เอกสารอบรม

Page 1


คานา

เอกสารฉบับนี้จดั ทาขึน้ เพื่อใช้ประกอบการอบรม การผลิตคลิปวีดโิ อเพื่อการประชาสัมพันธ์ ของเครือข่าย ประชาสัมพันธ์ เพื่อเป็นช่องทางในการเผยแพร่กจิ กรรม ข่าวสารขององค์กร ปจั จุบนั สื่อประเภทคลิปวีดโิ อเป็ นที่ แพร่หลาย ผลิตด้วยเครือ่ งมือง่ายๆไม่ยงุ่ ยาก และสามารถ เผยแพร่ เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้รวดเร็ว ในโลกออนไลน์ ส่วนมากประชากรของโลกนิยมใช้และเข้าถึงสื่อนี้ การผลิต คลิปวีดโิ อเพื่อการประชาสัมพันธ์ จึงเป็นสื่อทีม่ ี ประสิทธิภาพและคุณภาพเป็นอย่างยิง่ ในเอกสารฉบับนี้ได้ กล่าวถึงความรูเ้ บือ้ งต้นเกี่ยวกับขัน้ ตอนการผลิต เช่น

ขัน้ ตอนต่างๆของการผลิต เครือ่ งมือทีใ่ ช้ ศัพท์เทคนิค ต่างๆทีค่ วรรู้ วิธกี ารนาไปใช้ในการทางาน และวิธเี ผยแพร่ ในโลกออนไลน์ หวังว่าเอกสารฉบับนี้จะเป็ นประโยชน์ให้กบั ผูส้ นใจการผลิตคลิปวีดโิ อ เป็นอย่างมาก ขอขอบพระคุณ แหล่งความรูต้ ่างๆทีเ่ ติมเต็มความรูท้ าให้เอกสารฉบับนี้ใช้ เป็นเอกสารทางวิชาการเพื่อเป็นแหล่งความรู้

ไพรัช นวลขา

March 2014

22


VIDEO CLIP วิ ดีโอคลิ ป หรือ คลิปวิดโี อ คือ ไฟล์คอมพิวเตอร์ทบ่ี รรจุเนื้อหาเป็นภาพยนตร์สนั ้ เล่าเรือ่ งสัน้ ๆ อาจจะตัดตอนมาจาก ภาพยนตร์ทงั ้ เรือ่ งซึง่ มีขนาดความยาวปกติ หรือถ่ายทาเป็นเรือ่ งเล่าสัน้ ๆ คลิปมักจะเป็ นส่วนทีส่ าคัญ หรือต้องการนามา เผยแพร่ให้ผชู้ มได้รบั สาระ เช่นตลกขบขัน รับรูก้ จิ กรรมการดาเนินงานต่างๆ หรืออาจเป็ นเรือ่ งความลับทีต่ อ้ งการนามา เผยแพร่ จากต้นฉบับเดิม แหล่งของวิดโี อคลิป ได้แก่ ข่าว ข่าวกีฬา มิวสิควิดโี อ รายการโทรทัศน์ หรือภาพยนตร์ ปจั จุบนั มีการใช้วดิ โี อคลิปแพร่หลาย เนื่องจากไฟล์คลิปนี้มขี นาดเล็ก สามารถส่งผ่านอีเมลย์ หรือดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ได้ สะดวก ในประเทศตะวันตก เรียกการแพร่หลายของวิดโี อคลิปนี้ว่า วัฒนธรรมคลิป (Clip Culture)คาคานี้ มี ความหมายกว้างๆ หมายถึง ภาพยนตร์สนั ้ แบบไหนก็ได้ ทีม่ คี วามยาวน้อยกว่ารายการโทรทัศน์ตามปกติ (โดยมากไม่เกิน 5-10 นาที และทีพ่ บบ่อยทีส่ ุดคือประมาณ 1 นาที) จากการใช้งานอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ยิง่ ทาให้วดิ โี อคลิปเป็นทีน่ ิยมและแพร่หลายมากขึน้ ไปอีก ประมาณว่า มีวดิ โี อคลิป ให้โหลดออนไลน์นบั ล้านไฟล์ เว็บไซต์ยอดนิยมได้แก่ www.ifilm.com www.youtube.com video.google.com

หนังสัน้ คือการเล่าเรื่องด้วยภาพและเสียงทีม่ ปี ระเด็นเดียวสัน้ ๆ แต่ได้ใจความ ศิลปะการเล่าเรื่อง ไม่ ว่าจะเป็ นนิทาน นิยาย ละคร หรือภาพยนตร์ ล้วนแล้วแต่มรี ากฐานแบบเดียวกัน นันคื ่ อ การเล่าเรื่องราวที่ เกิดขึน้ ของมนุ ษย์หรือสัตว์ หรือแม้แต่อะไรก็ตามทีเ่ กิดขึน้ ช่วงเวลาหนึ่งเวลาใด ณ สถานทีใ่ ดทีห่ นึ่งเสมอ ฉะนัน้ องค์ประกอบทีส่ าคัญทีข่ าดไม่ได้คอื ตัวละคร สถานที่ และเวลา เครื่องมือในการผลิ ต 1.กล้อง ( Camera) กล้องทีใ่ ช้ถ่ายทา อาจเป็ นกล้องถ่ายทาวีดโิ อ หรือ กล้องถ่ายภาพทีส่ ามารถบันทึก วีดโิ อได้ ตลอดจนมือถือทีส่ ามารถบันทึกวีดโิ อได้

2.ขาตัง้ กล้อง

33


3.เครือ่ งคอมพิวเตอร์

ได้ทงั ้ เครือ่ ง PC และ โน๊ตบุ๊ค

CPU เป็นหัวใจทีส่ าคัญทีส่ ุดในการตัดต่อวีดโี อCPU ทีม่ คี วามเร็วสูง เพื่อทีจ่ ะทาให้การทางานของโปรแกรมตัดต่อมีความ ราบรืน่ RAM เป็นหน่วยความจาทีเ่ ร็วทีส่ ุดในคอมพิวเตอร์ เท่าไร เราก็มพี น้ื ทีถ่ ่ายโอนมาพักไว้ได้เยอะเท่านัน้ ส่งผล

เป็นตัวถ่ายโอนส่งข้อมูล ยิง่ มาก ให้การถ่ายโอนข้อมูลมีความสะดวก

มากขึน้ การส่งข้อมูลก็สามารถทาได้รวดเร็วมากขึน้ ครับ

สาหรับตัดต่อไฟล์วดี โี อ Stand-

ard – ความจุ RAM 2 GB

ตัดต่อไฟล์วดี โี อ High Defi-

สเปกขัน้ ต่า สาหรับ nition – ความจุ RAM 4 GB สเปกในฝนั สาหรับ

ตัดต่อไฟล์วดี โี อทุกประเภท –

ความจุ RAM 8 GB (ใช้กบั Windows 64 Bit) Hard disk เป็นทีเ่ ก็บข้อมูลต่างๆของคอมพิวเตอร์ การตัดต่อวีดโี อจาเป็นต้องใช้ Hard disk มากกว่าการทางาน ประเภทอื่นๆ เพราะว่าไฟล์วดี โี อจะมีขนาดใหญ่ สาหรับ Harddish สเปกขัน้ ต่า สาหรับตัดต่อไฟล์วดี โี อ Standard – ความจุ HD 50 GB สเปกขัน้ ต่า สาหรับตัดต่อไฟล์วดี โี อ High Definition – ความจุ HD 100 GB สเปกในฝนั สาหรับตัดต่อไฟล์วดี โี อทุกประเภท – ความจุ HD 1000 GB (1 TB) พอร์ต Firewire อันนี้จาเป็ นสาหรับกล้องถ่ายวีดโี อทีใ่ ช้มว้ นเทป เพราะต้องใช้เจ้าพอร์ตตัวนี้ในการ capture วีดโี อจากม้วนเทปลงกล้อง การแปลงวีดโี อจากม้วนเทปลงคอมพิวเตอร์เพื่อนามาตัดต่อ DVD writer เพื่อนาวีดโิ อทีต่ ดั ต่อExport ออกมาเป็ นไฟล์ทไ่ี ว้เปิดกับเครือ่ งเล่น DVD โปรแกรมตัดต่อวีดีโอ ใช้ Corel prox 6 หรือ Ulead 16 ขัน้ ตอนการผลิ ต การผลิ ตภาพยนตร์ มี 4 ขัน้ ตอนได้ดงั นี้ 1. การเขียนบท การเขียนบทภาพยนตร์อนั ดับแรกทีต่ อ้ งทาถือเป็นสิง่ สาคัญหลังจากพบประเด็นของเรือ่ งแล้วจึงลงมือค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อเสริม รายละเอียดเรือ่ ง ราวทีถ่ ูกต้องจริงชัดเจน และมีมติ มิ ากขึน้ คุณภาพของ ภาพยนตร์จะดีหรือไม่จงึ อยู่ทก่ี ารค้นคว้าหาข้อมูล ไม่ว่า ภาพยนตร์นนั ้ จะมีเนื้อหาใดก็ตาม 2.การกาหนดประโยคหลักสาคัญ (premise) หมายถึงความคิดหรือแนวความคิดทีง่ ่าย ๆ ธรรมดา ส่วนใหญ่มกั ใช้ตงั ้ คาถาม ว่า “เกิดอะไรขึน้ ถ้า...” (what if) 3.การเขียนเรื่องย่อ (synopsis) คือเรือ่ งย่อขนาดสัน้ ทีส่ ามารถจบลงได้ 3-4 บรรทัด หรือหนึ่งย่อหน้า หรืออาจเขียน เป็น story outline เป็ นร่างหลังจากทีเ่ ราค้นคว้าหาข้อมูลแล้วก่อนเขียนเป็นโครงเรือ่ งขยาย (treatment)

44


4.การเขียนโครงเรือ่ งขยาย (treatment) เป็นการเขียนคาอธิบายของโครงเรือ่ ง (plot) ในรูปแบบของเรื่องสัน้ โครง เรือ่ งขยายอาจใช้สาหรับเป็ นแนวทางในการเขียนบทภาพยนตร์ทส่ี มบูรณ์ และการเขียนโครงเรือ่ งขยายทีด่ ตี อ้ งมีประโยคหลัก สาหคัญ (premise) ทีง่ า่ ย ๆ น่าสนใจ 5.บทภาพยนตร์ (screenplay) สาหรับภาพยนตร์บนั เทิง หมายถึง บท (script) ซีเควนส์หลัก (master scene/ sequence)หรือ ซีนาริโอ (scenario) คือ บทภาพยนตร์ทม่ี โี ครงเรือ่ ง บทพูด แต่มคี วามสมบูรณ์น้อยกว่าบทถ่ายทา (shooting script) เป็ นการเล่าเรือ่ งทีไ่ ด้พฒ ั นามาแล้วอย่างมีขนั ้ ตอน ประกอบ ด้วยตัวละครหลักบทพูด ฉาก แอ็คชัน่ ซี เควนส์ มีรปู แบบการเขียนทีถ่ ูกต้อง เช่น บทสนทนาอยู่กง่ึ กลางหน้ากระดาษฉาก เวลา สถานที่ อยูช่ ดิ ขอบหน้าซ้ายกระดาษ ไม่มตี วั เลขกากับช็อต และโดยหลักทัวไปบทภาพยนตร์ ่ หนึ่งหน้ามีความยาวหนึ่งนาทีบทถ่ายทา (shooting script) คือ บทภาพยนตร์ทเ่ี ป็นขัน้ ตอนสุดท้ายของการเขียน บทถ่ายทา บทถ่ายทาจะบอกรายละเอียดเพิม่ เติมจากบทภาพยนตร์ (screenplay) ได้แก่ ตาแหน่งกล้อง การเชื่อม ช็อต เช่น คัท (cut) การเลือนภาพ (fade) การละลายภาพ หรือการจางซ้อนภาพ (dissolve) การกวาดภาพ (wipe) ตลอดจนการใช้ภาพพิเศษ(effect) อื่น ๆ เป็นต้น นอกจากนี้ยงั มีเลขลาดับช็อตกากับเรียงตามลาดับตัง้ แต่ชอ็ ต แรกจนกระทังจบ ่ เรือ่ ง และขนาดภาพในการเขียน shooting script มีดงั นี้ มุมภาพและศัพท์เทคนิ คที่ใช้ในการเขียนบท การเขียนบทโทรทัศน์ผเู้ ขียนจะต้องมีความรูเ้ กีย่ วกับมุมกล้องบ้างเพราะจะ เป็ นประโยชน์ในการให้รายละเอียดเกีย่ วกับบท ของเรา และทาให้นกั แสดงและผูเ้ กีย่ วข้องเข้าใจในบทนัน้ ๆมี องค์ประกอบดังนี้ 1. ภาพ (Picture) ซึง่ เกิดจากการเหตุการณ์จริงเลย เช่นการรายงานข่าว และการผสมผสานเหตุการณ์จริงกับการเลือกมุม กล้องของนักเขียนบท เช่นละคร เกมโชว์ สารคดี โฆษณา เป็นต้น มักประกอบด้วย Actors (ตัวแสดง ตัวละคร) Setting (ฉาก) Props (ของประกอบฉาก) Lighting (แสง เงา) 2. เสียง (Sound) อันประกอบด้วยบทบรรยาย บทสนทนา (Dialogue) เสียงประกอบ (Sound effect) ดนตรี ประกอบ (Background Music หรือ Song) ตระกูลไฟล์เสียงทีน่ ามาใช้กจ็ ะเป็น Mp3,Wave 3. ภาษากล้อง มุมกล้อง ซึง่ ใช้ระบุลกั ษณะและขนาดของภาพ แต่ทใ่ี ช้กนั แพร่หลายในปจั จุบนั มีดงั นี้ Tilt Down: T.D. ภาพทีเ่ กิดจากการกดหน้ากล้องลง เป็นภาพมุมสูง Tilt Up คือ ภาพทีเ่ กิดจากการ ยกหน้ากล้องขึน้ เป็นภาพมุมต่ า Over-shoulder Shot ภาพผ่านไหล่ ใช้ในฉากทีม่ ตี วั แสดงมากกว่าหนึ่งขึน้ ไป คือภาพทีเ่ ห็นตัวแสดงโดยมองจาก มุมมองทีผ่ ่านไหล่ตวั ละครอีกตัวหนึ่ง Pan-Left,Pan-Right การกวาดกล้องไปทางซ้าย,ไปทางขวา

55


Zoom in,Zoom out

การดึงเล่นส์ขยายเข้าหาภาพ,การขยายออกจากภาพ

Dolly in, Dolly out การนากล้องเคลื่อนเข้าหาภาพ,การเคลื่อนออกจากภาพ Fade in,Fade out Dissove (Trucking / Tracking ) คือ การเคลื่อนไหวกล้องไปด้านซ้ายให้ขนานกบวัตถุไป ทางซ้าย หรือไปทางขวา การทิล้ ท์ (Tilting) คือ การเคลื่อนกล้องตาม แนวดิง่ จากล่างขึน้ บน (Tilt Up) และจากบนลงล่าง (Tilt Down) เพื่อให้เห็นวัตถุตามแนวตัง้ เช่น ภาพอาคารสูง หรือนาผูช้ มไปยังจุดทีต่ อ้ งการ ระยะภาพ 6.1ภาพระยะไกลมากหรือระยะไกลสุด (Extreme Long Shot / ELS) ได้แก่ ภาพทีถ่ ่ายภายนอกสถานทีโ่ ล่งแจ้ง มักเน้นพืน้ ทีห่ รือบริเวณทีก่ ว้างใหญ่ไพศาล เมือ่ เปรียบ เทียบกับสัดส่วนของ มนุษย์ทม่ี ขี นาดเล็ก ภาพ ELS ส่วนใหญ่ใช้สาหรับการเปิดฉากเพื่อบอกเวลาและสถานที่ อาจเรียกว่า Establishing Shot ก็ได้ เป็นช็อตทีแ่ สดงความยิง่ ใหญ่ของฉากหลัง

66


6.2 ภาพระยะไกล (Long Shot /LS) ภาพระยะไกล เป็นภาพทีค่ ่อนข้างสับสนเพราะมีขนาดทีไ่ ม่แน่ นอนตายตัว บางครัง้ เรียกภาพกว้าง (Wide Shot) เวลาใช้ อาจกินความตัง้ แต่ภาพระยะไกลมาก (ELS) ถึงภาพระยะไกล (LS) ซึง่ เป็นภาพขนาดกว้างแต่สามารถเห็นรายละเอียดของ ฉากหลังและผูแ้ สดงมากขึน้ เมือ่ เปรียบเทียบกับภาพระยะไกลมาก หรือเรียกว่า Full Shot เป็นภาพกว้างเห็นผูแ้ สดงเต็มตัว ตัง้ แต่ศรี ษะจนถึงส่วนเท้า

6.3 ภาพระยะไกลปานกลาง (Medium Long Shot / MLS) เป็นภาพทีเ่ ห็นรายละเอียด ของผูแ้ สดงมากขึน้ ตัง้ แต่ศรี ษะจนถึงขา หรือหัวเข่า ซึง่ บางครัง้ ก็เรียกว่า Knee Shot เป็นภาพที่ เห็นตัวผูแ้ สดงเคลื่อนไหวสัมพันธ์กบั ฉากหลังหรือเห็นเฟอร์นิเจอร์ ในฉากนัน้

6.4 ภาพระยะปานกลาง (Medium Shot /MS) ภาพระยะปานกลาง เป็นขนาดทีม่ คี วามหลากหลายและมีช่อื เรียกได้หลายชื่อเช่นเดียวกัน แต่โดยปกติจะมีขนาดประมาณ ตัง้ แต่หนึ่งในสีถ่ งึ สามในสีข่ องร่างกาย บางครัง้ เรียกว่า Mid Shot หรือ Waist Shot ก็ได้ เป็นช็อตทีใ่ ช้มากสุดอันหนึ่ง ภาพยนตร์

77


6.5 ภาพระยะใกล้ปานกลาง (Medium Close-Up / MCU) เป็นภาพแคบ คลอบคลุมบริเวณตัง้ แต่ศรี ษะถึงไหล่ของผูแ้ สดง ใช้สาหรับในฉากสนทนาทีเ่ ห็นอารมณ์ความรูส้ กึ ทีใ่ บหน้า ผู้ ั ้ ง่ ตัว แสดงรูส้ กึ เด่นในเฟรม บางครัง้ เรียกว่า Bust Shot มีขนาดเท่ารูปปนครึ

6.6 ภาพระยะใกล้ (Close-Up / CU) เป็นภาพทีเ่ ห็นบริเวณศีรษะและบริเวณใบหน้า ของผูแ้ สดง มีรายละเอียดชัดเจนขึน้ เช่น ริว้ รอยบนใบหน้า น้ าตา ส่วนใหญ่เน้น ความรูส้ กึ ของผูแ้ สดงทีส่ ายตา แววตา เป็นช็อตทีน่ ิ่งเงียบมากกว่าให้มบี ทสนทนา โดยกล้องนาคนดูเข้าไปสารวจตัวละครอย่าง ใกล้ชดิ

6.7 ภาพระยะใกล้มาก (Extreme Close-Up /ECU หรือ XCU) เป็นภาพทีเ่ น้นส่วนใด ส่วนหนึ่งของร่างกาย เช่น ตา ปาก เท้า มือ เป็นต้น ภาพจะถูกขยายใหญ่บนจอ เห็นรายละเอียดมาก เป็นการเพิม่ การเล่าเรือ่ งในหนังให้ได้อารมณ์มากขึน้

88


6.8 มุมสายตานก (Bird's-eye view) มุมชนิดนี้มกั เรียกทับศัพท์ทาให้เข้าใจ มากกว่า เป็นมุมถ่ายมาจากด้านบนเหนือศีรษะ ทามุมตัง้ ฉากเป็ นแนวดิง่ 90 องศากับผู้ แสดง เป็ นมุมมองทีเ่ ราไม่คุน้ เคยในชีวติ ประจาวัน จึงเป็ นมุมทีแ่ ปลก แทนสายตานกทีอ่ ยูบ่ นท้องฟ้า

7. บทภาพ (storyboard) คือ บทภาพยนตร์ประเภทหนึ่งทีอ่ ธิบายด้วยภาพ คล้ายหนังสือการ์ตูน ให้เห็นความต่อเนื่อง ของช็อตตลอดทัง้ ซีเควนส์หรือทัง้ เรือ่ งมีคาอธิบายภาพ ประกอบ เสียงต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสียงประกอบฉาก และเสียงพูด เป็นต้น ใช้เป็ นแนวทางสาหรับการถ่ายทา หรือใช้เป็นวิธกี ารคาดคะเนภาพล่วงหน้า (pre-visualizing) ก่อนการถ่ายทาว่า เมือ่ ถ่ายทาสาเร็จแล้ว หนังจะมีรปู ร่างหน้าตาเป็นอย่างไร ซึง่ บริษทั ของ Walt Disney นามาใช้กบั การผลิตภาพยนตร์การ์ตูน ของบริษทั เป็ นครัง้ แรก โดยเขียนภาพ เหตุการณ์ของแอ็คชันเรี ่ ยงติดต่อกันบนบอร์ด เพื่อให้คนดูเข้าใจและมองเห็นเรือ่ งราว ล่วงหน้าได้ก่อนลงมือเขียนภาพ ส่วนใหญ่บทภาพจะมีเลขทีล่ าดับช็อตกากับไว้ คาบรรยายเหตุการณ์ มุมกล้อง และอาจมีเสียง ประกอบด้วย

99


ขัน้ ก่อนการผลิ ต (Pre Production) นับเป็ นขัน้ ตอนทีม่ คี วามสาคัญเป็นอย่างยิง่ ก่อนเริม่ ทาการผลิตภาพยนตร์ ได้แก่การเตรียมข้อมูล การกาหนดหรือเค้าโครง เรือ่ ง การประสานงาน กองถ่ายกับสถานทีถ่ ่ายทา ประชุมวางแผนการผลิต การเขียนสคริปต์ การจัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การ ถ่ายทา อุปกรณ์การบันทึกเสียง ห้องบันทึกเสียง ห้องตัดต่อ อุปกรณ์ประกอบฉาก อุปกรณ์แสง การเตรียม ทีมงาน ทุก ฝา่ ย การเดิน ทาง อาหาร ทีพ่ กั ฯลฯ หากจัดเตรียมรายละเอียดในขัน้ ตอนนี้ได้ดี ก็จะส่งผลให้ขนั ้ ตอนการผลิตทาได้งา่ ยและ รวดเร็วยิง่ ขึน้ ดังนัน้ Pre Production มีส่วนอย่างมากทีจ่ ะชีไ้ ด้ว่าหนังจะออกมาดีหรือไม่ช่วง พรี-โพร จะเป็นช่วงทีห่ นัง เริม่ ก่อเค้าเป็ นรูปเป็นร่าง ขัน้ ตอนการผลิ ต (Production) เป็นขัน้ ตอนการดาเนินการถ่ายทาภาพยนตร์(ออกกอง)ทีมงานผูผ้ ลิตได้แก่ ผูก้ ากับภาพยนตร์ ช่างภาพ ช่างไฟ ช่างเทคนิค เสียง ช่างศิลป์ ผูแ้ ต่งหน้าทาผม ผูฝ้ ึกซ้อมนักแสดง รวมทัง้ การบันทึกเสียงตามทีก่ าหนดไว้ในสคริปต์ ขัน้ ตอนนี้อาจมีการถ่าย ทาแก้ไขหลายครัง้ จนเป็นทีพ่ อใจ (take) นอกจากนี้อาจจาเป็นต้องเก็บภาพ/เสียงบรรยากาศทัวไป ่ ภาพเฉพาะมุมเพิม่ เติม เพื่อใช้ในการขยายความ (insert) เพื่อให้ผชู้ มได้เห็นและเข้าใจรายละเอียดมากยิง่ ขึน้

ขัน้ ตอนหลังการผลิ ต (Post Production) เป็นขัน้ ตอนการตัดต่อเรียบเรียงภาพและเสียงเข้าไว้ดว้ ยกันตามสคริปต์หรือเนื้อหาของเรือ่ ง ขัน้ ตอนนี้จะมีการใส่กราฟิกและ เทคนิคพิเศษภาพ การเชื่อมต่อ ภาพ/ฉาก อาจมีการบันทึกเสียงในห้องบันทึกเสียง เพิม่ เติม อีกก็ได้ อาจมีการนาดนตรีมา ประกอบ เรือ่ งราวเพื่อเพิม่ อรรธรสในการรับชมยิง่ ขึน้ ขัน้ ตอนนี้ส่วนใหญ่จะดาเนินการอยูใ่ นห้องตัดต่อ มีเฉพาะ คนตัด ต่อ (Editor) ผูก้ ากับภาพยนตร์และช่างเทคนิคทีเ่ กีย่ วข้องเท่านัน้

1010


การตัดต่อ คือ การเชื่อมระหว่างช็อต 2 ช็อต โดยใช้ 1 ใน 3 รูปแบบ ดังนี้ 1.การตัดชนภาพ The Cut คือ การตัดภาพชนกันจากช็อตหนึ่งต่อตรงเข้ากับอีกช็อตหนึ่ง วิธนี ้คี นดูจะไม่ทนั สังเกตเห็น 2.การผสมภาพ The Mix หรือ The Dissolve เป็ นการค่อย ๆ เปลีย่ นภาพจากช็อตหนึ่งไปยังอีกช็อตหนึ่ง โดยภาพจะ เหลื่อมกัน และคนดูสามารถมองเห็นได้ 3.การเลือนภาพ The Fade เป็นการเชื่อมภาพทีค่ นดูสามารถเห็นได้ มี 2 แบบ คือ การเลือนภาพเข้า fade in คือการเริม่ ภาพจากดาแล้วค่อย ๆ ปรากฏภาพซ้อนสว่างขึน้ มักใช้สาหรับการเปิดเรือ่ ง การเลือนภาพออก fade out คือการทีภ่ าพใน ท้ายช็อตค่อย ๆ มืดดาสนิท มักใช้สาหรับการปิดเรือ่ งตอนจบ ในการตัดต่อ ควรคานึงถึงความรูเ้ บือ้ งต้น 6 ประการดังนี้ 1.แรงจูงใจ Motivation ในการตัดต่อ ไม่ว่าจะการ cut, mix หรือ fade ควรมีเหตุผลทีด่ หี รือมีแรงจูงใจเสมอ ซึง่ แรงจูงใจ นี้อาจเป็นภาพ เสียง หรือทัง้ สองอย่างผสมกันก็ได้ ในส่วนของภาพอาจเป็นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง แม้นกั แสดงจะแสดง เพียงเล็กน้อย เช่น การขยับร่างกายหรือขยับส่วนของหน้าตา สาหรับเสียงอาจเป็นเสียงใดเสียงหนึ่ง เช่น เสียงเคาะประตู หรือ เสียงโทรศัพท์ดงั หรืออาจเป็นเสียงทีไ่ ม่ปรากฏภาพในฉาก (off scene) 2.ข้อมูล Information ข้อมูลในทีน่ ้คี อื ข้อมูลทีเ่ ป็ นภาพ ช็อตใหม่ หมายถึงข้อมูลใหม่ คือถ้าไม่มขี อ้ มูลอะไรใหม่ในช็อตนัน้ ๆ ก็ไม่จาเป็ นต้องนามาตัดต่อ ไม่ว่าภาพจะมีความงดงามเพียงไร ก็ควรทีจ่ ะเป็ นข้อมูลภาพทีแ่ ตกต่างจากช็อตทีแ่ ล้ว ยิง่ มีขอ้ มูลภาพ ทีค่ นดูเห็นและเข้าใจมากขึน้ ผูช้ มก็ยงิ่ ได้รบั ข้อมูลและมีอารมณ์รว่ มมากขึน้ เป็นหน้าทีข่ องคนตัดทีจ่ ะนาข้อมูลภาพมาร้อยให้มากทีส่ ุดโดยไม่เป็นการยัดเยียดให้คนดู 3.องค์ประกอบภาพในช็อต Shot Composition ผูต้ ดั ไม่สามารถกาหนดองค์ประกอบภาพในช็อตได้ แต่งานของผูต้ ดั คือ ควรให้มอี งค์ประกอบภาพในช็อตทีส่ มเหตุสมผลและเป็ นทีย่ อมรับปรากฏอยู่ องค์ประกอบภาพในช็อตทีไ่ ม่ดมี าจากการถ่ายทาที่ แย่ ซึง่ ทาให้การตัดต่อทาได้ลาบากมากขึน้ 4.เสียง Sound เสียงคือส่วนสาคัญในการตัดต่ออีกประการหนึ่ง เสียงรวดเร็วและลึกล้ากว่าภาพ เสียงสามารถใส่มาก่อนภาพ หรือมาทีหลังภาพเพื่อสร้างบรรยากาศ สร้างความกดดันอันรุนแรง และอีกหลากหลายอารมณ์ เสียงเป็ นการเตรียมให้ผชู้ ม เตรียมพร้อมสาหรับการเปลีย่ นฉาก สถานที่ หรือแม้แต่ประวัตศิ าสตร์ ความคลาดเคลื่อนของเสียงทีเ่ หมาะสมเป็นการลดคุณค่าของการตัดต่อ เช่น LS ของสานักงาน ได้ยนิ เสียงจากพวกเครือ่ ง พิมพ์ดดี ตัดไปทีช่ อ็ ตภาพใกล้ของพนักงานพิมพ์ดดี เสียงไม่เหมือนกับทีเ่ พิง่ ได้ยนิ ในช็อตปูพน้ื คือ เครือ่ งอื่น ๆ หยุดพิมพ์ทนั ที เมือ่ ตัดมาเป็ นช็อตใกล้ ความสนใจของผูช้ มสามารถทาให้เกิดขึน้ ได้ดว้ ยเสียงทีม่ าล่วงหน้า (lapping) ตัวอย่างเช่น การตัดเสียง 4 เฟรมล่วงหน้าก่อนภาพ เมือ่ ตัดจากภาพในอาคารมายังภาพฉากนอกอาคาร 5.มุมกล้อง Camera Angle เมือ่ ผูก้ ากับฯ ถ่ายทาฉาก จะทาโดยเริม่ จากตาแหน่งต่าง ๆ (มุมกล้อง) และจากตาแหน่งต่าง ๆ 1111


เหล่านี้ ผูก้ ากับฯ จะให้ถ่ายช็อตหลาย ๆ ช็อต คาว่า “มุม” ถูกใช้เพื่ออธิบายตาแหน่งของกล้องเหล่านี้ซง่ึ สัมพันธ์กบั วัตถุหรือ บุคคลจากภาพล้อครึง่ ซีก บุคคลอยูท่ ด่ี ุมล้อ แต่ละซีล่ อ้ แทนแกนกลางของกล้องและตาแหน่งของกล้องก็อยูต่ รงปลายของซีล่ อ้ ตาแหน่งจะแตกต่างกันไป จากแกนถึงแกน โดยระยะห่างทีแ่ น่นอนเรียกว่า “มุมกล้อง” ซึง่ เป็นหนึ่งส่วนสาคัญของการตัดต่อ หัวใจสาคัญคือแต่ละครัง้ ที่ cut หรือ mix จาก shot หนึ่งไปอีกช็อตหนึ่ง กล้องควรมีมุมทีแ่ ตกต่างไปจากช็อตก่อนหน้านี้ สาหรับคนตัด ความแตกต่างระหว่างแกน ไม่ควรมากกว่า 180 องศา และมักจะน้อยกว่า 45 องศา เมือ่ ถ่ายบุคคลเดียวกัน ด้วย ประสบการณ์รปู แบบนี้อาจดัดแปลงได้อกี มาก 6.ความต่อเนื่อง Continuity ทุกครัง้ ทีถ่ ่ายทาในมุมกล้องใหม่ (ในซีเควนส์เดียวกัน) นักแสดงหรือคนนาเสนอจะต้องแสดง การเคลื่อนไหวหรือทาท่าเหมือนเดิมทุกประการกับช็อตทีแ่ ล้ววิธกี ารนี้ ยังปรับใช้กบั take ทีแ่ ปลกออกไปด้วยความต่อเนื่อง ของเนื้อหา Continuity of content ควรมีความต่อเนื่องของเนื้อหา เช่น นักแสดงยกหูโทรศัพท์ดว้ ยมือขวาในช็อตแรก ดังนัน้ ก็คาดเดาได้ว่าหูโทรศัพท์ยงั คงอยูใ่ นมือขวาในช็อตต่อมา งานของคนตัดคือ ทาให้แน่ใจว่าความต่อเนื่องยังคงมีอยูท่ ุกครัง้ ทีท่ าการตัดต่อในซีเควนส์ของช็อตความต่อเนื่องของการเคลื่อนไหว Continuity of movementความต่อเนื่องยัง เกีย่ วข้องกับทิศทางการเคลื่อนไหว หากนักแสดงหรือบุคคลเคลื่อนทีจ่ ากขวาไปซ้ายในช็อตแรก ช็อตต่อมาก็คาดเดาว่านักแสดง หรือบุคคลจะเคลื่อนไหวไปในทิศทางเดียวกัน เว้นแต่ในช็อตจะให้เห็นการเปลีย่ นทิศทางจริง ๆความต่อเนื่องของตาแหน่ง Continuity of position ความต่อเนื่องยังคงความสาคัญในเรือ่ งของตาแหน่งนักแสดงหรือบุคคลในฉาก หากนักแสดง อยูท่ างขวามือของฉากในช็อตแรก ดังนัน้ เขาจะต้องอยู่ขวามือในช็อตต่อมาด้วย เว้นแต่มกี ารเคลื่อนไหวไปมาให้เห็นในฉากถึงจะ มีการเปลีย่ นไปความต่อเนื่องของเสียง Continuity of sound ความต่อเนื่องของเสียงและสัดส่วนของเสียงเป็นส่วนที่ สาคัญมาก ถ้าการกระทากาลังเกิดขึน้ ในทีเ่ ดียวกันและเวลาเดียวกัน เสียงจะต้องต่อเนื่องจากช็อตหนึ่งไปยังช็อตต่อไป เช่น ในช็อตแรกถ้ามีเครือ่ งบินในท้องฟ้าแล้วได้ยนิ เสียง ดังนัน้ ในช็อตต่อมาก็ตอ้ งได้ยนิ จนกว่าเครือ่ งบินนัน้ จะเคลื่อนห่างออกไป แม้ว่าบางครัง้ อาจไม่มภี าพเครือ่ งบินให้เห็นในช็อตทีส่ อง แต่กไ็ ม่ได้หมายความว่าไม่จาเป็ นต้องมีเสียงต่อเนื่องในช็อตต่อไป นอกจากนี้ ช็อตทีอ่ ยูใ่ นฉากเดียวกันและเวลาเดียวกัน จะมีเสียงพืน้ (background sound) ทีเ่ หมือนกัน เรียกว่า background ambience, atmosphere หรือเรียกย่อ ๆ ว่า atmos ซึง่ ต้องมีความต่อเนื่อง

1212


มารู้จกั ไฟล์วีดิโอ AVI (Audio Video Interleave) เป็นไฟล์วดี โี อมาตรฐานของวินโดวส์ สามารถเข้ารหัสได้หลากหลาย ซึง่ ความคมชัดของวีดโี อจะอยู่ทร่ี หัสวีดโี อทีใ่ ช้ เช่น DV, DivX หรือ Uncompress เป็ นต้น ซึง่ จะใช้ขนาดพืน้ ทีท่ ่ี แตกต่างกันไป โดยเฉพาะ Uncompress นัน้ ใช้เนื้อทีม่ ากมายมหาศาลโดยไม่จาเป็ น (แนะนาให้ไม่ใช้) ไฟล์ AVI นัน้ ใช้งานได้หลากหลายตามสถานการณ์ อย่างถ้าตัดต่อวีดโี อมักใช้ตน้ ฉบับไฟล์ DV, AVI แต่ถา้ เป็ นไฟล์ท่ี RIP มา จากแผ่นดีวดี ี มักใช้เป็ น Xvid AVI เพราะมีขนาดเล็กกว่าไฟล์ดวี ดี ปี กติถงึ เกือบ 6 เท่า แต่ทว่าคุณภาพลดลงไปนิด เดียวเท่านัน้ เอง MOV (QuickTime) เป็ นไฟล์วดี โี อมาตราฐานของเครือ่ ง MAC แต่กใ็ ช้ดใู นวินโดวส์ได้ ผ่านทาง Quicktime การทีจ่ ะเล่น ไฟล์ชนิดนี้ในวินโดวส์ จาเป็ นต้องมีโปรแกรม QuickTime ก่อนเสมอ หรือมีรหัสวีดโี อตัวนี้อยู่ ในเครือ่ ง เนื่องจากด้วยเป็น ไฟล์มาตรฐานทีใ่ ช้งานได้ขา้ มระบบปฏิบตั กิ ารและมีขนาดเล็ก กับคุณภาพทีพ่ อยอมรับได้ กล้องถ่ายภาพดิจติ อลวีดโี อ แลบคอมแพ็คส่วนใหญ่จงึ นิยมบันทึกวีดโี อเป็ นไฟล์น้ี MPG (Moving Picture Experts Group) เป็นไฟล์วดี โี อทีบ่ บี อัดด้วยรหัสวีดโี อทีต่ ายตัวตามมาตรฐาน ของ MPEG ซึง่ แบ่ง เป็ น MPEG-1 และ MPEG-2 เป็ นไฟล์ทใ่ี ช้ในสื่อ VCD, SVCD, DVD แต่ถา้ เปิดดูใน เครือ่ งคอมพิวเตอร์ไม่จาเป็ นต้องตัง้ ค่าให้เป็นไปตามมาตรฐานของเครือ่ งเล่นสื่อ เราสามารถตัง้ ค่าอะไรได้ตามต้องการ แต่อย่างไรก็ตาม นี่ไม่ใช่ส่อื ทีเ่ หมาะ สมในการเผยแพร่เท่าไหร่นกั (โดยเฉพาะทางอินเตอร์เน็ต) เพราะความคมชัดมัน ต้องแลกมากับขนาดทีใ่ หญ่ นอกจากจะ ทาให้เป็ นสื่อทีก่ ล่าวไว้ขา้ งต้น WMV(Windows Media Video) เมือ่ ค่ายต่างๆ พัฒนารหัสวีดโี อ บีบอัดลงไฟล์ทม่ี เี นื้อทีน่ ้อยๆ ได้ ทาไมขาใหญ่อย่าง ไมโครซอฟท์จะทาบ้างไม่ได้ ไฟล์ WMV นี้กค็ ล้ายกับ RMVB ของ Real Networks ตรงที่ มีคุณสมบัตดิ าวน์โหลดแบบ Stream นิยมใช้เผยแพร่ทางอินเตอร์เน็ต ในกรณีถา้ เป็นไฟล์เสียงจะเป็ นนามสกุล WMA (Windows Media Audio) ซึง่ ไฟล์ WMV นี้ หากยังดาวน์โหลดไม่ครบถ้วน (กรณีดาวน์โหลดตัว ไฟล์มาในเครือ่ ง) สามารถดูได้กจ็ ริง แต่จะไม่สามารถเลือกดู เฉพาะช่วงเวลาได้ ต้องทนดูตงั ้ แต่ตน้ ไปจนจบ แต่ยงั โชค ดีกว่าไฟล์ RMVB นัก ถ้าโหลดไม่ครบ จะไม่สามารถเปิดดูได้เลย ทีส่ าคัญของไฟล์ WMV นี้จะขึน้ อยูก่ บั ตัว Windows Media Player ของวินโดวส์ดว้ ย หากคุณไม่ม ี Windows Media Player เวอร์ชนที ั ่ ส่ งู กว่า หรือเท่ากับไฟล์ WMV นัน้ ก็อาจจะเปิดไม่ได้หรือไม่สมบูรณ์ FLV (Flash Video) เป็ นไฟล์วดี โี อทีม่ าในรูปแบบไฟล์ Flash ซึง่ ขณะนี้เป็ฯทีน่ ิยมใช้อย่างสูงในเครือข่าย อินเตอร์เน็ต จะ เห็นได้ทวไปในเว็ ั่ บแทบทุกประเภท เพราะความทีเ่ ริม่ เป็นสากในการใช้สาหรับ Browser ทีม่ ี plug-in ติดตัง้ หรือลง โปรแกรม Adobe Flash Player ไว้ขอ้ ดีกค็ อื มีคุณสมบัตดิ าวน์โหลดแบบ Stream นันเอง ่ และเปิดได้หลายระบบปฏิบตั กิ าร ไฟล์ชนิดนี้สนับสนุ นรหัสวีดโี อไม่ก่ชี นิด และมักใช้กบั คลิปวีดโี อทีม่ คี วามยาว ไม่มากและไม่ตอ้ งการคุณภาพทีส่ งู จึงเห็น ได้ทวไปตามเว็ ั่ บข่าว เว็บวาไรตี้ เว็บแชร์วดี โี อต่าง MP4 หรืออีกชื่อหนึ่งว่า MPEG-4 เป็ นไฟล์ทร่ี วบรวมเอาข้อดีของ MPEG-1, MPEG-2 และไฟลืชนิด 1313


อื่นๆมารวมไว้ดว้ ยกัน สนับสนุนการใช้งานหลายรูปแบบ รวมถึง 3D หรือการคอมโพสิต และมีคุณสมบัตกิ ารดาวน์โหลดแบบ Stream ในตัวไฟล์สามารถบรรจุขอ้ มูลได้มากเช่น Subtitle ชื่อเรือ่ ง ศิลปิน ค่ายและอื่นๆ ระหว่างเปิดเล่นไฟล์ยงั สามารถส่ง ข้อมูลผ่านอินเตอร์เน็ตได้ดว้ ย มีอตั ราการบีบอัดทีส่ งู แม้ใช้บติ เรตทีต่ ่าแต่คุณภาพยังยอมรับได้ ไฟล์ MP-4 นี้ใช้งานได้ทงั ้ วีดโี อ และเพลง ให้คุณภาพสูง สรุปแล้วเป็นไฟล์ทเ่ี หมาะแก่การเผยแพร่มาก เพราะคุณภาพดี เนื้อทีน่ ้อยใช้ได้ทงั ้ ไฟล์วดี โี อและ ออดิโอ แต่คอมพิวเตอร์ทจ่ี ะดูได้ตอ้ งติดตัง้ รหัสวีดโี อลงไปเสียก่อน ไม่เช่นนัน้ ก็ไม่อาจดูได้สมบูรณ์ แล้วถ้าหากทาไฟล์ออกมาแล้วกลัวว่าจะให้คน อื่นดูไม่ได้หรือดูไม่ได้ซะเองก็ตอ้ งหาโปรแกรมมาเสริมเสียหน่อย เช่น GOM Player, VLC Player ซึง่ เป็นโปรแกรม Third Party ทีท่ าขึน้ มาเพื่อดูไฟล์วดี โี อให้ครอบคลุมมากทีส่ ุด หรือจะไปหา Klite code มาลงก็ดเี หมือนกัน เพราะอันนี้จะอัดแน่นไปด้วยรหัสวีดโี อมากมายและแถมด้วยโปรแกรม Media Player Classic (แบบทีเ่ ห็นในวินโดวส์รนุ่ เก่า) ซึง่ จะทาให้ดไู ฟล์วดี โี อได้แทบทุกชนิด เพราะพวก K-lite code pack จะมีพวก Real Alternative และ Quicktime Alternative ติดมาด้วย ทาให้ไม่จาเป็ นลง Quicktime หรือ Real Player ตัวเต็มแต่อย่างใด นับว่าสะดวกมาก

โปรแกรมที่ใช้ ในการตัดต่ อ

VideoStudio Pro X6 (โปรแกรมตัดต่อคลิ ปวีดีโอ) : โปรแกรม VideoStudio Pro X6 เป็ น โปรแกรมตัด ต่อคลิ ปวีดีโอ ที่จะช่วยให้คณ ุ ตัดต่อวีดีโอได้อย่างรวดเร็ว และง่ายดาย ไม่สาคัญว่าคุณจะมีไฟล์วีดีโอประเภท ไหน โปรแกรม VideoStudio ในรุ่น Pro X6 นี้ จะมีเครื่องมือที่ช่วยให้คณ ุ จัดการกับวีดีโอเหล่านัน้ ได้เต็ม ประสิ ทธิ ภาพ รองรับวีดีโอระดับ Ultra HD โดยคุณสามารถใช้ Motion Tracking ในการค้นหาวัตถุที่กาลัง เคลื่อนไหวบนวีดีโอ และเพิ่ มภาพกราฟฟิ ค ท่หๆ ์ รวมถึงข้อความลงไปในวีดีโอ ลงไปใน โปรแกรมตัดต่ อวีดีโอ ตัวนี้ และ สุดท้าย โปรแกรมนี้ กจ็ ะมาช่วยสร้างสรรค์วีดีโอให้เข้ากับอุปกรณ์ ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นมือถือ ผ่านเว็บไซต์ แผ่นดีวีดี (DVD) แผ่น Blu-ray และสื่อมีเดียอื่นๆ Features (คุณสมบัติ และความสามารถของ โปรแกรมตัดต่ อคลิ ปวีดีโอ VideoStudio Pro X6) : สร้างสรรค์วีดีโอได้รวดเร็ว และมีเครื่องมือที่ครบครันได้ในเวลาเพียงไม่นาน และคุณสามารถ Drag & Drop ไปยัง ไทม์ไลน์ และเพิ่ มรูปภาพ, วีดีโอ และเพลง โปรแกรมตัดต่อคลิ ปวีดีโอ รองรับวีดีโอระดับ Ultra HD หรือ 4K ใส่เอฟเฟค, สร้างหนังขนาดย่อม ใส่ตวั อักษร และแอนิ เมชัน่ ทาให้คณ ุ ตัดต่อคลิ ปวีดีโอ ได้สวยงาม และมีความเป็ นมือ อาชีพ 1414


ตัดต่อคลิ ปวีดีโอ ได้หลายนามสกุล และอุปกรณ์ อาทิ เช่น เว็บไซต์, แผ่น Blu-ray, แผ่นดีวีดี, แท็บเล็ต, MP4, อัพ โหลดลงบน YouTube, Facebook หรือเว็บไซต์ได้โดยตรงผ่าน โปรแกรมตัดต่อคลิ ปวีดีโอจัดการกับคอนเทนท์ บนวีดีโอได้โดยตรงเพียงไม่กี่คลิ ก เช่ นพวกเอฟเฟค, ข้อความ, เพลง และอื่นๆแก้ไขซับไตเติ้ ลได้ง่ายด้วยเทคโนโลยี Voice Detection ที่จะช่วยคุณจับคู่ซบั ไตเติ้ ลกับวีดีโอภายใน โปรแกรมตัดต่อคลิ ปวีดีโอ มีเทมเพลตให้เลือกใน การสร้างสรรค์งานวีดีโอลาก และวางองค์ประกอบต่างๆ ลงบนไทม์ไลน์ ของโปรแกรมตัดต่อวีดีโอ Video Studio X6 ได้ทนั ทีสร้างวีดีโอ Stop Motion ความละเอียด Full HD จากกล้อง DSLR ได้รองรับ AVCHD 2.0, AVCHD 3D, AVCHD Progressive และ AVCHD 3D/Progressiveจับภาพหน้ าจอของคอมพิ วเตอร์คณ ุ ทาสื่อการสอน หรือวิ ธีการใช้คอมพิ วเตอร์ พร้อมกับแก้ไข บันทึก และแชร์วีดีโอได้สร้างสไลด์โชว์ในโอกาสสาคัญ ต่างๆ อาทิ เช่น งานแต่ง, งานรับปริ ญญา, ปาร์ตี้ และงานอื่นๆ ซึ่งคุณสามารถเพิ่ มเพลง, เอฟเฟค, การเคลื่อนไหว, กราฟิ ก และอื่นๆรองรับ และ Export ไฟล์ได้หลากหลายนามสกุล อาทิ เช่ น AVI, MPEG-2, MPEG-4, QuickTime, WebM, Windows Media, HTML5 และไฟล์อื่นๆ อีกมาก

การนาไฟล์วีดิโอไปใช้บนเครือข่าย 1.ต้องมี gmail และสมัครเป็ นสมาชิ ก youtube เพื่อ upload 2.เมื่อได้แล้วนา link มาใช้เผยแพร่ในเครือข่าย เช่น facebook หรือ เว็บไซค์

1515


ไพรัช นวลขา ตาแหน่งนักประชาสัมพันธ์ชานาญการพิเศษ สานักงานเขตพืน้ ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรเี ขต ๑ การศึกษา ปริญญาโท สาขา เทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ ประวัตกิ ารเป็ นวิทยากร - วิทยากรอบรมการเขียนเว็บไซค์เพื่อการประชาสัมพันธ์ (Wordpress.com) - วิทยากรอบรมการจัดทาวารสารออนไลน์ การเขียนจดหมายข่าวออนไลน์ - วิทยากรอบรมการเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์ - วิทยากรอบรมการผลิตหนังสัน้ การผลิตคลิปวีดโิ อเพื่อการประชาสัมพันธ์ - วิทยากรอบรมการถ่ายภาพเพื่อการประชาสัมพันธ์ ประวัตกิ ารศึกษาดูงาน - ได้รบั รางวัลศึกษาดูงานด้านการประชาสัมพันธ์ ประเทศสิงคโปร์ - ได้รบั รางวัลศึกษาดูงานด้านการประชาสัมพันธ์และสื่อมวลชน สาธารณรัฐเกาหลีใต้ - ศึกษาดูงานประเทศออสเตรเลีย - ศึกษาดูงานประเทศฝรังเศส ่ - ได้รบั คัดเลือกเข้ารับการอบรมการฝึกการพูดหลักสูตรของ Boston U.S.A https://www.facebook.com/pnaunkham , เว็บไซค์ประชาสัมพันธ์ http://prcake1.wordpress.com โทร.083 6871521

16


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.