ความเป็็นมา วััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม ตั้้ง� อยู่่ใ� นคุ้้ม� บ้้านเจีียงอีี ตำำ�บลเมืืองใต้้ อำำ�เภอเมืืองศรีีสะเกษ จัังหวััดศรีีสะเกษ เหตุุที่่�ได้้นามว่่า วััดเจีียงอีี เพราะตั้้�งอยู่่�ในคุ้้�มบ้้านเจีียงอีี การตั้ง้� ชื่อ่� บ้า้ นชื่อ่� วััดในสมััยก่่อนนั้้�น นิิยมตั้ง้� ไปตามชื่อ่� ของ สิ่่ง� ต่่าง ๆ ที่่เ� กิิดเป็็นนิิมิตขึ้ ิ น�้ ได้้ทราบว่่าบ้้านเจีียงอีี ประชาชน ผู้้�เป็็นเจ้้าของถิ่่�นเดิิมเป็็นชนชาติิไทยเผ่่าส่่วย ไทยเผ่่านี้้�มีี สำำ�เนีียงพููดแปร่่งหรืือเพี้้�ยนไปจากเผ่่าอื่่�น ๆ เจีียงอีี เป็็น ภาษาพื้้น� บ้า้ น แยกออกได้้เป็็นสองศััพท์์ เจีียง แปลว่่า ช้้าง อีี แปลว่่า ป่่วย รวมความว่่า เจีียงอีี แปลว่่า ช้้างป่่วย ตามประวััติิศาสตร์์เมืืองศรีีสะเกษ ตั้้�งขึ้้�นที่่�บ้้าน พัันทาเจีียงอีี สมััยก่่อนเมืืองไทย - เมืืองลาว ยัังเป็็น อัันหนึ่่�งอัันเดีียวกััน บางคราวก็็เป็็นอิิสระแก่่กััน บางครั้้�ง ก็็รวมกัันเป็็นพี่่น้้อ � งชาติิเดีียวกััน ครั้้ง� เมื่่อ� พระครููโพนสะเม็็ก มาตั้ง�้ สำำ�นักั อยู่่ที่� ด�่ อนแดง (เกาะแดง) ซึ่ง�่ อยู่่ก� ลางลำำ�แม่่น้ำำ�� โขง ตรงข้้ามเมืืองจำำ�ปาศัักดิ์์� ในสมััยนั้้�นแคว้้นนครจำำ�ปาศัักดิ์์� มีีสตรีีเป็็นเจ้้าผู้้�ครองนคร ชื่่�อ นางเพา - นางแพง
วััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม พระอารามหลวง Mueang Tai Subdistrict, Mueang Sisaket District, Sisaket Province
WAT CHIANG EI SI MONGKOL WARARAM PHRA ARAM LUANG ตำำ�บลเมืืองใต้้ อำำ�เภอเมืืองศรีีสะเกษ จัังหวััดศรีีสะเกษ
พระแก้้วศรีีวิิเศษ
พระประธานในพระอุุโบสถ
ผู้้�มีีสติิปััญญาแหลมคมไปปกครองหััวเมืืองต่่าง ๆ ที่่�ขึ้้�นกัับ นครจำำ�ปาศัักดิ์์� เฉพาะสายที่่�มาเมืืองศรีีสะเกษ, สุุริินทร์์ และ ร้้อยเอ็็ด ที่่�ส่่งมาครั้้�งแรกแบ่่งเป็็นห้้าสาย แต่่ละสายมีีหััวหน้้า พร้้อมกัั บอ พยพประชาชนพลเมืื องมาด้้วยเป็็ นจำำ�นวนมาก ผู้ที่้� อ่� พยพมาส่่วนมากเป็็นคนไทเผ่่าส่่วย (เผ่่ากวย) ซึ่ง่� มีีภููมิลำิ ำ�เนา อยู่่� ทางฝั่�่งซ้้ายแม่่น้ำำ�� โขง แถบเมืืองอััตตะปืือ เมืืองแสงปาง (รััตนะคีีรี)ี อยู่่�ทางตะวัันออกเมืืองจำำ�ปาศัักดิ์์� สายที่่�มาลงเมืือง ศรีีสะเกษ พระครููโพนสะเม็็กได้้ส่่ง ท้้าวจารย์์ศรีี ศิิษย์์ผู้้�มีีสติิ ปััญญาสามารถคนหนึ่่�งเป็็นหััวหน้้าสาย ครั้้�งแรกได้้มาตั้้�งที่่� อ่่าวยอดห้้วยดวน หรืือดงไม้้ลำำ�ดวน ได้้ตั้ง�้ หลัักก่่อสร้้างบ้า้ นเมืืองขึ้้น� ที่่�นั่่�น แล้้วให้้ชื่่�อว่่า เมืืองนครศรีีลำ�ำ ดวน (บ้้านดวนใหญ่่) พระราชกิิตติิรัังษีี
เจ้้าคณะจัังหวััดศรีีสะเกษ เจ้้าอาวาสวััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม พระอารามหลวง
ประชาชนได้้หลั่่ง� ไหลไปคารวะพระครููโพนสะเม็็กเป็็น จำำ� นวนมากไม่่ขาดสาย นางเพา - นางแพง พร้้อมด้้วย ข้้าราชบริิพาร จึึงพากัันออกไปถวายการปกครองบ้้านเมืืองให้้ หลวงพ่่อเป็็นผู้้�ปกครอง พระครููโพนสะเม็็กรัับปกครองอยู่่� ระยะหนึ่่�ง พอเห็็นว่่าพระราชกุุมารของพระจ้้าไชยเชฏฐามีี พระชนมายุุเจริิญขึ้้น� พอสมควรแล้้ว จึึงให้้ประชาชนไปรัับเสด็็จ มานครจำำ� ปาศัั ก ดิ์์� และได้้สถาปนาให้้ขึ้้� น ครองราชสมบัั ติิ ทรงพระนามว่่า พระเจ้้าสร้้อยศรีีสมุุทรพุุทธางกููร ครองนครจำำ� บากนครบุุรีีศรีี (เมืืองจำำ�ปาศัักดิ์์�) ส่่วนหลวงพ่่อเป็็นที่่�ปรึึกษา ราชการบ้้านเมืืองเท่่านั้้�น ในระยะนี้้�หลวงพ่่อได้้จััดส่่งลููกศิิษย์์
พระอุุโบสถ
ต่่อมาสมัั ย กรุุงศรีี อยุุ ธยาเป็็ น ราชธานีี ข องไทย เมื่่อ� พระเจ้้าอยู่่หั� วั เอกทััศน์์ เสวยราชสมบััติอยู่ ิ นั้้�่ น� ได้้เกิิดอาเพศขึ้้น� พระยาช้้างเผืือกแตกโรงหนีี แล้้วมุ่่�งหน้้ามาทางทิิศตะวัันออก เลยเข้้าเขตเมืืองศรีีสะเกษ พระเจ้้าเอกทััศน์์ ทรงจััดให้้ทหาร นายกองจัับช้้าง ติิดตามมาทัันที่่ลำ� ำ�ธารแห่่งหนึ่่�งอยู่่ใ� นเขตอำำ�เภอ อุุทุุมพรพิิสััย ได้้เห็็นตััวพระยาช้้างเผืือกแต่่จัับไม่่ได้้ ช้้างวิ่่�งหนีี ไปทางทิิศใต้้ถึึงเชิิงเขาดงเร็็ก หััวหน้้าผู้้ป� กครองบ้้านเมืืองแถบนั้้�น ก็็พากัันช่่วยตามจัับพระยาช้้างเผืือก แล้้วไปจัับได้้ที่่เ� ชิิงภููเขาดงเร็็ก ในเขตอำำ�เภอกัันทรลัักษ์์ในปััจจุุบััน จึึงนำำ�กลัับมาและนำำ�ส่่ง พระยาช้้างเผืือก เมื่่อนำ � ำ�พระยาช้้างเผืือกมาถึึงบ้า้ นใหญ่่แห่่งหนึ่่�ง ซึ่่�งอยู่่�ในตััวเมืืองศรีีสะเกษ พระยาช้้างเผืือกได้้ล้้มป่่วยลงรัักษา หายแล้้วจึึงออกเดิินทางต่่อไป ชาวบ้้านเป็็นไทส่่วย จึึงเรีียก หมู่่�บ้้านนั้้�นว่่า บ้้านเจีียงอีี คือ ื บ้้านช้้างป่่วย สืืบมา วััดก็็เรีียกว่่า วััดเจีียงอีี เช่่นกััน พระบรมสารีีริกิ ธาตุุแห่่งองค์์สมเด็็จพระสััมมาสัมพุ ั ทุ ธเจ้้า
การศาสนศึึกษาและการศึึกษาสงเคราะห์์ การศึึกษาภายในวััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม ดำำ�เนิิน การจััดการเรีียนการสอนพระปริิยัติั ธิ รรม แผนกธรรม แผนกบาลีี และแผนกสามััญ มาโดยตลอด เมื่่�อวัันที่่� ๒๐ เดืือนกรกฎาคม ซุ้้�มประตููวััด พ.ศ. ๒๕๑๙ ทางราชการได้้อนุุญาตให้้ตั้ง�้ โรงเรีียนพระปริิยัติั ธิ รรม แผนกสามััญศึึกษา ชื่่�อ โรงเรีียนศรีีเกษตรวิิทยา โดยความดำำ�ริิ ปููชนีียวััตถุุ ๑. พระประธานในอุุโบสถ ๔. พระแก้้วศรีีวิเิ ศษ ของพระเกษตรศีีลาจารย์์ (หนูู อุุสฺฺสาโห) อดีีตรองเจ้้าคณะ ๒. พระประธานในวิิหารชั้้�นบน ๕. พระสัังกััจจายน์์ จัังหวััดศรีีสะเกษ และอดีีตเจ้้าอาวาสวััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม ที่่�ว่่า พระภิิกษุุสามเณรที่่�บวชเข้้ามาแล้้วได้้ศึึกษาเฉพาะแต่่ ๓. พระพุุทธไสยาสน์์ ๖. พระสีีวลีี การศึึกษาพระปริิยััติิธรรม แผนกธรรม เพีียงอย่่างเดีียว อีีกอย่่างหนึ่่�ง การฟััง การอ่่าน การพููด การเขีียน ก็็ไม่่เก่่ง เท่่าใดนััก จะเก่่งเป็็นบางรููปเท่่านั้้�น และพระภิิกษุุสามเณรที่่� บวชเข้้ามาจำำ�พรรษาส่่วนมากจะเป็็นลููกหลานชาวไร่่ ชาวนา ขาดโอกาสที่่� จ ะได้้ รัั บ การศึึ ก ษา ทั้้� ง คดีี โ ลกและคดีี ธ รรม เริ่่� ม ต้้นดำำ� เนิิ น การเปิิ ด สอนชั้้� น ประถมศึึกษาปีี ที่่� ๕ ถึึงชั้้� น มััธยมศึึกษาปีีที่่� ๓ ปััจจุุบัันเปิิดสอนถึึงชั้้�นมััธยมศึึกษาปีีที่่� ๖
ภาพมุุมสููง
โรงเรีียนศรีีเกษตรวิิทยา
ภาพจำำ�ลองพระธาตุุเกศแก้้วจุุฬามณีีศรีีสะเกษ
ความเป็็นมาของโครงการก่่อสร้้างพระธาตุุเกศ แก้้วจุุฬามณีีศรีีสะเกษ ในสมัั ย ที่่� พระเกษตรศีี ล าจารย์์ (หนูู อุุสฺฺ ส าโห) เป็็นเจ้้าอาวาส วััดเจีียงอีีศรีีมงคลวรารามได้้รัับการพััฒนาอย่่าง รวดเร็็ว โดยเฉพาะในด้้านศาสนวััตถุุ มีีเสนาสนะสิ่่�งก่่อสร้้าง เกิิ ด ขึ้้� น มากมาย ได้้รัั บ พระราชทานวิิ สุุ งคามสีี ม า เมื่่� อปีี พ.ศ. ๒๔๙๙ ผููกสีีมาเมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๐๐ เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่าง ในปีี พ.ศ. ๒๕๐๙ ยกเป็็นพระอารามหลวงเมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๑๓ เป็็ น พระอารามหลวงซึ่่� ง เป็็ น วัั ด แรกของจัั ง หวัั ด ศรีี ส ะเกษ เป็็นวััดพััฒนาตััวอย่่างดีีเด่่น เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๑๔ หลัังจากนั้้�นมา พระเกษตรศีีลาจารย์์ ได้้ดำำ�ริิก่่อสร้้างเจดีีย์์ เพื่่�อเป็็นการสนอง พระพุุทธประสงค์์ ถวายเป็็นพุุทธบููชา เป็็นที่่ตั้� ง้� แห่่งศรััทธาของ ประชาชนชาวจัังหวััดศรีีสะเกษ โดยได้้ดำำ�เนิินการเทรากฐาน คอนกรีีตไว้้แล้้ว แต่่การก่่อสร้้างได้้หยุุดชะงัักลง เนื่่�องจากท่่าน มรณภาพเสีียก่่อน เมื่่�อปีี พ.ศ. ๒๕๓๒ พระเทพวรมุุนีี (วิิบููลย์์ กลฺฺยาโณ) สมััยดำำ�รงสมณศัักดิ์์�ที่่� พระวิิบููลธรรมวาทีี ได้้รัับพระบััญชา แต่่งตั้้�งเป็็นเจ้้าอาวาสวััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม ได้้พััฒนาบููรณ ปฎิิสังั ขรณ์์เสนาสนะวััตถุุภายในวััดเจีียงอีีศรีีมงคลวรารามขึ้้น� เป็็น จำำ�นวนมาก เช่่น บููรณะพระวิิหาร สร้้างหอประชุุม สร้้างศาลา บำำ�เพ็็ญกุุศล ตลอดจนการศึึกษาพระภิิกษุุสามเณร แต่่ยัังไม่่ได้้ ทำำ�ก่่อสร้้างพระเจดีีย์์
ปีี พ.ศ. ๒๕๕๒ พระราชกิิตติิรัังษีี (บุุญทััน สนฺฺตจิิตฺฺโต) ได้้รัับพระบัั ญชาสมเด็็ จพระสัั งฆราชแต่่งตั้้� งเป็็ นเจ้้าอาวาส วััดเจีียงอีีศรีีมงคลวราราม และย้้ายมาครองวััดเมื่่�อวัันที่่� ๕ เดืือนกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๒ จึึงได้้มีีการปรัับปรุุงพััฒนาวััด ทั้้�งในส่่วนของการก่่อสร้้างพระอุุโบสถหลัังใหม่่ แทนหลัังเดิิมที่่� ชำำ�รุุ ดทรุุดโทรมลงไปตามกาลเวลา การบููรณปฏิิ สัั ง ขรณ์์ พระวิิหาร การก่่อสร้้างกุุฏิิสงฆ์์ และบููรณะเสนาสนะวััตถุุ, เสนาสนะสถาน และศาสนสถาน ให้้เกิิดความเรีียบร้้อยและ เหมาะสมกัับฐานะของวััดที่่�เป็็นพระอารามหลวง เป็็นไปโดย เรีียบร้้อย การที่่จ� ะทำำ�ให้้พระอารามหลวง ประจำำ�จังั หวััดศรีีสะเกษ ซึ่่� ง พระบาทสมเด็็ จ พระเจ้้าอยู่่� หัั วทร งโปรดให้้สถาปนาขึ้้� น มีีความเจริิญก้้าวหน้้าทั้้�งด้้านศาสนวััตถุุ ศาสนสถาน และเป็็น สััปปายะในกรณีียะทางพระพุุทธศาสนาทุุกด้้านนั้้น� หากได้้ร่่วมกััน สร้้างศููนย์์รวมพลัังศรััทธา รวมพลัังจิิตใจ รวมพลัังศัักดิ์์�สิิทธิ์์� ของชาวจัั ง หวัั ด ศรีี ส ะเกษ ก็็ จ ะเป็็ น การดีี ยิ่่� ง ขึ้้� น วัั ด เจีี ย งอีี ศรีีมงคลวราราม จึึงได้้ดำำ�เนิินการจััดทำำ�โครงการก่่อสร้้างพระธาตุุขึ้้น� เพื่่�อสนองพุุทธประสงค์์ เพื่่�อถวายเป็็นพุุทธบููชา ธรรมบููชา สัั ง ฆบููชา และเพื่่� อสร้้างสัั ญ ลัั ก ษณ์์ บ่่ งบอกถึึงความยิ่่� งใหญ่่ ทางจิิตใจ และความดีีงามของชาวจัังหวััดศรีีสะเกษ พระธาตุุฯ ที่่จ� ะดำำ�เนิินการก่่อสร้้าง ได้้รัับการประทานนามจาก เจ้้าพระคุุณ สมเด็็จพระมหารััชมงคลมุุนีี (ธงชััย ธมฺฺมธโช) วััดไตรมิิตรวิทิ ยาราม ว่่า พระธาตุุเกศแก้้วจุุฬามณีีศรีีสะเกษ ซึ่่�งมีีนามเช่่นเดีียวกัับ พระธาตุุเกศแก้้วจุุฬามณีี บนสวรรค์์ชั้้�นดาวดึึงส์์ พระธาตุุฯ ที่่�จะสร้้าง มีีขนาดกว้้าง ๒๖.๐๐ เมตร สููง ๓๙.๐๙ เมตร
โครงการก่่อสร้้างพระธาตุุเกศแก้้วจุฬ ุ ามณีีศรีีสะเกษ