วิทยาศาสตร์

Page 1


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ร่างกายของเรา บทที่ 1 การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง การเจริญเติบโตของร่างกาย (1) ชื่อ – สกุล ______________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ ____________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์

1. การปฏิสนธิ (Fertilization) เกิดจาก.......................................... (sperm) ของเพศชาย รวมกับ...................................... (egg หรือ ovum) ของเพศหญิง นิวเคลียสจะรวมรวมตัวกันภายใน 10 – 12 ชั่วโมง 2. เมื่อปฏิสนธิแล้ว ประมาณ 30 – 37 ชั่วโมง ไข่ที่ถูกผสมแล้วจะมีการแบ่งตัว เรียกว่า...................................... (zygote) 3. หลังจากนั้นประมาณ 7 วัน กลุ่มเซลล์จะเคลื่อนไปฝังตัวที่ผนังมดลูกซึ่งหนาตัวขึ้น เพื่อรองรับไข่ที่ได้รับการผสม เรียก กลุ่มเซลล์นั้นว่า.................................. (embryo) 4. หลังจากปฏิสนธิ ประมาณ 8 สัปดาห์ จะมีอวัยวะภายในและภายนอกปรากฏครบ เรียกระยะนี้ว่า..................... (fetus) 5. เมื่อทารกเจริญเติบโตอยู่ในครรภ์จนครบกําหนดคลอดคือ ประมาณ........................... เดือน (38 สัปดาห์ หรือ 280 วัน) 6. ฝาแฝด มี 2 ประเภท คือ 6.1 ฝาแฝดร่วมไข่ หรือ ฝาแฝดแท้ เกิดจากไข่..............ใบ ผสมกับ อสุจิ..............ตัว เป็นไซโกตเดียว เป็นเพศเดียวกัน รูปร่างลักษณะเหมือนกัน นิสัยคล้ายคลึงกัน ถ้ามีบางส่วนติดกัน จะเรียกว่า แฝดสยาม เช่น อิน-จัน หรือ ทิวา-ราตรี 6.2 ฝาแฝดต่างไข่ หรือ ฝาแฝดเทียม เกิดจากไข่...........................ใบ ผสมกับ อสุจิ..........................ตัว ได้หลายไซโกต อาจเป็นเพศเดียวกันหรือต่างเพศ รูปร่างหน้าตาเทียบได้กับพี่น้องท้องเดียวกัน 7. การแท้ง คือ การที่ทารกคลอดก่อนอายุครรภ์จะครบ ................... สัปดาห์ หรือมีน้ําหนักน้อยกว่า ......................... กรัม 8. การคลอดก่อนกําหนด คือ การที่ทารกคลอดในช่วงอายุครรภ์ ............................................................................ สัปดาห์ 9. การท้องนอกมดลูก คือ การที่ไข่ได้รับการปฏิสนธิแล้วไปฝังตัวที่บริเวณอื่นที่ไม่ใช่ ....................... เช่น บริเวณช่องคลอด หรือปีกมดลูก ซึ่งอาจเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ 10. การพิการแต่กําเนิด หมายถึงเกิดความผิดปกติขณะตั้งครรภ์ อาจมีสาเหตุมาจาก .......................................................... ................................................................................................................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง การเจริญเติบโตของร่างกาย (2) ชื่อ – สกุล ______________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ ____________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอธิบายการเจริญเติบโตของร่างกายในช่วงวัยต่างๆ ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ขณะที่ร่างกายเจริญเติบโต มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่าง เช่น ........................................................................................... ............................................................................................................................. ..................................................................... 2. เราสังเกตการเจริญเติบโตได้จากการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของร่างกาย โดย 2.1 เด็กแรกเกิดมีสัดส่วนของเส้นรอบวงศีรษะ.....................................................................................เส้นรอบอกเล็กน้อย 2.2 อายุ 1 ปีขึ้นไป สัดส่วนของเส้นรอบวงศีรษะจะ..........................................................................................เส้นรอบอก 2.2 อายุ 5 ปีขึ้นไป สัดส่วนของเส้นรอบวงศีรษะจะ..........................................................................................เส้นรอบอก วัย

อายุ

ระยะก่อนเกิด

0 – 9 เดือน

วัยทารก

แรกเกิด – 1 ปี วัยก่อนเรียน

วัยเด็ก

1 – 6 ปี วัยเรียน 6 – 12 ปี

วัยรุ่น

13 – 19 ปี วัยหนุ่มสาว 20 – 39 ปี

วัยผู้ใหญ่

วัยกลางคน 40 – 59 ปี วัยชรา 60 ปีขึ้นไป

การเจริญเติบโต


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง การเจริญเติบโตของร่างกาย (3) ชื่อ – สกุล ______________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ ____________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด _______ 1. ช่วงอายุ 6 - 10 ปี เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงจะมีการเจริญเติบโตต่างกันอย่างชัดเจน _______ 2. ช่วงอายุ 10 - 13 ปี เด็กผู้ชายจะมีมวลและความสูงน้อยกว่าเด็กผู้หญิง _______ 3. ช่วงอายุ 14 ปีขึ้นไปจนเป็นผู้ใหญ่ เด็กผู้ชายจะมีมวลและความสูงมากกว่าเด็กผู้หญิง _______ 4. ช่วงอายุ 14 - 15 ปี เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีการเจริญเติบโตแตกต่างกันอย่างชัดเจน _______ 5. เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วทั้งสองเพศมีมวลและความสูงเท่ากัน _______ 6. เมื่อเจริญเติบโตเต็มที่แล้วเพศชายจะมีมวลและความสูงมากกว่าเพศหญิง _______ 7. ช่วงอายุ 16 - 17 ปี มวลและความสูงของเพศหญิงจะคงที่ _______ 8. ช่วงอายุ 18 - 20 ปี มวลและความสูงของเพศชายจะคงที่ _______ 9. การเจริญเติบโตของร่างกายที่สมส่วนมีปัจจัยที่สําคัญ คือ รับประทานอาหารที่มี โปรตีนมากๆ ออกกําลังกาย สม่ําเสมอ _______ 10. สารเสพติดบางชนิดช่วยทําให้ร่างกายเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปกติ _______ 11. ความอ้วน ความผอม เป็นผลที่มาจากการเจริญเติบโตมากเกินไป หรือเติบโตน้อยเกินไป _______ 12. ปัจจัยที่ทําให้การเจริญเติบโตเป็นไปตามปกติและสมส่วน คือ รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ อย่างได้สัดส่วน กับความต้องการของร่างกาย ออกกําลังกายสม่ําเสมอ พักผ่อน เพียงพอ ไม่เสพสารเสพติดต่างๆ _______ 13. ถ้ามีข้อมูลมวลและความสูงของเพื่อนๆ ประมาณ 200 คน ขณะอายุ 12 ปี สามารถหาความจริงเกี่ยวกับ เด็กหญิงมีมวลและความสูงมากกว่าเด็กชายได้ _______ 14. การเจริญเติบโตของเพศชายและเพศหญิงเป็นไปตามพันธุกรรมของแต่ละบุคคลด้วย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง การเจริญเติบโตของร่างกาย (4) ชื่อ – สกุล ______________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ ____________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. มวลของร่างกายมีหน่วยเป็น _________________________________________________________________ 2. ความสูงและความยาวของส่วนต่างๆ ของร่างกายมีหน่วยเป็น _________________________________________ 3. ร่างกายมนุษย์จะมีการเจริญเติบโตจากวัย ___________วัย______________วัย___________ และวัย_________ 4. ช่วงวัยรุ่นเพศชายจะมีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน เช่น _________________________________________________ 5. ช่วงวัยรุ่นเพศหญิงจะมีการเปลี่ยนแปลงชัดเจน เช่น ________________________________________________ 6. _____________________________________________ของร่างกายจะเจริญเติบโตได้เร็วกว่าส่วนอื่นของร่างกาย 7. ความสูงของร่างกายจะคงที่เมื่ออายุประมาณ ___________________________________________________ ปี 8. ช่วงวัยรุ่นเพศ ________________________ จะเจริญเติบโตได้เร็วกว่าวัยรุ่นเพศ _________________________ 9. ร่างกายที่อ้วนหรือผอมมากเกินไปมีเหตุมาจาก ____________________________________________________ 10. ร่างกายที่เจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้นวัดได้จาก ______________________________________________________ 11. อวัยวะสืบพันธุ์ของมนุษย์จะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วเมื่อถึง _________________________________________ 12. ช่วงที่เด็กเกิดมาจะเจริญเติบโตเร็วมากช่วง ______________________________________________________ 13. ทารกแรกเกิดจะมีมวลประมาณ ______________ กิโลกรัมและลําตัวยาวประมาณ _______________ เซนติเมตร 14. การลดความอ้วนเราควรรับประทานอาหาร _______________________ แต่ควร ________________________ เช่น ________________________________ และต้อง _____________________________________________ 15. การสลายโปรตีนเพื่อให้เป็นพลังงานจะได้ของเสียที่เป็นพิษคือ ________________________________________ 16. พลังงานที่ร่างกายต้องการจากอาหารจะได้รับสารอาหารประเภท _____________________________________ 17. การสลายคาร์โบไฮเดรตเพื่อให้ได้พลังงานแก่ร่างกายจะได้แก๊ส ____________________________________ และ ร่างกายกําจัดออกทาง _______________________________________________________________________ 18. โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และไขมันต่างก็เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย แต่ไม่สามารถ รับประทานทดแทนกัน ได้เพราะ _________________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คาชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. อาหาร คือ ......................................................................................................................................................................... จัดออกเป็น ............. หมู่ ตามการจัดของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ดังนี้ หมู่ ........................................................................................................... หมู่ ........................................................................................................... หมู่ ........................................................................................................... หมู่ ........................................................................................................... หมู่ ........................................................................................................... 2. สารอาหาร คือ ............................................................................................................. ...................................................... ..........................................(Carbohydrate) ให้พลังงาน สารอาหาร (Nutrient)

..........................................(Protein)

สารอินทรีย์

..........................................(Lipid) ..........................................(Vitamin) ไม่ให้พลังงาน

..........................................(Mineral)

สารอนินทรีย์

..........................................(Water) ประเภทสารอาหาร คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามินและเกลือแร่

ประโยชน์

ตัวอย่างอาหาร


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด _______1. สารอาหารมีทั้งหมด 7 ประเภท _______2. คาร์โบไฮเดรตเป็นสารอาหารที่สําคัญที่สุดในบรรดาสารอาหารทั้งหมด _______3. สารอาหารช่วยทําให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง และมีภูมิต้านทานโรค _______4. วิตามินและแร่ธาตุเป็นสารอาหารที่ทําให้ร่างกายมีพลังงาน _______5. สารอาหารที่ให้พลังงานต่อร่างกายสูงสุด คือ คาร์โบไฮเดรต _______6. แก้วตารับประทานข้าวเหนียวหมูปิ้งได้พลังงานน้อยกว่ารับประทานข้าวต้มกับผักดอง _______7. ถั่วเหลืองเป็นวัตถุดิบที่นํามาทําน้ําเต้าหู้ น้ําเต้าหู้หรือน้ํานมถั่วเหลือง มีสารอาหาร ประเภทโปรตีนสูง _______8. แร่ธาตุที่ทําให้คนเป็นโรคคอพอกมีอยู่ในเกลือสินเธาว์มากกว่าเกลือสมุทรหรือเกลือแกง _______9. ผลไม้ที่มีรสเปรี้ยวมากๆ ก็จะมีวิตามินซีมาก _______10. มะขามปูอมและฝรั่งมีวิตามินซีมากกว่าผลไม้หลายชนิด _______11. อินทผาลัมเป็นผลไม้จากดินแถบทะเลทรายที่มีสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตสูงมาก _______12. มะพร้าวเป็นผลไม้ที่มีสารอาหารประเภทโปรตีนและไขมันสูง _______13. แตงโม สับปะรด มะเขือเทศ องุ่น เป็นผลไม้ที่สามารถให้น้ําได้มาก _______14. ข้าวสวยไข่เจียวเป็นอาหารที่ให้สารอาหารครบทุกประเภท _______15. แปูงข้าวเจ้า แปูงข้าวเหนียว แปูงมันสําปะหลังให้คุณค่าสารอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรตได้เหมือนกัน แต่ไม่เท่ากัน _______16. หมู่เนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว น้ํานม เป็นอาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีนและให้พลังงาน 5 กิโลแคลอรีต่อกรัม _______17. อาหารที่ให้สารอาหารประเภทโปรตีน ทําให้ร่างกายเจริญเติบโต มีสุขภาพดี สร้างเสริมและซ่อมแซมส่วนที่ สึกหรอ ควบคุมการทํางานของร่างกายให้เป็นปกติ _______18. หมู่แปูงและน้ําตาล เป็นอาหารจําพวก ข้าว แปูง เผือก มัน และน้ําตาล เป็นอาหารที่ให้สารอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต ซึ่งให้พลังงานแก่รางกาย 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม _______19. สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตจะให้พลังงานแก่ร่างกาย 4 กิโลแคลอรีต่อกรัม _______20. แปูงข้าวเจ้า แปูงสาลี แปูงทาหน้า แปูงทาลดความคัน แปูงมันสําปะหลัง แปูงข้าวเหนียว เป็นแปูงที่อยู่ใน หมู่แปูงและน้ําตาล _______21. หมู่ผักเป็นอาหารจําพวกพืชผัก เป็นอาหารที่สารอาหารประเภทวิตามินและแร่ธาตุแก่ร่างกายเพื่อที่ร่างกาย จะนําไปสร้างกล้ามเนื้อ _______22. อาหารหมู่ผักจะให้พลังงานกับร่างกาย 6 กิโลแคลอรีต่อกรัม _______23. ผลไม้เป็นอาหารที่มีสารอาหารประเภท คาร์โบไฮเดรต วิตามิน และแร่ธาตุ _______24. อาหารจําพวกผลไม้ เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายรวมทั้งให้วิตามันและแร่ธาตุ _______25. หมู่ไขมันพืชและสัตว์เป็นอาหารจําพวก น้ํามันและไขมัน จากทั้งพืชและสัตว์ เป็นอาหารที่มีสารอาหาร ประเภทไขมัน _______26. อาหารจําพวกน้ํามันจากพืชและไขมันสัตว์ เป็นอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกาย 9 กิโลแคลอรีต่อกรัม _______27. ตัวอาหารจําพวกน้ํามันและไขมัน เช่น น้ํามันมะพร้าว น้ํามันงา น้ํามันปลา น้ํามันรํา น้ํามันถั่วหลัง ไขมันวัว ไขมันหมู


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเรียงลําดับอาหารที่กําหนดให้ โดยเรียงตามการให้สารอาหารแก่ร่างกาย เมื่อบริโภคเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งมีระดับสารอาหารดังนี้ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน แร่ธาตุ ตามลําดับ 1. ไก่ทอด ขนมปัง แอปเปิ้ล ผักกาดขาว น้ํากะทิ โปรตีน ไขมัน

คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

2. เนื้อติดมันแดดเดียว นมสด ขนมปังปิง้ ผักสด ผลไม้สด โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

3. เฟรนช์ฟรายด์ ไก่อบ ส้ม ผักสลัด น้ําสลัดน้ําข้น โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

4. ส้มโอ ต้นหอมสด ขนมฟักทอง ส่วนท้องปลาสวาย เนื้อปลาสวาย โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

5. หมูสะเต๊ะ น้ําอาจาด ขนมปังปิ้ง ครีมทาขนมปัง เงาะโรงเรียน โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

6. แตงกวา น้ําสลัด ไก่ฉีก ลูกเดือย ผักกาดหอม โปรตีน ไขมัน

คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

7. น้ําหวาน ครีม น้ํานมถั่วเหลือง ส้มเขียวหวาน มะเฟือง โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

8. ไอศกรีมกะทิสด ไข่ต้ม องุ่น เผือก ลูกพลับ โปรตีน ไขมัน

คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

9. ตําลึง มะนาว น้ําเต้าหู้ ปาท่องโก๋ น้ํามันมะพร้าว โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ

10. น้ําแกงกะทิ ปลาทูทอด น้ําพริกกะปิ ผักสด ข้าวกล้องสุก โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต

วิตามิน

แร่ธาตุ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. สารที่ใช้ทดสอบสารอาหารคาร์โบไฮเดรต คือ _____________________________________________________ 2. ถ้าเราต้องการจะทดสอบว่าอาหารชนิดหนึ่งมีสารอาหารคาร์โบไฮเดรตประเภทน้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว (กลูโคส) หรือไม่ ควรใช้_____________________________________________________________________________ ทดสอบ 3. ถ้าต้องการทดสอบว่าน้ําต้มกระดูกและซี่โครงไก่มีสารอาหารประเภทโปรตีนหรือไม่ ควรทดสอบด้วยสารละลาย _________________ ซึ่งเกิดจาก ____________________________ ผสมกับ____________________________ 4. ไขมันเป็นสารอาหารที่ทดสอบได้ด้วย ___________________________________________________________ 5. การทดสอบสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตชนิดที่เป็นแปูงด้วยสารละลายไอโอดีนจะทําให้________ ของสารละลาย ไอโอดีนเปลี่ยนจาก ________________________________ เป็น _____________________________________ 6. การทดสอบสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรตชนิดที่เป็นน้ําตาลด้วยสารละลายเบเนดิกต์จะทําให้____________ ของ สารละลายเบเนดิกต์เปลี่ยนจาก __________________________ เป็น __________________________________ 7. การทดสอบสารอาหารประเภทโปรตีนด้วยสารไบยูเร็ตจะทําให้ _______________ ของสารละลายไบยูเร็ตเปลี่ยนจาก ___________________________________________ เป็น _________________________________________ 8. น้ําหนักของมนุษย์ถ้าแบ่งเป็นส่วน 3 ส่วน 2 ส่วน ใน 3 ส่วน คือ _______________________________________ 9. น้ํามีสูตรโครงสร้างทางเคมี คือ _______________________________________________________________ 10. น้ํามีความสําคัญต่อร่างกาย คือ ______________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ 11. แก้วตาต้องการลดความอ้วนสิ่งที่ควรทําคือ ลดปริมาณอาหารประเภท __________________________________ และเพิ่มปริมาณอาหารประเภท _________________________________________________________________ 12. กล้าหาญชอบกินผักและผลไม้มากควรระวัง _____________________________________________________ 13. น้ําหนักของกล้าหาญน้อยกว่ามาตรฐาน กล้าหาญควรทําคือ _________________________________________ เพื่อ _____________________________________________________________________________________ 14. อาหารเสริมเป็นสิ่งจําเป็นหรือไม่ __________ เพราะ _____________________________________________ 15. สารเสพติดช่วยทําให้อาหารอร่อยจริงหรือไม่ __________ เพราะ ____________________________________ 16. __________ ช่วยทําให้ร่างกายอบอุ่น และให้ ________________ แก่ร่างกายสูงสุด คือ _____ กิโลแคลอรีต่อกรัม 17. การหายใจเข้านอกจากได้รับ ______________________________ ยังได้รับน้ํา และเมื่อหายใจออกนอกจากจะนํา _____________________________________________ ออกมาแล้วยังนํา ____________________ ออกมาด้วย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง สารอาหาร หน่วยย่อย แรงที่ยึดเหนี่ยว(พันธะ)

การทดสอบ น้าตาล + สารละลาย.................................................................... เปลี่ยนจากสี ................................ เป็น ........................................ ยกเว้น .......................................................................................... แป้ง + สารละลาย.........................................................................

คาร์

เปลี่ยนจากสี ................................ เป็น ........................................

โบ ไฮ

น้ําตาลโมเลกุลเดี่ยว เช่น .................................................................................................................................

เดรต

น้ําตาลโมเลกุลคู่ เช่น ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................. .......... ....................................................................................................................................... น้ําตาลโมเลกุลใหญ่ เช่น ................................................................................................................................. โปรตีน + สารละลาย.................................................................... ซึ่งเกิดจาก...........................................+........................................

โปร ตีน

เปลี่ยนจากสี ................................ เป็น ........................................ กรดอะมิโน แบ่งเป็น ......... กลุ่ม มี ................... ชนิด ได้แก่ 1. กรดอะมิโนจําเป็น คือ ................................................................................................................................. 2. กรดอะมิโนไม่จําเป็น คือ .............................................................................................................................. ไขมัน ถูกับกระดาษ จะมีลักษณะ .................................................

ไข

กรดไขมัน แบ่งเป็น ....................... ชนิด ได้แก่

มัน

1. กรดไขมันอิ่มตัว คือ ................................................................................................................................. 2. กรดไขมันไม่อิ่มตัว คือ ..............................................................................................................................

น้า ไขมันและน้ํา เมื่อเทรวมกัน จะ ........................................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมผลการทดลองจากอาหารต่อไปนี้ว่ามีผลต่อสารใดให้ถูกต้อง อาหาร 1. ขนมกล้วย 2. เส้นก๋วยเตี๋ยว 3. ลูกชิ้นปลา 4. น้ําตาลสด 5. เนื้อวัวย่าง 6. หมึกแห้งสามรส 7. ไอศกรีมกะทิสด 8. ไก่ทอดหาดใหญ่ 9. ข้าวต้มกุ้ง 10. ข้าวเหนียวมะม่วง 11. ปาท่องโก๋ 12. น้ําพริกปลาทู 13. น้ําสตอเบอรีปั่น 14. ข้าวผัดทะเล 15. เนย 16. นมสด

สารไบยูเร็ต (ฟูา  ม่วง) ไม่เปลี่ยนแปลง (สีฟูาเหมือนเดิม)

สารละลายไอโอดีน สารละลายเบเนดิกซ์ กระดาษ (น้ําตาล  น้ําเงิน) (ฟูา  แดงอิฐ) (ทึบแสง  โปร่งแสง) ไม่เปลี่ยนแปลง เป็นสีน้ําเงิน ทึบแสง (สีฟูาเหมือนเดิม)


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (7) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมแหล่งอาหาร หน้าที่ และอาการเมื่อขาดของวิตามินและแร่ธาตุต่อไปนี้ให้ถูกต้อง วิตามิน/แร่ธาตุ 1. แคลเซียม 2. เหล็ก 3. ฟลูออไรด์ 4. วิตามินเอ 5. วิตามินดี 6. วิตามินบี 1 7. วิตามินบี 2 8. วิตามินบี 6 9. วิตามินบี 12 10. วิตามินซี 11. วิตามินอี 12. วิตามินเค

แหล่งอาหาร

หน้าที่

อาการเมื่อขาด


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (8) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่เป็นโภชนบัญญัติ 9 ประการและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ไม่ใช่โภชนบัญญัติ 9 ประการ ____________ 1. กินอาหารที่มีสารอาหารครบและหลากหลาย ____________ 2. กินอาหารประเภทแปูงและน้ําตาลมากกว่าอาหารประเภทอื่นๆ ____________ 3. กินข้าวเจ้าหรือข้าวเหนียวเป็นหลัก สลับกับอาหารประเภทน้ําตาลบางครั้ง ____________ 4. ดื่มน้ํานมสดแทนการรับประทานข้าวเป็นบางวันมื้อ ____________ 5. งดอาหารบางมื้อเพื่อไม่ให้ร่างกายรับสารอาหารมากเกินไป ____________ 6. กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย ____________ 7. กินอาหารมื้อเช้าให้น้อยกว่ามื้อกลางวันและมื้อเย็น ____________ 8. อาหารมื้อเย็นควรเป็นอาหารมีรสจัด ____________ 9. ดื่มเครื่องดื่มบํารุงกําลังบ้างเป็นครั้งคราว ____________ 10. ดื่มชากาแฟขนมหวานแทนอาหารบางมื้อได้ ____________ 11. ดื่มชาเขียวผสมน้ํานมสดเป็นประจําเพื่อลดความเป็นกรดในกระเพาะ ____________ 12. กินข้าวต้มหรือโจ๊กสัปดาห์ละครั้งเพื่อช่วยระบบย่อยอาหาร ____________ 13. กินอาหารเสริมเป็นประจําเพื่อปูองกันการขาดสารอาหารที่จําเป็น ____________ 14. กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแปูงและน้ําตาลบางมื้อ ____________ 15. กินผักผลไม้เป็นอาหารหลักสลับกับอาหารประเภทแปูงเป็นบางมื้อ ____________ 16. กินอาหารประเภทไขมันเพื่อให้ได้พลังงานพอเพียง ____________ 17. กินผักให้มากและกินผลไม้เป็นประจํา ____________ 18. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้ง ____________ 19. กินเต้าหู้และผักให้มากเพื่อปูองกันการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ร่างกาย ____________ 20. ดื่มน้ํานมให้เหมาะสมตามวัย ____________ 21. กินอาหารให้มากน้อยตามเพศและวัย ____________ 22. กินอาหารประเภทโปรตีนมากน้อยตามน้ําหนักตัว ____________ 23. กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร ____________ 24. กินอาหารที่มีกากอาหารให้มากพอควร เพื่อช่วยระบบขับถ่าย ____________ 25. ไม่กินอาหารรสจัดสุกๆดิบๆ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท การเจริญเติบโตของร่างกายกับสารอาหาร เรื่อง สารอาหาร (9) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

จากธงโภชนาการทําให้ทราบว่า  ควรรับประทานข้าวและแปูงในปริมาณ ______ ที่สุด เนื่องจากเป็นสารอาหารประเภท __________ ที่ให้พลังงาน  ควรรับประทาน ____________ และ ____________ ในปริมาณรองลงมาเพื่อให้ร่างกายได้รับ สารอาหารประเภท _____________________ และ ______________________ นอกจากนี้ยังมี _______________________ อีกด้วย  ควรรับประทาน ____________________ และ ____________________ ในปริมาณที่พอเหมาะ เพื่อให้ร่างกาย ได้ นําสารอาหารประเภท โปรตีนไป ________________________ และ ___________________________ ร่างกาย  ควรรับประทาน _________________/_______________ และ _______________ ในปริมาณน้อยเท่าที่จําเป็น


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ร่างกายของเรา บทที่ 2 ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบย่อยอาหารของเรา (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง หมายเลข 1 คือ ............................................. ภายในประกอบด้วย....................................... หมายเลข 2 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ หมายเลข 3 คือ ............................................. 11.

ทําหน้าที่ ........................................................ ....................................................................... เรียกว่าการ .................................................... หมายเลข 4 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ ช่วยย่อย ........................................................ หมายเลข 5 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ ส่งไปยัง ..........................................................

หมายเลข 6 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 7 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 8 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 9 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ...................................................ช่วยย่อยอาหารประเภท...................... หมายเลข 10 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 11 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 12 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ...................................................ช่วยย่อยอาหารประเภท...................... หมายเลข 13 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ...................................................ช่ วยย่อยอาหารประเภท...................... ....................................................ส่งไปยัง............................................... หมายเลข 14 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ............................................................................................................... ................................................................................................................ หมายเลข 15 คือ ........................................ ทําหน้าที่ ...............................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบย่อยอาหารของเรา (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด _______1. ระบบย่อยอาหาร เริ่มต้นที่หลอดอาหาร _______2. หลอดอาหารเป็นกล้ามเนื้อ _______3. หลอดอาหารเป็นส่วนเชื่อมระหว่างปากกับกระเพาะอาหาร _______4. กระเพาะอาหารเป็นถุงกล้ามเนื้อ ที่อยู่ในช่องท้องอาหารด้านหลังของปอด _______5. ระหว่างรอยต่อของหลอดอาหารกับกระเพาะอาหาร เป็นกล้ามเนื้อที่ปิดเปิด กั้นการย้อนกลับของอาหาร _______6. ส่วนของระบบย่อยอาหารต่อจากกระเพาะอาหารคือ ลําไส้ใหญ่ _______7. ส่วนของระบบย่อยอาหารต่อจากระเพาะอาหารคือ ลําไส้เล็ก _______8. ลําไส้เล็กมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลําไส้ ประมาณ 2-3 เซนติเมตร _______9. ลําไส้ใหญ่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลําไส้ ประมาณ 4-6 เซนติเมตร (2 เท่าของ ลําไส้เล็ก) _______10. ส่วนที่เป็นอวัยวะต่อจากลําไส้เล็กคือ ทวารหนัก _______11. ไส้ติ่ง คือ ส่วนของลําไส้ใหญ่ที่ไม่ได้ทําหน้าที่ _______12. ลําไส้เล็กมีความยาวประมาณ 6 เมตร ซึ่งยาวมาก _______13. ลําไส้ใหญ่มีความยาวประมาณครึ่งหนึ่งของลําไส้เล็ก คือ ประมาณ 3 เมตร _______14. ลําไส้เล็กที่มีความยาวมาก สามารถอยู่ในช่องท้องได้ เพราะขดไปมา _______15. ลําไส้ใหญ่มีเส้นผ่านศูนย์กลางใหญ่แต่มีความยาวไม่มาก เพราะทําหน้าที่รับกากอาหาร และดูดซับน้ํากลับคืน ให้ร่างกายเท่านั้น _______16. ลําไส้เล็กมีความยาวมาก เพราะต้องรับหน้าที่ย่อยอาหารและดูดซึมสารอาหารเข้าสู่กระแสเลือด _______17. ลําไส้ใหญ่อยู่ในช่องท้อง มีลักษณะคล้ายตัวแอล _______18. การต่อยท้องมีผลกระทบไปถึงลําไส้เล็ก ลําไส้ใหญ่ และอวัยวะใกล้เคียงด้วย _______19. ส่วนปลายของลําไส้ใหญ่จะสิ้นสุดลงที่ส่วนท่อสั้นๆ ที่เรียกว่า ทวารหนัก _______20. ส่วนปลายเปิดของลําไส้ใหญ่สําหรับขับถ่ายอุจจาระ คือ ไส้ตรง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบย่อยอาหารของเรา (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ______ 1. เอ็นไซม์ในปาก

ก. คาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่

______ 2. อาหารอยู่ในกระเพาะอาหาร

ข. การย่อยอาหาร

______ 3. น้ําดี

ค. ฆ่าแบคทีเรียที่ติดมากับอาหาร

______ 4. หน้าที่ของน้ําดี

ง. ทนสภาพความเป็นกรดได้

______ 5. เอนไซม์ที่ผลิตจากตับอ่อน

จ. 40 ชั่วโมง

______ 6. ลิเพส

ฉ. ไขมัน

______ 7. ทริปซิน

ช. อะไมเลส

______ 8. อาหารพักในลําไส้เล็ก

ซ. อยู่ตรงรอยต่อของกระเพาะอาหารและลําไส้เล็ก

______ 9. เอนไซม์ย่อยไม่ได้

ฌ. ทําให้โมเลกุลขนาดใหญ่ของไขมันแตกตัว

______ 10. เส้นใยอาหาร

ญ. น้ําดี

______ 11. อาหารที่ให้เส้นใยอาหารมาก

ฎ. 2 - 5 ชั่วโมง

______ 12. ช่วยในการขับถ่าย

ฏ. กรดไฮโดรคลอริก

______ 13. แบคทีเรียบางชนิดในลําไส้

ฐ. เพปซิน

______ 14. เอนไซม์ในกระเพาะอาหาร

ฑ. ไม่ใช่เอนไซม์

______ 15. สารที่ผลิตที่ตับ

ฒ. อะไมเลส ไลเพส และทริปซิน

______ 16. ตับและตับอ่อน

ณ. เส้นใยอาหาร

______ 17. เยื่อเมือกที่กระเพาะอาหาร

ด. โปรตีน

______ 18. ทํางานร่วมกับเพปซิน

ต. น้ํา

______ 19. กรดเกลือในกระเพาะอาหาร

ถ. ผัก ผลไม้ และข้าวกล้อง

______ 20. การทําให้อาหารเป็นสารอาหาร

ท. วิตามินเค


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบย่อยอาหารของเรา (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด _______1. ในลําไส้เล็กอาหารจะถูกย่อยจนกระทั่งเป็นหน่วยที่เล็กที่สุดของสารอาหาร เช่น โปรตีนถูกย่อยเป็นกรดอะมิโน ไขมันถูกย่อยเป็นกรดไขมัน คาร์โบไฮเดรตถูกย่อยไปเป็นกลูโคส _______2. ลําไส้เล็กสร้างน้ําย่อยขึ้นเองและรับมาจากตับอ่อน เพื่อย่อยอาหารประเภทโปรตีน ไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต _______3. น้ําย่อยที่ส่งมาจากตับอ่อนไปให้ลําไส้เล็กเป็นน้ําย่อยที่ช่วยย่อยอาหารประเภทไขมัน และ คาร์โบไฮเดรต _______4. ผนังของลําไส้เล็กไม่เรียบขรุขระ เต็มไปด้วยโครงสร้างคล้ายขนอ่อนๆ _______5. การที่ผนังของลําไส้เล็กมีสภาพขรุขระ มีโครงสร้างคล้ายขนอ่อนๆ เต็มไปหมด มีประโยชน์ต่อการย่อยอาหาร _______6. อาหารที่ถูกย่อยเสร็จแล้วจะเหลือกากอาหาร กากอาหารจะเดินทางไปยังลําไส้ใหญ่ _______7. เมื่ออาหารถูกย่อยจนมีขนาดเล็กจะดูดซึมเข้าสู่หลอดเลือดฝอยที่ผนังลําไส้เล็ก เพื่อลําเลียงไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย _______8. การย่อยอาหารประเภทไขมันต้องใช้น้ําดีจากถุงน้ําดีที่ตับผลิตขึ้นมา ช่วยทําให้ไขมันแตกตัวเป็นขนาดเล็กๆก่อน _______9. การดูดซึมอาหารที่ย่อยแล้วเกิดขึ้นหลายที่ไม่เฉพาะที่ลําไส้เล็กเท่านั้น _______10. ในการย่อยอาหารจะมีอาหารที่เป็นเส้นใยไม่ถูกย่อย เพราะไม่มีน้ําย่อยสําหรับย่อยเส้นใย จึงช่วยทําให้ การขับถ่ายกากอาหารออกนอกร่างกายเป็นไปด้วยความมีประสิทธิภาพ _______11. อาหารที่มีเส้นใยเป็นอาหารประเภทผัก ผลไม้ และธัญพืช _______12. กากอาหารที่มาจากลําไส้เล็กจะเคลื่อนที่เข้าสู่ลําไส้ใหญ่ ซึ่งที่ลําไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหารอีกแล้ว _______13. ที่ลําไส้ใหญ่ยังมีการดูดซึมสารอาหารที่ให้พลังงานต่อร่างกาย _______14. ลําไส้ใหญ่จะไม่มีการย่อยอาหาร แต่จะดูดซึมสารอาหารประเภทวิตามิน แร่ธาตุ น้ําตาล น้ําจากกากอาหาร จะดูดซึมเข้าสู่ระบบหมุนเวียนเลือด นําไปใช้ประโยชน์ ต่อไปอีก _______15. ปกติร่างกายของเราจะขับถ่ายกากอาหารออกจากร่างกายประมาณ 3 วันต่อครั้ง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. หัวใจของสัตว์มีกระดูกสันหลังแต่ละชนิด มีดังนี้ 1.1 ปลา มีหัวใจ ......................................ห้อง

1.2 สัตว์สะเทินน้ําสะเทินบก มีหัวใจ ...........................................ห้อง

1.3 สัตว์เลื้อยคลาน มีหัวใจ ....................ห้อง แต่................................. ยกเว้น ............................... มีหัวใจ 4 ห้องสมบูรณ์ 1.4 นกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ํานม มีหัวใจ ....................................ห้องสมบูรณ์ 2. หัวใจอยู่กลางทรวงอก ระหว่าง .......................ทั้งสองข้าง ค่อนไป ..................... เล็กน้อย ขนาดเท่า ....................ตัวเอง 2.1 หัวใจมนุษย์มี ................ห้อง แบ่งเป็นห้องบน ..............ห้อง เรียกว่า ............................................................. (Atrium) และ แบ่งเป็นห้องล่าง..............ห้อง เรียกว่า ........................................................ (Ventricle) 2.2 หัวใจห้องบนมีขนาด ......................หัวใจห้องล่าง และผนังห้องล่างจะ.......................ห้องบน เพราะสูบฉีดเลือดแรงดันสูง 2.3 ระหว่างหัวใจห้องบนกับห้องล่างจะมี.........................กัน้ อยู่ เพื่อปูองกันไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ ได้แก่ 1) ลิ้น ........................................................ (Tricuspid Valve) อยู่ระหว่างห้อง..............................กับ................................. 2) ลิ้น ........................................................ (Bicuspid Valve) อยู่ระหว่างห้อง..............................กับ................................. 3. จงระบุชื่อโครงสร้างต่างๆ ลงในแผนภาพและตอบคําถามให้ถูกต้อง

4. เลือด (Blood) ในร่างกายของคนมีของเหลวประมาณร้อยละ ................................................................... ของน้ําหนักตัว โดยจะเป็นเลือดประมาณร้อยละ.............. ซึ่งประกอบด้วย น้ําเลือด เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาว และเกล็ดเลือด 5. น้ําเลือดหรือพลาสมา (Plasma) เป็นของเหลวใสสี..........................ลําเลียงอาหารไปยังเซลล์และนําของเสียออกจากเซลล์ 6. เซลล์เม็ดเลือดแดง (Red Blood Cell) สร้างจาก .........................มีรูปร่างค่อนข้างกลมแบน เมื่อโตเต็มที่จะไม่มีนิวเคลียส มีรงควัตถุสีแดง เรียกว่า ....................................(Haemoglobin) ทําหน้าที่ลําเลียงแก๊สออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 7. เซลล์เม็ดเลือดขาว (White Blood Cell) สร้างจาก ............................................................................................................ มีขนาดใหญ่กว่าเม็ดเลือดแดง ทําหน้าที่.................................................................................................................................... 8. เกล็ดเลือด หรือเพลตเลต (Platelet) ทําหน้าที่....................................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

จากภาพการทํางานของระบบไหลเวียนเลือด มีลําดับการไหลเวียนดังต่อไปนี้ 1. หลอดเลือดดํา นําเลือดมาจาก ....................................................... ซึ่งมีปริมาณแก๊ส .................................................มาก เข้าสู่หัวใจห้อง ..........................ผ่านหลอดเลือด 2 หลอด ชื่อว่า .......................................................(superior vena cava) มาจากส่วนหัวและแขน และ ....................................................................(inferior vena cava) มาจากส่วนช่องท้องและขา 2. หัวใจห้องบนขวาบีบตัวให้เลือดไหลลงสู่หัวใจห้องล่างขวา ผ่านลิ้นหัวใจ ชื่อ….......................................(tricuspid valve) หัวใจห้องล่างขวาบีบตัวเพื่อนําเลือดไปฟอกที่ปอดผ่านหลอดเลือดชื่อ...................................................(pulmonary artery) 3. ปอดเกิดการแลกเปลี่ยนแก๊สโดยแก๊ส............................................................................จากถุงลมปอดซึมเข้าสู่กระแสเลือด และแก๊ส........................................................................................................................ที่อยู่ในกระแสเลือดซึมเข้าสู่ถุงลมปอด 4. เลือดที่ฟอกจากปอดแล้ว ซึ่งเป็นเลือดที่มีแก๊ส..............................................................................................................มาก 4.1 ไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนซ้าย ผ่านหลอดเลือดชื่อว่า.......................................................................(pulmonary vein) 4.2 หัวใจห้องบนซ้ายบีบตัวให้เลือดไหลลงสู่หัวใจห้องล่างซ้าย ผ่านลิ้นหัวใจ ชื่อ……..................................(bicuspid valve) 4.3 หัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวสูบฉีดเลือดที่มีแก๊ส.................................มาก เข้าสู่หลอดเลือดแดงชื่อ..............................(aota) ซึ่งเป็นหลอดเลือดแดงที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกายและแตกแขนงเป็นหลอดเลือดอาร์เทอรีเพื่อไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูก และเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด _______ 1. สารอาหารที่ผ่านการย่อยแล้วจะไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย โดยเลือดในระบบหมุนเวียนเลือด _______ 2. คาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนจะอยู่ในเซลล์ เลือด และลมหายใจ _______ 3. ของเสียที่อยู่ในเลือดจะถูกขับออกสู่ภายนอกโดยปอดและไตในรูปของลมหายใจออกและปัสสาวะ _______ 4. เมื่อหัวใจบีบตัว เลือดจะออกจากหัวใจ และเมื่อหัวใจคลายตัว เลือดจะเข้าสู่หัวใจ _______ 5. หัวใจเต้นอยู่ตลอดเวลา แต่เวลานอนหลับหัวใจจะเต้นช้าลงเพื่อพักผ่อน _______ 6. หัวใจมีกล้ามเนื้อที่แข็งแรงมากเรียกว่า กล้ามเนื้อลาย _______ 7. เราสามารถสั่งให้หัวใจหยดเต้นได้ เต้นช้า เต้นเร็ว ได้ตามความต้องการ _______ 8. เลือดที่ออกจากหัวใจ คือเลือดที่มีสีแดงสด _______ 9. เลือดที่กลับมาที่หัวใจ คือ เลือดที่มีสีแดงคล้ํา _______ 10. สีแดงสดของเลือดเกิดจากออกซิเจนในฮีโมโกลบิน _______ 11. สีดําคล้ําของเลือดเกิดจากปริมาณออกซิเจนในเลือดลดลง _______ 12. ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบด้วยหัวใจและหลอดเลือดขนาดต่างๆ _______ 13. หลอดเลือดที่อยู่ใกล้ชิดกับเซลล์ คือ หลอดเลือดฝอย _______ 14. หัวใจแบ่งเป็น 4 ห้อง ขนาดเท่าๆ กัน _______ 15. หัวใจห้องบนขวาจะรับเลือดเสียจากทั่วร่างกาย _______ 16. หัวใจห้องบนซ้ายจะรับเลือดจากปอด เพื่อผ่านลงสู่ห้องล่างซ้าย _______ 17. กล้ามเนื้อของหัวใจ ห้องล่างซ้ายและห้องล่างขวาจะหนากว่าห้องบนซ้ายและห้องบนขวา _______ 18. เลือดเสียจากส่วนบนของร่างกายและส่วนล่างของร่างกายจะเข้าสู่หัวใจห้องบนขวาและห้องล่างขวา _______ 19. ที่ปอดมีการแลกเปลี่ยนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจน _______ 20. หัวใจและปอดต้องทํางานอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้ระบบหมุนเวียนเลือดมีเลือดดีที่ใช้ดํารงชีวิตได้ตลอดเวลา


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. ระบบหมุนเวียนเลือดประกอบไปด้วย 1) ________________ 2) ________________ และ 3) _______________ 2. หน้าที่ของระบบหมุนเวียนเลือด คือ 1) _________________________________________________________ และ 2) ____________________________________ 3)____________________________________________ 3. __________________ ทําหน้าที่ในการสูบฉีดเลือดไปยังปอดและส่วนต่างๆ ของร่างกาย โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ หัวใจห้องบนหรือเรียกว่า ______________________ หรือหัวใจห้องล่างหรือเรียกว่า ________________________ 4. หัวใจห้องบนขวาจะรับเลือดจาก_________________________แล้วส่งต่อไปยัง __________________________ ซึ่งจะสูบฉีดเลือดไปยังปอด เพื่อแลกเปลี่ยนแก๊ส แล้วจากนั้นปอดจะส่งเลือดกลับมายัง _________________________ และส่งต่อไปยังหัวใจห้องล่างซ้าย เพื่อส่งเลือดไปยัง __________________________________________________ 5. หัวใจห้องล่างมีขนาด ________________________ หัวใจห้องบน และหัวใจ ________________________ จะมี __________________________________________ที่สุด เนื่องจากทําหน้าที่ สูบฉีดเลือดไปยังส่วนต่างๆของร่างกาย 6. ระหว่างหัวใจห้องบนและหัวใจห้องล่างจะมี _______________________________ เพื่อกั้นไม่ให้เลือดไหลย้อนกลับ 7. หลอดเลือดแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1) _________________ 2) ________________ และ 3) _______________ 8. หลอดเลือดแดงมีผนังหนาและยืดหยุ่นมาก เพราะ _________________________________________________ 9. ______________________________ เป็นหลอดเลือดขนาดเล็กที่เชื่อมต่อระหว่างหลอดเลือดแดงกับหลอดเลือดดํา ซึ่งทําหน้าที่ _________________________________________________________________ระหว่างเซลล์ต่างๆ 10. หลอดเลือดดําเป็นหลอดเลือดที่รับเลือดจากส่วนต่างๆ ของร่างกายไปแลกเปลี่ยนแก๊สที่ _____________________ 11. เลือดทําหน้าที่ลําเลียง _____________________ และ ________________________ ไปยังทุกส่วนของร่างกาย 12. เลือดแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ _________________________________________________ และเซลล์เม็ดเลือด 13. เซลล์เม็ดเลือดแดงมีรูปร่างค่อนข้างกลม แบน ตรงกลางเว้าเข้าหากัน เพราะไม่มี___________________________ มีสารสีแดงเรียกว่า ______________________ เซลล์เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ ________________________________ เซลล์เม็ดเลือดแดงจะถูกสร้างที่______________________ และถูกทําลายที่________________________ และม้าม 14. ____________________________มีรูปร่างกลม ขนาดใหญ่กว่าเซลล์เม็ดเลือดแดง และมี__________________ เซลล์เม็ดเลือดขาวมีหน้าที่_____________________________________________________________________ เซลล์เม็ดเลือดขาวจะสร้างที่_________________/_______________________/__________________________ 15. เกล็ดเลือดเป็น__________________ของเซลล์ มีหน้าที่___________________________________________ เพื่อปูองกันไม่ให้ร่างกายเสียเลือดมาก


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด _______ 1. หลอดเลือดแดง

ก. ใช้วัตถุชิ้นเล็กวางบริเวณหลอดเลือดแดง

_______ 2. หลอดเลือดดํา

ข. ออกกําลังกายไม่สม่ําเสมอ

_______ 3. หลอดเลือดฝอย

ค. ทําให้ลิ้นหัวใจปิด-เปิด

_______ 4. การออกกําลังกาย

ง. ต้องผ่าตัดเพื่อทําให้เป็นปกติ

_______ 5. การจับชีพจร

จ. ลิ้นหัวใจ

_______ 6. ลิ้นหัวใจรั่ว

ฉ. หลอดเลือดอาร์เตอรี

_______ 7. เลือดที่ออกมาจากปอด

ช. แทรกไปตามเนื้อเยื่อทุกส่วนของร่างกาย

_______ 8. เลือดที่ออกจากหัวใจ

ซ. สะสมที่ผนังหลอดเลือด

_______ 9. กล้ามเนื้อหัวใจได้รับแก๊สออกซิเจนน้อยหัวใจทํางานหนักขึ้น

ฌ. หลอดเลือดเวน

_______ 10. หลอดเลือดมีผนังหนา

ญ. มีออกซิเจนมาก

_______ 11. หลอดเลือดตีบ

ฎ. มีออกซิเจนน้อย

_______ 12. สารจําพวกไขมัน

ฏ. การสะสมของสารจําพวกไขมัน

_______ 13. กั้นหัวใจห้องบนและหัวใจห้องล่าง

ฐ. ต้องการออกซิเจนและพลังงาน

_______ 14. การหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ

ฑ. หัวใจวาย

_______ 15. ความดันเลือดบริเวณขา

ฒ. ความดันเลือดต่ําสุด

_______ 16. ความดันเลือดบริเวณศีรษะ

ณ. ความดันเลือดสูง

_______ 17. ผู้สูงอายุ

ด. โรคไต โรคเบาหวาน

_______ 18. สิ่งที่มีผลต่อความดันเลือด

ต. มี 4 เสียง

_______ 19. เสียงของหัวใจเต้น

ถ. ความดันเลือดสูงสุด

_______ 20. ทําให้หลอดเลือดอาร์เตอรีและหลอดเลือดเวนจะเชื่อมกัน

ท. หลอดเลือดฝอย

_______ 21. ผนังหลอดเลือดฝอย

ธ. มีเนื้อเยื่อผนังบางมาก


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ______ 1. หัวใจจะบีบตัวและคลายตัวเป็นจังหวะตลอดเวลาไม่มีหยุดตลอดชีวิต ______ 2. เมื่อหัวใจบีบตัวเลือดจะเข้าสู่หัวใจ ______ 3. เมื่อหัวใจคลายตัวเลือดจะออกจากหัวใจ ______ 4. การบีบและคลายของหัวใจฟังได้จากสเตทโตสโคปหรือหูฟังของแพทย์ ______ 5. การบีบและคลายของหัวใจจับสัมผัสได้จากการจับชีพจร ______ 6. หัวใจจะต้องบีบและคลายตัวตลอดเวลา เพราะเซลล์ทุกเซลล์ต้องการเลือดไปใช้เพื่อพลังงานในการดํารงชีวิต และกิจกรรมต่างๆ ______ 7. หัวใจมีกล้ามเนื้อที่ยืดหยุ่นมากจึงสามารถเต้นได้ตลอดเวลา ______ 8. การจับชีพจรควรจับที่หัวเข่า ฝุามือ และปลายนิ้ว ______ 9. การเต้นของหัวใจก่อนการออกกําลังกายจะเต้นแรงและเร็ว ______ 10. การเต้นของหัวใจหลังการออกกําลังกายจะเต้นแรงและเร็ว ______ 11. ความดันโลหิตสูงอาจทําให้หลอดเลือดแตกได้ โดยเฉพาะหลอดเลือดฝอย ______ 12. การเต้นของชีพจรมีความสัมพันธ์กับการเต้นของหัวใจ ______ 13. ถ้าหัวใจเต้นแรง ชีพจรจะเต้นแรงตามไปด้วย ______ 14. ชีพจรของผู้ชายจะมากกว่าผู้หญิง ______ 15. ชีพจรคือการเต้นของหลอดเลือด ______ 16. ชีพจรเกิดจากการขยายและคลายตัวของผนังหลอดเลือด ______ 17. การจับชีพจรที่หลอดเลือดแดงบริเวณข้อมือ ข้อพับ และลําคอ ______ 18. ขณะเราไม่ได้มีกิจกรรมใดๆ อัตราการเต้นขอชีพจรจะอยู่ที่ 60 - 100 ครั้งต่อนาที จะเต้นคงที่สม่ําเสมอ ______ 19. ถ้าร่างกายผิดปกติ การเต้นของชีพจรจะเต้นไม่สม่ําเสมอ ______ 20. กิจกรรมที่ทํา เพศ วัย ทําให้การเต้นของชีพจรมากหรือน้อยได้ ______ 21. คนที่ออกกําลังกายเป็นประจําจะมีอัตราการเต้นของหัวใจต่ํา ______ 22. ความดันโลหิต คือ แรงปะทะของเลือดกับหลอดเลือด ______ 23. หลอดเลือดที่เป็นปกติ ความดันโลหิตจะมาก เพราะเลือดถูกบีบจากหัวใจได้แรงขึ้น ______ 24. หลอดเลือดตีนตัน ทําให้เลือดผ่านไปได้น้อย หัวใจจึงต้องบีบตัวแรงขึ้น ความดันโลหิตจึงสูงขึ้นด้วย ______ 25. ความดันโลหิตของบุคคลวัย 20-25 ปี จะมีอัตราส่วนเท่ากับ 120/80


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหมุนเวียนเลือดของเรา (7) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ______ 1. อาหารที่มีไขมันสูง

ก. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ

______ 2. ข้าวขาหมู หมูกรอบ

ข. ความดันโลหิต

______ 3. ขาดการออกกําลังกาย

ค. 120/80

______ 4. เมื่อเลือดไหลเวียนไม่สะดวกในร่างกาย

ง. ลําเลียงสารอาหาร แก๊ส และของเสีย

______ 5. หัวใจเพิ่มแรงดัน

จ. อวัยวะในระบบหมุนเวียนเลือด

______ 6. โรคความดันโลหิตสูง

ฉ. ไหลเวียนไปในทางเดียวกันไม่ยอมกลับ

______ 7. หลอดเลือดตีบ

ช. วัดความดันโลหิต

______ 8. หัวใจขาดออกซิเจน

ซ. ตรวจสอบความผิดปกติของร่างกาย

______ 9. หลอดเลือดแดงที่นําเลือดไปเลี้ยงหัวใจตีบ

ฌ. เลือดไปเลี้ยงหัวใจได้น้อย

______ 10. คนไทยเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจมีสถิติสูง

ญ. โรคความดันโลหิตสูง

______ 11. แรงดันของเลือดที่เกิดจากหัวใจ

ฎ. หลอดเลือดหัวใจตีบ

กระทบกับผนังหลอดเลือด

ฏ. 60-100ครัง้ ต่อนาที

______ 12. การวัดความดันโลหิต

ฐ. หัวใจวาย

______ 13. ความดันโลหิตปกติ

ฑ. ความดันโลหิตสูงกว่า 140/90

______ 14. อัตราการเต้นของชีพจรปกติ

ฒ. หลอดเลือดแตก

______ 15. ก่อนการวินิจฉัยอาการเจ็บปุวยต่างๆ

ณ. ชีพจรเต้นเร็ว

______ 16. การไหลเวียนของเลือดในร่างกาย

ด. อาหารที่มีไขมันสูง

______ 17. หัวใจเต้นเร็ว

ต. หลอดเลือดแดง

______ 18. ระบบหมุนเวียนเลือด

ถ. ร่างกายไม่แข็งแรง

______ 19. หัวใจและหลอดเลือด

ท. ระบบหมุนเวียนเลือดแบบวงจรปิด

______ 20. เลือดออกจากหัวใจ

ธ. เอเทรียม

______ 21. การไหลเวียนของเลือดไปใน

น. หัวใจต้องเพิ่มแรงดันมากขึ้นกว่าเดิม

ทางเดียวกันไม่ไหลย้อนกลับ ______ 22. หัวใจห้องบน


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหายใจของเรา (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง หมายเลข 1 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ ....................................................................... หมายเลข 2 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ ....................................................................... หมายเลข 3 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................

11.

....................................................................... หมายเลข 4 คือ ............................................. ทําหน้าที่ ........................................................ ....................................................................... หมายเลข 5 คือ ......................... หมายเลข 8 คือ ............................... ทําหน้าที่ ..................................................................... หมายเลข 6 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 7 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ............................................................................................................... หมายเลข 9 คือ .......................................... ทําหน้าที่ ...............................................................................................................

ขณะสูดลม หายใจ 1. หายใจเข้า 2. หายใจออก

กล้ามเนื้อ กะบังลม

กล้ามเนื้อยึด กระดูกซีโครง

ปริมาตรของ ช่องอก

ความดันอากาศ ภายในช่องอก

ผลที่เกิดขึ้น


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหายใจของเรา (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ______ 1. การหายใจเข้าเริ่มจาก จมูก  หลอดลม  คอหอย  ขั้วปอด  แขนงขั้วปอด  ถุงลม ______ 2. ถุงลมของปอด 2 ข้างมีรวมกันประมาณ 300 ล้านถุง ______ 3. ปอดมีความสําคัญต่อระบบหายใจและระบบหมุนเวียนเลือดอย่างมาก ______ 4. แก๊สออกซิเจนเข้าสู่ปอดและแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากปอดด้วยทิศทางตรงกันข้าม แต่ใช้อวัยวะของ ระบบชุดเดียวกัน ______ 5. สารเคมีที่สามารถตรวจสอบแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ได้ คือ น้ําปูนใสหรือสารละลายแคลเซียมไฮดรอกไซด์ ______ 6. หายใจเข้าเพื่อนําเอาอากาศเข้าสู่ทุกส่วนของร่างกาย ______ 7. ขณะกําลังนอนหลับร่างกายใช้พลังงานมากกว่าขณะที่ตื่นและเคลื่อนไหวบ้างเล็กน้อย ______ 8. อากาศที่หายใจเข้าและอากาศที่หายใจออกจากร่างกายมีส่วนประกอบของอากาศต่างกัน ______ 9. แก๊สออกซิเจนคือสิ่งที่ได้จากการหายใจเข้า ______ 10. การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากร่างกาย คือสิ่งที่ได้จากการหายใจออก ______ 11. อากาศที่เป็นลมหายใจเข้าจะมีแก๊สออกซิเจนอยู่ประมาณ 21% ______ 12. อากาศที่เป็นลมหายใจออกจะมีฝุนละออง ไอน้ํา แก๊สอื่นๆ และแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์รวมกันไม่ถึง 1% ______ 13. อากาศที่เป็นลมหายใจออกจะมีไอน้ําและแก๊สอื่นๆ อยู่ประมาณ 2% ______ 14. อากาศที่เป็นลมหายใจออกจะมีแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ประมาณ 4% ______ 15. อากาศที่เป็นลมหายใจออกจะมีแก๊สออกซิเจนมากกว่าอากาศที่เป็นลมหายใจเข้า ______ 16. อากาศที่เป็นลมหายใจเข้าและลมหายใจออกจะมีแก๊สไนโตรเจนในปริมาณเท่ากัน ______ 17. อากาศทั่วๆไปจะมีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าปริมาณแก๊สออกซิเจน ______ 18. ลมหายใจออกมีปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์มากกว่าในลมหายใจเข้าประมาณ 4 เท่า ______ 19. ลมหายใจออกมีปริมาณแก๊สออกซิเจนลดลงเพราะร่างกายนําไปใช้ ______ 20. ไอน้ําและแก๊สอื่นๆ ซึ่งเกิดจากกระบวนการสร้างพลังงานของร่างกายทําให้มีปริมาณในลมหายใจออกมากกว่า ปริมาณในลมหายใจเข้า ______ 21. ร่างกายของเราต้องการพลังงานอยู่ตลอดเวลาแม้ว่าจะอยู่ไม่นิ่งๆ หรือกกําลังทํากิจกรรมที่ต้องใช้แรง ______ 22. พลังงานที่ร่างกายต้องการได้มาจากแก๊สออกซิเจน ______ 23. เมื่ออยู่ในที่อากาศดีๆ บริสุทธิ์ ควรหายใจเข้า-ออกแรงๆ ติดต่อกันเป็นเวลานานๆ เท่าที่เหมาะสม เพื่อสุขภาพ ของปอดและร่างกายโดยทั่วไป ______ 24. การหายใจเข้าและหายใจออกเบาๆ ช่วยลดภาวะเสี่ยงต่อการเป็นโรคถุงลมโปุงพอง ______ 25. การดูแลรักษาปอดที่ได้ผลดีมาก คือ การฝึกกลั้นหายใจให้ได้เวลานานๆ เพื่อลดการหายใจเข้าจะได้ไม่มีของ เสียเข้าไปสู่ปอด ______ 26. คนที่ใช้บริการรถเมล์ที่ต้องยืนและนั่งรอรถเมล์เป็นเวลานานต่อวันเป็นเวลาหลายๆปี มีโอกาสที่เป็นโรคถุงลม โปุงพองและมะเร็งในปอดได้ ______ 27. ควันบุหรี่จากการสูบเองหรือจากบุคคลอื่นเป็นอันตรายต่อระบบหายใจ ______ 28. ผู้สูบบุหรี่ในที่โล่งจะได้รับผลจากควันบุหรี่มากกว่าผู้ที่สูบบุหรี่ในห้องปิด ______ 29. เหตุผลสําคัญที่ทําให้ทั้งผู้สูบบุหรี่และผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มีอันตรายเหมือนกัน เพราะควันบุหรี่เข้าสู่ปอด ______ 30. สารเคมีที่มีอยู่และเกิดขึ้นเมื่อบุหรี่เกิดการเผาไหม้ คือ นิโคติน ทาร์ คาร์บอนไดออกไซด์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบหายใจของเรา (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด _______ 1. ระบบหายใจ

ก. กระดูกซี่โครง

_______ 2. เชื่อมต่อจมูกกับปอด

ข. หลอดลม

_______ 3. อยู่ใกล้หลอดลม

ค. ลด - เพิ่มปริมาณของช่องอก

_______ 4. บริเวณที่อาจเกิดอันตรายถึงเสียชีวิต

ง. กะบังลมเลื่อนขึ้น

_______ 5. ส่วนที่เชื่อมต่อกันได้กับจมูก

จ. ปอด

_______ 6. ส่วนของคอ จมูกและหู มักเป็นโรคใดรวมกัน

ฉ. กะบังลมเลื่อนลง

_______ 7. คัดจมูก

ช. สารคัดหลั่งความระคายเคือง

_______ 8. น้ํามูก

ซ. ถุงลม

_______ 9. ขนในจมูก

ฌ. หลอดอาหาร

_______ 10. โครงสร้างของจมูก

ญ. โรคหวัด

_______ 11. จํานวนของปอด

ฎ. กระดูกอ่อน

_______ 12. โรงสร้างที่ปกปูองปอด

ฏ. คอหอย

_______ 13. ส่วนที่อยู่ปลายสุดของแขนงหลอดลม

ฐ. ถุงอากาศที่มีหลอดเลือดฝอยจํานวนมาก

_______ 14. ถุงลม

ฑ. หายใจเข้าและออกลําบาก

_______ 15. การหายใจเข้า

ฒ. หู คอ

_______ 16. การหายใจออก

ณ. ดักรอฝุ​ุนละอองและสิ่งแปลกปลอม

_______ 17. การเลื่อนขึ้นลงของกะบังลม

ด. มีปอดข้างซ้ายและปอดข้างขวา

_______ 18. การเพิ่มปริมาณช่องอก

ต. แรงดันอากาศช่องอกลดลง

_______ 19. การลดปริมาณช่องอก

ถ. แรงดันอากาศช่องอกเพิ่มขึ้น

_______ 20. แก๊สออกซิเจน แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และน้ํา ท. ร่างแหหลอดเลือดฝอยที่ถุงลม


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ระบบขับถ่ายของเรา ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. ของเสียในร่างกายที่ขับออกมีสถานะใดบ้าง พร้อมยกตัวอย่าง ตอบ

ของแข็ง เช่น.............................................................................................................................................................. ของเหลว เช่น............................................................................................................................................................ แก๊ส

เช่น..............................................................................................................................................................

2. อวัยวะนี้ได้รับแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เลือดนํามา จากส่วนต่างๆของร่างกาย และกําจัดแก๊สนี้ออกทางลม หายใจออกของคนเรา อวัยวะนี้คืออวัยวะใดและตรงกับ ภาพใด ตอบ

.............................................................................

4. อวัยวะนี้จะขับของเสียในรูปเหงื่อ โดยต่อมเหงื่อสกัด ของเสียที่ปนอยู่ในกระแสเลือดออกมาในรูปเหงื่อ และ ระบายออกทางรูเหงื่อ ต่อมเหงื่อจะสร้างและขับเหงื่ออยู่ ตลอดเวลา เพื่อควบคุมอุณหภูมิของร่างกายให้เหมาะสม อวัยวะนี้คืออวัยวะใดและตรงกับภาพใด ตอบ

...............................................................................

3. กากอาหารที่เหลือจากการย่อยจะผ่านไปยังลําไส้ใหญ่ ซึ่งจะดูดซึมน้ําและเกลือแร่ออกจากกากอาหารกลับเข้าสู่ กระแสเลือด จากนั้นขับกากอาหารออกนอกร่างกายทาง อวัยวะนี้ อวัยวะนี้คืออวัยวะใดและตรงกับภาพใด

5. อวัยวะนี้จะกรองของเสียจากเลือดออกมาในรูปของน้ํา ปัสสาวะ และไหลไปรวมกันยังกระเพาะปัสสาวะ เมื่อมีน้ํา ปัสสาวะสะสมในปริมาณมากพอก็จะขับออกนอกร่างกาย ทางท่อปัสสาวะ อวัยวะนี้คืออวัยวะใดและตรงกับภาพใด

ตอบ

ตอบ

.............................................................................

ภาพ ก

ภาพ ค

.............................................................................

ภาพ ข

ภาพ ง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ร่างกายของเรา บท ระบบอวัยวะในร่างกายของเรา เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างระบบต่างๆ ในร่างกาย ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. เมื่อออกกําลังกาย ระบบต่างๆ ในร่างกายทํางานอย่างไรบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………... ............................................................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. ................................................................... ................................................................................................................................................................................................ 2. ในการออกกําลังกาย ร่างกายจะขาดระบบอวัยวะระบบใดระบบหนึ่งได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... ...................................................................................................................................................................... .......................... ................................................................................................................................................................................................ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด .......................... 1. ต้องการแก๊สออกซิเจนจากระบบหายใจ มาหล่อเลี้ยงเซลล์ .......................... 2. ต้องการสารอาหารจากระบบย่อยอาหาร มาหล่อเลี้ยงเซลล์

A. ระบบย่อยอาหาร

........................... 3. ย่อยอาหารและดูดซึมสารอาหารเข้าสู่ระบบ ไหลเวียนเลือด เพื่อนําไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย

B. ระบบหายใจ

........................... 4. ทํางานโดยหัวใจสูบฉีดเลือดเพื่อนําแก๊สออกซิเจน ที่ได้รับจากระบบหายใจไปยังระบบย่อยอาหารและ

C. ระบบไหลเวียนเลือด

ส่วนต่างๆ ........................... 5. ทํางานโดยนําแก๊สออกซิเจนจากการหายใจ เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด ........................... 6. นําแก๊สออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย และนําแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เข้าสู่ระบบหายใจ เพื่อขับออกจากร่างกายทางลมหายใจออก

D. ระบบขับถ่าย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 2 สมบัติของสารและการนาไปใช้ บทที่ 1 การจาแนกสาร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง สสาร สาร สารเนื้อเดียว สารบริสุทธ์ ธาตุ

สสาร มีสมบัติ 4 ประการ คือ 1. มีตัวตน

2. มีมวล

3. ต้องการที่อยู่

4. สัมผัสได้

สารเนื้อผสม สารละลาย -------คอลลอยด์---------แขวนลอย

สารประกอบ

โลหะ กึ่งโลหะ อโลหะ 1. สารเนื้อเดียว คือ ................................................................................................................................................................ 2. สารเนื้อผสม คือ ................................................................................................................................................................ 3. เราสามารถแยกสารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสมออกจากกันได้อย่างไร ............................................................................... 4. สารบริสุทธิ์ คือ .................................................................................................................................................................. 5. สารละลาย คือ ............................................................................................................. ...................................................... 6. เราสามารถแยกสารบริสุทธิ์และสารละลายออกจากกันได้อย่างไร .................................................................................... 7. ธาตุ คือ .............................................................................................................................................................................. 8. สารประกอบ คือ ................................................................................................................................................................ 9. เราสามารถแยกธาตุและสารประกอบออกจากกันได้อย่างไร ............................................................................................. สมบัติ

สารละลาย

คอลลอยด์

สารแขวนลอย

เล็กกว่า 10-7 cm

10-7 - 10-4 cm

ใหญ่กว่า 10-4cm

2. การผ่านกระดาษกรอง

ได้

ได้

ไม่ได้

3. การผ่านกระดาษเซลโลเฟน

ได้

ไม่ได้

ไม่ได้

ไม่ได้

ได้

ได้

1. ขนาดอนุภาค (เส้นผ่านศูนย์กลาง)

4. ปรากฏการณ์ทินดอลล์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. สิ่งต่างๆ มีองค์ประกอบ เรียกว่า......................................................................................................................................... 2. น้ําเกลือมีองค์ประกอบ 2 อย่าง คือ............................................................................................................................. ....... 3. ควันไฟมีองค์ประกอบ........................อย่าง คือ.................................................................................................................. ................................................................................................................... 4. ทองแดงมีองค์ประกอบ คือ............................................................................................................................. ................... 5. การที่สารแต่ละชนิดต่างกันเพราะ...................................................................................................................................... 6. สารที่องค์ประกอบของสิ่งต่างๆ เป็นสาร เรียกว่า............................................................................................................... 7. สารบริสุทธิ์ คือ................................................................................................................................................................... 8. สารบริสุทธิ์มี ....................ประเภท คือ............................................................................................................................. . 9. ธาตุ คือ............................................................................................................................................................................... 10. สารประกอบ คือ............................................................................................................................. .................................. 11. สารเนื้อเดียว คือ............................................................................................................................. .................................. 12. สารเนื้อผสม คือ................................................................................................................................................................ 13. สารละลาย คือ............................................................................................................................. ..................................... 14. สัญลักษณ์ของธาตุออกซิเจน คือ............................................................................................................................. ......... 15. สัญลักษณ์ของธาตุคาร์บอน คือ........................................................................................................................................ 16. สัญลักษณ์ของธาตุไฮโดรเจน คือ............................................................................................................................. ......... 17. น้ําอัดลมทุกชนิดเป็นสาร............................................................................................................................. ..................... 18. โมเลกุลของน้ํา คือ H2O จากโครงสร้างโมเลกุลน้ําเป็นสาร.............................................................................................. 19. ข้าวผัดใส่ไข่จัดเป็นสาร............................................................................................................................. ........................ 20. คาร์บอนไดออกไซด์เป็นการรวมตัวกันของธาตุคาร์บอน 1 อะตอม กับธาตุออกซิเจน 2 อะตอม เขียนสูตรโมเลกุล คือ CO2 คาร์บอนไดออกไซด์จัดเป็นสาร....................................................................................................................................... 21. ทองแดง เหล็ก อะลูมิเนียม จัดเป็นสารประเภท............................................................................................................... 22. น้ําเกลือเป็นสารละลายที่ประกอบด้วยเกลือและน้ํา เราสามารถแยกสารละลายน้ําได้หรือไม่.......................................... ด้วยวิธี............................................................................................................................. ........................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนทําเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องให้ตรงกับลักษณะของสารให้ถูกต้อง สาร 1. สาร A มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปมา 2. สาร B มีรูปร่างเป็นไปตามภาชนะที่บรรจุ 3. สาร C มีอนุภาคอยู่ห่างกันมากทําให้มีช่องว่างระหว่างอนุภาคมาก 4. สาร D มีอนุภาคที่เรียงตัวกันเป็นระเบียบและชิดกันมาก 5. สาร E อนุภาคสั่นอยู่กับที่ รูปร่างและปริมาตรจึงคงที่ 6. สาร F อนุภาคเคลื่อนที่ได้อย่างอิสระทุกทิศทุกทางไม่เป็นระเบียบ 7. สาร G อนุภาคเคลื่อนไหวได้น้อยมาก 8. สาร H ไม่สามารถรักษารูปร่างให้คงที่ได้แต่ปริมาตรคงที่ 9. สาร I มีปริมาณเท่ากับภาชนะที่ใช้บรรจุ 10. สาร J เมื่อมีอุณหภูมิสูงขึ้นจะลอยสูงขึ้น 11. สาร K จะไหลลงสู่ที่ต่ํากว่าเสมอ 12. สาร L มีปริมาตรไม่คงที่ 13. สาร M มีมวล ต้องการที่อยู่ 14. สาร N สามารถแทรกเข้าไปอยู่ในที่ว่างได้อย่างรวดเร็วและทั่วถึง 15. สาร O สามารถแทรกเข้าไปอยู่ในที่ว่างได้อย่างรวดเร็วเท่ากับ ปริมาตรที่สารมีอยู่

สถานะของสาร ของแข็ง

ของเหลว

แก๊ส


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนทําเขียนเครื่องหมาย  ลงในช่องให้ตรงกับสถานะของสารให้ถูกต้อง สถานะของสาร สาร ของแข็ง ของเหลว 1. น้ํามันปิโตรเลียม 2. ปรอท 3. กํามะถัน 4. สารส้ม 5. แก๊ส LPG 6. แก๊ส NGV 7. หมอก 8. น้ําทะเล 9. หิมะ 10. ทราย 11. ดินโคลน 12. แมกมา 13. น้ํามันพืช 14. น้ํามันเครื่อง 15. ดินลูกรัง 16. หินศิลาแลง 17. ลาวาที่เย็นแล้ว 18. น้ําพุร้อน 19. ครีม 20. ซอสมะเขือเทศ 21. น้ําสลัด 22. มันหมู 23. ท่อนไม้ 24. น้ํามันก๊าด 25. จาระบี

แก๊ส


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านสมบัติของสสารที่กําหนด แล้วระบายสีชื่อสสารในตารางพร้อมบันทึกคําตอบ

คาตอบแนวตั้ง 1. มีอนุภาคที่ยึดติดกันอย่างหนาแน่นเรียงตัวชิดกัน

คาตอบแนวนอน 1. มีรูปร่างและปริมาตรคงที่ สามารถสัมผัสได้

.............................................................................................. .............................................................................................. 2. มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ แต่มีปริมาตร 2. รักษาระดับผิวหน้าอยู่ในแนวราบเสมอ มีมวลและ คงที่ ต้องการที่อยู่ .............................................................................................. .............................................................................................. 3. มีรูปร่างและปริมาตรเปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ

3. มีอนุภาคอยู่ห่างกันมาก เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระ

.............................................................................................. ..............................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จากตารางต่อไปนี้ ให้นักเรียนนําตัวเลขข้อ 1-5 ไปเติมสถานะให้ถูกต้อง

ของแข็ง

สถานะของสาร ของเหลว

แก๊ส

คําชี้แจง : จากภาพต่อไปนี้ ให้นักเรียนนําภาพอุปกรณ์ข้อ 1-5 ว่าแต่ละภาพใช้ทดสอบหาสิ่งใดให้ถูกต้อง 1. ใช้หาปริมาตรของสสารที่อยู่ในสถานะ ของเหลว ................................................. 2. ใช้หาปริมาตรของแท่งโลหะทรงสี่เหลี่ยม มุมฉาก ....................................................... 3. ใช้หาปริมาตรของก้อนดินน้ํามัน .................................................................... 4. ใช้หามวลของอากาศในลูกโปุง .................................................................... 5. ใช้หามวลของน้ํามันพืช ....................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ ___________ความร้อน (ดูดความร้อน) การ___________________ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------การ___________________ การ___________________ --------------------------> --------------------------> <-------------------------ของแข็ง

การ___________________

<-------------------------ของเหลว

การ___________________

แก๊ส

------------------------------------------------------------------------------------------------------------การ___________________ ___________ความร้อน (คายความร้อน) 1. จงเติมคําในช่องว่างในแผนภาพและตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก ของแข็งไปเป็นของเหลว

เรียกว่า .................................................................................

2. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก ของเหลวไปเป็นแก๊ส

เรียกว่า .................................................................................

3. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก ของแข็งไปเป็นแก๊ส

เรียกว่า .................................................................................

4. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก แก๊สไปเป็นของเหลว

เรียกว่า .................................................................................

5. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก ของเหลวไปเป็นของแข็ง

เรียกว่า .................................................................................

6. การเปลี่ยนแปลงสถานะจาก แก๊สไปเป็นของแข็ง

เรียกว่า .................................................................................

2. จากแผนภาพจงเติมหมายเลขที่มีความสัมพันธ์กับคําที่กําหนดให้ต่อไปนี้ การระเหิด

.......................

การกลายเป็นไอ

.......................

การแข็งตัว

.......................

การหลอมเหลว

.......................

การควบแน่น

.......................

การระเหิดกลับ(ควบแข็ง) .......................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (7) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. ของแข็งเมื่อรับความร้อนจนถึงจุดๆหนึ่งจะเกิด ................................................................................................................. 2. การหลอมเหลวเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น .......................................................................................... ไปเป็นสถานะที่เป็น ................................................................................................................................................................ 3. ของเหลวเมื่อสูญเสียความร้อนจนถึงจุดๆ หนึ่งจะเกิด ....................................................................................................... 4. การแข็งตัวเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น ................................................................................................. ไปเป็นสถานะที่เป็น................................................................................................................................................................ 5. ของเหลวเมื่อรับความร้อนจนถึงจุดๆ หนึ่งจะเกิด............................................................................................................... 6. การกลายเป็นไอเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น ......................................................................................... ไปเป็นสถานะที่เป็น ................................................................................................................................................................ 7. ไอน้ําเมื่อสูญเสียความร้อนจนถึงจุดๆ หนึ่งจะเกิด ............................................................................................................. 8. การควบแน่นเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น .............................................................................................. ไปเป็นสถานะที่เป็น................................................................................................................................................................. 9. ของแข็งบางชนิดเมื่อรับความร้อนจนถึงจุดๆ หนึ่งจะเกิด................................................................................................... 10. การระเหิดเป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น ............................................................................................... ไปเป็นสถานะที่เป็น ................................................................................................................................................................ 11. แก๊สที่เปลี่ยนมาจากของแข็งเมื่อสูญเสียความร้อนจนถึงจุดๆ หนึ่งจะเปลี่ยนไปเป็น........................................................ 12. การระเหิดกลับ (การควบแข็ง, การพอกพูน) เป็นการเปลี่ยนแปลงสถานะจากสถานะที่เป็น .......................................... ไปเป็นสถานะที่เป็น ................................................................................................................................................................ 13. การเปลี่ยนแปลงของสารที่เปลี่ยนสถานะจากสถานะหนึ่งไปเป็นสถานะหนึ่งจัดเป็นการเปลี่ยนแปลง ................................................................................................................................................................................................ 14. การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพเป็นการเปลี่ยนแปลงภายนอกเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ ...................................................... ................................................................................................................................................................................................ 15. ปัจจัยสําคัญที่ทําให้สารเปลี่ยนแปลงสถานะ คือ ............................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (8) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. การที่สารชนิดหนึ่งกระจายอยู่ในสารอีกชนิดหนึ่งอย่างสม่ําเสมอจนมองเห็นได้ว่าเป็นเนื้อเดียวกัน เรียกว่า............................................................................................................................................................................... 2. สารที่มีลักษณะและสมบัติเหมือนกันในทุกส่วน เรียกว่า..................................................................................................... 3. สารผสมที่ไม่รวมเข้าด้วยกันเป็นเนื้อเดียวมีบางส่วนแยกกัน ยังมองเห็นเป็นสารเดิม ลักษณะและสมบัติของสารไม่เหมือน กันทุกส่วน เรียกว่า.................................................................................................................... .............................................. 4. สารละลายประกอบด้วยส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ.............................................................................................................. 5. ตัวละลาย คือ...................................................................................................................................................................... 6. ตัวทําละลาย คือ................................................................................................................................................................. 7. น้ําหวาน ตัวละลาย คือ.............................................................. ตัวทําละลาย คือ............................................................. 8. น้ําเกลือ ตัวละลาย คือ............................................................... ตัวทําละลาย คือ............................................................. 9. น้ําส้มสายชูเทียม ตัวละลาย คือ................................................. ตัวทําละลาย คือ............................................................. 10. สุรา 40 ดีกรี ตัวละลาย คือ...................................................... ตัวทําละลาย คือ............................................................ 11. น้ําอัดลม ตัวละลาย คือ............................................................ ตัวทําละลาย คือ............................................................ 12. นากเป็นสารละลาย ที่มีตัวทําละลาย คือ.................................. และตัวละลาย คือ.......................................................... 13. ทองเหลืองเป็นสารละลาย ที่มีตัวทําละลาย คือ........................ และตัวละลาย คือ......................................................... 14. อากาศเป็นสารละลาย ที่มีตัวทําละลาย คือ.............................. และตัวละลาย คือ......................................................... 15. สารเนื้อผสมที่มีอนุภาคเล็กๆ ของของแข็งกระจายอยู่เต็มในของเหลวหรือในแก๊ส เรียกว่า............................................. 16. ตัวอย่างของสารแขวนลอย เช่น........................................................................................................................................ 17. น้ําแกงส้มเป็นสาร............................................................................................................................. ................................ 18. น้ําปลาเป็นสาร....................................................................................................................................... .......................... 19. น้ําจิ้มซีฟูดเป็นสาร............................................................................................................................................................ 20. ลักษณะเฉพาะอย่างหนึ่งของแขวนลอยเมื่อตั้งทิ้งไว้นาน คือ............................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามการใช้ประโยชน์ (9) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนทําเครื่องหมาย  หน้าข้อทีถ่ ูกต้องและเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด ............. 1. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างผงฟูกับน้ําส้มสายชู เกิดสารใหม่ คือ คาร์บอนไดออกไซด์และน้ํา ............. 2. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างสารละลายจุนสีกับแอมโมเนีย เกิดสารใหม่ คือ สารที่เป็นตะกอนสีน้ําเงินและน้ํา ............. 3. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างปุ๋ยแอมโมเนียกับปูนขาว เกิดสารใหม่ คือ สารที่เป็นตะกอนสีขาวและน้ํา ............. 4. ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างปุ๋ยแอมโมเนียกับปูนขาว เกิดสารใหม่ คือ แอมโมเนียและน้ํา ............. 5. การทดลองถ้าอยากทราบเรื่องกลิ่นให้ดมโดยตรงจากภาชนะ ............. 6. การใช้แท่งแก้วคนสารให้เข้ากันหรือผสมรวมกันต้องคนสารแรงๆ สารจะได้รวมกันเร็วและเป็นเนื้อเดียวกัน ............. 7. ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดสารใหม่สังเกตได้จาก การเกิดฟองแก๊สและเกิดกลิ่นต่างไปจากสารเดิม ............. 8. ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดสารใหม่สังเกตได้จาก การเกิดตะกอนและการเปลี่ยนสีจากเดิมไปของสาร ............. 9. ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดสารใหม่สังเกตได้จาก การมีอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งเพิ่มขึ้นและลดลง ............. 10. ปฏิกิริยาเคมีที่ทําให้เกิดสารใหม่สังเกตได้จาก การมีแสงเกิดขึ้น ............. 11. การเทสารจากภาชนะหนึ่งไปอีกภาชนะหนึ่งต้องทําด้วยความระมัดระวังไม่ให้กระเด็นหรือหกล้นออกจาก ภาชนะ ............. 12. การใช้สารใช้ได้เลยตามที่เตรียมไว้ให้ไม่ต้องเสียเวลาไปอ่านฉลากข้างภาชนะ ............. 13. สนิมของเหล็กหรือสารที่เกิดขึ้นใหม่จากปฏิกิริยาเคมีของเหล็กกับแก๊สออกซิเจน ............. 14. น้ํามันในกระทะทําอาหารร้อนจนเจียวไข่สุกได้ น้ํามันที่ร้อนเป็นสารใหม่ที่เกิดจากปฏิกิริยาเคมีของน้ํามันกับ ความร้อน ............. 15. สีของเสื้อผ้าที่ตากแดดนานๆ จะซีดจางลงเป็นสารที่เกิดขึ้นใหม่จากปฏิกิริยาเคมีของสีเสื้อผ้ากับความร้อน ของดวงอาทิตย์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามสมบัติความเป็นกรด-เบส (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง สารที่มีสมบัติเป็นกรด-เบส เป็นอย่างไร แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. กระดาษลิตมัสมีกี่สี อะไรบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 2. จากตาราง สมบัติความเป็นกรด – เบสและการเปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัส มีสารกี่ประเภท ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 3. สารที่มีสมบัติเป็นกรด เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 4. สารที่มีสมบัติเป็นเบส เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 5. สารที่มีสมบัติเป็นกลาง เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 6. สารชนิดใดบ้างเป็นกรด รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 7. สารชนิดใดบ้างเป็นเบส รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 8. สารชนิดใดบ้างเป็นกลาง รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 9. จําแนกสารตามสมบัติความเป็นกรด-เบส ได้กี่ประเภทอะไรบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 10. หินปูนมีลักษณะเป็นอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 11. เมื่อใส่หินปูนในน้ําส้มสายชู เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 12. หินปูนที่ใส่ในน้ําส้มสายชูเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือทางกายภาพ รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 13. สารที่มีสมบัติเป็นกรดทําให้หินปูนเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 14. เมื่อใส่หินปูนในนํ้าปูนใส เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 15. สารที่มีสมบัติเป็นเบสทําให้หินปูนเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 16. เมื่อใส่หินปูนในสารละลายเกลือแกง เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................……………… 17. สารที่มีสมบัติเป็นกลาง ทําให้หินปูนเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือไม่ รู้ได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………................………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามสมบัติความเป็นกรด-เบส (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ........................... 1. ซื้อสารปรุงรสอาหารมาใช้

ก. น้ําส้มสายชูปลอม

........................... 2. น้ําพริกดองมีพริกสีซีด เปื่อยยุ่ย

ข. เชื้อราอะฟลาทอกซิน

........................... 3. สีจากธรรมชาติ

ค. กรดน้ําส้มเข้มข้นผสมกับน้ํา

........................... 4. สีจากธรรมชาติที่รับประทานไม่ได้

ง. โรคความดันโลหิตสูงหรือโรคไต

........................... 5. อาหารที่ อย. ห้ามใส่สีมีความผิด

จ. วันที่ผลิต วันหมดอายุ วิธีใช้

........................... 6. น้ําส้มที่ปลอดภัย

ฉ. คณะกรรมการอาหารและยา

........................... 7. ฉลาก

ช. โรคกระเพาะหรือลําไส้อักเสบ

........................... 8. ถั่วลิสงปุนและพริกปุนที่เก่าชื้นจับเป็นก้อน

ซ. ใบเตยและอัญชัน

........................... 9. ธัญพืช ผลไม้ หรือน้ําตาลหมักส่าเหล้า

ฌ. น้ําส้มสายชูแท้และน้ําส้มสายชูเทียม

........................... 10. อย.

ญ. น้ําส้มสายชูกลั่น

........................... 11. อาหารรสเปรี้ยวจัด

ฎ. ฤทธิ์กัดกร่อนรุนแรงมาก

........................... 12. แอลกอฮอล์หมักกับเชื้อน้ําส้มสายชูแล้วกลั่น

ฏ. ดูฉลากข้างขวดหรือข้างกล่อง

........................... 13. น้ําส้มสายชูเทียม

ฐ. เปลี่ยนสีเจนเชียนไวโอเลตจากม่วงเป็นเขียว

........................... 14. มอก.

ฑ. โรคเบาหวาน โรคอ้วน

........................... 15. กรดกํามะถัน

ฒ. มาตรฐานอุตสาหกรรม

........................... 16. อาหารหวานจัด

ณ. สีที่ได้จากการสังเคราะห์สารเคมี

........................... 17. สีจากกระเจี๊ยบแดง

ด. น้ําส้มสายชูหมัก

........................... 18. น้ําส้มสายชูปลอม

ต. หน้าบวม อาเจียน ท้องเดิน ขาอ่อนเพลีย

........................... 19. ถ้าใช้สีย้อมผ้ากับอาหาร

ถ. ไม่เปลี่ยนสีเจนเชียนไวโอเลต

........................... 20. อาหารรสเค็มจัด

ท. เนื้อสัตว์ปรุงแต่งและอาหารทารก ธ. ขมิ้นชัน น. ผลมะเกลือ แก่นขนุน บ. สีแดง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การจาแนกสาร เรื่อง การจาแนกสารตามสมบัติความเป็นกรด-เบส (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. สารกําจัดแมลงเป็นสารที่ใช้ในการกําจัดแมลงที่ไม่พึงประสงค์และนําเชื้อโรคมาสู่มนุษย์ ............. 2. ปัจจุบันมีการใช้สารกําจัดแมลงมากขึ้น ............. 3. การใช้สารกําจัดแมลงที่ขาดความระมัดระวังและใช้ไม่ถูกต้องจะทําให้เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ในครอบครัว และสภาพแวดล้อม ............. 4. สารกําจัดแมลงเก็บไว้ที่ใดก็ได้ ............. 5. สารกําจัดศัตรูพืชเป็นสารกําจัดวัชพืช แมลง และสัตว์อื่นๆ ที่ทําให้พืชเสียหาย ............. 6. การใช้สารพิษเป็นอันตรายถ้าขาดความรู้อาจทําให้เกิดอันตรายมากขึ้น ............. 7. สารกําจัดศัตรูพืชมีระยะเวลาในการสลายตัว ............. 8. การใช้สารกําจัดศัตรูพืชยังไม่ครบกําหนดจะไม่เกิดการตกค้างในกรณีเก็บพืชผักมาบริโภคก่อนเวลา ............. 9. การสะสมพิษของสารกําจัดแมลงหรือสารกําจัดศัตรูพืชเป็นโทษระยะยาวที่อาจไม่เป็นอันตรายก็ได้ ............. 10. การเปลี่ยนแปลงที่มีผลมาจากสารกําจัดแมลงและสารกําจัดศัตรูพืชของเซลล์มีผลในการสร้างความต้านทาน ของร่างกาย ............. 11. สารพิษที่เราจําเป็นต้องใช้ควรเก็บรักษาใช้ถูกต้องตามที่ควรจะต้องปฏิบัติจะเป็นการช่วยลดอุบัติเหตุจาก สารมีพิษ ............. 12. พิษที่เกิดจากสารกําจัดแมลงและสารกําจัดศัตรูพืชสามารถกําจัดออกจากร่างกายได้ด้วยวิธีการง่ายๆ จึงไม่ควรวิตกกังวลถึงโทษที่เกิดขึ้น ............. 13. สามารถใช้วิธีอื่นในการกําจัดแมลงและศัตรูพืชได้ ............. 14. พิษของสารพิษมีผลต่อสิ่งแวดล้อมเพราะทําให้สิ่งมีชีวิตอื่นๆ รับพิษเก็บสะสมพิษไปด้วยโดยไม่รู้ตัว ............. 15. ผลเสียจากการใช้สารพิษทางเศรษฐกิจ คือ เราต้องสูญเสียเงินในการใช้จ่ายเพื่อซื้อสารพิษไปปีละเป็น พันล้านหมื่นล้านบาท


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 2 สมบัติของสารและการนาไปใช้ บทที่ 2 การแยกสาร

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การแยกสาร (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. สารที่ประกอบด้วยสารมากกว่า 1 ชนิดมาผสมกันเรียกว่าอะไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 2. สารผสมแบ่งได้เป็นกี่ชนิด อะไรบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 3. การแยกสารผสมมีอะไรบ้าง ยกตัวอย่าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 4. การผลิตข้าวสารมีขั้นตอนอย่างไรบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 5. เมื่อนําข้าวเปลือกมาสี เกิดผลอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 6. ในการผลิตข้าวสารจนนํามาหุงได้ มีการแยกสารหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 7. การเลือกใช้วิธีการต่างๆ ในการแยกสารพิจารณาจากอะไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 8. การแยกสารในขั้นตอนการผลิตข้าวสารมีประโยชน์อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 9. การเลือกใช้วิธีแยกสารพิจารณาจากอะไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 10. นักเรียนคิดว่าการแยกสารในสารเนื้อผสมมีวิธีใดบ้าง ใช้แยกสารที่มีลักษณะอย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 11. สารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งกับของแข็งสามารถแยกออกจากกันได้โดยวิธีใดบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 12. สารเนื้อผสมที่เป็นของแข็งกับของเหลวสามารถแยกออกจากกันได้โดยวิธีใดบ้าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 13. เราแยกสารเนื้อผสมระหว่างลูกเหม็นกับทรายได้อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 14. ถ้าสารเนื้อผสมมีสารแม่เหล็กปนอยู่จะแยกสารด้วยวิธีใด ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การแยกสาร (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง กําหนดวิธีการแยกสารให้ดังต่อไปนี้ การระเหิด

การตกผลึก

การกรอง

การระเหยแห้ง

การสกัดด้วยตัวทําละลายแล้วกรอง

การกลั่นแบบธรรมดา

การละลายแล้วกรอง

การกลั่นลําดับส่วน

การทําโครมาโทกราฟี

การกลั่นด้วยไอน้ํา

การใช้สมบัติการเป็นสารแม่เหล็ก

การใช้ความหนาแน่นแยกออก

การสกัดด้วยตัวทําละลายแล้วกลั่น

1. การทํานาเกลือ ชาวนาเกลือแยกเกลือออกจากน้ําทะเลใช้วิธี............................................................................................. 2. การทําน้ําเต้าหู้ใช้วิธี............................................................................................................................................................ 3. การสีข้าวเพื่อแยกเปลือกข้าวออกจากเมล็ดข้าวใช้วิธี......................................................................................................... 4. ถ้าทํามีดตกลงในน้ํา ควรใช้วิธีใดในการนํามีดขึ้นมาจากน้ํา................................................................................................ 5. การสกัดน้ํามันรําข้าวออกมาใช้ปรุงอาหารใช้วิธี................................................................................................................. 6. การทําน้ําจืดจากน้ําทะเลใช้วิธี............................................................................................................................................ 7. การทดสอบชนิดของสีผสมอาหารใช้วิธี............................................................................................................................... 8. การสกัดน้ํามันหอมระเหยออกจากใบสะระแหน่ใช้วิธี......................................................................................................... 9. การแยกการบูรออกจากของผสมที่มีกํามะถันและผงถ่านใช้วิธี........................................................................................... 10. ถ้าต้องการแยกสารส้มออกจากของผสมที่มีสารส้มและหินปูนปนอยู่ด้วยกันใช้วิธี .......................................................... 11. ถ้าต้องการทําน้ําเชื่อมที่มีผงเล็กๆปนอยู่ให้ใสขึ้นใช้วิธี...................................................................................................... 12. เอทานอล (จุดเดือด 78.5 องศาเซลเซียส) ละลายปนอยู่กับกรดน้ําส้ม (จุดเดือด 117 องศาเซลเซียส) ถ้าต้องการแยกสารละลายทั้งสองชนิดนี้ออกจากกันต้องใช้วิธี................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การแยกสาร (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง การระเหิด

การตกผลึก

การกรอง

การระเหยแห้ง

การกลั่นลําดับส่วน

การโครมาโทกราฟี

การหยิบออก

การใช้กรวยแยก

การกลั่นธรรมดา


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การแยกสาร (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง การแยกสารละลาย แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. สารละลายคืออะไร ยกตัวอย่าง ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. เพราะเหตุใดน้ําเกลือจึงจัดเป็นสารละลาย ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3. นักเรียนรู้หรือไม่ว่า เกลือที่ใช้กันได้มาอย่างไร ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. มนุษย์นําเกลือมาใช้ประโยชน์อย่างไร ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเกลือสมุทรกับเกลือสินเธาว์เหมือนหรือแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

................................................................................................................................................................................................ 6. เกลือสมุทรกับเกลือสินเธาว์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

................................................................................................................................................. ............................................... 7. วิธีการนําเกลือขึ้นมาจากใต้ดินทําได้อย่างไรบ้าง ตอบ

...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

............................................................................................................................. ...................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สมบัติของสารและการนาไปใช้ บท การแยกสาร (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่การละลายทําให้เกิดประโยชน์และเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ การละลายทําให้เกิดโทษ ............. 1. การละลายของออกไซด์ไนโตรเจนและกํามะถัน ทําให้เกิดฝนกรดซึ่งเป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ............. 2. การใส่ปุ๋ยต้นไม้ต้องอาศัยการละลายเป็นตัวช่วยจึงจะทําให้พืชได้รับปุ๋ยที่ต้องการให้นั้น ............. 3. การทํานาเกลือโดยการนําน้ําทะเลมาระเหยแห้ง ............. 4. น้ําทิ้งจากบ้านเรือนเมื่อทิ้งลงสู่แม่น้ําลําคลองก็จะละลายปนอยู่ในน้ําทําให้เกิดมลพิษในน้ํา ............. 5. การทําน้ําเกลือสําหรับผู้ปุวยต้องนําสารที่เป็นประโยชน์ละลายน้ําในส่วนผสมที่ถูกต้อง ............. 6. น้ําเชื่อมทํามาจากการละลายน้ําตาลทรายลงในน้ําแล้วให้ความร้อนจํานวนหนึ่ง ............. 7. น้ําอัดลมเป็นการละลายน้ําตาลและหัวเชื้อกับน้ําในอัตราส่วนที่กําหนดของการผสม ............. 8. การทาสีน้ํามันต้องนําสีละลายในน้ํามันสนหรือทินเนอร์ ............. 9. ชงชาจีน สารละลายจากใบชาละลายน้ําที่นํามาชงแล้วนําน้ําไปดื่มได้ ............. 10. ละลายน้ําตาลโตนดในน้ํากะทิ เพื่อเป็นน้ํากะทิของลอดช่อง ............. 11. เสื้อสีซักรวมกับผ้าขาว สีของผ้าสีละลายน้ําผงซักฟอกมาเปื้อนผ้าขาว ............. 12. น้ําเน่าเสียจากกองขยะละลายปนกับน้ําในแหล่งน้ําสะอาดที่ใช้อุปโภคและบริโภค ............. 13. นําสมุนไพรไปแช่ในเหล้าขาว ยาในสมุนไพรละลายในเหล้าขาวนํามาดื่มรักษาโรค ............. 14. ยากําจัดวัชพืชละลายน้ําไหลลงสู่แม่น้ําลําคลอง ............. 15. ชาวสวนฟันกิ่งไม้ที่มียาฆ่าแมลงลงไปในร่องสวนที่มีปลาอยู่ทําให้ปลาตาย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 3 แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บทที่ 1 วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. _______________________________ คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟูาไหลผ่าน เช่น เหล็ก ทองแดง ดีบุก ตะกั่ว เงิน 2. _______________________________ คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้กระแสไฟฟูาไหลผ่าน เช่น กระดาษ พลาสติก ไม้ 3. วงจรไฟฟูาคือ ___________________________________________________________________________ 4. วงจรไฟฟูาอย่างง่ายประกอบด้วย 1)____________________ 2)___________________ 3)________________ 5. ถ่านไฟฉาย มีสัญลักษณ์ ___________________________________________________________________ 6. หลอดไฟฟูา มีสัญลักษณ์ _______________________________หรือ_________________________________ 7. สวิทช์ มีสัญลักษณ์ คือ _____________________________________________________________________ 8. มอเตอร์มีสัญลักษณ์ คือ ____________________________________________________________________ 9. สายไฟฟูามีสัญลักษณ์ คือ ___________________________________________________________________ 10. ออดไฟฟูามีสัญลักษณ์ คือ __________________________________________________________________ 11. การต่อวงจรไฟฟูาครบวงจร เรียกว่า __________________________________________________________ 12. การต่อวงจรไฟฟูาไม่ครบวงจร เรียกว่า ________________________________________________________ 13. การต่อถ่านไฟฉาย สายไฟฟูา และหลอดไฟฟูา แล้วปรากฏว่าหลอดไฟฟูาติดแสดงว่า _______________________ 14. การต่อถ่านไฟฉาย สายไฟฟูาและมอเตอร์ แล้วปรากฏว่ามอเตอร์ไม่หมุนแสดงว่า _________________________ 15. กระแสไฟฟูาจะเดินทางจากขั้ว____________________________ไปยังขั้ว_____________________________ 16. อุปกรณ์ไฟฟูาที่เป็นของเล่นไม่ควรนํามาต่อวงจรไฟฟูาเพราะ _________________________________________ 17. สวิตซ์ทําหน้าที่ ในวงจรไฟฟูา _______________________________________________________________ 18. มอเตอร์ไฟฟูา คือ ________________________________________________________________________ 19. เครื่องใช้ไฟฟูาที่มีมอเตอร์ เช่น ______________________________________________________________ 20. ออดไฟฟูาเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟูาให้เป็นพลังงาน_________________________________________ 21. สายไฟนิยมใช้_________________________________________________________________หุ้มเป็นฉนวน 22. ไดนาโมที่เปลี่ยนพลังงานกลให้เป็นพลังงาน______________________________________________________ 23. วงจรไฟฟูาที่ใช้สายไฟฟูาไม่มีฉนวนอาจเกิด ___________________________________________________ ได้ 24. หลอดไฟฟูาเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟูาไปเป็นพลังงาน _______________________________________


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนจําแนกวัตถุที่กําหนดให้ว่าเป็นตัวนําไฟฟูาหรือฉนวนไฟฟูาให้ถูกต้อง ลวดเหล็ก

ไม้

กรรไกร

ขวดน้ําพลาสติก

ช้อนส้อม

กล่องกระดาษ

สมุด

ใบมีด

ตะปู

ตัวหนีบกระดาษ

ผ้าเช็ดหน้า

แก้วน้ํา

หัวเข็มกลัด

เข็มเย็บผ้า

ถุงเท้า

ถ้วยพลาสติก

กล่องโฟม

จานกระเบื้อง

คีม

แหวน

ไม้บรรทัด

ตุ๊กตาหมี

ผ้าเปียก

กุญแจ

ตัวนาไฟฟ้า

ฉนวนไฟฟ้า


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

1. จากรูปเป็นวงจรที่ต่อเซลล์ไฟฟูาแบบ___________________________________________________________ เพราะ ___________________________________________________________________________________ 2. จากรูปจัดเป็นวงจรไฟฟูาแบบ ________________________________________________________________ 3. วงจรไฟฟูานี้ใช้เซลล์ไฟฟูา _______________________________________________________________เซลล์ 4. เมื่อทําให้เป็นวงจรไฟฟูาปิดจะทําให้ ___________________________________________________________ 5. ถ้านําเซลล์ไฟฟูาออก 1 เซลล์และเปิดสวิตช์จะทําให้ ________________________________________________ 6. ถ้าเพิ่มเซลล์ไฟฟูา 2 เซลล์และเปิดสวิตซ์จะทําให้ __________________________________________________ 7. ถ้าใส่เซลล์ไฟฟูา 1 เซลล์ สลับขั้วและเปิดสวิตซ์จะทําให้ _____________________________________________ 8. ถ้าเพิ่มเซลล์ไฟฟูาเข้าไปมากๆ ในวงจร และเปิดสวิตซ์จะทําให้ _________________________________________ 9. การต่อถ่านไฟฉายหรือเซลล์ไฟฟูามากกว่า 2 เซลล์ขึ้นไป เรียกว่า _______________________________________ 10. แบตเตอรี่เป็นแหล่งกําเนิดพลังงานไฟฟูาแบบ ____________________________________________________ 11. พลังงานไฟฟูาที่ใช้กันตามบ้านเรือน โรงงานและอื่นๆ เป็นไฟฟูาแบบ ___________________________________ ซึ่งมี __________________________________________________________________ มากกว่าไฟฟูากระแสตรง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

1. รูป__________________________________ คือ การต่อหลอดไฟฟูาแบบอนุกรม 2. รูป__________________________________ คือ การต่อหลอดไฟฟูาแบบขนาน 3. รูป__________________________________ คือ รูปที่เมื่อหลอดไฟฟูาหลอดหนึ่งดับอีกหลอดจะดับไปด้วย 4. รูป__________________________________ คือ รูปที่เมื่อหลอดไฟฟูาหลอดหนึ่งดับอีกหลอดจะไม่ดับไปด้วย 5. รูป ก และ ข มีแบตเตอรี่ทั้งหมด___________________________________________________แบตเตอรี่ 6. จากรูป ก หลอดไฟฟูาทั้ง 2 หลอด สว่าง____________________________________________________ 7. จากรูป ข หลอดไฟฟูาทั้ง 2 หลอด สว่าง____________________________________________________ 8. จากรูป ข กระแสไฟฟูาจะผ่านหลอดไฟฟูาทั้ง 2 หลอด__________________________________________ 9. การต่อหลอดไฟฟูาแบบ_____________________________________________________ประหยัดสายไฟ 10. การต่อหลอดไฟฟูาแบบ__________________________________________เป็นการต่อไฟฟูาในบ้านเรือน


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์แทนแผนภาพวงจรไฟฟูาในแต่ละข้อ และตอบคําถามให้ถูกต้อง 1. 1.1 จากภาพเป็นวงจรแบบใด................................................................. 1.2 มีการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด............................................................... 1.3 ความสว่างของหลอดไฟเป็นอย่างไร................................................................... 2. 2.1 จากภาพเป็นวงจรแบบใด.......................................................... 2.2 มีการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด........................................................... 2.3 มีการต่อหลอดไฟฟูาแบบใด........................................................... 2.4 หลอดไฟ เป็นอย่างไร ................................................................ 3. 3.1 จากภาพเป็นวงจรแบบใด........................................................... 3.2 มีการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด............................................................. 3.3 ถ้าหลอดไฟดวงที่ 2 ขาด หลอดไฟดวงที่ 1 จะเป็นอย่างไร ............................................................................................. 4. 4.1 มีการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด........................................................... 4.2 มีการต่อหลอดไฟฟูาแบบใด........................................................... 4.3 ผลของหลอดไฟอื่นเป็นอย่างไร ถ้าหลอดที่ 3 ขาด .......................................................................................................... 5. 5.1 มีการต่อเซลล์ไฟฟูาแบบใด............................................................ 5.2 มีการต่อหลอดไฟฟูาแบบใด............................................................ 5.3 เมื่อต่อวงจรแล้วผลของหลอดไฟเป็นอย่างไร.................................................................................................................... 5.4 ผลของหลอดไฟอื่นเป็นอย่างไร ถ้าหลอดที่ 2 ขาด ..........................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. การต่อถ่านไฟฉายทุกแบบทําให้หลอดไฟฟูาสว่างได้หรือไม่ ถ้าไม่การต่อถ่านไฟฉายลักษณะใดที่ทําให้หลอดไฟฟูาไม่สว่าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. การต่อถ่านไฟฉายลักษณะใดที่ทําให้หลอดไฟฟูาสว่าง ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การต่อถ่านไฟฉาย 1 ก้อน 2 ก้อน และการต่อถ่านไฟฉาย 3 ก้อน ทําให้หลอดไฟฟูาสว่างแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .................................................................................................................................................................................. .............. 4. จํานวนถ่านไฟฉายที่ต่อเรียงกันแบบอนุกรมมีผลต่อความสว่างของหลอดไฟฟูาหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. พลังงานไฟฟูาที่หลอดไฟฟูาได้รับเมื่อต่อถ่านไฟฉาย 1 ก้อนและ 2 ก้อน แบบอนุกรมแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ทําไม จึงคิดเช่นนั้น ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. เต้ารับกับเต้าเสียบแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 7. เมื่อต้องการใช้เครื่องใช้ไฟฟูา ต้องต่อเต้าเสียบเข้ากับสิ่งใด ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. การติดตั้งเต้ารับในบ้านควรคํานึงถึงสิ่งใดเป็นสําคัญ เพราะเหตุใด ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 9. ต่อหลอดไฟฟูา 2 ดวง ในวงจรไฟฟูาให้หลอดไฟฟูาสว่าง ทําได้กี่แบบ ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 10. ความสว่างของหลอดไฟฟูาทั้ง 2 ดวง ที่ต่อแต่ละแบบแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 11. เมื่อถอดหลอดไฟฟูาดวงใดดวงหนึ่งออก จากการต่อแต่ละแบบผลเป็นอย่างไร เหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 12. การต่อหลอดไฟฟูาหลายๆ ดวง ในบ้านควรต่อแบบใด เพราะเหตุใด ตอบ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. การต่อหลอดไฟฟูาประดับเป็นการต่อหลอดไฟฟูาแบบใด ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (7) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ ลงหน้าข้อที่ตะปูเป็นแม่เหล็กไฟฟูา และเขียนเครื่องหมาย × ลงหน้าข้อที่ตะปูไม่ เป็นแม่เหล็กไฟฟูา


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท วงจรไฟฟ้าและแม่เหล็กไฟฟ้า (8) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. กระดิ่งไฟฟูาหรือออดไฟฟูาเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่เกิดขึ้นมาจากความรู้ทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับกระแสไฟฟูา ทําให้เกิดแม่เหล็กไฟฟูาได้ ............. 2. รถเครนยกเศษเหล็กเป็นการประดิษฐ์ เพื่อทําหน้าที่ยกเศษเหล็กครั้งละมากๆ โดยใช้หลักการของ แม่เหล็กไฟฟูา ............. 3. มอเตอร์และไดนาโมเป็นสิ่งประดิษฐ์ที่ไม่เกี่ยวกับแม่เหล็กไฟฟูา ............. 4. การไขลานก็เป็นหลักการของแม่เหล็กไฟฟูา ............. 5. ขณะที่กระแสไฟฟูาเดินทางไปตามสายไฟฟูารอบๆ สายไฟฟูาจะมีสนามแม่เหล็กเกิดขึ้น ............. 6. การพันแท่งเหล็กด้วยสายไฟฟูาหรือตัวนําไฟฟูาที่จะทําให้กระแสไฟฟูาไหลผ่านรอบๆ แท่งเหล็กมาก จะทําให้แท่งเหล็กเป็นแม่เหล็กที่มีแรงแม่เหล็กมาก ............. 7. การที่เข็มทิศเกิดเบนเข็มจากแนวเดิมแสดงว่าเข็มทิศได้รับพลังงานแม่เหล็กมาก ............. 8. หลอดไฟฟูาให้พลังงานแสงก่อนพลังงานความร้อน ............. 9. ไม่ควรประมาทเมื่อใช้กระแสไฟฟูาในชีวิตประจําวัน ............. 10. ไฟฟูากระแสตรงจะมีพลังไม่รุนแรงเหมือนไฟฟูากระแสสลับ แต่ก็ทําให้เกิดความรุนแรงและ ความเสียหายได้มาก ............. 11. โทรศัพท์มือถือ ไอแพด และเครื่องเกมพกพาใช้พลังงานไฟฟูากระแสตรง ............. 12. การจะซ่อมแซมเครื่องใช้ไฟฟูา ควรทําให้วงจรไฟฟูาของเครื่องใช้ไฟฟูาเป็นวงจรเปิดโดยการปิดสวิตซ์ ............. 13. วงจรไฟฟูามีทั้งประโยชน์และโทษ ............. 14. เครื่องใช้ไฟฟูาที่ใช้กระแสไฟฟูามาก เช่น หลอดตะเกียบ ตู้เย็นเบอร์ 5 ............. 15. การเดินสายไฟฟูาควรใช้ท่อร้อยสายไฟฟูา เพื่อปูองกันไฟฟูาช็อตหรือการลัดวงจร


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 3 แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บทที่ 2 แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จากเรื่อง แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว ให้นักเรียนตอบคําถามดังต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. เมื่อเราออกแรงกระทําต่อวัตถุทํา ให้วัตถุมีการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่หรือไม่ อย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 2. การทํากิจกรรมต่างๆ ในชีวิตประจําวันอาศัยแรงกระทําเพียงแรงเดียวจากตัวเราเท่านั้นหรือไม่ ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. มีกิจกรรมใดบ้างที่ต้องอาศัยแรงหลายแรงในการดึงหรือผลักวัตถุจากคนหลายๆ คน ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. เวลาที่นักเรียนอยู่ในน้ําหรือว่ายน้ํา รู้สึกอย่างไรเมื่อเทียบกับอยู่บนบก ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. มีแรงอะไรบ้างที่กระทําต่อตัวเราขณะที่ลอยอยู่ในน้ํา และเมื่อเปรียบเทียบค่าของแรงต่างๆ ที่กระทําต่อตัวเราขณะอยู่ ในน้ําจะเป็นอย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. กิจกรรมในชีวิตประจําวันใดบ้างที่เราต้องออกแรงกระทําเพียงคนเดียว ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. การเขียนแผนภาพแสดงแรงที่กระทําต่อวัตถุใช้สัญลักษณ์ใดแทนแรง ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 8. ลักษณะของลูกศรแทนแรงอย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 9. ถ้าเราออกแรงกระทํา ต่อวัตถุมากหรือน้อยแตกต่างกันแผนภาพแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................................................ 10. ถ้าเราดึงและผลักประตู ลูกศรแสดงแรงจะแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 11. กิจกรรมในชีวิตประจําวันใดบ้างที่ต้องอาศัยแรงกระทําจากหลายๆ คนช่วยกัน ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 12. ผลรวมของแรงหลายๆ แรงที่กระทําต่อวัตถุเรียกว่าอะไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. กีฬาอะไรบ้างที่ต้องอาศัยการออกแรงจากคนหลายๆ คน ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 14. สิ่งก่อสร้างใดที่อาศัยความสามัคคีคือพลังในการออกแบบและสิ่งก่อสร้างนั้นออกแบบอย่างไร ตอบ ...…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. สายเคเบิลทําจากอะไร และมีลักษณะอย่างไร ตอบ ...……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ กรณีที่ 1 สองแรงกระทํากับวัตถุในทิศทาง............................. กรณีที่ 2 สองแรงกระทํากับวัตถุในทิศทาง...............................

วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง .....................แรงลัพธ์ = ………. นิวตัน วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ....................แรงลัพธ์ = …………. นิวตัน กรณีที่ 3 สองแรงกระทํากับวัตถุในทิศทาง............................... วัตถุเคลื่อนที่ไปทาง ....................แรงลัพธ์ = …………. นิวตัน

คําชี้แจง : ให้นักเรียนหาแรงลัพธ์จากแผนภาพการออกแบบ พร้อมบอกทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. แรงมีหน่วยเป็นนิวตัน ............. 2. แรงเป็นปริมาณที่มีขนาดและมีทิศทาง ............. 3.  = ปริมาณเวกเตอร์ ............. 4. แรงหลายแรงสามารถรวมเป็นแรงเดียวได้ ............. 5. แรง 5 นิวตัน รวมกับแรง 4 นิวตัน จะได้แรง 9 นิวตัน ............. 6. แรงเมื่อกระทําต่อวัตถุทําให้เกิดการเคลื่อนที่ไปในทิศทางตามแรงที่กระทํา ............. 7. แรงลัพธ์หาโดยการเขียนเวกเตอร์แบบหางต่อหัว ............. 8. ส่วนหัวที่เป็นลูกศรแทนทิศทางของแรง ............. 9. ส่วนของความยาวของลูกศรแทนขนาดของแรง ............. 10. ในการเคลื่อนที่วัตถุที่มีน้ําหนักมากควรใช้แรงเพียงแรงเดียว ............. 11. ขณะที่เราใช้แรงดึงวัตถุขึ้นที่สูงเราต้องระมัดระวังมาก เพราะมีแรงดึงดูดของโลกที่กระทําต่อวัตถุอยู่ตลอดเวลา ............. 12. การเคลื่อนที่วัตถุไปบนพื้นที่แข็งและเรียบจะใช้แรงไม่มาก ............. 13. การเคลื่อนที่ไปในน้ําจะเคลื่อนที่ไปได้ง่ายและใช้แรงน้อย ............. 14. การพัดของลมมีแรงจํานวนหนึ่งที่มีทิศทาง ............. 15. เครื่องบินที่มีน้ําหนักมาก สามารถบินได้เพราะแรงขับเพียงครั้งเดียวของเครื่องยนต์ขึ้นจากพื้นสนามบิน ............. 16. วัตถุที่มีขนาดเล็กเคลื่อนที่ช้าจะทําให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่ ............. 17. รถไฟชนสิ่งต่างๆ ด้วยขนาดของแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะรถไฟวิ่งเร็ว ............. 18. ต้นไม้ขนาดใหญ่เมื่อล้มก่อให้เกิดแรงที่มีขนาดใหญ่เพราะต้นไม้ต้นนั้นมีมวลมาก ............. 19. เรือเดินทะเลต้องระมัดระวังไม่ให้เกิดการชนกลางทะเล เพราะจะเกิดความเสียหายมากเนื่องจากเรือมีขนาด ใหญ่มีน้ําหนักมาก ............. 20. การกระโดดน้ําถ้ากระโดดโดยใช้ส่วนของร่างกายส่วนมากปะทะน้ําจะรู้สึกเจ็บเพราะ มีแรงต้านจากน้ํา มีแรง กระแทกจากร่างกาย จึงทําให้แรงจํานวนมากหรือขนาดใหญ่ที่ทําให้รู้สึกเจ็บ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง แรงพยุงในชีวิตประจําวัน แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. วิถีชีวิตของคนไทยที่แสดงถึงความผูกพันกับสายน้ํามีอะไรบ้าง ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

2. ปกตินักเรียนออกกําลังกายอย่างไรบ้าง ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

3. การออกกําลังกายในน้ํามีผลต่อระบบใดในร่างกาย และเพราะเหตุใด ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

............................................................................................................................. ................................................................... 4. ธาราบําบัดคืออะไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

5. อาการบาดเจ็บของอวัยวะใดที่เหมาะกับการทําธาราบําบัด ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

6. นอกจากมนุษย์แล้ว ธาราบําบัดยังใช้รักษาใครได้ ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

7. การออกกําลังกายในน้ํา และการรักษาโรคด้วย ธาราบําบัด อาศัยสมบัติใดของน้ํา ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

คําชี้แจง : จงเขียนอธิบายการทํางานของแรงดันน้ําที่ทําให้เกิดประโยชน์ต่อการดําเนินชีวิตของมนุษย์ 1. เขื่อนผลิตไฟฟูา

2. ถังส่งน้ําประปา

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................

........................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1. ของเหลวจะมีแรงกระทําต่อวัตถุ......................................................................................................................................... 2. เมื่อใส่น้ําลงในถุงพลาสติก ถุงพลาสติกจะ.......................................................................................................................... 3. ความดันของเหลว หมายถึง................................................................................................................................................ 4. ความลึกของของเหลวจะมีผลทําให้.........................................................................................มีค่ามากหรือน้อยต่างกันไป 5. ระดับความลึกมาก ความดันของของเหลวจะมีค่า............................................................................................................. 6. ระดับความลึกในอ่าวปรับระดับความลึกในทะเลมีความแตกต่างกัน คือ ความลึกของระดับน้ําทะเลในอ่าวจะมี ............................................................................... ระดับความลึกของ.................................................................................. 7. บริเวณของน้ําทะเลที่ไกลฝั่งออกไปมากจะมีความหนาแน่น............................................................................................... 8. น้ําในแม่น้ําที่ไหลอยู่ตลอดเวลาจะมีแรงดันกระทําต่อวัตถุ.................................................................................................. เพราะ...................................................................................................................................................................................... 9. การส่งยานสํารวจลงไปมีความลึกของน้ําทะเลมีระยะทางเป็นหมื่นฟุตจะมีอันตราย เพราะ............................................... ................................................................................................................................................................................................ 10. การดําน้ําร่างกายได้รับแรงที่กระทําของน้ําจะรู้สึก........................................................................................................... 11. การที่ร่างกายลอยได้เพราะ............................................................................................................................................... เนื่องจากภายในร่างกายมีอากาศที่มี.....................................................................................................................น้อยกว่าน้ํา 12. การจมลงใต้น้ําของเรือดําน้ําเกิดขึ้นจาก..................................................................................................................... ...... ทําให้.......................................................................................................................................เพิ่มมากขึ้น เรือจึงค่อยๆจมลง 13. การทําฝุายกั้นลําน้ําใช้หลักการ คือ.................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................ 14. การใช้ตาข่ายดักปลาในน้ําที่ไหลสามารถจับปลาได้โดยตาข่ายไม่ขาดหรือถูกพัดพาไปเพราะ......................................... ................................................................................................................................................................................................ 15. เขื่อนจะมีทางน้ําล้นผ่านเขื่อน ทําไว้เพื่อ......................................................................................................................... ................................................................................................................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเติมคําหรือข้อความเกี่ยวกับแรงพยุงของของเหลวลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

1. จากรูปเป็นรูปทุ่น................................................................................................................................................. อยู่ในน้ํา 2. แรงที่น้ํากระทําต่อทุ่น คือ............................................................................................................................. ...................... 3. แรง a เป็น.......................................ที่ม.ี .......................................น้ําหนักของทุ่น จึงทําให้ทุ่น......................................น้ํา 4. แรง ......a......., ........b......., .......c........และ ......d........ เป็นแรงที่ ................................ กระทําต่อ ................................ ในลักษณะ............................................................................................................................................................................... 5. แรง .......b.........และ แรง ..................มีค่าเท่ากัน แรงลัพธ์จึงเท่ากับ…………………………………….………………………………… 6. แรง .......c.........และ แรง .................มีค่า.......................... แรงลัพธ์จึงเท่ากับ................................................................... 7. เมื่อ ..................................มีค่าเท่ากับศูนย์ ทุ่นจึง…………………………………………………………………………………………………. 8. ความรู้จากเรื่องแรงพยุงสามารถนําไปอธิบายเกี่ยวกับ ........................................................................ของสิ่งของต่างๆได้


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แรงลัพธ์และแรงพยุงของของเหลว (7) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. การตกปลาโดยเบ็ดที่มีทุ่นลอยน้ํา ทุ่นลอยโดยได้รับแรงพยุงจากน้ํา ............. 2. ก้อนหินจมน้ําทันทีเมื่อปล่อยมือจากก้อนหิน แสดงว่าน้ําหนักของก้อนหินมีมากกว่าแรงพยุงของน้ํา ............. 3. ชั่งวัตถุในอากาศกับชั่งวัตถุในน้ํา วัตถุที่ชั่งในน้ําจะมีน้ําหนักมากกว่าวัตถุที่ชั่งในอากาศ ............. 4. น้ําทะเลในทะเลสาบเดดซีของประเทศอิสราเอลมีความเค็มสูงมาก ทําให้เกิดการลอยของวัตถุมากกว่าปกติ ............. 5. วัตถุรูปทรงสี่เหลี่ยมที่มีความหนาน้อย จะลอยน้ําได้ดี ............. 6. วัตถุที่มีรูปทรงเป็นทรงกลม ไม่ว่าจะมีน้ําหนักมากหรือน้ําหนักน้อยจะจมน้ําทั้งชิ้น เพราะแรงพยุงของน้ํามาเป็นส่วนในการออกแบบและผลิตออกมาใช้งาน ............. 7. การที่คนว่ายน้ําไม่เป็นจมน้ําเพราะแรงของน้ําไม่ได้พยุงตัว ............. 8. การขนส่งวัตถุที่หนักมากควรใช้วิธีขนส่งทางน้ํา ............. 9. ยานพาหนะที่ใช้ขนสิ่งของหรือบรรทุกผู้โดยสารจํานวนมากจะเป็น ยานพาหนะขนาดใหญ่มากที่มีแต่เฉพาะทางน้ําเท่านั้น ............. 10. การสร้างยานพาหนะทางน้ําขนาดใหญ่ เพื่อบรรทุกสิ่งของได้คราวละมากๆ เป็นการนําหลักการของ แรงพยุงของน้ํามาเป็นส่วนในการออกแบบ ............. 11. แท่นขุดเจาะน้ํามันกลางทะเลเป็นสิ่งก่อสร้างที่ใหญ่มากที่ลอยน้ําตามแรงพยุงของน้ํา ............. 12. การที่ปลาสามารถลอยน้ําหรือจมลงในน้ําได้ตามต้องการเป็นเพราะมีกลวิธีในการทําให้เกิดแรงพยุงของ น้ํามากหรือแรงพยุงของน้ําน้อยได้ โดยการเพิ่มปริมาณอากาศในตัวเอง ............. 13. การยกวัตถุชิ้นเดียวกันในอากาศและในน้ํา การยกในน้ําจะใช้แรงในการยกน้อยกว่าการยกในอากาศ ............. 14. แรงพยุงของอากาศจะมีค่ามากกว่าแรงพยุงของน้ํา ............. 15. วัสดุที่ใช้ทํากระทงในวันลอยกระทงจะต้องเป็นวัสดุที่มีน้ําหนักที่น้อยกว่าแรงพยุงของน้ํา ............. 16. เรือที่ดีจะต้องเป็นเรือที่มีน้ําหนักใกล้เคียงกับแรงพยุงของน้ํา


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 3 แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บทที่ 3 แสง

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แสง (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จากตารางต่อไปนี้ ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ วัตถุที่ใช้กั้นแสง

ผลการสังเกต มองเห็นชัด

มองเห็นไม่ชัด

ลักษณะของแสงที่ส่องผ่านวัตถุ มองไม่เห็น 

1. แผ่นไม้ 

2. กระดาษไข 4. แก้วน้ําใส

แสงส่องผ่านวัตถุมาไม่ได้ แสงส่องผ่านวัตถุมาได้บางส่วน

3. กระดาษแข็ง

ที่นามากั้นแสง

แสงส่องผ่านวัตถุมาไม่ได้ แสงส่องผ่านวัตถุมาได้ชัดเจน

5. แผ่นพลาสติกขุ่น

แสงส่องผ่านวัตถุมาได้บางส่วน

6. กระจกฝูา

แสงส่องผ่านวัตถุมาได้บางส่วน

7. กระดาษแก้วใส

แสงส่องผ่านวัตถุมาได้ชัดเจน

8. แผ่นพลาสติกใส

แสงส่องผ่านวัตถุมาได้ชัดเจน

9. แผ่นโฟม

แสงส่องผ่านวัตถุมาไม่ได้

10. แผ่นกระเบื้อง

แสงส่องผ่านวัตถุมาไม่ได้

จงจาแนกชนิดของวัตถุที่นามาใช้ในการกั้นแสงไฟฉายให้ถูกต้อง วัตถุโปร่งใส วัตถุโปร่งแสง วัตถุทึบแสง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แสง (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ตัวอย่างแหล่งกําเนิดแสงที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ได้แก่ อะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ตัวอย่างแหล่งกําเนิดแสงที่มนุษย์สร้างขึ้น ได้แก่ อะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การสะท้อนของแสงเป็นอย่างไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ปรากฏการณ์ในชีวิตประจําวันที่เกิดจากการสะท้อนแสงมีอะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การหักเหของแสงเป็นอย่างไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. ปรากฏการณ์ในชีวิตประจําวันที่เกิดจากการหักเหของแสงมีอะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 7. เส้นแนวฉากคืออะไร ตอบ …………………………………………………………………..... 8. รังสีตกกระทบคืออะไร ตอบ …………………………………………………………………..... 9. มุมตกกระทบคืออะไร ตอบ …………………………………………………………………..... 10. รังสีสะท้อนคืออะไร ตอบ …………………………………………………………………..... 11. มุมสะท้อนคืออะไร ตอบ …………………………………………………………………..... 12. นักเรียนจะอธิบายแผนภาพการสะท้อนของแสงได้อย่างไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. มุมตกกระทบกับมุมหักเหมีขนาดเท่ากันหรือไม่ ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 14. เพราะเหตุใดมุมตกกระทบมีขนาดไม่เท่ากับมุมหักเหเหมือนในเรื่อง การสะท้อนของแสงที่มุมตกกระทบมีขนาดเท่ากับมุมสะท้อน ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. ตัวกลางที่แสงจากไฟฉายเคลื่อนที่ผ่านไปมีอะไรบ้าง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ....


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แสง (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. การเกิดรุ้งในธรรมชาติเกิดจากปรากฏการณ์ใด ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. รุ้งเกิดขึ้นได้เมื่อใดและเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

................................................................................................................................................................................................ 3. รุ้งที่เกิดขึ้นในธรรมชาติมีทิศทางใด ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

4. รุ้งมีลักษณะอย่างไร ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. เหตุใดปัจจุบันจึงได้มีการนําพลังงานแสงอาทิตย์มาใช้ในการผลิตไฟฟูาทดแทนพลังงานสิ้นเปลือง ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

6. นักเรียนเข้าใจคําว่าพลังงานสะอาดว่าอย่างไร ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

7. เซลล์สุริยะคืออะไร ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

8. การติดตั้งเซลล์สุริยะ ติดตั้งได้ที่ใด ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

9. นอกจากผลิตไฟฟูาตามบ้านเรือนแล้ว เซลล์สุริยะยังสามารถนําไปใช้ประโยชน์ใดได้อีก ตอบ

………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย แรงและพลังงานในชีวิตประจาวัน บท แสง (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. รุ้งกินน้ําเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่มักเกิดขึ้นหลังฝนตก ............. 2. รุ้งกินน้ําเกิดจากการสะท้อนของแสงผ่านละอองน้ําในอากาศ ทําให้เกิดเป็นแถบสีต่างๆขึ้น ............. 3. แถบสีของรุ้งประกอบไปด้วยสีต่างๆ เรียงลําดับ ได้แก่ ม่วง คราม น้ําเงิน เขียว เหลือง แสด และแดง ............. 4. รุ้งปฐมภูมิจะมีสีแดงอยู่ด้านบนสุดของรุ้ง ส่วนด้านล่างสุดคือสีม่วง ............. 5. รุ้งทุติยภูมิเป็นรุ้งกินน้ําที่สามารถมองเห็นได้อย่างชัดเจนมากกว่ารุ้งปฐมภูมิ ............. 6. รุ้งปฐมภูมิจะอยู่เหนือรุ้งทุติยภูมิเสมอ ............. 7. สามารถมองเห็นรุ้งกินน้ําได้เมื่อมีละอองน้ําในอากาศและมีแสงส่องมาจากด้านหลังของผู้สังเกต ............. 8. ปรากฏการณ์รุ้งกินน้ําอาจพบเห็นได้ในบริเวณใกล้กับน้ําตกและน้ําพุหรือการพ่นละอองน้ําไปในอากาศ ............. 9. สามารถมองเห็นรุ้งกินน้ําได้ในคืนที่แสงจันทร์มีความสว่างมากๆ แต่มักมองเห็นเป็นสีขาวมากว่า 7 สี ............. 10. นักเรียนสามารถเห็นรุ้งกินน้ําเต็มวงได้ หากอยู่บนเครื่องบินที่บินอยู่เหนือกลุ่มละอองน้ํา ............. 11. เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ไฟฟูาซึ่งทําหน้าที่แปลงพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟูา ............. 12. พลังงานแสงสามารถเปลี่ยนเป็นพลังงานเคมีได้โดยใช้เซลล์โฟโตโวลตาอิก ............. 13. เครื่องคิดเลขที่ใช้พลังงานแสงไม่สามารถทํางานได้ในหลอดไฟฟูาตามบ้านเรือน ............. 14. ดาวเทียมในปัจจุบันนิยมใช้พลังงานจากเซลล์สุริยะ ............. 15. พลังงานไฟฟูาที่ได้จากเซลล์สุริยะจะถูกเก็บในรูปไฟฟูากระแสสลับ ............. 16. เซลล์สุริยะเป็นอุปกรณ์ที่มีส่วนประกอบของอะลูมิเนียม ............. 17. มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานกล ............. 18. ถ่านไฟฉายเป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานเคมีเป็นพลังงานแสง ............. 19. ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งกําเนิดแสงที่สําคัญที่สุดของสิ่งมีชีวิตบนโลก ............. 20. พลังงานจากแสงอาทิตย์เป็นพลังงานทดแทนที่สะอาดไม่ทําให้สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 4 ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและผลต่อสิ่งแวดล้อม (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ทรัพยากรธรรมชาติมีประโยชน์ต่อมนุษย์อย่างไร

9. ถ้าประชากรเพิ่มขึ้น จะมีผลต่อการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ตอบ ………………………………………………………………….... อย่างไร 2. การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรมนุษย์ส่งผลอย่างไรต่อ ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... 10. เหตุใดเมื่อประชากรมนุษย์เพิ่มขึ้น จึงส่งผลให้การใช้ ............................................................................................ ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วย 3. สรุปเนื้อเรื่องจากนิทานเรื่อง สมัน ได้ว่าอย่างไร ตอบ ……………………………………………………................... ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 11. มลพิษสิ่งแวดล้อมหมายความว่าอย่างไร และเกิดขึ้นได้ ............................................................................................ อย่างไร 4. หากสมันอยากมีชีวิตรอด ควรทําอย่างไร ตอบ ……………………………………………………................... ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ 5. นักเรียนได้ข้อคิดจากเรื่องนี้อย่างไรบ้าง 12. ในท้องถิ่นของนักเรียนมีปัญหามลพิษสิ่งแวดล้อม ตอบ ……………………………………………………................... หรือไม่ อะไรบ้าง ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... 6. หากเปรียบสมันในนิทานเป็นมนุษย์ที่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ............................................................................................ เรื่องราวในนิทานให้ข้อคิดในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ ............................................................................................ 13. นักเรียนควรทําอย่างไรหากต้องการมีทรัพยากรธรรมชาติ ............................................................................................ ใช้อย่างยาวนาน และมีสิ่งแวดล้อมที่ดีและน่าอยู่ ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... 7. การเพิ่มจํานวนประชากรมนุษย์ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ............................................................................................ เป็นอย่างไร ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ ............................................................................................ 14. การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ทําได้ ............................................................................................ อย่างไร ให้ยกตัวอย่าง 8. จํานวนประชากรมนุษย์ในปัจจุบันเป็นเท่าใด และคาด ตอบ ……………………………………………………................... ว่าในปี พ.ศ. 2593 จะเป็นเท่าใด ............................................................................................ ตอบ ……………………………………………………................... ............................................................................................ ............................................................................................ ............................................................................................ …………………………………………………………………………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและผลต่อสิ่งแวดล้อม (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. การสูญพันธุ์เป็นความปกติที่มีการเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา ............. 2. ภัยพิบัติทางธรรมชาติและการกระทําของมนุษย์มีผลทําให้พืชและสัตว์สูญพันธุ์หรือใกล้สูญพันธุ์ ............. 3. สมันของประเทศไทยสูญพันธุ์ไปเพราะการกระทําของมนุษย์ไม่ใช่ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ............. 4. ปัจจุบันสัตว์ปุาที่เหลือน้อยมากของประเทศไทยคาดว่าใกล้จะสูญพันธุ์ คือ ช้างปุาและพะยูน ............. 5. กูปรีเป็นสัตว์ปุาที่สูญพันธุ์ไปแล้วหลังจากไม่มีรายงานการพบกูปรีอีกเลยในประเทศไทย ประเทศลาว และประเทศกัมพูชา ............. 6. การค้าของปุาเน้นการกระทําที่ทําให้สัตว์ปุาสูญพันธุ์ได้เร็วที่สุด ............. 7. การบริโภคอาหารปุาโดยเฉพาะเนื้อสัตว์ปุามีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ได้ ............. 8. ปลาในมหาสมุทรหาชนิดสูญพันธุ์ไปเพราะวิธีการจับปลา ............. 9. ปลาที่ใกล้สูญพันธุ์ของประเทศไทยอีกสายพันธุ์หนึ่ง คือ ปลากระโห้ ............. 10. สัตว์ปุาสงวน หมายถึง สัตว์ปุาหายาก ห้ามล่า ห้ามมีไว้ครอบครองโดยเด็ดขาด ............. 11. สัตว์ปุาคุ้มครอง หมายถึง สัตว์ปุาเพื่อการอนุรักษ์ ห้ามล่า ห้ามทํา ห้ามนําเข้า หรือส่งออกเว้นแต่จะได้รับ อนุญาต ............. 12. นกเจ้าฟูาหญิงสิรินธรเป็นนกคล้ายนกนางแอ่นได้มีการพบที่บึงบอระเพ็ดจังหวัดนครสวรรค์ปัจจุบันพบได้น้อยมาก ............. 13. นกแต้วแล้วท้องดําเป็นนกที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศ ............. 14. นกขุนทองของประเทศไทยแบ่งเป็นนกขุนทองเหนือกับนกขุนทองใต้ ............. 15. เศษใบไม้ กิ่งไม้แห้งที่ร่วงลงมาทับถม และหญ้าแห้งที่พื้นดินเป็นเชื้อเพลิงอย่างดีของไฟปุา ............. 16. ไฟปุาเกิดจาก ฟูาผ่า การเสียดสีของกิ่งไม้แห้ง และจากฝีมือมนุษย์ ............. 17. การพยายามทําความสะอาดผืนปุาเป็นเรื่องยาก แต่ถ้าทําได้จะเกิดผลดีต่อการปูองกันการเกิดไฟปุา ............. 18. อากาศหนาวเย็น แห้งแล้งมักมีส่วนทําให้เกิดไฟปุา ............. 19. ประเทศไทยมีปุาไม้ทั้งประเภทผลัดใบและไม่ผลัดใบ ............. 20. ปุาไม้ประเภทผลัดใบ หมายถึง ปุาไม้ที่จะทิ้งใบ (ใบร่วงหมด) ในช่วงเวลาหนึ่งแล้วแตกใบใหม่ทั้งหมด ............. 21. ปุาไม้ประเภทไม่ผลัดใบ หมายถึง ปุาไม้ที่จะไม่ทิ้งใบ (ไม่ร่วงหมด) แต่ใบจะร่วงไปตามอายุแล้วเกิดใหม่ไปเรื่อยๆ ............. 22. ปุาไม้เป็นทรัพยากรที่สามารถทดแทนขึ้นมาใหม่ได้ด้วยตัวเอง และความช่วยเหลือจากมนุษย์ในเวลาที่ไม่มากนัก ............. 23. สัตว์ปุามีส่วนช่วยให้ระบบนิเวศของปุามีความสมดุลย์ และดําเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ............. 24. กิจกรรมของสัตว์ปุาในระบบนิเวศปุา เช่น การช่วยผสมพันธุ์พืช การช่วยกระจายพันธุ์พืช การช่วยกําจัด ศัตรูพืช การช่วยกําจัดวัชพืช ช่วยเพิ่มคุณภาพของดินที่เป็นอาหารของพืช ............. 25. การบุกรุกปุา การเผาปุา การตัดไม้ทําลายปุา มีผลทําให้การทดแทนตามธรรมชาติเป็นไปได้ยากทําให้เกิดผล ต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่เกี่ยวข้องหลายอย่าง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและผลต่อสิ่งแวดล้อม (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. สัตว์ปุาคุ้มครอง คือ สัตว์ปุาที่มีชื่ออยู่ในบัญชีแนบท้าย กฎกระทรวง กําหนดให้เป็นสัตว์ปุาบางชนิดเป็นสัตว์ปุาคุ้มครอง พ.ศ. 2546 ตามพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปุา พ.ศ. 2535 ประกอบด้วย - สัตว์ปุาจําพวกสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 201 ชนิด

- นก 952 ชนิด

- สัตว์เลื้อยคลาน 91 ชนิด

- สัตว์สะเทินน้ําสะเทินบก 12 ชนิด

- แมลง 20 ชนิด

- ปลา 14 ชนิด

- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอื่นๆ 12 ชนิด 2. สัตว์ปุาสงวน คือ สัตว์ปุาที่หายาก ห้ามล่าโดยเด็ดขาด และห้ามมีไว้ในครอบครอง ตามพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ปุา พ.ศ. 2535 มี 15 ชนิด ดังนี้ 1. ............................................................. 2. ............................................................. 3. .................................................... 4. ............................................................. 5. ............................................................. 6. .................................................... 7. ............................................................. 8. ............................................................. 9. .................................................... 10. ............................................................. 11. ............................................................. 12. .................................................. 13. ............................................................. 14. ............................................................. 15. .................................................. และพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ปุา พ.ศ. 2562 (พฤษภาคม 2562) เพิ่มอีก 4 ชนิดคือ 1. ..................................................................................................... 2. .................................................................................................... 3. .................................................................................................... 4. .................................................................................................... สรุปว่า ปัจจุบัน สัตว์ปุาสงวนมี .............................. ชนิด แบ่งเป็น 1. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ํานม

.............................ชนิด

2. นก

.............................ชนิด

3. สัตว์เลื้อยคลาน

.............................ชนิด

4. ปลา

.............................ชนิด


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท รู้จักหิน (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. หินเป็นทรัพยากรธรรมชาติหรือไม่ อย่างไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 2. มีลักษณะใดของหินบ้างที่เราสามารถสังเกตได้ ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 3. หิน คืออะไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 4. หิน เป็นสิ่งที่มนุษย์สามารถสร้างขึ้นได้หรือไม่เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 5. หินแต่ละชนิดจะมีลักษณะและสมบัติเหมือนหรือ แตกต่างกัน เพราะเหตุใด ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 6. นักเรียน เข้าใจว่า “แร่ประกอบหิน” คืออะไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 7. เราแบ่งหินได้เป็นกี่กลุ่ม อะไรบ้าง และใช้อะไรเป็นเกณฑ์ ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 8. จากใบความรู้นักธรณีวิทยาใช้เกณฑ์ใดในการจําแนกหิน ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 9. จากใบความรู้หินอัคนีแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 10. หินอัคนีแทรกซอนและหินอัคนีพุ เหมือนและแตกต่าง กันอย่างไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 11. ยกตัวอย่างหินอัคนีแต่ละชนิดว่ามีอะไรบ้าง ตอบ ............................................................................... …………………….......………………………………………………………

12. นักเรียนคิดว่าเหตุใดนักธรณีวิทยาจึงตั้งชื่อหินตะกอน ว่า “หินตะกอน” ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 13. ตัวการธรรมชาติที่พัดพาและเคลื่อนย้ายตะกอนจากที่ ต่างๆ ไปสะสมยังแอ่งสะสม มีอะไรบ้าง ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 14. เหตุใดบางครั้งจึงเรียกหินตะกอนว่าหินชั้น ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 15. ยกตัวอย่างหินตะกอนว่ามีอะไรบ้าง ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 16.นักเรียนคิดว่าเหตุใดนักธรณีจึงตั้งชื่อหินแปรว่า“หินแปร” ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 17. การแปรสภาพของหินทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ หินอย่างไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 18. ยกตัวอย่างหินแปร และแปรสภาพมาจากหินอะไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 19. หินแต่ละชนิดมีลักษณะและสมบัติที่สังเกตได้เป็นอย่างไร ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 20. นักธรณีวิทยาจําแนกหินโดยใช้อะไรเป็นเกณฑ์ และ จําแนกหินออกเป็นกี่ประเภท ตอบ ............................................................................... …………………….......……………………………………………………… 21. หินแต่ละชนิดสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้เหมือนหรือ แตกต่างกัน ตอบ ............................................................................... …………………….......………………………………………………………


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท รู้จักหิน (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง

จากแผนภาพวัฏจักรของหิน จงระบุกระบวนการเกิดหินและหินที่เปลี่ยนแปลงแต่ละชนิด 1. ......................................................................................... 2. .......................................................................................... 3. ......................................................................................... 4. .......................................................................................... 5. ......................................................................................... A. ......................................................................................... B. .......................................................................................... C. ......................................................................................... D. .......................................................................................... E. .........................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท รู้จักหิน (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง ที่

ชนิดของหิน

1. ลักษณะของหินอัคนี 1.

หินแกรนิต

2.

หินบะซอลต์

3.

หินพัมมิซ

4.

หินออบซิเดียน

2. ลักษณะของหินชั้นหรือหินตะกอน 1.

หินทราย

2.

หินปูน

3.

หินกรวด

4.

หินดินดาน

3. ลักษณะของหินแปร 1.

หินชนวน

2.

หินอ่อน

3.

หินไนส์

4.

หินควอร์ตไซด์

สี

ลักษณะสาคัญ


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท รู้จักหิน (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อความด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด

1. หินลับมีด หินประดับ

ก. หินชนวน

2. หินประดับ แกะสลัก การก่อสร้าง

ข. หินออบซิเดียน

3. ทํากําแพงและทางเดิน

ค. หินแกรนิต

4. ทําอาวุธโบราณ

ง. หินปูน

5. ใช้ปูพื้น ผนัง และแกะสลัก

จ. หินดินดาน

6. เชื้อเพลิง

ฉ. ถ่านหิน

7. ทําปูนซีเมนต์ เซรามิกซ์

ช. หินอ่อน

8. ทําปูนซีเมนต์ ปูนขาว งานก่อสร้าง

ซ. หินฟิลไลต์

9. ทําหินสําหรับขัด

ฌ. หินทรายแปูง

10. ทําหินก่อสร้าง

ญ. หินพิมมัช ฎ. หินชีสต์ ฏ. หินศิลาแลง ฐ. หินแอนดีไซต์ ฑ. หินควอร์ตไซต์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท รู้จักหิน (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 1. หินตามธรรมชาติมีการเปลี่ยนแปลงด้วยวิธีการใดบ้าง ตอบ ______________________________________________________________________________________ 2. การผุพังอยู่กับที่เป็นการเปลี่ยนแปลงที่แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่อะไรบ้าง ตอบ ______________________________________________________________________________________ 3. การพุพังทางกายภาพหมายถึงอะไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ 4. ปัจจัยใดที่สําคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ตอบ ______________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________

5. พืชทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของหินทางกายภาพอย่างไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ 6. การกระทําใดของสัตว์ที่ทําให้หินเกิดการเปลี่ยนแปลง ตอบ ______________________________________________________________________________________ 7. การกระทําใดของมนุษย์ที่ทําให้หินเกิดการเปลี่ยนแปลง ตอบ ______________________________________________________________________________________ 8. ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิทําให้หินเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ 9. ความแตกต่างระหว่างอุณหภูมิของน้ําทําให้หินเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________

10. การเปลี่ยนแปลงของหินโดยการผุพังทางเคมีเป็นอย่างไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________

11. การเปลี่ยนแปลงของหินโดยการกร่อนเป็นอย่างไร ตอบ ______________________________________________________________________________________ 12. หินงอก หินย้อย และเสาหินเป็นการเปลี่ยนแปลงของหินในรูปแบบใด ตอบ ______________________________________________________________________________________


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. ภัยพิบัติทางธรรมชาติมีอะไรบ้าง ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................................................ 2. สมมติว่านักเรียนอาศัยอยู่บริเวณพื้นที่ลาดเชิงเขา เมื่อมีพายุหรือฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน นักเรียนควรทําอย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 3. พายุฝนฟูาคะนองหรือพายุฤดูร้อนมักจะเกิดในช่วงใด ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 4. พายุฝนฟูาคะนองหรือพายุฤดูร้อนมีลักษณะอย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 5. สึนามิคืออะไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… 6. สึนามิเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… 7. ไฟปุามักเกิดขึ้นในพื้นที่แบบใด ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… 8. โดยส่วนใหญ่ไฟปุาในประเทศไทยเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................................ ................ 9. เราสามารถคาดการณ์ช่วงเวลาและสถานที่ที่อาจเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติได้หรือไม่ อย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... 10. การตัดไม้และบุกรุกทําลายปุาอาจทําให้เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติอันเนื่องมาจากฝนมีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ................................................................................................................................................................................................ 11. การแผ้วถางปุาชายเลนหรือปุาชายหาดเพื่อนําพื้นที่ไปทําการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา โรงแรม หรือรีสอร์ต อาจทําให้ภัย พิบัติทางธรรมชาติอันเนื่องมาจากคลื่นและลมทะเลมีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างไร ตอบ …………………………………………....………………………………………………………………………………………………………………… ............................................................................................................................. ................................................................... ............................................................................................................................. ...................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความถูกต้องสมบูรณ์ 1. การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยาที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันรุนแรงและเป็นภัยอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งอื่นๆ เรียกว่า ___________________________________________________________________________________________

2. ต้นไม้ในบริเวณต่างๆ ทําหน้าที่สําคัญ คือ _________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________

3. ดินหรือดินลูกรังในที่ลาดชันของเนินหรือภูเขา เมื่อไม่สามารถต้านแรงโน้มถ่วงของโลกได้ จะเกิด ________________ 4. ในพื้นที่ของภาค________________________และ______________________ของประเทศจะมีดินถล่มเกิดขึ้นมาก 5. สังเกตดินถล่มได้จาก_________________________________________________________________________ 6. อันตรายจากดินถล่มที่ร้ายแรงที่สุดคือ ____________________________________________________________ 7. สิ่งที่ต้องปฏิบัติเมื่อประสบกับเหตุการณ์ดินถล่ม คือ __________________________________________________ 8. เมื่อต้องอยู่ในพื้นที่เสี่ยงต่อดินถล่ม สิ่งที่เราควรทําเพื่อลดโอกาสการเกิดดินถล่มคือ ___________________________ ___________________________________________________________________________________________

9. ดินถล่มที่เกิดขึ้นในประเทศไทยเกิดขึ้นที่ เช่น ______________________________________________________ ___________________________________________________________________________________________

10. ธรณีพิบัติภัยของพื้นดินที่ติดกับทะเล เรียกว่า _____________________________________________________ 11. ชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทย เป็นพื้นที่ของจังหวัด _______________________________________________ จังหวัด 12. ชายฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยมีความยาว _____________________________________________________ กิโลเมตร และชายฝั่งทะเลด้านทะเลอันดามันมีความยาว ________________________________________________ กิโลเมตร 13. บริเวณที่มีการกัดเซาะชายฝั่งรุนแรงมา อันตราการกัดเซาะต่อปีมีถึง ____________________________ เมตรต่อปี 14. การกัดเซาะชายฝั่งที่รุนแรงเกิดขึ้นบริเวณ_______________________________________________ของอ่าวไทย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. คลื่นในแม่น้ํา ทะเล มหาสมุทรเกิดจากลม ............. 2. คลื่นเกิดจากพายุจะมีขนาดใหญ่กว่าคลื่นปกติเป็น 100 เท่า ............. 3. พายุที่สร้างคลื่นใหญ่ๆ เช่น พายุไต้ฝุน พายุเฮอริเคน พายุทอร์นาโด ............. 4. คลื่นยักษ์ที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวหรือภูเขาไฟระเบิด เรียกว่า สึนามิ ............. 5. สึนามิเคลื่อนที่ได้ประมาณ 700-800 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ............. 6. คลื่นของสึนามิสูงประมาณ 30 เมตร ............. 7. สึนามิเคยเกิดขึ้นกับประเทศไทยเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ............. 8. อาฟเตอร์ช็อค (After shocks) คือ แผ่นดินไหวที่ไหวหลังจากเกิดแผ่นดินไหวครั้งแรก ............. 9. จังหวัดที่ประสบภัยสึนามิ พ.ศ. 2547 คือ จังหวัดภูเก็ต ระนอง พังงา ตรัง กระบี่ ............. 10. ประเทศญี่ปุนเป็นประเทศที่ปูองกันสึนามิได้และมีประสิทธิภาพมาก ............. 11. สึนามิเกิดจากแผ่นดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด หรือการชนของอุกกาบาต หรือการถล่มของแผ่นดิน ใต้ท้องทะเลหรือมหาสมุทร ............. 12. สึนามิเป็นอุบัติภัยที่ร้ายแรงมาก โดยที่ไม่อาจทราบล่วงหน้าได้ว่าจะเกิดเมื่อใด ............. 13. มีเวลามากพอสําหรับการเตรียมตัวรับมือสึนามิหลังทราบว่าเกิดขึ้น ............. 14. เมื่อทราบว่าเขตพื้นที่ที่เราอาศัยมีโอกาสจะเกิดสึนามิขึ้นได้ เราควรมีการฝึกซ้อมรับมือสึนามิเป็นประจํา เพื่อให้มีความคล่องตัวและผิดพลาดให้น้อยที่สุด ............. 15. คลื่นที่พัดเข้าชายฝั่งถ้ามีตะกอนมาทับถมชายฝั่ง ชายฝั่งจะงอกออกไปในทะเล ............. 16. การกัดเซาะชายฝั่งของประเทศไทยมีอยู่ 2 ระดับ คือ ระดับปานกลางและระดับรุนแรง ............. 17. การกัดเซาะชายฝั่งระดับปานกลางกัดเซาะลึกเข้ามาในพื้นดินประมาณ 1-3 เมตรต่อปี ............. 18. การกัดเซาะชายฝั่งที่เกิดขึ้นอย่างช้าๆ ตลอดเวลาเกิดจากน้ําขึ้น-น้ําลง ............. 19. การบุกรุกทําลายปุาชายเลนทําให้น้ําทะเลเข้ามากัดเซาะพื้นดินได้มากขึ้น ............. 20. การสูบน้ําบาดาลและการสร้างเขื่อนมีผลต่อการกัดเซาะชายฝั่งของน้ําทะเล ............. 21. การกัดเซาะชายฝั่งของแม่น้ําทําให้แม่น้ําเปลี่ยนทิศทางไปจากแนวเดิม ............. 22. การกัดเซาะชายฝั่งแม่น้ําโขงบางส่วนทําให้ประเทศไทยได้พื้นที่เพิ่มและสูญเสียพื้นที่บางส่วน ............. 23. ถ้าปลูกปุาชายเลนจะช่วยลดการกัดเซาะชายฝั่ง ............. 24. การกัดเซาะชายฝั่งของแม่น้ําสามารถแก้ไขได้ด้วยการสร้างเขื่อนริมน้ํา ............. 25. ราคาของกุ้งกุลาดําหรือกุ้งแช่บ๊วยมีส่วนกระตุ้นให้เกิดการบุกรุกปุาชายเลน


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์และการเปลี่ยนแปลงของโลก บท ภัยพิบัติทางธรรมชาติ (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด .......................... 1. เกิดในพื้นที่ที่เป็นรอยเลื่อยหรือรอยต่อระหว่าง แผ่นเปลือกโลกโดยไม่มีฤดูกาลที่แน่นอน .......................... 2. เกิดในพื้นที่ทเี่ ป็นทางน้ําไหลผ่าน และพื้นที่ที่ไม่มี ปุาไม้หรือพืชพรรณปกคลุมดิน โดยเกิดในฤดูฝน

A. พายุหมุนเขตร้อน พายุฝนฟูา คะนอง หรือพายุฤดูร้อน

ช่วงที่มีฝนตกหนักติดต่อกันหลายวัน ........................... 3. เกิดในพื้นที่ภูมิประเทศหินปูน โดยไม่มีช่วงเวลา

B. สึนามิ

การเกิดที่แน่นอน ........................... 4. เกิดในทะเลบริเวณที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหว

C. แผ่นดินไหว และภูเขาไฟประทุ

และอาจส่งผลกระทบต่อพื้นที่ชายฝั่งทะเลได้ โดยไม่มีช่วงเวลาการเกิดที่แน่นอน

D. ภัยแล้ง

........................... 5. เกิดในพื้นที่ชายฝั่งทะเล โดยบริเวณที่มีโอกาสได้รับ ผลกระทบรุนแรง คือ บริเวณที่มีการบุกรุกทําลายปุาชายเลน

E. หลุมยุบ

หรือปุาชายหาด ซึ่งเป็นกําแพงธรรมชาติที่ช่วยปูองกันคลื่น และลมทะเล และบริเวณที่มีการปลูกสิ่งก่อสร้างประชิด

F. น้ําท่วม น้ําปุาไหลหลาก

ชายฝั่งทะเล ภัยพิบัติทางธรรมชาตินี้มักมีความรุนแรงใน

และดินถล่ม

ช่วงฤดูมรสุมหรือช่วงที่เกิดพายุหมุนเขตร้อน ........................... 6. เกิดในช่วงฤดูฝนและช่วงฤดูร้อน ซึ่งพายุฝนฟูาคะนอง มีโอกาสเกิดลูกเห็บร่วมด้วย ........................... 7. เกิดจากการขาดแคลนน้ําในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน ส่งผลให้สภาพอากาศร้อนและแห้งแล้ง ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของ การเกิดไฟปุา

G. การกัดเซาะชายฝั่ง


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 5 ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ร่วมเผยแพร่สร้างสรรค์สื่อวิทยาศาสตร์ โดย เพจ ครู ฉ ช้าง สอนวิทย์ “ตรงตามตัวชี้วัด จัดเพิ่มเติมความรู้ ส่งเสริมสร้างสรรค์สื่อ เคียงคู่ครูวิทยาศาสตร์ไทย”


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ฤดูของโลกและฤดูของประเทศไทย (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ฤดูกาล มีฤดูอะไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ฤดูอะไรบ้างที่ไม่มีในประเทศไทย ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. ชื่อเรียกของฤดูกําหนดจากสิ่งใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. ฤดูใบไม้ร่วงและฤดูใบไม้ผลิแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ...................................................................................................................................................................... .......................... 5. ลักษณะของแสงที่ตกกระทบบนลูกโลกบริเวณเส้นศูนย์สูตรและบริเวณเหนือศูนย์สูตร เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 6. เมื่อลูกโลกได้รับแสงจากโคมไฟบริเวณเส้นศูนย์สูตร และบริเวณเหนือศูนย์สูตรมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิเท่ากันหรือไม่ อย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 7. รู้หรือไม่ว่า เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 8. นักเรียนคิดว่า หากนักเรียนทําการทดลองเช่นเดิม แต่วัดอุณหภูมิบริเวณใต้เส้นศูนย์สูตร อุณหภูมิของบริเวณนี้น่าจะ ใกล้เคียงกับบริเวณเส้นศูนย์สูตรหรือเหนือศูนย์สูตร เพราะเหตุใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................................................................

9. ที่ตําแหน่ง A และ B ประเทศไทยควรเป็นฤดูอะไร ทําไมถึงคิดเช่นนั้น ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 10. ช่วงเดือนมิถุนายนและเดือนธันวาคมเป็นฤดูอะไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….


11. ซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้มีการเปลี่ยนแปลงฤดู เหมือนหรือต่างกันอย่างไร เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 12. โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ 1 รอบ ใช้เวลาประมาณเท่าใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 13. ถ้าโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ในลักษณะนี้ต่อไปเรื่อยๆ การเกิดฤดูจะเป็นอย่างไร ในแต่ละปี ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 14. ฤดูเป็นวัฏจักรหรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 15. ในประเทศไทยมีกี่ฤดู อะไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 16. เมื่อโลกโคจรไปยังตําแหน่งต่างๆ ประเทศไทยได้รับแสงจาก ดวงอาทิตย์อย่างไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 17. จากการโคจรของโลกรอบดวงอาทิตย์ ประเทศไทยได้รับพลังงานความร้อนอย่างไร เพราะเหตุใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 18. ประเทศไทย จีน สหรัฐอเมริกา ต่างก็อยู่บนซีกโลกเหนือ ฤดูของประเทศไทยเหมือนหรือแตกต่างจาก 2 ประเทศนี้ หรือไม่อย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ...................................................................................................................... .......................................................................... 19. ฤดูของประเทศไทยขึ้นกับอะไร เพราะเหตุใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 20. เมื่อวิเคราะห์รูป ในใบความรู้ในใบความรู้ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านประเทศไทยในช่วงเวลาใดและมีผล กับประเทศไทยอย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 21. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดผ่านประเทศไทยในช่วงเวลาใด และมีผลกับประเทศไทยอย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ........................................................................................................................................................................... ..................... 22. ในช่วงเวลานี้ อุณหภูมิของอากาศของประเทศไทยจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร และประเทศไทยจะเป็นฤดูใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 23. เพราะเหตุใดภาคใต้ของประเทศไทยจึงมีฝนตกเกือบตลอดทั้งปี ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................................................................ 24. นักเรียนคิดว่าโลกมีกี่ฤดู อะไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 25. ฤดูของโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 26. ฤดูของประเทศไทยเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ฤดูของโลกและฤดูของประเทศไทย (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์

1. โลก ตําแหน่งที่ 1 ขั้วโลกเหนือเบน ................................................. ดวงอาทิตย์ ประเทศซีกโลกเหนือ เป็นฤดู .................................................................................. ประเทศซีกโลกใต้อุณหภูมิต่ําลง เป็นฤดู ................................................................. 2. โลก ตําแหน่งที่ 2 โลกหัน ................................................. หาดวงอาทิตย์ ประเทศซีกโลกเหนือ เป็นฤดู ......................................................................... ประเทศซีกโลกใต้ เป็นฤดู .............................................................................. 3. โลก ตําแหน่งที่ 3 ขั้วโลกใต้เบน ................................................. ดวงอาทิตย์ ประเทศซีกโลกเหนืออุณหภูมิต่ําลง เป็นฤดู ........................................................ ประเทศซีกโลกใต้อุณหภูมิสูงขึ้น เป็นฤดู ............................................................ 4. โลก ตําแหน่งที่ 4 โลกหัน ................................................. หาดวงอาทิตย์ ประเทศซีกโลกเหนือ เป็นฤดู ......................................................................... ประเทศซีกโลกใต้ เป็นฤดู ..............................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ฤดูของโลกและฤดูของประเทศไทย (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด ................. 1. ขณะที่โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์ โลกจะหมุนรอบตัวเองด้วย ทําให้โลกได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์เท่ากัน ................. 2. เนื่องจากแกนของโลกเอียงทําให้โลกได้รับแสงจากดวงอาทิตย์แตกต่างกัน ................. 3. บริเวณที่ได้รับแสงแนวเฉียงจะมีอุณหภูมิสูง ................. 4. บริเวณที่ได้รับแสงแนวเส้นตรงจะมีอุณหภูมิต่ํา ................. 5. ประเทศในเขตศูนย์สูตรจะได้รับพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์ค่อนข้างมากตลอดปี ................. 6. ประเทศไทยเป็นประเทศในเขตศูนย์สูตร จึงจัดเป็นเมืองร้อน ................. 7. อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นจนร้อนทําให้เกิดฤดูใบไม้ผลิ เพราะพืชจะผลิใบใหม่ หลังจากที่ใบร่วงในฤดูใบไม้ร่วง ................. 8. อุณหภูมิที่ลดลงจนเย็นทําให้เกิดฤดูใบไม้ร่วง เพราะพืชจะผลัดใบ หลังจากที่ใบทําหน้าที่ในฤดูใบไม้ผลิ ................. 9. จากเดือนมิถุนายนไปจนถึงเดือนมีนาคม ประเทศในซีกโลกเหนือจะมีฤดู 4 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ ................. 10. จากเดือนมิถุนายนไปจนถึงเดือนมีนาคม ประเทศในซีกโลกใต้จะมีฤดู 4 ฤดู คือ ฤดูหนาว ฤดูใบไม้ผลิ ฤดูร้อน ฤดูใบไม้ร่วง ................. 11. พลังงานจากดวงอาทิตย์มีความเข้มข้นไม่เท่ากันเมื่อมาถึงโลก ................. 12. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ทําให้เกิดฤดูร้อน ................. 13. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ทําให้เกิดฤดูฝน ................. 14. ฤดูฝนของประเทศไทยเริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤษภาคมไปถึงกลางเดือนตุลาคม ................. 15. ฤดูหนาวของประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนตุลาคม ถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ ................. 16. ฤดูร้อนของประเทศไทยเริ่มตั้งแต่กลางเดือนกุมภาพันธ์ไปถึงกลางเดือนพฤษภาคม ................. 17. ฤดูร้อนของประเทศไทยเป็นช่วงเวลาที่ได้รับอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้และสมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือน้อย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ข้างขึ้น ข้างแรม (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง ข้างขึ้น ข้างแรม เกิดขึ้นได้อย่างไร แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. เรามองเห็นวัตถุที่ไม่มีแสงในตัวเองได้อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. ถ้าให้ลูกปิงปองแทนดวงจันทร์ เรามองเห็นลูกปิงปองได้อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

3. เรามองเห็นส่วนสว่างของดวงจันทร์ได้อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. เมื่อดวงจันทร์โคจรรอบโลก ดวงจันทร์ได้รับแสงจาก ดวงอาทิตย์ด้วยพื้นที่เท่าเดิมหรือไม่ อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. ทั้งๆ ที่ดวงจันทร์ได้รับแสงจากดวงอาทิตย์ครึ่งดวงเสมอ เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดวงจันทร์มีส่วนสว่างแตกต่างกันในแต่ ละตําแหน่งที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

....................................................................................................................... ......................................................................... 6. เพราะเหตุใดเราจึงเห็นดวงจันทร์มีรูปร่างแตกต่างไปทุกวันใน 1 เดือน ขณะที่มองเห็นดวงอาทิตย์มีรูปร่างเหมือนเดิม ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

................................................................................................................................ ................................................................ 7. ข้างขึ้น ข้างแรมคืออะไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

............................................................................................................................. ................................................................... 8. ข้างขึ้น ข้างแรมเกิดขึ้นได้อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

............................................................................................................................. ................................................................... 9. ข้างขึ้น ข้างแรมเป็นวัฏจักรหรือไม่ ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

............................................................................................................................. ...................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ข้างขึ้น ข้างแรม (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนตอบคําถามให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ดวงจันทร์เป็นดาวที่มีลักษณะคล้าย ..................................................... มีพื้นผิวขรุขระเป็นหลุมบ่อ โคจรหรือเคลื่ อนที่รอบ .......................................................................................... ดวงจันทร์จึงเป็น ............................................................. ของโลก 2. ขณะที่โลกหมุนรอบตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ในทิศทาง ............................................................ เมื่อมองจากบริเวณ เหนือขั้วโลกเหนือ ดวงจันทร์ก็หมุนรอบตัวเองและโคจรรอบโลกในทิศทางเดียวกันทําให้คนบนโลกมองเห็นดวงจันทร์ปรากฏ ขึ้นทางด้าน ..................................................................... และตกทางด้าน ............................................................................... 3. ในคืนวันเพ็ญ เราจะมองเห็นดวงจันทร์มีรูปร่าง .........................................และสว่าง .................................. มองเห็นเป็นสี .......................................................... ร่องรอยที่มองเห็น คือ ...........................................ซึง่ มองดูคล้าย .................................. 4. ดวงจันทร์ไม่มีแสงสว่างในตัวเอง คนบนโลกมองเห็นดวงจันทร์เนื่องจากได้รับแสงจาก ........................................................ แล้วสะท้อนเข้าสู่ตา ขณะที่ดวงจันทร์โคจรรอบโลก 5. ช่วงเวลาที่มองเห็นดวงจันทร์มีส่วนสว่างเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เรียกว่า .................................... และในวันที่ดวงจันทร์ส ว่างเต็มดวง เรียกว่า วันขึ้น ........................................ หรือ ................................................ 6. ช่วงเวลาที่มองเห็นดวงจันทร์มีส่วนสว่างลดลงเรื่อยๆ เรียกว่า .......................... และในวันที่มองไม่เห็นดวงจันทร์บนท้องฟูา เรียกว่า วันแรม ....................................... หรือ ............................................... คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด ............................ 1. ดวงจันทร์มีการเคลื่อนที่เช่นเดียวกับโลก ............................ 2. เราสามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้ ในทุกๆ คืน ............................ 3. ดวงจันทร์อยู่บนท้องฟูาเฉพาะเวลากลางคืนเท่านั้น ............................ 4. ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเองในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ............................ 5. ดวงจันทร์ใช้เวลาโคจรรอบโลกน้อยกว่าเวลาที่โลกหมุนรอบตัวเอง ............................ 6. ในช่วงเวลาที่แตกต่างกันเราจะเห็นตําแหน่งของดวงจันทร์เปลี่ยนไป ............................ 7. การขึ้นและตกของดวงจันทร์มีลักษณะเหมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ ............................ 8. ดวงจันทร์ลอยสูงขึ้นทางทิศตะวันตกและลอยต่ําลงมาจนกระทั้งลับขอบฟูาไปทางทิศตะวันออก


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง ข้างขึ้น ข้างแรม (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงเขียนเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ถูกต้อง หรือเขียนเครื่องหมาย X หน้าข้อที่ผิด ............................ 1. ดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก ดวงจันทร์จึงโคจรรอบโลก ............................ 2. ดวงจันทร์เป็นบริวารของดาวอาทิตย์ด้วย เพราะดวงจันทร์เป็นบริวารของโลก ............................ 3. ดวงจันทร์มีแสงสว่างในตัวเองเป็นแสงสีเหลืองนวล ............................ 4. เราสามารถมองเห็นดวงจันทร์ได้หลายลักษณะ เช่น ทั้งเต็มดวง ค่อนดวง ครึ่งดวง เป็นเสี้ยว ............................ 5. โลกหมุนรอบตัวเอง ดวงจันทร์โคจรรอบโลก ทําให้เรามองเห็นดวงจันทร์มีลักษณะเปลี่ยนไปทุกวัน ............................ 6. วันเพ็ญ เราจะมองเห็นดวงจันทร์สว่างเต็มดวง ............................ 7. วันเดือนดับเป็นวันที่ดวงจัน ทร์สว่างเป็นเสี้ยว ............................ 8. วันที่เริ่มมองเห็นดวงจันทร์ไปจนกระทั่งมองไม่เห็นดวงจันทร์ เรียกว่า วันข้างแรม ............................ 9. วันที่มองไม่เห็นดวงจันทร์ไปจนกระทั่งมองเห็นดวงจันทร์ เรียกว่า วันข้างขึ้น ............................ 10. จากวันเพ็ญหนึ่งไปจนถึงวันเพ็ญหนึ่งจะเป็นระยะเวลา 1 เดือน หรือ 30 วัน ............................ 11. ดวงจันทร์โคจรรอบโลกเป็นเวลา 1 เดือน ............................ 12. วันข้างขึ้นจะเริ่มจากวันขึ้น 1 ค่ํา ไปจนถึงวันขึ้น 15 ค่ํา รวม 15 วัน ............................ 13. วันข้างแรมจะเริ่มจากวันแรม 1 ค่ํา ไปจนถึงวันแรม 15 ค่ํา รวม 15 วัน ............................ 14. วันขึ้น 15 ค่ํา และวันแรม 15 ค่ํา จะทําให้น้ําขึ้นสูงสุด ............................ 15. วันข้างขึ้นและข้างแรมทําให้น้ําขึ้นมาก ชาวประมงสามารถนํามาใช้ในการจับปลาได้ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําข้อความที่กําหนดให้เติมลงในช่องว่างให้ถูกต้อง ขอบฟูา

ตามเข็มนาฬิกา

โลก

เต็มดวง

ทวนเข็มนาฬิกา

ตะวันออก

ดวงจันทร์

ตะวันตก

เสี้ยว

1. ..................................................................... มีรูปร่างเปลี่ยนแปลงไปในแต่ละคืน 2. ในคืนวันเพ็ญเราจะมองเห็นดวงจันทร์สว่าง ...................................................................................................................... 3. ดวงจันทร์หมุนรอบตัวเอง ขณะเดียวกันก็โคจรรอบโลกในทิศ .......................................................................................... 4. หากวันนี้ดวงจันทร์เต็มดวง วันถัดไปดวงจันทร์จะค่อยๆ ลดลงเป็น .................................................................................. 5. เมื่อดวงอาทิตย์ลับ ................................... ไป เราจะมองเห็นดวงจันทร์ลอยขึ้นไปบนท้องฟูาทางทิศ ............................... และลอยลับขอบฟูาไปทางทิศ ................................................................................................................................................


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง สุริยุปราคาและจันทรุปราคา (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง สุริยุปราคาและจันทรุปราคา ในหนังสือเรียน สสวท. หน้า 243 แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. เรื่องที่อ่านเป็นเรื่องจริงหรือไม่ รู้ได้อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

2. นักเรียนคิดว่า ปรากฏการณ์ที่ดวงอาทิตย์และดวงจันทร์มืด เกิดจากราหูอมดวงอาทิตย์และดวงจันทร์หรือไม่ เพราะเหตุใด ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

.................................................................................................................................................................... ............................ 3. ในแต่ละเดือน ดวงจันทร์มีการเคลื่อนที่อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

4. ถ้าดวงจันทร์โคจรอยู่ในแนวเส้นตรงระหว่างดวงอาทิตย์และโลก จะเกิดอะไรขึ้น ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

5. คนที่อยู่บนโลกตรงบริเวณเงามัว จะมองเห็นดวงอาทิตย์หรือไม่ อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

6. คนที่อยู่บนโลกบริเวณอื่นๆ นอกเงาของดวงจันทร์ จะมองเห็นดวงอาทิตย์หรือไม่ อย่างไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

7. เราเรียกปรากฏการณ์ที่มองเห็นดวงอาทิตย์มืดทั้งดวงว่าอะไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

8. เราเรียกปรากฏการณ์ที่มองเห็นดวงอาทิตย์มืดบางส่วนว่าอะไร ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

9. ปรากฏการณ์นี้มองเห็นได้ในวันที่ดวงจันทร์อยู่ในตําแหน่งใด เมื่อเทียบกับโลกและดวงอาทิตย์ และเป็นวันใดตามจันทรคติ ตอบ

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ เรื่อง สุริยุปราคาและจันทรุปราคา (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความถูกต้องสมบูรณ์

1. จันทรุปราคา คือรูป ______________ 2. สุริยุปราคา คือรูป _______________ 3. สุริยุปราคาเต็มดวงคือ _____________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ 4. สุริยุปราคาบางส่วนคือ _____________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ 5. สุริยุปราคาวงแหวน คือ ____________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________________ 6. ขณะที่เกิดสุริยุปราคาไม่ใช่ทุกคนบนโลกจะเห็นสุริยุปราคา จะมีเฉพาะคนที่อยู่บริเวณ________________________ 7. เงาที่เกิดจากดวงจันทร์บังดวงอาทิตย์มี 2 ประเภทคือ _____________________ และ _____________________ 8. สุริยุปราคาเต็มดวงครั้งสําคัญของประเทศไทยเกิดขึ้นวันที่ ____________________________________________ ที_่ ______________________________________________________________________________________ เพราะ____________________________________________________________________________________


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท เทคโนโลยีอวกาศ (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนอ่านเนื้อเรื่อง เทคโนโลยีอวกาศ แล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้ 1. นักดาราศาสตร์ค้นพบดาวที่อยู่ห่างไกลจากโลกมากๆ ได้อย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 2. ในการค้นหาดาวเคราะห์นอกระบบสุริยะ นักดาราศาสตร์ใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 3. เรื่องที่อ่านได้กล่าวถึงการทํางานของคนในอาชีพใด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. นักบินอวกาศเหมือนหรือแตกต่างจากนักบินทั่วไปอย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 5. นักบินอวกาศต้องมีการฝึกฝนอะไรบ้างเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกสู่อวกาศ ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 6. เหตุใดนักบินอวกาศจึงต้องผ่านการทดสอบและฝึกปฏิบัติเช่นนั้น ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 7. เปรียบเทียบอาหารของนักบินอวกาศและอาหารของคนบนโลก เพราะเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ............................................................................................................................. ................................................................... 8. เรื่องที่อ่านได้กล่าวถึงเทคโนโลยีอวกาศอะไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 9. คอเปอร์นิคัสทราบได้อย่างไรว่า โลกและดาวเคราะห์โคจรรอบดวงอาทิตย์ ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 10. เพราะเหตุใดทฤษฎีที่ว่า โลกและดาวเคราะห์อื่นๆ โคจรรอบดวงอาทิตย์ จึงไม่เป็นที่ยอมรับในยุคก่อน ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 11. หากนักเรียนต้องการสังเกตดาวบนท้องฟูา นักเรียนจะเลือกอุปกรณ์ชิ้นใดช่วยในการสังเกต ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 12. กล้องโทรทรรศน์อวกาศแตกต่างจากกล้องโทรทรรศน์อย่างไร ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. .................................................................................................................................................................... ............................ 13. จากการศึกษาความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีอวกาศนักวิทยาศาสตร์ควรมีคุณลักษณะเด่นอย่างไรบ้าง ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. 14. นักเรียนคิดว่า ดาวเทียมชนิดใดมีประโยชน์ต่อการดํารงชีวิตของนักเรียนมากที่สุด ตอบ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. ................................................................................................................................................................................. ...............


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท เทคโนโลยีอวกาศ (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าข้อที่ถูกและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ______ 1. แรงกิริยาทุกแรงจะมีแรงปฏิกิริยาขนาดเท่ากัน กระทําในทิศทางตรงข้ามเสมอ ______ 2. จรวดเคลื่อนที่ได้จากแรงของเชื้อเพลิงที่เผาไหม้ไปในทิศทางตรงข้าม ______ 3. ทิศทางที่จรวดเคลื่อนไปข้างหน้า คือแรงกิริยา ______ 4. ทิศทางที่เชื้อเพลิงพุ่งออกมา คือแรงปฏิกิริยา ______ 5. จรวดเป็นพาหนะนํายานอวกาศและดาวเทียม จากโลกไปสู่เขตอวกาศ ______ 6. จรวดที่เคยนํายานอวกาศไปลงยังดวงจันทร์สําเร็จคือ จรวดแซทเทอร์น 5 ______ 7. เชื้อเพลิงที่จรวดใช้ขับเคลื่อนคือ ออกซิเจนเหลว ไฮโดรเจนเหลว ______ 8. จรวดท่อนเดียวดีกว่าจรวดหลายๆท่อนต่อกัน เพราะแข็งแรงและปลอดภัยมากกว่า ______ 9. หลักการที่สําคัญของจรวดคือ ลดน้ําหนักให้เหมาะสมและมีแรงขับดันที่มากพอ ______ 10. จรวจที่ต่อกันหลายท่อนเพื่อลดมวลของจรวดออกไปเรื่อยๆ ทําให้มีแรงขับดันมาก พอที่จะหนี แรงดึงดูดของโลกไปได้ ______ 11. ยานอวกาศหรือดาวเทียมที่จะไปโคจรรอบโลก ต้องโคจรรอบโลกด้วยความเร็วที่สัมพันธ์กับความสูงจากพื้นโลก ______ 12. จรวดที่มีแรงขับเคลื่อนน้อยกว่า แรงดึงดูดของโลกจะต้องล่องลอยอยู่ในอากาศ ______ 13. ที่ระดับความสูงมากขึ้นจะทําให้มีแรงดึงดูดของโลกน้อยลง ______ 14. ขณะที่ยานอวกาศหรือดาวเทียมโคจรรอบโลกนั้น แรงหนีแรงโน้มถ่วงของยานอวกาศ หรือดาวเทียม จะสมดุลกับแรงโน้มถ่วงของโลก ______ 15. นอกจากการใช้เชื้อเพลิงแข็งและเชื้อเพลิงเหลว ยังมีการใช้เชื้อเพลิงที่เป็นแก๊ส เช่น การใช้แก๊สซีนอน ซึ่งมีกระบวนการทําให้เป็นประจุและเร่งด้วยความต่างศักย์สูง ______ 16. ยานขนส่งอวกาศใช้เชื้อเพลิงแข็ง ______ 17. การระเบิดของยานชาลเลนเดอร์กับยานโคลัมเบียมีสาเหตุมาจากความผิดพลาดของระบบเชื้อเพลิงใน การขับเคลื่อน


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท เทคโนโลยีอวกาศ (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเติมคําหรือข้อความลงในช่องว่างให้ได้ใจความถูกต้องสมบูรณ์ 1. ก่อนที่จะให้มนุษย์ขึ้นไปบนอวกาศได้มีการทดลองกับ........................................................................................................ 2. อวกาศมีสภาวะแบบ............................................................................................................................. .............................. 3. การอยู่ในอวกาศเป็นเวลานานร่างกายจะมีการเปลี่ยนแปลงโดย........................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................................... 4. ชุดอวกาศจะช่วยปูองกัน...................................................... และ................................................... ให้แก่มนุษย์อวกาศได้ 5. การกินอาหารในสภาพไร้น้ําหนักทําได้โดย......................................................................................................................... 6. ภายในยานอวกาศจะต้องปรับ............................................................................................................................ ให้เหมาะ 7. .........................................................................................คือมนุษย์อวกาศคนแรกของโลกที่ปฏิบัติหน้าที่นอกยานอวกาศ และเหยียบพื้นดวงจันทร์เป็นครั้งแรก 8. ดาวเทียมดวงแรกของโลกที่ขึ้นไปโคจรรอบโลกมีชื่อว่า...................................................................................................... และเป็นของประเทศ............................................................................................................................................................... 9. ดาวเทียมดวงแรกของสหรัฐอเมริกาที่ขึ้นไปโคจรรอบโลกมีชื่อว่า....................................................................................... 10. .....................................................................................................................................คือผู้ที่ค้นพบการใช้เชื้อเพลิงเหลว 11. ประเทศ.................................................... และประเทศ.............................................. มีการแข่งขันเกี่ยวกับเรื่องอวกาศ 12. ยานอะพอลโล 11 มีส่วนประกอบของยาน 3 ส่วนคือ...................................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................................... 13. ยานอะพอลโล................................................... ที่ได้ลงจอดบนดวงจันทร์ และมีมนุษย์......... คนที่เคยลงไปที่ดวงจันทร์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย ปรากฏการณ์ดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ บท เทคโนโลยีอวกาศ (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : จงนําพยัญชนะด้านขวามือเติมหน้าข้อด้านซ้ายมือที่มีความสัมพันธ์กันมากที่สุด ............. 1. ดาวเทียมอินเทลแซท ดาวเทียมปาลาปา ดาวเทียมไทยคม ก. เส้นทางวงโคจรอยู่ในแนวเส้นศูนย์สูตร ............. 2. ดาวเทียมสื่อสาร

ข. อะพอลโล 11

............. 3. สถานีดาวเทียมภาคพื้นดินแห่งแรกของไทย

ค. ดาวเทียมสื่อสาร

............. 4. ดาวเทียมค้างฟูา

ง. โทรศัพท์ระหว่างประเทศ

............. 5. ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

จ. กล้องโทรทรรศน์แบบสะท้อนแสง

............. 6. โครงการอะพอลโล

ฉ. อําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี

............. 7. โครงการอะพอลโล-โซยุส

ช. หอวิจัยลอยฟูา

............. 8. โครงการสกายแล็ป

ซ. โครงการที่มีเปูาหมายนํามนุษย์อวกาศไปดวงจันทร์

............. 9. โครงการยานขนส่งอวกาศ

ฌ. โครงการระหว่างอเมริกากับรัสเซีย

............. 10. โครงการเจมินี

ญ. ยานอวกาศนํามาใช้ใหม่ได้

............. 11. ดาวเทียมสํารวจทรัพยากร

ฎ. เก็บข้อมูลของชั้นบรรยากาศในระดับสูง

............. 12. ดาวเทียมสังเกตการณ์ดาราศาสตร์

ฏ. นํามนุษย์อวกาศขึ้นสู่อวกาศ

............. 13. กล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล

ฐ. ดาวเทียมธีออส

............. 14. ไปสํารวจดวงจันทร์ครั้งสุดท้าย

ฑ. ยานอวกาศวอยเอเจอร์

............. 15. ดาวเทียม

ฒ. เครื่องส่งวิทยุ


เนื้อหาเพิ่มเติม สําหรับครูที่ใช้หนังสือของ อจท. และ พว. เรื่อง ชีวิตสัมพันธ์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (1) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ............. 1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตในแง่ของการถ่ายทอดพลังงานและการหมุนเวียนแร่ธาตุต่างๆ เรียกว่า ระบบนิเวศ ............. 2. ถิ่นที่อยู่อาศัยแหล่งใหญ่ๆ แบ่งเป็น 3 แหล่ง คือ น้ําจืด น้ําเค็ม และพื้นดิน ............. 3. ถิ่นที่อยู่อาศัยที่ใหญ่ที่สุดคือ น้ําเค็ม ............. 4. ถิ่นที่อยู่อาศัยที่มีสิ่งมีชีวิต อยู่มากที่สุด คือ แหล่งน้ําเค็ม ............. 5. ส่วนประกอบของที่อยู่อาศัย ประกอบด้วย สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต ............. 6. บทบาทของสิ่งมีชีวิต ผู้ผลิต ผู้บริโภคและผู้ย่อยสลาย ............. 7. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต มีความสัมพันธ์ในรูปแบบเดียวคือ ต่างฝุายต่างต้องได้รับผลประโยชน์ ............. 8. การอยู่ร่วมกันของต้นกาฝากกับต้นไม้ ไม่เป็นความสัมพันธ์แบบต่างฝุายต่างได้ประโยชน์ ............. 9. การอยู่ร่วมกันของเสือกับกวาง กบกับแมลง อีกากับกระรอก เป็นการอยู่ร่วมกันในฐานะผู้ล่าและผู้ถูกล่า ............. 10. มดกับเพลี้ยอยู่ร่วมกันโดยมดพาเพลี้ยไปหาพืชเพื่อดูดน้ําเลี้ยงของพืชแล้วมดได้รับน้ําหวานจากเพลี้ยเป็นการ อยู่ร่วมแบบต่างฝุายต่างได้ประโยชน์ ............. 11. สิ่งมีชีวิตที่ใช้ความสัมพันธ์ในแหล่งที่อยู่แบบต้องพึ่งพากัน ได้แก่ ข้าหลวงหลังลายกับต้นไม้กล้วยไม้กับต้นไม้ ............. 12. ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแบบเกื้อกูลกัน เช่น ราและสาหร่าย(ไลเคน) ปลวกกับโปรโตซัวในลําไส้ปลวก ............. 13. มนุษย์มีความสัมพันธ์กับพยาธิต่างกัน ในแบบภาวะพึ่งพากัน ............. 14. แหล่งที่อยู่อาศัยมีลักษณะเฉพาะคือ ขีดจํากัดของปัจจัยต่อการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ............. 15. แหล่งที่อยู่อาศัยต่างกัน จะทําให้กลุ่มสิ่งมีชีวิต แตกต่างกันด้วย ............. 16. สิ่งมีชีวิตไม่สามารถดํารงชีวิตอยู่ในแหล่งที่อยู่ได้โดยลําพัง ............. 17. สิ่งมีชีวิตอยู่ได้ด้วยการพึ่งพาและเกื้อกูลกัน ............. 18. พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ผลิตที่สําคัญที่สุด ............. 19. สิ่งแวดล้อมหมายถึงสิ่งมีชีวิตต่างๆ ............. 20. สิ่งแวดล้อมของแหล่งที่อยู่แตกต่างกัน สิ่งมีชีวิตก็จะแตกต่างกันไปด้วย ............. 21. สิ่งมีชีวิตในแหล่งน้ํา เช่น กุ้งฝอย หอยโข่ง ปลาดุก กบ เต่า ............. 22. กลุ่มสิ่งมีชีวิตสิ่งที่ต้องระมัดระวัง คือ สัตว์มีพิษ ............. 23. งูที่พบมากในทุ่งนาและเป็นผู้สร้างสมดุลด้วยพิษ คือ งูเห่า ............. 24. ปุาดงดิบมีกลุ่มสิ่งมีชีวิตจํานวนมาก แสดงว่ามีโซ่อาหารและสายใยอาหารมากด้วยเช่นกัน ............. 25. กล้องจุลทรรศน์เป็นอุปกรณ์ในการสํารวจแหล่งที่อยู่อาศัยที่จําเป็น ............. 26. การดํารงชีวิตของกลุ่มสิ่งมีชีวิตไม่จําเป็นต้องมีพืชและผู้ย่อยสลายก็ได้ ............. 27. อุปกรณ์ที่ช่วยทําให้พบสิ่งมีชีวิตขนาดต่างๆ ในแหล่งที่อยู่อาศัยได้ง่าย คือ แว่นขยาย


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (2) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนระบุความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน

2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15.

ภาวะอิงอาศัย

ภาวะล่าเหยื่อ ภาวะปรสิต

การได้ประโยชน์ของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 1 สิ่งมีชีวิตชนิดที่ 2 แมลงดูดน้ําหวานจากดอกไม้ ดอกไม้ได้รับการผสมเกสรจาก แมลงกับดอกไม้ เป็นอาหาร แมลง ไลเคน (Lichen) สาหร่ายได้ความชื้นและแร่ธาตุ ราได้อาหารจากสาหร่ายทีส่ ร้าง (รากับสาหร่าย) จากรา ขึ้น ปูเสฉวนได้รับการพรางตัวจาก ดอกไม้ทะเลได้อาหารจากที่ ปูเสฉวนกับดอกไม้ทะเล ดอกไม้ทะเล ต่างๆ ขณะปูเสฉวนเคลื่อนที่ไป พลูด่าง กล้วยไม้ เฟิร์น เกาะ พลูด่าง กล้วยไม้ เฟิร์น ได้รบั ต้นไม้ใหญ่ เพราะพืชอื่นๆเกาะ ต้นไม้ใหญ่ ความชื้นและที่อยู่จากต้นไม้ อยู่ที่ผิวของเปลือกเท่านั้น กาฝากจะฝังรากลงไปในต้นไม้ ต้นไม้ถูกกาฝากแย่งน้ําและ กาฝากกับต้นไม้ แล้วดูดน้ําและอาหารจากต้นไม้ อาหาร ไมคอร์ไรซา พืชดูดซึมแร่ธาตุจากพื้นดินได้ ราได้รับสารอาหารจากพืช (รากับรากพืช) มากขึ้น ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ปลาใหญ่เป็นผูล้ ่า ปลาเล็กเป็นเหยื่อ นกเอี้ยงกินแมลงที่มาเกาะและ นกเอี้ยงกับควาย ควายได้นกเอี้ยงช่วยกําจัดแมลง ดูดเลือดควาย มดดํานําเพลี้ยไปยังต้นไม้ เพลี้ย มดดําดูดน้ําเลี้ยงจากเพลี้ยเป็น มดดํากับเพลี้ย ดูดน้ําเลี้ยงจากต้นไม้ อาหาร แบคทีเรียไรโซเบียมในปมราก แบคทีเรียไรโซเบียมได้แก๊ส O2 ต้นถั่วได้ไนโตรเจนจากการสร้าง พืชตระกูลถั่ว และแร่ธาตุจากต้นถั่ว ของแบคทีเรียไรโซเบียม ปลาฉลามกับเหาฉลาม เหาฉลามได้กินเศษอาหารที่ปลา ปลาฉลาม (เหาฉลามเป็นปลาชนิดหนึ่ง) ฉลามกินเหลือ นกทํารังบนต้นไม้ นกทํารังอาศัยอยู่บนต้นไม้ ต้นไม้ โพรโทซัวสร้างเอนไซม์ย่อย โพรโทซัวได้อาหารจากการย่อย โพรโทซัวในลําไส้ปลวก เซลลูโลสในไม้ให้ปลวก เซลลูโลสด้วย หมัด เห็บ ไร พยาธิต่างๆ อาศัย หมัด เห็บ ไร พยาธิต่างๆ ได้ คนและสัตว์ถูกแย่งอาหารหรือ อยู่ในร่างกายคนและสัตว์ อาหารจากคนและสัตว์ ถูกดูดเลือด สิงโตกินม้าลาย สิงโตเป็นผู้ลา่ ม้าลายเป็นเหยื่อ ชนิดของสิ่งมีชีวิต

1.

ภาวะพึ่งพากัน

ความสัมพันธ์


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (3) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเรียงลําดับสิ่งมีชีวิตตามบทบาทของผู้ผลิต ผู้บริโภคลําดับ 1 ผู้บริโภคลําดับ 2 และผู้บริโภคลําดับ 3 1. งู

นก

2. กบ

ผักกระเฉด

ตั๊กแตน

3. ต้นแตงกวา

4. มนุษย์

เหยี่ยว

ผักบุ้งจีน

แมลงเต่าทอง

เป็ด

5. หญ้าขน

6. งู

หนอน

นกกา

หอย

เหยี่ยว

หนอน

แมว

นก

ข้าว

กระต่าย

มะม่วง

สุนัขจิ้งจอก


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (4) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนนําคําที่กําหนดให้เติมลงในช่องว่างต่อไปนี้ให้ได้ใจความสมบูรณ์ถูกต้อง 1.

งู

กบ

หนอน

นกเค้าแมว

หนู

ต้นข้าวโพด

ตั๊กแตน

นก

เหยี่ยว

2.

เสือ

หมาใน

นกอินทรีย์

กวาง

วัวแดง

กระต่าย

หญ้า

3.

ปลากะพง

ปลาฉลาม

หมึก

วาฬ

ปลาทูน่า

ปลาทู

แพลงก์ตอนพืช ลูกปลาขนาดเล็ก วาฬเพชรฆาต


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (5) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคําตอบที่กําหนดต่อไปนี้ไปเติมหน้าข้อความที่ถูกต้อง ก. ตีนนก

ข. ตีนเป็ด

ค. แมงมุมมด

จ. ตีนไก่

ฉ. สุนัขจิ้งจอกทะเลทราย

ช. กระบองเพชร

ง. อูฐ

ลักษณะต่อไปนี้ เป็นลักษณะการปรับตัวของสิ่งมีชีวิตใด .......................... 1. มีโหนกสําหรับเก็บไขมันไว้ใช้เมื่อไม่มีอาหาร มีขนตายาวเพื่อปูองกันฝุ​ุนทรายเข้าตา มีขายาวเพื่อให้ ลําตัวอยู่ห่างจากพื้นทรายที่ร้อน มีเท้าที่มีพื้นที่กว้างเพื่อไม่ให้จมลงไปในทราย .......................... 2. มีใบหูใหญ่ มีขนที่ใบหูเพื่อปูองกันไม่ให้ทรายเข้าหู และมีจมูกยาวเพื่อช่วยระบายความร้อนในร่างกาย .......................... 3. มีการลดรูปใบให้มีขนาดเล็ก แหลม แข็ง คล้ายหนาวเพื่อลดการสูญเสียน้ํา และมีการกักเก็บน้ําภายใน ลําต้น ทําให้มีลําต้นอวบน้ํา .......................... 4. นิ้วตีนข้างหน้า 3 นิ้ว ข้างหลัง 1 นิ้ว ทําให้กระโดดได้คล่องแคล่ว เกาะกิ่งไม้ได้แน่น .......................... 5. มีนิ้วตีน 4 นิ้ว โดยนิ้วตีนด้านหลังยกสูง นิ้วตีนมักใหญ่หนาแข็งแรง ทําให้คุ้ยเขี่ยหาอาหารได้สะดวก .......................... 6. มีตีนทีม่ ีพังผืดระหว่างนิ้วซึ่งช่วยในการว่ายน้ํา .......................... 7. มีขายาวและขนาดเล็กจํานวน 4 คู่ ขาคู่หน้าจะชูขึ้นโปกไปมาเหมือนหนวดมด คําชี้แจง : ให้นักเรียนจับคู่สิ่งมีชีวิตและลักษณะของร่างกายให้สัมพันธ์กัน ............. 1. ปลา

ก. ภายในก้านใบและลําต้นมีช่องอากาศจํานวนมาก

............. 2. กบ

ข. มีนวมสีขาวหุ้มลําต้นคล้ายฟองน้ํา ช่วยให้ลําต้นลอยน้ําได้ดี

............. 3. ผักตบชวา

ค. มีครีบ

............. 4. ผักกระเฉด

ง. มีพังผืดเชื่อมระหว่างนิ้วคล้ายใบพาย

............. 5. หมีขั้วโลก

จ. มีใบหูและจมูกสั้น เพื่อลดการระบายความร้อน

............. 6. นกฮูกขั้วโลก

ฉ. มีชั้นไขมันใต้ผิวหนังหนา มีขนแน่นปกคลุมร่างกาย เพื่อให้อบอุ่น

............. 7. นกเพนกวิน

ช. มีขนหนาปกคลุมร่างกาย ขนสีขาว มีชั้นไขมันใต้ผิวหนังหนา

............. 8. หมาปุาขั้วโลก

ฌ. มีขนดกแน่นที่อุ้งเท้า เพื่อยืนบนกิ่งไม้ที่มีหิมะปกคลุมได้


ใบงานวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วย สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม บท ชีวิตสัมพันธ์ (6) ชื่อ – สกุล ___________________________________________ ชั้น ___________ เลขที่ __________ คําชี้แจง : ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย √ หน้าที่ถูกต้องและเขียนเครื่องหมาย × หน้าข้อที่ผิด ...................... 1. ต้นไม้ที่อยู่ในปุาชายเลนโดยส่วนใหญ่จะต้องมีรากค้ําจุน เพื่อช่วยพยุงลําต้น ...................... 2. พืชปุาชายเลนจะมีรากหายใจ รากหายใจจะโผล่ขึ้นมาจากพื้นดินรอบๆ โคนต้น ...................... 3. พืชปุาชายเลนจะมีใบบางเพื่อช่วยคายน้ําที่เป็นน้ําเค็ม ...................... 4. แสม โกงกาง ลําพู และตะบูนเป็นพืชปุาชายเลน .....................

5. จังหวัดที่มีปุาชายเลน คือ จันทบุรี ระยอง สมุทรปราการ พังงา

...................... 6. ปุาชายเลนมีสภาพเหมาะสมเป็นแหล่งอนุบาลตัวอ่อนของสัตว์น้ํา ...................... 7. ถ่านไม้โกงกางเป็นถ่านที่ให้พลังงานสูงมาก ...................... 8. ปุาชายเลนมีส่วนทําให้เกิดแผ่นดินยื่นออกไปในทะเล ...................... 9. สิ่งที่ทําลายปุาชายเลน ได้แก่ การเผาถ่าน นากุ้ง เหมืองแร่ ...................... 10. พืชจะขึ้นหนาแน่นในบริเวณที่แสงส่องลงมาไม่มากนัก ...................... 11. บริเวณใต้ต้นไม้ใหญ่มักจะไม่พบพืชอื่นๆ ...................... 12. ต้นข้าว ต้นข้าวโพด และอ้อยเป็นพืชที่ต้องการแสงแดดมาก .....................

13. กล้วยไม้ต่างๆ จะต้องการแสงแดดในปริมาณไม่มาก

...................... 14. ตัวอ่อนของแมลง เช่น ด้วง จะอยู่ในที่ที่มีแสงน้อยถึงไม่มีแสง ...................... 15. ในท้องทะเลหรือมหาสมุทร สิ่งมีชีวิตส่วนมากจะอยู่ในบริเวณระดับน้ําลึก ...................... 16. บริเวณที่น้ําลึกมากๆ ของมหาสมุทร สิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่จะมีแสงในตัวเอง ...................... 17. สัตว์มีทั้งออกหากินในเวลากลางวันและออกหากินในเวลากลางคืน ...................... 18. ค้างคาว นกฮูก นกเค้าแมว หากินในเวลากลางคืน ...................... 19. นกนางแอ่นเป็นนกประจําถิ่นอยู่ในประเทศไทย ...................... 20. นกปากห่างที่เราเห็นประเทศไทยเป็นนกที่อพยพมาจากบังกลาเทศและพม่า เพื่อมาหาสภาพที่ เหมาะสมในการผสมพันธุ์ ...................... 21. สัตว์ในทะเลทรายปรับตัวกับสภาพแวดล้อมโดยการออกหากินในเวลากลางคืนที่มีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก ...................... 22. สัตว์อาศัยพืชเป็นที่ผสมพันธุ์ เลี้ยงดูตัวอ่อน และหลบภัยต่างๆ


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.