Flipped Classroom "กลับด้านการเรียนรู้" สู่ศตวรรษที่21

Page 1

เอกสารประกอบโครงการสมัมนาเชงิวชิาการ เรอืง FLIPPED CLASSROOM “กลับดา นการเรียนรู” สู ห อง เรี ยนใ น ศตว รรษ ท่ี 2 1

gg.gg/EDflip

วนัเสารที 17 ตลุาคม 2558 เวลา 09.00 - 12.00 น. ณ อาคารศกึษาศาสตร 2 หองประชมุ ศษ 2102 ภาคเทคโนโลยกีารศกึษา มหาวทิยาลยัศลิปากร


ค�ำน�ำ สภาพการณ์ทางการเรียนรู้ในปัจจุบันได้ก้าวเข้าสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ภายใต้กระแสแห่งโลกในยุคดิจิตัล ( Digital Age ) ส่งผลต่อการแสวงหารูปแบบและการปรับกระบวนทัศน์ในการท�างาน ( Paradigm Shift ) ที่มีความหลากหลายให้สอดรับและก้าว ทันความเปลี่ยนแปลงกับโลกยุคใหม่ รวมไปถึงการพัฒนาการจัดการรูปแบบการเรียนรู้ โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ(Learners Center) การปรับเปลี่ยนแนวคิดเพื่อสร้างนวัตกรรมทางการศึกษาภายใต้กรอบแนวคิดที่เรียกว่า 21st Century ซึ่งเป็นสิ่งจ�าเป็น ที่ต้องมีการคิดค้นหาแนวทางสู่กระบวนการทักษะใหม่ในศตวรรษที่ 21 นี้ ซึ่งเป็นทักษะที่จ�าเป็นของผู้เรียนในยุคนี้ “ห้องเรียนกลับด้าน”( Flipped Classroom) ได้เข้ามาเป็นนวัตกรรมในวงการศึกษาเป็นวิธกี ารใช้หอ้ งเรียนให้เกิดคุณค่าแก่ เด็กโดยใช้ฝึกประยุกต์ความรู้ในสถานการณ์ต่างๆเพื่อให้เกิดการเรียนรู้แบบ “รู้จริง (Mastery Learning)” และเป็นวิธีจัดการเรียน รู้เพื่อยกระดับและคุณค่าแห่งวิชาชีพครูที่ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้อีกรูปแบบหนึ่งให้เกิดขึ้นผ่านสื่อเทคโนโลยีที่น�ามาใช้ Flipped Classroom “กลับด้านการเรียนรู้” จึงเป็นสิ่งที่น่าให้ความสนใจและน�ามาพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประโยชน์ภายใต้กรอบ แนวคิดที่เรียกว่า 21st Century การจัดสัมมนาเชิงวิชาการเกี่ยวกับ Flipped Classroom “กลับด้านการเรียนรู้” สู่ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งเน้นเพื่อ ให้ผู้เข้าร่วมการสัมมนา ได้ฟังการบรรยาย อภิปราย แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ระหว่างผู้ทรงคุณวุฒิ คณาจารย์ นักศึกษา และผู้สนใจทั่วไป เกี่ยวกับการน�าแนวคิดห้องเรียนกลับด้านมาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนรู้ Flipped Classroom เกิดขึ้นในปี คศ.2007 (8ปีผ่านมา) โดยครู 2 คน ในรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา ชื่อ โจนาธาน เบิร์กแมน และแอรอน แซมส์ ได้ถ่ายคลิปวิดีโอการสอนของตนเองเอาไว้ส�าหรับผู้เรียนที่ขาดเรียน เมื่อคลิปบทเรียนของครูทั้ง สองเริ่มแพร่ขยายออกไปในวงกว้าง ครูหลายคนจึงเริ่มหันมาใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ อาทิเช่น Podcasts หรือ YouTube เพื่อ สอนผู้เรียนนอกห้องเรียนและสงวนเวลาในชั้นเรียนไว้ส�าหรับการรวมกลุ่มท�าแบบฝึกหัด หรือ ท�ากิจกรรมร่วมกัน และผลลัพธ์ ที่ได้ คือ ดีกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม จึงท�าให้น่าสนใจที่จะศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอน เครื่องมือ และ การประเมินผล รวมทัง้ ปัจจัยแวดล้อมต่างๆ ทีก่ อ่ ให้เกิดการเรียนรูแ้ บบ Flipped classroom ซึง่ เป็นทีม่ าของการจัดสัมมนาครัง้ นี้ คณะผู้จัดสัมมนาหวังว่า เอกสารประกอบการจัดสัมมนาเล่มนี้จะมีส่วนช่วยให้สามารถน�าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการ จัดการเรียนการสอนต่อไปในรูปแบบ Flip Classroom ห้องเรียนกลับด้านและการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

กลุ่มนักศึกษาผู้รับผิดชอบโครงการ ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา 3 ตุลาคม 2558


สำรบัญ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

2

การเรียนรู้แบบ Flipped Classroom

7

รูปแบบการเรียนรู้ของ Flipped Classroom

13

ทฤษฎี ข้อดี ประโยชน์ ข้อเสนอแนะของการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom

17

เครื่องมือ / เทคโนโลยีที่นามาใช้

22

การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom

24

บทความเกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ในศตวรรษที่ 21

27

บรรณานุกรรม

33


ก�ำหนดกำรจัดโครงกำรสัมมนำเชิงวิชำกำร เรื่อง Flipped Classroom “กลับด้านการเรียนรู้” สู่ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 วันเสาร์ที่ 17 ตุลาคม พ.ศ.2558 เวลา 09.00-12.00 น. อาคารศึกษาศาสตร์ 2 ห้องประชุม ศษ 2102 ภาคเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร เวลำ

ก�ำหนดกำร

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 - 09.15 น. ➥ พิธีการเปิดงานสัมมนา โดย ผศ.ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยี การศึกษา กล่าวเปิดโครงการสัมมนาวิชาการ เรื่อง Flipped Classroom “กลับ ด้านการเรียนรู้” สู่ห้องเรียนในศตวรรษที่ 21 ➥ กล่าวรายงานโดยประธานการจัดงาน นักศึกษาปริญญาโทสาขาเทคโนโลยีการ ศึกษา 09.15 - 10.30 น. ➥ ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ➥ การเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ➥ วิธีการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ➥ ซักถามปัญหาและตอบข้อสงสัย 10.30 - 10.45 น. พักรับประทานอาหารว่าง 10.45 - 11.50 น. ➥ ทฤษฎี ข้อดี/ข้อเสียของการเรียนรู้แบบ Flipped Classroom ➥ เครื่องมือ/เทคโนโลยีที่น�ามาใช้ ➥ การประเมินผลการจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ➥ ซักถามปัญหาและตอบข้อสงสัย 11.50 - 12.00 น. ประธานกล่าวปิดงานสัมมนา / มอบของที่ระลึก โดย ผศ.ดร.อนิรุทธ์ สติมั่น หัวหน้าภาควิชาเทคโนโลยีการศึกษา


ทักษะกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

ภาพที่ 1 จำก https://fbcdn-sphotos-h-a.akamaihd.net

ในศตวรรษที่ 21 รูปแบบการเรียนการสอนนั้น ไม่ได้เน้นเพียงแต่ความรู้ของผู้เรียนเพียงอย่างเดียว แต่ ต้องการให้การศึกษาช่วยพัฒนาก�าลังคนให้มีประสิทธิภาพและศักยภาพในการด�ารงชีวิต รวมถึงการแข่งขันบน เวทีโลก ดังนั้นกระทรวงศึกษาธิการจึงได้มีแผนการปฏิรูปการศึกษาทั้งระบบ (พ.ศ. 2558 - 2564) มีแผนการผลิต และพัฒนาก�าลังคน เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของชาติ (พ.ศ.2557) ที่ให้ความส�าคัญ ในการพัฒนาคนอย่างยั่งยืน และจากแนวโน้มการปฏิรูปการศึกษาในหลายประเทศได้ให้ความส�าคัญอย่างมาก กับ “ทักษะ” (Skill) หรือความช�านาญในการปฏิบัติมากยิ่งกว่าเนื้อหา ตามต�ารา(Content) ซึ่งองค์การยูเนสโกได้ แนะน�าว่า ผู้เรียนควรมีทักษะที่ครอบคลุม 3 กลุ่ม ได้แก่ 1. ทักษะพื้นฐานคือ ทักษะที่จ�าเป็นต่อการด�ารงชีวิต เช่น อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น 2. ทักษะเพื่อท�างาน คือ ทักษะพื้นฐานในการท�างานของทุกอาชีพ ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ การคิด วิเคราะห์การคิดสร้างสรรค์ การท�างานเป็นทีม และการสื่อสาร 3. ทักษะเฉพาะอาชีพ คือ ทักษะเบื้องต้นของอาชีพที่สนใจ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) เกิดขึ้นจากภาคีเพื่อทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (The Partnership for the 21st Century Skills ) ซึ่งได้ท�างานร่วมกับองค์กรความร่วมมือระหว่างบริษัทขนาดใหญ่ องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ ส�านักงาน ด้านการศึกษาของรัฐและสมาชิกขององค์กรต่างๆ เกือบ 40 องค์กร ในการพัฒนาเกีย่ วกับกรอบความคิดเพือ่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษ ที ่ 21 ขึน้ เพือ่ ให้สถาบันต่างๆ น�าไปใช้ในการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยกรอบความคิดนี้ได้รบั การสนับสนุนจากองค์กรชัน้ น�า ด้านการศึกษา ประชาคมธุรกิจ และผูก้ า� หนดนโยบาย รวมไปถึงผูป้ กครอง ครู ตัง้ แต่ระดับอนุบาลไปจนถึงอุดมศึกษา และองค์กร ชุมชน (วรพจน์ วงค์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์, 2554)

2


ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการด�ารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ➥ ภาษาแม่ และภาษาส�าคัญของโลก ➥ ศิลปะ ➥ คณิตศาสตร์ ➥ การปกครองและหน้าที่พลเมือง ➥ เศรษฐศาสตร์ ➥ วิทยาศาสตร์ ➥ ภูมิศาสตร์ ➥ ประวัติศาสตร์

ภาพที่ 2 ศำสตรำจำรย นพ.วิจำรณ พำนิช จำก http://www.saraphihealth.com

โดยวิชาแกนหลักนี้จะน�ามาสู่การก�าหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์ส�าคัญต่อการจัดการเรียนรู้ใน เนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อส�าหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหา วิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ➥ ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ➥ ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ➥ ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ➥ ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ➥ ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะด้านการเรียนรูแ้ ละนวัตกรรม จะเป็น ตัวก�าหนดความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่ โลกการท�างานที่มีความซับซ้อนมากขึ้น ในปัจจุบัน ได้แก่ ➥ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม ➥ การคิ ด อย่ า งมี วิ จารณญาณและการ แก้ปัญหา ➥ การสื่อสารและการร่วมมือ ภาพที่ 3 จำก http://www.eduzones.com

3


ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วย ในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและ เทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถใน การแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติ งานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ➥ ความรู้ด้านสารสนเทศ ➥ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ➥ ความรู้ด้านเทคโนโลยี

ภาพที่ 4 จำก http://www.mct.rmutt.ac.th

ทักษะด้านชีวติ และอาชีพ ในการด�ารงชีวติ และท�างานในยุคปัจจุบนั ให้ประสบความส�าเร็จ ผูเ้ รียนจะต้องพัฒนาทักษะ ชีวิตที่ส�าคัญดังต่อไปนี้ ➥ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว ➥ การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ➥ ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม ➥ การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้น�าและความ รับผิดชอบ (Responsibility)

ภาพที่ 5 จำก http://www.limeade.com/

ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ ➥ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) ➥ Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) ➥ Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) ➥ Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การท�างานเป็นทีม และภาวะผู้น�า) ➥ Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) ➥ Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ➥ Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)

4


แนวคิ ด ทั ก ษะแห่ ง อนาคตใหม่ : การเรี ย นรู ้ ใ นศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิ ด เพื่ อ การเรี ย นรู ้ ใ น ศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการก�าหนดแนวทางยุทธศาสตร์ ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกัน สร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติ ในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้น ที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการด�ารงชีวิตในสังคมแห่ง ความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือ เพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะ เฉพาะด้าน ความช�านาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความส�าเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการ ท�างานและการด�าเนินชีวิต กรอบแนวคิดเพื่อกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรูแ้ ห่งศตวรรษที ่ 21 ทีแ่ สดงผลลัพธ์ของผูเ้ รียนและปัจจัยส่งเสริมสนับสนุน ในการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21

ภำพที่ 6 กรอบแนวคิดเพื่อกำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) (จำก http://www.qlf.or.th/)

กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์ส�าหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้ง ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู สภาพ แวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21

5


การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้ผู้เรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอ�านวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของผูเ้ รียน ซึง่ สิง่ ทีเ่ ป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรูค้ อื ชุมชนการเรียนรูค้ รูเพือ่ ศิษย์ (Professional Learning Communities: PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท�าหน้าที่ของครู แต่ละคนนั่นเอง

ภำพที่ 7 จำก http://www.edudemic.com

สรุปจากนิยามที่นักการศึกษาได้ให้มุมมองถึงเรื่องความต้องการที่จะให้ผู้เรียนในอนาคตนั้นมีคุณลักษณะ 4 ประการ ดังนี้ 1. วิถีทางของการคิด ได้แก่ สร้างสรรค์ คิดวิจารณญาณ การแก้ปัญหา การเรียนรู้และตัดสินใจ (Ways of Thinking. Creativity, Critical Thinking, Problem-solving, decision- Making and Learning) 2. วิถีทางของการท�างาน ได้แก่ การติดต่อสื่อสาร และการร่วมมือ (Ways of Working. Communication and Collaboration) 3. เครื่องมือส�าหรับการท�างาน ได้แก่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และความรู้ด้านข้อมูล (Tools for Working. Information and Communications Technology (ICT) and Information Literacy) 4. ทักษะส�าหรับด�ารงชีวิตในโลกปัจจุบัน ได้แก่ ความเป็นพลเมือง ชีวิตและอาชีพ และ ความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม (Skills for Living in the World. Citizenship, Life and Career, and Personal and Social Responsibility)

6


กำรเรียนรู้แบบ Flipped Classroom

ภาพที่ 8 จำก http://www.flickr.com

ควำมเปนมำ Flipped Classroom เป็นวิธีการสอนที่ใช้มานานหลายปีแล้ว เช่นในหนังสือ Effective Grading (1998) Barbara Walvoord และ Virginia Johnson Anderson สาขามนุษยศาสตร์ ได้น�าเสนอรูปแบบการเรียนการสอนที่ ผูเ้ รียนได้รบั เนือ้ หาก่อนทีจ่ ะมีการเรียนในชัน้ เรียน และเพือ่ ให้แน่ใจว่าผูเ้ รียนมีการเตรียมตัวหรือไม่ พวกเขาเสนอ วิธีการตรวจสอบโดยให้งานที่ให้ผู้เรียนได้ท�าก่อนเข้าชั้นเรียน เมื่อเข้าเรียนผู้เรียนจะได้รับค�าแนะน�า และข้อเสนอ แนะระหว่างการท�ากิจกรรม ซึ่งวิธีนี้จะเป็นการลดการเขียนคาเสนอแนะในงานของผู้เรียนอีกด้วย เพราะได้มีการ เสนอแนะต่อในเรียนในชั้นไปแล้ว รูปแบบการสอนนี้ได้ถูกแนะน�าให้ใช้ในสาขาวิชาต่างๆเป็นวงกว้าง Maureen Lage, Glenn Platt, and Michael Treglia อธิบายวิธกี ารทีค่ ล้ายกันทีเ่ รียกว่า Inverted classroom ซึง่ ได้นา� ถูกมาใช้ในหลักสูตรเศรษฐศาสตร์เบือ้ งต้นในปี 2000 ได้เริม่ ทดลองว่าการสอนแบบดัง้ เดิมไม่เหมาะสมกับ รูปแบบการเรียนรูบ้ างรูปแบบ และเพือ่ ให้หลักสูตรเหมาะกับผูเ้ รียน ‘จึงเกิดการออกแบบInverted classroom เพือ่ ให้ผู้เรียนได้เรียนกับสื่อการเรียนต่างๆ เช่น การเรียนนอกห้อง การอ่านหนังสือ วิดีโอ และ PowerPoint ที่มีเสียง ก่อนการเข้าชั้นเรียน เพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมโดยการดูสื่อต่างๆ ผู้เรียนจะได้รับงานที่มีการสุ่ม เก็บคะแนนในบางครัง้ เมือ่ เข้าห้องเรียนกิจกรรมในเวลาเรียน ผูเ้ รียนจะใช้หลักการทางเศรษฐศาสตร์ อภิปรายกลุม่ เป็นกลุม่ ย่อยๆเกีย่ วกับปัญหาต่างๆ ทัง้ ผูเ้ รียนและครูผสู้ อนทีจ่ ะตอบสนองต่อวิธกี ารนีอ้ ย่างดีและสังเกตว่าผูเ้ รียนมี แรงจูงใจมากขึ้นกว่าการสอนในรูปแบบดั้งเดิม Eric Mazur and และ Catherine Crouch ได้อธิบายการปรับปรุง Flipped Classroom ที่เรียกว่าPeer instruction (2001) ที่จะคล้ายสองวิธีการที่ได้กล่าวไว้แล้ว คือ ให้ผู้เรียนได้รู้เนื้อหาก่อนการเรียน และได้รับมอบ หมายงานให้เพื่อให้แน่ใจว่าผู้เรียนได้เตรียมตัวก่อนเข้าเรียน เมื่อถึงเวลาเรียนจะมีการบรรยายและถามค�าถามที่ เกี่ยวกับเนื้อหา ในการตอบค�าถามจะไม่ใช้การตอบโดยอาสาสมัครแบบการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม แต่ผู้เรียน ทุกคนจะต้องตอบค�าถามอุปกรณ์ที่เรียกว่า “clickers” ที่จะช่วยให้ผู้เรียนที่จะตอบแบบไม่ระบุชื่อและผู้สอนที่ จะเห็นข้อมูลทีต่ อบทันที หากส่วนใหญ่ของห้องเรียนตอบไม่ถกู ต้อง ก็จะน�าค�าถามนัน้ ให้ผเู้ รียนพิจารณาในกลุม่ เล็กๆ ในขณะทีผ่ สู้ อนหมุนเวียนการอภิปรายในแต่ละกลุม่ ให้เข้าใจในปัญหานัน้ ๆ หลังจากการแล้วอภิปรายผูเ้ รียนจะตอบ ค�าถามตามความคิดอีกครั้งหนึ่ง แล้วผู้สอนจะให้ข้อเสนอแนะที่ถูกต้องและหลังจากนั้นจะถามค�าถามที่เกี่ยวข้อง ตามความเหมาะสม โดยการอภิปรายแบบนี้จะท�าแบบเดียวกันกับหัวข้ออื่นๆซึ่งจะใช้เวลาหัวข้อละ 13-15 นาที

7


Jonathan Bergmann และ Aron Sams พยายามหาแนวทางในการช่วยผู้เรียนซึ่งมีความจ�าเป็นต้อง ขาดเรียนบ่อยครั้ง เนื่องจากต้องเข้าแข่งขันกีฬา หรือร่วมกิจกรรมต่างๆ จนท�าให้เรียนไม่ทันเพื่อน และเวลา ยาวนานที่ผู้เรียนใช้ในการเดินทาง ก็ท�าให้ผู้เรียนจะต้องขาดเรียน เมื่อ Jonathan ได้พบวิธีการอัดเสียงลงใน Power point และการท�าวีดิโออย่างง่ายๆ พวกเขาก็เริ่มถ่ายการสอนและ ลงวีดิโอออนไลน์เพื่อให้ผู้เรียนได้ เข้ามาดู เมื่อมีผู้เรียนขาดเรียนหรือไม่ได้เข้าเรียนครูก็จะให้ Website เพื่อให้ผู้เรียนคนนั้นได้ดูบทเรียน

ภาพที่ 9 จำก https://commons.wikimedia.org

Flippedped class movement Jonathan Bergmann และ Aron Sams เป็นผู้พัฒนา Flipped Classroom โดยเมื่อเริ่มจากการท�าวีดิโอ อย่างง่ายๆ ให้ผู้เรียนที่ ไม่ได้เข้าเรียนได้ดูวีดิโอ หลังจากนั้นเมื่อข่าวการท�าวีดิโอการสอนแพร่ออกไปแล้ว ก็มีผู้เรียนที่เข้าเรียนแล้วแต่กลับมาดูซ�้าเพื่อการสอบ นับเป็นสิ่งที่ดีต่อการสอนของ Jonathan Bergmann และ Aron Sams เพราะไม่ต้องตามผู้เรียนช่วงกลางวันหรือหลังเลิกเรียนเพื่อมาเรียนเสริม แต่สิ่งที่ Jonathan และ Aron ไม่ได้คาดคิด คือมีครูและผู้เรียนจากทั่วโลกที่ศึกษาวีดิโอที่ได้พวกเขาลงไว้ ครูจากต่างประเทศ หรือแม้แต่ ครูใหม่ก็มาศึกษาจากวีดิโอนี้ซึ่งเป็นนั้นสิ่งที่พวกเขาไม่ได้คาดคิด

ภาพที่ 10 Jonathan Bergmann และ Aron Sams จำก http://www.districtadministration.com

8


ดังนั้นพวกเขาจึงเริ่มบันทึกวิดีโอการสอนเตรียมไว้และน�ามาใช้ในห้องเรียน เมื่อน�ามาใช้และท�ากิจกรรม พวกเขาพบว่าเมือ่ ท�าการสอนและกิจกรรมต่างๆเสร็จยังมีเวลาเหลืออีก 20 นาที เมือ่ เทียบกับการเรียนแบบดัง้ เดิม เมื่อได้น�า Flipped Classroom มาใช้จนจบปีการศึกษาก็ได้ค้นพบว่าการสอนในรูปแบบนี้เป็นสิ่งที่ดีกับผู้เรียน เช่น Flipped Classroom เป็นวิธีที่ช่วยก�าหนดกรอบให้ผู้เรียนได้รับการศึกษาส่วนบุคคลที่เหมาะกับความต้องการของ ตน เช่นกรณีมีผู้เรียนแลกเปลี่ยนที่เข้ามาใหม่กลางภาคเรียน โดย Jonathan Bergmann และ Aron Sams ได้ให้ ผูเ้ รียนใหม่ดวู ดี โิ อการสอนของพวกเขา ผลปรากฏว่าผูเ้ รียนคนนีส้ ามารถเรียนรูไ้ ด้ทนั เพือ่ นแม้จะใช้เวลาทีน่ อ้ ยกว่า ซึ่งการศึกษาในแบบดั้งเดิมจะท�าได้ยาก ผู้เรียนที่ได้รับการศึกษาแบบเดิมจะรู้ในเรื่องนั้นๆ แค่เพียงผิวเผิน แต่การ ใช้ Flipped Classroom จะช่วยให้ผู้เรียนที่มีความแตกต่างกันได้รับการศึกษาเฉพาะที่เหมาะส�าหรับผู้เรียนคนนั้น สี่เสำหลักของ F-L-I-P จากเว็บไซด์ http://flippedlearning.org ได้อธิบายการเรียนรู ้ Flipped Classroom มุง่ เน้นไปทีก่ ารเรียนของ ผู้เรียนเป็นการเรียนรู้รายบุคคล สี่เสาหลักของ F-L-I-P จะช่วยให้อธิบายให้ครูหรือผู้ที่จะน�า Flipped classroom ไปใช้นั้นได้เข้าในถึงการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ว่ามีหัวใจหลักที่แท้จริงอย่างไร F – Flexible Environment การเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ต้องการความยืดหยุนของสภาพแวดล้อม เช่น รูปแบบของ การเรียนรู้นั้นควรจะมีหลายรูปแบบไม่ยึดติดกับแบบใดแบบหนึ่งหรือรูปแบบเดิมๆ นักศึกษาสามารถใช้รูปแบบ การเรียนแบบใดๆ ก็ได้เพื่อที่จะรองรับบทเรียนต่างๆ ซึ่งอาจจะเกี่ยวข้องกับการท�างานของกลุ่ม การศึกษาอิสระ, การวิจัย, ผลการด�าเนินงานและการประเมินผล ผู้เรียนจะเลือกสภาพแวดล้อมที่มีความแตกต่าง เวลาและสถานที่ ทีต่ อ้ งการเรียนในชัน้ Flipped Classroom จะมีบางครัง้ ทีม่ คี วามวุน่ วายหรือเสียงดังเมือ่ เปรียบเทียบกับวิธกี ารเรียน แบบดั้งเดิมที่มีความสงบเงียบมากกว่า นอกจากนี้ครูที่จะต้องมีความยืดหยุ่นในกับการคาดหวังด้วยระยะเวลาใน การเรียนรู้ของผู้เรียน หรือวิธีการประเมิน ในการสร้างระบบการประเมินที่ จะต้องมีความความเหมาะสมทั้ง ในการวัด ความหมายกับผู้เรียน และครู ไม่ใช่การประเมินเป็นตัวตัดสินคะแนนผู้เรียนเพียงอย่างเดียว

ภาพที่ 11 จำก http://www. demcointeriors.com

ภาพที่ 12 จำก http://2.bp.blogspot.com

9


L – Learning Culture การเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ต้องการการยกระดับจากวัฒนธรรมการเรียนรู้ในรูปแบบครู เป็นศูนย์กลางแบบดัง้ เดิม ครูเป็นแหล่งทีม่ าของข้อมูลเป็นผูเ้ ชีย่ วชาญด้านเนือ้ หา แต่เพียงผูเ้ ดียวที่ให้ขอ้ มูลกับ ผู้ เรียนโดยตรงผ่านการบรรยาย ในรูปแบบการเรียนรู้ Flipped Classroom มีการเปลี่ยนแปลงจากครูเป็นศูนย์กลาง เป็นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ซึ่งจะให้ความส�าคัญการการเรียนรู้ในสิ่งที่ผู้เรียนสนใจในเชิงลึกมากขึ้น และสร้างโอกาส ในการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้โดยที่พวกเขามีส่วนร่วมในการสร้างความรู้ ผ่านการมีส่วนร่วมในเรียนและประเมินผลของผู้เรียนจะเป็นไปในลักษณะส่วนบุคคล ในทางทฤษฎีผู้เรียนสามารถ เลือกการเรียนรูข้ องพวกเขาโดยการหาเนือ้ หาทีอ่ ยูน่ อกเหนือจะเนือ้ หาภายในห้อง หรือเนือ้ หาทีก่ า� หนดไว้ และครู สามารถเพิ่มปฏิสัมพันธ์ในห้องเรียนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจของผู้เรียนและแนะน�าสื่อต่างๆให้ผู้เรียน

ภาพที่ 13 จำก http://www.public-domain-image.com

ภาพที่ 14 จำก https://upload.wikimedia.org

I – Intentional Content การเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ต้องการความตั้งใจในศึกษาเนื้อหา เพื่อที่ครูจะได้รู้ในเนื้อหา ของตัวเองจริงๆ ประเมินว่าเนื้อหาที่จะสอนโดยตรง รวมถึงการวางแผนด้วยว่าจะใช้สื่อใดๆในการสอนเนื้อหานั้น รวมถึงสื่อไหนที่อนุญาตให้ผู้เรียนได้ค้นหาต่อไปถ้าหากผู้เรียนอยู่เรียนรู้เรื่องนั้นเพิ่ม และอีกสิ่งหนึ่งก็คือครูจะใช้ วิธีการสอนแบบในห้องเช่น active learning strategies, peer instruction, problem-based learning, or mastery หรือ Socratic methods ขึ้นอยู่กับระดับชั้นและหัวข้อเรื่อง ที่ครูต้องการสอน ทั้งหมดนี้เป็นสิ่งที่ครูจะต้องเข้าใจ และศึกษาในเรื่องที่ต้องการจะสอนจริงๆ เพื่อเป็นการวางแผนการเรียนในคาบนั้น เพื่อให้เกิดผลประโยชน์กับผู้ เรียนสูงสุด

ภาพที่ 15-16 จำก https://pixabay.com

10


P – Professional Educator การเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ต้องการครูที่เป็นมืออาชีพ Flipped Classroom อาจจะชี้ให้ เห็นว่าวิดีโอการเรียนการสอนมีความส�าคัญมากกว่าครูหรือนักการศึกษา แต่จริงๆ แล้วเป็นการเข้าใจที่ผิด เพราะ ส�าหรับ Flipped Classroom ต้องการทักษะด้านการศึกษามืออาชีพที่จะมีความส�าคัญกับครูหรือนักการศึกษา มากขึ้นกว่าเดิม โดยจะต้องก�าหนดเวลาและวิธีการที่จะเปลี่ยนการเรียนการสอนแบบดั้งเดิม ไปเป็นการเรียนรู้ ของแต่ละบุคคลและ การเพิ่มเวลาการพบปะระหว่างครูและผู้เรียนมากขึ้น จะท�าให้สามารถน�ารูปแบบการสอน มาใช้กับผู้เรียนได้เป็นอย่างดี มีการสังเกตผู้เรียนในช่วงที่ท�ากิจกรรม ช่วยให้การประเมินผู้เรียนเป็นไปแบบราย บุคคลจริงๆ ซึ่งทั้งหมดนี้จะท�าไม่ได้เลยถ้าหากครูยังไม่เข้าใจวิธีการสอน เนื้อหา เป็นบทบาทของตัวเองที่พึ่งมี

ภาพที่ 17 จำก http://www.flickr.com

ภาพที่ 18 จำก http://www.flickr.com

ซึ่งจากทั้งหมดนี้จะท�าให้ครูที่ต้องการจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom ได้ปรับทัศนคติของ ตัวเองซึ่ง Jonathan Bergmann และ Aron Sams ยังได้แนะน�าสิ่งที่ไม่ควรท�าเมื่อคิดที่จะเปลี่ยนแปลงการเรียน การสอนแบบ Flipped Classroomไว้ว่า ➥ ไม่ควรจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เพราะมีคนแนะน�า ➥ ไม่ควรจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เพราะคิดว่าเป็นการท�าให้เกิด “ห้องเรียนแห่ง ศตวรรษที่ 21” ➥ ไม่ควรจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เพื่อแสดงความเป็นผู้น�าทางเทคโนโลยี ➥ ไม่ควรจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เพราะคิดว่าการกลับทางห้องเรียนเป็นเครื่อง บอกว่าตนเป็นครูที่ดี ➥ ไม่ควรจัดการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เพราะคิดว่าการกลับทางห้องเรียนช่วยให้ชีวิต การเป็นครูง่ายขึ้น

11


The Flippedped-Mastery Classroom Jonathan Bergmann และ Aron Sams ได้กล่าวถึง ห้องเรียนกลับทางและเรียนให้รู้จริง (FlippedpedMastery Classroom) ในหนังสือFlipped Your Classroom Reach Every Student in Every Class Every Day (2012) ว่าเป็นการน�าเอาวิธีการสองอย่าง คือ Flipped classroom และ Mastery Learning มาใช้ร่วมกันโดยน�า เทคโนโลยีสมัยใหม่เข้าช่วยสร้างบรรยากาศของการเรียนรู้ที่ผู้เรียนรู้จริง มีลักษณะเป็น ห้องเรียนทีผ่ เู้ รียนแต่ละคนเรียนบทเรียนของตนที่ไม่ตรงกับของคนอืน่ แต่ละคนตัง้ ใจอยูก่ บั กิจกรรมของตน ผู้เรียนท�ากิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ของตน โดยครูเดินไปรอบๆ ห้อง เพื่อตรวจสอบการเรียนรู้ของศิษย์แต่ละคน และคอยช่วยให้ก�าลังใจ หรือช่วยผู้เรียนผู้เรียนจะหาวิธีแสดงให้ครูเห็นว่า ตนเข้าใจวัตถุประสงค์ของการเรียนรู้ ขัน้ ตอนนัน้ โดยอาจไม่ใช่การตอบข้อสอบทีม่ อี ยูใ่ นคอมพิวเตอร์กไ็ ด้ ซึง่ วิธกี ารจัดกิจกรรมแบบนีใ้ นห้องเรียนจะแตกต่าง จากห้องเรียนแบบดั้งเดิมอย่างสิ้นเชิง ห้องเรียนจะกลายเป็นแหล่งเรียนรู้ของผู้เรียนตามที่สนใจในหัวเรื่องต่างๆ โดยวิธกี ารเรียนการสอนแบบนีจ้ ะท�าให้ผเู้ รียนรูล้ กึ และรูจ้ ริง ยกตัวอย่างจากการที ่ Jonathan Bergmann และ Aron Sams ได้ให้ผเู้ รียนท�าโครงการเกีย่ วกับการศึกษาองค์ประกอบของน�า้ อัดลม เมือ่ จบภาคเรียนพวกเขาพบว่าผูเ้ รียน สามารถท�าโครงการนี้ได้จบเสร็จ ต่างจากปีก่อนที่พวกเขายังไม่ได้ใช้การเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เมื่อจบภาคเรียนผู้เรียนท�าได้เพียงครึ่งหนึ่งของโครงงานเท่านั้น

ภาพที่ 19 Jonathan Bergmann จำก http://edtechreview.in

12


รูปแบบกำรเรียนรู้ของ Flipped classroom BRIAN MILLER ได้น�ารูปแบบของการน�าการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroomไปผสมผสานกับ การเรียนการสอนภาพในห้องแบบต่างๆ ซึ่งมี 4 รูปแบบ ดังนี้ 1. Flipped classroom รูปแบบดั้งเดิม

ภาพที่ 20 Model Traditional Flipped จำก http://flipped4science.blogspot.com

เป็นรูปแบบที่เหมาะกับครูที่เพิ่งเริ่มใช้มากที่สุด ครูจะให้แหล่งการเรียนรู้แก่ผู้เรียนในชั้นเรียนแล้ว ให้ ค� า แนะน� า อยู ่ ข ้ า งๆ ผู ้ เ รี ย นจะท� า งานเป็ น กลุ ่ ม และผู ้ เ รี ย นจะได้ รั บ การสนั บ สนุ น ให้ มี บ ทบาทส� า คั ญ ในกระบวนการเรียนรู้ของตัวเอง

13


2. Inquiry Based Approach

ภาพที่ 21 Model Based Approach จำก http://flipped4science.blogspot.com

ผู้เรียนได้ฝึกการคิดอย่างเป็นระบบตามขั้นตอนของการแก้ปัญหา จนเกิดเป็นทักษะการแก้ปัญหาและได้ ท�าความเข้าใจ ความสัมพันธ์ของข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกิดเป็นความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งได้ด้วยตนเอง โดยมีขั้นตอน ทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้ ➥ ปัญหา ➥ แนวคิดการวิจัย ➥ รูปแบบสมมติฐาน ➥ ทดสอบสมมติฐาน ➥ รวบรวมและประมวลผลข้อมูล ➥ สรุป ➥ น�าเสนอผลงาน

14


3. Flippedped Mastery Approach

ภาพที่ 22 Model Flippedped Mastery Approach จำก http://flipped4science.blogspot.com

รูปแบบประเภทนี้ผู้เรียนแต่ละคนจะมีบทบาทในการจัดการเรียนรู้ของตนอย่างมาก เนื่องจากมีการน�า เทคโนโลยีมาใช้ควบคู่กับวิธีการสอน ช่วยตอบสนองความต้องการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน และความหลากหลายของ ผูเ้ รียนได้เป็นอย่างดี วิธกี ารนีจ้ ะช่วยให้ได้แนวทางการสอนหลายวิธแี ละตรงตามความต้องการของผูเ้ รียนเป็นหลัก ท�าให้ผู้เรียนสามารถก�าหนดสิ่งที่ต้องการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง รับฟังเนื้อหาในส่วนของการบรรยายด้วยตนเอง ซึ่งผู้เรียนจะรู้ได้ว่าก�าลังเรียนรู้สิ่งใด ค้นหาค�าตอบสิ่งใดอยู่ และผู้เรียนแต่ละคนไม่จ�าเป็นต้องท�างานชิ้นเดียวกัน หรือรูปแบบเดียวกัน

15


4. Project Based Learning

ภาพที่ 23 Model Project Based Learning จำก http://flipped4science.blogspot.com

การใช้ปัญหาของโลกจริงๆ จะสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนที่จะใช้เนื้อหาที่จะแก้ปัญหาผู้เรียนใช้การคิด เชิงวิพากษ์และการแก้ปัญหา วัตถุประสงค์การเรียนรู้ที่นอกเหนือไปจากความเข้าใจในเนื้อหา แต่จะขึ้นอยู่กับการ ประยุกต์ใช้ความรู้ ผู้เรียนได้รับการสนับสนุนในการสร้างการประเมินตนเองและข้อเสนอแนะเพื่อตรวจสอบความ คืบหน้าของพวกเขาและประสบความส�าเร็จสูงสุดของผลโครงการของพวกเขา รูปแบบนี้ส่งเสริมให้ผู้เรียนพัฒนา ทักษะศตวรรษ 21 ที่จ�าเป็นในการเข้าสู่ตลาดงานในอนาคตของพวกเขา

16


ทฤษฎี ข้อดี ประโยชน์ ข้อเสนอแนะของกำรเรียนรูแ้ บบ Flipped Classroom Flipped Classroom หรือ การเรียนแบบ “พลิกกลับ” คือ วิธีการเรียนแนวใหม่ที่ฉีกต�าราการสอนแบบ เดิมๆ ไปโดยสิ้นเชิงและก�าลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ ในโลกปัจจุบันที่ “การศึกษา” และ “เทคโนโลยี” แทบ จะเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน Flipped Classroom เป็นการเรียนแบบ “กลับหัวกลับหาง” หรือ “พลิกกลับ” โดย เปลี่ยนรูปแบบวิธีการสอนจากแบบเดิมที่เริ่มจากครูผู้สอนในห้องเรียน ผู้เรียนกลับไปท�าการบ้านส่ง เปลี่ยนเป็น ผู้เรียนเป็นผู้ค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองผ่าน “เทคโนโลยี” ที่ครูจัดหาให้ก่อนเข้าชั้นเรียน และมาท�ากิจกรรม โดยมีครูคอยแนะน�าในชั้นเรีย นแทน ในต่างประเทศ วิธีการสอนแบบ “พลิกกลับ” ก�าลังเป็นที่แพร่หลายในวงกว้างมากขึ้น โดยสิ่งที่เป็นหัวใจ ส�าคัญของ Flipped Classroom นี้ก็คือ การใช้เทคโนโลยี การเรียนการสอนที่ทันสมัย และการให้ผู้เรียนได้มีโอกาส เรียนรู้ผ่านกิจกรรม ซึ่งทั้งสองส่วนนี้จะกระตุ้นให้เกิดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ อย่างเต็ม ที่ ที่มาของการเรียนการสอนแบบ Flipped Classroom เกิดขึ้นในปี 2007 โดยครู 2 คน ในรัฐโคโลราโด สหรัฐอเมริกา ชื่อ โจนาธาน เบิร์กแมน และแอรอน แซมส์ ได้ถ่ายคลิปวิดีโอการสอนของตนเองเอาไว้ส�าหรับ ผู้เรียนที่ขาดเรียน เมื่อคลิปบทเรียนของครูทั้งสองเริ่มแพร่ขยายออกไปในวงกว้าง ครูหลายคนจึงเริ่มหันมาใช้ เทคโนโลยีต่างๆ อาทิ Podcasts หรือ YouTube เพื่อสอนผู้เรียนนอกห้องเรียนและสงวนเวลาในชั้นเรียนไว้ส�าหรับ การรวมกลุ่มท�า แบบฝึกหัด หรือ ท�ากิจกรรมร่วมกัน และผลลัพธ์ที่ได้ คือ ดีกว่าการเรียนการสอนแบบเดิม ผู้เรียนจะสามารถศึกษาดูผ่านทางโทรทัศน์ หรือ ในห้องแล็บคอมพิวเตอร์ หรือดูจากที่บ้านได้ เมื่อเข้าชั้นเรียน จะได้ใช้เวลาในห้องเรียนเพื่อแก้ปัญหาต่าง ๆในเรื่องที่สงสัย หรือขอให้ครูอธิบายเพิ่มเติมได้เข้าใจยิ่งขึ้น และเป็น การกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความคิดสร้างสรรค์อย่างไม่มีขีดจ�ากัด

ภาพที่ 24 จำก http://cdn2.hubspot.net

17


ในรูปแบบการเรียนการสอนวิธีนี้ ถือว่าเป็นการเรียนการสอนที่เน้นในรูปธรรมให้ผู้เรียนได้เห็นและปฏิบัติ จากประสบการณ์จริง ซึ่งจะท�าให้ผู้เรียนมีการจดจ�าและเกิดทักษะการเรียนรู้ได้ดีกว่าที่เรียนแบบนามธรรม แต่ ในมุมมองอีกด้านหนึง่ ทีก่ ว่าจะสอนให้ผเู้ รียนรูจ้ กั วิเคราะห์ เลือกใช้สอื่ ทีถ่ กู ต้อง รูจ้ กั เลือกศึกษาค้นคว้าในเรือ่ งต่างๆ ที่ตนเองสนใจนั้น ก็จะมีสื่อที่ไม่เหมาะสมกับผู้เรียนก็จะแทรกอยู่บนหน้าจอเหมือนกัน ดังนัน้ ในการใช้สอื่ ต่างๆ ในด้านของไอที ก็ควรทีแ่ นะน�าให้เข้าใจอย่างแท้จริงและในระยะแรกก็ตอ้ งมีผคู้ อย ให้ค�าแนะน�า ที่ดีไม่ว่าจะเป็นผู้ปกครอง ครูต้องมีส่วนร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้เรียนด้วยเหมือนกัน

ภาพที่ 25 จำก http://jamiedavies.co

ใครบ้ำงที่ ใช้โมเดลนี้ ? ในต่างประเทศ หลากหลายคอร์ส ในหลากหลายมหาวิทยาลัย ได้เริ่มใช้โมเดลนี้แล้ว ได้แก่ ➥ วิชา Video production ที่ Algonquin College การสอนให้ใช้งานซอฟแวร์ ให้เป็นตั้งแต่ในห้องเรียน เคยเป็นเรื่องล�าบากทั้งกับผู้สอนและผู้เรียน แต่เมื่อเปลี่ยนมาใช้โมเดลนี้ นักศึกษาสามารถศึกษาจาก วีดโี อ ซึง่ แบ่งเป็นตอนสัน้ ๆ ได้ดว้ ยความเร็วทีต่ วั เองเข้าใจ เมือ่ เข้ามาถึงในห้องเรียน ก็สามารถใช้งาน ซอฟแวร์ได้อย่างเต็มที่ และได้ฝึกฝนด้วยการท�าโปรเจคกับเพื่อนในห้องเรียน ➥ วิชาบัญชี ที่ Penn State ในห้องเรียน นักศึกษาได้ร่วมกันเสวนาพูดคุย บ้างก็รับฟังบรรยายหัวข้อ พิเศษจากผู้บรรยายพิเศษ หรือโจทย์ปัญหายากๆโดยมีอาจารย์ให้ค�าปรึกษา ข้อดีของห้องเรียนกลับด้ำน ➥ ก�าจัดข้อเสียของรูปแบบเดิม คือนักศึกษาต้องพยายามเข้าใจในสิ่งที่อาจารย์พูดทันที ซึ่งอาจท�าให้ พลาดประเด็นส�าคัญอื่นๆ ➥ การใช้วีดีโอจะช่วยให้นักศึกษาปรับได้ในแบบที่ตัวเองต้องการและไม่กดดัน ➥ นอกจากนี้การเปลี่ยนการบ้านและโปรเจคมาท�าในห้องเรียน โดยมีอาจารย์ควบคุมดูแล จะช่วยให้ นักศึกษาเข้าใจมากขึ้นและลดปัญหาการลอกการบ้าน อีกทั้งยังช่วยยกระดับความสัมพันธ์ และ บรรยากาศในห้องเรียน

18


Flipped Classroom ในมุมมองของนักวิจัย ดร.บ�ำรุง งำมกำร คุยเรื่อง flipped classroom (ตอนที่ 1) นักวิจัย สภำนักวิจัยเพื่อพัฒนำคุณภำพผู้อยู่ ในถิ่นธุรกันดำร

ตอนนี้ในวงการศึกษาไปทางไหนก็จะได้ยนิ แต่คา� ว่า Flipped Classroom หรือ“ห้องเรียนกลับด้าน” ใครๆ ก็พดู ถึงค�าๆ นีพ้ ดู แล้วก็ยมิ้ เจือ่ นๆ แต่พอถามถึงรายละเอียดลึกๆ ก็จะท�าหน้างงๆ น่าเอ็นดูพอสมควร ละครับ………. ผมค่อนข้างจะคุ้นเคยกับ Flipped Classroom มานานพอสมควร เพราะเคยอยู่ในคณะท�างาน ศึกษาวิจยั ด้านการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของชาติ แต่ตอนนัน้ เราใช้ค�าเรียกขานว่า Ubiquitous Learning เป็นรูปแบบการเรียนการสอนแบบเน้นทีก่ ารเรียนมากกว่าการสอน แล้วใน Ubiquitous Learning ก็มปี ระโยค หนึ่งที่เป็นค�าส�าคัญคือค�าว่า “learn at home, Homework at classroom” เป็นการเรียนที่เน้นให้เด็กเรียน ที่บ้าน แล้วเอาการบ้านมาท�าที่โรงเรียน ดูเหมือนว่าค�าพูดนี้ก็จะเป็นค�าส�าคัญของ Flipped classroom เช่นกัน ล่วงมาถึงปี 2004 สิงคโปร์ก็ได้ประกาศหลักการจัดการศึกษาของประเทศของเขา โดยยึดหลักคิด “Teach less but Learn more” คือสอนแต่น้อยแต่เรียนรู้ได้มากๆ อันนี้ก็เป็นหลักการเดียวกับ flipped classroom อีกเช่นกัน นอกจากนี้ ยังมีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบเดียวกันนี้ แต่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น เช่น Flipped Teaching, Reverse Classroom, Backward Teaching หรือชื่ออะไรท�านองกลับหลัง กลับหัว กลับด้านหรือพลิกกลับ ซึ่งก็เป็นรูปแบบเดียวกัน คือการเรียนการสอนที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมที่เคยเน้น เรื่องการเรียนการสอน โดยครูเป็นผู้ “บอกต่อ”ในห้องเรียน เวลาในห้องเรียนส่วนใหญ่หมดไปกับการสอน ของครู กลับมาเป็นแบบให้ผู้เรียนได้อยู่ใน “กิจกรรมการเรียนรู้” ให้มากขึ้น ใช้เวลาเพียงเล็กน้อยส�าหรับ ให้ครู “สอน”ในห้อง แต่การสอนจริงๆ ให้ไปอยู่ที่บ้านโดยอาศัยเทคโนโลยีหรือเครื่องมือนวัตกรรมที่มีอยู่ ในยุคปัจจุบัน แต่อย่างทีผ่ มได้กล่าวแต่ตน้ จากการได้สมั ผัสอย่างต่อเนือ่ งมาหลายปี พบว่าบุคลากรทางการศึกษา ในระดับสถานศึกษาส่วนใหญ่ของไทยยังไม่กระจ่างใน เรือ่ งแนวคิดและกระบวนการของ flipped classroom ส่วนใหญ่ยังงงๆ อยู่ อย่าว่าแต่บรรดาบุคลากรในระดับสถานศึกษาเลย ส่วนใหญ่ของบรรดาศึกษานิเทศก์ หรือผู้บริหารระดับเขตการศึกษาก็ยังมีอีกไม่น้อยที่ยังไม่ชัดเจนในเรื่องนี้เช่นกัน ในฐานะเป็นผูห้ นึง่ ทีศ่ กึ ษาและจับงานด้านนี ้ อีกทัง้ มีประสบการณ์การจัดท�าห้องเรียนทดลองแบบ Ubiquitous Learning มานานปี จึงขอแลกเปลี่ยนความคิดความเห็นโดยสังเขปในเรื่องจุดแข็งจุดอ่อน ของการจัดการเรียนการสอนแบบ “สอนแต่น้อย เรียนรู้มากๆ” นี้ เพื่อว่าท่านที่สนใจจะได้น�าไปประกอบ การศึกษาวิธีการจัดการเรียนแบบห้องเรียน กลับด้านหรือ flipped classroom ต่อไป “Flipped…” เป็นการพลิกกลับ พลิกจากอะไร…ไปสู่อะไร…? การจัดการเรียนการสอนแบบห้องเรียนกลับด้าน ครูผู้สอนหรือโรงเรียนจะต้องเข้าใจหลักคิด อย่างถ่องแท้ก่อนว่า ห้องเรียนกลับด้านนั้นคืออะไร เป็นการกลับด้านจากด้านใดไปสู่ด้านใด มันดี (กว่าการเรียนการสอนที่ใช้กันอยู่)อย่างไร ผศ.ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี ได้เคยกล่าวไว้สรุปได้ว่าห้องเรียน กลับด้าน เป็นการพลิกจาก……..ไปสู่……………..

19


1. จากการเรียนสอนตามสิ่งที่ครูก�าหนดทั้งหมด ไปสู่ การเรียนการสอนตามสิง่ ทีค่ รูและผูเ้ รียนร่วม กันก�าหนด 2. จากการสอนที่กลัวว่าผู้เรียนจะไม่เข้าใจ ไปสู่ การสอนที่มุ่งสร้างความตื่นเต้น เร้าใจ 3. จากการสอนที่ครูมุ่งเน้นให้ข้อมูล ไปสู่ การสอนที่ครูมุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจ 4. จากการที่ครูสอนให้เด็กต้องตอบค�าถามได้ ไปสู่ การสอนที่มุ่งให้ผู้เรียนตั้งค�าถามเป็น 5. จากการสอนที่ครูมุ่งเน้นให้ผู้เรียนท�า ไปสู่ การสอนที่มุ่งให้ครู-ผู้เรียนร่วมกันท�า 6. จากการสอนที่มุ่งทดสอบความรู้ ไปสู่ การสอนที่มุ่งประเมินความคิด-เข้าใจ 7. จากการสอนที่ดูเฉพาะความสามารถด้านวิชา ไปสู่ การสอนที่มองดูความส�าเร็จรอบด้าน 8. จากการสอนที่ครูมุ่งเน้นที่การให้เกรด ไปสู่ การสอนที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ที่แท้จริงของผู้เรียน การเตรียมครูส�าหรับการเรียนการสอน Flipped Classroom อุปสรรคทีส่ า� คัญอย่างหนึง่ ของการจัดการเรียนการสอนห้องเรียนกลับด้านคือ ตัวครูผสู้ อน ครูผสู้ อน ส่วนใหญ่กังวลว่าถ้าตัวเองไม่ได้พูด ไม่ได้ยืนสอนอยู่หน้าชั้นแล้ว เด็กจะไม่ได้รับความรู้ ขาดความมั่นใจว่า ถ้าให้ผู้เรียนไปเรียนเองที่บ้านแล้ว เด็กจะไม่เรียน หรือเรียนรู้ไม่ได้ และที่ส�าคัญคือครูไม่เข้าใจหัวใจส�าคัญ 2 อย่างของการจัดการเรียนการสอนแบบนี้ คือ 1. ไม่เข้าใจหัวใจของการเรียนการสอนที่ว่า เรียนที่บ้าน ท�าการบ้านที่โรงเรียน ความจริงสาระ ส�าคัญของรูปแบบการเรียนการสอนแบบนี้คือ “Teach at home, Learn at classroom” คือการเรียน การสอนให้ท�าที่บ้าน แทนที่ครูจะใช้เวลาสอนหรือ lecture ในห้องเรียน ก็จัดการสอนหรือ lecture ใส่ในสื่อ เช่น Video , CD หรืออาจจะเป็นเอกสารให้ผู้เรียนเอากลับไปเรียนหรือศึกษาที่บ้าน หรือแม้แต่การให้ หัวข้อเรื่องที่จะเรียนรวมทั้งให้ชื่อกลุ่ม website ที่ผู้เรียนจะไปค้นคว้า แล้ววันต่อมาในชั่วโมงวิชานั้นๆ ก็ให้ผู้เรียนน�าข้อมูลและความคิดในเรื่องที่ได้รับ “การสอน” ที่บ้านมา “เรียนรู้” ร่วมกันในห้องเรียน ซึ่ง ถึงตอนนี้ครูจะเปลี่ยนบทบาทจาก “teacher” มาเป็น “Coach” แทน ซึ่งหน้าที่ของ coach คือ “continue if effective, modify if necessary” ตรงไหนที่ผู้เรียนเรียนรู้แล้วก็ก้าวหน้าต่อไป ตรงไหนที่ยังติดขัด ก็ร่วมกันทบทวนหรือ “re-learn” จนกว่าจะเข้าใจ 2. ไม่เข้าใจเรื่องการ “เรียนที่บ้าน ท�าการบ้านที่โรงเรียน” ค�าพูดนี้ ครูและนักการศึกษาที่พูดถึง การเรียนการสอนแบบ flipped classroom จะต้องได้ยินและก�าลังพยายามท�าความเข้าใจอยู่ แต่ ไม่มีทาง เข้าใจเพราะค�าว่า “เรียน” ในความหมายและบริบทของชาติตะวันตก (ที่เขาบอกว่าเป็นต้นคิดของ flipped classroom) กับค�าว่า “เรียน” ในความหมายหรือความเข้าใจของครูบ้านเรา ไม่แน่ใจว่าเหมือนกัน หรือเปล่า นั่นยังไม่รวมถึงค�าว่า “การบ้าน” ค�านี้ต่างกันมากในความเข้าใจและการปฏิบัติระหว่างครู ในชาติตะวันตกกับครู บ้านเรา การบ้านของเขานั้น ครูเขาให้ผู้เรียนกลับไปท�างานเพื่อเพิ่มพูนสมอง ความคิดและประสบการณ์ เป็นงานที่ผ่านการคัดกรองอย่างดีจากครูก่อนที่จะให้เด็กไปท�าที่บ้าน เพราะ เขาถือว่าเวลาของเด็กหลังเลิกเรียนส�าคัญมาก ถ้าจะขอแบ่งปันมาจากครอบครัวจะต้องแน่ใจว่าเด็กได้ ประโยชน์จริงๆ แต่การบ้านที่ครูไทยมอบให้ผู้เรียนไปท�า…เป็นการบ้านแบบใด

20


ยังมีประเด็นที่น่าจะพูดคุยกันอีกหลายด้าน ทั้งด้านความพร้อมของเด็ก ซึ่งส�าคัญมากโดยเฉพาะ เด็กจะต้องมีความพร้อมใน เรื่องของ “ส�านึกและความเข้าใจของรูปแบบการเรียน” พร้อมในเรื่องของ การมี “กระบวนการคิด” คือเด็กต้องพร้อมที่จะคิดอย่างเป็นกระบวนการและต้องคิดแบบกระบวนการ เป็น อย่างน้อยที่สุดต้องรู้และเข้าใจ Mind map ต้องรู้จักการเรียนรู้ด้วยวิธีระดมสมอง (Brainstorming) และต้องสามารถคิดเชิงบูรณาการ (Integrative Thinking) ได้ เพราะการเรียนการสอนแบบนี้ ปลายทาง เน้นที่ให้ผู้เรียนคิดได้ คิดเป็น นอกจากความพร้อมของครูและของเด็กแล้ว เราจะมาคุยกันเรือ่ งความพร้อมของชุมชน ผูป้ กครอง และทรัพยากร ซึ่งเป็นปัจจัยส�าคัญที่จะต้องมี หากต้องการให้ flipped classroom ประสพผลสัมฤทธิ์ใ นเมืองไทยแล้วจะมาคุยให้ฟังอีกในเร็ววัน ดร. บ�ำรุง งำมกำร

21


เครื่องมือ Flipped Classrooms Class Start Class Start เป็นระบบชั้นเรียนออนไลน์ (Learning Management System) ที่พัฒนาขึ้นเพื่อรองรับ รูปแบบจัดการการศึกษาของไทยและมุ่งส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียนการสอนที่มีความยืดหยุ่นและใช้สื่อเทคโนโลยีของ ClassStart เพื่อ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้อย่างสะดวก เนื่องจากสามารถใช้งานได้ง่าย เข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต อีกทั้งผู้ใช้ไม่ต้องติดตั้งและดูแลเว็บไซต์และเครื่องแม่ข่ายเอง ClassStart ได้รับการพัฒนาขึ้นโดย ผศ.ดร.ธวัชชัย และดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ ซึ่งเป็นผู้พัฒนาชุมชน ออนไลน์เพื่อคนท�างานแลกเปลี่ยนเรียนรู้ GotoKnow.org มากว่า 8 ปี โดย ClassStart เปิดให้บริการฟรีแก่ ผู้เรียนผู้สอนทั่วประเทศมาตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 ปัจจุบันมีสมาชิกกว่า 45,000 คน และชั้นเรียนกว่า 3,500 ชั้นเรียนจากกว่า 200 สถานศึกษาทั่วไทย เมื่อสมัครเป็นสมาชิก ClassStart แล้วจะสามารถเริ่มใช้งาน ระบบต่างๆ ได้ทนั ที โดยไม่มกี ารจ�ากัดจ�านวนชัน้ เรียนและจ�านวนผูเ้ รียนในชัน้ รวมทัง้ ไม่จา� กัดพืน้ ทีก่ ารเก็บข้อมูล อีกด้วย นอกจากนี้ยังสามารถรองรับปริมาณการใช้งานจ�านวนมากได้พร้อมๆ กันอย่างมีประสิทธิภาพ ความสามารถปัจจุบันของ ClassStart ประกอบด้วย ระบบสมาชิก ระบบการจัดการชั้นเรียน ระบบข่าว ประกาศส�าหรับชั้นเรียน ระบบเอกสารการสอนส�าหรับชั้นเรียน ระบบเว็บบอร์ดส�าหรับชั้นเรียน ระบบกลุ่มผู้เรียน ในชัน้ เรียน ระบบจัดการแบบฝึกหัด ระบบบันทึกการเรียนรู ้ ระบบบันทึกคะแนนเก็บ และ ระบบประมวลผลคะแนน Wonkdy หวังดี อคาเดมี เป็นระบบเพื่อสนับสนุนการเขียนร่วมกันในลักษณะเดียวกันกับ Wikipedia และเป็นพื้นที่ ฟรีทเี่ ก็บรวบรวมแบ่งปันเนือ้ หาการเรียนการสอนทีเ่ ขียนและเรียบเรียงขึน้ โดยผูส้ อนและผูเ้ ชีย่ วชาญจากทัว่ ประเทศ ตามรายวิชาและระดับชั้น L3nr คือระบบเพื่อจัดกิจกรรมออนไลน์ส�าหรับห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) การจัดการเรียน การสอนแบบห้องเรียนกลับทางนั้นผู้สอนจะจัดกิจกรรมหลากรูปแบบโดยใช้เครื่องมือหลายอย่างทั้งออนไลน์และ ออฟไลน์ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดเวลา ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน แบบกลุ่มและแบบรายบุคคล L3nr คือเครื่องมือหนึ่ง มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้จัดกิจกรรมออนไลน์ นอกห้องเรียน และรายบุคคล L3nr เป็น “เกมส์ การเรียนรู้” โดยมีกติกาดังนี้ ผู้เรียนแข่งกันเขียนบันทึกในเนื้อหาที่ผู้สอนก�าหนด บันทึกที่เขียนดีจะได้ดาวจาก สามส่วน คือ (1) ผู้สอน (2) เพื่อนร่วมชั้น และ (3) สมาชิกอื่นๆ ดาวจะแปลงเป็นคะแนนตามสัดส่วนที่ผู้สอน ก�าหนดในตอนสร้างชั้นเรียน โดยดาวจากแต่ละส่วนจะแปลงเป็นคะแนนไม่เท่ากัน ผู้สอนจะเป็นผู้ก�าหนดยิ่งเขียน บันทึกมากและเขียนได้ดี ก็จะยิ่งได้คะแนนมากระบบจะแสดง “กระดานคะแนน” (scoreboard) ให้เห็นตลอดเวลา ว่าใครอยู่ในอันดับเท่าไหร่ในเกมส์นี้ กิจกรรมจะด�าเนินตั้งแต่ต้นเทอมจนถึงสิ้นเทอม โดยมีการสรุปคะแนนและ อันดับเป็นระยะ (เช่นทุกสองสัปดาห์) เพื่อให้ผู้เรียนมีความสม�่าเสมอในการท�ากิจกรรมนี้

22


MOOC เป็นค�าที่มาจากตัวอักษรตัวแรกของค�าเต็มว่า Massive Open Online Course ซึ่งหมายถึงรูปแบบการ น�าเสนอการเรียนรูห้ ลักสูตรต่างๆ ทางออนไลน์ ทีเ่ ข้าถึงผูเ้ รียนจ�านวนมากๆ ได้ผา่ นทางหน้าเว็บไซต์ โดยส่วนใหญ่ เป็นการให้บริการฟรี ซึ่ง MOOC นี้เป็นนวัตกรรมใหม่ของวงการการศึกษาของโลก (ฝรั่งคิดตามเคย) โดยการน�า เทคโนโลยีและวิธีการเรียนการสอนสมัยใหม่มาผสมผสานกัน ท�าให้คนทั่วโลกสามารถเข้าถึงการศึกษาได้ผ่าน ช่องทางออนไลน์ซึ่งตอนนี้มีเครือข่ายครอบคลุมไปทั่วทุกมุมโลกแล้ว สิ่งที่ MOOC มีนอกเหนือจากสื่อประกอบ การเรียนแบบปรกติ เช่น วีดิโอ หนังสือ และแบบฝึกหัดแล้ว ยังมีฟอรัม (Forum) ให้ผู้เรียนได้แลกเปลี่ยนสนทนา ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน หรือกับผู้สอน และผู้ช่วยสอนได้อีกด้วย LMS เป็นค�าทีย่ อ่ มาจาก Learning Management System หรือระบบการจัดการเรียนรู ้ เป็นซอฟต์แวร์ทที่ า� หน้าที่ บริหารจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ จะประกอบด้วยเครือ่ งมืออ�านวยความสะดวกให้แก่ผสู้ อน ผูเ้ รียน ผูด้ แู ลระบบ โดยที่ผู้สอนน�าเนื้อหาและสื่อการสอนขึ้นเว็บไซต์รายวิชาตามที่ได้ขอให้ระบบ จัดไว้ให้ได้โดยสะดวก ผู้เรียนเข้าถึง เนื้อหากิจกรรมต่างๆ ได้โดยผ่านเว็บ ผู้สอนและผู้เรียนติดต่อสื่อสารได้ ผ่านทางเครื่องมือการสื่อสารที่ระบบ จัดไว้ให้ เช่น ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ห้องสนทนา กระดานถาม - ตอบ เป็นต้น นอกจากนั้นแล้วยังมีองค์ประกอบ ทีส่ า� คัญ คือ การเก็บบันทึกข้อมูล กิจกรรมการเรียนของผูเ้ รียนไว้บนระบบเพือ่ ผูส้ อนสามารถน�าไปวิเคราะห์ ติดตาม และประเมินผลการเรียนการสอนในรายวิชานั้นอย่างมีประสิทธิภาพ องค์ประกอบของ LMS ประกอบด้วย 5 ส่วน ดังนี้ 1. ระบบจัดการหลักสูตร (Course Management) กลุ่มผู้ใช้งานแบ่งเป็น 3 ระดับคือ ผู้เรียน ผู้สอน และ ผูบ้ ริหารระบบ โดยสามารถเข้าสูร่ ะบบจากที่ไหน เวลาใดก็ได้ โดยผ่าน เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ระบบสามารถรองรับ จ�านวน user และจ�านวนบทเรียนได้ ไม่จ�ากัด โดยขึ้นอยู่กับ hardware/software ที่ใช้ และระบบสามารถรองรับ การใช้งานภาษาไทยอย่างเต็มรูปแบบ 2. ระบบการสร้างบทเรียน (Content Management) ระบบประกอบด้วยเครื่องมือในการช่วยสร้าง Content ระบบสามารถใช้งานได้ดีทั้งกับบทเรียนในรูป Text - based และบทเรียนใน รูปแบบ Streaming Media 3. ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มีระบบคลังข้อสอบ โดยเป็นระบบ การสุม่ ข้อสอบสามารถจับเวลาการท�าข้อสอบและการตรวจข้อสอบอัตโนมัต ิ พร้อมเฉลย รายงานสถิต ิ คะแนน และ สถิติการเข้าเรียนของผู้เรียน 4. ระบบส่งเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบด้วยเครือ่ งมือต่างๆ ที่ใช้สอื่ สารระหว่าง ผูเ้ รียน - ผูส้ อน และผู้เรียน - ผู้เรียน ได้แก่ Webboard และ Chatroom โดยสามารถเก็บ History ของข้อมูลเหล่านี้ได้ 5. ระบบจัดการข้อมูล (Data Management System) ประกอบด้วยระบบจัดการไฟล์และโฟลเดอร์ ผู้สอนมีเนื้อที่เก็บข้อมูลบทเรียนเป็นของตนเอง โดยได้เนื้อที่ตามที่ Admin ก�าหนดให้

23


Blog บล็อก คือรูปแบบหนึง่ ของเว็บไซต์ เป็นการบันทึกบทความของตนเอง (Personal Journal) ลงบนเว็บไซต์ โดยเนื้อหาของบล็อกนั้นสามารถครอบคลุมได้ทุกเรื่อง มีเนื้อหาได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องราวส่วนตัวที่ เรียกกันว่า ไดอารีออนไลน์ หรือเป็นบทความเฉพาะด้านต่างๆ สามารถใช้เป็นเครือ่ งมือสือ่ สาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้าน เช่น สิ่งแวดล้อม การเมือง เทคโนโลยี กีฬา ธุรกิจ การค้า การศึกษา เป็นต้น อีกทั้งยังสามารถแตกแขนงไปในเนื้อหาในประเภทต่างๆ ซึ่งสามารถน�าบล็อกมาจัด การเรียนการสอนโดยบอกเล่าเรื่องราวผ่านบล็อก เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้ามาอ่านและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ บล็อกถูกเขียนขึ้นในล�าดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้ที่ล�าดับแรกสุด (ปัจจุบันสามารถให้เรียงตามล�าดับเวลาก่อนหลังอย่างที่ต้องการได้) โดยปกติบล็อกจะประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพ ลิงค์ และสื่อชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น เพลง วิดีโอ หรือสื่ออื่นๆ ที่สามารถแสดงผลผ่านเว็บไซต์ ได้ Youtube เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนภาพวิดีโอระหว่างผู้ใช้ได้ฟรี โดยน�าเทคโนโลยีของ Adobe Flash มาใช้ในการแสดงภาพวิดโี อ ซึง่ ยูทบู มีนโนบายไม่ให้อปั โหลดคลิปทีม่ ภี าพโป๊เปลือยและคลิปทีม่ ลี ขิ สิทธิ ์ นอกเสียจาก เจ้าของลิขสิทธิ์ได้อัปโหลดเอง เมื่อสมัครสมาชิกแล้วผู้ ใช้จะสามารถใส่ภาพวิดีโอเข้าไป แบ่งปันภาพวิดีโอให้ คนอื่นดูด้วย แต่หากไม่ได้สมัครสมาชิกก็สามารถเข้าไปเปิดดูภาพวิดีโอที่ผู้ใช้คนอื่นๆ ใส่ไว้ใน Youtube ได้ แม้จะก่อตัง้ ได้เพียงไม่นาน (Youtube ก่อตัง้ ขึน้ เมือ่ เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2005) Youtube เติบโตอย่างรวดเร็วมาก เป็นที่รู้จักกันแพร่หลายและได้รับความนิยมทั่วโลก จากที่กล่าวมาข้างต้นนั้น จะเห็นว่ามีเครื่องมือที่หลากหลายที่สามารถจะน�ามาจัดการเรียนการสอน ร่วมกับ Flipped Classrooms ซึง่ ผูส้ อนมีหน้าที่ที่จะเลือกและสร้างเครือ่ งมือทีเ่ หมาะสมกับเนือ้ หา วิชา บริบทของ ผู้เรียน ว่าเครื่องมือแต่ละชนิดนั้นจะสามารถให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ได้อย่างไรและเครื่องมือที่ดีนั้นนั้นยังช่วยให้เด็ก เกิดทักษะการเรียนรู้ และฝึกให้เด็กมีความคิดสร้างสรรค์ จะท�าให้ผู้เรียนเข้าใจในเรื่องดังกล่าวได้ดี

กำรประเมินผลกำรจัดกำรเรียนกำรสอนแบบ Flipped Classroom 1. สร้ำงระบบประเมินที่เหมำะสม เราต้องการระบบประเมินที่ประเมินความเข้าใจของผู้เรียนอย่าง แม่นย�า ค�าถามคือ ครูรู้ได้อย่างไรว่า ศิษย์ ได้เรียนรู้อย่างรู้จริงตามที่ก�าหนดไว้ในวัตถุประสงค์ของวิชา และถ้าผู้เรียนคนใดยังเรียนรู้ไม่ได้ตามที่ก�าหนด จะท�าอย่างไร เทคโนโลยี ไอซีที สมัยใหม่คือค�าตอบ 2. กำรประเมินเพื่อปรับปรุง (Formative Assessment) ครูทมี่ ปี ระสบการณ์สงู จะสามารถบอกได้ทนั ทีวา่ เด็กคนไหนยังไม่เข้าใจเรือ่ งอะไร เมือ่ ครูเดินไปรอบๆ ห้องเรียนแบบกลับทางและเรียนให้รจู้ ริง ครูจะลองสอบถามบางค�าถามแก่ผเู้ รียนบางคน และรีบแก้ความเข้าใจผิด ให้ในช่วงที่ผู้เรียนก�าลังเรียนรู้หลักการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผู้เรียนแต่ละคนจะต้องการความช่วยเหลือแตกต่างกัน ตามระดับของพัฒนาการของศักยภาพในการเรียนรู้ (cognitive development) ของตน และตามความยากง่าย ของเรื่อง

24


ครูจะมีวธิ ชี ว่ ยเหลือศิษย์แตกต่างกัน บางกรณีครูจะช่วยเหลืออย่างเป็นระบบ แต่ในบางกรณี ครูจะปล่อย ให้ผู้เรียนใช้ความพยายามช่วยเหลือตนเอง การเรียนที่ดีไม่ใช่การเรียนแบบได้รับการป้อนสาระความรู้ ผู้เรียนที่ ช่วยตัวเองได้ควรได้เรียนแบบช่วยตัวเอง เพราะจะเรียนรู้ได้ลึกและเชื่อมโยงกว่า แต่ผู้เรียนที่เรียนอ่อน ก็ต้องได้ รับความช่วยเหลือตามความเหมาะสม ผูเ้ รียนมีสว่ นในการเป็นผูร้ บั ผิดชอบการประเมิน เพือ่ ยืนยันการเรียนรูข้ องตนเองว่าได้บรรลุการเรียนรู้ ตามที่ก�าหนดไว้ในวัตถุประสงค์แล้ว จะพิสูจน์ โดยวิธีใดก็ได้ ส�าหรับผู้เรียนที่ยังไม่สามารถพิสูจน์ตนเองได้ ครูก็จะเข้าไปประเมิน และหาประเด็นที่ผู้เรียนยังไม่เข้าใจ แล้วจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อซ่อมเสริมความเข้าใจ เป็นรายคน ผู้เขียนอ้างถึงค�าอธิบายคุณประโยชน์ของการทดสอบแบบ formative โดย Evan McIntosh ว่า เป็นเสมือน GPS ของการเรียนรู้ ที่คอยบอกว่าการเรียนรู้ด�าเนินไปถูกทางหรือไม่ การทดสอบแบบ formative และ feedback แก่ผู้เรียนทันที ช่วยให้ผู้เรียนได้อย่างถูกทางไม่เดินผิดทาง 3. ถำมค�ำถำมที่ถูกต้อง ในกำรทดสอบแบบ formative ที่จริง นี่คือการคุยกับผู้เรียนของครู เป็นการคุยกันอย่างเป็นธรรมชาติและเปี่ยมความเมตตาของ ครูเพื่อศิษย์ เพื่อสร้างความสนิทสนม รู้จักผู้เรียนเป็นรายคน ให้ผู้เรียนรู้สึกว่าเขาเป็นบุคคลส�าคัญของครู ให้ครู รู้จักความคิดของเขา และเพื่อให้ครูได้ช่วยให้ศิษย์แต่ละคนได้เรียนวิธีเรียนรู้ ค�าถามที่ครูถามศิษย์แต่ละคนจึง แตกต่างกันเป็นรายคน เป็นไปตามสถานการณ์ แตกต่างกันไปตามระดับความเข้าใจ เป็นค�าถามทีช่ ว่ ยให้ครูรวู้ า่ ผูเ้ รียน คนนั้นๆ มีความก้าวหน้าในบทเรียนนั้นไปถึงไหนแล้ว และผู้เรียนต้องการความช่วยเหลือหรือไม่อย่างไร ค�าถาม ที่ดี นอกจากมีคุณประโยชน์ต่อการประเมินความก้าวหน้าของการเรียนแล้ว ยังช่วย “จุดประกาย” ความสนใจ หรือความใฝ่รู้ ของผู้เรียนได้ด้วย 4. กำรสอบแบบได้-ตก (Summative Evaluation) การสอบเพื่ อ ดู ว ่ า ผู ้ เ รี ย นบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ข องการเรี ย นรู ้ ห รื อ ไม่ โดยที่ ค รู ต ้ อ งก� า หนดว่ า เกณฑ์ สอบ ผ่าน-ไม่ผ่าน คืออะไร ผู้เขียนบอกว่าตนเองก�าหนดเกณฑ์ “รู้จริง” ว่าต้องผ่านร้อยละ 75 ของข้อสอบ โดยที่ ตอนออกข้อสอบ ครูก�าหนดความยากง่ายของข้อสอบให้ผู้เรียนที่ ได้เรียนรู้ “ความรู้ที่จ�าเป็น” (essential knowledge) ทั้งหมด จะสอบได้ร้อยละ 75 ส่วนอีกร้อยละ 25 ตอบได้ด้วยความรู้ส่วนที่เลยความจ�าเป็น (nice to know) ผู้เรียนที่สอบได้ไม่ถึงร้อยละ 75 ต้องเรียนเสริม แล้วสอบใหม่ จนกว่าจะสอบได้ ในวิชาเคมีของผู้เขียน มีการสอบปฏิบัติการด้วย โดยมอบปัญหาให้ไข และคะแนนผ่านคือร้อยละ 75 เช่นกัน ผู้เรียนที่เขียนรายงาน แบบขอไปที จะได้รับรายงานคืน ให้ไปเขียนมาใหม่ 5. ควำมซื่อสัตย์ ในกำรสอบ ครูต้องหาวิธีป้องกันผู้เรียนโกงสอบ โดยจัดการสอบที่ผู้เรียนโกงไม่ได้หรือได้ยาก ผู้เขียนเล่าวิธีที่ตน เพิ่งคิดขึ้นใหม่ เรียกว่า open-internet test (เลียนค�าว่า open-book test) คือให้ตอบได้โดยใช้การค้นใน internet ช่วยได้ การออกข้อสอบแนวนี้ครูต้องคิดหรือตระหนัก 2 ประเด็น

25


(1) ค�าถามแบบไหนที่ไม่ต้องมีการเรียนในชั้นเรียน ผู้เรียนก็ตอบได้โดยค้นจาก อินเทอร์เน็ต (2) เนื่องจากมีข้อมูลความรู้มากมายให้ผู้เรียนค้นได้จากอินเทอร์เน็ต ข้อสอบแบบใดที่จะช่วย ประเมินความรู้จริงของผู้เรียนในวิชานั้น หรือตามวัตถุประสงค์ของการเรียนวิชานั้น ข้อสอบแบบเปิดอินเทอร์เน็ต ตอบนี้ จะป้องกันการลอกค�าตอบไปโดยปริยาย เพราะผู้เรียนจะได้ข้อสอบต่างกัน และควรให้ผู้เรียนเขียนค�าตอบ ด้วยลายมือ เพื่อป้องกันการตอบโดยตัดปะจากอินเทอร์เน็ต ความซื่อสัตย์เป็นเป้าหมายของการเรียนรู้ ใน 21st Century Skills อย่างหนึ่ง 6. เครื่องช่วยกำรสอบเพื่อผล ได้-ตก เครื่องช่วยนี้คือ computer-generated exam ที่การออกข้อสอบและให้คะแนนท�าโดยคอมพิวเตอร์ โดยครูเป็นผู้ ออกข้อสอบใส่ไว้ในคอมพิวเตอร์ (ครูตอ้ งลงแรงออกข้อสอบมากข้อขึน้ )ท�าให้ผเู้ รียนแต่ละคนได้รบั ข้อสอบคนละชุด และครูสามารถปรับความยากง่ายของการสอบแต่ละครั้งได้ เครื่องช่วยนี้เรียกว่า course-management software ซึ่งมีหลายส�านัก ได้แก่ Moodle, Blackboard, WebCT 7. ท�ำงำนในวัฒนธรรมให้เกรด A-F ครูต้องไตร่ตรอง ว่าในการเรียนแบบรู้จริงนั้น การให้ผลสอบ A-F มีความหมายอย่างไร แตกต่างจาก A-F โดยทั่วๆ ไปอย่างไร ผู้เขียนทั้งสองยึดถือการให้เกรดแบบ objective-based หรือ standards-based grading (SBG) คือเน้นอิงเกณฑ์ หรืออิงมาตรฐาน แต่ในข้อก�าหนดของหน่วยเหนือของการศึกษาของสหรัฐอเมริกา โรงเรียน ต้องระบุทั้งคะแนนและเกรดลงในสมุดรายงานผลการศึกษาของผู้เรียนแต่ละคน ให้ผู้ปกครองได้ดู ผู้เขียนใช้วิธีประนีประนอมกับข้อก�าหนดของหน่วยเหนือ โดยยึดการสอบ แบบ SBG ผู้เรียนทุกคน ต้องได้ผลการสอบแบบ SBG ร้อยละ 75 ขึ้นไปจึงจะมีการให้เกรด โดยคะแนนร้อยละ 50 มาจาก SBG อีกร้อย ละ 50 มาจากการทดสอบแบบ formative หรือคะแนนเก็บนั่นเอง ผู้เขียนเล่าว่า ในเขตพื้นที่การศึกษาที่ตนสอน อยู่ (ชื่อ Westminster, Colorado) ใช้การสอบแบบ SBG ร่วมกันทั้งเขตพื้นที่ ท�าให้ผู้เรียนในชั้นเรียนเดียวกัน อาจมีผู้เรียนที่เรียนอยู่ในระดับเกรดต่างกัน (เช่นในชั้น ม. 2 ผู้เรียนส่วนใหญ่เรียนอยู่ในระดับ ม. 2 แต่อาจมี บางคนเรียนอยู่ในระดับ ม. 1 และมีบางคนเรียนอยู่ในระดับ ม. 3 ผมไม่ทราบว่าท�าไมเขาไม่ย้ายห้องผู้เรียน ให้เรียนในชั้นที่ตรงกับระดับการเรียนของตน) และในปีหนึ่งๆ ผู้เรียนบางคนอาจเรียนในต่างระดับก็ได้ ขึ้นกับ ผลการสอบแบบ summative

26


บทความ เกี่ยวกับการเรียนการสอนแบบ

Flipped Classroom ในศตวรรษที่ 21 ห้องเรียนกลับทางในระบบชั้นเรียนออนไลน์ของไทย ClassStart.org

ภำพที่ 26 จำก http://knowledgeengineer.org

ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ (jantawan@usablelabs.org) คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

...ด้วยระบบการจัดการแบบฝึกหัดของ ClassStart จะช่วยให้ผสู้ อนตรวจแบบฝึกหัด และให้คะแนนและความ เห็นได้ทนั ที หลังจากทีผ ่ เู้ รียนได้สง่ แบบฝึกหัดนัน้ ผ่านทางออนไลน์แล้วและผูเ้ รียนก็จะได้รบั รูผ ้ ลการตรวจ แบบ ฝึกหัดนั้นทันทีอีกด้วย นอกจากนี้ ClassStart ยังมีระบบประมวลผลคะแนนรวม เพื่อให้ผู้สอนประมวลคะแนน รวมของผู้เรียน แต่ละคนได้อย่างง่ายดาย...

ClassStart.org เป็นเว็บไซต์ที่ ให้บริการเทคโนโลยีสารสนเทศ ทางออนไลน์เพื่อการเรียน การสอนในระดับประเทศของไทย เว็บนี้มี คุณสมบัติเป็นระบบชั้นเรียนออนไลน์ (Learning Management System) ที่ได้รบั การพัฒนาขึน้ เพือ่ รองรับรูปแบบจัดการการเรียนการสอนแบบ ห้องเรียนกลับทาง (Flipped Classroom) และมุ่งส่งเสริมกระบวนการเรียน รู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ ผู้สอนสามารถออกแบบการเรียน การสอนที่มี ความยืดหยุ่นเพื่อตอบสนองต่อความต้องการของผู้เรียนได้อย่างสะดวก เนื่องจากสามารถ ใช้งานได้ง่ายเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาจากทั่วทุกมุมโลก เพียงแค่มีคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตอีกทั้งผู้ใช้ ไม่ต้องติดตั้งและดูแล เว็บไซต์และเครื่องแม่ข่ายเอง ClassStart พัฒนาขึ้นโดย ผศ.ดร.ธวัชชัย ปิยะวัฒน์ และ ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ เปิดให้บริการฟรี แก่ผู้เรียนผู้สอนทั่วประเทศ มาตั้งแต่เดือนธันวาคม พ.ศ. 2554 และ ณ ปัจจุบันนี้ (ข้อมูลเดือนมิถุนายน 2556) มีสมาชิกร่วม 90,000 คน และ ชั้นเรียนกว่า 7,300 ชั้นเรียนจากกว่า 500 สถานศึกษาทั่วไทย เมื่อสมัครเป็นสมาชิก ClassStart แล้วจะสามารถเริ่มใช้งานระบบ ต่างๆ ได้ทันที อาทิ ระบบจัดการสมาชิก ระบบจัดการเอกสารการสอน ระบบเว็บบอร์ดชั้นเรียน ระบบการสอนร่วมกัน ระบบบันทึกการเรียนรู้ ระบบจัดการแบบฝึกหัดทั้งเดี่ยว และกลุ่ม ระบบประเมินผลให้คะแนนและระบบประมวลผลคะแนนรวม

27


โดย ClassStart ไม่มีการจ�ากัดจ�านวนชั้นเรียนและจ�านวนผู้เรียน ในชั้น รวมทั้งไม่จ�ากัดพื้นที่การ เก็บข้อมูลอีกด้วย นอกจากนีย้ งั สามารถ รองรับปริมาณการใช้งานจ�านวนมากอย่าง Massive Open Online Course (MOOC) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากประสบการณ์ในการใช้งาน ClassStart แบบห้องเรียนกลับ ทาง พบว่า ClassStart สามารถช่วยลดภาระงานสอนได้จริงและผู้เรียนเรียน รู้มากขึ้นได้โดยผู้สอนพึง ค�านึงถึงประเด็นส�าคัญ 3 ประการคือ (1) ทักษะ และหน้าที่ความรับผิดชอบที่เปลี่ยนไปของผู้สอน (2) เนื้อหาความรู้แบบ คลิปวีดิโอที่น่าสนใจต่อผู้เรียน (3) กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน และทางออนไลน์ ดังรายละเอียดต่อไปนี้ (1) ทักษะและหน้าที่ความรับผิดชอบที่เปลี่ยนไปของผู้สอน การกลับทางห้องเรียนของไทยอาจจะไม่สามารถท�าได้ด้วย การเปลี่ยนแปลงการเรียนการ สอนครั้งเดียวทั้งหมด เพราะด้วยวัฒนธรรม การเรียนรู้ที่ยังติดกับการรับความรู้จากผู้สอนและทักษะและ หน้าทีค่ วามรับผิดชอบของผูส้ อนทีจ่ ะเปลีย่ นไปจากเดิมในการจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบใหม่น ี้ ผูส้ อน จะพบว่าหน้าที่ความรับผิดชอบและทักษะของตนจะ ไม่เหมือนก่อน เมื่อเริ่มต้นกลับทางห้องเรียนผู้สอน ควรจัดหาหรือสร้าง วีดิโอคลิปที่จะน�ามาเป็นเนื้อหาการเรียนรู้ให้เสร็จก่อนทั้งหมด แล้วก�าหนดกิจกรรม การเรียนรู้ให้สอดคล้องกับคลิปวีดิโอที่จะใช้ หลังจากนั้นผู้สอนจะน�าไฟล์เอกสารและคลิปวีดิโอขึ้นเก็บไว้ บนเว็บไซต์ ClassStart อย่างเป็นระบบ ดังนั้นจึงเห็นได้ว่าผู้สอนจะต้องเปิดใจรับการ เปลี่ยนแปลงของ เทคโนโลยีสารสนเทศและมีความสามารถในการเรียนรู้ เทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ ก่อน และนับตั้งแต่วันแรกของการเรียนการสอนแบบกลับทางห้องเรียน เครื่องมืออย่างหนึ่งที่ควร น�ามาใช้คือ บันทึกการเรียนรู้ (Reflective Journal) ที่มีอยู่ใน ClassStart ผู้สอนควรก�าหนดให้ผู้เรียน บันทึก การเรียนรู้ลงใน ClassStart เพื่อเป็นเครื่องมือที่ช่วยให้ผู้เรียน ทุกคนและผู้สอนได้ฝึกทักษะด้าน การคิดวิเคราะห์ ทักษะการ สื่อสารด้านการเขียน และทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง โดยผู้สอน ควรแจ้ง ข้อตกลงความถี่ของการเขียนบันทึกและแนวทางเขียนบันทึก ให้ชัดเจน เช่น ผู้สอนอาจก�าหนดให้ ผูเ้ รียนเขียนทบทวนความรูท้ ตี่ นเอง ได้รบั ความรูท้ ยี่ งั ต้องศึกษาหาเพิม่ เติมขึน้ อีก การวางแผนการเรียนรู้ รายวัน ความเห็นต่อกิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียน เป็นต้น และผู้สอน ต้องพยายามอ่านบันทึกการเรียน รู้ของผู้เรียนทุกคน กด Like ให้ก�าลังใจ ผู้เรียน และให้ความเห็นต่อยอดบันทึกของผู้เรียนอีกด้วย เมื่อการเรียนการสอนผ่านไประยะหนึ่งผู้เรียนจะพบว่า บันทึกการเรียนรู้ทั้งหมดที่แต่ละคน เขียนถ่ายทอดไว้นี้เป็นเหมือนคลัง ความรู้ของชั้นเรียนที่จะถูกหยิบมาใช้เพื่อทบทวนเนือ้ หาก่อน การสอบ ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งบันทึกการเรียนรู้จะเหมือนเป็นพื้นที่ เสมือนในการแบ่งปันวิชาการและความสุขความ สนุกของผู้เรียนและ ผู้สอนที่จะส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้ในห้องเรียนจริงอีกด้วย อีกหน้าทีค่ วามรับผิดชอบหนึง่ ทีเ่ ปลีย่ นไปของผูส้ อนคือ ผูส้ อน จะต้องพยายามหาสมดุลการเรียน รู้ทางออนไลน์และออฟไลน์เพื่อ ให้การเรียนรู้ได้เกิดขึ้นโดยตลอดเวลา นอกจากการจัดการการเรียนรู้ ใน ห้องเรียนแล้ว ผู้สอนควรค้นหาความรู้ใหม่ๆ จากทางออนไลน์มาให้ แก่ผู้เรียนอย่างสม�่าเสมอและบันทึก ไว้ใน ClassStart ผู้สอนจะต้องรู้จัก ตั้งค�าถามผ่านเว็บบอร์ดหรือพื้นที่บันทึกการเรียนรู้ของห้องเรียนและ สร้างบรรยากาศกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความต้องการที่จะค้นหาวิเคราะห์ ข้อมูลความรู้เพื่อแก้ปัญหาโจทย์ และต่อยอดความรู้

28


และสิ่งที่จะมาพร้อมกับหน้าที่และทักษะใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นนี้ในตัว ผู้สอน คือ วินัย เพื่อให้ผู้เรียนได้ เกิดทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องโดย แท้จริงนั้นผู้เรียนจะต้องได้รับการให้คะแนนและความเห็นสะท้อน กลับ จากผูส้ อนอย่างทันท่วงทีโดยเฉพาะในการท�าแบบฝึกหัดทีส่ ง่ ผ่านทางชัน้ เรียนออนไลน์ และด้วยระบบ การจัดการแบบฝึกหัดของ ClassStart จะช่วยให้ผสู้ อนตรวจแบบฝึกหัดและให้คะแนนและความเห็นได้ ทันที หลังจากที่ผู้เรียนได้ส่งแบบฝึกหัดนั้นผ่านทางออนไลน์แล้ว และผู้เรียนก็จะได้รับรู้ผลการตรวจแบบฝึกหัด นั้นทันทีอีกด้วย นอกจากนี้ ClassStart ยังมีระบบประมวลผลคะแนนรวมเพื่อให้ ผู้สอนประมวลคะแนน รวมของผูเ้ รียนแต่ละคนได้อย่างง่ายดาย และเป็นหน้าทีข่ องผูส้ อนทีค่ วรจะให้ผเู้ รียนทุกคนได้รคู้ ะแนนรวม เป็น ระยะๆ เพื่อที่ผู้เรียนจะได้มีก�าลังใจในการเรียนรู้ต่อไป (2) เนือ้ หาความรู้แบบคลิปวีดิโอที่น่าสนใจต่อผู้เรียน เนื้อหาการเรียนการสอนจะเป็นสิ่งที่ผู้สอนต้องจัดหาหรือสร้าง ขึ้นมาโดยเน้นการท�าเป็นคลิป วีดิโอซึ่งจะท�าให้ผู้เรียนเข้าใจได้ง่ายกว่า การอ่านหนังสือ และผู้เรียนที่ขาดเรียนไปหรือไม่เข้าใจในเนื้อหา สามารถ ที่จะดูซ�้าได้ทุกเวลา โดย YouTube จะเป็นช่องทางออนไลน์ที่ได้รับ ความนิยมสูงสุดในการ แขวนวีดโิ อไว้โดยไม่มคี า่ ใช้จา่ ย และอีกทัง้ ยัง เป็นประโยชน์ตอ่ ผูเ้ รียนทัว่ ไปได้อกี ด้วย เช่น Khan Academy Channel ใน YouTube เป็นต้น การท�าคลิปวีดิโอเพื่อการเรียนการสอนนั้นต้องเป็นที่น่าสนใจ แก่ผู้เรียนและมีความยาวไม่เกิน 10 นาที ต่อหนึ่งคลิป โดยอาจจะเป็นการ ถ่ายวิดีโอการสอนในห้องเรียน หรืออัดเสียงการสอนแทรกลงไปในไฟล์ น�าเสนอ เช่น PowerPoint presentations หรือเป็นการคิดค้นวิธีการสอน รูปแบบใหม่แล้วน�าเสนอเป็น คลิปวีดิโอ เป็นต้น เทคโนโลยีในการท�าสื่อการสอนประกอบด้วยฮาร์ดแวร์และ ซอฟต์แวร์ ในด้านฮาร์ดแวร์สามารถ ใช้กล้องถ่ายรูป กล้องถ่ายวีดิโอ เว็บแคม แท็บเล็ต โทรศัพท์มือถือ สมาร์ทโฟน ในการถ่ายวีดิโอได้โดย สะดวก และในด้านซอฟต์แวร์ในที่ใช้การท�าคลิปวีดิโอ เช่น Camtasia Studio และ Podcast Publisher เป็นต้น (3) กิจกรรมการเรียนรู้ในห้องเรียนและทางออนไลน์ ส�าหรับห้องเรียนกลับทางแล้วนั้น เนื้อหาบทเรียนจะถูกก�าหนด ให้ผู้เรียนได้ศึกษามาก่อน นอกห้องเรียน แล้วผู้สอนจะเริ่มต้นกิจกรรม การเรียนรู้ในห้องเรียนด้วยการบรรยายสรุป และเน้นการ ตั้งค�าถาม จากเนื้อหาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และเจาะลึกในประเด็นที่ต้องใช้ ความพยายามพอสมควร ในการท�าความเข้าใจ ในการกระตุน้ ให้เกิดการกล้าคิดและกล้าพูดเพือ่ การมีสว่ นร่วม ในชัน้ เรียนของผูเ้ รียนนัน้ ผูส้ อนจะ ต้องมีทกั ษะในการสร้างบรรยากาศ ในการเรียนรูแ้ ละความเป็นกันเองเพือ่ ให้ผเู้ รียนกล้าทีจ่ ะลองผิดลองถูก ผู้สอนควรจะสร้างความเคยชินในการถามตอบด้วยค�าถามง่ายๆ และ ใช้คะแนนเป็นรางวัล หรืออาจจะใช้ การถามตอบแบบกลุม่ แทนถาม ตอบแบบเดีย่ วบ้างก็สามารถสร้างความคุน้ เคยในการถามตอบได้ เช่นกัน และในการบันทึกคะแนนการมีส่วนร่วมนี้สามารถด�าเนิน การได้โดยสะดวกผ่าน ClassStart อีกทัง้ ผูส้ อนสามารถประยุกต์ใช้เครือ่ งมือต่างๆ ที ่ ClassStart มีให้ ในห้องเรียนออนไลน์ในการท�า กิจกรรมการแลกเปลีย่ นเรียนรูผ้ า่ นทางออนไลน์ได้ดว้ ย เช่น สนทนาทางเว็บ บอร์ดด�าเนินการแลกเปลีย่ น เรียนรู้โดยผู้สอน การเชิญผู้เชี่ยวชาญมาเป็น แขกรับเชิญเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้เรียนทางออนไลน์ หรือการก�าหนด ให้ผู้เรียนบันทึกวิเคราะห์เนื้อหาประเด็นที่ก�าหนดแล้วท�าการ Vote บันทึก ที่ได้รับความ เห็นหรือการกดชอบ (Like) มากที่สุดจ�านวน 5 บันทึกเพื่อ เลือกมาให้รางวัลและนามาสนทนาพูดคุยกัน ต่อในห้องเรียน เป็นต้น

29


กลับทางห้องเรียนคณิตศาสตร์

ภำพที่ 27 จำก http://202.28.68.27/executive/wu_ex.php

ดร.สุพิศ ฤทธิ์แก้ว ผู้อ�านวยการศูนย์บริการการศึกษา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

......จากการสอนผ่านไป 2 สัปดาห์ ผมพบสิ่งใหม่หลายอย่าง พบว่าผมได้มี โอกาสเ รี ย นรู ้ พ ฤติ ก รรมการเรี ย นการเสาะแสวง หาความรู ้ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ ไ ปค้ น คว้ า เอกสารมา และเชิญชวน ให้เพื่อนได้เข้าไปเรียนรู้ศึกษาด้วย.....

ช่วงปีที่ผ่านมา (2555-2556) ผมมีโอกาสเข้าร่วมอบรมสัมมนา หลักสูตรต่างๆ ที่สถาบันคลัง สมองของชาติ เป็นผู้ด�าเนินการโดย เฉพาะอย่างยิ่งครั้งล่าสุดที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับสถาบัน คลังสมองของชาติ เป็นเจ้าภาพจัดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เรื่อง “Academic Transformation” (ซึ่ง ศาสตราจารย์นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช ให้ความหมายว่าการเปลี่ยนโฉมการศึกษา) บรรยากาศของการ ประชุมเริ่มต้นด้วยค�าปรารภของศาสตราจารย์ ดร.ปิยะวัติ บุญ-หลง ว่าจะท�าอย่างไรให้การเรียนการสอน ยุคปัจจุบันปรับสู่ยุคใหม่ที่ใช้ ศักยภาพของทั้งนักศึกษา อาจารย์ และเทคโนโลยีที่มีอยู่อย่างเต็มที่ น่าจะ ถึงเวลาแล้วที่มหาวิทยาลัยในฐานะสถาบันอุดมศึกษา ควรจะ จัดการเรื่องนี้อย่างจริงจัง จากนั้นตัวแทน จากสถาบันเจ้าภาพ เล่า ว่า ในภาคการศึกษาที่ 1/2556 นี้ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จะ ผลักดันตัวเอง ให้เป็นตลาดวิชาเพื่อปวงชนชาวไทย โดยอ้างอิงถึง อาจารย์ 2 ท่านของมหาวิทยาลัย Stanford ที่ช่วยกัน สร้างเว็บไซต์ ชื่อ coursera (www.coursera.org) เพื่อให้นักศึกษาผู้สนใจจากทั้งโลกเข้าไป เรียนรู้ โดย ไม่มีค่าใช้จ่าย ซึ่งขณะนี้มีรายวิชาประมาณ 380 วิชา สมาชิก ผู้สนใจร่วมสามล้านห้าแสนคน ในการ ประชุมครั้งนี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.กร ศรเลิศล้าวาณิช เป็นตัวแทนจากมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้ เล่าถึงพัฒนาการของการจัดการศึกษาจากอดีตจนถึงปัจจุบนั ล่าสุดเกิด แนวคิด เรือ่ ง “Flipped Classroom” โดยท่าน อาจารย์ ดร. จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ พัฒนาเว็บไซต์ ชื่อ classstart ขึ้น(www.classstart.org) เพื่อ เปิดโอกาสให้ครูอาจารย์จากสถาบันการศึกษาทุกระดับทั่วประเทศ ได้ใช้ เป็นห้องเรียน ซึ่งขณะนั้นมีผู้ใช้ บริการของ classstart ประมาณ 75,000 คน มีรายวิชา 7,000 รายวิชา จาก 1,500 สถาบันการศึกษา ผมฟังด้วย ความสนใจ และค้นหาเรือ่ งนีเ้ พิม่ เติมในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ จนกระทัง่ พบ ว่ามีการบันทึกการประชุม เรื่อง “สอนอย่างไร ในศตวรรษที่ 21” ที่มีท่านศาสตราจารย์นายแพทย์วิจารณ์ พานิช และ ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ เป็นวิทยากรโดยบันทึกเป็น Youtube ไว้ 4 ตอน ในตอนที่ 3

30


และ 4 ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ ได้เล่าถึงประสบการณ์ การจัดการเรียนรู้ โดย Flipped Classroom ผ่าน classstart ในระยะ 2 ปี ที่ผ่านมา ประกอบกับก่อนหน้านี้ผมได้เรียนรู้เรื่อง course redesign ซึ่งเป็นการ ออกแบบกระบวนวิชาใหม่มีรูปแบบต่าง ๆ 6 รูปแบบ คือ The Supplemented model, The Replacement model, The Emporium model, The Fully online model, The Linked workshop model, และ The Buffet model เมื่อด�าเนินการแล้วต้องได้ถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักศึกษา และลดค่าใช้ จ่าย ในการจัดการศึกษา ที่สถาบันคลังสมองของชาติเป็นผู้จัดสัมมนา ผมจึงตัดสินใจใช้การสอนแบบกลับ ทางห้องเรียนกับรายวิชาคณิตศาสตร์ พื้นฐาน หนึ่งสัปดาห์ก่อนเปิดภาคการศึกษา ผมจึงเข้าไปสมัครเป็น สมาชิกของ classstart และเปิดชั้นเรียน โดยเข้าไปบันทึกไว้ในส่วนที่เป็น กระดานสนทนา เพื่อจะแจ้ง นักศึกษาทราบว่า “ส�าหรับการเรียน วิชานี้ ผู้สอนตั้งใจที่จะใช้รูปแบบที่เรียกว่า Flipped classroom กล่าว คือเป็นกระบวนการเรียนการสอนทีป่ รับทิศทางใหม่จาก เดิมทีน่ กั ศึกษาต้องเข้าชัน้ เรียนเพือ่ ฟังค�าบรรยาย และกลับไป ท�าแบบฝึกหัดหรือทบทวนความรูท้ บี่ า้ น (หอพัก) มาเป็นวิธที ี่ นักศึกษาจะต้องไปหาความรูจ้ าก ภายนอกห้องเรียนไม่ว่าจะเป็น ห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ หรือการใช้ Search engine เช่น Google Yahoo หรือ เว็บไซต์ต่าง ๆ เช่น Youtube รวมถึง Facebook ที่เหมาะกับนักศึกษายุคปัจจุบัน หลังจาก นั้นนักศึกษาจะ ได้ประมวลผลการเรียนรู้ แล้วน�ามาใช้เป็นโจทย์ปัญหาในชั้นเรียน เพราะฉะนั้นบรรยากาศ ในชั้นเรียนจะเป็นการน�าเสนอความรู้ด้วย ตัวนักศึกษาเอง ผ่านการระดมสมอง การร่วมกันแก้ปัญหาและ การท�าแบบฝึกหัด” ผมเองได้เสนอตัวอย่างเว็บไซต์ทเี่ กีย่ วข้องกับ รายวิชานี้ไว้จา� นวนหนึง่ ด้วย ในชัน้ เรียน classstart ยังมีส่วนที่เป็น ความเคลื่อนไหว ข่าวประกาศ เอกสารการสอน แบบฝึกหัด คะแนน เก็บจาก ภายนอก และบันทึกการเรียนรู้ ซึ่งในส่วนของเอกสารการสอน ผมก็น�าเสนอ ประมวลรายวิชา เนื้อหาวิชา ตลอดหลักสูตร เอกสาร ทีเ่ ป็นการทบทวนความรูพ้ นื้ ฐาน และเมือ่ ท�าการสอนแล้วเสร็จ ในแต่ละคาบ มีการ บันทึกผ่าน Youtube ให้ผู้เรียนได้เข้ามาศึกษาทบทวน ได้ตลอดเวลา ปรากฏว่าชั่วโมงแรกของการสอน ผมได้แนะน�านักศึกษาเรื่อง การเรียนการสอนผ่าน www. classstart.org พอตกเย็นมีนักศึกษาหลาย คนได้ไปค้นคว้าแหล่งความรู้ แล้วน�าเสนอไว้ผ่าน classstart บางคน สามารถค้นหาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่ได้เรียนผ่านไป และที่ ต้องเรียนในคาบถัดไป ซึ่ง ต่อมาผมเลือกใช้ประกอบการสอนมาจนถึง วันนี้ (ย่างเข้าสัปดาห์ที่ 3 ของการเรียน) และผมก็ได้แจ้งให้ นักศึกษา ทุกคนทราบว่า หากเอกสารของใครที่ผมเลือกมาใช้ในห้องเรียน จะได้ รับคะแนนเก็บสะสมไว้ ด้วย จากการสอนผ่านไป 2 สัปดาห์ ผมพบสิ่งใหม่หลายอย่าง พบว่า ผมได้มีโอกาสเรียนรู้พฤติกรรม การเรียนการเสาะแสวงหาความรู้ของ นักศึกษาที่ไปค้นคว้าเอกสารมา และเชิญชวนให้เพื่อนได้เข้าไป เรียนรู้ ศึกษาด้วย ในชั้นเรียนหลังจากที่ผมนาเข้าสู้บทเรียนเชิงเนื้อหาในแต่ละ เรื่อง แล้วเปิดโอกาสให้ นักศึกษาที่ต้องการมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยการ แสดงวิธีแก้ปัญหาโจทย์ ประมาณ 4-5 ข้อ หน้าชั้นเรียน โดยนักศึกษา อาสาสมัครเหล่านี้ผลัดกันมาแสดงวิธีท�าให้เพื่อนดู โดยจะได้รับคะแนน ทุกครั้งหากที่มีการ ตอบถูก มีนักศึกษาบางคนที่มีความรู้พื้นฐานมาผิด ผมก็ถือโอกาสแก้ไข ซึ่งเพื่อนร่วมชั้นเรียนก็ได้เรียนรู้ ด้วย และใช้โอกาส นี้ขยายผล เรื่อง learn unlearn relearn ให้นักศึกษาทราบด้วย

31


ผมยอมรับว่าเหนื่อยเพิ่มขึ้น แต่ก็สนุกกับการได้คอยติดตาม ชี้แนะนักศึกษาผ่าน classstart และ รอคอยผลสัมฤทธิท์ จี่ ะเกิด ขึน้ จากการปรับทิศทางห้องเรียนของรายวิชานีอ้ ย่างไรก็ตามในภาคการศึกษานี้ ผมยังได้รับโอกาสจากท่าน อาจารย์ ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ รับผมให้เข้าชั้นเรียนวิชา (ซึ่งผมไม่มี พื้นฐานเลย) ที่ท่านอาจารย์สอนที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ผมจึง แสดงบทบาททั้งผู้สอนและผู้เรียน ไปพร้อมกันในภาคการศึกษานี้ ผ่าน ทาง www.classstart.org กราบขอบพระคุณท่านศาสตราจารย์นายแพทย์วจิ ารณ์ พานิช ผูซ้ งึ่ ริเริม่ จุดประกายขยายผลอย่าง ต่อเนื่องในเรื่องการจัดการ การศึกษาของชาติ ตลอดถึงท่านอาจารย์ ดร.จันทวรรณ ปิยะวัฒน์ ที่ กรุณารับ ผมเป็นศิษย์ ท�าให้ผมได้มโี อกาสปรับรูปแบบการสอนและ ความสัมพันธ์รว่ มกันในชัน้ เรียนตามที่ได้กล่าวไว้ แล้วข้างต้น สิ่งที่ ท่านด�าเนินการอยู่นี้ได้ก่อคุณูปการอย่างใหญ่หลวงให้กับการศึกษาของ ชาติ เปิดโอกาส ให้ทุกคนได้แสวงหาความรู้และเรียนรู้ตลอดชีวิต

32


บรรณำนุกรม วรพจน์ วงศ์กิจรุ่งเรือง และอธิป จิตตฤกษ์. 2554. ทักษะแห่งอนาคตใหม่/ โดย James Bellanca และ Ron Brandt. กรุงเทพฯ: openworlds วิจารณ์ พาณิช. 2555. วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ ___________. “ครูเพือ่ ศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง”. [ออนไลน์] , (2556). Accessed 5 ตุลาคม2558. Available from https://www.scbfoundation.com/stocks/c1/file/13782013511lnn3c1.pdf ___________. “ครูเพื่อศิษย์สร้างห้องเรียนกลับทาง. หมวดที่ 2 การจัดการศึกษาแบบห้องเรียนกลับด้าน” [ออนไลน์], (2556). Accessed 5 ตุลาคม2558. Available from http://arit.mcru.ac.th/km56/admin/ download/11KM_2.pdf ศิริวรรณ ฉัตรมณีรุ่งเจริญ และนางสาววรางคณา ทองนพคุณ (ม.ป.ป.) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความท้าทายใน อนาคต 21st Century Skills: The Challenges Ahead, ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต. บ�ารุง งามการ. “คุยกันเบาๆเรื่อง flipped classroom ในมุมมองของนักวิจัย” [Online], (2013). Accessed 3 ตุลาคม 2558. Available from http://www.vcharkarn.com/vblog/116087 ปางลีลา บูรพาพิชิตภัย. (2558). The Flipped Classroom กับการจัดการเรียนการสอนในประเทศไทย. ภาควิชา เทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. (Online). http://www. academia.edu/10373765/The_Flipped_Classroom_%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%9A% E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%8 1%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B 8%99%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E 0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%97 %E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2_The_Flipped_Classroom_to_Learning_ and_teaching_in_Thailand , 1 ตุลาคม 2558 EDUCAUSE. “THINGS YOU SHOULD KNOW ABOUT…™ FLIPPED CLASSROOMS1” [Online], (2012). Accessed 3 ตุลาคม 2558. Available from https://net.educause.edu/ir/library/pdf/ELI7081.pdf Oravee, Coursesquare. “Flipped Classroom มันคือห้องเรียนกลับด้าน” [Online], (2015). Accessed 3 ตุลาคม 2558. Available from http://blog.coursesquare.co/2015/01/08/what-is-flipped-classroom School in focus. “Flipped Classroom: ห้องเรียนกลับทาง” [Online], Accessed 4 ตุลาคม 2558. Available from https://sites.google.com/site/sarinee0011/home/naewkhid-thvsdi-nwatkrrm-thekhnoloyi-laeasarsnthes-kar-suksa/kar-canaek-nwatkrrm-thangkar-suksa-xac-canaek-di-dangni/tawxyangprapheth-thekhnikh-withi-kar-hrux-kickrrm/1-3-thvsdi-kar-reiyn-ru-xangkvs-learning-theory

33


จัดท�ำโดย

นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา ชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

1. นางวรายุภัสร์ ปานอาพันธ์

2. นายภูมินทร์ สุวรรณสูร

3. นางสาวสิริพร พวงสาลี

4. นางสาวชโลทร ศรีวรายุธ

5. นางสาวปริพัฒน์ หนูศรีแก้ว

6. นางสาวพันทิพา หนูซื่อตรง

7. นางสาวกิตติยา น้อยต้นวงษ์

8. นางสาวสุภาณี ทัพขวา

9. นางสาวเบญจวรรณ ชีวานนท์

34


FLIPPED CLASSROOM “กลับดา นการเรียนรู” สู ห อง เรี ยนใ น ศ ต ว รรษ ท่ี 2 1


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.