การเขียนช่าวเพื่อประชาสัมพันธ์

Page 1

การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์


การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์

**การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ ถือเป็ นภารกิจหนึ่งในแผนการประชาสัมพันธ์ที่สาคัญมาก ในการดาเนินงานด้านประชาสัมพันธ์ ไปสู่ กลุ่มเป้ าหมาย อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิ ผล นัน่ เพราะว่าการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ ถือเป็ นกลไกสาคัญในการสร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสี ยง ศรัทธา ให้เกิดการยอมรับ ปฏิบตั ิตาม และสนับสนุน

**ทาไมต้องเขียนข่าวเพื่อประชาสัมพันธ์ **1.ข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์สามารถทาหน้าที่สื่อความเพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีท้ งั 2 แนวทางคือ กลยุทธ์เชิงรุ กในการเผยแพร่ ข่าวสารและกิจกรรมอันเป็ นผลงานและความก้าวหน้า ขององค์กร หรื อบุคคลในองค์กร ขณะเดียวกันก็สามารถสนองกลยุทธ์เชิงรับเพื่อรับสถานการณ์หรื อชี้แจงทาความเข้าใจต่อปั ญหาที่เกิดขึ้น **2.ข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ หรื อ”ข่าวแจก” ที่ส่งไปยังสื่ อมวลชนประเภทสื่ อสิ่ งพิมพ์ตกอยู่ในฐานะการขอความร่ วมมือ โดยองค์กรต่างๆ ส่ งข่าวไปให้กองบรรณาธิ การพิจารณาในแต่ละวันเป็ น จานวนมาก ดังนั้นการคานึ งถึงคุณภาพการเขียนเยี่ยงมืออาชีพจึงมีความสาคัญ เพื่อให้ตระหนักในการเลือกสรรประเด็นข่าวที่ดี และการนาเสนอที่ ถูกหลักตามความต้องการของสื่ อมวลชน **3.การเลือกสรรภาพและการเขียนคาบรรยายภาพ ต้องคานึงถึงองค์ประกอบของภาพตามคุณสมบัติที่สิ่งพิมพ์ตอ้ งการ และมีคาบรรยายที่ให้ขอ้ มูลชัดเจนและช่วยเสริ มคุณค่าให้แก่ภาพเพื่อการ ประชาสัมพันธ์ **คุณสมบัติของข่าวที่ดี

**คุณสมบัติของข่าวที่ดี ประกอบไปด้วยการได้รับข้อมูลถูกต้อง การระแหล่งข่าวของข้อมูลได้ ความเที่ยงธรรม ความสมดุล ความเป็ นกลาง และความสมบูรณ์ **ความเที่ยงตรงแม่นยา **เหนือสิ่ งอื่นใด นักข่าว(พีอาร์ )ต้องได้รับข้อมูลที่ถูตอ้ ง มิเช่นนั้น ผูอ้ ่านจะไม่เชื่ อถือหนังสื อพิมพ์ของคุณหรื อองค์กรของคุณ ซึ่ งข้อผิดพลาดอาจส่ งผลร้ายต่อแหล่งข่าว และผูอ้ ่านได้ เช่นกัน **อย่าเหมารวมเอาเองว่าสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดถูกต้อง ให้หมัน่ ถาม และตรวจสอบอยูเ่ สมอ

**ความเที่ยงตรง หมายถึงการเอาใจใส่ ทุกๆ รายละเอียด เริ่ มต้นที่เรื่ องง่ายๆ เช่น การสะกดชื่อ ตาแหน่ง และชื่อสถานที่ หากเกิดข้อผิดพลาดจะเกิดความเสี ยหาย และบัน่ ทอนความ น่าเชื่อถือ เพื่อป้ องกันปั ญหาเหล่านี้ ควรซักถามแหล่งข่าว ขอดูนามบัตร ดูรายชื่อในสมุดโทรศัพท์

**ข่าวที่สมดุลและเป็ นธรรม **ข่าวมีมากว่าหนึ่งด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผูส้ ื่ อข่าว หรื อ (พีอาร์) หากข่าวเกี่ยวข้องกับผูค้ นที่มีความหลากหลาย ต่อประเด็นหรื อเหตุการณ์น้ นั ๆ เรื่ องของคุณจะมีความสมดุลยิ่งขึ้น หากได้รับความเห็นจากทั้งสองด้าน และจะเป็ นธรรมหากไม่เข้าข้างใครเลย

**คุณไม่ตอ้ งสละเนื้อที่แสดงความคิดเห็นให้เท่าๆ กัน แต่ตอ้ งอ้างอิงมุมมองที่แตกต่างกัน ข่าวการหาเสี ยงเลือกตั้งผูว้ า่ ฯกทม.จะไม่สมดุล หากไม่นาความคิดเห็นของพรรคการเมือง สาคัญๆ ทุกพรรคที่ลงสมัครเข้ามาใส่ เอาไว้ดว้ ย ในทางกลับกันหากไม่มีความสมดุลของข่าว ผูอ้ ่านจะคิดว่าข่าวเป็ นเพียงโฆษณาชวนเชื่อ ข่าวจะมีความน่าเชื่ อถือ หากมีการอ้างอิง **ความชัดเจน

**ต้องเขียนข่าวให้ชดั เจน เพื่อให้ผอู ้ ่านเข้าใจง่าย การจะเขียนข่าวให้ชดั เจนนั้น ก่อนอื่นคุณต้องคิดให้ชดั เจน ต้องเข้าใจเหตุการณ์ก่อนที่จะเขียน ไตร่ ตรองข้อมูลก่อนที่จะลงมือเขียน เมื่อคุณทราบหัวข้อ(พาดหัว)ดีแล้ว ก็สามารถเลือกแง่มุมหลักเพื่อทาเป็ นความนา(โปรย3-5บรรทัด)ได้ ถัดมาคุณสามารถเรี ยบเรี ยง(เขียนข่าว)ข้อมูลที่เหลือให้เป็ นระบบได้ **ความชัดเจน หมายถึงการใช้ภาษาธรรมดาที่คนทัว่ ไปสามารถเข้าใจได้ หลีกเลี่ยงศัพท์ สานวนที่ผเู ้ ชี่ยวชาญ และพวกเจ้าพิธีรีตรองชอบใช้กนั ความชัดจนยังหมายถึง “ความกระชับ”ด้วย อย่า ใช้คามากเกินความจาเป็ น จงเขียนให้ตรงประเด็น และหลีกเลี่ยงการกล่าวแบบกว้างๆ

**ความนาของข่าวต่อไปนี้มาจาก สานักข่าวภาคภาษาอังกฤษในเอเชี ย ฟั งดูเหมือนข้าราชกรกระทรวงพาณิ ชย์เป็ นผูเ้ ขียน **นางราฟี ดะ อาซิ ส รัฐมนตรี การค้าและอุตสาหกรรมระหว่างประเทศของเมาเลเซี ย กล่าวเมื่อวันพฤหัสบดีวา่ เมื่อเร็ วๆ นี้มาเลเซี ยและเมียนมาร์จะตกลงกันได้เรื่ องการอานวยความสะดวก ให้กบั ระบบแลกเปลี่ยนสิ นค้าระหว่างกัน

**ความนาข่าวข้างต้นหมายความว่าอะไรกันแน่ ลองมาเขียนด้วยวิธีใหม่ที่กระชับและชัดเจนมากกว่าเดิม อาทิ … **รัฐมนตรี การค้าของมาเลเซี ยกล่าวเมื่อวันพฤหัสบดีน้ ีวา่ เร็ วๆ นี้มาเลเซี ยและเมียนมาร์จะบรรลุขอ้ ตกลงเพื่อเพิ่มการค้าในระบบแลกเปลี่ยนสิ้ นค้าระหว่างกัน

**ความชัดเจนหมายถึงการอธิ บายคาต่างๆ หากคุณใช้คาว่า”ภาวะเงินฝื ด”ในข่าวธุรกิจ ให้เติ มคาอธิ บายให้ผอู ้ ่านดังนี้”ภาวะเงินฝื ดตรงข้ามกับภาวะเงินเฟ้ อ คือการที่ราคาสิ นค้าและ บริ การลดลง”


**ความชัดเจนหมายถึงการใช้คาสั้นๆ กระชับ ได้ใจความ แต่สื่อความหมายได้ชดั เจน ซึ่ งการเขียนประโยคสั้นๆในหลายๆ ภาษา โครงสร้าง ประธาน-กริ ยา-กรรม เป็ นวิธีเขียนประโยคที่ชดั เจน ที่สุด **ตัวอย่าง: ตารวจจับชายสามคนเมื่อวันพฤหัสบดี

**ประธาน ตารวจ **กริ ยา

จับ

**กรรม

ชายสามคน

**ตัวอย่าง: ผูว้ า่ ฯกทม.จะไปเยือนประเทศจีน **ประธาน ผูว้ า่ ฯกทม. **กริ ยา

จะไปเยือน

**กรรม

ประเทศจีน

**ความสมบูรณ์ **ข่าวของคุณต้องไม่ละทิ้งองค์ประกอบสาคัญใดๆ ออกไป คุณไม่เพียงแต่จะตอบคาถาม 5Ws และH เท่านั้น แต่ตอ้ งพูดกับแหล่งข่าวสาคัญ ตรวจสอบเอกสารที่สาคัญ และเยี่ยมสถานที่ที่สาคัญด้วย **สิ่ งใดคือองค์ประกอบสาคัญขึ้นอยูก่ บั ว่าเป็ นข่าวเกี่ยวกับอะไร เช่นคุณเขียนข่าวเกี่ยวกับการแพร่ ระบาดของไวรัสเอชไอวีในกรุ งเทพมหานคร หากมีแพทย์ผเู ้ ชี่ยวชาญชั้นนาในเรื่ องดังกล่าว คุณจะต้องไปคุย กับแพทย์คนนั้น หากมีคนศึกษาวิจยั ในเรื่ องดังกล่าว คุณก็ตอ้ งอ่าน หากมีโรงพยาบาลที่มีคนไข้โรคเอดส์พกั รักษาอยู่ คุณก็ตอ้ งไปเยี่ยมโรงพยาบาลแห่งนั้นด้วย **องค์ประกอบของคุณค่าในเชิงข่าว 9 ประการคือ **1.สด

คนต้องการรู ้สิ่งที่เกิดขึ้นทันทีทนั ใด

**2.แปลก ต้องไม่เหมือนใคร ไม่เคยมีมาก่อน **3.ใหม่

เป็ นการเปิ ดเผยที่ไม่เคยมีใครรู ้มาก่อน

**4.ใกล้ตวั เป็ นสิ่ งที่กระทบถึงตัวได้ง่าย **5.-ใกล้ใจ เป็ นสิ่ งที่สัมผัสได้ดว้ ยความรู ้สึก **6.เด่นดัง เกี่ยวข้องกับกิจการของบุคคลที่เด่น หรื อมีชื่อเสี ยง **7.ความสาเร็ จที่ยิ่งใหญ่ ความสาเร็ จหรื อความก้าวหน้าที่ไม่ธรรมดา **8.ผลประทบ ผลกระทบต่อประชาชนและสิ่ งแวดล้อม **9.เบื้องหลัง ที่มาและเบื้องหลังของสิ่ งที่เกิดขึ้น ข่าวคืออะไร

เหตุการณ์ต่างๆ เกิดขึน้ มากมาย ไม่ใช่ทกุ เหตุการณ์มคี า่ ควรแก่การรายงาน ฉะนัน้ อะไรคือข่าว ข้อมูลประเภทใดทีผ่ ู้อ่านต้องการ และจาเปนนต้องได้ร ั ึ​ึง่ เปนนเรื่องทีค่ วรคานึงใน

เรื่องนี้ทกุ วันก่อนเริม่ ทาข่าว ทีส่ าคัญต้อถามตัวเองก่อนว่า “คนจะพูดถึงเรื่องนี้กนั ไหม” และ”ข้อมูลนี้จาเปนนต้องทรา กันหรือไม่” เพราะ”ข่าว” คือข้อมูลทีค่ นส่วนใหญ่เหนนว่า”สาคัญ” หรือ”น่ าสนใจ” ข่าว จึงต่างจากเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ตลอดเวลา ทุกๆ วัน

ข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ทางด้านการศึกษา เปนนเหตุการณ์ทร่ี ายงานความเคลื่อนไหวเกีย่ วกั กิจกรรมทีเ่ กี่ยวกั การศึกษา ไม่ว่าจะเปนนนโย ายและกิจกรรมต่างๆในระดั กระทรวง , เขตพืน้ ทีก่ ารศึกษา,สถานศึกษา ตลอดจนการเรียนการสอนของครู ในแง่มมุ ด้าน วกทีต่ ้องการรายงานให้ผเู้ กี่ยวข้อง ประชาชน ให้ร ั ทรา เพือ่ สร้างภาพลักษณ์หรือความรูส้ กึ ทีด่ ี หลักการของการจับประเด็นในการเขียนข่าว การจับประเด็นจาก คาถาม 5 Ws และ H

**เรื่องทุกเรื่องทีน่ ามาเขียนข่าวต้องครอ คลุมคาถามหลักๆ ึ​ึง่ เรามักเรียกว่าว่า “คาถาม 5Ws และH” ดังนี้ **Who(ใคร)

ใคร า้ งทีอ่ ยูใ่ นข่าว

**What(อะไร)

เกิดเรื่องอะไรทีส่ าคัญ หรือน่ าสนใจ

**Where(ทีไ่ หน) ข่าวนัน้ เกิดขึน้ ทีใ่ ด **When(เมือ่ ไร)

ข่าวนัน้ เกิดขึน้ เมือ่ ใด


**Why(ทาไม)

ทาไมจึงเกิดข่าวนัน้

**How(อย่างไร)

ข่าวนัน้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร

**เหล่านี้คอื คาถามทีทกุ คนถาม หากต้องการรูเ้ รื่องมากขึน้ ไม่มเี รื่องใดจะสม ูรณ์ หากไม่ได้ตอ คาถามอย่างน้อยกน 5 Ws และH จะปรากฏทีค่ วามนา ตัวอย่างข่าว 8 นโย ายการศึกษา "จาตุรนต์ ฉายแสง" นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แถลงนโย ายการศึกษา พร้อมประกาศ 8 นโย าย เพื่อเร่งรัดดาเนินการตามนโย ายรัฐ าล และสานต่องานทีไ่ ด้ดาเนินการไป แล้ว เมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ทีห่ อ้ งประชุมราชวัลลภย้าการพัฒนาคน เปนนโจทย์สาคัญของการปฏิรูปการศึกษา และยกระดั พัฒนาประเทศ รมว.ศธ.กล่าวว่า การปฏิรูปการศึกษาได้พจิ ารณาจากโจทย์ใหญ่ คือขณะนี้ประเทศไทยกาลังอยูใ่ นสังคมขนาดใหญ่ ในภูมภิ าคและสังคมโลก ในขณะทีป่ จั จุ นั ได้เกิดวิกฤตเศรษฐกิจโลก ึ​ึง่ สหรัฐอเมริกา ทวีปยุโรป รวมทังประเทศใหญ่ ้ ๆ ของทวีปเอเชีย เช่น จีน ญีป่ นุ่ เกิดการชะลอตัวทางเศรษฐกิจ แม้ างประเทศ เช่น จีน จะมีอตั ราการเติ โตทางเศรษฐกิจทีเ่ รนวมาก กนได้ร ั ผลกระท ดังกล่าวทาให้มกี ารชะลอตัวทางเศรษฐกิจลง ในสภาพเช่นนี้จงึ มีความจาเปนนทีป่ ระเทศไทยต้องเตรียมการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพือ่ ทีจ่ ะให้อยูร่ อดในภาวะการณ์ปจั จุ นั หรือในอนาคตต่อไป นอกจากนี้จะมีการรวมตัวเปนนประชาคมอาเึียน พร้อมทังความพยายามที ้ จ่ ะเชื่อมโยงกันของกลุ่มประเทศอาเึียนกั นอกภูม ิ ภาคอาเึียนอีกด้วย การศึกษาต้องเดินหน้าสู่การสร้าง การพัฒนา เตรียมความพร้อมให้สอดคล้องกั สังคมโลก โดยเฉพาะสังคมโลกในศตวรรษที่ 21 เปนนผลจากการปฏิวตั ดิ า้ นดิจทิ ลั (Digital Revolution) และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ทีท่ าให้โลกทังโลกเชื ้ ่อมโยงและสือ่ สารถึงกันได้อย่างรวดเรนว จึงจาเปน นต้องสร้างและพัฒนาให้คนเปนนทรัพยากรมนุษย์ ทีม่ ี ความสามารถ มีทกั ษะ ความถนัด ความชานาญพร้อมจะขั เคลื่อนและยกระดั การพัฒนาประเทศสูก่ ารเปนนประเทศพัฒนาในระดั ทีส่ งู ขึน้ เป้าหมายมุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้คดิ วิเคราะห์ เรียนรู้ มีคณ ุ ลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ และทักษะทีจ่ าเปน นสาหรั ศตวรรษที่ 21โดยภายในปี พ.ศ.2558 ึ​ึง่ ไปพ้องกั การเข้าสูป่ ระชาคมอาเึียนในปี เดียวกัน ดังนี้ - ให้ผลการจัดอันดั การศึกษาไทย ผลการทดสอ PISA ของไทย ให้อยูใ่ นอันดั ทีด่ ขี น้ึ - ให้สดั ส่วนผูเ้ รียนอาชีวศึกษาต่อสามัญเพิม่ ขึน้ เปนน 50 : 50 - ให้มหาวิทยาลัยไทยติดอันดั โลกมากขึน้ - ให้มกี ารกระจายโอกาสและเพิม่ ความเสมอภาคทางการศึกษามากขึน้ ทังนี ้ ้ โดยเน้นการส่งเสริมให้ภาคเอกชนทีม่ ศี กั ยภาพเข้ามามีสว่ นร่วมในการรั ผิดชอ จัดและสนั สนุนการศึกษามากขึน้ คือวงการการศึกษา ุคลากรทางการศึกษาของรัฐทังหมด ้ ต้องมีความเข้าใจ ร่วมกันว่า การศึกษาของภาคเอกชนเปนนกาลังสาคัญของประเทศ ตามแนวทาง 8 นโย ายดังนี้

1. เร่งปฏิรปู การเรียนรูท้ งั ้ ระบบให้สมั พันธ์เชื่อมโยงกัน 2. ปฏิรปู ระบบผลิตและพัฒนาครู 3. เร่งนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มาใช้ในการปฏิรปู การเรียนรู้ 4. พัฒนาคุณภาพการอาชีวศึกษาให้มมี าตรฐานเทียบได้กบั ระดับสากล ให้สอดคล้องกับความต้องการของประเทศ 5. ส่งเสริมให้สถาบันอุดมศึกษาเร่งพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน มากกว่าการขยายเชิงปริมาณ 6. ส่งเสริมให้เอกชนและทุกภาคส่วนเข้ามาร่วมจัดและสนับสนุนการศึกษามากขึน้ 7. เพิม่ และกระจายโอกาสทางการศึกษาอย่างมีคุณภาพ 8. พัฒนาการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้

เนื้อข่าวนี้เกี่ยวกับ What -อะไร(การประกาศ8 นโยบายหลักในการปฏิรปู การศึกษาและยกระดับคุณภาพ การศึกษาของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษานายจาตุรนต์ ฉายแสง) Where -ทีไ่ หน(ห้อประชุมราชวัลลภ


กระทรวง ศึกษาธิการ) When-เมือ่ ไร(วันที่ 11 กรกฏาคม 2556 ) Why-ทาไม(มุง่ พัฒนาผูเ้ รียนให้คดิ วิเคราะห์ เรียนรู้ มีคุณลักษณะทีพ่ งึ ประสงค์ และทักษะทีจ่ าเป็นสาหรับศตวรรษที่ 21โดยภายในปี พ.ศ.2558 ซึง่ ไปพ้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน) และ How-อย่างไร(นโยบาย 8 ประการ) ส่วนWho -ใคร นัน้ คือ ผูเ้ กีย่ วข้องทางการศึกษาทัง้ ประเทศ **โครงสร้างการเขียนข่าว **ข่าวประชาสัมพันธ์ทเ่ี ผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนประเภทสื่อสิง่ พิมพ์ โดยทัวไป ่ สามารถแยกออกได้เป็น 3 ส่วน ด้วยกันคือ **1.พาดหัวข่าว(Headline) ใช้ถอ้ ยคา ประโยค หรือวลี ทีช่ ุประเด็นสาคัญดึงดูดความสนใจของผูอ้ ่าน ขนาดตัวอักษรจะใหญ่หรือเล็ก ขึน้ อยูก่ บั น้ าหนักของความสาคัญของข่าว อาทิ รฐมนตรีศกึ ษาประกาศกร้าว 8 นโยบายปฏิรปู พัฒนาคุณภาพเด็ก **2.ความนา(Lead) หรือทีค่ นหนังสือพิมพ์เรียกว่า”โปรย”หมายถึง ย่อหน้าแรกของข่าวหนังสือพิมพ์ ประมาณ 3-5 บรรทัด อาจพิมพ์ดว้ ยตัวอักษรสีเข้มกว่าปกติ หรือขนาดตัวใหญ่กว่าเนื้อข่าวย่อหน้าต่อไป ความ นาจะทาหน้าทีส่ รุปสาระสาคัญของข่าว ด้วยสานวนการเขียนทีก่ ระชับ แต่กระตุน้ ให้ผอู้ ่านสนใจ อยากรู้ รายละเอียดของข่าวทีต่ อ้ งอ่านต่อไป อาทิ นายจาตุรนต์ ฉายแสง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ แถลงนโยบายการศึกษา พร้อม ประกาศ 8 นโยบาย เพื่อเร่งรัดดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล และสานต่องานทีไ่ ด้ดาเนินการไปแล้ว เมือ่ วันที่ 11 กรกฎาคม 2556 ทีห่ อ้ งประชุมราชวัลลภยา้ การพัฒนาคน เป็ นโจทย์สาคัญของการปฏิรปู การศึกษา และ ยกระดับพัฒนาประเทศ **3.เนื้อข่าว(Body) รายละเอียดของข่าว ทีเ่ ริม่ จากการเปิดประเด็น หรือการเปิดเผยของแหล่งข่าวด้วย ข้อมูลทีน่ ่ าสนใจ และเป็นเหตุเป็นผล ซึง่ อาจเป็นบุคคล ข้อมูลทางวิชาการ ผลกรสารวจวิจยั หรือจากการสืบค้น ของแหล่งข่าว **กรณีทเ่ี นื้อข่าวเกีย่ วกับประเด็นทีม่ ภี ูมหิ ลัง หรือทีม่ าของเหตุการณ์ซง่ึ จาเป็นต้องเทาความหรืออ้างอิงให้ ผูอ้ ่านเข้าใจ ทีม่ าของข่าวอาจต้องมี”ส่วนเชื่อม”(Neck )สร้างความต่อเนื่องระหว่างความนาและเนื้อข่าว ซึง่ จะ ช่วยสร้างความกลมกลืนให้เนื้อความลื่นไหล **ดูตวั อย่างทีส่ ะท้อนให้เห็นโครงสร้างการเขียนข่าว ทีค่ รบทัง้ 3 องค์ประกอบ คือ1.พาดหัวข่าว(Headline) 2.ความนา(Lead) 3.เนื้อข่าว(Body) ดังนี้ ร.ร.บ้านใหม่ปางค่าสอนปักผ้าเผ่าเมี่ยน แปรผลิ ตภัณฑ์สร้างอาชีพหารายได้นร.


โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า อาเภอปง จังหวัดพะเยา สังกัดสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษา พะเยา เขต 2 ร่วมกับโครงการหลวงปงั ค่า ต.ผาช้างน้อย ร่วมกันพัฒนาหลักสูตรท้องถิน่ ได้รว่ มกันจัดอบรม นักเรียนทาผลิตภัณฑ์จากผ้าลายปกั ชนเผ่าเมีย่ น (เย้า) โดยพัฒนาจากผลงานนักเรียนทีม่ กี ารปกั ผ้าเป็ นพืน้ ฐาน ในชุมชน มาตกแต่งทากล่องกระดาษ สมุดบันทึก และซองใส่โทรศัพท์ เพื่อผลิตเป็นผลิตภัณฑ์วางจาหน่ายได้ นายปรีชา แบนประเสริฐ ผูอ้ านวยการโรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า ได้กล่าวว่า โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า เป็นโรงเรียนทีม่ นี กั เรียนพักนอน อยากให้นกั เรียนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ มีวชิ าชีพติดตัว และได้เรียนรู้ ศิลปวัฒนธรรมของท้องถิน่ และสามารถพัฒนาเป็ นผลิตภัณฑ์วางขายในชุมชนได้ จึงได้รว่ มกับโครงการหลวง ปงั ค่า ต.ผาช้างน้อย อ.ปง จ.พะเยา ทาการวิจยั เรือ่ งผ้าปกั ชนเผ่าเมีย่ น(เย้า)นามาบูรณาการผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ เพื่อเป็นการเพิม่ รายได้ให้แก่นกั เรียน ซึง่ การจัดการอบรมและจัดการเรียนการสอนได้รบั การสนับสนุ น งบประมาณจากโครงการปงั ค่าและสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2 นางกรรณิการ์ กันหา เจ้าหน้าทีจ่ ากโครงการปงั ค่า กล่าวว่าการพัฒนาหลักสูตรวิชาท้องถิน่ การปกั ผ้า และผลิตภัณฑ์จากผ้าปกั ได้ทาการวิจยั ลายผ้าชนเผ่าเมีย่ น เพราะผิดแปลกจากเผ่าอื่น ๆ คือ ปกั จากด้านหลัง ผ้าขึน้ มายังด้านหน้าของผ้า เมีย่ นมีวธิ กี ารปกั ลาย สี่ แบบคือ การปกั ลายเส้น [กิว่ กิว่ ] การปกั ลายขัด [โฉ่ ง เกียม] การปกั ลายแบบกากบาท [โฉ่ ง ทิว] และการปกั ไขว้ [โฉ่ ง ดับ ยับ] “ส่วนใหญ่เมีย่ นนิยมใช้สปี กั ลาย เพียง 5 สีเท่านัน้ คือสีแดง สีเหลือง สีน้ าเงินสีเขียวและสีขาว สอน ให้แก่นกั เรียนโรงเรียนทีม่ คี วามพร้อมในตาบลผาช้างน้อย ซึง่ ก็ได้แก่ โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า และนักเรียน ทัง้ 40 คนทีเ่ รียนตัง้ แต่ปีการศึกษาทีผ่ ่านมา ก็มคี วามตัง้ ใจในการผลิตและอยากมีรายได้เพิม่ มากขึน้ ซึง่ หลักสูตรวิชาท้องถิน่ นี้ เป็นประโยชน์ต่อนักเรียนในชุมชนทีน่ ่มี าก เป็นการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิน่ ได้เป็ น อย่างดี” นางกรรณิการ์ กล่าว ขณะทีเ่ ด็กหญิงรัศมี หาญพญาไกร นักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า ทีเ่ ข้าร่วม โครงการการเรียนการสอนหลักสูตรวิชาท้องถิน่ กล่าวว่า จะนาความรูท้ ไ่ี ด้เอาไปประกอบเป็นอาชีพเสริมหา รายได้พเิ ศษ และอยากให้ขายผลิตภัณฑ์ทน่ี กั เรียนผลิตออกมาให้ได้มากๆ จะได้นาไปเป็นทุนการศึกษาต่อไป เช่นเดียวกับ นางวาสนา หาญพญาไกร ผูป้ กครอง เด็กหญิงรัศมี กล่าวว่า หลักสูตรดังกล่าวเป็น ประโยชน์ทงั ้ นักเรียน และต่อชุมชนมาก เป็นการสืบสานศิลปวัฒนธรรมท้องถิน่ ไม่ให้สญ ู หายไปการนาภูม ิ ปญั ญาท้องถิน่ มาสู่การเรียนการสอน เป็ นการนาคตินิยม ความเชื่อหรือหลักการพืน้ ฐานทีเ่ กิดจากการสังสม ่ หรือสืบทอดกันมา หรือขนมธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและจริยธรรม ทีแ่ สดงออกถึงความเจริญงอกงามและ ความเป็ นระเบียบแบบแผนทีเ่ คยยึดถือปฏิบตั สิ บื ทอดกันมา ทีส่ อดคล้องกับเนื้อหาสาระมาให้นกั เรียนได้เรียนรู้ ตามขัน้ ตอนกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์การเรียนรูท้ ก่ี าหนดไว้ สาหรับผลิตภัณฑ์ทท่ี าง โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่าได้ผลิตออกมานัน้ มีหลายรูปแบบและสวยงาม ได้แก่ ซองใส่โทรศัพท์ กล่องกระดาษ สมุดบันทึก ฯลฯ ซึง่ สามารถนาไปจาหน่ ายในชุมชน หรือการจัดบูธในงานต่าง ๆ ได้ เพื่อเป็นการสนับสนุ นการ เรียนการสอนและให้นกั เรียนมีทุนการศึกษา


ทัง้ นี้ สามารถสังจองผลิ ่ ตภัณฑ์ของนักเรียนได้ทโ่ี รงเรียน เบอร์โทร. 054-883040 ,ทางเว็บไซต์ www.banmaipangkha.ac.th หรือทาง facebook โรงเรียนบ้านใหม่ปางค่า แจ้คอนวิทยา เน้นทักษะชีวติ พิชติ ต้นแบบสภานักเรียนระดับประเทศ จากโรงเรียนขยายโอกาสขนาดเล็ก กับรางวัลขนาดใหญ่ “ ชนะเลิศต้นแบบสภานักเรียน ระดับประเทศ ประจาปี 2556” ของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน(สพฐ.) ทีม่ ศี กั ยภาพเพียงพอ ในการเป็นแม่แบบทีจ่ ะถ่ายทอดองค์ความรูพ้ ร้อมจุดประกายการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน ทีว่ ดั ค่าคุณภาพ การศึกษาจากทักษะชีวติ มากกว่าการวัดค่าจากผล NT และ O-NET กับกระแสสังคมโลกใหม่ ทีว่ ดั ค่าคุณภาพด้วยตัวเลขแบบคณิตศาสตร์เป็นสาคัญ ยังมีผบู้ ริหาร สถานศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาสบนพืน้ ทีส่ งู และตัง้ อยูใ่ นเขตพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยด้านสังคม ด้วยลักษณะ ภูมศิ าสตร์ทเ่ี ป็ นทางผ่านของเส้นทางขนย้ายยาเสพติด เพื่อให้นกั เรียนสามารถอยูร่ อดได้ในสังคมอย่าง ปลอดภัย ใช้ทกั ษะชีวติ โดยจัดหลักสูตรการเรียนการสอนทีใ่ ช้ชุมชนเป็ นฐานสาคัญและสร้างผูน้ าและเครือข่ายที่ เข้มแข็ง เน้นการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน นี่คอื แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของ แจ้คอนวิทยา สังกัด สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 “ ปจั จุบนั โลกภายนอกนัน้ ดูจะแคบลงมากและหมุนเร็วเพียงแค่ไม่กเ่ี มกกะบิท ผ่านระบบ อินเตอร์เน็ต กูเกิล หรือฟายฟ็อกซ์ เท่าทีผ่ มรูจ้ กั นะ” นี่คอื ความคิดเห็นของนายถาวร เกษณา ผูอ้ านวยการ โรงเรียนแจ้คอนวิทยา เกีย่ วกับกระแสสังคมโลกในยุคปจั จุบนั ผ่านระบบออนไลน์ นายถาวร กล่าวต่อว่า “ เมือ่ โลกแคบและหมุนเร็วขึน้ นัน้ ก็หมายความว่า อันตรายจากสื่อไร้สาย เหล่านี้กอ็ ยูใ่ กล้ตวั เรา และรวมถึงนักเรียนของเราแค่เอือ้ มมือ หรือแค่ป่มุ enter สิง่ เหล่านี้คอื ภาระหน้าทีข่ องเรา ทีจ่ ะต้องสอนให้เค้ารูเ้ ท่าทันโลกยุคออนไลน์และตระหนักถึงอันตรายควบคู่ไปด้วย สร้างทักษะชีวติ โดยใช้ กิจกรรมสภานักเรียนเป็ นกลไกหลักในการขับเคลื่อน การสร้างระบบผูน้ าและแบบอย่างทีด่ ี เสริมทักษะชีวติ ใน การคิดวิเคราะห์ สอดแทรกหลักสูตรพืน้ ฐานการอยูร่ ว่ มกันในสังคม จาลองชุมชนทีเ่ กือ้ กูลกัน ถอยทีถอ้ ยอาศัยโดยใช้กจิ กรรมสภานักเรียนเป็ นชุมชนสมมุตหิ รือผูน้ าชุมชนนันเอง ่ ” นายภาณุวฒ ั น์ วรพิทย์เบญจา ครูผดู้ แู ลและทีป่ รึกษากิจกรรมสภานักเรียน กล่าวเสริมว่า “ จาก รางวัลทีโ่ รงเรียนของเราได้รบั นัน้ ทาให้คณะครูและชุมชนตระหนักว่า โรงเรียนของเราเดินมาถูกทางแล้ว กิจกรรมสภานักเรียนของแจ้คอนวิทยา เราให้นกั เรียนดาเนินกิจกรรมต่างๆในบทบาทของผูน้ าอย่างแท้จริง โดยมีครูคอยให้คาปรึกษาเท่านัน้ ไม่เข้าไปก้าวก่ายหรือบังคับให้มกี จิ กรรมตามตัวชีว้ ดั หรือเป็นแค่เพียง องค์ประกอบในการประเมินคุณภาพสถานศึกษาเท่านัน้ แต่ส่งเสริมให้มบี ทบาทอย่างแท้จริง เปิดโอกาสให้ นักเรียนแสดงความสามารถในทางทีถ่ ูกต้อง


“ ในฐานะส่วนหนึ่งในคณะกรรมการนักเรียน ผมมีความภูมใิ จมากและน้องๆในโรงเรียนก็ดใี จและ นาข่าวดีไปบอกต่อพ่อแม่ของเค้า กับรางวัลทีไ่ ด้รบั ดูยงิ่ ใหญ่ในความรูส้ กึ ของผมทีส่ ุดในชีวติ ถึงผมจะเคยได้รบั รางวัลต่างๆมามากมาย แต่รางวัลผมดีใจทีส่ ุด ท่านผูอ้ านวยการถาวร ได้เคยบอกผมว่า ผูน้ าทีด่ ไี ม่ใช่หวั หน้า แต่ผนู้ าทีด่ คี อื คนทีท่ ากิจกรรมต่างๆดาเนินไปได้โดยดี สามารถทางานร่วมกับคนอื่นได้ คอยแก้ไขปญั หาที่ เกิดขึน้ มิใช่เป็ นคนสร้างปญั หาเสียเอง ” กับความรูส้ กึ ของน้องกอล์ฟ คณะกรรมการนักเรียนของโรงเรียนทีม่ ี ต่อรางวัลทีเ่ พิง่ ได้รบั สาหรับสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัด ได้ม ี ส่วนในการดาเนินกิจกรรมสภานักเรียนด้วยการสนับสนุ นงบประมาณในการจัดกิจกรรมเข้าค่ายผูน้ าอาสา เพื่อ ปลูกฝงั ความคิดในการเป็ นผูน้ าทีด่ ี การสร้างเยาวชนคนดี สานักงานเขตพืน้ ทีไ่ ด้แต่งตัง้ คณะกรรมการคอยเป็ น ทีป่ รึกษาให้กบั โรงเรียน มีการนิเทศ ติดตามอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างขวัญและกาลังใจให้กบั ผูบ้ ริหารและคณะครู ทีย่ อมเสียสละและทุ่มเทแรงกายแรงใจเพื่อเพาะต้นกล้าประชาธิปไตยและคนดีในอนาคต กับรางวัล ระดับประเทศทีไ่ ด้รบั สานักงานเขตพืน้ ทีข่ อแสดงความยินดีและขอขอบคุณทุกองค์กรทีม่ สี ่วนร่วมในการร่วม สนับสนุ นกิจกรรมดังกล่าว และจะเดินทางไปรับโล่ประกาศเกียรติคุณจากท่านรัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ นายจาตุรนต์ ฉายแสง ณ หอประชุม สพฐ. ในปลายเดือนสิงหาคมนี้” นายสันติทศั น์ เรืองเดช รองผูอ้ านวยการ สานักงานเขตพืน้ ที่ รักษาราชการแทน ผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 3 กล่าวเสริมในตอนท้าย เพื่อการันตีสถานศึกษาคุณภาพ แทปเลตกับปัญหาการจัดการเรียนการสอนโรงเรียนบนพื้นที่สงู ที่ขาดแคลนไฟฟ้ า

สพป มส 2 โอด แทปเลตใช้ไม่คมุ้ ค่าเหตุอยู่บนพืน้ ทีส่ งู เพราะขาดแคลนไฟฟ้า วอน ศธ. หรือผูใ้ จบุญสนับสนุ น การศึกษาเด็กพืน้ ทีส่ งู นายทวนทอง ศรีสวัสดิ ์ รองผูอ้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 2 กล่าวถึงนโยบายการนาแทปเลตมามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ว่า เป็นนโยบายทีเ่ ป็นประโยชน์อย่างมาก จะทาให้เกิดความสนใจ ความไฝร่ ู้ และ ความตื่นตัวทางการศึกษาของเด็กชายขอบซึง่ ห่างไกลจากเทคโนโลยี อย่างมาก ด้านครูผสู้ อนเองก็จะเป็ นการพัฒนาตนเองเพื่อปรับเปลีย่ นรูปแบบ วิธกี ารสอนให้เหมาะสมกับพืน้ ที่ แต่ดว้ ยข้อจากัดของพืน้ ที่ ซึง่ โรงเรียนทีอ่ ยูใ่ นเขตรับผิดชอบส่วนใหญ่ จะตัง้ อยูบ่ นพืน้ ทีส่ งู 80 % จะเป็ นไฟฟ้า ทีม่ าจากโซล่าเซลล์และโซล่าโฮม ความคาดหวังในการนาแทปเลตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน คงไม่มงุ่ ที่ ผลสัมฤทธิ ์ทีจ่ ะเกิดขึน้ แต่จะให้เด็กได้มคี วามภาคภูมใิ จ มีความรูส้ กึ ทัดเทียมกับเด็กในเมือง แต่ถงึ อย่างไรก็ ตามเราก็ตอ้ งยังคงส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม และไม่ละทิง้ การอ่าน เขียน ภาษาไทย ซึง่ เป็นพืน้ ฐานที่ สาคัญในการเรียนรูข้ องเด็กต่อไป


ดร.สุรพล ศรีศลิ ป์ ศึกษานิเทศก์ชานาญการ ผูร้ บั ผิดชอบติดตามการใช้แทปเลตในการจัดการเรียนการสอน กล่าวว่า แทปเลตทีใ่ ช้ในการจัดการเรียนการสอนอยูป่ จั จุบนั นัน้ ยังมีขอ้ จากัดอยูห่ ลายด้าน เช่น ปญั หาด้าน ความจุของพืน้ ทีใ่ นการจัดเก็บบทเรียนมีน้อยเกินไป ซึง่ เมือ่ นักเรียนเรียนชัน้ ป.1 จบแล้วแล้วเมือ่ ได้รบั การ เลื่อนชัน้ จะต้องลบบทเรียนออก เพื่อจะได้บรรจุบทเรียน ป.2 ต่อไป ทาให้การเรียนการสอนไม่ต่อเนื่อง หากเด็ก ไม่เข้าใจบทเรียนก็ไม่สามารถกลับไปอ่านย้อนหลังได้ แต่สาหรับปญั หาใหญ่ทเ่ี ขตพืน้ ทีเ่ ราเจอจะเป็ นเรือ่ ง แบตเตอรีท่ ใ่ี ช้ เกิดการเสื่อมเพราะระบบไฟฟ้าของเราไม่เสถียร ก็จะทาให้การจัดเก็บไฟฟ้าไม่สมบูรณ์ 100 % แต่กจ็ าเป็ นทีจ่ ะต้องนามาทาการสอนก่อนเพื่อให้เกิดการต่อเนื่องของการเรียนต่อไป จากการติดตาม“โรงเรียน บ้านแม่จา๊ ง ตัง้ อยูท่ อ่ี าเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฮ่องสอน ห่างจากตัวอาเภอแม่สะเรียง 163 กิโลเมตร ถนนที่ เข้าถึงตัวโรงเรียนจะเป็ นทางลูกรังเป็นส่วนใหญ่ สลับทางขึน้ ลงบนภูเขาตัดทางเดินของแม่น้ าเป็ นระยะ นายเมธี พรรณนาทรัพย์ ผอ.โรงเรียนเล่าว่า นอกจากจะดูแลโรงเรียนบ้านแม่จา๊ งแล้ว ยังต้องรับผิดชอบห้องเรียนสาขา อีก 1 แห่งคือห้องเรียนบ้านดงน้อย-ดงหลวง ซึง่ อยูใ่ นเขตบริการ โดยมีนกั เรียนรวมทัง้ หมด 245 คน ส่วนใหญ่ จะเป็ นชนเผ่า ปากะญอ” ดร.สุรพล กล่าว นางสาววิไลลักษณ์ หยกอาภาศิร ิ ครูประจาชัน้ ป.1โรงเรียนบ้านแม่จา๊ ง กล่าวเสริมว่า หลังจากทีไ่ ด้รบั แทป เลตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน ทาให้นกั เรียนมีความสนใจใฝร่ มู้ ากกว่าทีจ่ ะเปิ ดในหนังสือเรียน เพราะถือ ว่ายังเป็ นสิง่ แปลกใหม่สาหรับเด็กบนพืน้ ทีส่ งู บทเรียนในแทปเลตจะมีทงั ้ ภาพเคลื่อนไหว เสียง จะสามารถทา ให้เด็กเข้าใจในเนื้อหาได้ง่ายและรวดเร็วขึน้ แต่ทางโรงเรียนจะได้นาแทปเลตมาใช้ในการเรียนเป็ นบางรายวิชา เท่านัน้ เช่นวิชาภาอังกฤษ เพราะจะเป็ นการฝึกทักษะทัง้ ด้านการ ฟงั พูดอ่าน เขียน ได้ครบถ้วน ด.ญ ขนิษฐา พิศฏางค์ นักเรียนชัน้ ป.1 กล่าวว่า รูส้ กึ ดีใจเป็นอย่างมากทีไ่ ด้ใช้แทปเลตเหมือนเด็กในเมือง ชอบทีจ่ ะเรียนรูม้ ากขึน้ เพราะในบทเรียนมีทงั ้ ภาพและเสียง มีความน่าสนใจและทาให้เข้าใจบทเรียนทีซ่ บั ซ้อน ง่ายขึน้ นาย เมธี พรรณนาทรัพย์ ผอ.โรงเรียน กล่าวว่า หลังจากจะรับแทปเลตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สังเกตพฤติกรรมเด็กมีความสุขและมีความกระตือรือร้นในการเรียนเป็นอย่างมาก แต่ทว่าข้อจากัดด้านสภาพ พืน้ ทีข่ องโรงเรียน ซึง้ ตัง้ อยู่บนพืน้ ทีส่ งู ไฟฟ้าทีใ่ ช้มอี ย่างจากัด ไม่พอเพียงต่อการใช้ บางครัง้ ต้องใช้เครือ่ งปนั ่ ไฟเข้าช่วย บางโรงเรียนทีโ่ ชคดีหน่อย ก็จะได้รบั งบประมาณของเอกชน ในการติดตัง้ แผงโซล่าเซลล์เพิม่ ให้ แต่กเ็ ป็ นการแก้ปญั หาได้บางส่วนเท่านัน้ ซึง่ อาจทาให้การนาแทปเลตมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนไม่เต็มที่ เท่าทีค่ วร ทัง้ นี้ ถึงแม้ว่าโรงเรียนในพืน้ ทีส่ งู ดูเหมือนจะมีขอ้ จากัดหลายอย่าง ในการทีจ่ ะนาแทปเลตมาใช้ในการจัดการ เรียนสอน แต่ทางสานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอนเขต 2 ผอ.โรงเรียนและคณะครูทุกท่าน ก็จะไม่ละทิง้ หน้าทีใ่ นการส่งเสริม สนับสนุน การเรียนรูอ้ ย่างเหมาะสมกับบริบทพืน้ ทีแ่ ละมีคุณภาพทัดเทียมกับ เด็กในเมืองอย่างแน่นอน สนใจเยีย่ มชมโรงเรียนและให้การสนับสนุ น โทร 053-690178


ติดต่อสอบถาม นางสาวเบญจวรรณ ตนภู 085-7110713


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.