หลักสูตรสถานศึกษาา

Page 1

12/09/59

1

หลักสูตรสถานศึกษา

ผศ.ดร.วิชัย เสวกงาม

ขอใหทานตอบคําถามตอไปนี้ อยางกระชับชัดเจน

2

1. หลักสูตรคืออะไร 2. หลักสูตรสถานศึกษา กับ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความสัมพันธกันอยางไร

1


12/09/59

หลักสูตรสถานศึกษา - ความหมาย

3

หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง แผน แนวทาง หรือเอกสารที่สถานศึกษาแตละแหงจัดทําขึ้นจาก การประมวลความรู ประสบการณ มีการวาง แผนการปฏิบัติงานรวมกันระหวางสถานศึกษา และผูเรียน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผูเรียน และสงเสริมใหผูเรียนรูจักตนเอง มีชีวิตอยูใน โรงเรียน ชุมชน สังคม และโลกอยางมีความสุข

รูปแบบของหลักสูตรสถานศึกษา

4

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เปนหลักสูตรแบบ อิงมาตรฐาน (Standard-based Curriculum) มาตรฐานการเรียนรูเปนเปาหมาย หรือเปนกรอบทิศทางในการกําหนดเนื้อหา ทักษะ กระบวนการ กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน และการประเมินผลเพื่อ พัฒนาผูเรียนใหมีความรู ความสามารถ บรรลุมาตรฐานที่กําหนด

2


12/09/59

ลักษณะสําคัญของหลักสูตรอิงมาตรฐาน

5

1. มาตรฐานเปนจุดเนนของการพัฒนาหลักสูตรในทุกระดับ 2. องคประกอบของหลักสูตรเชื่อมโยงกับมาตรฐาน 2.1 มาตรฐานการเรียนรู: หลักประกันคุณภาพผูเรียน 2.2 ตัวชี้วัด: สิ่งที่พึงรูและปฏิบัติ

ลักษณะสําคัญของหลักสูตรอิงมาตรฐาน

6

3. หนวยการเรียนรูคือหัวใจของหลักสูตร 4. กระบวนการและขั้นตอนการจัดทําหลักสูตรมีความยืดหยุน 5. การประเมินผลสะทอนมาตรฐานอยางชัดเจน

3


12/09/59

จุดมุงหมายที่สําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา 1. พัฒนาผูเรียนใหเรียนรูอยางมีความสุข เพื่อใหมีความรูความสามารถ มีทักษะ การเรียนที่สําคัญ

2. สงเสริมการพัฒนาผูเรียนดานจิต วิญญาณ จริยธรรม สังคม และ วัฒนธรรม โดยเฉพาะพัฒนาผูเรียนให เกิดความเขาใจและศรัทธาในความเชื่อ ของตน ความเชื่อและวัฒนธรรมที่ แตกตางกัน

จุดมุงหมายที่สําคัญของหลักสูตรสถานศึกษา 3. พัฒนาใหผูเรียนเกิดความสนุกและ ความเพลิดเพลินในการเรียนรู สราง กําลังใจและเราใจใหเกิดความกาวหนา ความรู ประสบการณให พัฒนาความ มั่นใจ ใหเรียนและทํางานอยางเปน อิสระ ใหมีทักษะการเรียนรูสําคัญ

7

8

4. พัฒนาหลักคุณธรรมและความอิสระ ของผูเรียนและชวยใหเปนพลเมือง พลเมืองที่มีความรับผิดชอบ มีความ เสมอภาค

4


12/09/59

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

9

1. สวนนํา ขอมูลในสวนนี้ชวยใหผูสอนรูเปาหมายโดยรวมของ สถานศึกษาในการพัฒนาผูเรียน เชน วิสัยทัศน สมรรถนะสําคัญ ของผูเรียน คุณลักษณะที่พึงประสงค

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

10

2. โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา เปนสวนที่ใหขอมูลเกี่ยวกับรายวิชา ที่จัดสอนในแตละป/ภาคการศึกษา ซึ่งประกอบดวยรายวิชาพื้นฐานและ รายวิชาเพิ่มเติม กิจกรรมพัฒนาผูเรียน พรอมทั้งจํานวนเวลาเรียนและ หนวยกิตของรายวิชาเหลานั้น โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา ประกอบดวยโครงสรางเวลาเรียนและโครงสรางหลักสูตรชั้นป

5


12/09/59

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา-โครงสรางหลักสูตร

11

2.1 โครงสรางเวลาเรียน เปนโครงสรางที่แสดง รายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของกลุมสาระ การเรียนรู 8 กลุมสาระที่เปนเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรม พัฒนาผูเรียน จําแนกแตละชั้นป

12

โครงสรางเวลาเรียน

6


12/09/59

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา-โครงสรางหลักสูตร

13

2.2 โครงสรางหลักสูตรชั้นป เปนโครงสรางที่ แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา / กิจกรรมเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนา ผูเรียน ในแตละชั้นป

14

โครงสรางหลักสูตรชั้นป

7


12/09/59

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

15

3. คําอธิบายรายวิชา เปนสวนประกอบที่ชวยใหผูเรียนทราบวาตนเองไดเรียนรู อะไรเกี่ยวกับรายวิชานั้นๆ ในคําอธิบายรายวิชาจะประกอบดวยรหัสวิชา ชื่อ รายวิชา ประเภทรายวิชา (พื้นฐานหรือเพิ่มเติม) กลุมสาระการเรียนรู ระดับชั้นที่ สอน พรอมทั้งอธิบายวาเมื่อผูเรียนไดเรียนรายวิชานี้แลว ผูเรียนจะมีความรู ทักษะและคุณลักษณะอยางไร ซึ่งจะระบุกระบวนการหรือประสบการณที่ผูเรียน จะไดรับดวย

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

16

4. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน ประกอบดวยหัวขอดังตอไปนี้ 4.1 การจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4.2 การเขารวมกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4.3 ผลการจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียน 4.4 สภาพและบรรยากาศการเรียนรู 4.5 ทรัพยากรและสิ่งอํานวยความสะดวก

8


12/09/59

องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา

17

5. เกณฑการวัดประเมินผลและการจบการศึกษา สถานศึกษาจัดทําคูมือการวัดและประเมินผลระดับ สถานศึกษาตามหลักเกณฑการวัดและประเมินผล และ การจบหลักสูตรตามที่หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กําหนดไว เชน การตัดสิน ผลการเรียน การรายงานผลการเรียน เอกสารหลักฐาน การศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด

กิจกรรมที่ 1 โรงเรียนของเรา

18

1. ขอใหแตละกลุม กําหนดโรงเรียนของตนเองขึ้นมา โดยมีรายละเอียดดังนี้ ระดับการศึกษา สังกัด ขนาดโรงเรียน ที่ตั้ง สภาพของผูเรียน ผูปกครอง ชุมชน บริบทอื่นๆ โดยทั่วไปของโรงเรียน และจุดเนนของโรงเรียน 2. ขอใหแตละกลุม กําหนดวิสัยทัศนของโรงเรียน โดยใหสอดคลองกับขอ 1

9


12/09/59

การบริหารจัดการหลักสูตรระดับสถานศึกษา

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

19

20

1.1 การพัฒนาครูในสถานศึกษา  พัฒนาครูอยางเปนระบบ ตอเนื่อง  เนนการสรางความเขาใจ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศนในการ พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนรู รวมทั้งการวัดและ ประเมินผลโดยมีมาตรฐานและตัวชี้วัดเปนเปาหมาย

10


12/09/59

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

21

1.1 การพัฒนาครูในสถานศึกษา  พัฒนาโดยใชรูปแบบที่หลากหลาย เชน    

การนิเทศทั้งแบบกลุมและรายบุคคล การชี้แนะ (Coaching) การศึกษาดูงาน การฝกอบรม

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน ขั้นตอนการพัฒนาครู  มอบหมายใหมค ี ณะทํางานดานการพัฒนาครู  ประเมินความตองการจําเปนในการพัฒนาครู

และวางแผนการพัฒนาทั้งระยะสั้นและระยะ ยาว

 ดําเนินการพัฒนาครูตามแผน โดยใชรูปแบบ

ทีห่ ลากหลาย

22

 สงเสริมสนับสนุนใหมีมุมหรือศูนยรวมความรู

เกี่ยวกับหลักสูตรและการจัดการเรียนรู เพื่อใหครูไดศึกษาคนควาเพิ่มเติมดวยตนเอง

 สงเสริมใหครูไดมีโอกาสเขาอบรม

แลกเปลี่ยนความรูและความคิดเห็นอยาง ตอเนื่อง โดยมีผูบริหารเปนที่ปรึกษาของครู ทั้งในดานวิชาการและบริหารจัดการ

11


12/09/59

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

23

1.2 การสนับสนุนงบประมาณ/ทรัพยากร  จัดสรรงบประมาณสาหรับการพัฒนาหลักสูตร การติดตามประเมินผลการใช หลักสูตร รวมทั้งการพัฒนาบุคลากร และวัสดุอุปกรณ เอกสารตาง ๆ ในการ สงเสริมสนับสนุนการจัดการเรียนรู  จัดใหมีหองเรียน สถานที่เรียน หองปฏิบัติการตาง ๆ และแหลงเรียนรู อยาง เพียงพอและสอดคลองกับความตองการ

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

24

1.2 การสนับสนุนงบประมาณ/ทรัพยากร  จัดสรรการใชทรัพยากรของสถานศึกษาไดอยาง เหมาะสมและคุมคา โดยเฉพาะดานการใชอาคาร สถานที่ตาง ๆ  บริหารทรัพยากรบุคคลอยางมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะ อยางยิ่งการจัดครูเขาสอน

12


12/09/59

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

25

1.3 การดําเนินงานแบบมีสวนรวม  ใหฝายตางๆ ทั้งผูปกครอง ชุมชน ผูบริหาร ครู และนักเรียน ไดมีสวนรวมใน การวางแผน พัฒนาหลักสูตร และตรวจสอบคุณภาพการจัดการศึกษา  สรางบรรยากาศการรวมคิด รวมทํา โดยจัดสรรเวลาใหครูไดวางแผนการจัดการ เรียนรูรวมกัน พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ และพยายามลดภาระงานอื่นๆ ของครู เพื่อใหมุงที่งานสอนเปนหลัก

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

26

1.3 การดําเนินงานแบบมีสวนรวม  สรางเครือขายใหเกิดการมีสวนรวมและการระดม ทรัพยากรเพื่อการศึกษา เชน เครือขายผูปกครอง เครือขายสถานศึกษา เปนตน

13


12/09/59

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

27

1.4 การสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการ  จัดระบบการบริหารงานทางวิชาการ และ โครงการที่จะสงเสริมการเรียนรูและคุณธรรม  สรางบรรยากาศการเรียนรู ทั้งหองสมุด แหลง การเรียนรู มุมคนควาสําหรับครูและนักเรียน การพัฒนาสื่อ อุปกรณการเรียนการสอน

1. การเตรียมการ/สงเสริม/สนับสนุน

28

1.4 การสงเสริมสนับสนุนทางวิชาการ  สนับสนุนใหมีระบบขอมูลพื้นฐานที่จาเปนเพื่อ ใชในการพัฒนาหลักสูตรและงานวิชาการ  สงเสริมใหมีการแลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางครู  สงเสริมและสนับสนุนใหครูไดนําเสนอหรือ เผยแพรผลงานทางวิชาการ

14


12/09/59

2. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

29

2.1 การแตงตั้งคณะกรรมการ/คณะทํางาน แตงตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงาน วิชาการของโรงเรียน ประกอบดวย ผูบริหารโรงเรียน และครูผูสอน มีหนาทีจ่ ัดทําหลักสูตร ใชหลักสูตร และประเมินผลการใชหลักสูตร

2. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

30

2.2 ศึกษาและวิเคราะหขอมูล ศึกษาและวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของและเปนประโยชนใน การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา เชน หลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กรอบหลักสูตร ระดับทองถิ่น สภาพ ปญหา จุดเนน และความตองการ ของชุมชนและของโรงเรียน ความตองการของผูเรียน

15


12/09/59

2. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 2.3 จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ซึ่งประกอบดวย  วิสัยทัศน สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะ อันพึงประสงค  โครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา

31

 คําอธิบายรายวิชา  กิจกรรมพัฒนาผูเรียน  เกณฑการจบหลักสูตร

พรอมกันนี้สถานศึกษาจะตองจัดทํา เอกสารระเบียบการวัดและประเมินผล เพื่อใชควบคูกับหลักสูตรสถานศึกษา

2. การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

32

2.4 ประกาศใชหลักสูตรสถานศึกษา  นําเสนอรางเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา และระเบียบการวัดประเมินผล ตอ คณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อพิจารณาใหความเห็นชอบ  หากมีขอเสนอแนะใหนําไปพิจารณาปรับปรุงรางหลักสูตรสถานศึกษา  เมื่อไดรับความเห็นชอบแลวใหจัดทําเปนประกาศหรือคําสั่งใหใชหลักสูตร สถานศึกษา โดยผูบริหารและ/หรือประธานกรรมการสถานศึกษาเปนผูลงนาม

16


12/09/59

3. การใชหลักสูตรสถานศึกษา

33

3.1 การนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใช  การดําเนินการกอนการหลักสูตรสถานศึกษาไปใชในการจัดการเรียนรู    

กําหนดโครงสรางรายวิชา ออกแบบหนวยการเรียนรูแบบอิงมาตรฐาน ออกแบบแผนจัดการเรียนรูแ บบอิงมาตรฐาน กําหนดการวัดและประเมินผลการเรียนรู

3. การใชหลักสูตรสถานศึกษา

34

3.1 การนําหลักสูตรสถานศึกษาไปใช  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนที่ไดกําหนดไว  วัดและประเมินผลการเรียนรู ทั้งนี้ผูบริหารควรสงเสริมและสนับสนุนใหครูผูสอน ทําการวิจัยในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง เพื่อแกปญหาและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

17


12/09/59

4. การกํากับดูแลคุณภาพระดับสถานศึกษา

35

4.1 การนิเทศติดตามการใชหลักสูตร  สรางความเขาใจและทัศนคติเกี่ยวกับการนิเทศ ติดตามการใชหลักสูตร  ผูบริหารและครูรวมกันกําหนดความตองการในการนิเทศ กํากับ ติดตาม  กําหนดขอตกลงและแผนการดาเนินการนิเทศติดตามรวมกันอยางชัดเจน เปนรูปธรรม  ดําเนินการนิเทศ ติดตามอยางเปนระบบ ครบวงจร ทั้งในระดับ ชั้นเรียนและระดับ สถานศึกษา อยางตอเนื่อง

4. การกํากับดูแลคุณภาพระดับสถานศึกษา 4.2 การประกันคุณภาพภายใน สถานศึกษาตองจัดระบบประกันคุณภาพ ภายในที่เนนการพัฒนาคุณภาพผูเรียน  กําหนดเปาหมายในการพัฒนาที่ชัดเจน  จัดทําแผนพัฒนาคุณภาพ

36

 ดําเนินการประกันคุณภาพอยาง

ตอเนื่อง  รายงานผลเปนระยะๆ  นําผลมาใชในการพัฒนาหลักสูตรและ การจัดการเรียนรูเพื่อการพัฒนา คุณภาพผูเรียน

18


12/09/59

4. การกํากับดูแลคุณภาพระดับสถานศึกษา 4.3 การวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตร การวิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา  ประเมินตัวหลักสูตร  การประเมินความตองการจําเปนใน

37

 การประเมินความตองการของพอแม

ผูปกครอง และชุมชนในการพัฒนาผูเรียน เพื่อนามาใชกําหนดโปรแกรมการเรียนและ โครงการตางๆ

การศึกษาตอและประกอบอาชีพของนักเรียน ในอนาคต เพื่อนํามาใชกําหนดโปรแกรมการ เรียนและเวลาเรียน

4. การกํากับดูแลคุณภาพระดับสถานศึกษา 4.3 การวิจัยและติดตามผลการใชหลักสูตร การวิจัยเพื่อประเมินผลการใชหลักสูตร ประเมินตัวหลักสูตร

 ดําเนินการไดทั้งระหวางการใชหลักสูตร และ

เมื่อนําหลักสูตรไปใชเรียบรอยแลว หรือ ติดตามจากผลผลิตของหลักสูตร (ผูเรียนที่ จบการศึกษาตามหลักสูตร)

38

 กําหนดใหมีการประเมินการใชหลักสูตรเปน

กิจกรรมหลักของสถานศึกษา

 วางระบบเครือขายการทางานและมอบหมาย

งานประเมินใหคณะผูปฏิบัติงานแตละคณะ ดาเนินการประเมินเปนระยะๆ

 สรุปผลการประเมินและนําผลมาใชในการ

ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา

19


12/09/59

การวิจัยเพื่อ ประเมินผลการ ใชหลักสูตร

การประเมิน ปจจัยของการใช หลักสูตร

39

การประเมินปจจัยของการใชหลักสูตร การประเมินกระบวนการใชหลักสูตร การประเมินผลการเรียนรูของผูเรียน

40

เอกสารหลักสูตรสถานศึกษา บุคลากร (ผูบริหารและครู) วัสดุ อุปกรณ สื่อการเรียนการสอน การวัดประเมินผล การบริหารจัดการ อื่นๆ

20


12/09/59

การประเมิน กระบวนการใช หลักสูตร

41

เอกสารหลักสูตรตามกลุมสาระการเรียนรู โครงสรางรายวิชา

หนวยการเรียนรู o แผนการเรียนรู o

การออกแบบและการจัดการเรียนรูของครู การประเมินผลการเรียนรู อื่นๆ

การประเมินผล การเรียนรูของ ผูเรียน

42

คุณภาพของผูเรียนตามมาตรฐานการเรียนรู

และตัวชี้วัด สมรรถนะสําคัญและคุณลักษณะอันพึง ประสงคของผูเรียน การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผูเรียน ความสําเร็จในการศึกษาและประกอบอาชีพ อื่นๆ

21


12/09/59

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาหลักสูตรโรงเรียนของเรา

43

1. ขอใหแตละกลุม กําหนดวิสัยทัศน สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะอันพึง ประสงค ใหสอดคลองกับสภาพและจุดเนนของโรงเรียน 2. กําหนดโครงสรางรายปสําหรับรายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียนที่ สอดคลองกับสภาพ จุดเนน รวมทั้งวิสัยทัศนของโรงเรียน 3. แสดงหลักการ/แนวคิด หรือเหตุผลที่สนับสนุนการกําหนดในขอ 1 และ 2

กิจกรรมที่ 3 วิพากษหลักสูตรสถานศึกษา

44

ขอใหแตละกลุม พิจารณาหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนที่ทานเตรียมมาวา สมรรถนะสําคัญ คุณลักษณะอันพึงประสงค โครงสรางรายปสําหรับ รายวิชาเพิ่มเติม และกิจกรรมพัฒนาผูเรียน สอดคลองกับวิสัยทัศนของ โรงเรียนหรือไม อยางไร และมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมอยางไร

22


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.