่ นวแนและ ปฏิบัติอยางจริงจัง เราสามารถทำใหความฝนที่สวยงามของจีนกลาย เปนจริงอยางแนแท”


ขอความขางตนเปนเสมือนสัญญาณที่แสดงใหเห็นชัดวา นโยบายสำคัญ ของจีนตอไป คือการผลักดันใหเกิดการฟนฟูประเทศจีนครั้งใหญอีกครั้ง กระตุน เตือนใหคนจีนกลาทีจ่ ะฝน เพือ่ นำไปสูก ารพัฒนาประเทศจีนอยางยัง่ ยืน โดยนัยยะคือ เปนผูนำโลกทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเศรษฐกิจ การคา วัฒนธรรม และการทหาร นั่นเอง สิ่งที่สังเกตไดอยางเดนชัดคือ วัฒนธรรม เปนปจจัยอยางหนึ่งที่สีจิ้นผิง (หรือประเทศจีน) ไดใหความสำคัญเทียบเทากับปจจัยดานอื่น ๆ ในการ สรางประเทศใหเปนไปตามฝน ซึ่งดวยองคประกอบตาง ๆ ไมวาจะเปน เรือ่ งของ ประวัตศิ าสตร สังคม ความเปนมหาอำนาจ ฯลฯ ทำใหประเทศจีน มีศักยภาพมากพอที่จะนำเอาวัฒนธรรมเปนจุดขายหรือสวนหนึ่งในการ ปลุกเราและกระตุน ใหคนจีนไดกา วสูค วามฝนตอไปได สวนหนึง่ ทีเ่ ห็นไดจาก ความพยายามของรัฐบาลกลางในการสงเสริมใหประชาชนในชาติใหมา เรียนรูหรือไดเห็นในประวัติศาสตรของตนเองในรูปแบบของการทองเที่ยว ซึ่งถือเปนกลุมเปาหมายหลักมากกวาจะเปนนักทองเที่ยวจากชาติอื่นๆ “กรุงปกกิ่ง” เปนตัวอยางอันดีในการทำ “ตลาดทางวัฒนธรรมผาน การทองเทีย่ ว” อยางเปนระบบ มีสถานทีท่ อ งเทีย่ วทางธรรมชาติ สถาปตยกรรม วัฒนธรรม การแสดง อาหารการกินและขนบธรรมเนียม ฯลฯ และวัฒนธรรม มากเพียงพอที่จะเห็นนโยบายและวิสัยทัศนของการบริหารจัดการทางดาน วัฒนธรรมของประเทศจีน การพัฒนา “กลยุทธ” ในการสรางความเชือ่ มโยง ของ “หวงโซคุณคา (Value Chain)” การสรางเรื่องราว (Story) ใหกับ “สินคาทางวัฒนธรรม” ทำใหเสนหข องประเทศจีนเปนทีน่ า สนใจแกคนทัว่ ไป อยางยิ่ง

6


นับตั้งแตจีนปฏิวัติวัฒนธรรม 30 ปที่ผานมา สังคมจีนคอย ๆ เปลี่ยนแปลงไป จนมาในปจจุบัน เห็นถึงความแตกตางจากเดิมตรงทีจ่ นี มีความเจริญ รุง เรืองทางเศรษฐกิจ ความกินดีอยูด ขี น้ึ ของประชาชน จากการเปดประเทศรับสิ่งตางๆ จากตางชาติมา ประยุกตใชใหเขากับระบบสังคมนิยมจีน เห็นไดชัด “ปักกิ่ง : การเชื่อมโยงวัฒนธรรมสู่งานสร้างสรรค์” ในภาคการตลาดและการเงินที่เปดกวางมากขึ้น มีการพัฒนาการเมืองอยางคอยเปนคอยไป โดยยึด หลักการพื้นฐานไปในแนวทางเดียวกันตั้งแตสมัย ประธานเหมา เจอตุง จนถึงผูน ำยุคปจจุบนั รวมทัง้ การที่จีนมีแนวนโยบายใหวัฒนธรรมจีนกลมกลืน กับวัฒนธรรมโลก การใช soft power ดำเนิน ความสัมพันธกับตางประเทศ และนำวัฒนธรรมที่ ยอดเยีย่ มของชนชาติตา ง ๆ ในจีนมาสรางวัฒนธรรม ของประเทศใหแข็งแกรง สิ่งเหลานี้ชวยสนับสนุน ให เ กิ ด ตลาดวั ฒ นธรรมและอุ ต สาหกรรมทาง วัฒนธรรมที่คอย ๆ เจริญเติบโตรุงเรืองขึ้น และจะ เปนสิง่ ทีท่ ำใหประเทศชาติมคี วามมัน่ คงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ทั้งภายในประเทศ และระดับ โลก

แนวนโยบาย ทางวัฒนธรรม

7


ปจจัยทีส่ รางแนวนโยบายทางวัฒนธรรมจีน ประกอบดวย ภูมศิ าสตรของประเทศ เมืองหลวง ประชาชน ชนชาติตาง ๆ ในประเทศ ระบอบ การปกครองแบบสังคมนิยม กรุงปกกิง่ เปนเมืองหลวง ที่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและ สังคมอยางยิ่ง ดวยทั้งการวางผังพื้นที่ ประชากร ทั้งคนจีนจากทั่วประเทศ และชาวตางชาติที่มาอยู อาศัย มีสถานที่สำคัญทางประวัติศาสตรการเมือง “เขตศูนยกลางทางธุรกิจของกรุงปกกิ่ง” (Beijing Central Business District – CBD) หลายแหง เชน กำแพงเมืองจีน พระราชวังฤดูรอ น ที่มา : paow007.wordpress.com มีแผนพัฒนาการใชพื้นที่เขตตาง ๆ ในปกกิ่ง เชน เขตเมืองเกา ดานวัฒนธรรมและความสัมพันธระหวางประเทศ เขตศูนยกลางเศรษฐกิจระดับนานาชาติ เขตอุตสาหกรรมการผลิตและการเกษตรสมัยใหม เขตอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรน้ำ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12 ของจีน ไดระบุถงึ การสืบสาน สรางสรรค และผลักดันการพัฒนาวัฒนธรรมใหเจริญรุงเรืองยิ่งขึ้น ยืนหยัดในแนวทางของการพัฒนาวัฒนธรรม สังคมนิยมทีก่ า วหนา สืบสานวัฒนธรรมจีนสรางวัฒนธรรมสมานฉันท พัฒนากิจการเกีย่ วกับวัฒนธรรม และธุรกิจวัฒนธรรม

การออกแบบชุมชนเมือง ที่มา : paow007.wordpress.com

กำแพงเมืองจีน ที่มา : haritawan.blogspot.com

แนวนโยบายทางวัฒนธรรม

8


นโยบายการฟ  น ฟู แ ละพั ฒ นาทาง วัฒนธรรมของจีน เชน การอนุรักษซอมแซม สถานที่ทางประวัติศาสตร มีการพัฒนาระบบ การจั ด การทางวั ฒ นธรรม มี ส ถานที ่ จ ั ด การ ประชุมและแสดงผลงานทางศิลปวัฒนธรรม มีเขตศิลปะ เปนตน ทั้งนี้ การใช soft power ดานวัฒนธรรมภายในประเทศ ชวยสรางความ รั ก ชาติ ป ลู ก ฝ ง ค า นิ ย มแบบสั ง คมนิ ย มที ่ ด ี การแสดงศิลปะมวยไทย ในงาน Muay Thai Roadshow 2014 in China ภายนอกประเทศชวยใหจนี ไดมคี วามสัมพันธทด่ี ี ที่มา : thaiembbeij.org กับตางประเทศใน มิตติ า ง ๆ เพือ่ สรางพันธมิตร เพิ่มขึ้นในเวทีโลก เชน การจัดงาน Muay Thai Roadshow 2014 in China แนวนโยบายพัฒนาวัฒนธรรมของจีน ประสบความสำเร็จไปในระดับหนึ่ง เห็นไดจากการ ปรับปรุงพิพิธภัณฑสถานแหงชาติจีน ซึ่งเปนแหลงขอมูลความรูทางประวัติศาสตร ชวยสรางความ สามัคคีใหคนในชาติ ซึ่งชวยสืบสานและเผยแพรวัฒนธรรมประชาชนจีน การมีศูนยกลางศิลปะ แหงใหมเปนเวทีใหกลุมศิลปนรุนใหมไดมาแสดงผลงานและนำสูการแสดงในเชิงพาณิชยตาง ๆ นอกจากนี้จีนยังมีแนวนโยบายทางดานศิลปวัฒนธรรม ซึ่งชวยเกื้อกูลตอการสรางตลาดวัฒนธรรม และอุตสาหกรรมทางวัฒนธรรม แนวนโยบายทางวัฒนธรรมของจีน เกิดขึ้นจากความตองการสรางชาติใหเปนปกแผน มั่นคง ตองการใหคนรุนหลังไดภูมิใจในความเปนชาติจีน โดยใหประชาชนทุกคนเขาถึงแหลงขอมูล ความรูดานประวัติศาสตรในแงมุมตาง ๆ รวมทั้งสนับสนุนใหเกิดตลาดวัฒนธรรมและอุตสาหกรรม ทางวัฒนธรรมทีท่ จ่ี ะทำใหประเทศชาติมคี วามมัน่ คงทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมในระยะยาวตอไป

9

แนวนโยบายทางวัฒนธรรม


รู้จักปักกิ่ง ในแง่มุม ด้านการท่องเที่ยว

ปกกิ่ง หรือ เปยจิง มีความหมายวา เมืองหลวงทางตอนเหนือ ซึง่ มักจะถูกพูดถึง คู  ก ั บ หนานกิ ง อั น เป น เมื อ งหลวงทางใต ปจจุบันมหานครปกกิ่งเปนเมืองหลวงของ สาธารณรัฐประชาชนจีน เปนศูนยกลางการ ปกครองของจีนมาเปนระยะเวลาอันยาวนาน จึงมีมรดกทางศิลปวัฒนธรรมเปนจำนวนมาก ได แ ก โบราณสถาน แหล ง โบราณคดี โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ อาคารทางประวัตศิ าสตร ภูมทิ ศั นทางวัฒนธรรม รวมถึงขนบธรรมเนียม ประเพณี พิ ธ ี ก รรมทางศาสนา ภาษาพู ด ศิลปะการแสดง เปนตน

10


ปกกิ่ง : เมืองแหงการเชื่อมโยงประวัติศาสตร ศิลปวัฒนธรรม สูงานสรางสรรค เพื่อการทองเที่ยว ปกกิ่งเปนเมืองที่มากหลากหลายไปดวยมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่ไดรับการถายทอด สืบทอดมายังปจจุบัน เปนทรัพยากรทางวัฒนธรรมชั้นเลิศและมีคุณคาที่สามารถนำมาสรางใหเกิด ประโยชนดานการทองเที่ยวได เมื่อพิจารณาและวิเคราะหปกกิ่ง โดยแยกองคประกอบทางดานการ ทองเที่ยวจะพบวาปกกิ่งมีความพรอมในทุกดาน กลาวคือ

๑. ทรัพยากรทองเที่ยว(Tourism Resources) ปกกิ่งเปนเมืองหลวงของประเทศจีนมายาวนาน เปนศูนยกลางการปกครองอายุมากกวา ๖๐๐ ป มี ม รดกโลก ๖ แห ง ได แ ก กำแพงเมื อ งจี น พระราชวั ง โบราณกู  ก ง หอฟ า เที ย นถาน พระราชวังฤดูรอนอี๋เหอหยวน และโจวโขวเตี้ยน ซึง่ เปนสถานทีท่ ม่ี กี ารพบโครงกระดูก "มนุษยปก กิง่ " ป กกิ ่ ง เป น เมื อ งที ่ ม ี ม รดกโลกมากที่สุด ในโลก จึงถือเปนแรงดึงดูดที่ดี โดยเฉพาะนักทองเที่ยว ที่นิยมเที่ยวชมวัฒนธรรมและเพื่อสัมผัสวิถีชีวิต และชาติพันธุ ภายในกรุงปกกิ่งมีมรดกทางศิลปวัฒนธรรม ที่สำคัญมากมาย ไดแก พระราชวังตองหามหรือ กูก ง โบราณสถานแหงนีม้ คี ณ ุ คาทัง้ ทางสุนทรียภาพ และประวัติศาสตร ทางดานทิศใตของพระราชวัง พระราชวังตองหาม และที่นั่งพัก ตองหาม คือ จตุรัสเทียนอันเหมิน (Tiananmen Square) ซึ่งวากันวาเปนจตุรัสที่ใหญที่สุดในโลกและมีเรื่องราวเกี่ยวของกับประวัติศาสตรชาติมา โดยตลอด

11

รูจักปกกิ่งในแงมุมดานการทองเที่ยว


นอกจากนี้ กรุงปกกิ่งยังเปนที่ตั้งของพิพิธภัณฑ เปนจำนวนมาก ถือเปนศูนยกลาง การเรี ย นรู  ใ นด า นต า งๆ โดยเฉพาะการศึ ก ษาทางด า นศิ ล ปะ ประวั ต ิ ศ าสตร โบราณคดี พิพิธภัณฑที่สำคัญคือ พิพิธภัณฑศิลปะแหงชาติจีน (National Art Museum of China) พิ พ ิ ธ ภั ณ ฑ ก รุ ง ป ก กิ ่ ง (Capital Museum Beijing) และพิ พ ิ ธ ภั ณ ฑสถานแห ง ชาติ จ ี น (National Museum of China)

พิพิธภัณฑกรุงปกกิ่ง

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ จีน

พิพิธภัณฑศิลปะแหงชาติจีน ลักษณะเปนหอศิลปที่แสดงศิลปะรวมสมัย อยางไร ก็ตามก็ยังคงเนนอยูในกรอบวัฒนธรรมจีน ในขณะเดียวกันก็มี 789 Art Zone ซึ่งเปนศูนยรวม ของอารตแกลอรี่ รานคาที่จำหนายของใช ของที่ระลึก อันเปนผลิตผลจากการสรางสรรค งานศิลปะสมัยใหม และศิลปะที่ไดรับแรงบันดาลใจจากวัฒนธรรมจีน ที่เนนออกในรูปแบบ ศิลปะสมัยใหม และศิลปะประยุกต

พิพิธภัณฑศิลปะแหงชาติจีน

798 Art Zone

รูจักปกกิ่งในแงมุมดานการทองเที่ยว 12


สำหรับพิพธิ ภัณฑสถานแหงชาติจนี และพิพธิ ภัณฑกรุงปกกิง่ เปนพิพธิ ภัณฑทเ่ี นนการจัดแสดง โบราณวัตถุเพือ่ แสดงถึงอารยธรรมอันยิง่ ใหญของจีนในทุกยุคสมัย หากแตมคี วามแตกตางกันดวยวิธกี าร นำเสนอ โดยที่พิพิธภัณฑกรุงปกกิ่งจะเนนการนำรูปแบบการนำเสนอที่ทันสมัยกวา มีการแบงโซนเพื่อ การเรียนรู เชน หองเรียนวิธีการผลิตเครื่องปนดินเผา เปนตน ยานการคาเปนอีกทรัพยากรทองเทีย่ วทีส่ ำคัญของจีน โดยเฉพาะ ทีบ่ า นโบราณหนานลูก เู ซียง ซึง่ มีลกั ษณะเดนคือ เปนบานโบราณทีก่ อ สรางติดตอตอเนือ่ งกัน มีเอกลักษณของความงามของสถาปตยกรรม และคุณคาทางดานประวัติศาสตร แตในจีนไมมีเพียงยานการคาเกาเทานั้น ยังมีศูนยการคาสมัยใหมที่ เปนศูนยรวมของสินคาที่หลากหลาย ยานการคาทั้งสองประเภทมีสิ่งที่เหมือนกันที่นาสนใจคือ มีการ จำหนายสินคาทางวัฒนธรรมอันแสดงถึงวัฒนธรรมของจีน นอกจากนี้ปกกิ่งยังคงมีสีสันดวยการรักษาศิลปะการแสดงที่สรางแรงดึงดูดนักทองเที่ยวได อยางมากคือ การแสดงอุปรากรจีนหรืองิ้วใหนักทองเที่ยวชมโดยเฉพาะ

บานโบราณหนานลูกูเซียง

งิ้วปกกิ่ง

๒. การตลาดทองเที่ยว(Tourism Marketing) การทองเทีย่ วถือเปนอุตสาหกรรมสำคัญของจีน ซึง่ มีขนาดตลาดนักทองเทีย่ วภายในประเทศ ที่ใหญมาก สำหรับนักทองเที่ยวตางชาติจีนมีการสรางระบบการตลาดโดยหากนักทองเที่ยวซื้อทัวรผาน บริษัททัวร สามารถเขาชมพิพิธภัณฑหรือแหลงอนุสรณสถานไดฟรี แตกำหนดใหตองมีรายการนำ นักทองเที่ยวไปยังสถานที่ขายสินคาทางวัฒนธรรม หรือสินคาที่เปนเอกลักษณของจีนดวย

13 รูจักปกกิ่งในแงมุมดานการทองเที่ยว


พิพิธภัณฑและแหลงมรดกทางศิลปวัฒนธรรมที่สำคัญ จะมีการให บริการเชาอุปกรณ นำชม Audio Guide ปายบรรยายตางๆ จะมีทั้งภาษาจีนและภาษาอังกฤษ ภายในพิพิธภัณฑ และแหลงทองเที่ยวมีจุดพักและขายอาหารเครื่องดื่ม ตลอดจนขายของที่ระลึกเปนระยะรานคา ที่มีรัฐบาลเปนหุนสวนที่ถูกกำหนดใหอยูในรายการทองเที่ยวจะมีขอมูลของลูกคากอนเดินทางถึง ราน และมีการสรางความคุนเคยกับลูกคา เชน ใหการตอนรับดวยพนักงานที่สามารถพูดคุยภาษา เดียวกันกับลูกคา ถือเปนการตลาดที่นาสนใจ สินคาทางวัฒนธรรมมีความหลากหลาย เปนทั้ง ของที่ระลึก และสำหรับใชสอยได มีระดับราคาที่แตกตางกัน เพื่อใหนักทองเที่ยวตางสถานะ สามารถซื้อครอบครองได การตอรองราคา ไมนิยมลดราคา แตจะเนนใหเปนของแถมแทน

๓. นักทองเที่ยว (Tourist) นักทองเที่ยวซึ่งพบตามแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรมสวนใหญเปนคนจีน ดวยความ ภาคภูมิใจในอารยธรรมของชนชาติ และเปนการเรียนรูรากวัฒนธรรมของชาติตนเอง การจัด บริการสวนใหญจึงไมเนนเพื่อนักทองเที่ยวตางชาติมากนัก อยางไรก็ตามก็มีความพรอมการให บริการนำชมระบบ Audio Guide ดวย

๔. อุตสาหกรรมการทองเที่ยว (Tourism Industry) ถือวาเปนอุตสาหกรรมสำคัญของจีน และในอนาคตจีนจะผลักดันใหอุตสาหกรรมการ ทองเทีย่ วเปนอุตสาหกรรมหลัก อุตสาหกรรมการทองเทีย่ วในปกกิง่ ไดรบั การจัดระบบและผูกโยง เขากับนโยบายของจีนทีก่ ำหนดใหทวั รนำลูกทัวรไปยังรานคาทีข่ ายสินคาและบริการ เพือ่ เพิม่ การ จับจายของนักทองเที่ยว เกือบรอยเปอรเซ็นตนักทองเที่ยวตองทองเที่ยวตามแผนและเสนทางที่ ผูกำหนดนโยบายเกี่ยวกับการทองเที่ยวของจีนวางไว แมปจจุบันจะมีการแกไขใหมีทางเลือก มากขึน้ กลาวคือ นักทองเทีย่ วสามารถเลือกจายเงินมากขึน้ เพือ่ ทองเทีย่ วไดอสิ ระขึน้ คือ เขารานคา ที่กำหนดในจำนวนที่นอยลงไดก็ตาม

รูจักปกกิ่งในแงมุมดานการทองเที่ยว 14


การอนุรักษและพัฒนาเพื่อการทองเที่ยวในปกกิ่ง ปกกิ่งถือวาเปนเมืองที่ไดรับการวางผังอยางเปนระบบ ผนวกกับปกครองดวย ระบอบสังคมนิยมทำใหรัฐบาลสามารถควบคุมสิ่งกอสรางภายในเมืองไดอยางเด็ดขาด โดยเฉพาะโซนซึ่งเปนหัวใจของเมือง อันมีโบราณสถานสำคัญตั้งอยู การจัดระเบียบอาคาร ใกลเคียงโบราณสถาน การออกแบบภูมทิ ศั นของเมืองทีเ่ ผยใหเห็นความสงาและงดงามของ โบราณสถาน จะเห็นไดวาไมวา ถังขยะ เกาอี้สำหรับพัก อาคารรานคาขายของที่ระลึก ไดรับการออกแบบไมใหโดดเดนและสูงใหญเกินไปซึ่งอาจจะบดบังโบราณสถาน และโทน สีอาคารไมโดดเดนและขมโบราณสถาน มีการแบงโซน ชัดเจน ทำใหไมเกิดกรณีการกอสราง ทีก่ อ กวนโบราณสถาน และถือเปนตัวอยางทีด่ ใี นการอนุรกั ษเมืองเกาแหลงทองเทีย่ วในปกกิง่ โดยเฉพาะโบราณสถาน ไดรับการดูแลโดยหลักทางวิชาการในระดับหนึ่ง จะเห็นไดวามี การปกปองงานศิลปะจากการทองเที่ยว เชน ภายในพระราชวังตองหาม มีการปดทางเดิน ซึ่งมีลวดลายแกะสลักและทำทางเดินใหมใหกับนักทองเที่ยว มีการวางแผนการอนุรักษ โบราณสถานอยางตอเนื่อง แตสภาพการทองเที่ยวที่ไมมีการจำกัดจำนวนนักทองเที่ยว ทำใหโบราณสถานอยูในภาวะความเสี่ยงตอการเสียหาย ภายในบริเวณแหลงทองเที่ยวทางประวัติศาสตร มีการจัดแสดงโบราณวัตถุ ซึ่ง มีโอกาสเสียหายไดจากจับ สัมผัสและอุบัติเหตุ หากแตไมมีมาตรการในการดูแลปองกัน แตอยางใด บางจุดมีปา ยหามจับ สัมผัส แตบางจุดกลับไมมี หากจำเปนควรมีการแจงเตือน เพื่อเปนการปองกันโบราณวัตถุ พิพิธภัณฑตางๆ เปดใหบริการฟรีแกนักทองเที่ยว จุดประสงคอาจเพื่อเผยแพร ความยิ่งใหญของอารยธรรมจีน เปนการเปดใหโลกไดรับรูถึงความเปนมาของจีนจากอดีต จนถึงปจจุบนั ซึง่ ถือเปนนโยบายทีด่ ที ง้ั กับประชาชนคนจีนและนักทองเทีย่ วจากตางประเทศ แมวาบุคลากรที่ใหบริการในพิพิธภัณฑสวนใหญ จะไมสามารถสื่อสารกับนักทองเที่ยว ชาวตางชาติได แตกม็ กี ารใหบริการ Audio Guide หลากหลายภาษาเตรียมใหบริการไวดว ย สินคาที่จำหนายตามแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม แมจะมีความหลากหลาย แตหากเมื่อพิจารณาในรายละเอียดแลวจะเห็นวา เปนสินคาที่จำหนายในแตละแหงจะ คลายๆ กัน ทัง้ ๆทีแ่ หลงทองเทีย่ วแตละแหงมีคณ ุ คา มีงานศิลปะทีส่ ามารถนำมาสรางสรรค เปนสินคาและผลิตภัณฑไดโดยไมซ้ำ การพัฒนารูปแบบสินคาและนำอัตลักษณของแหลง ทองเที่ยว มาประยุกตใชในผลิตภัณฑจะเปนการสรางความประทับแกนักทองเที่ยวที่อาจ ประทับใจแหลงไดเปนอยางดี

15 รูจักปกกิ่งในแงมุมดานการทองเที่ยว


ปักกิ่ง : การสื่อความหมาย แหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม

หัวใจของการสื่อความหมายทางการ ทองเที่ยววัฒนธรรม คือ การทำหนาที่สื่อ ความหมายนัยทีส่ ำคัญใหผชู มเกิดความสนใจ เห็นคุณคาและความสำคัญในแหลงมรดก วั ฒ นธรรมนั ้ น ๆ เพิ ่ ม มากขึ ้ น อี ก ทั ้ ง ให ผูมาเยือนไดมีโอกาสในการเรียนรูสิ่งตางๆ ทีเ่ ชือ่ มโยงความสัมพันธกบั พืน้ ที่ งายตอการ เขาใจถึงสิ่งแวดลอม วัฒนธรรม วิถีชีวิต หรือสิง่ ตางๆ ทีต่ อ งการถายทอดใหนกั ทองเทีย่ ว ไดรบั รูแ ละใหนกั ทองเทีย่ วเกิดความเพลิดเพลิน โดยเปาหมายของการสื่อความหมายเปนไป เพื่อกระตุนใหเกิดการกระทำในทางบวก โดยผานขัน้ ตอนการเรียนรู (learning) เพือ่ ใหเกิดความรูส กึ (emotion) และพฤติกรรม (behavior) อันพึงประสงคทั้งในระหวาง การทองเที่ยวและหลังการทองเที่ยว และ บรรลุตามวัตถุประสงค ดังนี้ ๑. เพือ่ การศึกษา ๒. เพือ่ ความบันเทิง ๓. เพือ่ การอนุรกั ษและพัฒนาอยางยัง่ ยืน ๔. เพือ่ สรางจิตสำนึกใหกบั ประชาชน ๕. เพือ่ สรางคุณคาเพิม่ เติมใหกบั โบราณสถาน

16


จากการเดินทางไปตามแหลงทองเที่ยวและแหลงการเรียนรูทางวัฒนธรรมของเมืองปกกิ่งนั้น การสื่อความหมายของแตละที่ลวนมีกลวิธีที่แตกตางกันไป ในความแตกตางนั้นมีเสนแบงชัดเจน ที่แบงการสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวปกกิ่งออกเปน ๒ ลักษณะ คือ การสื่อความหมายของ แหลงทองเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรม และการสื่อความหมายของแหลงทองเที่ยวที่จัดแสดง ผลงานดานศิลปวัฒนธรรม

การสื่อความหมายของแหลงทองเที่ยวมรดกทางวัฒนธรรม

๑.๑ แหลงทองเที่ยวที่มรดกทางวัฒนธรรมที่นำเสนอ โดยใชแนวคิดเรื่องความเปนของแท (Authenticity) และความครบถวน (Integrity) ของมรดกทางวัฒนธรรม กล า วคื อ พยายามคงสภาพและบู ร ณะสถานที ่ ใ นอยู  ใ น สภาพเดิมมากที่สุด ไมวาเรื่องของการออกแบบ รวมถึง ลักษณะองคประกอบที่แสดงถึงการออกแบบทางศิลปกรรม สถาปตยกรรม วิศวกรรม และประโยชนการใชสอย ไดแก พระราชวังตองหาม พระราชวังฤดูรอนอี๋เหอยูเหวียน ๑.๒ การสื่อความหมายของแหลงทองเที่ยวมรดกทาง วัฒนธรรมที่นำเสนอโดยใชแนวคิดการรักษาการเสื่อม สภาพของเมือง แนวคิดนี้เกิดจากการคัดคานการกอสราง ตอเติมโบราณสถานดวยการออกแบบใหม เปนแนวคิด ของกลุมที่คัดคานการบูรณะ (Anti-Restoration) ที่ไม ต อ งการให เ กิ ด การเปลี ่ ย นแปลงใดใดกั บ โบราณสถาน ในฐานะที ่ เ ป น หลั ก ฐานสำคั ญ ทางโบราณคดี และทาง ประวัติศาสตร ตัวอยางเชน พระราชวังหยวนหมิงหยวน

พระราชวังตองหาม

พระราชวังฤดูรอนอี๋เหอยูเหวียน

พระราชวังหยวนหมิงหยวน

17 ปกกิ่ง :

การสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม


การสื่อความหมายของสถานที่จัดแสดงผลงานดานศิลปวัฒนธรรม

2.1 การสื่อความหมายของสถานที่จัดแสดง ศิลปวัฒนธรรมทีน่ ำเสนอผานวัตถุโบราณ หรือผลงาน ในอดีตที่เก็บรักษาไวจวบจนปจจุบัน 2.2 การสื่อความหมายของสถานที่จัดแสดง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมที ่ น ำเสนอผ า นวั ต ถุ ห รื อ ศิ ล ปะที่ รังสรรคขึ้นมาใหมจากศิลปนยุคปจจุบัน

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติจีน

พิพิธภัณฑสถานแหงชาติจีน

พิพิธภัณฑหลวง

798 Art Zone

(Capital Museum)

การแสดงอุปรากรจีน (งิ้ว) ณ โรงละคร Liyuan Theatre

นอกจากกลวิธีการนำเสนอเพื่อถายทอดความหมายใหกับผูเยี่ยมชมดังกลาวขางตนแลว สื่อที่นำมาใชนั้นก็ถือเปนสวนสำคัญอยางมากที่จะทำใหผูเยี่ยมชมเขาใจความหมายที่จะสื่อนั้น ซึ่งแตละที่มีสื่อที่ใชประกอบกระบวนการสื่อความหมายแตกตางกันไปดังนี้ ซึ่งแตละสื่อ แตละกลวิธีนั้น • พิพิธภัณฑหลวง (Capital Museum) จะสั ม ฤทธิ ์ ผ ลมากน อ ยเพี ย งใด สถานที่ • 798 Art Zone • การแสดงอุปรากรจีน (งิ้ว) ย อ มขึ ้ น อยู  ก ั บ หลายป จ จั ย ไม ว  า พระราชวังตองหาม ณ โรงละคร Liyuan Theatre พระราชวังฤดูรอน จะเปนเนื้อหาเรื่องราวที่ตองการ อี้เหอหยวน พระราชวัง ถ า ยทอด วิ ธ ี ก าร รวมทั ้ ง เทคนิ ค หยวนหมิงหยวน ในการเลื อ กใช ใ นแต ล ะสถานที่ พิพิธภัณฑสถาน แหงชาติจีน เพื่อถายทอดใหกับผูเขาชมสถานที่ พิพิธภัณฑหลวง นั้นๆ เปนสำคัญ ไกด

ผูใหขอมูล ประจำ สถานที่

เอกสาร แผนพับ

ปาย

CD DVD

Internet www

Story ของที่ระลึก เรื่องราว

ปกกิ่ง : การสื่อความหมายแหลงทองเที่ยวทางวัฒนธรรม

18


การจัดการสถานที่ และผู้เข้าชม

19

กรุงปกกิ่งเปนเมืองหลวงของประเทศจีนมา ตั้งแต พ.ศ. 1658 จนถึงปจจุบัน ในชวงเวลา หลายศตวรรษที่ผานมาไดเกิดการสรางสรรค ศิลปะและวั ฒ นธรรมต า งๆ ทั ้ ง ในรู ปแบบที ่ จั บ ต อ งได (tangible) และจั บ ต อ งไม ไ ด (intangible) ขึ้นมากมายในปกกิ่ง โดยการ สรางสรรคทางวัฒนธรรมในรูปแบบทีจ่ บั ตองได ยังปรากฏรองรอยหลักฐานใหเห็นจนถึงปจจุบนั ในรูปแบบโบราณสถานและศิลปวัตถุ สิง่ เหลานี้ จัดเปนตนทุนทางวัฒนธรรมและเปนสวนหนึ่ง ของอุตสาหกรรมวัฒนธรรมที่ดึงดูดความสนใจ จากนักทองเที่ยวจำนวนมากทั้งภายในและ ภายนอกประเทศ และสร า งรายได มหาศาล ในชวงเวลาหลายทศวรรษที่ผานมา


การจัดการสถานที่และผูเขาชม | Sites & Visitors Management นอกเหนือจากโบราณสถานแลว ยังมีการสรางแหลงเรียนรูแบบสมัยใหมขึ้น เชน พิพิธภัณฑ หอศิลป ศูนยประวัติศาสตร เปนตน เพื่อรวบรวม จัดแสดงและเผยแพรขอมูลเชิงประวัติศาสตร และศิลปวัฒนธรรมของจีนสูสาธารณชนโดยมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหมมาประยุกตใช รวมถึงมี การจัดใหมีสาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกแกผูเขาชมกลุมตางๆ เพื่อสงเสริมการเขา ใชบริการ การจัดการสถานที่และผูเขาชมในแตละที่มีความแตกตางกันไปตามความเหมาะสม การมา เยี่ยมชมของนักทองเที่ยวเปนจำนวนมากอาจทำใหโบราณสถานเกิดความเสียหายได การมี สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวกไมเพียงพอก็อาจจะสงผลกระทบตอความพึงพอใจของ ผูเขาชมและอาจทำใหการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมไมยั่งยืน ดังนั้น การจัดการสถานที่และผูเขาชม จึงเปนหนึ่งในปจจัยสำคัญที่จะทำใหอุตสาหกรรมวัฒนธรรมประสบความสำเร็จ

องคประกอบตางๆ ที่เกี่ยวของกับการจัดการสถานที่และผูเขาชมมีดังนี้ สาธารณูปโภค (public utility) คือบริการที่มีการใชงานโดยประชาชน หมายถึงโครงสราง พื้นฐานสำหรับบริการสาธารณะ เชน หองน้ำ ทางเดินสำหรับผูพิการ เปนตน สิ่งอำนวยความสะดวก (facility) ในบริบทของแหลงทองเที่ยว (รักชนก มณีรัตน (2550) และศูนยวจิ ยั ปาไม (2541)) หมายถึงบริเวณพืน้ ทีแ่ ละโครงสรางหรือสิง่ ปลูกสรางตางๆ ทีถ่ กู สราง ขึ้นเพื่อรองรับกิจกรรมของผูเขาชมและกิจกรรมในการบริหารจัดการพื้นที่ เชน การนำชมโดย สื่อดิจิตอล การจองการเขาชมแบบออนไลน บริการรับฝากหรือใหยืมของ เปนตน บทบาทของ สิ่งอํานวยความสะดวกที่มีตอการทองเที่ยวคือสนองความตองการของผูเขาชมในการประกอบ กิจกรรมตางๆ ปองกันรักษาวัตถุจัดแสดงและสภาพแวดลอมรวมทั้งอันตรายที่อาจเกิดขึ้นขณะ ประกอบกิจกรรม เปนเครื่องมือและสื่อในการใหความรูความเขาใจแกผูเขาชม อำนวยความ สะดวกใหกบั การบริหารจัดการสถานทีท่ อ งเทีย่ ว และสรางภาพลักษณทางออมใหสถานทีท่ อ งเทีย่ ว

การจัดการสถานที่และผูเขาชม 20


ผังอาคารและการไหลเวียนของผูเขาชม (floor plan & visitor’s circulation) สถานที่ แตละแหงมีการออกแบบผังอาคารที่แตกตางกันไปตามวัตถุประสงคของการใชสอย เชน พิพิธภัณฑ หรือแหลงเรียนรูส มัยใหมมกี ารออกแบบผังอาคารโดยเนนความสะดวกสบายของผูเ ขาชมในการเขาถึงพืน้ ที่ แตละสวนเพือ่ ใหผเู ขาชมใชบริการพืน้ ทีน่ น้ั มากทีส่ ดุ ในขณะทีพ่ ระราชวังโบราณอาจมีความซับซอนกวา เนื่องจากพื้นที่บางสวนเปนพื้นที่ใชสอยของจักรพรรดิและเชื้อพระวงศ ไมตองการใหมีผูเขาออกมากนัก เปนตน การออกแบบผังอาคารมีความสัมพันธกบั การไหลเวียนของผูเ ขาชมเชนกัน เชน ในพิพธิ ภัณฑทม่ี ี การจัดเนือ้ หาตามลำดับเวลาจะมีการจัดเสนทางเดินใหผเู ขาชมตามลำดับนัน้ ขณะทีห่ อศิลปอาจเปดให ผูเ ขาชมเดินไดอยางอิสระ เปนตน การจำกัดผูเขาชม (visitor limitation) แมการมีผเู ขาชมเปนจำนวนมากจะเปนเครือ่ งสะทอน ความสนใจของผูเ ขาชม แตการทีม่ ผี เู ขาชมมากเกินไปอาจทำใหสถานทีห่ รือวัตถุจดั แสดงเสือ่ มสภาพหรือ ไดรับความเสียหายได ในสถานที่ทองเที่ยวบางแหงจึงมีการวางแผนรองรับผูเขาชมหรือจำกัดจำนวน ผูเขาชมเพือ่ ปองกันความเสียหายดังกลาว

21 การจัดการสถานที่และผูเขาชม


1 พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (National Museum of China) พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ (National Museum of China) เปนพิพิธภัณฑที่ใหญที่สุดแหงหนึ่ง ภายใตการดูแลของกระทรวงวัฒนธรรมแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน เกิดจากการรวมพิพิธภัณฑประวัติศาสตรชาติจีน (National Museum of Chinese History) และพิพิธภัณฑการปฏิวัติแหงชาติ (National Museum of Chinese Revolution) มีจุดมุงหมายเพื่อนำเสนอเรื่องราวทางประวัติศาสตรและศิลปะ รวมถึงการเก็บรวบรวมการวิจัย งานทางดานโบราณคดีเพื่อการศึกษาและเปนสวนหนึ่งของการสื่อสารทางวัฒนธรรม ปจจุบันมี ผลงานศิลปวัตถุสะสมชิ้นสำคัญไวมากกวา 1.2 ลานชิ้น การจัดแสดง ภายในพิพิธภัณฑแบงเปน สวนของหองนิทรรศการถาวร บอกเลาเรื่องราวทางประวัติศาสตรจีนผานศิลปวัตถุ เปนการแสดง ใหเห็นถึงพลังและวิวัฒนาการอยางตอเนื่องของอารยธรรมจีน รวมถึงประวัติศาสตรการสราง ประเทศจากกลุมชาติพันธุที่แตกตางกัน ในสวนที่ เปนหองนิทรรศการหมุนเวียนนำเรื่องราวที่ นาสนใจทั้งในประเทศและตางประเทศมาจัดแสดงหมุนเวียนอยางตอเนื่อง

สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก

2

พิพิธภัณฑหลวงกรุงปกกิ่ง (Capital Museum)

เปนพิพิธภัณฑศิลปะไมแสวงหาผลกำไรที่เปดใหบริการในป พ.ศ. 2524 ที่วัดขงจื่อ (Confucius Temple) ในป พ.ศ. 2542 ไดรับอนุญาตใหยายมาเปนบริเวณที่อยูในปจจุบัน จากนั้นไดมีการสรางอาคารพิพิธภัณฑขึ้นใหมและเปดอยางเปนทางการในเดือนพฤษภาคม 2549 ลักษณะสถาปตยกรรมของพิพิธภัณฑไดรับอิทธิพลมาจากสถาปตยกรรมจีนโบราณ มีพื้นที่ให บริการ 6 ชัน้ แบงเปนชัน้ ใตดนิ 1 ชัน้ และเหนือ ผิวดิน 5 ชัน้ จุดมุง หมายหลักของพิพธิ ภัณฑ คือ เพื่อเก็บรักษาวัตถุทางวัฒนธรรม จัดแสดงโบราณวัตถุและเรื่องราวประวัติศาสตรของกรุงปกกิ่ง และดำเนินงานวิจัยที่เกี่ยวของ พิพิธภัณฑแหงนี้มีการใชวิทยาการสมัยใหมในการกอสรางที่ได มาตรฐานระดับสากล และถูกจัดเปนหนึ่งในพิพิธภัณฑชั้นนำระดับโลก

สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก การจัดการสถานที่และผูเขาชม

22


3

798 Art Zone (Dashansi Art District)

เปนชุมชนศิลปะขนาดใหญ เดิมในอดีตพืน้ ทีน่ เ้ี ปนโรงงานผลิตเครือ่ งใชไฟฟา อุปกรณอเิ ลคทรอนิกส และยุทโธปกรณทางทหาร โรงงานแรกสรางเสร็จใชชื่อเรียกวา โรงงาน 718 โดยเลข 7 มาจากตัวเลขที่ จีนใชเปนรหัสเรียกโรงงานทางทหาร 10 ปผานไปไดมีโรงงานเกิดขึ้นอีกหลายแหง เชน โรงงาน 706, 761, 797 และ 798 ซึ่งเปนโรงงานที่มีพื้นที่ขนาดใหญที่สุด อยางไรก็ตาม ในที่สุดรัฐบาลก็ไมใหเงิน สนับสนุนโรงงานเหลานี้อีกตอไปทำใหเขตอุตสาหกรรมนี้ตองปดตัวลง คนงานถูกเลิกวาจางเปนจำนวน มาก และมีการมอบโรงงานในพื้นที่ใหบริษัทเอกชนเขามาดูแลแตก็ไมสามารถจัดการพื้นที่ดังกลาวได ในป พ.ศ. 2545 รัฐบาลไดมนี โยบายพัฒนาพืน้ ทีน่ ใ้ี หกลายเปนศูนยแสดงศิลปวัฒนธรรมของจีน โดยให ศิลปนและรานคาแกลเลอรีตา งๆ มาเชาพืน้ ทีใ่ นราคาถูก โดยพืน้ ทีถ่ กู แบงออกเปน 6 โซน ศิลปนสามารถ เปดพื้นที่ของตัวเองใหประชาชนเขาชมไดโดยไมเสียคาใชจาย

สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก

4

พระราชวังตองหาม (Forbidden City or Museum Palace)

เปนสถาปตยกรรมทางประวัติศาสตรที่ยิ่งใหญที่สุดแหงหนึ่งของจีนและของโลก เดิมสรางขึ้นเพื่อ เปนที่ประทับของจักรพรรดิในราชวงศหมิงและราชวงศชิงโดยใชเวลาในการสรางนานถึง 14 ป แผนผัง พระราชวังเปนแนวตารางสี่เหลี่ยมตัดกันลอมรอบดวยคูน้ำและกำแพงสูงทั้ง 4 ดาน ประตูทางเขาอยู ทางทิศใต อาคารสำคัญตั้งเรียงตามแนวเหนือใต มีการแบงพื้นที่ออกเปน 2 สวน ไดแก “วังหนา” เปน สวนที่จักรพรรดิใชสำหรับออกวาราชการ และ “วังใน” เปนพื้นที่สำหรับสนมนางใน มีตำหนักและ อาคารเพือ่ การใชงานถึง 800 หลัง มีหอ งทัง้ หมด 9,999 หอง พระทีน่ ง่ั 75 องค มีหอ งสมุดและหองอืน่ ๆ เปนจำนวนมาก มีสวนและลานกวาง รวมถึงทางเดินที่เชื่อมกันโดยตลอด พระราชวังแหงนี้ไดรับการขึ้น ทะเบียนจากองคการยูเนสโกใหเปนมรดกโลกในป พ.ศ. 2530

สาธารณูปโภคและสิ่งอำนวยความสะดวก

23 การจัดการสถานที่และผูเขาชม


การพัฒนาผลิ​ิตภัณฑ์

“ผลิตภัณฑ” หรือทีเ่ ราเรียกวา “สินคา” อาจเปนสิง่ ใดก็ไดทผ่ี า นกระบวนการในการ คิดคนและการผลิตทีส่ ามารถตอบสนอง ความจำเปนหรือความตองการของมนุษย และไดรบั ความพึงพอใจทัง้ สองฝาย โดยผลิตภัณฑของทีร่ ะลึกนัน้ ยังหมายรวมถึง ผลิตภัณฑมวลรวมหรือผลิตภัณฑทท่ี ำดวยมือ ดวยเชนกัน

24


ผลิตภัณฑทางวัฒนธรรมในปจจุบันมักถูกแปรรูปใหเปนผลิตภัณฑของที่ระลึก เพื่อเปนการเพิ่ม มูลคาของผลิตภัณฑนั้นๆ โดยการนำเอาศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีมาสรางสรรคเปน ผลงานที่สะทอนใหเห็นภูมิปญญาที่เชื่อมโยงกับแนวความคิดอันสรางสรรค ผนวกกับการนำเอา เทคโนโลยีสมัยใหมเขามาใชเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑใหมีความโดดเดน มีเอกลักษณเฉพาะตัวมากขึ้น นอกจากนี้ การพัฒนาผลิตภัณฑยังเปนฐานในการสรางเศรษฐกิจ สรางงาน สรางรายได ตลอดจน สามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในทองถิ่นใหดียิ่งขึ้นดวย ปจจุบันการผลิตสินคาทางวัฒนธรรมเปนการผลิตเพื่อสงเสริมอุตสาหกรรมการทองเที่ยว ผาน การออกแบบและการผลิตออกมาเปนผลิตภัณฑของทีร่ ะลึก ซึง่ เราสามารถพบเห็นไดตามแหลงทองเทีย่ ว ตางๆ โดยนักทองเที่ยวสามารถเลือกซื้อไวเพื่อการคาการพาณิชย เปนของฝาก หรือซื้อไวเพื่อระลึกถึง ประสบการณในการทองเที่ยวจากสถานที่นั้นๆ ไมวาจะเปนเครื่องประดับ เครื่องครัว เสื้อผา ของเลน อาหาร ของเกาของโบราณ หนังสือ งานศิลปะ เปนตน ผลิตภัณฑที่จัดจำหนายตามสถานที่ทองเที่ยวตางๆ

กรณีศึกษา “ชาผูเออร” ผลิตภัณฑชาสูของที่ระลึก

ชาผูเออร ของสาธารณรัฐประชาชนจีน ถือเปน ผลิ ต ภั ณ ฑ พ ื ้ น เมื อ งและกลายมาเป น ผลิ ต ภั ณ ฑ ของที่ระลึกที่สรางรายไดใหแกคนในทองถิ่น โดย ผลิตภัณฑของที่ระลึกนี้เกิดจากแนวความคิดที่จะ พัฒนาดานการขนสงใหมีความสะดวกและตองการ

25 การพัฒนาผลิตภัณฑ


สรางความแปลกใหมใหแกผลิตภัณฑ จึงมีการตอยอดการผลิตให กลายเปนผลิตภัณฑของที่ระลึกดวยกระบวนการกลั่นกรองทาง ความคิดของคุณเหมิง่ เลยฉวีอง จากรานภูเ ตา ในชุมชนศิลปะ 798 เมืองปกกิ่ง ที่ตองการใหใบชาธรรมดากลายเปนผลิตภัณฑของ ที่ระลึกทางวัฒนธรรมที่นาสนใจ มีความแปลกตา ไมเหมือนใคร และมีรูปแบบที่ทันสมัย ดวยวิธีการอัดใบชาซึ่งเปนวัตถุดิบที่มี ชื่อเสียงของจีน และใชกรรมวิธีการผลิตที่ไมซับซอนใหออกมา เปนผลิตภัณฑในรูปแบบตางๆ ผนวกกับการใสความหมายที่ดีลง ในผลิตภัณฑ เชน เครือ่ งประดับตามอาคารบานเรือน หรือทำเปน ของมงคลไวสำหรับพกติดตัว แขวนทีร่ ถหรือทีไ่ หนก็ได ซึง่ ผลิตภัณฑ ของที่ระลึกดังกลาวสามารถสรางมูลคาเพิ่มและตอบสนองความ ตองการของตลาดไดเปนอยางดี นอกจากความแปลกใหมของผลิตภัณฑ และหลากหลายของ ฟงกชน่ั ในการใชงานแลว คุณเหมิง่ เลยฉวีองยังบอกเลาเรือ่ งราวตางๆ พรอมกับสาธิตวิธีการชงชา การเสิรฟน้ำชาที่ใหแกนักทองเที่ยวที่ มาเยือนที่ราน เพื่อเปนการสรางความรูสึกที่ดีและสรางคุณคาให แกผลิตภัณฑ ซึง่ ถือเปนกลวิธอี ยางหนึง่ ทีส่ รางความประทับใจและ สรางนาสนใจใหแกกลุม ลูกคาหรือนักทองเทีย่ วทีเ่ มือ่ มาเยือนทีร่ า น นีท้ จ่ี ะตองจับจายซือ้ ผลิตภัณฑตดิ ไมตดิ มือกันกลับไปไมมากก็นอ ย ขั้นตอนการพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Development) Exploration

1.การแสวงหาความคิด เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ใหม่

Commercialization 6.การวางตลาดสินค้า

Idea Screening PRODUCT Market 2.การกลั่นกรอง DEVELOPMENT Testing 5.การทดสอบตลาด แนวความคิด

PROCESS

Business Analysis Product Development 3. การวิเคราะห์เชิงธุรกิจ

4.การพัฒนาผลิตภัณฑ์

ริเริ่มจากภูมิปญญาสูผลิตภัณฑ คุณเหมิ่งเลยฉวีอง จากรานภูเตา ในชุมชนศิลปะ 798 เมืองปกกิ่ง ตองการ สรางความแปลกใหมใหแกผลิตภัณฑ จึงมีการตอยอด การผลิตใหกลายเปนผลิตภัณฑของที่ระลึกดวยกระบวน การพัฒนาผลิตภัณฑ แสวงหาความคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ ใหม โดยใชความเชื่อและงานศิลปะเขามาในกระบวนการ กลั ่ น กรองทางความคิ ด วิ เ คราะห ค วามเป น ไปได ข อง ความคิดและยังคงซึ่งภาพลักษณของธุรกิจ วิเคราะหเชิง ธุรกิจ โดยใชทฤษฎี SWOT Analysis และทฤษฎีอุปสงค จากพฤติก รรมของผูบริโภค จากนั้นเขาสูกระบวนการ พัฒนาผลิตภัณฑ ผลิตชิ้นงานผลิตภัณฑ ทดสอบตลาด และการวางตลาดสินคา ขอบเขตการจำหนายสินคา การพัฒนาผลิตภัณฑ 26


ประวัติ วิทยากร

ประวัตินายฉิน ยูเซิน ชื่อ-สกุล

นายฉิน ยูเซิน

วัน/เดือน/ปเกิด การศึกษา

17 มิถุนายน 1952 ปริญญาตรีอักษรศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยภาษาตางประเทศปกกิ่ง ป 1997 ประสบการณการทำงาน ป 1977 - ป 1984 ลามภาษาไทย การทองเที่ยวแหงประเทศจีน ป 1984 กรมวิเทศสัมพันธ กระทรวงวัฒนธรรมจีน ป 1985 - ป 1989 เลขานุการตรี และเลขานุการโทฝายวัฒนธรรม สถานทูตจีนประจำประเทศไทย ป 1989 - ป 1992 เลขานุการโท กรมวิเทศสัมพันธ กระทรวงวัฒนธรรมจีน ป 1992 - ป 1997 เลขานุการเอกฝายวัฒนธรรม สถานทูตจีนประจำประเทศไทย ป 1998 - ป 2007 อุปทูตฝายวัฒนธรรม สถานทูต จีนประจำประเทศไทย ป 2007 - ป 2009 ที่ปรึกษา กรมวิเทศสัมพันธ กระทรวงวัฒนธรรมจีน ป 2008 รองอธิบดี ศูนยสอ่ื มวลชนระหวางประเทศ โอลิมปกปกกิง่ ป 2009 - ป 2014 อุปทูตฝายวัฒนธรรม สถานทูต จีนประจำประเทศไทย รางวัล ป 1989 ไดรับรางวัล “ผูมีอุปการะตอมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร” ป 2009 ไดรับพระราชทานรางวัล “เสมาธรรมจักร” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ ป 2010 ไดรับรางวัล “ผูใชภาษาไทยดีเดน” จากพลเอก สุรยุทธ จุลานนท องคมนตรี ป 2011 ไดรับรางวัล “ผูทำคุณประโยชนตออุตสาหกรรมทองเที่ยวไทย” จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ป 2011 ไดรับปริญญาอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ป 2012 ไดรับรางวัล “ผูดีศรี” จากมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


Spacial THANK

วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ศูนยวัฒนธรรมจีน ณ กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

นิสิตสาขาการจัดการทางวัฒนธรรม (ภาษาไทย) รุนที่ 8

ณ เมืองปกกิ่ง ศาธารณรัฐประชาชนจีน


บันทึก



ปักกิ่ง

Beijing

หลักสูตรการจัดการทางวัฒนธรรม รุ่นที่ 8 บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย www.macmthai.grad.chula.ac.th Facebook : Cultural-management พฤศจิกายน 2557


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.