KAMPHAENGPHET CULTURAL GATEWAY

Page 1

โครงการพัฒนาและปรับปรุงภูมิทัศน์ พื้นที่สาธารณะสิริจิตอุทยานและเกาะกลางแมนํ้าปง เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน จังหวัดก�าแพงเพชร

ชนสรณ์ ศรศุกลรัตน์


ก� ำ แพงเพชร แม่ น�้ ำ ปิ ง


เมื อ งโบราณนครชุ ม พศ. 1800 -2000

คลองสวนหมาก พระธาตุ เ จดี ย าราม

ก� ำ แพงเพขร

เมื อ งนครชุ ม เทพนคร คณฑี ไตรตรึ ง ษ์

ตลาดย้ อ นยุ ค นครชุ ม

ป้ อ มทุ ่ ง เศรษฐี วั ด หนองลั ง กา วั ด หนองยายช่ ว ย

เมื อ งนครสวรรค์

เมื อ งนครชุ ม ศู น ย์ ก ลางเศรษฐกิ จ และคมนาคมสุ โ ขทั ย

โบราณสถานเขตเมื อ งเก่ า นครชุ ม

พั ฒ นาการของเมื อ งก� ำ แพงเพชรแห่ ง แรก เริ่ ม หลั ง ปี พ.ศ. 1800 เป็ น ต้ น มาโดยเริ่ ม มาจากเมื อ งนครชุ ม ทิ ศ ตะวั น ตกของแม่ น�้ ำ ปิ ง เพราะมี ค วามสั ม พั น ธ์ ส ร้ า งบ้ า นแปลงเมื อ ง ตามเส้ น ทางคมนาคมแม่ น�้ ำ ปิ ง ที่ มี ม าตั้ ง แต่ ก ่ อ นสมั ย สุ โ ขทั ย เป็ น เส้ น ทางติ ด ต่ อ กั บ เมื อ งต่ า งๆ เช่ น เมื อ งตาก ผาอาบนาง โดยมี เ มื อ งติ ด ต่ อ ส� ำ คั ญ คื อ ที่ ร าบลุ ่ ม เชี ย งใหม่ ท� ำ ให้ เ กิ ด ความสั ม พั น ธ์ ท างการค้ า เรื่ อ ย มาจนเริ่ ม การเติ บ โตของเมื อ ง ท� ำ ให้ เ ริ่ ม มี ก ารติ ด ต่ อ การค้ า กั บ กั บ เมื อ งที่ ก ว้ า งขึ้ น ได้ แ ก่ มอญ รั ฐ สุ โ ขทั ย และบ้ า นเมื อ งใกล้ เ คี ย ง มี การแลกเปลี่ ย นสิ น ค้ า ระหว่ า งบ้ า นเมื อ ง เช่ น ตะเกี ย งดิ น เผา เครื่ อ งสั ง คโลก เครื่ อ งถ้ ว ยจี น รวมถึ ง เครื่ อ งประดั บ ที่ ท� ำ จากส� ำ ริ ด และเหล็ ก เป็ น จ� ำ นวน และในปั จ จุ บั น นี้ มั ก พบเห็ น เส้ น ทางน�้ ำ โบรารณสถาน ล� ำ น�้ ำ เมื อ งโบราณในบริ เ วณใกล้ เ คี ย ง เป็ น ตั ว บ่ ง ชี้ ไ ด้ ว่ า เมื อ งนครชุ ม นี้ เป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลางทางการคมนาคมและเศรษฐกิ จ ของลุ ่ ม แม่ น�้ ำ ปิ ง ในสมั ย สุ โ ขทั ย จากบ้ า นเมื อ งทางภาคเหนื อ ตามแม่ น�้ ำ ปิ ง ส่ ง ผ่ า นไปยั ง เมื อ งสุ โ ขทั ย เกิ ด การเลื อ กตั้ ง ถิ่ น ฐานริ ม แม่ น�้ ำ เรื่ อ ยมา โดยมี ค ลองสวนหมากเป็ น คลองส� ำ คั ญ ในการ หล่ อ เลี้ ย งชาวบ้ า นนครชุ ม เศรษฐกิ จ และคมนาคม


วั ต ถุ โ บราณ

มี ก ารค้ น พบวั ต ถุ สิ น ค้ า จ� ำ นวนมากแสดงให้ เห็ น ถึ ง ความเก่ า แก่ ข องชุ ม ชนที่ มี ม าช้ า นาน

วั ฒ นธรรมม

การค้ า ขาย ขนบธรรมเนี ย มประเพณี ใช้ ชี วิ ต กั บ สายน�้ ำ (คลองสวนหมาก)


วั ฒ นธรรมพื้ น บ้ า นนครชุ ม

เอกลั ก ษณ์ พื้ น บ้ า นเฉพาะตั ว ของชาวบ้ า นนครขุ ม

ความเจริ ญ ทางพุ ท ธศาสนา

มี โ บราณสถานจ� ำ นวนมาก รวมถึ ง พระธาตุ เ จดี ย ารามขนาดใหญ่ ซึ่ ง เป็ น ต้ ว ชี้ วั ด ความเจริ ญ ทั้ ง ทางด้ า นศาสนาและเมื อ งได้ เ ป็ น อย่ า งดี


เมื อ งโบราณ ก� ำ แพงเพชร พ.ศ. 1900- สมั ย ธนบุ รี

สุ โ ขทั ย

ก� ำ แพงเพชร

เขต ก� ำ แพงเมื อ ง วั ด หนองลั ง กา วั ด หนองยายช่ ว ย เขตวั ด ป่ า อรั ญ ญิ ก โบราณเขตอรั ญ ญิ ก โบราณสถานนอกก� ำ แพงเมื อ ง โบราณในเขตก� ำ แพงเมื อ ง

“ก� ำ แพงเพชร 3ชั้ น ”

เมื อ งก� ำ แพงเพชร เมื อ งหน้ า ด่ า นสุ โ ขทั ย

ยุ ค หลั ง พุ ท ธศตวรรษที่ 1 9 เกิ ด เมื อ งก� ำ แพงเพชร – อยุ ธ ยา หลั ง จากการเกิ ด ขึ้ น ของเมื อ งนครชุ ม ในทิ ศ ตะวั น ตกของแม่ น�้ ำ ปิ ง ในหลั ง ปี พ.ศ.1900 ได้ เ กิ ด เมื อ งก� ำ แพงเพชรบนฝั ่ ง ตะวั น ออกของแม่ น�้ ำ ปิ ง จนเกิ ด เป็ น ยุ ค เมื อ งสองฝั ่ ง แม่ น�้ ำ ขึ้ น ในช่ ว งปลายสมั ย สุ โ ขทั ย เหตุ ผ ลในการย้ า ยเมื อ งเกิ ด จากการที่ เ มื อ ง นครชุ ม เดิ ม ต้ อ งรั บ มื อ สงครามอยู ่ ห ลายครั้ ง ครา และเกิ ด อุ ท กภั ย จึ ง ย้ า ยมาอี ก ฝากของแม่ น�้ ำ ปิ ง ที่ มี ต� ำ แหน่ ง ทางยุ ท ธศาสตร์ ที่ ดี ก ว่ า นอกจากนี้ ก็ ยั ง อยู ่ ใ นเส้ น ฐานเศรษฐกิ จ ที่ เ ชื่ อ มต่ อ เมื อ งสุ โ ขทั ย และศรี สั ช นาลั ย เมื อ งนี้ จึ ง กลายเป็ น เมื อ งหน้ า ด่ า น ส� ำ คั ญ ให้ กั บ เมื อ งสุ โ ขทั ย จากอยุ ธ ยา มี ห ลั ก ฐานทางโบราณสถานปรากฎมากมายภายในเขตก� ำ แพง เช่ น ป้ อ มหั ว เมื อ ง คู เ มื อ ง 3ชั้ น รวมไปถึ ง วั ด ต่ า งๆ และ จุ ด ที่ ส� ำ คั ญ คื อ ก� ำ แพงเมื อ งที่ ท� ำ มาจากศิ ล าแลงแตกต่ า งจากอิ ฐ มาก ท� ำ ให้ เ มื อ งก� ำ แพงเพชรเป็ น


ระบบป้ อ งกั น เมื อ ง

คู เ มื อ ง ป้ อ มเมื อ ง ก� ำ แพงเมื อ ง รวมถึ ง การต่ อ สู ้ ร ะหว่ า งสุ โ ขทั ย อยุ ธ ยา ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ก� ำ แพงเพชรเป็ น เมื อ งหน้ า ด่ า นที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ

ความเจริ ญ ทางพุ ท ธศาสนา

คู เ มื อ ง ป้ อ มเมื อ ง ก� ำ แพงเมื อ ง รวมถึ ง การต่ อ สู ้ ร ะหว่ า งสุ โ ขทั ย อยุ ธ ยา ชี้ ใ ห้ เ ห็ น ว่ า ก� ำ แพงเพชรเป็ น เมื อ งหน้ า ด่ า นที มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ


ถนนพระร่ ว ง

ถนนพระร่ ว ง

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ก� ำ แพงเพชร-สุ โ ศขทั ย -ศรี สั น าชลั ย

กรมศิลปากร โดยหน่วยศิลปากรที่ 3 สุโขทัย ได้ส�ำรวจแนวถนนพระร่วงเพื่อศึกษาโบราณสถานโบราณวัตถุตลอดแนวถนนพระร่วงโดย ส�ำรวจ พบโบราณสถาน โบราณวัตถุจ�ำนวนมาก และได้ท�ำการสรุปและให้ข้อสมมุติฐานเบื้องต้นว่า เป็นแนวถนนและเชื่อว่าแนวถนนพระร่วงอาจเป็นเส้น ทางชลประทาน กันน�้ำได้อีกทางหน่ึ่ง “ถนนพระร่วง” หรือ “ท่อปู่พระยาร่วง” แนวคูคันดินที่มีลักษณะเป็นคันดินถมสูงจากพื้นราบปรากฏให้ เห็นเป็นแห่งๆ บางแห่งกว้าง 2 เมตรบางแห่งกว้างมากกว่า 4-5 เมตร สูงประมาณ 1.5-2.5 เมตร เป็นดินอัดแน่นแข็งแรง มีคูน�้ำขนานไปกับ คันดิน เชื่อมต่อระหว่างเมืองสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และก�ำแพงเพชร มีความยาวมากกว่า 123 กิโลเมตร


UNESCO HISTORICAL SITE

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ศรี สั ช นาลั ย

ก� ำ แพงเพชร - สุ โ ขทั ย - ศรี สั ช นาลั ย

ศรี สั ช นาลั ย

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ สุ โ ขทั ย

สุ โ ขทั ย

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ก� ำ แพงเพชร

ก� ำ แพงเพชร

อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ สุ โ ขทั ย อุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ศ รี สั ช นาลั ย และอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ ก� ำ แพงเพชร ทั้ ง 3 เมื อ งที่ เคยมี ค วามรุ ่ ง เรื อ งในอดี ต ช่ ว งใกล้ เ คี ย งกั น โดยอาณาจั ก รสุ โ ขทั ย นั้ น ถื อ เป็ น ราชธานี แ ห่ ง แรกของไทย เป็ น ศู น ย์ ก ลาง ความเจริ ญ ในช่ ว งพุ ท ธศตวรรษที่ 18-19เป็ น เมื อ งศู น ย์ ก ลางทางการปกครอง เศรษฐกิ จ และศาสนา โดยคงฐานะเป็ น ราชธานี ข องสยามเป็ น เวลายาวนานกว่ า 200 ปี และเป็ น โบราณสถานที่ น ่ า ภาคภู มิ ใ จของชาวไทยในรุ ่ น หลั ง อี ก ทั้ ง เป็ น มรดกโลกอั น ล�้ ำ ค่ า ที่ ไ ด้ รั บ การยกย่ อ งในระดั บ นานาชาติ (i) - เป็ น ตั ว แทนซึ่ ง แสดงผลงานชิ้ น เอกที่ จั ด ท� ำ ขึ้ น ด้ ว ยการสร้ า งสรรค์ อั น ฉลาด (iii) - เป็ น สิ่ ง ที่ ยื น ยั น ถึ ง หลั ก ฐานของวั ฒ นธรรมหรื อ อารยธรรมที่ ป รากฏให้ เ ห็ น อยู ่ ใ นปั จ จุ บั น หรื อ ว่ า ที่ ส าบสู ญ ไปแล้ ว


ก� ำ แพงเพชร

เมื อ ง 2 ฝั ่ ง แม่ น�้ ำ

โบราณสถานเขตเมื อ งเก่ า นครชุ ม โบราณเขตอรั ญ ญิ ก โบราณสถานนอกก� ำ แพงเมื อ ง โบราณในเขตก� ำ แพงเมื อ ง

คุ ณ ค่ า สอดคล้ อ งที่ แ ตกต่ า งโดยลั ก ษณะทางกายภาพของโบราณสถานที่ ป รากฏให้ เ ห็ น บนฝั ่ ง แม่ น�้ ำ ทั้ ง สองให้ ค วามรู ้ สึ ก ที่ แ ตก ต่ า งกั น อย่ า งชั ด เจน ทั้ ง ทางด้ า นรู ป แบบทางวั ฒ นธรรมและเทคนิ ค วิ ท ยาการก่ อ สร้ า ง และคุ ณ ค่ า อาทิ เ ช่ น โบราณสถานทางฟาก ตะวั น ตกนิ ย มท� ำ ขนาดเล็ ก ด้ ว ยเส้ น สายที่ ใ ห้ ค วามรู ้ สึ ก นุ ่ ม นวล อ่ อ นโยนและสงบสั น ติ แต่ โ บราณสถานที่ พ บบนฝั ่ ง ตะวั น ออกกลั บ นิ ย มท� ำ ขนาดใหญ่ ให้ ค วามรู ้ สึ ก ที่ ขึ ง ขั ง อลั ง การ เป็ น คนละอารมณ์ ค วามรู ้ สึ ก กั บ ที่ พ บบนฝั ่ ง ตะวั น ตก ก� ำ แพงเพชรนี้ แ สดงให้ เ ห็ น อย่ า งชั ด เจนถึ ง การเปลี่ ย นแปลงทางประวั ติ ศ าสตร์ ข องพื้ น นอกจากนี้ ทั้ ง ด้ า นวั ฒ นธรรมและการเมื อ ง การเปลี่ ย นแปลงดั ง กล่ า วนี้ มี ค วามสอดคล้ อ งไปด้ ว ยกั น



นครชุ ม

ก่ อ นปี พ.ศ. 1800สุ โ ขทั ย

ชากั ง ราว

หลั ง ปี พ.ศ. 1800 ปลายสุ โ ขทั ย -อยุ ธ ยา

ศู น ย์ ก ลางคมนาคมและเศรษฐกิ จ เมื อ งหน้ า ด่ า นระหว่ า งสุ โ ขทั ย และอยุ ธ ยา


ก� า แพงเพชร

ยุคสมัยเปลี่ยนไป คุณค่าเหล่านี้ก�ำลังหายไป?

ธนบุ รี - รั ต นโกสิ น ทร์

์ เกิ ด การกลั บ มาต้ ง ถื่ น ฐานหลั ง การเสื่ อ มร้ า งจาก ภาวะสงครามเมื อ งมี ค วามทั น สมั ย และเจิ ร ญ


1 URBAN SPAWL


NEIGHBORHOOD - SPAWL

เชี ย งใหม่

สุ โ ขทั ย

พิ ษ ณุ โ ลก

พิ ษ ณุ โ ลก

ตาก

ก� ำ แพงเพชร

กรุ ง เทพ

กรุ ง เทพ

ยุคสมัยเปลี่ยนไป การขยายตัวของจังหวัดใกล้เคียง

ปั จ จุ บั น จากการเจริ ญ เติ บ โตของเทคโนโลยี วิ วิ ฒ นการต่ า งๆท� ำ ให้ เ กิ ด การเจริ ญ และพั ฒ นาอย่ า งกว้ า งขว้ า งในประเทศไทย โดยภาคเหนื อ เองมี ก ารพั ฒ นาของเมื อ งหั ว เมื อ งใหญ่ ห ลายจั ง หวั ด เช่ น สุ โ ขทั ย พิ ษ ณุ โ ลก เชี ย งใหม่ เชี ย งราย ตาก เป็ น ต้ น โดยเมื่ อ เที ย บกั บ จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร ก� ำ แพงเพชรถื อ ว่ า มี ค วามล้ า หลั ง เมื อ งเหล่ า นี้ อ ยู ่ ม าก


พ.ศ.2517 ทิศทางการขยายตัวของเมือง กระจุกกลุ่มเมือง ถนน


พ.ศ.2524 ทิศทางการขยายตัวของเมือง กระจุกกลุ่มเมือง ถนน


พ.ศ.2551 ทิศทางการขยายตัวของเมือง กระจุกกลุ่มเมือง ถนน


พ.ศ.2557 ทิศทางการขยายตัวของเมือง กระจุกกลุ่มเมือง ถนน


พ.ศ.2560 ทิศทางการขยายตัวของเมือง กระจุกกลุ่มเมือง ถนน เมื อ งขยายตั ว จนไปชนพื้ น ที่ ก� ำ แพงเมื อ งเดิ ม จนมี ก ารขยายตั ว ไปทางทิ ศ ตะวั น ออกของเมื อ ง มากขึ้ น และเกิ ด เป็ น ชุ ม ชนที่ มี ค วามหนาแน่ น และพื้ น ที่ พ าณิ ช ยกรรม ราชการต่ า งๆ


GMS LOGISTIC - EAST WEST ECONOMIC CORRIDOR

การรถไฟแห่งประเทศไทย(ร.ฟ.ท.) เปิดเผย “ฐานเศรษฐกิจ”

ร.ฟ.ท.เปิดแนวเส้นทางใหม่เชื่อมโยงโลจิสติกส์ขนส่งสินค้าและผู้โดยสารรับแผนการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด ด้วยรถไฟทางคู่ เส้นทางนครสวรรค์-ก�ำแพงเพชร-ตาก-แม่สอด ระยะทางกว่า 256 กิโลเมตร ว่าจากการที่รัฐบาลด�ำเนิน นโยบายเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยเฉพาะพื้นที่อ�ำเภอสอด จังหวัดตาก ให้เกิดขึ้นก่อน เพื่อให้สอดรับแผนดังกล่าว ร.ฟ.ท.เตรียมเพิ่มประสิทธิภาพการคมนาคมขนส่งและเชื่อมโยงพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ โดยว่าจ้างกลุ่ม นขอรับรองผลกระ ทบสิ่งแวดล้อม(อีไอเอ) ก่อนขออนุมัติส�ำรวจออกแบบที่จะใช้งบปี 2559 หรืองบปี 2560


IMAGE OF THE CITY


BOUNDARY

ขอบเขตแม่น�้ำปิง

ขอบเขตประวัติศาตร์


PATH

ถนนเส้นหลักประเทศ ถนนพหลโยธิน

ถนนเส้นหลักในเขตเทศบาล ถนนก�ำแพงเพชร ถนนราชด�ำเนิน1 ถนนเทศา1 ถนนเจริญสุข

ถนนเส้นรองภายในเมือง / เลี่ยงเมือง ถนนหลวง112 ถนนหลวงกพ 6070 ถนนชังการาว

จุดการจราจรหนาแน่น


DISTRICT

ย่านประวัติศาสตร์ ย่านชุมชน ย่านราชการ ย่านพาณิชยกรรม

ที่ ดิ น ประเภทอนุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เอกลั ก ษณ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถาน โบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร์ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโบราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ หรื อ สาธารณประโยชน์ เ ท่ า นั้ น สาธารณู ป การหรื อ สาธารณประโยชน์ เ ท่ า นั้ น


NODE

NODE การพาณิชยกรรม

- กรุงทองพลาซ่า - ตลาดควาย - ตลาดศูนย์ - พื้นที่พาณิชยกรรม ลานโพธิ์ - ห้างสรรพสินค้า โรบินสัน - OTOP SHOP - ห้างสรรถสินค้า บิ๊กซี - ตลาดริมปิง - โรงงานเช้าก๊วยชาก้ังราว - ตลาดสดไนท์

NODE การคมนาคม - สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดก�ำแพงเพชร

NODE สถาบันราชการ - ที่ว่าการอ�ำเภอก�ำแพงเพชร - ศาลจังหวัดก�ำแพงเพชร - ส�ำนักงานอัยการจังหวัดก�ำแพงเพชร - ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา - สถานีต�ำรวจภูธรเมืองก�ำแพงเพชร

- ฝ่ายป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยก�ำแพงเพชร - สถานีดับเพลิงเทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร - โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร - โครงการชลประทานก�ำแพงเพชร - ส�ำนักการเกษตร

NODE การศึกษา - มหาลัยราชภัฐก�ำแพงเพชร - วิทยาลัยเทคนิคก�ำแพงเพชร - โรงเรียนก�ำแพงเพชรพิทยาคม - โรงเรียนอนุบาลก�ำแพงเพชร - โรงเรียนจงสวัสดิ์เจริญวิทยา

- โรงเรียนเทศบาล 1 - โรงเรียนเทศบาล 2 - โรงเรียนวัชรวิทยา - วิทยาลัยอาชีวศึกษาภักดี พาณิชยการและเทคโนโลยี - โรงเรียนวชิรปราการวิทยาคม

- โรงเรียนเทศบาล 3 - โรงเรียนบ้านบ่อสามแสน

NODE ศาสนา - พระธาตุเจดียาราม - วัดคูยาง - วัดเสด็จ - วัดบาง - วัดบ่อสามแสน

- ศาลเจ้าปึงเถ่ากง-ม่า (ศาลเจ้าพ่อเสือ)

NODE การนันทนาการ

- สนามหน้าที่วาการอ�ำเภอ - ลานบริเวณศูนย์ - สวนสิริจิตอุทยาน - เกาะกลางแม่น�้ำปิง


RECREATION AREA

ราชการ

ศาสนา

คมนาคม

พาณิชยกรรม

สถานศึกษา


FESTIVAL

มกราคม งานปีใหม่ของชาวเมืองและชาวไทยภูเขาปีใหม่มง กุมภาพันธ์ งานประเพณีนบพระเล่นเพลง / กิจกรรมพื้นบ้านชากังราว่าวไทย มีนาคม มหกรรมสินค้า OTOP ภาคเหนือ เมษายน ประเพณีสงกรานต์ พฤษภาคม ชิมผลไม้ในสวนทั่วเมืองก�ำแพงเพชร มิถุนายน ชื่นชมมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์ ประเพณีแห่เทียนจ�ำพรรษาทุกอ�ำเภอ กรกฎาคม ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสต้น สิงหาคม กันยายน เทศกาลสารทไทยกล้วยไข่เมืองก�ำแพง อุทยานแห่งชาติคลองลาน ตุลาคม พฤษศจิกายน ทอดผ้าป่าแถว ลอยกระทงเกาะกลางแม่น�้ำปิง เทศกาลกินก๋วยเตี๋ยวก�ำแพงเพชร ธันวาคม

ถนนคนเดิน“ฅนก�ำแพง” (Walking Street) สัปดาห์ เที่ยววิถีไทยตลาดย้อนยุคนครชุม ศุกร์

ศิลป์ในสวน

ตลาดโบราณ

ลอยกระทง สงกรานต์ เข้าพรรษา

สงกรานต์ แข่งเรือยาว เล่นน�้ำปิงฤดูร้อน


เทศกาลนพพระเล่ น เพลง / งานกาชาดไทย

1 ริ้วขบวนนพพระเล่นเพลง ไปยัง พระธาตุเจดียาราม

จุดสิ้นสุด

จุดเริ่มต้น

2 เวียนเทียน เคารพต้นโพธิ์


เทศกาลสารทกล้ ว ยไข่

1 แห่ขบวนรถกล้วยไข่ และนิทรรศการกล้วยไข่

จุดสิ้นสุด

จุดเริ่มต้น

2 ทอดผ้าป่าแถว วัดพระแก้ว

ประเพณี น บพระเล่ น เพลง เป็ น ประเพณี ที่ สื บ ทอดมาจากสุ โ ขทั ย ซึ่ ง ได้ ก ล่ า วถึ ง ว่ า ในสมั ย พญาลิ ไ ทได้ อั ญ เชิ ญ พระบรมสารี ริ ก ธาตุ จ ากลั ง กา มาบรรจุ ไ ว้ ที่ อ งค์ พ ระเจดี ย ์ วั ด พระบรมธาตุ ต� ำ บลนครชุ ม ดั ง นั้ น จึ ง ได้ มี ก ารจั ด ขบวนของเจ้ า ผู ้ ค รองนครไปนมั ส การพระบรมธาตุ


1 สะพานข้ามแม่น�้ำปิง

LANDMARK 3 3 4 2

5

2 พระธาตุเจดียาราม

3 อุทยานประวัติศาสตร์ ก�ำแพงเพชร

4 ลานโพธิ์ หอนาฬิกา

5

1 6

6สวนสาธารณะสิริจิตอุทยาน เกาะกลางแม่น�้ำปิง

ที่ว่าการอ�ำเภอก�ำแพงเพชร


URBAN SPAWL = HISTORY DISAPPEARING

ประวัติศาสตร์เสื่อมคุณค่า ในปั จ จุ บั น ได้ มี ก ารพั ฒ นาร่ ว มกั น ระหว่ า งเมื อ งเก่ า และใหม่ ร ่ ว มกั น จนคุ ณ ค่ า ทาง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ นั บ เป็ น จุ ด เด่ น ของจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรเสื่ อ มความส� ำ คั ญ คนไม่ เ ห็ น คุ ณ ค่ า ทั้ ง นั ก ท่ อ งเที่ ย วและชาวก� ำ แพงเพชรเองและปั จ จั ย เร่ ง รถไฟที่ จ ะเข้ า มาท� ำ ให้ พื้ น ที่ เหล่ า นี้ มี ค วามเสี่ ย งที่ จ ะทรุ ด โทรมลงอี ก


KAM PHAENG PHET TOPOGRAPHY

ที่ราบลุ่มแม่น�้ำปิง

อ�ำเภอเมืองก�ำแพงเพชร พื้นที่น�้ำท่วมถึง


HISTORY WATER MANAGEMENT การบริหารจัดการน�้ำในอดีต

ก� ำ แพงเพชร

นครชุ ม

ระบบคู เ มื อ งร่ ว มกั บ น�้ ำ ตามฤดุ ก าล

ระบบเหมื อ งฝายภู มิ ป ั ญ ญาล้ า นนา

สภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งของเมืองก�ำแพงเพชรทางฝั่ง ตะวันออก ที่แตกต่างไปจากฝั่งตะวันตก ก็ท�ำให้ระบบชลประทานน�ำน�้ำเข�้ำเมืองต่าง ไปจากทางฟากตะวันตกที่เป็นระบบเหมืองฝ่ายด้วย คือทางฝั่งตะวันออกตั้งอยู่บนตลิ่งสูงระดับพื้นดินริมตลิ่งมีความสูงและค่อยๆลาด ลงไปท�ำงทิศตะวันออกเมื่อไกลออกจากแม่น�้ำไปเรื่อยๆการน�ำน�้ำจากแม่น�้ำเข�้ำไปสู่ตัวเมืองจึงต้องอาศัยการเปลี่ยนแปลงของระดับน�้ำใน แต่ละปีเพื่อ “เติม” น�้ำให้แก่คูเมืองกล�่ำวคือ ในแต่ละปีน�้ำในแม่น�้ำจะแห้งขอดย�ำมฤดูแล้ง แต่ในฤดูฝนน�้ำในแม่น�้ำจะมีปริม�ำณม�ำกจนล้นฝั่ง เข้าไปสู่แผ่นดินภ�ำยใน ก�ำรบ�ำกช่องที่ริมตลิ่งเพื่อให้น�้ำล้นในฤดูฝนไหลผ�่ำนเข�้ำไป จึงเป็นวิธีการน�ำน�้ำเข�้ำไปสู่ตัวเมืองอีกแบบหนึ่งที่แตก ต่างไปจ�ำกระบบเหมืองฝ�ำย หลังจ�ำกนั้นจึงมีท�ำนบปิดกักเก็บน�้ำไว้มิให้ไหลย้อนกลับลงแม่น�้ำเมื่อระดับน�้ำในแม่น�้ำลดต�่ำลงในยามฤดูแล้ง ท�ำให้ส�ำม�ำรถเก็บน�้ำไว้ ในคูเมืองได้ตลอดปี รอเวล�ำในฤดูฝนที่จะมีการ“เติม” เปลี่ยนน�้ำใหม่ต่อไป (สภาวะการขึ้นลงของแม่น�้ำปิงเช่นนี้ ปัจจุบันไม่เกิดขึ้นอีก หลังจากสร�้ำงเขื่อนภูมิพลที่จ. ตาก เหนือน�้ำขึ้นไป)


KAM PHAENG PHET DAM EFFECT / FLOOD PROBLEM

วิสัยทัศน์ การแก้ปัญหาน�้ำท่วม สร้างพื้นที่นันทนาการ 1.ริมแม่น�้ำปิงเมืองก�ำแพงเพชร

2.คลองสวนหมาก

bhumibol dam

3.เกาะกลางแม่น�้ำปิง


URBAN WATER MANAGEMENT การบริหารจัดการน�้ำในปัจจุบัน

พื้นที่เคยถูกน�้ำท่วม

พื่ น ที่ ช ลประทานในเขตจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชร ส่ ว นใหญ่ อ ยู ่ บ ริ เ วณทางด้ า นฝั ่ ง ซ้ า ย หรื อ ฝั ่ ง ตะวั น ออกของแม่ น�้ ำ ปิ ง โดยอาศั ย น�้ ำ ต้ น ทุ น จากเขื่ อ นภู มิ พ ลซึ่ ง มี ค วามจุ ถึ ง 13,462 ล้ า นลู ก บาศ์ ก เมตรและแม่ น�้ ำ ปิ ง โดยมี ฝ ายชั่ ว คราวกั้ น แม่ น�้ ำ ปิ ง 3 แห่ ง ช่ ว ยทดน�้ ำ ให้ เ ข้ า ระบบส่ ง น�้ ำ ได้ แ ก่ ฝายชั่ ว คราวกั้ น แม่ น�้ ำ ปิ ง ท่ อ ทองแดง, วั ง บั ว และวั ง ยาง ซึ่ ง โครงการชลประทาน ประเภท รั บ น�้ ำ นองทั้ ง 4 โครงการ


PAST - PINGRIVER ระบบคูเมืองเดิม ระบบเหมืองฝาย

PRESENT PING RIVER เขื่อนคอนกรีต + ฝายดันน�้ำออกจากเมือง

แม่น�้ำตกตะกอน


อ้างอิงตามมาตรฐานของประเทศไทย และมาตรฐานของกรุงเทพมหานครตาม ส�ำนักโยธาธิการและผังเมือง (2545) ที่เคยมีการน�ำ มาใช้ในหลายหน่วยงาน และอ้างอิงข้อมูลปัจจุบันของกรุงเทพมหานคร ชุมชนขนาดใหญ่ควรมีพื้นที่สีเขียวเพื่อบริการ 5 ตารางเมตรต่อคน ชุมชนขนาดกลางควรมีพื้นที่สีเขียวเพื่อบริการ4 ตารางเมตรต่อคน ชุมชนขนาดเล็กควรมีพื้นทีส ่ ีเขียวเพื่อบริการ3 ตารางเมตรต่อคน

สนามหน้ า ที่ ว ่ า การอ� ำ เภอ

69,000 ตร.ม. +

สวนสาธาระสิ ริ จิ ต อุ ท ยาน

270,000 ตร.ม. +

เกาะกลางแม่ น�้ ำ ปิ ง

92,000 ตร.ม. + 431,000 ตร.ม

/ 240000 คน

1.8ตร.ม/ 1 คน


FLOW


STUDENT

TEEN +STUDENT จ�ำนวน 85,510 คน มหาวิทยาลัยราชภัฏกําแพงเพชร วิทยาลัยเทคนิคก�ำแพงเพชร

TRANSPORTATION

สถานศึกษา

นันทนาการและวัฒนธรรม

พาณิชยกรรม


LOCAL FLOW

ADULT จ�ำนวน 123,328 คน TRANSPORTATION

สถานที่ราชการ ท�ำงาน

นันทนาการและวัฒนธรรม

พาณิชยกรรม


LOCAL FLOW

ELDER

จ�ำนวน 31,475 คน

TRANSPORTATION

นันทนาการและวัฒนธรรม

ศาสนาสถาน

พาณิชยกรรม


FLOW SUMMARY

TOURIST

TOURIST + LOCAL

LOCAL

DENSITY

VALUE

HISTORY CONFLICT


2 TOURISM


งค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)


อพท. มีภารกิจด้านการบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษ โดยจะต้องพัฒนา “ต้นแบบ” การบริหารจัดการพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว ซึ่งได้เลือกพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย-ศรีสัชนาลัย-ก�ำแพงเพชร เป็นพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนประเภทของแหล่งท่องเที่ยวทางโบราณสถานอพท. จึงได้ด�ำเนินการ ศึกษาความเหมาะสมการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – ก�ำแพงเพชร เพื่อพิจารณาการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน โดยจะใช้เป็น “ต้นแบบ” ของการบริหารจัดการพื้นที่พิเศษแหล่งท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์ ด้วยการให้ความ ส�ำคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่ ผ่านการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและประชาชนในท้องถิ่นรวม ๑๕ ครั้ง ในพื้นที่ ๑๙ ต�ำบล มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น ๑,๓๔๒ คน โดยผลของความคิดเห็นร้อยละ ๙๙.๔๘ เห็นชอบให้ประกาศพื้นที่พิเศษฯ เพื่อให้ อพท.ท�ำหน้าที่ประสานและ บูรณาการนโยบายแผนงาน และโครงการของหน่วยงานต่างๆอพท. เสนอผลการศึกษาความเหมาะสมการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – ก�ำแพงเพชร และผลการจัดประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น ต่อคณะกรรมการบริหารการพัฒนา พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (กพท.) เพื่อพิจารณา ในการประชุม กพท. ครั้งที่ ๑๖/๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๙ ธันวาคม ๒๕๕๓ กพท. มีมติให้ความเห็นชอบในการประกาศพื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย – ศรีสัชนาลัย – ก�ำแพงเพชร และให้เสนอต่อ ครม.ตามขั้นตอนต่อไป


สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ ส่งเสริม สนับสนุน สากล

สร้างคุณค่า คุณค่าแหล่งมรดกโ,ก คุณค่าราชาธานีไทย คุณค่าอัตลักษณ์ คุณค่าการเรียนรู้

แผนพัฒนาเมืองมรดกโลก พื้นที่พิเศษอุทยานประวัติศาสตร์ สุโขทัย - ศรีสัชนาลัย -ก�ำแพงเพชร

สร้างความยั่งยืน พัฒนาเศรษฐกิจด้วยการท่องเที่ยว อนุรักษ์ทรัพยาการธรรชาติ รักษาและส่งเสริมสิ่งแวดล้อมที่ดี สร้างและกระจายรายได้อย่างทั่วถึง มีส่วนร่วทของทุกภาคส่วน


ยุทธศาสตร์ที่ 1 อนุรักษ์คุณค่าของอุทยานประวัติศาสตร์และแหล่งมรดกโลก -อนุรักษ์ บูรณะ แหล่งโบราณสถาน แหล่งโบราณคดีและแหล่งมีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และคุณค่าแห่งความเป็นมรดกโลก -ขยายฐานองค์ความรู้ด้านโบราณคดีและประวัติศาสตร์ของชาติและแหล่งมรดกโลก -พัฒนาอุทยานประวัติศาสตร์ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืน -เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการอุทยานประวัติศาสตร์และการจัดการตามอนุสัญญาฯ คุ้มครองแหล่งมรดกโลก

ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและอนุรักษ์เพื่อสร้างสรรค์คุณค่าแหล่งท่องเที่ยว -พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ สร้างคุณค่าการเรียนรู้ -พัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ สร้างคุณค่าการเรียนรู้ เพิ่มมูลค่าจากการท่องเที่ยว -พัฒนาต่อยอดคุณค่าและสร้างมูลค่าเพิ่มในการท่องเที่ยวตามแนวทางเศรษฐกิจสร้างสรรค์ -ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานของการท่องเที่ยวแหล่งมรดกโลกสู่สากล -ควบคุมการพัฒนาเมืองและสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีเพื่ออนุรักษ์การท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกอย่างยั่งยืน

ยุทธศาสตร์ที่ 3 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอ�ำนวยความสะดวกเพื่อการ -พัฒนาการเดินทางเชื่อมโยงเพื่อการท่องเที่ยว-พัฒนา -พัฒนาสิ่งอ�ำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยว

ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันและส่งเสริมการ -พัฒนาการประชาสัมพันธ์และท�ำการตลาดเชิงรุก -สร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีส�ำหรับการท่องเที่ยว -ส่งเสริมการลงทุนด้านการท่องเที่ยว -พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการบริหารจัดการและพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลกระดับนานาชาติ

ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาองค์ความรู้ สร้างเครือข่ายและส่งเสริมกลไกมีส่วน -พัฒนาสืบสานองค์ความรู้และวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน -พัฒนาเครือข่ายและกลไกการมีส่วนในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเมืองมรดกโลก -เสริมสร้างสมรรถนะ (Capacity Building) ในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว



จ�ำนวนนักท่องเที่ยว

ที่เดินทางมาเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย โดยเฉพาะนับจากปี พ.ศ.2541 เป็นต้นมา เมื่อพิจารณาจากสัดส่วนของนักท่องเที่ยวแล้วพบว่า นักท่องเที่ยวให้ความสนใจกับแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ ใน สัดส่วนที่สูงกว่าแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมมาก โดยเฉพาะนักท่องเที่ยว สัดส่วนของนักท่องเที่ยว ชาวไทยที่มาเยี่ยมชมอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัยนั้น คิดเป็นประมาณร้อยละ 0.44 ของนักท่องเที่ยวชาวไทยทั้งหมดเท่านั้น ซึ่งนับว่าอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างต�่ำเมื่อเทียบกับศักยภาพของพื้นที่ ซึ่งได้รับการขึ้นทะเบียนให้เป็นมรดกโลก และแนวโน้มของ สัดส่วนดังกล่าวดูจะแตกต่างกันมากขึ้นทุกขณะ

TRAVEL PROBLEMS


- นักท่องเที่ยวไทย และต่างชาติ - นักท่องเที่ยวในจังหวัดใกล้เคียงในช่วงงานเทศกาล สถิตินักท่องเที่ยวปีล่าสุด 702,930 คนไทย 682,400 1869คน /วัน ต่างชาติ 21,420 58 คนวัน เฉลี่ยเดือนละ 58,575 คน โดยมีสิทธิเพิ่มมากขึ้นไม่เท่ากันใน แต่ละช่วงเดือนที่มีเทศกาล ดังนี้


TOURIST DESTINATION 1 ศูนย์การเรียนรู้การท�ำพระเครื่อง และขนมโบราณข้าวตอก 2 ป้อมทุ่งเศรษฐี

อุทยาน ประวัติศาสตร์

3 พิพิธภัณฑ์เรือนไทย 3

4 พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติก�ำแพงเพชร

4 ตลาดย้อน ยุคนครชุม 1

5 วัดคูยาง

พระธาตุ เจดียาราม 5

2 พื้นที่ริม แม่น�้ำปิง

6

6 วัดเสด็จ 7 วัดบาง

7


“อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชรยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จัก” ซึ่งเหตุผลหลักน่าจะมาจาก การขาดการประชาสัมพันธ์ที่เพียงพอและเหมาะสมสม

“ระบบโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับการท่องเที่ยว” อาทิเส้นทางการคมนาคม และที่พักส�ำหรับนักท่องเที่ยว ที่ยังไม่ได้มาตรฐานที่ดีพอ

“เมืองบริวารถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ่งของ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย”

แต่ยังไม่ได้รับการบูรณะให้อยู่ในสภาพเดียวกับอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย โดยมิได้ถูกมอง ในแง่ของความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน และมีเอกลักษณ์เฉพาะตัว จึงเลือกที่จะเยี่ยมชมเพียงอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย

“รูปแบบของอุทยานฯไม่เอื้อให้เกิดการเที่ยวซ�้ำเนื่อง ด้วยรูปแบบของอุทยาน”

ที่ถูกมองว่าเป็นอนุสรณ์สถานที่ไม่มีชีวิต ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา และไม่มีเรื่องราวใหม่

สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยว โดยกรมศิลปากรร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร พ.ศ.2548ได้วิเคราะห์ภาพรวมของการท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย อุทยานประวัติศาสตร์ศรีสัชนาลัยและอุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร


GMS CORRIDOR

North-South Economic Corridor East -west Economic Corridor

โครงการพัฒนาความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น�้ำโขงหรือ (GMS) เป็นความร่วมมือของ 6 ประเทศ คือ ไทย พม่า ลาว กัมพูชา เวียดนาม และจีน (ยูนนาน) โดยมีธนาคารพัฒนาเอเชีย (ADB) เป็นผู้ ให้การสนับสนุนหลัก กลุ่มประเทศ GMSอุดมมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากร ธรรมชาติ อีกทั้งยังเป็นจุดศูนย์กลางใน การเชื่อมโยงติดต่อระหว่างภูมิภาคเอเชียใต้ เอเชียตะวันออกและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โครงการ GMS มีวัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางการค้า การลงทุน อุตสาหกรรมการเกษตร และบริการ สนับสนุนการจ้างงาน และยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในพื้นที่ให้ดีขึ้น ส่งเสริมและพัฒนาความร่วมมือทางเทคโนโลยี และการศึกษาระหว่างกัน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ส่งเสริมกันอย่าง มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมและเพิ่มขีดความ สามารถ รวมทั้งโอกาสทางเศรษฐกิจในเวทีการค้าโลก

สาขาความร่วมมือของ GMS มี 9 สาขา ได้แก่ คมนาคม ขนส่ง โทรคมนาคม พลังงาน การค้า การลงทุน เกษตร สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์


3 UNESCO HISTORICAL SITES อพท.4 การท่ อ งเที่ ย วเมื อ งพระร่ ว ง

พื้ น ที่ พิ เ ศษอุ ท ยานประวั ติ ศ าสตร์ สุ โ ขทั ย -ศรี สั ช นาลั ย -ก� ำ แพงเพชร “ถนนพระร่วง” หรือ “ท่อปู่พระยาร่วง” แนวคูคันดินที่มีลักษณะเป็นคันดินถมสูงจากพื้นราบปรากฏให้เห็นเป็นแห่งๆ บางแห่งกว้าง 2 เมตรบางแห่งกว้าง มากกว่า 4-5 เมตร สูงประมาณ 1.5-2.5 เมตร เป็นดินอัดแน่นแข็งแรง มีคูน�้ำขนานไปกับคันดิน เชื่อมต่อระหว่างเมืองสุโขทัย ศรีสัชนาลัย และก�ำแพงเพชร มี ความยาวมากกว่า 123 กิโลเมตร


3 LOCAL PEOPLE


จ�ำนวนประชากรก�ำแพงเพชรที่อาศัยอยู่ในอ�ำเภอเมือง

สัดส่วนประชากรก�ำแพงเพชร จ�ำแนกอายุ

เขตเทศบาล 73.4% 585,284 คน

วัยเด็ก 0-4 ปี 14% 178,033 คน

นอกเทศบาล 73.4% 212,106 คน

วัยแรงงาน 15-59 ปี 64% 212,106 คน วัยชรา 59ปี+ 64% 114,824 คน

จ�ำนวนประชากรก�ำแพงเพชรที่อาศัยอยู่ในอ�ำเภอเมือง

อัตราส่วนการเป็นภาระภายเขตเทศบาลเมือง

วัยเด็ก 0-4 ปี 21% 49,035 คน

วัยแรงงาน 15-59 ปี 52%

วัยรุ่น 15-24ปี 15% 36,475 คน

วัยเด็ก 1-14 ปี 21%

วัยผู้ใหญ่ 25-59 ปี 51% 123,328 คน

วัยชรา 60ปี+ 31.2%

วัยชรา 59ปี+ 64% 31,475 คน



4 CITY PLANNING


PROMOTE + PRESERVE

กระจายความหนาแน่น

โครงข่ายพื้นที่สีเขียว


PROMOTE + PRESERVE วัดป่า ก�ำแพงเพชร ชุมชนโบราณ วัฒนธรรม ประเพณี

บทบาทเมืองคู่ประวัติศาสตร์

คืนชีวิตชีวาประวัติศาสตร์


ทางรถสาธารณะ สาย1 เมือง สาย2 ท่องเที่ยว

การท่องเที่ยวทางน�้ำ 1 ริมแม่น�้ำปิง 2 พระธาตุเจดียาราม 3 ประตูเมืองเก่า

ทางจักรยาน สถานีจักรยาน


อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร

ส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวพิพิธภัณฑ์ และอุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร

อุทยานประวัติศาตร์

ลดความหนาแน่นของการใช้งานในเขตอุทยานประวัติศาสตร์

สร้างเส้นทางท่องเที่ยว ส่งเสริมสิ่งที่มีอยู่เดิมให้มีชีวิตขีวา

อุทยานประวัติศาสตร์

กลุ่มพิพิธภัณฑ์ เพิ่มพื้นที่อนุรักษ์โบราณสถาน ส่งเสริมการท่องเที่ยวแนวก�ำแพง


พระธาตุเจดียาราม

สร้างชีวิตชีวาพระธาตุเจดียารวมจุดศูนย์กลางอดีต-ปัจจุบัน

ดึงคุณค่าเข้ามา เชื่อมต่อพื้นที่ถูกละเลย

รื้อถอนเขื่อนคอนกรีต การท่องเที่ยวและชลประทาน

คลองสวน หมาก

วัดพระธาตุเจดียาราม

เส้นทางการท่องที่ยวพื้นที่ประวัติศาสตร์


5 site potential


FESTIVAL

มกราคม งานปี ใหม่ของชาวเมืองและชาวไทยภูเขาปีใหม่มง กุมภาพันธ์ งานประเพณีนบพระเล่นเพลง / กิจกรรมพื้นบ้านชากังราว่าวไทย มีนาคม มหกรรมสินค้า OTOP ภาคเหนือ เมษายน ประเพณีสงกรานต์ ชิมผลไม้ในสวนทั่วเมืองก�ำแพงเพชร พฤษภาคม มิถุนายน ชื่นชมมรดกโลกอุทยานประวัติศาสตร์ กรกฎาคม ประเพณีแห่เทียนจ�ำพรรษาทุกอ�ำเภอ สิงหาคม ตามรอยพระพุทธเจ้าหลวงเสด็จประพาสต้น กันยายน เทศกาลสารทไทยกล้วยไข่เมืองก�ำแพง อุทยานแห่งชาติคลองลาน ตุลาคม พฤษศจิกายน ทอดผ้าป่าแถว ลอยกระทงเกาะกลางแม่น�้ำปิง ธันวาคม เทศกาลกินก๋วยเตี๋ยวก�ำแพงเพชร

ถนนคนเดิน“ฅนก�ำแพง” (Walking Street) สัปดาห์ เที่ยววิถีไทยตลาดย้อนยุคนครชุม ศุกร์


ลานหน้าที่ว่าการอ�ำเภอก�ำแพงเพชร

ศิลป์ในสวน

ตลาดโบราณ

ลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย สิริจิตอุทยาน

ชมรมวิ่งชากังราว

การแข่งขันว่าวไทย

ลอยกระทง

แม่น�้ำปิงและเกาะกลางแม่น�้ำปิง

ถนนคนเดิน สงกรานต์ เล่นน�้ำปิงฤดูร้อน แข่งเรือยาว


เทศกาลแข่ ง เรื อ ยาวก� ำ แพงเพชร

1 จุดออกตัวเรือหางยาว

2 จุดชมการแข่งขันพื้นริมแม่น�้ำปิง

จุ ด ออกตั ว

เส้ น ชั ย

3 เส้นชัยของการแข่งขัน

ของการจั ด การแข่ ง ขั น เรื อ ยาวประเพณี ล� ำ น�้ ำ ปิ ง จั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรองค์ ก ารบริ ห ารส่ ว นจั ง หวั ด ก� ำ แพงเพชรได้ ด� ำ เนิ น การอย่ า งต่ อ เนื่ อ งมาตั้ ง แต่ ป ี 2552 ด้ ว ยเห็ น ความส� ำ คั ญ ของแม่ น�้ ำ ปิ ง สายน�้ ำ แห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ที่ มี เ รื่ อ งราวอั น ก่ อ ให้ เ กิ ด ความเป็ น เอกลั ก ษณ์ ทั้ ง ด้ า นศิ ล ปะวั ฒ นธรรม ประเพณี และวิ ถี ชี วิ ต ความเป็ น อยู ่ ข องผู ้ ค นทั้ ง สองฝากฝั ่ ง ของแม่ น�้ ำ ปิ ง ณ สายน�้ ำ แห่ ง นี้ ให้ ช นรุ ่ น หลั ง ได้ ร ะลึ ก ถึ ง บรรยากาศอั น ทรงคุ ณ ค่ า และเป็ น เครื่ อ งบ่ ง บอกถึ ง ความ สมานสามั ค คี ข องบุ ค คลที่ ไ ด้ ชื่ อ ว่ า อยู ่ ใ นเรื อ ล� ำ เดี ย วกั น ไม่ ว ่ า จะเป็ น การฝึ ก ฝน การทุ ่ ม เทแรงกายแรงใจ ความพร้ อ มเพรี ย ง


เทศกาลสารทกล้ ว ยไข่

1 แห่ขบวนรถกล้วยไข่ และนิทรรศการกล้วยไข่

2 ทอดผ้าป่าแถว วัดพระแก้ว


เทศกาลนพพระเล่ น เพลง / งานกาชาดไทย

1 ริ้วขบวนนพพระเล่นเพลง ไปยัง พระธาตุเจดียาราม

2 เวียนเทียน เคารพต้นโพธิ์

ประเพณี ส ารทไทย (ในวั น แรม ๑๕ ค�่ ำ เดื อ น ๑๐ ) เป็ น ช่ ว งเวลาที่ ช าวพุ ท ธเข้ า วั ด ท� ำ บุ ญ เพื่ อ อุ ทิ ศ ส่ ว นบุ ญ ส่ ว นกุ ศ ล ให้ แ ก่ บ รรพบุ รุ ษ และญาติ พี่ น ้ อ งที่ ล ่ ว งลั บ ไปแล้ ว ซึ่ ง ตามความเชื่ อ ของคนโบราณจะต้ อ งมี ข นมหวานที่ ชื่ อ กระยาสารท เป็ น องค์ ป ระกอบส� ำ คั ญ ที่ ข าดไม่ ไ ด้ ใ นเทศกาลดั ง กล่ า วกระยาสารท เป็ น ชื่ อ ขนมหวานของไทยชนิ ด หนึ่ ง เชื่ อ กั น ว่ า มี ม า ตั้ ง แต่ ส มั ย พุ ท ธกาล ชื่ อ ของกระยาสารท แปลได้ ว ่ า อาหารที่ ท� ำ ขึ้ น ในฤดู ส ารท ท� ำ จากถั่ ว งา ข้ า วคั่ ว เป็ น ขนมหวาน ที่ นิ ย มท� ำ ในช่ ว งสารทไทย


RECREATION AREA

ราชการ

ศาสนา

คมนาคม

พาณิชยกรรม

สถานศึกษา


6 strategy


การท่องเที่ยวทางน�้ำ

ทางจักรยาน

อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร

1 ริมแม่น�้ำปิง 2 พระธาตุเจดียาราม 3 ประตูเมืองเก่า

สถานีจักรยาน

ทางรถสาธารณะ วัดพระธาตุเจดียาราม

ลานศิลปะ พิพิทภัณฑ์กลางแจ้ง โบราณสถานนครขุม

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือ ก�ำแพงเพชร สาย1 เมือง สาย2 ท่องเที่ยว

เกาะระบบนิเวศ แม่น�ำ้ปิง

เชื่อมต่อ-การท่องเที่ยว เชื่อมแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นคุณค่าของจังหวัดก�ำแพงเพชรเข้าด้วยกัน เพิ่มพื้นที่การท่องเที่ยวใหม่และเส้นทางการท่องเที​ี่ยว เพิ่มสิ่งอ�ำนวยความสะดวกอนุรักษ์พื้นที่ท่องเที่ยวเหล่านั้น


พื้นที่พาณิชยกรรม พื้นที่พาณิชยกรรมในอนาคต

พิื้นที่พาณิชยกรรม หน้าอุทยาน

พิ้นที่พาณิชยกรรม จุดเปลี่ยนรถ

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือ ก�ำแพงเพชร

ตลาดไนท์บารซ่า ก�ำแพงเพชร

เชื่อมต่อ-พาณิชยกรรมร่วมสมัย เกิดพื้นที่ท�ำงาน ผลิตสินค้าและบริการ จังหวัดก�ำแพงเพชร เกิดพื้นที่แสดงงานฝีมือ ลานศิลปะ และพื้นที่แสดงออก เกิดพื้นที่พาณิชยกรรมและจุดศูนย์กลางชุมชนใหม่ในบริบทร่วมสมัย


อุทยานประวัติศาสตร์ ก�ำแพงเพชร

เมืองโบราณนครชุม

วัดบาง วัดคู

วัดเสด็จ

ศาลจีนเจ้าพ่อเสือ

เชื่อมต่อ -ความหลากหลาย จังหวัดก�ำแพงเพชรมีความหลากหลายของคุณค่า และ อัตลักษณ์ ปรุงพื้นที่สาธารณะเชื่อมพื้นที่หลากหลายคุณค่าเข้าด้วยกันและสร้างเส้นทางการท่อง เที่ยวใหม่ โดยเชื่อมเข้ามาในพื้นที่โครงการ


พิ้นที่ราชการ ก�ำแพเงพชร ชุมชน พิ้นที่ราชการ ก�ำแพเงพชร

เชื่อมต่อ-คนก�ำแพงเพชร สร้างความเป็นอยู่ที่ดีให้คนก�ำแพงด้วยการสร้างพื้นที่บริการใหม่ที่สะดวกต่อการเข้าถึง ลดความหนาแน่นของย่านชุมชน และมีพื้นที่กิจกรรมมากขึ้นด้วยพื้นที่โครงการ

โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร


องค์การบริหารการพัฒนาพื้นที่พิเศษเพื่อการ ท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)

+

ราชภัฏก�ำแพงเพชร ราขภัฐก�าแพงเพชร ราขภัฐก�าแพงเพชร กรมศิลป์

+

เทศบาลก�ำแพงเพชร กรมศิลเทศบาลเมื ป์ องก�าแพงเพชร เทศบาลเมืองก�าแพงเพชร

ชาวก�ำแพงเพชร


INFRASTRUTURE

CULTURAL - HISTORY

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและพื้นบริการของเมืองเพื่อตอบรับกับแนวโน้มขยายตัวของเมืองในอนาคต ให้ แก่ปรชาชนขาวก�ำแพงเพชรและนักท่องเที่ยว ขยายพื้นที่บริการ พร้อมอนุรักษ์คุณค่า ประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์ต่างๆของก�ำแพงเพชรเอาไว้ เพื่อให้คนก�ำแพงเพชร และนักท่องเที่ยวเองเข้าใกล้คุณค่าของ ประวัติศาสตร์มากยิ่งขึ้น คืนระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมเดิมที่ถูกท�ำลายไปแล้ว ร่วมกับการคืนชีวิตชีวา ประวัติศาสตร์ที่หายไปพร้อมกับการขยายตัวเมืองเช่นกัน

สร้างชีวิตชีวาให้กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและภาคเหนืออีกครั้ง พัฒนาพื้นที่ให้คนใกล้กับ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมากขึ้น พร้อมทั้งเล่าเรื่องประวัติศาสตร์ของพื้นที่ให้ผู้พบเห็น จากเดิมที่คุณค่าและอัตลักษณ์ก�ำแพงเพชรเริ่มจะ หายไปจากยุคสมัยที่เปลี่ยนไปและการขยายตัวของเมือง

TOURISM ส่งเสริมแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมเพื่อมาพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวโดยรวมของจังหวัดก�ำแพงเพชร ทั้งแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมและธรรมชาติ สร้างรายได้ ให้ชาวก�ำแพงเพชรอย่างที่ควรจะ เป็น


INFRASTRUTURE ชาวก�ำแพงเพชร

CULTURAL - HISTORY

สวนสาธาณะ สนามกีฬา ทะเลสาบ พื้นที่ออกก�ำลังกาย สระว่ายน�้ำ

พื้นที่นันทนาการ ลานคนเมือง ตลาดไนท์บาร์ซ่า พื้นที่อเนกประสงค์ ห้องประชุม

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือ ก�ำแพงเพชร

ร้านOTOP โรงเรียนสอนศิลปะ ราชภัฐก�ำแพงเพชร ตลาดไนท์บารซ่า นวดแผนไทย ศูนย์การเรียนขนมและอาหารโบราณ ศูนย์การเรียนรู้งานหัตถกรรม

พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ก�ำแพงเพชร พิพิธภัณฑ์ก�ำแพงเพชร บ้านพักไทย โรงเรียนสอนดนตรีไทย

INFRASTRUTURE ราขภัฐก�าแพงเพชร

รมศิลป์

กรมศิลป์

เทศบาลเมืองก�าแพงเพชร การท่องเที่ยวทางเรือ เส้นทางการท่องเที่ยวในอ�ำเภอเมือง พื้นที่สีเขียวเมือง

เทศบาลเมืองก�าแพงเพชร

ระบบขนส่งสาธารณะ ทางจักรยาน การจัดการน�้ำคืนระบบนิเวศ


7 micro analysis


SITE +BOUNDARY สวนสาธารณริมแม่น�้ำปิง และเกาะกลางแม่น�้ำปิง

220 ไร่ ทิศเหนือ ทิศใต้ ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก

อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร แม่น�้ำปิง พื้นที่พาณิชยกรรม สะพานข้ามแม่น�้ำปิง


ACCESS ถนนสายหลักเชื่อมต่อพื้นที่อื่น ถนนก�ำแพงเพชร ถนนราชด�ำเนิน ถนนเทศา1 ถนนสิริจิต ถนนเจริญสุข ถนนราชด�ำเนินซอย1 ถนนกพ 6070

ถนนย่อยเชื่อมพื้นที่โครงการ ซอยราษฎรพัฒนา ซอยร่วมมิตร2 ซอยร่วมมิตร1


ACCESS

แนวโน้ ม การเข้ า ถึ ง พื้ น ที่ โ ครงการในปั จ จุ บั น จะเข้ า ถึ ง ด้ ว ยรถ จั ก รยานยนต์ เ ป็ น หลั ก จากสถิ ติ ที่ ว ่ า ชาวก� ำ แพงเพชรครอบครอง รถจั ก รยานยนต์ ใ นสั ด ส่ ว นที่ สู ง กว่ า รถยนตน์ จ� ำ นวนมาก


LANDUSE สนามฟุตบอลชากังราว

ลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยสิริจิต

สวนสิริจิตรอุทยาน

ตลาดไนท์บารซ่า

เกาะกลางแม่น�้ำปิง สวนสุขภาพก�ำแพงเพชร / ศาลเจ้าพ่อเสือ


LANDUSE นันทนาการ

สนามฟุตบอลชากังราว สวนสิริจิตรอุทยาน เกาะกลางแม่น�้ำปิง สวนสุขภาพก�ำแพงเพชร

พื้นที่อเนกประสงค์

ลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยสิริจิต

พาณิชยกรรม ตลาดไนท์บารซ่า


ZONING DENSITY หนาแน่นน้อย

หนาแน่นปานกลาง

หนาแน่นมาก

ที่ ดิ น ประเภทอนุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เอกลั ก ษณ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถาน โบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร์ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโบราณ สถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ หรื อ สาธารณประโยชน์ เท่ า นั้ น สาธารณู ป การหรื อ สาธารณประโยชน์ เ ท่ า นั้ น


neighborhood context

ที่ ดิ น ประเภทอนุ รั ก ษ์ เ พื่ อ ส่ ง เสริ ม เอกลั ก ษณ์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย ให้ ใ ช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น เพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถาน โบราณคดี ประวั ติ ศ าสตร์ ตามกฎหมายว่ า ด้ ว ยโบราณสถาน โบราณวั ต ถุ ศิ ล ปวั ต ถุ และพิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ส ถานแห่ ง ชาติ หรื อ สาธารณประโยชน์ เ ท่ า นั้ น สาธารณู ป การหรื อ สาธารณประโยชน์ เ ท่ า นั้ น


2

neighborhood context

1

พื้นที่พาณิชยกรรม

1 ตลาดควาย

2 OTOP ก�ำแพงเพชร

3 ตลาดริมปิง

4 โรงแรมชากังราว

5 ตลาดนวรัตน์

6 TESCO LOTUS

7 ตลาดก�ำแพงเพชร

8 โรงแรมเพชร

3 6 4 7

5

8


neighborhood context พื้นที่ชุมชน

ชุมชนใหม่เมืองก�ำแพงเพชร


2 1

3

4 5

6

neighborhood context

7

พื้นที่ีราชการ

1 โครงการชลประทาน ก�ำแพงเพชร

2 สถานีดับเพลิงเทศบาล เมืองก�ำแพงเพชร

2 ส�ำนักงานกาชาด ก�ำแพงเพชร

4 ส�ำนักงานสาธารณสุข ก�ำแพงเพชร

5 ไปรษณีย์ก�ำแพงเพชร

6 ส�ำนักงานสรรพกรพื้นที่ ก�ำแพงเพชร

7 การประปาส่วนภูมิภาค 8 โรงเรียนวัดคูยาง จังหวัดก�ำแพงเพชร

8


neighborhood context พื้นที่ีศาสนา

2

1

1 วัดเสด็จ พื้นที่สถานศึกษา 3

2 โรงเรียนวัดคูยาง

2 วัดคูยาง

3 วัดบาง


USER ANALYSIS


EXISTING

สนามฟุตบอลชากังราว 1)สนามฟุตบอลชังกังราว ความจุ 6000 ที่นั่ง - อัฒจรรย์ฝั่งซอยเรือนราษฏร์เป็นคอนกรีตสูง 10 เมตร - อัฒจรรย์ฝั่งติดริมแม่น�้ำปิงมีลักษณะเป็นตึกสูง 20 เมตร ซึ่งภายในตึกมีการใช้ร่วมกับ คลินิก ส�ำนักงานการท่องเที่ยวจังหวัด และ ศูนย์ออกก�ำลังกายและส่งเสริม สุขภาพ โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดก�ำแพงเพชร - ประกอบด้วยตึกอาคารหลักอาคาร4 ชั้นและตัวสนามกีฬาต่างๆ 2)สนามแบดมินตัน ก�ำแพงเพชร เป็นโดมสูง10 เมตร 3)โรงพลศึกษา 1000ที่นั่ง อาคารคอนกรีตสูง 14 เมตร เป็นอาคารกีฬาอเนกประสงค์ของจังหวัด 4)หอพักนักกีฬา อาคารหอพัก 20 เมตรเป็นหอพักส�ำหรับนักกีฬา


EXISTING

ลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยสิริจิต 1)ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวจังหวัดก�ำแพงเพชร เป็นอาคารคอนกรีต 1 ชั้น และ ศาลาอเนกประสงค์ ตั้ง อยู่บริเวณริมถนนสิริจิต ทางตะวันออกของสนามฟุตบอลชากังราว 2)ลานจอดรถ 100 คัน และสนามฟุตซอล ใช้ร่วมกับสนามฟุตบอลชากังราว 3)ห้องน�้ำสาธารณะ เป็นอาคารคอนกรีตชั้นเดียว ปัจจุบันขาดการดูแล มีความเสื่อมโทรม 4)สวนน�้ำเทศบาลเมืองก�ำแพงเพชร ขนาดพื้นที่รวม 5 ไร่ มีพื้นที่เป็นสระว่ายน�้ำเด็กกิจกรรมหลักของ เมือง โดยปิดทุกวันในช่วงเวลา 16.00-19.00น ปัจจุบันมีการใช้งานอย่างคึกคัก


EXISTING

สวนสิริจิตรอุทยาน

)อาคารร้านค้าปลีก ในส่วนพื้นที่สีเขียว มีสิ่งก่อสร้างเป็น 2 กลุ่มร้านค้าปลีกอาคารเล็กๆ สูง 2 ชั้น 6เมตร หันหน้าออกไปทางทิศถนนเทศา 1 ไม่ได้มีการใช้ร่วมกับพื้นที่สวนสาธารณะ 2)ลานประติมากรรมเฉลิมพระเกียรติ 3)อาคารหอการค้า อยู่ในส่วนพื้นที่ลานประติมากรรม เป็นอาคารคอนกรีต สูง 1 ชั้น สูง 3 เมตร หัน หน้าออกไปทางทิศถนนเทศา 1 ใช้ขายสินค้าพื้นเมือง งานหัตถกรรมพื้นบ้านต่างๆ โดยมีรั้วกั้นออก จากพื้นที่ลานประติกรรม แต่อยู่ในที่ดินแปลงเดียวกัน เปิดใช้เวลากลางวัน


EXISTING

ตลาดไนท์บารซ่า 1) อาคารแผงร้านค้า เป็นอาคารแผงลักษณะคล้ายโกดังวางติดเรียงกันสูง3เมตร สามารถเดินทะลุได้ เชื่อมฝั่งถนนเทศา1 กับ ถนนสิริจิต ภายในเป็นร้านค้าชุมชน ขายสินค้าหลากหลายเช่น เสื้อผ้า อาหาร สินค้าพื้นเมือง อุปกรณ์เครื่องใช้ทั่วไป เป็นต้นชนิด ในส่วนนี้จะเปิดบริการ 17.00-21.00น. มักคึกคักใน ช่วงเวลาเย็นๆ ปัจจุบันมีความเสื่อมโทรมและช�ำรุดจากการใช้งาน 2) อาคารกรุงทอง พลาซ่า เป็นกลุ่มร้านค้าในอาคารเดียว สูง 4 เมตร ภายในขายสินค้าหลากหลาย ชนิดเปิดทุกวัน 12:00 – 21:00น. หันหน้าเข้าถนนเทศา1 พื้นที่พาณิชยกรรมของเมือง


EXISTING

เกาะกลางแม่น�้ำปิง สวนสุขภาพก�ำแพงเพชร 1)ศาลจีนร้าง เป็นอาคารคอนกรีตสูง 3 ชั้น จุดประสงค์การสร้างเพื่อใช้เป็นศาล แต่ ปัจจุบันไม่มีการใช้งาน และใช้งานผิดประเภท ร้าง ทรุดโทรมและช�ำรุด 2)อาคารซ่อมบริการ 2 หลัง อาคารคอนกรีตชั้นเดียว เป็นอาคารส�ำหรับรวมสิ่งชอง อุปกรณ์ต่างๆใน การดูแลพื้นที่ของเจ้าหน้าที่แต่ด้วยปัจจุบันที่ไม่มีการดูแลตั้งแต่ระดับเกาะท�ำให้เหล่านี้ขาดการดูแลรกร้าง


EXISTING

พื้นที่ริมแม่น�้ำปิง พื้นที่ริมแม่น�้ำยาวตามแนวฝั่งเมืองก�ำแพงเพชร มีลักษณะเป็นเขื่อนขั้นบันไดคอนกรีต สูง 3.50 เมตร สร้างเพื่อป้องกันน�้ำท่วมให้กับเมือง จึงไม่ได้มีกิจกรรมเกิดขึ้นมากนักในบริเวณพื้นที่ริมแม่น�้ำ มีต้นไม้ ใหญ่ตลอดแนวเขื่อนเป็นระยะๆ พื้นที่ตั้งอยู่ฝั่งตะวันตก ขนานกับถนนสิริจิตติดกับแม่น�้ำปิง ซึ่งเป็นทิศ ทัศน์ที่ดีที่สุดของโครงการ ฝั่งตะวันออกเป็นพื้นที่สาธารณะต่างๆ ท�ำให้เกิดการเชื่อมต่อของพื้นที่ และ กิจกรรม เนื่องจากการท�ำงานที่ต้องรองรับน�้ำขึ้นน�้ำลงตามฤดูกาล ซึ่งรูปแบบการแก้ปัญหาไม่มีความ ยั่งยืน จึงเกิดความเสื่อมโทรม แต่ยังสามารถใช้งานได้อยู่


เขตก�ำแพงเมืองเก่า


BUILDING ANALYSIS


NATURE พรรณไม้ ใหญ่

จามจุรี

ตะแบก

หางนกยูกฝรั่ง

อินทนิลน�้ำ

เฟื่องฟ้า

ชาฮกเกี้ยน

พรรณไม้ขนาดกลาง

จิกน�้ำ

มะพร้าว

พรรณไม้ริมน�้ำ / คลุมดิน

กก

หญ้า

แฝกดอน

ข่อย


ANIMAL นก

นกปากหาง

นกกระยาง

นกปรอดสวน

นกจาบ

นกกระแตแว้ด

นกชายบึง

ตะพาบ

ปลา

ปลาตะพาก

ปลานวลจันทร์

ตะเพียนทอง

ปลากราย

ปลากระแหก

ปลาหางไก่

ปลาคางเบือง

ปลาชะโด

ปลาน�้ำเงิน

ปลาหางไก่


สนามชากังราว

ลานอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย

สวนสวนสิริจิตรอุทยาน




ท้ายเกาะกลางแม่น�้ำปิง

หัวเกาะกลางแม่น�้ำปิง


หัวเกาะกลางแม่น�้ำปิง

เกาะกลางแม่น�้ำปิง


เกาะกลางแม่น�้ำปิง




NATURE พิ้นที่เสี่ยงต่อการกัดเซาะ พื้นที่เสี่ยงต่อการตื้นเขิน


FLOOD - WATERSHED

จากลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดก�ำแพงเพชรจะเห็นได้พื้นที่ก�ำแพงเพชรตั้งอยู่ในพิเน ที่ราบลุ่มที่แม่น�้ำ ที่น�้ำสามารถท่วมถึงได้ โดยจากแผนที่แสดงให้เห็นว่าทั้งพื้นที่เขตเมืองั ตั้งอยู่พื้นที่เสี่ยงภัย แต่ด้วยการแก้ปัญหาระบบน�้ำในระดับมหภาคยังท�ำให้เมืองสามา รถอยุ่รอดได้ โดยในปัจจุบันแม่น�้ำปิงยังท�ำหน้าที่รับน�้ำผิวดินของเมืองอยู่ เป็นการรับ น�้ำจากเมืองไหลสู่แหล่งน�้ำธรรมชาติ


SENSORY แม่น�้ำปิง

เกาะกลางแม่น�้ำปิง


CLIMATE ลักษณะอากาศของจังหวัดก�ำแพงเพชรโดยทั่วไป

จะได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จากอ่าวเบงกอล และอ่าวไทย พัดผ่านในเดือนพฤษภาคมถึงเดือนตุลาคม

นอกจากนี้ยังมีมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดผ่านในเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนมกราคม จากอิทธิพลของลมมรสุมดังกล่าว ท�ำให้เกิดฤดูกาล 3 ฤดู จังหวัดก�ำแพงเพชร มีสภาพอากาศที่อบอุ่นตลอดปีอุณหภูมิเฉลี่ยตลอดปีประมาณ 27.3 องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด พฤษภาคม ถึงเดือนตุลาคม นอกจากนี้ยังมี ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือพัดผ่านในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือน มกราคม จาก อิทธิพลของ ลมมรสุมดังกล่าว ท�ำให้เกิดฤดูกาล 3 ฤดู คือ ฤดูร้อน ฤดูฝนและฤดู หนาวฤดู

ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ พ.ค.-ต.ค. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ย.-ม.ค.


อุทยานประวัติศาสตร์ก�ำแพงเพชร ชุมชน ชุมชน

ชุมชน

พาณิชยกรรมก�ำแพงเพชร

PROS SITE summary ACCESS NEIGHBOR HOOD FLOW พื้นที่ติดกับสถานที่ส�ำคัญต่างๆของก�ำแพงเพชร และอยู่ในระยะการเดิน สามารถเข้าถึงได้ง่ายจากหลายทิศทาง ศักยภาพของพื้นที่ติดส�ำคัญต่างๆมากมายที่มี ศักยภาพที่จะส่งเสริมภาพรวมของเมืองออกมาได้ พื้นที่โครงการมีขนาดใหญ่ที่ใช้บริการเมืองได้ บริเวณพื้นที่ภายนอกมีการเคลื่อนไหวแทบจะตลอดเวลา สามารถเชื่อมต่อภายนอกภายใน พื้นที่นี้ในอนาคตจะเป็นพื้นที่เดียวที่สามารถเข้าถึงแม่น�้ำปิงได้

LOCAL PEOPLE

ชาวก�ำแพงเพชรมีพฤติกรรมการใช้พื้นที่นันทนาการและส่วนกลาง มักมีการใช้งานหนาแน่นคึกคักในช่วงเวลาหลังเลิกงาน

พาณิชยกรรมก�ำแพงเพชร

NATURE SENSORY มีสิ่งแวดล้อม ธรรมชาติ และมุมมองที่สวยงามเหมาะแก่การพักผ่อนหย่อนใจ มีต้นไม้เดิมในโครงการจ�ำนวนมากสามารถให้ร่มเงา

โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร


CONS SITE summary ACCESS FACILITIES MANMADE

ความเชื่อมต่อของพื้นที่บางจุดยังไม่ดี ท�ำให้การเชื่อมต่อและการเคลื่อนที่ของ ผู้คนยังไม่เป็นไปอยากสะดวก การเข้าถึงพื้นที่ริมน�้ำเป็นไปได้ไม่สะดวกเนื่องจากมีถนนขว้างกันระหว่างพื​ื้นที่สาธารณะกับริมน�้ำ FACILITIES ในปัจจุบันขาดการดูแล บ�ำรุง ทรุดโทรด และไม่ได้ ใช้งานเต็มที่

ECO- SYSTEM sustainability พื้นที่โครงการสาธารณะ เป็นพื้นที่น�้ำส่วนเกินจากเมืองจะไหลผ่านลงแม่น�้ำปิง เดิมทีพื้นที่เกิดจากการสร้างเขื่อนกั้นตะกอนพื้นที่จึงไม่มีความยั่งยืน และเป็นพื้นที่น�้ำท่วมถึง การสร้างเขื่อนท�ำให้ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมถูกท�ำลาย พื้นที่ประวัติศาสตร์ไม่มีชีวิตชีวาไปด้วย


สวนสาธารณะและพื้นที่นันทนาการ สนามกีฬา พื้นที่ออกก�ำลังกายกลางแจ้ง สระว่ายน�้ำ ลานคนเมือง ห้องอเนกประสงค์ ห้องประชุม ห้องบริการสาธารณะ ลานคนเมือง

SITE POTENTIAL +PROGRAM

บริการชุมชน

พิพิธภัณฑ์ก�ำแพงเพชร ลานศิลปะกลางแจ้ง พื้นที่แสดงงาน

ACTIVE

พื้นที่วัฒนธรรม

LANDMARK พาณิชยกรรม พื้นที่วัฒนธรรม PASSIVE

นันทนาการ

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือก�ำแพงเพชร โรงหนังกลางแจ้ง ร้านOTOP ร้านค้าตลาดไนท์บารซ่า ศิลปะราชภัฏก�ำแพงเพชร จุดรับส่งคนหลัก

พิพิธภัณฑ์ภูมิปัญญาก�ำแพงเพชร พิพิธภัณฑ์ชาติพันธ์ก�ำแพงเพชร

หาดทรายก�ำแพงเพชร เกาะระบบนิเวศ ส่วนหย่อม ห้องบริการสาธารณะ


8 DESIGN


ชุมชน 1

2 3

วัดบาง

วัดคู 5

4 6 7 8 9

11

10 12

13 14 15 16

MASTERPLAN

1 ลานและสถานีรถสาธารณะ -โรงเรียนเทศบาล 2 โรงเรียนกีฬาเทศบาลก�ำแพงเพชร 3 ศูนย์กีฬาจังหวัดก�ำแพงเพชร วัดเสด็จ ร้านค้า ร้านอาหาร อาคารบริการกีฬา 4 ลานวัฒนธรรมสิริจิตอุทยาน 5 ลานแสดง รวมพลกลางแจ้ง 6 สวนสาธารณะ 7 ศูนย์นันทนาการริมน�้ำ 8 ศูนย์ศิลปะภาคเหนือและก�ำแพงเพชร ลานศิลปะกลางแจ้ง 9 ร้านค้า OTOP โรงเรียนสอนศิลปะก�ำแพงเพชร เขตพาณิชยกรรม10 อาคารศิลปะร่วมสมัย จุดนั่งพักคอยขึ้นเรือ ก�ำแพงเพชร 11 ตลาดไนท์บาร์ซ่าก�ำแพงเพชร 12 ท่าเรือการท่องเที่ยวก�ำแพงเพชร 13 ศาลเจ้าพ่อเสือ 14 เกาะระบบนิเวศแม่น�้ำปิง 15 สวนหย่อม

โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร

16 สถานีรถสาธารณะ -เกาะกลางแม่น�้ำปิง


ARCHITECTURE CULTURAL CIRCULATION

เขาช่องเย็น พระธาตุเจดี ยาราม

GREEN LINAKGE CONTOUR

+0.60 +0.30


PRESENT

100 YEARS

200 YEARS


KAMPHAENGPHET SPORT COMPLEX

ศูนย์กีฬาจังหวัดก�ำแพงเพชร จุดศูนย์รวมทุกเพศทุกวัยคนก�ำแพง


ลานและสถานีรถสาธารณะ -โรงเรียนเทศบาล

อาคารบริการ

ศูนย์กีฬาจังหวัดก�ำแพงเพชร สะพานข้ามแม่น�ำ้ปิง

โรงเรียนเทศบาลก�ำแพงเพชร

สวนสิริจิตอุทยาน ลานแสดง รวมพลกลางแจ้ง


ลานและสถานีรถสาธารณะ -โรงเรียนเทศบาล

อาคารบริการ

ศูนย์กีฬาจังหวัดก�ำแพงเพชร สะพานข้ามแม่น�ำ้ปิง

ZONING ศูนย์กีฬาก�ำแพงเพชร โรงเรียนเทศบาล ก�ำแพงเพชร

สวนสิริจิตอุทยาน ลานแสดง รวมพลกลางแจ้ง

โรงเรียนเทศบาลก�ำแพงเพชร

FLOW OF PEOPLE

MORE PUBLIC

FLOW OF ACTIVITIES


URBAN WATERFRONT FESTIVAL AREA

SUB- URBAN WATERFRONT


แม่น�้ำปิง

อาคารบริการ ร้านค้า

ลานและสถานี รถสาธารณะ -

ศูนย์กีฬาจังหวัด ก�ำแพงเพชร

แคนา

ชุมชนก�ำแพงเพชร

ชุมชน ก�ำแพงเพชร

ตะแบก

หางนกยูก

อินทนิลน�้ำ

STAMP

หินแกรนิต

TURF

ทรายล้าง


ลานและสถานีรถสาธารณะ -โรงเรียนเทศบาล


อาคารบริการริมแม่น�้ำปิง


KAMPHAENGPHET RECREATION PARK พื้นที่สาธารณะ และนันทนาการขนาดใหญ่เพื่อคนก�ำแพง


OUTDOOR MUSEUM

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือ

สวนสาธารณะ พื้นที่แสดงศิลปะริมน�้ำ

ศูนย์นันทนการริมน�้ำ

ลานวัฒนธรรมไทย สิริ จิตอุทยาน


OUTDOOR MUSEUM

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือ

สวนสาธารณะ พื้นที่แสดงศิลปะริมน�้ำ

ศูนย์นันทนการริมน�้ำ

NATURAL DAM

ลานวัฒนธรรมไทย สิริ จิตอุทยาน

RECREATION FACILITIES

3 LAYERS ENTRANCE

FLOW OF ACTIVITES


RECREATION WATERFRONT AMPHITHEATHE


ลานรวมพลแสดงกลางแจ้ง

ลานรวมพลแสดงกลางแจ้ง

ลานวัฒนธรรม สิริจิตอุทยาน

สวนสาธารณะ

ชุมชน ก�ำแพงเพชร

ชุมชน ก�ำแพงเพชร


ลานวัฒนธรรมสิริจิตอุทยาน

ศูนย์นันทนาการริมน�้ำ


ศูนยศิลปะกําแพงเพชร


ศูนย์นันทนาการริมน�้ำ


KAMPHAENGPHET NIGHT MARKET ตลาดนัดชาวก�ำแพงเพชร ย่านพาณิชยกรรมก�ำแพงเพชร


OTOP โรงเรียนสอนศิลป ราชภัฐก�ำแพงเพชร

ที่นั่งปิคนิค ร้านค้าแฟรนไชส์

ร้านอาหาร

เกาะระบบนิเวศแม่น�้ำปิง

ตลาดไนท์บารซ่า


OTOP โรงเรียนสอนศิลป ราชภัฐก�ำแพงเพชร

ที่นั่งปิคนิค ร้านค้าแฟรนไชส์

ตลาดไนท์บารซ่า

ร้านอาหาร

เกาะระบบนิเวศแม่น�้ำปิง

FLOW OF ACTIVITIES

ORDER OF ENTRANCE

ZONING OTOP

แฟชั่น ของฝาก ตลาดสด ร้านอาหาร

โรงละคร

INSIDE OUT


MARKET RIVERFRONT

ART PERFORMING RIVERFRONT


พาณิชยกรรม ก�ำแพงเพชร

ลานคนเมือง

พาณิชยกรรม ก�ำแพงเพชร

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือและ ก�ำแพงเพชร

ลานแสดงศิลปะริมน�้ำ

ลานศิลปะกลา่งแจ้ง

ศูนย์ศิลปะภาคเหนือและ ก�ำแพงเพชร

ลานคนเมือง

เกาะกลางแม่น�้ำปิง


ตลาดไนท์บารซ่าก�ำแพงเพชร


ศูนย์ศิลปะภาคเหนือและก�ำแพงเพชร


PING RIVER ECOLOGICAL ISLAND เกาะระบบนิเวศพื้นที่ธรรมชาติของอ�ำเภอเมือง จังหวัดก�ำแพงเพชร เพื่อพักผ่อนและนันทนการ


ศาลเจ้าพ่อเสือ

อาคารศิลปะร่วมสมัย จุดพักคอยท่าเรือท่องเที่ยว ทางเดินดูนก ท่าเรือท่องเที่ยวเมืองโบราณ

สวนหย่อม

จุดชมวิว พื้นที่ชุ่มน�้ำระบบนิเวศ

โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร


ศาลเจ้าพ่อเสือ

อาคารศิลปะร่วมสมัย จุดพักคอยท่าเรือท่องเที่ยว ทางเดินดูนก ท่าเรือท่องเที่ยวเมืองโบราณ

สวนหย่อม

จุดชมวิว พื้นที่ชุ่มน�้ำระบบนิเวศ

ZONING

WALKING TRAIL PARK WETLAND

FLOW OF ACTIVITIES

โรงพยาบาลก�ำแพงเพชร

URBAN NATURAL-PARK


FESTIVAL BEACH RIVERFRONT

NATURAL RIVERFRONT

PARK


พาณิชยกรรม ก�ำแพงเพชร

สวนหย่อม

อาคารศึกปะร่วมสมัย WETLAND จุดพักคอยท่าเรือท่องเที่ยว

พื้นที่ระบบนิเวศชุ่มน�้ำ

สวนสาธาณะเแม่น�้ำปิง

พื้นที่ระบบนิเวศชุ่มน�้ำ


พื้นที่ริมน�้ำและเกาะกลางแม่น�้ำปิง


อาคารศิลปะร่วมสมัย จุดนั่งพักคอยขึ้นเรือ


THANK YOU


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.