วัดท่าสว่าง

Page 1

วั​ัดท่​่าสว่​่าง อำำ�เภอกระสั​ัง จั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์

ฉลองโบสถ์บูรณะใหม่ ๒๕๖๔

facebook

www

Website




หลวงพ่​่อวั​ัดไร่​่ขิ​ิงจำำ�ลอง

ศรั​ัทธาหล่​่อถวายโดย คุ​ุณ พรเทพ ปฐวี​ี ไวยากรณ์​์วั​ัดไร่​่ขิ​ิง จั​ังหวั​ัดนครปฐม


พระครู​ูประสานสั​ังฆกิ​ิจ (ประสาน กนตธมโม) อดี​ีตเจ้​้าอาวาสรู​ูปที่​่� ๙ และอดี​ีตเจ้​้าคณะอำำ�เภอรู​ูปแรก



ดร.พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี

รองเจ้​้าคณะจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ เจ้​้าอาวาสวั​ัดท่​่าสว่​่าง


มณฑปบู​ูรพาจารย์​์ Tha Sawang

08

วัดท่าสว่าง


อุ​ุโบสถวั​ัดท่​่าสว่​่างบู​ูรณะ ปี​ี ๒๕๖๒-๒๕๖๓ Tha Sawang

09

วัดท่าสว่าง



บอกกล่าว วั​ัดท่​่าสว่​่าง เดิ​ิมชื่​่�อ “วั​ัดกระสั​ัง” เพราะตั้​้�งอยู่​่� ณ หมู่​่�บ้​้านกระสั​ัง เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๓๖๙ เนื่​่�องจากหมู่​่�บ้​้านกระสั​ัง ต้​้องประสบกั​ับภาวะฝนแล้​้งติ​ิดต่​่อกั​ันหลายปี​ี เป็​็นเหตุ​ุให้​้ประชาชนละทิ้​้ง� หมู่​่บ้� า้ น ชาวบ้​้านจึ​ึงเรี​ียกที่​่แ� ห่​่งนี้​้ว่� า่ “กระสั​ังร้​้าง” ครั้​้น� ต่​่อมามี​ีการสร้​้างทางรถไฟผ่​่านหมู่​่บ้� า้ นกระสั​ังไปยั​ังจั​ังหวั​ัดอุ​ุบลราชธานี​ี ประชาชนได้​้รวมกลุ่​่�มปั​ักหลั​ักทำำ�มาหากิ​ิน กั​ันอย่​่างหนาแน่​่นมากขึ้​้�น และมี​ีความเห็​็นร่​่วมกั​ันให้​้ทำำ�การย้​้ายที่​่�ตั้​้�งวั​ัดจากเดิ​ิม คื​ือ พื้​้�นที่​่�ใกล้​้สระน้ำำ��หนองกก (ที่​่�ตั้�ง้ สำำ�นั​ักงานเทศบาลตำำ�บลกระสั​ังปั​ัจจุ​ุบั​ัน) มาตั้​้�งอยู่​่� ณ ที่​่�ตั้ง้� ปั​ัจจุ​ุบั​ัน ซึ่ง่� มี​ีเนื้​้�อที่​่� ๒๗ ไร่​่ ๒๕ ตารางวา และตั้ง้� ชื่​่�อวั​ัด ใหม่​่ว่า่ “วั​ัดท่​่าสว่​่าง” เนื่​่อ� งจากที่​่�ดินิ ที่​่�ตั้ง้� วั​ัดอยู่​่�ริมิ ท่​่าน้ำำ�ห้ � วย ้ จะเมิ​ิง ชาวบ้​้านจึ​ึงมี​ีความมุ่​่�งหมายให้​้วัดั เจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ืองและ พบกั​ับความสว่​่างไสวในอนาคต วั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นวั​ัดสั​ังกั​ัดคณะสงฆ์​์ฝ่​่ายมหานิ​ิกาย ได้​้รั​ับพระราชทานวิ​ิสุ​ุงคามสี​ีมาครั้​้�งหลั​ังเมื่​่�อวั​ันที่​่� ๙ กุ​ุ ม ภาพั​ั น ธ์​์ พ.ศ. ๒๕๑๖ วั​ั ด ท่​่ า สว่​่ า ง มี​ี เจ้​้ า อาวาสปกครองวั​ั ด มาโดยลำำ�ดั​ั บจำำ� นวน ๑๐ รู​ูป โดยรู​ูปแรก ครองวั​ัดอยู่​่� ๓๓ ปี​ี รู​ูปที่​่� ๙ พระครู​ูประสานสั​ังฆกิ​ิจ อดี​ีตเจ้​้าคณะอำำ�เภอกระสั​ัง และรู​ูปที่​่� ๑๐ ดร.พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี รองเจ้​้าคณะจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ ครองวั​ัดตั้ง้� แต่​่ปี​ี พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน กิ​ิจกรรมของวั​ัดท่​่าสว่​่างต่​่อชุ​ุมชน มี​ีดั​ังนี้​้� ๑. วั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นสำำ�นั​ักปฏิ​ิบั​ัติ​ิธรรมประจำำ�จั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ แห่​่งที่​่� ๒๐ ๒. เป็​็นที่​่�ตั้�ง้ โรงเรี​ียนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม แผนกสามั​ัญ สำำ�หรั​ับพระภิ​ิกษุ​ุ สามเณรชั้​้น� ม.๑ - ม.๖ ๓. เป็​็นที่​่�ตั้�ง้ โรงเรี​ียนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม แผนกบาลี​ี และ นั​ักธรรม ๔. เป็​็นที่​่�ตั้�ง้ ศู​ูนย์​์ศึ​ึกษาพระพุ​ุทธศาสนาวั​ันอาทิ​ิตย์​์ ๕. เป็​็นที่​่�พำ�นั ำ ักรองเจ้​้าคณะจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ เสนาสนะภายในวั​ัด ประกอบด้​้วย อุ​ุโบสถ ศาลาการเปรี​ียญ ฌาปนสถาน ศาลาบำำ�เพ็​็ญกุ​ุศลศพ หอระฆั​ัง อาคารเรี​ียนโรงเรี​ียนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม และธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ บรรจุ​ุพระบรมสารี​ีริ​ิกธาตุ​ุ กุ​ุฏิ​ิเจ้​้าอาวาส และกุ​ุฏิ​ิสงฆ์​์ที่​่�พั​ักพระ ภิ​ิกษุ​ุ สามเณร การเผยแผ่​่พระพุ​ุทธศาสนา วั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นที่​่�ตั้​้�งสถานี​ีวิ​ิทยุ​ุพระพุ​ุทธศาสนาและสั​ังคม ความถี่​่� ๑๐๖.๐๐ เมกะเฮิ​ิรตซ์​์ และความถี่​่� ๑๐๔.๒๕ เมกะเฮิ​ิรตซ์​์ ทำำ�การเผยแผ่​่พระพุ​ุทธศาสนาผ่​่านระบบอิ​ินเทอร์​์เน็​็ตตลอด ๒๔ ชั่​่�วโมง ทุ​ุกวั​ัน ตั้�ง้ แต่​่ พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็​็นต้​้นมา โดยได้​้รั​ับอนุ​ุญาตถู​ูกต้​้องจาก กสทช. ปี​ีต่​่อปี​ี ถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน ปู​ูชนี​ียวั​ัตถุ​ุที่​่�สำำ�คั​ัญของวั​ัด มี​ีดั​ังนี้​้� ๑. พระพุ​ุทธรู​ูปปางสมาธิ​ิ สมั​ัยสุ​ุโขทั​ัย หน้​้าตั​ักกว้​้าง ๓๕ นิ้​้�ว เป็​็นพระประธานประจำำ�โบสถ์​์ตั้�ง้ แต่​่ก่​่อตั้​้�งวั​ัด ๒. พระพุ​ุทธรู​ูปสมั​ัยเชี​ียงแสน สมั​ัยอู่​่�ทอง สมั​ัยสุ​ุโขทั​ัย และหลวงพ่​่อวั​ัดไร่​่ขิ​ิง (จำำ�ลอง) สถานภาพของวั​ัด เป็​็นวั​ัดพั​ัฒนาดี​ีเด่​่น ปี​ี ๒๕๒๙ เป็​็นอุ​ุทยานการศึ​ึกษา ปี​ี ๒๕๓๗


บอกกล่​่าว (ต่​่อ) บทบาทของวั​ัดต่​่อชุ​ุมชน วั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นศู​ูนย์​์กลางการเรี​ียนรู้​้�พระพุ​ุทธศาสนา ตามนโยบายของสำำ�นั​ักงานพระพุ​ุทธศาสนาแห่​่งชาติ​ิ จั​ัดการบริ​ิการให้​้ประชาชนมาศึ​ึกษาเรี​ียนรู้​้�พุ​ุทธธรรมจากพระไตรปิ​ิฎกได้​้ตลอดเวลา วั​ัดท่​่าสว่​่างเป็​็นสำำ�นักั ปฏิ​ิบัติั ธิ รรม ตามหลั​ักสติ​ิปัฏั ฐานสู​ูตรของมหาเถรสมาคม และเป็​็นศู​ูนย์​์อนุ​ุรั​ักษ์​์ศิ​ิลปวั​ัฒนธรรมท้​้องถิ่​่�น แหล่​่งน้ำำ�� ภายในวั​ัด วั​ัดท่​่านสว่​่างมี​ีสระน้ำำ� � เนื้​้�อที่​่�ประมาณ ๗ ไร่​่เศษ ขุ​ุดในสมั​ัยที่​่� พระครู​ูประสานสั​ังฆกิ​ิจ ดำำ�รงตำำ�แหน่​่งเจ้​้าอาวาส สระน้ำำ��วั​ัดท่​่าสว่​่างช่​่วยแก้​้ปั​ัญหาการขาดแคลนน้ำำ�ข � องชาวกระสั​ังได้​้เป็​็นอย่​่างดี​ี ในพรรษากาล ๒๕๕๙ ที่​่�ผ่​่านมา วั​ัดท่​่าสว่​่างมี​ีพระภิ​ิกษุ​ุ-สามเณรจำำ�พรรษา จำำ�นวน ๒๒ รู​ูป การจั​ัดงาน ฉลองสมโภชพระธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ ศรี​ีเทพประสานธรรม และพิ​ิธีบี รรจุ​ุพระบรมสารี​ีริกิ ธาตุ​ุ พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี เจ้​้าอาวาสวั​ัดท่​่าสว่​่าง ได้​้ดำำ�เนิ​ินการก่​่อสร้​้างพระธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ลั​ักษณะรู​ูปทรง ๘ เหลี่​่�ยม ก่​่ออิ​ิฐ ถื​ือปู​ูน เสริ​ิมเหล็​็ก สู​ูง ๒๕ เมตร จากพื้​้�นดิ​ิน มู​ูลค่​่าก่​่อสร้​้าง ๑๒ ล้​้านบาท มาตั้​้�งแต่​่ปี​ี พ.ศ. ๒๕๔๗ ใช้​้ระยะ เวลาก่​่อสร้​้าง ๑๒ ปี​ี แล้​้วเสร็​็จเป็​็นที่​่�เรี​ียบร้​้อย ได้​้ให้​้มงคลนามว่​่า “พระธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ ศรี​ีเทพประสานธรรม” โดยมี​ี ความหมายว่​่า “พระเจดี​ีย์​์ที่​่�บรรจุ​ุพระบรมสารี​ีริ​ิกธาตุ​ุ เป็​็นแหล่​่งนำำ�มาซึ่​่�งความเป็​็นสิ​ิริ​ิมงคลจากเหล่​่าเทพยดา ผู้​้�คุ้​้�มครองทิ​ิศทั้​้�ง ๘ แก่​่ผู้​้�ที่​่�ได้​้มากราบไหว้​้แล้​้วน้​้อมนำำ�หลั​ักธรรมเพื่​่�อประสานใจกั​ันและกั​ันให้​้บั​ังเกิ​ิดสุ​ุขสั​ันติ​ิ” เพื่​่�อเป็​็นการเฉลิ​ิมฉลองความสำำ�เร็​็จ และบรรจุ​ุพระบรมสารี​ีริ​ิกธาตุ​ุที่​่�ได้​้รั​ับเมตตาจากพระเดชพระคุ​ุณ พระเทพวิ​ิสุ​ุทธาภรณ์​์ เจ้​้าคณะเขตพระนคร เจ้​้าอาวาสวั​ัดอิ​ินทรวิ​ิหาร กรุ​ุงเทพมหานครในตำำ�แหน่​่งรองสมเด็​็จ พระมหานายกะ สมเด็​็จพระสั​ังฆราชลั​ังกา นิ​ิกายสยามวงศ์​์ วั​ัดมั​ัลละวั​ัตตะ กรุ​ุงแคนดี้​้� ประเทศศรี​ีลั​ังกา ได้​้นำำ� พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี ไปขอรั​ับพระบรมสารี​ีริ​ิกธาตุ​ุจากสมเด็​็จพระมหานายกะ สมเด็​็จพระสั​ังฆราชศรี​ีลั​ังกา เมื่​่�อวั​ันที่​่� ๒๒ กั​ันยายน ๒๕๕๙ ที่​่�ผ่​่านมา เพื่​่�อบรรจุ​ุไว้​้เป็​็นที่​่�สั​ักการะบู​ูชา ณ พระธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ศรี​ีเทพประสานธรรมดั​ังกล่​่าว การบู​ูรณะอุ​ุโบสถ สื​ืบเนื่​่อ� งจากอุ​ุโบสถสร้​้างมานานได้​้ชำ�รุ ำ ดุ เสี​ียหาย หลั​ังคารั่​่�ว ไม่​่สะดวกในการทำำ�สังั ฆกรรม พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี เจ้​้าอาวาส ได้​้ดำำ�ริ​ิทำำ�การบู​ูรณะ ตั้​้�งแต่​่ปี​ี ๒๕๖๑ โดยได้​้รับั เงิ​ินบริ​ิจาค จำำ�นวน ๒ ล้​้านบาท จาก บริ​ิษั​ัท คิ​ิงพาวเวอร์​์ จากการแนะนำำ�ของท่​่านเนวิ​ิน ชิ​ิดชอบ และคณะมิ​ิตรสหายของท่​่านเนวิ​ิน ชิ​ิดชอบ ที่​่�ร่​่วมบริ​ิจาค พร้​้อมด้​้วยพุ​ุทธบริ​ิษัทช ั าวตลาดกระสั​ัง และชาวบ้​้านทั่​่�วไป สิ้​้�นเงิ​ินการบู​ูรณะโบสถ์​์ทั้​้�งสิ้​้�น ๔,๔๐๐,๐๐๐ บาท ดร.พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี เจ้​้าอาวาส มี​ีดำำ�ริ​ิก่​่อสร้​้างมณฑปบู​ูรพาจารย์​์ เพื่​่�อประดิ​ิษฐานพระพุ​ุทธรู​ูปหลวงพ่​่อ วั​ัดไร่​่ขิ​ิง (จำำ�ลอง) ศรั​ัทธาหล่​่อถวายโดยคุ​ุณพรเทพ ปั​ัฐวี​ี ไวยาวั​ัจจกรวั​ัดไร่​่ขิ​ิง จั​ังหวั​ัดนครปฐม จากการแนะนำำ�ของ คุ​ุณสมนึ​ึก เบี​ียร์​์ดี ร้ี ้านศรี​ีพุ​ุทธภั​ัณฑ์​์ อำ�ำ เภอบ้​้านด่​่าน และได้​้ปู​ูกระเบื้​้�องรอบอุ​ุโบสถ พร้​้อมสร้​้างรั้​้�วด้​้านทิ​ิศตะวั​ันออก ด้​้านทิ​ิศตะวั​ันตก แล้​้ วเสร็​็จเรี​ียบร้​้อย ในปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๓ สิ้​้�นเงิ​ินรวมค่​่าสร้​้างมณฑป ปู​ูกระเบื้​้�องรอบโบสถ์​์


บอกกล่​่าว (ต่​่อ) และสร้​้างรั้​้วทิ � ศิ ตะวั​ันออก ทิ​ิศตะวั​ันตก รวมเงิ​ินจ่​่าย ๓,๒๕๐,๐๐๐.๐๐ บาท (สามล้​้านสองแสนห้​้าหมื่​่น� บาท) ค่​่าป้​้าย ชื่​่�อวั​ัด หิ​ินแกรนิ​ิต ๙๐,๐๐๐.๐๐๐ (เก้​้าหมื่​่�นบาท) ศรั​ัทธาบริ​ิจาคโดย นายสุ​ุขอนั​ันต์​์ เชาว์​์ชัยพั ั ัฒน์​์ และครอบครั​ัว อุ​ุทิ​ิศส่​่วนกุ​ุศลให้​้ปู่�ย่​่ า่ ตายาย เพื่​่อ� ความมั่​่น� คงสถาพรมั่​่�นคง ยั่​่�งยื​ืน ของวั​ัดท่​่าสว่​่างสื​ืบต่​่อไปตลอดกาลนาน จึ​ึงได้​้ฉลองสมโภชโบสถ์​์ มณฑป และรั้​้�ววั​ัด ในครั้​้�งนี้​้� อนึ่​่�ง วั​ัดท่​่าสว่​่างจะมี​ีอายุ​ุครบ ๒๐๐ ปี​ี ในปี​ี พ.ศ. ๒๕๖๙ ทางวั​ัดจะได้​้จั​ัดงานฉลองสมโภชวั​ัดอี​ีกครั้​้�ง ขอขอบคุ​ุณพุ​ุทธศาสนิ​ิกชนทั้​้�งหลาย ขอให้​้ความเจริ​ิญรุ่​่�งเรื​ือง จงเกิ​ิดแก่​่ทุ​ุกท่​่านตลอดไป (ดร.พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี) รองเจ้​้าคณะจั​ังหวั​ัดบุ​ุรีรัี ัมย์​์ เจ้​้าอาวาสวั​ัดท่​่าสว่​่าง


สารบัญ สังกัดคณะสงฆ์ การตั้งวัด กรรมสิทธิ์ที่ดินเป็นของวัดท่าสว่าง อาณาเขตที่ตั้งวัด

24 28 31 32

ผลงานของวัด กิจกรรมภายในวัด ประวัติชุมชน วัดท่าสว่าง

ลักษณะพื้นที่ที่ตั้งวัดและบริเวณโดยรอบ ปูชนีวัตถุที่ส�ำคัญของวัด การจัดการศึกษาในวัด การเผยแผ่​่พระพุ​ุทธศาสนา

บทบาทของวั​ัดต่​่อชุ​ุมชน ความมั่นคงของวัด ประวัติพระสุนทรธรรมเมธี บทบาทหน้าที่ทางการศึกษา

40 40 40 41

16 17 18 20 20 20 20 22

32 33 36 38

งานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ผลงานด้านสาธารณูปการ พระธาตุ​ุเจดี​ีย์​์ “ศรี​ีเทพประสานธรรม” การก่อสร้างพิเศษในชีวิต

สมณศักดิ์ รางวัลที่เคยได้รับ ประสบการณ์ ทัศนศึกษา

44 44 44 44


ทั​ัศนคติ​ิต่​่อวั​ัดท่​่าสว่​่าง

นายกิ​ิมฮ้​้อ เหลื​ืองประภั​ัสร์​์ นายกเทศมนตรี​ีเทศบาลตำำ�บลกระสั​ัง

“ พอผมเข้​้ามาเป็​็นนายกเองก็​็พยายามผลั​ักดั​ันเรื่​่�องสระน้ำำ�� เพราะไม่​่มี​ีใครดำำ�เนิ​ินการต่​่อ ก็​็จนสำำ�เร็​็จ ได้​้ความร่​่วมมื​ือทุ​ุกสิ่​่�งทุ​ุกอย่​่างที่​่�เป็​็นสิ่​่�งก่​่อสร้​้างจากพี่​่�น้​้อง กระสั​ังผู้​้�มี​ีส่​่วนร่​่วมในการเริ่​่�มต้​้น เราพยายามอย่​่างยิ่​่ง� ที่​่�จะสนั​ับสนุ​ุนคนดี​ี แม้​้ตัวท่ ั ่านพระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ีเอง ถึ​ึงแม้​้จะเป็​็นพระบ้​้านอื่​่น� ที่​่�ไม่​่ใช่​่บ้​้านนี้​้� แต่​่ก็​็เป็​็นคนกระสั​ัง และก็​็มุ่​่�งมั่​่�นที่​่�จะพั​ัมนาทางด้​้านการศึ​ึกษา การเรี​ียนการสอนของน้​้องเณร ของพระ ศึ​ึกษาต่​่อจนจบ ”


ผลงานวัดท่าสว่าง ๑๒ สิงหาคม พุทธศักราช ๒๕๔๗ พระครูอมร ธรรมนิเทศก์ ได้บริจาคเงินสร้างเวทีกลางแจ้ง จ�ำนวน ๖,๐๐๐ บาท ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๕๓ วัดท่าสว่าง ได้ บริหารจัดการส้วมสาธารณะได้มาตรฐาน HAS ประจ�ำปี ๒๕๕๓ ๑๕ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๕๔ พระสุนทรธรรม เมธี ได้บริจาคทรัพย์ในการสอบธรรมสนามหลวง เป็นเงิน ๓.๐๐๐ บาท ๒๒ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๕๔ พระสุนทรธรรม เมธี ได้รับการยกย่องถวายรางวัลพุทธคุณูปการ ๒๓ กรกฎาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑ ดร.พระสุนทร ธรรมเมธี ได้รับการย่องยกเป็นบุคคลที่ท�ำคุณประโยชน์ให้ อ�ำเภอกระสัง


กิจกรรมภายในวัด


ประวัติวัดท่าสว่าง ประวัติชุมชน

เดิ​ิมอำำ�เภอกระสั​ังเป็​็นเพี​ียงหมู่​่บ้� า้ นเล็​็ก ๆ ขึ้​้น� ตรง กั​ับตำ�บล ำ สองชั้​้น� อำำ�เภอเมื​ืองบุ​ุรีรัี มั ย์​์ ต่อ่ มาในปี​ี พ.ศ. ๒๔๘๐ ได้​้ยกฐานะเป็​็นตำำ�บลกระสั​ัง เนื่​่อ� งจากมี​ีทางรถไฟผ่​่านจึ​ึง กลายเป็​็นย่​่านการค้​้าที่​่�มี​ีความเจริ​ิญขึ้�น้ ตามลำำ�ดั​ับ ต่​่อมา ได้​้รับจั ั ัดตั้�ง้ เป็​็น “กิ่​่ง� อำำ�เภอ” เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๔๙๕ โดยมี​ี เขตการปกครอง ๓ ตำำ�บล คื​ือ ตำำ�บลกระสั​ัง ตำำ�บลสองชั้​้น� และตำำ�บลลำำ�ดวน ต่​่อมาวั​ันที่​่� ๒๓ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ ได้​้ยกฐานะเป็​็น “อำำ�เภอกระสั​ัง” เหตุที่มีชื่อว่า กระสัง เพราะมีต้นกระสังขึ้นอยู่ จ�ำนวนมาก (ต้นกระสังเป็นต้นไม้ที่มีหนาม ใบเล็ก ๆ คล้ายใบมะขาม แต่ยาวและหนากว่า ใบของต้นกระสังใช้ ปรุงอาหารแทนรสเปรี้ยวได้ และเป็นต้นไม้ที่ทนต่อความ แห้​้งแล้​้งเป็​็นอย่​่างดี​ี นอกจากนี้​้�ยั​ังสามารถนำำ�ใบของต้​้น กระสั​ั ง มาต้​้ ม กิ​ิ น แก้​้ โรคช้ำำ�� ในได้​้ สมั​ั ย กรุ​ุ ง ศรี​ี อ ยุ​ุ ธ ยา มี​ีการนำำ�ผลของต้​้นกระสั​ังมาตำำ�ให้​้ละเอี​ียด เสกด้​้วยคาถา นะโมพุทธายะ กรองเอากากออกและน�ำไปละลายน�้ำ ปล่อยน�้ำให้ใส จากนั้นน�ำมาหยอดตาแก้โรคตาแดงได้) ราว พ.ศ. ๑๘๙๖ ในสมัยพระเจ้าอู่ทอง มีคนอพยพจาก

Tha Sawang

18

เมืองนครธม เมืองหลวงของเขมร มาอาศัยอยู่ที่บ้าน กระสัง โดยขุนหลวงพะงั่วยกทัพมาตีเขมร ชาวเขมรจึง หลบหนีทัพไทยมาอยู่ที่บ้านกระสังประมาณ ๑๗ ครัว เรอื น เพราะเห็นว่าบ้านกระสังมีท�ำเลดี เคยเป็นเมืองเก่า บ้านเมืองรกร้างมานานท�ำให้มตี น้ ไม้ขนึ้ ปกคลุมกลายเป็น ดงมีสตว ั ป์ า่ มีมากมายอาศัยอยู่ ดงทีอ่ ยู่ทางทิศตะวันออก ของหมู่​่� บ้​้ า นเรี​ี ย กว่​่ า ดงขะเวี​ี ย ง มี​ี อ าหารและน้ำำ�� ท่​่ า บริ​ิบู​ูรณ์​์เพราะอยู่​่�ใกล้​้ “ห้​้วยจะเมิ​ิง” ซึ่​่ง� อยู่​่�ทางทิ​ิศตะวั​ัน ตก และทางเหนือของวัดท่าสว่าง คือ ชุมชนกระสัง ร้อย กว่าปีตอ่ มาก็เกิดโรคระบาด ท�ำให้ผูค้ นอพยพไปอยู่ที่บา้ น เมืองไผ่หมดเหลือเพียงไม่ก่คี น บ้านกระสังจึงกลายเป็น เมอื งร้าง ตัง้ แต่ปี พ.ศ. ๒๐๐๐-๒๓๔๕ เป็นระยะเวลาสาม ร้อยกว่าปี บา้ นกระสังกลายเป็นหมบู่ า้ นร้าง มีตน้ ไม้เกิดขึน้ หนาแน่น ถึงขนาดมีชา้ งมาอยู่มากมาย ต้นไม้ทมี่ มี ากทีส่ ดุ

วัดท่าสว่าง


คือ ไม้ไผ่ปา่ ชาวส่วยจากจังหวัดสุรนิ ทร์กลับมาจากคล้อง ช้างเห็นว่าบ้านกระสังมีท�ำเลดี จึงพากันมาจับจองที่อยู่ ต่อมาภายหลังคนจากจังหวัดสุรินทร์และคนที่อยู่เขต พิมายก็อพยพมาอยู่อาศัยเพิม่ มากขึน้ เรอื่ ย ๆ ในราว พ.ศ. ๒๓๒๐ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก เมื่อ ครั้งด�ำรงต�ำแหน่งพระยศเป็นเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก เคยเสด็จมาเขตอ�ำเภอกระสัง และได้น�ำทหารมาซุม่ นอน พักทีด่ งขะเวียงทางตะวันออกบ้านกระสังแล้วยกทัพไปตี เมืองขุขันธ์ จังหวัดศรีสะเกษ จนถึง พ.ศ. ๒๓๕๑ บ้าน กระสังฝนแล้ง ผู้คนอดอยากจึงพากันอพยพไปอยู่ในพื้นที่ ที่อุดมสมบูรณ์กว่า บ้านกระสังก็กลายเป็นบ้านร้างอีก ครัง้ ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๕๓ คนจากจังหวัด สุรินทร์ บ้านสองชั้น บ้านเมืองไผ่ และบ้านห้วยราช ได้

อพยพมาอยู่​่�ที่​่�บ้​้านกระสั​ังมากขึ้​้�น เพราะพื้​้�นที่​่�ของบ้​้าน กระสั​ังเหมาะแก่​่การทำำ�เกษตร คื​ือ การทำำ�นาปี​ี ในปี​ี พ.ศ. ๒๔๖๕ ได้​้มีกี ารสร้​้างทางรถไฟมาถึ​ึงกระสั​ัง และตั้​้ง� สถานี​ีรถไฟกระสั​ังขึ้​้�น จึ​ึงมี​ีผู้​้�คนจากทุ​ุกสารทิ​ิศมาอาศั​ัย อยู่​่� รวมถึ​ึงชาวอิ​ินเดี​ียและชาวจี​ีนที่​่�อพยพมาจากแผ่​่นดิ​ิน ใหญ่​่ อี​ี ก ด้​้ วย สมั​ั ยนั้​้� น เขตอำำ� เภอกระสั​ั ง ทั้​้� ง หมดเป็​็ น หมู่​่บ้� า้ นขึ้น้� ตรงต่​่อตำำ�บลห้วย ้ ราชและจั​ังหวั​ัดนครราชสี​ีมา ต่​่อมาทางราชการได้​้ตั้​้�ง “เมื​ืองแป๊​๊ะ” เป็​็นจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ ในปี​ี พ.ศ. ๒๔๖๘ บ้​้านสองชั้​้น� ได้​้ยกฐานะขึ้​้�นเป็​็นตำำ�บล บ้​้านกระสั​ังก็​็ขึ้น้� ตรงกั​ับตำำ�บลสองชั้​้น� และยั​ังขึ้​้น� ต่​่ออำำ�เภอ เมื​ืองจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ นับั แต่​่นั้​้�นเป็​็นต้​้นมา ต่​่อมาได้​้ยกฐานะบ้​้านกระสั​ังขึ้​้�นเป็​็นตำำ�บล โดย ขึ้​้น� กั​ับอำ�ำ เภอเมื​ืองบุ​ุรีรัี มั ย์​์ ตำ�บล ำ กระสั​ังมี​ีความเจริ​ิญก้​้าวหน้​้า

ขึ้​้�นตามลำำ�ดับ มี ั ีจำ�ำ นวนประชากรเพิ่​่�มขึ้​้�นเรื่​่�อย ๆ และมี​ี การตั้​้�งร้​้านค้​้ามากมาย สิ​ินค้​้าที่​่�ขึ้​้�นชื่​่�อของอำำ�เภอกระสั​ัง ในสมั​ัยนั้​้�น คื​ือ ข้​้าวเปลื​ือก พ่​่อค้​้าคนกลางซื้​้�อข้​้าวเปลื​ือก ไปขายที่​่�จั​ังหวั​ัดกรุ​ุงเทพฯ ทางรถไฟ ตำำ�บลกระสั​ังจึ​ึงถู​ูก จั​ัดตั้​้�งให้​้เป็​็นเป็​็นกิ่​่�งอำำ�เภอ พ.ศ. ๒๕๐๑ ต�ำบลกระสังถูกประกาศเป็นกิ่ง อ�ำเภอกระสังอย่างเป็นทางการ และในปี พ.ศ. ๒๕๐๕ มี

การจัดตั้งกิ่งอ�ำเภอกระสังเป็นอ�ำเภอกระสัง มีการจัด ระเบียบการปกครองขึ้นตรงกับฝ่ายปกครอง ชุมชนมี ลักษณะต่างคนต่างอยู่ ชนเผ่าที่ปฏสิ งั ขรณ์วดั ร้างให้กลาย เป็น “วัดท่าสว่าง” คือ กลุ่มชนเผ่าเขมร ลาว ส่วย ซึ่งมี ความร่วมมือสามัคคีกันอย่างดี เพื่อสืบทอดพระพุทธ ศาสนา

Tha Sawang

19

วัดท่าสว่าง


วัดท่าสว่าง

กรรมสิ​ิทธิ์​์�ที่​่�ดิ​ินเป็​็นของวั​ัดท่​่าสว่​่าง

แต่เดิมชาวบ้านเรียกว่า “วัดกระสัง” เพราะตั้ง อยู่ที่หมู่บ้านกระสังพร้อมกับการตั้งหมู่บ้าน โดยตั้งอยู่ เลขที่ ๒๒๖ หมู่ ๑๕ (เดิมขึน้ อยู่กบั หมทู่ ี่ ๑) ภายหลังแยก หมบู่ า้ นใหม่เป็นหมทู่ ี่ ๑๕ ชาวบ้านจึงตัง้ ชื่อว่า “บ้านท่า สว่าง” วัดนีถ้ กู จัดให้อยู่ในเขตหมบู่ า้ นที่ตงั้ ใหม่ คอื บ้าน “ท่าสว่าง” ถนนสุขาภิบาล ๑ บ้านท่าสว่าง ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัสไปรษณีย์ ๓๑๑๖๐

ไม่​่สามารถระบุ​ุปีที่​่ี วั� ดั ท่​่าสว่​่างได้​้รับั พระราชทาน วิ​ิสุงุ คามสี​ีมาครั้​้ง� แรกได้​้ ภายหลั​ังพระครู​ูประสานสั​ังฆกิ​ิจ (ประสาน กนตธมโม) อดี​ีตเจ้​้าอาวาสรู​ูปที่​่� ๙ และอดี​ีตเจ้​้า คณะอำำ�เภอรู​ูปแรก ได้​้สร้​้างอุ​ุโบสถหลั​ังใหม่​่นอกเขต พัทธสีมาเดิม จึงได้ขอพระราชทานผูกพัทธสีมาอุโบสถ ใหม่ และได้ รั บ พระราชทานวิ สุ ง คามสี ม าเมื่ อ วั น ที่ ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๑๖ เขตวิสุงคามสีมากว้าง ๔๐ ตารางเมตร ยาว ๗๐ ตารางเมตร วัดท่าสว่าง ตัง้ อยู่ในเนอื้ ที่ทงั้ สิน้ จ�ำนวน ๒๗ ไร่ ๒๕ ตารางวา มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์ที่ดิน โฉนดเลขที่ ๑๘๕๘ เล่มที่ ๑๘ หน้าที่ ๕๘ อ�ำเภอกระสังจังหวัดบุรรี มั ย์

สังกัดคณะสงฆ์

ฝ่ายมหานิกาย

การตั้งวัด

วั​ัดท่​่าสว่​่าง ก่​่อตั้​้�งก่​่อนวั​ันที่​่� ๑๖ กุ​ุมภาพั​ันธ์​์ ๒๔๘๕ ซึ่​่� ง เป็​็ น วั​ั น ที่​่� ก ระทรวงออกตามความใน พระราชบั​ัญญั​ัติ​ิคณะสงฆ์​์ พุ​ุทธศั​ักราช ๒๔๘๔ มี​ีผล บั​ังคั​ับใช้​้ และได้​้รับป ั ระกาศตั้ง้� เป็​็นวั​ัดในพระพุ​ุทธศาสนา ตามทะเบี​ีย นที่​่� ตรวจสอบได้​้ จากสำำ�นั​ักงานพระพุ​ุ ทธ ศาสนาแห่​่งชาติ​ิ เมื่​่�อ พ.ศ. ๒๓๖๙

Tha Sawang

20

วัดท่าสว่าง



อาณาเขตที่ตั้งวัด

ทิศเหนือ (วัดจากตะวันออกไปทางตะวันตก) ยาว ๒๒๓ เมตร จรดที่นาของชาวบ้านกระสัง ทิศใต้ (วัดจากตะวันออกไปทางตะวันตก) ยาว ๗๘ เมตร จรดที่ดินของนางเกี้ย จิตต์ไชยวัฒน์ ทิศตะวันออก (วัดจากทิศเหนือไปทางทิศใต้) ยาว ๒๖๐๗.๔๐ เมตร จรดที่นา - สระน�้ำของชาวบ้าน กระสัง และทางออกสายกระสัง - ล�ำดวน

ทิศตะวันตก (วัดจากทิศเหนอื ไปทางทิศใต้) ยาว ๓๑๔.๔๐ เมตร จรดหมู่บ้านท่าสว่าง หมู่ที่ ๑๕ ที่ดินธรณีสงฆ์ (ไม่รวมที่ดินของที่ตั้งวัดจ�ำนวน ๒๗ ไร่ ๒๕ ตารางวา ข้างต้นนี้) มี ๒ แปลงรวมเนื้อที่ ๑๑๖ ไร่ ๑๑๗ ตารางวา ดังนี้ แปลงที่ ๑ ตั้งอยู่ในเขตเทศบาล ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ มีเนื้อที่ ๑๑๕ ไร่ ๗๗ ตารางวา ใช้ประโยชน์จัดสรรให้ประชากรเช่าปลูกสร้าง

ที่อยู่อาศัยในอัตราราคาต�่ำที่สุด เพื่อเป็นการสงเคราะห์ คนยากไร้ เก็บค่าเช่าเดอื นละประมาณ ๓,๐๐๐ กว่าบาท ที่ดินแปลงนี้นับรวมกับที่ตั้ง โรงเรียนอนุบาลกระสัง ซึง่ แต่เดิมชื่อว่า “โรงเรียนวัดบ้านกระสัง” ตัง้ อยู่ในทีด่ นิ ของวัดมาแต่แรกเริ่มก่อตั้งโรงเรียน ภายหลังวัดให้ย้าย โรงเรียนมาอยู่ ณ ทีด่ นิ แปลงดังกล่าวนี้ จากนัน้ จึงเปลี่ยน ชื่อโรงเรียนจาก “โรงเรียนวัดบ้านกระสัง” เป็น “โรงเรียน บ้านกระสัง” และปัจจุบันเปลี่ยนเป็น “โรงเรียนอนุบาล กระสั ง ” เมื่ อ ทางวั ด ท�ำการรั ง วั ด ที่ ดิ น จึ ง ได้ ท ราบว่ า

โรงเรียนได้แบ่งแยกที่ดินของวัด เป็นที่ราชพัสดุ จ�ำนวน เนื้อที่ประมาณ ๖๐ ไร่เศษ เพราะฉะนั้นที่ดินวัดจึงเหลือ เป็​็นที่​่�ดิ​ินที่​่�สามารถออกโฉนดกรรมสิ​ิทธิ์​์�ได้​้เหลื​ือเพี​ียง ๑๕๔ ไร่​่ ๗๗ ตารางวา ตามโฉนดที่​่�ดิ​ิน เลขที่​่� ๓๑๔๒๕ เล่ม ๓๑๕ หน้า ๒๔ อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ชื่อผู้ถือกรรมสิทธิ์ วัดท่าสว่าง หมายเหตุ พระสุนทรธรรมเมธี รองเจ้าคณะ จังหวัดบุรีรัมย์ เจ้าอาวาสวัดท่าสว่างได้ฝากข้อคิดเกี่ยว กับประวัติความเป็นมาของที่ดินวัดบ้านกระสังไว้ว่า

Tha Sawang

22

วัดท่าสว่าง


ที่ดินของวัดไม่มีใครสามารถเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างอื่น ได้ ที่ทางโรงเรียนซึ่งตั้งอยู่ในที่ดินของวัดเอาที่ดินวัดไป เป็นที่ราชพัสดุ ไม่ทราบว่าใช้กฎหมายฉบับใด ออกเป็น โฉนดได้หรือไม่ ข้าพเจ้าไม่ได้สอบถามหาความจริง เพราะเมื่อข้าพเจ้าพูดถึงเรื่องนี้ก็มีกรรมการวัดหลาย ท่านท้วงติงว่าเป็นที่สาธารณะเหมือนกัน กล่าวคือ เป็น ที่ ร าชพั ส ดุ หรื อ ที่ ธ รณี ส งฆ์ ก็ ใช้ ป ระโยชน์ เ พื่ อ การ สาธารณะเช่นกัน ไม่ควรพูดให้เกิดความแตกแยก แต่ ข้าพเจ้าคิดว่าไม่น่าจะถูกต้อง เราใช้ประโยชน์จาก สาธารณะเหมื อ นกั น แต่ ค วรระบุ ใ ห้ ชั ด ว่ า เป็ น การ บ�ำเพ็ญประโยชน์จากทางวัด กล่าวคือ วัดเป็นผู้จัด ประโยชน์ให้ประชาชนในนามที่ธรณีสงฆ์ ไม่ใช่ที่ราช พัสดุ จึงฝากความคิดไว้ ณ ตรงนี้ให้ผู้เกี่ยวข้องคืนที่ตั้ง โรงเรี ย นซึ่ ง โอนไปเป็ น ที่ ร าชพั ส ดุ ม าเป็ น ที่ ธ รณี ส งฆ์ ของวัดท่าสว่างตามเดิม เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นประมาณ พ.ศ. ๒๕๓๗ สมัยที่นายสุทัศน์ เสาสูง เป็นผู้อ�ำนวยการ โรงเรียนบ้านกระสัง แปลงที่ ๒ ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ บ้านกระสัง ต�ำบล Tha Sawang

กระสัง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ (เป็นที่ตั้งวัดตั้งแต่ ก่อตั้งหมู่บ้าน) ชาวบ้านเรียกว่า ที่วัดร้าง ซึ่งตั้งเป็นวัด แล้วเกิดความแห้งแล้งบ่อยครั้ง จนชาวบ้านเรียกบ้าน กระสังว่า “กระสังร้าง” มีเนื้อที่ที่ยังเหลืออยู่หลังจาก ตัดถนนสายกระสัง - ล�ำดวน แล้วเหลือเพียง ๑๒ ไร่ ๔๐ ตารางวา (คิดว่าที่ตั้งวัดแต่เดิมนั้นน่าจะมีมากกว่านี้ แต่ ได้กลายเป็นถนนและเป็นทีค่ รอบครองของเอกชนไปบ้าง บางส่วน) ที่ดินวัดร้างนี้ มีหนังสือแสดงกรรมสิทธิ์หลัก ฐาน เป็นโฉนด ซึง่ ได้มอบหมายกับเทศบาลต�ำบลกระสัง โดยเทศบาลได้ขอเช่าที่ดังกล่าวสร้างส�ำนักงานเทศบาล ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๔๕ เป็นระยะเวลา ๓๐ ปี ในอัตราค่า เช่าเพียงไร่ละสตางค์ จ�ำนวนเงินค่าเช่าทัง้ สิน้ ๒๘๐,๗๐๐ บาท ต่อ ๓๐ ปี ซึ่งจะครบก�ำหนดการเช่าในปี พ.ศ. ๒๕๗๕ หมายเหตุ หนังสอื แสดงกรรมสิทธิท์ ดี่ นิ วัดครอบ ครองอยู่ คือ หนังสือรับรองการท�ำประโยชน์ (น.ส.๓ ก.) เลขที่ ๒๔๔๔ เล่มที่ ๒๕ ก หน้า ๔๔ ต.กระสัง อ.กระสัง จ.บุรีรัมย์ ออกให้สมัยนายอ�ำเภอ ธเนศสุทธิอาจ

23

วัดท่าสว่าง


ลักษณะพื้นที่ ที่ตั้งวัด และบริเวณโดยรอบ

ก่อสร้างอาคารเสนาสนะ ดังนี้ ๑. ฌาปนสถาน กว้​้าง ๑๔ เมตร ยาว ๑๘ เมตร พื้นที่ตั้งวัดมีลักษณะคล้ายรูปทรงกระทะคว�่ำ สร้างตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๘ แล้วเสร็จในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ มีคเู มอื งล้อมรอบหมบู่ า้ น แม้ปจั จุบนั คูล้อมรอบหมูบ่ า้ น สมัยพระมหาสุเทพ อาสโภ (พระครูอมรธรรมนิเทศก์) จะถูกท�ำลายและทรุดโทรมตามกาลเวลา แต่ยงั คงมีบาง เป็ น เจ้ า อาวาส โดยเงิ น ทุ น ศรั ท ธาของนายกองตรี ส่วนปรากฎให้เห็นอยู่บ้าง โดยเฉพาะด้านทิศตะวันตก ไพโรจน์ (เสี่ยไซ) ตียวานิช อดีต ส.ส. บุรีรัมย์ จ�ำนวน ของวัดรอบ ๆ บ้านท่าสว่างอ้อมไปทางทิศใต้ ได้กลาย ๓๐๐,๐๐๐ บาท และงบศรัทธาจากประชาชนทั่วไป จ�ำนวน ๕๘๗,๖๗๘ บาท รวมค่าก่อสร้าง ๕๘๗,๖๗๘ เป็นทีเ่ อกชนและได้มกี ารจัดสรรเป็นทีฝ่ งั ศพบรรพบุรษุ ที่ตั้งวัดเป็นเนินสูง ทราบจากค�ำบอกเล่าของ บาท (ไม่นับรวมค่าก่อสร้างฐานล่างที่ด�ำเนินการก่อนนี้ คนสงู อายุวา่ คล้ายก้นกระทะใบใหญ่คว�่ำอยู่ ก่อนสร้าง ซึ่งไม่ทราบจ�ำนวน) และในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ กรมการ อุโบสถหลังใหม่ได้ใช้รถแทรกเตอร์ปรับพนื้ ทีใ่ ห้มสี ภาพ ศาสนาได้ยกย่องให้เป็นวัดพัฒนาตัวอย่าง ๒. ศาลาเอนกประสงค์​์ ด้า้ นทิ​ิศเหนื​ือฌาปนสถาน ราบเรียบจนสามารถสร้างอุโบสถดังที่ปรากฏ บริเวณวัด ตั้งอยู่ทิศเหนือสุดของหมู่บ้าน บริเวณด้านทิศเหนือ เริ่​่ม� สร้​้างปี​ี พ.ศ. ๒๕๒๘ แล้​้วเสร็​็จในปี​ี พ.ศ ๒๕๓๐ สมั​ัย พระครูประสานสังฆกิจ อดีตเจ้าอาวาส ได้ใช้ความ พระมหาสุ​ุเทพ อาสโภ (พระครู​ูอมรธรรมนิ​ิเทศก์​์) เป็​็นเจ้​้า สามารถเฉพาะตัวของท่านเนรมิตสระน�้ำใหญ่มหึมาใน อาวาส จากงบประมาณงบพัฒนาจังหวัด จัดสรรโดยนาย พิชิต ธีรัชตานนท์ อดีต ส.ส. จังหวัดบุรีรัมย์ จ�ำนวน เนื้อที่ประมาณ ๖ ไร่เศษ เป็นทีเ่ ก็บกักน�้ำหล่อเลี้ยงชีวติ ชาวกระสังมาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๘๒ เป็นเหตุให้ชาว ๕๐,๐๐๐ บาท และบริจาคโดยแรงศรัทธาของประชาชน กระสังไม่ตอ้ งทอดทิง้ ถิน่ ฐานให้รา้ งว่างเปล่าเมอื่ ประสบ จ�ำนวน ๕๑๖,๐๐๐ บาท วัสดุกอ่ สร้างจ�ำนวน ๕๖๖,๐๐๐ ภัยแล้งเหมือนอย่างในอดีตที่ผ่านมา นับเป็นบุญญาธิ บาท ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ท�ำการปรับปรุง ซ่อมแซม ท�ำดาดฟ้า ทาสีใหม่ โดยคณะกรรมการวัดท่าสว่าง น�ำ การใหญ่หลวงของท่านยิ่งนัก โดยนายกิมฮ้อ เหลืองประภัสร์ ก�ำนันต�ำบลกระสัง รวม การสร้างอาคารเสนาสนะต่าง ๆ ๑. อุโบสถ กว้าง ๑๖.๘๐ เมตร ยาว ๒๖.๑๐ เงินงบประมาณ ๓๐๐,๐๐๐ บาท ๓. ซุ้​้�มประตู​ูด้​้านหน้​้าวั​ัดทางทิ​ิศใต้​้ สร้​้างเมื่​่�อปี​ี เมตร สร้างสมัยพระครูประสานสังฆกิจ เป็นเจ้าอาวาส ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. ๒๕๐๘ แล้ ว เสร็ จ เรี ยบ ร้ อ ยในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ สมัยพระครอู มรธรรมนิเทศก์เป็นเจ้าอาวาส พ.ศ. ๒๕๒๓ โดยผู้ที่เป็นก�ำลังส�ำคัญในการด�ำเนินการ รวมเงิ​ินค่​่าก่​่อสร้​้าง ๘๘,๐๐๐ บาท จั ด หาทุ น ด�ำเนิ น การก่ อ สร้ า ง และแนะน�ำให้ ส ร้ า ง พระพุทธชินราช พระประธาน มาประดิษฐาน ณ อุโบสถ ด้ วย ก�ำลั ง ทรั พ ย์ แ ละแรงศรั ท ธาของคุ ณ นายสมร จรญ ู ลักขณา ซึง่ น�ำศรัทธาโดยพระเลียน อนุตตโร (พันธ์ ศรี) วัดมหาพฤฒาราม กรุงเทพมหานคร หลังจากนั้น วันที่ ๑๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๒๕ พระครูประสานสังฆกิจ มรณภาพด้วยโรคมะเร็งในไขกระดกู สันหลังลุกลามไปที่ ปอด พระครูอมรธรรมนิเทศก์ ด�ำรงต�ำแหน่งเจ้า อาวาส เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๒๕ ได้ด�ำเนินการ Tha Sawang

24

วัดท่าสว่าง


๖. พ.ศ. ๒๕๓๗ สร้​้างถนนคอนกรี​ีตภายในวั​ัด รอบอุโบสถ งบประมาณจัดสรรโดย ดร.อนุวรรตน์ วั​ัฒนพงษ์​์ศิ​ิริ​ิ อดี​ีต ส.ส. จั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ ซึ่​่ง� ประสานงาน โดยนายอภิ​ิชาติ​ิ เรื​ืองจิ​ินดาวลั​ัย ประธานสภาเทศบาล ตำำ�บลกระสั​ัง เป็​็นเงิ​ินจำำ�นวน ๕๑๘,๗๕๐ บาท และเงิ​ิน งบพั​ั ฒ นาวั​ั ด จากศรั​ั ท ธาประชาชนทั่​่� ว ไป จำำ� นวน ๓๘๐,๐๐๐ บาท รวมเงิ​ินทั้​้�งสิ้​้�น ๘๐๘,๗๕๐ บาท

๔. หอระฆั​ัง กว้​้าง ๖ เมตร ยาว ๖ เมตร สร้​้าง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๕ (สมัยพระครูอมรธรรมนิเทศก์เป็น เจ้าอาวาส) งบเงินกฐิน ผ้าป่า โดยศรัทธาประชาชน ทอดกฐินปี พ.ศ. ๒๕๓๔ จ�ำนวนเงินค่าก่อสร้างทั้งสิ้น ๒๘๐,๐๐๐ บาท ๕. รั้​้ว� วั​ัดด้​้านทิ​ิศตะวั​ันออก ยาว ๒๕ เมตร สร้​้าง เมื่​่�อปี​ีพ.ศ. ๒๕๓๖ รวมเงิ​ินค่​่าก่​่อสร้​้าง ๓๕,๐๐๐ บาท Tha Sawang

25

วัดท่าสว่าง


และในปี พ.ศ. ๒๕๓๗ พระครอู มรธรรมนิเทศก์ในฐานะ เจ้าอาวาส เข้ารับประทานพัดวัดพัฒนาดีเด่นจากสมเด็จ พระสังฆราช ที่จังหวัดราชบุรี ๗. พ.ศ. ๒๕๓๘ วั​ัดได้​้รับป ั ระกาศให้​้เป็​็นอุ​ุทยาน การศึกษา ๘. พ.ศ. ๒๕๓๘ สร้​้างกุ​ุฏิ​ิเจ้​้าอาวาส เป็​็นอาคาร คอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น ทรงไทย กว้าง ๗.๔๐ เมตร ยาว ๑๑.๘๐ เมตร หลังคามุงกระเบื้องซีแพค เพื่อเป็น Tha Sawang

อนุสรณ์ครบ ๑๗๐ ปี ของการก่อตั้งวัด โดยเงินงบ ประมาณจากคณะกฐิ​ินสามั​ัคคี​ีจากกรุ​ุงเทพฯ นำำ�โดยคุ​ุณ ยุ​ุ พ ดี​ี เรื​ืองจิ​ิ น ดาวลั​ั ย พ.ต.อ.สนอง เรื​ืองไพศาล พร้อมคณะจากกรุงเทพมหานคร และเงินบริจาคจาก ศรั ท ธาประชาชนทั่ว ไป รวมเงิ น ค่ า ก่ อ สร้ า งทั้ ง สิ้ น ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท ๙. พ.ศ. ๒๕๔๑ สร้​้างศาลาเอนกประสงค์​์กว้​้าง ๑๔ เมตร ยาว ๒๐ เมตร ทางทิ​ิ ศ ใต้​้ ข องฌาปนสถาน

26

วัดท่าสว่าง


โดยคณะศรัทธาประกอบด้วย ๑. นายประเวศ - นางบุญเคียง ยุวดีนิเวศ ๒. นายสุวัฒน์ - นางประคอง จุนถิระพงศ์ ๓. นางกิ ม ฮวย เรื อ งอุ ด มสกุ ล ๔. นางกิ ม เฮี ย ง หาญสุวรรณ ๕. น.ส.ภาวิณี แช่ฉ่ว ั รวมเงินค่าก่อสร้าง (เจ้าภาพไม่ได้แจ้งยอดจ่าย) ๑๐. พ.ศ. ๒๕๔๒ สร้​้างกุ​ุฏิที่​่ิ รั� บั รองอาคั​ันตุ​ุกะ/ ส�ำนักงานเจ้าอาวาส ลักษณะเป็นอาคาร ๒ ชั้น ครึ่งตึก ครึ่งไม้ทรงไทย ขนาดกว้าง ๖.๑๐ เมตร ยาว ๘.๓๒ เมตร งบประมาณจากเงินกฐิน ปี พ.ศ. ๒๕๔๒ และเงิน บริจาค รวมเงินค่าก่อสร้าง ๔๕๐,๐๐๐ บาท (วัสดุไม้ เก่าไม่คิดค่ารวมเป็นค่าก่อสร้าง) ๑๑. พ.ศ. ๒๕๔๒ - ๒๕๔๓ สร้​้างโรงเรี​ียน พระปริยัติธรรม ขนาดกว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๔๘ เมตร เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชัน้ ๑๐ ห้องเรียน เงิน งบประมาณแผ่นดินอุดหนุนสร้างอาคารเรียน จาก ส�ำนั ก งานพระพุ ท ธศาสนาแห่ ง ชาติ จ�ำนวน ๒,๒๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้านสองแสนบาท) เงินกฐิน ผ้าป่า เงินจากศรัทธาบริจาค จ�ำนวน ๖๕๕,๐๐๐ บาท รวมเป็นค่าก่อสร้างทัง้ สิน้ ๒,๘๔๕,๐๐๐ บาท (สองล้าน แปดแสนบาทถ้วน) ไม่นับรวมค่าก่อสร้างที่พระครู ประสานสังฆกิจ อดีตเจ้าอาวาสวัด ได้สร้างค้างไว้กอ่ น หน้านี้ตงั้ แต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๒ ซึง่ มีมูลค่าไม่นอ้ ยกว่าหนึง่ ล้าน บาท)

ปัจจุบันโรงเรียนพระปริยัติธรรมแห่งนี้ใช้เป็น อาคารเรียนโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดท่าสว่างวิทยา (พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา) สังกัดส�ำนักงาน พระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๑๒. พ.ศ. ๒๕๔๔ สร้​้างอาคารที่​่�พั​ัก (กุ​ุฏิ​ิสงฆ์​์) เป็ น อาคารครึ่ง ตึ ก ครึ่ง ไม้ ลักษณะทรงไทยประยุก ต์ จ�ำนวน ๑๐ ห้องนอน จุคนพักอาศัยอยู่ได้ไม่น้อยกว่า ๘๐ คน งบประมาณจากเงินอุดหนุนสร้างอาคารที่พัก นักเรียนจากส�ำนักพระพุทธศาสนาแห่งชาติ จ�ำนวน ๕๐๐,๐๐๐ บาท (ห้าแสนบาทถ้วน) เงินกฐินปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เงิ น บริ จ าคจากผู้ มี ศ รั ท ธาทั่ว ไป จ�ำนวน ๑,๕๐๐,๐๐๐ บาท ไม่นับรวมค่าวัสดุที่เป็นไม้เก่า ซึ่งมี มูลค่าประเมินมิได้ รวมค่าก่อสร้างที่เป็นค่าแรงงานและ วัสดุกอ่ สร้างที่ตอ้ งซื้อสินค้าก่อสร้างทัง้ สิน้ ๒,๓๐๐,๐๐๐ บาท (สองล้านสามแสนบาทถ้วน) ๑๓. พ.ศ. ๒๕๔๕ สร้​้างศาลาการเปรี​ียญขนาด กว้าง ๑๘ เมตร ยาว ๔๔ เมตร ลักษณะทรงไทยสองชั้น เป็นอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก เริ่มสร้างเมื่อวันที่ ๒๖ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๔ แล้วเสร็จเรียบร้อย จัดพิธีฉลอง ไปเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๖ รวมเวลา ก่อสร้าง ๑๗ เดือน

งบประมาณค่าก่อสร้างดังนี้

๑. เงิ​ินจากกองทุ​ุนนิ​ิธิปิ ระสานสั​ังฆกิ​ิจอนุ​ุสรณ์​์ ๒. เงินผ้าป่าจากประเทศญี่ปุ่น ๓. เงินบริจาคหลวงปู่ฤทธิ์ (พระครูอินทวรคุณ) ๔. เงินกฐินอธิบดีกรมการค้าภายใน ปี ๒๕๔๕ ๕. เงินศรัทธาบริจาคจากประชาชน ๖. เงินอุดหนุนจากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ๗. เงินบริจาคพระครูอมรธรรมนิเทศก์ รวมเงินค่าก่อสร้างทั้งสิ้น Tha Sawang

27

จำำ�นวน ๑,๓๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำนวน ๔๕๘,๑๖๐ บาท จ�ำนวน ๓๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำนวน ๖๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำนวน ๒,๒๖๗,๘๘๑ บาท จ�ำนวน ๗๐๐,๐๐๐ บาท จ�ำนวน ๒๐๔,๖๐๗ บาท จ�ำนวน ๕,๘๓๐,๔๘๘ บาท วัดท่าสว่าง


ปูชนีวัตถุที่สำ� คัญของวัดมีดังนี้

๑. พระพุทธรูปปางสมาธิ หน้าตัก ๓๕ นิ้ว พระประธานเก่ามีมาตั้งแต่ก่อตั้งวัด เชื่อว่าอายุไม่น้อย กว่า ๑๗๐ ปี เป็นพระพุทธรูปทรงผ้ากาววาว มีลายดอก สวยงาม ศิลปะคล้ายสมัยสุโขทั ยป ระดิษฐานอยู่ ใ น อุโบสถ ๒. พระประธานในโบสถ์​์ เป็​็นพระพุ​ุทธชิ​ินราช จำำ�ลอง หน้​้าตั​ักกว้​้าง ๕๙ นิ้​้�ว สร้​้างจากแรงศรั​ัทธาของ คุณนายสมร จรูญลักขณา คฤหบดีย่านตลาดบางรัก กรุงเทพมหานคร น�ำศรัทธาโดยอดีตพระเลียน อนุตตโร วั​ัดมหาพฤฒาราม บางรั​ัก กรุ​ุงเทพมหานคร สร้​้างถวาย เมื่​่�อปี​ี พ.ศ. ๒๕๑๖ ๓. ธาตุเจดีย ท ์ ี่บรรจุอฐั พิ ระครูประสานสังฆกิจ อดีตเจ้าอาวาส และอดีตเจ้าคณะอ�ำเภอกระสัง รูปแรก ลักษณะรูปเจดีย์ เป็นเจดีย์ทรงรัตนโกสินทร์ ตั้งอยู่บน เขาหินซ้อน สงู ประมาณ ๔ เมตรกว่า เป็นรูปภเู ขา สร้าง จากหินจากเขากระโดงซึง่ เป็นหินภเู ขาไฟทีด่ บั สนิทแล้ว อายุนับพันปี และหินจากเขาพนมสวาย จังหวัดสุรนิ ทร์ อ�ำนวยการสร้างโดยพระครูอมรธรรมนิเทศก์ เจ้าอาวาสวัด ท่าสว่าง ซึ่งก�ำลังส�ำคัญในการก่อสร้างครั้งนี้ คือ พระ ภิกษุสามเณรภายในวัด ภายในเขาเป็นถ�้ำ ภายในถ�้ำเป็น ที่ประดิษฐานพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ ปางนาคปรก จาก ศรัทธาบริจาคของนางสาวรัชนี เรืองจินดาวลัย ผู้ใหญ่ บ้านหมทู่ ี่ ๑๖ ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง เขาลูกนีส้ ร้าง เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๓๐ ซึ่งท�ำการสร้างตลอดพรรษากาลจึง แล้วเสร็จ ประธานสงฆ์ท�ำหน้าทีบ่ รรจุอฐั พิ ระครูประสาน สังฆกิจ คือ พระธรรมวิสทุ ธาจารย์ อดีตเจ้าคณะภาค ๑๑ วัดพระนารายณ์มหาราช จังหวัดนครราชสีมา โบราณวัตถุที่ส�ำคัญของวัด ภายในบริเวณวัด เคยให้นักส�ำรวจโบราณวัตถุท�ำการขุดหาวัตถุโบราณ หน้าอุโบสถปัจจุบัน ประมาณ ๓ เมตรกว่า ไม่พบแหล่ง วัตถุโบราณ พบเพียงกระดูกสัตว์ต่าง ๆ และในย่าน ชุมชนหมู่บ้านกระสัง มีผู้ค้นพบโครงกระดูกมนุษย์ โบราณหลายคนบ่อยครั้ง ซึ่งนักส�ำรวจโบราณวัตถุบอก ว่า ณ ถิ่นฐานตรงนี้น่าจะเป็นป่าช้ามาก่อนที่จะกลาย Tha Sawang

เป็ น แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ยข องคนในปั จ จุ บั น หลั ก ฐานที่ สามารถใช้อา้ งอิงได้ คอื อาจารย์เมอื ง เจริญศิร ข ิ า้ ราชการ ครู ขุดหลุมเพอื่ สร้างบ้านได้พบโครงกระดูกคนโบราณอยู่ ในหลุมฝังศพมีสภาพสมบูรณ์ทุกประการ และได้น�ำ กระดูกนั้นมาไว้ที่วัดท่าสว่าง ต่อมาภายหลังได้แจ้งให้ อาจารย์ ดร.สรเชฏฐ์ วรคามวิชย ั อาจารย์สถาบันราชภัฏ บุรีรัมย์ทราบ และมารับกระดูกมนุษย์โบราณนั้นไปไว้ที่ สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ มีเรื่องน่าขบขันเกี่ยวกับโครง กระดกู นี้ คอื อาจารย์เมอื งผู้ขดุ พบกระดกู แอบเอาฟันไป สองซี่ ตอ่ มาอาจารย์มะลาวรรณ เจริญศิริ ภรรยาอาจารย์ เมืองปวดฟันทานอาหารไม่ได้ จึงไปรักษาที่โรงพยาบาล หลายที่ก็ไม่หาย จึงไปเข้าทรงดู คนทรงบอกว่ามีคนใน บ้านนี้ขโมยฟันเขาไป เจ้าของฟันเป็นพราหมณ์มีชื่อว่า ชีวานันทกาพราหมณ์ ให้เอาฟันไปคนื ด้วย อาจารย์เมือง

28

วัดท่าสว่าง



ได้ เ อาฟั น ทั้ ง สองซี่ ม าถวายเจ้ า อาวาสวั ด ท่ า สว่ า ง (พระครูอมรธรรมนิเทศก์) อาการปวดฟันของภรรยา อาจารย์ก็ยังไม่หายขาด ต่อมาไอ้ตี๋น้อยลูกชายเฒ่าแก่ ยินขี ในตลาดกระสังมาพูดคุยเล่นกับเจ้าอาวาสวัดท่า สว่าง โดยกล่าวถึงฟันอากงว่า เขาได้ฟนั อากงมาถือครอง ไว้เพื่อป้องกันภัย “คุณภาพฟันบรรพบุรุษดีอย่างไร?” ไอ้ตถี๋ าม เจ้าอาวาสก็ได้บอกไปว่า “การยึดถอื บรรพบุรษุ เป็นเครื่องสักการะบูชาดีทั้งนั้น ทั้งนี้จะได้เป็นเครื่อง ช่วยเตือนใจไม่ให้ท�ำชั่ว เพราะมีอากงอยู่ใกล้ แม้ทา่ นสิน้ บุญไปแล้วเราก็ยังมีกายของท่านอยู่ใกล้ ก็ดีนะตี๋” และ ได้เอ่ยถึงฟันของชีวานันทิกาพราหมณ์ ที่อาจารย์เมือง เอามาให้ ไอ้ตไี๋ ด้จงั หวะเลยขอฟันนัน้ ไปซีห่ นึง่ ซึง่ ท่านก็ ให้ไป ต่อมาไอ้ตี๋ปวดฟันจนทนไม่ได้ ไปรักษาที่โรง พยาบาลหลายทีก่ ย็ งั ไม่หาย จนปัญญาต้องเอาฟันมาคนื เจ้าอาวาส ก็น่าแปลกที่ฟันทั้งสองซี่อยู่กบั เจ้าอาวาสแต่ ท่านก็ไม่ปวดฟัน กล่าวถึงภรรยาอาจารย์เมืองปวดฟัน ไม่หาย ได้ไปเข้าทรงดูอีกครั้ง ได้ความว่าท่านพราหมณ์

Tha Sawang

ยังต้องการฟันเหมือนเดิม อาจารย์เมืองจึงให้นายดาบ ประวิทย ว์ งษ์ค�ำ น้องเขยมาเอาฟันทัง้ สองซีไ่ ปคืนเจ้าของ เขาที่สถาบันราชภัฏบุรีรัมย์ ปรากฏว่าอาจารย์มะลา วรรณหายจากการปวดฟันเป็นปลิดทิง้ ย้อนกลับมาทีเ่ จ้า อาวาสวัดท่าสว่างตอนถือครองฟันทัง้ สองซี่ของชีวานันท กาพราหมณ์ไว้ตั้งหลายปี แต่ก็ไม่ปวดฟันเลยสักนิดเดียว พอให้ฟนั ไปหมดแล้วก็เกิดอาการปวดฟันขึน้ มา (อายุทา่ น เข้าหลักหกแล้ว จะให้หลีกการเจ็บปวดส่วนนี้ได้อย่างไร) มีคนบอกว่าให้ใช้เกลือแทนยาสีฟัน ท่านได้ลองใช้ดู อาการปวดฟันก็หายเป็นปลิดทิ้ง แต่ไม่รู้ว่าจะปวดขึ้นมา อีกเมื่อใด เพราะอย่างไรก็ต้องปวด แม้จะขโมยฟันใคร หรือไม่ขโมยก็ตาม ทีแ่ น่ ๆ คือ ต้องปวดแน่นอน หลังปวด แล้วฟันก็ต้องโยกคลอนและหลุดออกในที่สุด เหลือแต่ เหงือกกินอะไรไม่อร่อย เพราะสภาพความเป็นจริงของ สังขารธรรมย่อมเป็นเช่นนัน้ ข้อนีค้ งไม่มใี ครเถียง (พยาน บุคคลทีก่ ล่าวยังมีชวี ติ อยู่ทกุ คน สามารถสอบถามพิสจู น์ ความจริงได้)

30

วัดท่าสว่าง


การจัดการศึกษาในวัด

๑. วัดท่าสว่างจัดให้มกี ารเรียนการสอนในระบบ โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกธรรม ตั้ ง แต่ ป ี พ.ศ. ๒๔๘๒ ถึงปัจจุบัน ๒. เคยจัดการศึกษาในนามโรงเรียนสังฆกิจศึกษา สังกัดส�ำนักงานการศึกษาเอกชน (โรงเรียนราษฎร์) ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๐๓ ต่อมาภายหลังได้ปิดโรงเรียนลง ๓. โรงเรี ย นพระปริ ยั ติ ธ รรม แผนกบาลี เปิดการเรียนการสอนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑-๖ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึงปัจจุบัน ๔. โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา วัดท่าสว่างวิทยา เปิดการเรียนการสอนตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๕

Tha Sawang

๕. ศู น ย์ ศึ ก ษาพระพุ ท ธศาสนาวั น อาทิ ตย ์ จดทะเบียนสังกัดส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๓ ถึงปัจจุบัน ๖. โรงเรี ย นประถมศึ ก ษา (ปั จ จุ บั น เรี ย กว่ า โรงเรียนอนุบาลกระสัง) แต่เดิมตั้งอยู่บริเวณวัดท่าสว่าง ปัจจุบนั เนื่องจากทีด่ นิ คับแคบทางวัดจึงอนุญาตให้ยา้ ยไป ตั้งอยู่ ณ ที่ธรณีสงฆ์ของวัดท่าสว่าง ในเนื้อที่ประมาณ ๖๐ ไร่เศษ จากที่ธรณีสงฆ์ทั้งสิ้นประมาณ ๒๐๐ ไร่เศษ ตัง้ อยู่ ณ บริเวณด้านทิศตะวันตกของเขตเทศบาลต�ำบล กระสัง ปัจจุบนั ที่ตงั้ โรงเรียนได้กลายเป็นทีร่ าชพัสดุโดยที่ เจ้าอาวาสไม่ทราบสาเหตุ (ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๓๗) ดัง นั้​้�นที่​่�ดิ​ินที่​่�ยั​ังคงเป็​็นที่​่�กรรมสิ​ิทธิ์​์�ของวั​ัดจริ​ิง ๆ มี​ีจำำ�นวน ๑๕๔ ไร่​่ ๗๗ ตารางวา ดั​ังที่​่�กล่​่าวแล้​้วข้​้างต้​้น

31

วัดท่าสว่าง


สถานี​ีวิ​ิทยุ​ุวั​ัดท่​่าสว่​่าง FM 104.25 MHZ และ FM 106 MHZ ที​ีวีออ ี นไลน์​์ Facebook

บทบาทของวัดต่อชุมชน

วัดท่าสว่างกับการเผยแผ่ พระพุทธศาสนา

๑. วัดท่าสว่างเป็นวัดแห่งแรกและแห่งเดียวใน เขตเทศบาลต�ำบลกระสัง ชุมชนแห่งนี้มีอายุประมาณ ๒๐๐ กว่าปีมาแล้ว วดั ท่าสว่างได้รบั อนุญาตตัง้ เป็นวัดใน พระพุทธศาสนาตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๖๘ นับถึงปีนี้ (พ.ศ. ๒๕๖๓) มีอายุได้ ๑๙๕ ปี จึงนับได้วา่ วัดท่าสว่างมีบทบาท ทางจิตวิญญาณชีวิตความเป็นอยู่ของชาวกระสังมาโดย ตลอด ๒. วั ด ท่ า สว่ า งได้ รั บป ระกาศให้ เ ป็ น อุ ทย าน การศึกษา จากส�ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๘ ถึงปัจจุบนั เป็นที่ตงั้ ศูนย์คน้ คว้าหลักค�ำสอน ในพระพุทธศาสนา ซึ่งประชาชนทั่วไปสามารถไปศึกษา หาความรู้ได้ตลอดเวลา (ที่ตั้งศูนย์ฯ ศาลาการเปรียญวัด ท่​่าสว่​่าง เป็​็นศู​ูนย์​์อบรมวิ​ิปั​ัสสนากรรมฐานแก่​่ประชาชน ตามแบบสติ​ิปั​ัฏฐานสู​ูตรเป็​็นประจำำ�ทุ​ุกวั​ันธรรมั​ัสสวนะ

ในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ วัดท่าสว่างเป็นที่ตงั้ ของหน่วย อบรมประชาชนประจ�ำต�ำบลกระสัง ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้โอนย้ายหน่วยอบรมประชาชนไปอยู่ที่วดั บ้าน หนองแขม ด้วยเหตุผลที่เจ้าอาวาสมีภารกิจอย่างอื่น มาก ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ ถึงปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัด ท่าสว่าง (พระครูอมรธรรมนิเทศก์) ได้ท�ำหน้าที่เผยแผ่ พระพุ ท ธศาสนาโดยการบรรยายธรรมประจ�ำใน รายการ “ธรรมะเพื่อชีวิต” ณ สถานีวิทยุทหารอากาศ ๐๒๑ จังหวัดบุรรี มั ย์ วนั จันทร์-วันเสาร์ ตงั้ แต่เวลา ๐๕.๐๕ - ๐๕.๓๐ น. ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ถึงปัจจุบัน จัดส่งภาพไป ท�ำการอบรมนักเรียนในเขตพนื้ ทีเ่ ทศบาลและเขตพนื้ ที่ ทั่วไปในอ�ำเภอกระสัง Tha Sawang

32

วัดท่าสว่าง


๓. วัดท่าสว่างเป็นที่ชมุ นุมของประชาชนในเขต เทศบาลในวันส�ำคัญทางประเพณีไทย เช่น ประเพณี สงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง และวันส�ำคัญทาง ศาสนาอื่น ๆ

ความมั่นคงของวัด

ปี พ.ศ. ๒๕๒๕ ได้จดั ตัง้ กองทุนในนาม “ทุนนิธิ ประสานสังฆกิจอนุสรณ์” เพื่อเป็นอนุสรณ์แด่พระครู ประสานสังฆกิจ อดีตเจ้าอาวาส รูปที่ ๙ และอดีตเจ้า คณะอ�ำเภอกระสังรูปแรก ปัจจุบันมีเงินในกองทุนทั้ง สิ้น ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่งล้านสองแสนบาทถ้วน) ทัง้ นีไ้ ด้รบั ความร่วมมอื การจัดตัง้ กองทุนในระยะเริม่ ต้น จากอดี ต พระเลี ย น อนุ ตต โร วั ด มหาพฤฒาราม กรุงเทพมหานคร และประชาชนชาวกระสังเป็นอย่างดี

Tha Sawang

33

วัดท่าสว่าง


ล�ำดับเจ้าอาวาสทีค่ รองวัดท่าสว่าง ตัง้ แต่อดีตถึงปัจจุบนั มีดังนี้ รูปที่ ๑ พระอธิการสังข์ จันทะสีโล รูปที่ ๒ พระอธิการเย็น สุทธจิตโต รูปที่ ๓ พระอธิการวอน วรคุโณ รูปที่ ๔ พระอธิการยัง อนังคโณ รูปที่ ๕ พระอธิการกึด กันตสีโล รูปที่ ๖ พระอธิการแก้ว สุคันโธ รูปที่ ๗ พระอธิการมิ่ง มังคโล รูปที่ ๘ พระอธิการศูนย์ สญญโม รูปที่ ๙ พระครูประสานสังฆกิจ (ประสาน กันตะธัมโม) ตั้งแต่ พ.ศ.๒๔๘๒-๒๕๒๕ รูปที่ ๑๐ พระสุนทรธรรมเมธี (สุ​ุเทพ อาสโภ น.ธ.เอก, ศน.บ. (ศาสนา - ปรั​ัชญา), ปริญญาโท (บริหารการศึกษา) ตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๒๕ ถึงปัจจุบัน บทสรุป เจ้าอาวาสรูปที่ ๑ - ๘ ไม่มีการบันทึก ปีที่ครองต�ำแหน่งและปีที่พ้นจากต�ำแหน่ง และในช่วง ระหว่างการครองวัดของเจ้าอาวาสรูปที่ ๑ - ๘ นี้ วัดท่าสว่างอยู่ในช่วงขาดพระดูแลวัดบ้าง หรือมีพระผู้ ท�ำหน้าที่เจ้าอาวาสหลายรูปในขณะเดียวกันบ้าง วัดจึง ขาดการบูรณะและการดูแลมาเป็นเวลานาน ต่อมาวัด ได้รับการฟื้นฟูบูรณะในยุคของพระครูประสานสังฆกิจ (พ.ศ. ๒๔๘๒ มีการสร้างเสนาสนะอย่างมั่นคงถาวร มี การขุดสระน�้ำใหญ่อ�ำนวยประโยชน์แก่ประชาชนชาว กระสังถ้วนหน้ากัน) วัดท่าสว่างในเขตเทศบาลต�ำบล กระสังมีวัดเดียว แต่เดิมตั้งอยู่ในหมู่ที่ ๑ แต่เริ่มต้นตั้ง หมบู่ า้ นกระสัง ชาวบ้านเรียกว่าท่าสว่างว่า “วัดกระสัง” ตามชื่อบ้านแต่แรกเริม่ ดังกล่าวแล้วขา้ งต้น แต่ตอ่ มาภาย หลังกรมการปกครองได้แยกหมบู่ า้ นจากหมทู่ ี่ ๑ เป็นหมู่ ที่ ๑๕ วัดท่าสว่างถกู แบ่งเขตอยู่ในเขตของหมทู่ ี่ ๑๕ ชาว บ้านหมู่ที่ ๑๕ ได้ตั้งชื่อบ้านใหม่ว่า “บ้านท่าสว่าง” ตามชื่อวัด หมู่ที่ ๑ เดิมไม่มีวัดตั้งอยู่แต่ไม่ทราบด้วย เหตุผลใด หนังสอื ประวัตวิ ดั ทั่วราชอาณาจักรทีก่ รมการ ศาสนาจัดพิมพ์จึงมี “วัดท่าสว่าง” อยู่ทั้ง 2 หมู่ คือ Tha Sawang

หมู่ที่ ๑ และหมู่ที่ ๑๕ ทั้งนี้กรมการศาสนายังจัดส่ง แถลงการณ์คณะสงฆ์ให้วัดท่าสว่างทั้งสองหมู่อีกด้วย แม้ว่าวัดท่าสว่างจะถูกจัดให้อยู่ในหมู่ที่ ๑๕ ที่แยกใหม่ แต่หมูท่ ี่ ๑ ที่วดั ท่าสว่างตัง้ อยู่ดงั้ เดิมนัน้ ทะเบียนวัดฉบับ กรมการศาสนายังมีวดั ท่าสว่างอยู่ เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง (พระครอู มรธรรมนิเทศก์) เคยท�ำหนังสอื แจ้งเพื่อให้แก้ไข ให้ถูกต้องสมัยท่านไพบูลย์ เสียงก้อง เป็นอธิบดีแล้ว แต่ จนบัดนี้ยังไม่มีการแก้ไข จึงต้องท�ำบันทึกเรื่องราวนี้ไว้ เพื่อให้สังคมได้รับรู้เรื่องราวเป็นประวัติของวัดท่าสว่าง ส่วนจะมีการแก้ไขให้ตรงตามความเป็นจริงเมื่อใดนั้นก็ ขอให้ญาติธรรมคอยติดตาม และให้ความอุปการะช่วย เหลือตามบทบาทความสามารถต่อไป

34

วัดท่าสว่าง


Tha Sawang

35

วัดท่าสว่าง


ประวัติพระสุนทรธรรมเมธี (สุเทพ อาสโภ/บุตรโสภา) เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง

น.ธ.เอก ,ป.ธ. ๔, พ.กศ., ศน.บ (ศาสนา-ปรัชญา) M.A. (Edu.) Ph.D. (Philosophy) สถานะปัจจุบัน พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี ฉายา อาสโภ อายุ​ุ ๗๗ ปี​ี พรรษาที่​่� ๕๗ นามสกุ​ุล บุตุ รโสภา สังกัดวัด วัดท่าสว่าง ต�ำบลกระสัง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ รหัส ๓๑๑๖๐ โทรศัพท์ ๐๔-๔๖๙๑-๕๘๘, ๐๘-๔๔๗๕-๘๙๔๒ ต�ำแหน่งปัจจุบัน เจ้าอาวาสวัดท่าสว่าง รองเจ้​้าคณะจั​ังหวั​ัดบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ สถานะเดิม ชื่อ สุเทพ นามสกุล บุตรโสภา เกิดเมื่อวันที่ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๘๗ ณ บ้านเลขที่ ๑๐ หมู่ที่ ๓ ต�ำบลกันทรารมย์ อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ นามบิดา นายโระ นิทะรัมย์ อยู่บ้านอโณทัย ต�ำบลเมืองไผ่ อ�ำเภอกระสัง นามมารดา นางบิน บุตรโสภา อยู่บ้านปริเวง (คุ้มตาเมฆ) ต�ำบลกันทรารมย์ บรรพชา เมื่อวันที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๐๑ ณ วัดคันธารมย์ โดยมีพระครูวิสทุ ธคันธารมย์ เป็นพระอุปัชฌาย์ อุปสมบท เมอื่ วันที่ ๒๖ เมษายน ๒๕๐๗ ณ พัทธสีมาวัดคันธารมย์ โดยมีพระครูวิสทุ ธคันธารมย์ (จาด ธมฺมทินโฺ น) เป็นพระอุปชั ฌาย์ พระมงคลรังสี (เหลือ มหาปญฺโญ) วัดคันธารมย์ เป็นพระกรรม วาจาจารย์ พระครูบริหารนันทคุณ (บุญ นนฺทโิ ย) วัดบ้านหนองขอน เป็นพระอนุสาวนาจารย์

Tha Sawang

36

วัดท่าสว่าง


Tha Sawang

37

วัดท่าสว่าง


บทบาทหน้​้าที่​่�ทางการศึ​ึกษา

พ.ศ. ๒๕๒๓ พ.ศ. ๒๕๒๕ พ.ศ. ๒๕๓๑ พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๔๖ ปั​ัจจุ​ุบั​ัน

เป็​็นครู​ูสอนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม ประจำำ�สำ�นั ำ ักศาสนศึ​ึกษาวั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นเจ้​้าสำำ�นั​ักศาสนศึ​ึกษาวั​ัดท่​่าสว่​่าง เป็​็นอาจารย์​์ประจำำ�มหาวิ​ิทยาลั​ัย มหาจุ​ุฬาลงกรณราชวิ​ิทยาลั​ัย วิทย ิ าเขตสุ​ุริ​ินทร์​์ เป็​็นกรรมการตรวจธรรมสนามหลวง เป็​็นผู้​้�จัดั การ/ครู​ูใหญ่​่ โรงเรี​ียนพระปริ​ิยัติั ธิ รรม แผนกสามั​ัญศึ​ึกษาวั​ัดท่​่าสว่​่างวิ​ิทยา สั​ังกั​ัดสำำ�นักั งานพระพุ​ุทธศาสนาแห่​่งชาติ​ิ เป็​็นผู้​้�ช่​่วยอธิ​ิการบดี​ี มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหาจุ​ุฬาลงกรณราชวิ​ิทยาลั​ัยวิ​ิทยาเขตสุ​ุริ​ินทร์​์ (๒ สมั​ัย) เป็​็นประธานกลุ่​่�มโรงเรี​ียนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม แผนกสามั​ัญศึ​ึกษา กลุ่​่�มที่​่� ๑๑ (๓ สมั​ัย) เป็​็นกรรมการร่​่างระเบี​ียบโรงเรี​ียนพระปริ​ิยั​ัติ​ิธรรม แผนกสามั​ัญศึ​ึกษา ร่​่วมกั​ับเจ้​้าหน้​้าที่​่�กรมศาสนา เป็​็นอาจารย์​์พิ​ิเศษ มหาจุ​ุฬาลงกรณราชวิ​ิทยาลั​ัย โครงการห้​้องเรี​ียนบุ​ุรี​ีรั​ัมย์​์ เป็​็นกรรมการผู้​้�ทรงคุ​ุณวุ​ุฒิ​ิ ประจำำ�วิทย ิ าลั​ัยสงฆ์​์บุ​ุรีรัี ัมย์​์ มหาวิ​ิทยาลั​ัยมหาจุ​ุฬาลงกรณราชวิ​ิทยาลั​ัย

สมเด็​็จพระมหาสุ​ุเมธาธิ​ิบดี​ี (เทพวงศ์​์) ประเทศกั​ัมพู​ูชา เสด็​็จวั​ัดท่​่าสว่​่าง เมื่​่�อปี​ี พ.ศ.๒๕๕๓ Tha Sawang

38

วัดท่าสว่าง


ถวายผ้​้าไหมแด่​่สมเด็​็จพระเทพรั​ัตนราชสุ​ุดาฯ สยามบรมราชกุ​ุมารี​ี ณ พระราชวั​ังดุ​ุสิ​ิต

แม่​่บิ​ิน บุ​ุตรโสภา ทู​ูลถวายผ้​้าจี​ีวรไหม แด่​่สมเด็​็จพระมหาสุ​ุเมธาธิ​ิบดี​ี (เทพวงศ์​์)

ทู​ูลถวายหนั​ังสื​ือแด่​่พระภิ​ิกษุ​ุ พระบาทสมเด็​็จพระปรเมนทรรามาธิ​ิบดี​ีศรี​ีสิ​ินทรมหาวชิ​ิราลงกรณ พระวชิ​ิรเกล้​้าเจ้​้าอยู่​่�หั​ัว ณ มหามกุ​ุฏราชวิ​ิทยาลั​ัย วั​ัดบวรนิ​ิเวศ เมื่​่�อครั้​้�งทรงผนวช

Tha Sawang

39

วัดท่าสว่าง


งานด้านการเผยแผ่พระพุทธศาสนา

พ.ศ. ๒๕๓๒ พ.ศ. ๒๕๓๕ ถึ​ึงปั​ัจจุ​ุบั​ัน พ.ศ. ๒๕๔๗

เป็​็ น พระธรรมทู​ูตเฉพาะกิ​ิ จ สายต่​่ า งประเทศ ประจำำ� ณ วั​ั ด นครธรรม เมื​ืองซานฟรานซิ​ิ ส โก รั​ัฐแคลิ​ิฟอร์​์เนี​ีย ประเทศสหรั​ัฐอเมริ​ิกา บรรยายธรรมประจำำ� ณ สถานี​ีวิทยุ ิ ุ ทอ. ๐๒๑ บุ​ุรีรัี ัมย์​์บุ​ุรีรัี ัมย์​์ ความถี่​่� ๙๘.๒๕ MHz เวลา ๐๕.๐๐ - ๐๕.๓๐ น. ทุกวัน วันจันทร์ - เสาร์ จัดตั้งสถานีวิทยุพระพุทธศาสนา ที่วัดท่าสว่าง อ�ำเภอกระสัง จังหวัดบุรีรัมย์ ระบบ F.M. ๑๐๔.๒๕ MHz และ F.M. ๑๐๖ MHz ส่งกระจายเสียง บรรยายธรรมภาษาไทย และภาษาท้องถิ่น (เขมร) เวลา ๒๐.๑๕ - ๒๒.๐๐ น. เป็นประจ�ำทุกวัน

ผลงานด้านสาธารณูปการ การสร้างเสนาสนะในวัด

พ.ศ. ๒๕๒๘ พ.ศ. ๒๕๒๙ พ.ศ. ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๓๘ พ.ศ. ๒๕๔๐ พ.ศ. ๒๕๔๑

สร้างฌาปนสถานวัดท่าสว่าง สร้างศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพ หลังที่ ๑ สร้างหอระฆัง / ถังน�้ำประปาในวัด / ห้องน�้ำ - ห้องสุขา สร้างโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ๑ หลัง สร้างกุฏิสงฆ์ ๑ หลัง อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น สร้างกุฏิสงฆ์หลังที่ ๒ อาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก ๒ ชั้น สร้างศาลาบ�ำเพ็ญกุศลศพหลังที่ ๒ (มีเจ้าภาพศรัทธาสร้างถวาย) สร้างถนนคอนกรีตภายในวัด ตัดแบ่งเป็นเขต พุทธาวาส เขตสังฆาวาส และเขตสาธารณประโยชน์

พระธาตุเจดีย์ “ศรีเทพประสานธรรม”

ลักษณะรูปทรง : ทรงไทยประยุกต์ ๘ เหลี่ยม ยอดเจดีย์ รูปทรง สมัยรัตนโกสินทร์ ความหมาย : ค�ำว่า “พระธาตุเจดีย์” หมายถึง สถานที่ร�ำลึกสิ่งเคารพสูงสุดของชาวพุทธ ได้แก่ พระบรมสารีริกธาตุ ค�ำว่า “ศรี” หมายถึ ง มิ่ ง ขวั ญ ที่ พึ ง เกิ ด ขึ้ น แก่ ผู ้ ม ากระท�ำการสั ก การบูชาพระบรมสารี ริ ก ธาตุ ค�ำว่ า “เทพ” หมายถึ ง เทวดามหาเทพ พระสยามเทวาธิราช รวมทั้งพระภูมิเจ้าที่ในภาคพื้นดิน ที่สิงสถิตประจ�ำทิศทั้ง ๘ ของพระธาตุเจดีย์นี้ ค�ำว่า “ประสาน” หมายถึง การเชื่อมโยงทางจิตใจ ของผู้มีศรัทธาต่อองค์พุทธะแล้วมากระท�ำการสักการบูชาพระบรมสารีริกธาตุ ค�ำว่า “ธรรม” หมายถึง องค์พลัง แห่งธรรม ๕ ประการ ที่เป็นพลังส�ำคัญยิ่งต่อการธ�ำรงมั่นแห่งพระสัทธรรมของพระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระธาตุเจดีย์ “ศรีเทพประสานธรรม” จึงหมายถึง พระเจดีย์ ที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุอันมีศรีมิ่งมงคลที่จักบังเกิดแก่บุคคล ผู้มากระท�ำการสักการบูชา โดยแรงบันดาลใจมาจากการประสานสัมพันธ์ขององค์มหาเทพที่สถิตย์อยู่ในทิศทั้ง ๘ เพื่อเป็นการเฉลิมฉลองปี พุทธยันตี พ.ศ. ๒๕๖๐ พระสุนทรธรรมเมธี เจ้าอาวาสวัดท่าสว่างได้ไปขอรับพระบรมสารีรกิ ธาตุจาก สมเด็จมหานายกะแห่งวัดมัลละวัตตะ นิกายสยามวงศ์ ณ ประเทศศรีลังกา โดยการประสานงานของ พระเดชพระคุณพระเทพวิสุทธาภรณ์ เจ้าคณะเขตพระนคร เจ้าอาวาสวัดอินทรวิหาร บางขุนพรหม กรุงเทพมหานคร เมื่อวันที่ ๒๒ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๙ พิธีอัญเชิญน�ำมาบรรจุโดย พระเทพวิสุทธาภรณ์ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๙

Tha Sawang

40

วัดท่าสว่าง


การก่อสร้างพิเศษในชีวิต

พ.ศ. ๒๕๕๓ สร้​้าง “บ้​้านกตั​ัญญู​ู” เป็​็นอาคารคอนกรี​ีตเสริ​ิมเหล็​็ก ๒ ชั้​้�น มู​ูลค่​่าก่​่อสร้​้าง ๑,๒๐๐,๐๐๐ บาท (หนึ่​่�งล้​้านสองแสนบาทถ้​้วน) มอบให้​้โยมมารดาที่​่�บ้​้านปรี​ีเวง หมู่​่�ที่​่� ๓ ต.กั​ันทรารมย์​์ อ.กระสั​ัง จ.บุ​ุรีรัี ัมย์​์ Tha Sawang

41

วัดท่าสว่าง




สมณศักดิ์

พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๔๖ พ.ศ. ๒๕๔๗ พ.ศ. ๒๕๕๒ พ.ศ. ๒๕๕๓

เป็นพระครูสัญญาบัตรเจ้าอาวาสวัดราษฎร์ชั้นเอก ที่พระครูอมรธรรมนิเทศก์ เป็​็นพระครู​ูสั​ัญญาบั​ัตร รองเจ้​้าคณะอำำ�เภอกระสั​ัง ในพระราชทิ​ินนามเดิ​ิม เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นโท ในพระราชทินนามเดิม เป็นพระครูสัญญาบัตร เจ้าคณะอ�ำเภอชั้นเอก ในพระราชทินนามเดิม เป็นพระครูสัญญาบัตร ต�ำแหน่ง รองเจ้าคณะจังหวัด เป็​็นพระราชาคณะชั้​้�นสามั​ัญ ในพระราชทิ​ินนาม ที่​่� “พระสุ​ุนทรธรรมเมธี​ี”

พ.ศ. ๒๕๓๔ พ.ศ. ๒๕๓๗ พ.ศ. ๒๕๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๒

รั​ับพระราชทานรางวั​ัล มู​ูลนิธิ​ิ สิ มาน-เบญจา แสงมะลิ​ิ จากสมเด็​็จพระกนิ​ิษฐาธิ​ิราชเจ้​้า กรมสมเด็​็จพระเทพรั​ัตนราชสุ​ุดาฯ สยามบรมราชกุ​ุมารี​ี ณ พระราชวั​ังดุ​ุสิ​ิต ได้รับประทานพัดวัดพัฒนาดีเด่น จากสมเด็จพระสังฆราช ได้รับประทานรางวัล ผู้บริหารโรงเรียนพระปริยัติธรรมดีเด่น จากสมเด็จพระสังฆราช ณ ห้องประชุมใหญ่ พุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม ได้​้รับั พระราชทานรางวั​ัลเสาเสมาธรรมจั​ักร ผู้​้�ทำำ�คุณ ุ ประโยชน์​์ต่อ่ พระพุ​ุทธศาสนา จากสมเด็​็จพระกนิ​ิษฐาธิ​ิราชเจ้​้า กรมสมเด็​็จพระเทพรั​ัตนราชสุ​ุดาฯ สยามบรมราชกุ​ุมารี​ี ณ มณฑลพิ​ิธีท้ี อ้ งสนามหลวง เนื่​่อ� งในวั​ันวิ​ิสาขบู​ูชา พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้รับรางวัลนักจัดรายการวิทยุเครือข่ายวัฒนธรรมดีเด่น จากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรมแห่งชาติ น�ำมอบรางวัลโดย นายพีระศักดิ์ หินเมืองเก่า ผู้ว่าราชการจังหวัดบุรีรัมย์ ณ โรงแรมเทพนคร

พ.ศ. ๒๕๒๐ พ.ศ. ๒๕๒๗

ทู​ูลถวายหนั​ังสื​ือที่​่�ระลึ​ึกแด่​่พระภิ​ิกษุ​ุ เมื่​่�อครั้​้ง� ทรงอุ​ุปสมบท ณ วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพมหานคร เข้าเยี่ยมคารวะองค์ดาไลลามะ พระประมุขแห่งทิเบต ที่ลี้ภัยทางการเมือง อยู่ ณ ดารัมศาลา ประเทศอินเดีย

ประเทศสิงคโปร์ มาเลเซีย ญี่ปุ่น จีนแผ่นดินใหญ่ และประเทศเวียดนาม พม่า กัมพูชา และประเทศลาว

รางวัลที่เคยได้รับ

ประสบการณ์

ทัศนศึกษา

Tha Sawang

44

วัดท่าสว่าง


ความสงบในชีวิต เป็นสิ่งจ�ำเป็นยิ่ง ชีวิตจะสงบได้ เพราะมีศีลบริสุทธิ์ ศีลบริสุทธิ์ เป็นเหตุเกิด สมาธิ สมาธิ เป็นเหตุเกิดปัญญา และปัญญา มีไว้เพื่อแก้ปัญหา

พระสุนทรธรรมเมธี

รองเจ้าคณะจังหวัดบุรีรัมย์




facebook

issuu

youtube

www

Website


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.