E-book

Page 1

ปลูกพืชอินทรียไมดีอยางที่คิด

ปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษดีกวาไหม

ปุย ชีวภาพ

¾×ª»ÅÍ´ÀÑ ¨Ò¡ÊÒþÔÉ

ปุย อินทรีย

ปุยN-P-K เคมี

ศาสตราจารยเกียรติคุณ ดร. อำนาจ สุวรรณฤทธิ์ ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน

จัดทำโดย ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน


ปลูกพืชอินทรียไมดีอยางที่คิด

ปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษดีกวาไหม

ปุย อินทรีย

ปุย ชีวภาพ

ปุยN-P-K เคมี


คำ�นำ�

ปัจจุบนั ได้เกิดกระแสความคิดและหรือความเชือ่ อย่างกว้างขวาง ในระดับ โลก รวมทั้งในประเทศไทย ว่าการผลิตพืชอินทรีย์เป็นการผลิตที่ดีที่สุด ทั้งใน แง่ต้นทุนการผลิตพืชต่ำ� มีความเสี่ยงน้อยต่อการเกิดมลพิษหรือมีความเป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อมสูง ไม่มีสารพิษในผลผลิต ทำ�ให้โรคและแมลงทำ�ลายพืช น้อย และคุณภาพด้านโภชนาการของผลผลิตสูง การผลิตพืชอินทรีย์ในที่นี้ หมายถึงการผลิตพืชทีไ่ ม่ใช้ปจั จัยการผลิตทีเ่ ป็นสารเคมีเลย เช่น ไม่ใช้สารเคมี ป้องกันกำ�จัดโรคและแมลง ไม่ใช้สารกำ�จัดวัชพืช รวมทัง้ ไม่ใช้ปยุ๋ เคมี การห้าม ใช้ปยุ๋ เคมี ซึง่ ไม่ใช่สารพิษแต่เป็นสารทีใ่ ห้ธาตุอาหารพืช เป็นสิง่ ทีผ่ เู้ ขียนเห็นว่า ขัดกับหลักความเป็นจริงและหลักวิชาการ โดยความจริงปุย๋ เคมีมคี ณ ุ สมบัติ หลายอย่างทีท่ �ำ ได้ดกี ว่าและมีความได้เปรียบปุย๋ อินทรียแ์ ละปุย๋ ชีวภาพในเรือ่ ง ที่กล่าวข้างต้น เกี่ยวกับเรื่องนี้ผู้เขียนได้ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลผลการวิจัยเพื่อ หาข้อสรุปเกี่ยวกับกระแสความคิดหรือความเชื่อดังกล่าว ซึ่งผลงานวิจัยที่ทำ� อย่างถูกต้องให้ขอ้ สรุปว่า กระแสความคิดและหรือความเชือ่ เรือ่ งข้อดีของการ ผลิตพืชอินทรีย์ดังกล่าวข้างต้นนั้นไม่ถูกต้อง การปล่อยให้เกิดกระแสความ เข้าใจผิดของสังคมไทยที่กล่าวข้างต้นต่อไปโดยไม่มีการทักท้วง ผู้เขียนเป็น ห่วงว่าจะทำ�ให้การเกษตรของประเทศหลงทาง ไม่เจริญก้าวหน้าเท่าที่ควร และทีส่ �ำ คัญทีส่ ดุ ก็คอื นอกจากจะทำ�ให้เกษตรกรถูกใช้เป็น “หนูตะเภา” ซึง่ ทำ�ให้เสียโอกาส แทนทีจ่ ะมีก�ำ ไรจากการผลิตแต่ตอ้ งขาดทุน แทนทีจ่ ะได้ก�ำ ไร มากก็ได้ก�ำ ไรน้อย แล้วยังทำ�ให้เสียโอกาสในการลดมลพิษและการปรับปรุง คุณภาพด้านโภชนาการของผลผลิตพืชอีกด้วย ด้วยเหตุผลดังกล่าวผูเ้ ขียนจึง ได้เรียบเรียงหนังสือนี้ขึ้น เพื่อเสนอข้อมูลผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องให้ผู้สนใจได้ ศึกษา แต่เพือ่ ให้ผอู้ า่ นไม่ตอ้ งใช้เวลาในการอ่านหนังสือนีม้ ากจนเกินไป จึงได้


เสนอข้อมูลในแบบกระชับมากที่สุด พร้อมกับให้ข้อมูลที่บอกที่มาของผลงาน วิจัยที่นำ�มาเสนอเพื่อให้ผู้อ่านติดตามรายละเอียดได้ด้วยตนเองในประเด็นที่ ต้องการรายละเอียดเพิม่ เติมได้ ผูเ้ ขียนขอขอบคุณภาควิชาปฐพีวทิ ยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ที่กรุณาจัดทำ�หนังสือนี้ และขอบพระคุณศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. สรสิทธิ์ วัชโรทยาน ดร. สุจนิ ต์ จันทรสอาด และคุณธเนศ ปิงสุทธิวงศ์ ทีแ่ นะนำ�การปรับปรุงต้นฉบับของหนังสือนี้ ผูเ้ ขียนหวังเป็นอย่างยิง่ ว่าหนังสือนี้ จะสร้างความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับข้อดีและด้อยของการปลูกพืชอินทรีย์ การปลูกพืชปลอดสารพิษ และการปลูกพืชปลอดภัยจากสารพิษ แก่ประชากร ของประเทศทุกอาชีพและทุกระดับชัน้ และประชากรทุกอาชีพและทุกระดับชัน้ จะช่วยสนับสนุนให้เกษตรกรปลูกพืชด้วยวิธที ถี่ กู ต้องเหมาะสม ซึง่ จะส่งผลให้ การเกษตรของประเทศพัฒนาไปในแนวทางที่ถูกต้องและเหมาะสมในที่สุด อำ�นาจ สุวรรณฤทธิ์ ตุลาคม ๒๕๕๗


สารบัญ

เรื่อง ๑. บทคัดย่อ ๒. ความนำ� ๓. ปริมาณผลผลิตพืชที่ได้เมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีเท่ากัน ๔. ราคาต้นทุนผลผลิตพืชจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และปุ๋ยเคมี ๕. ผลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อการเข้าทำ�ลายพืช โดยโรคและแมลง ๖. ผลของปุ๋ยประเภทต่างๆต่อคุณภาพด้านโภชนาการของพืช ๗. ผลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อความโปร่งและความแข็งของดิน ๘. การเกิดมลพิษจากการใช้ปุ๋ยประเภทต่างๆ ๙. การปลูกพืชที่ดีกว่าการปลูกพืชอินทรีย์ และปัญหาด้านสังคม ที่เกิดจากพืชอินทรีย์

หน้า ๔ ๖ ๖ ๘

๑๒ ๑๗ ๒๑ ๒๔ ๒๙


บทคัดย่อ หนังสือนี้เสนอผลการวิจัยเปรียบเทียบผลในด้านต่างๆ ของปุ๋ยทั้งสาม ประเภท คือ ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ และปุ๋ยชีวภาพ เมื่อใช้ประเภทเดียว ใช้ สองประเภทร่วมกัน และใช้สามประเภทร่วมกันในการผลิตพืช เพื่อหาข้อ สรุปเกี่ยวกับกระแสความเชื่อหรือความคิดที่ว่า การผลิตพืชอินทรีย์เป็น การผลิตที่ดีที่สุด ทั้งในแง่ต้นทุนการผลิตพืชต่ำ� มีความเสี่ยงน้อยต่อการเกิด มลพิษหรือมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสูง ไม่มีสารพิษในผลผลิต ทำ�ให้ โรคและแมลงทำ�ลายพืชน้อย และคุณภาพด้านโภชนาการของผลผลิตสูง ผลการวิจัยให้ข้อสรุปว่ากระแสความเชื่อและหรือความคิดดังกล่าวไม่ ถูกต้อง กล่าวคือ ผลการวิจัยให้ข้อสรุปว่า การปลูกพืชโดยใช้ปุ๋ยทั้งสาม ประเภทให้เหมาะสมกับดินและพืชทำ�ให้ต้นทุนผลผลิตต่ำ�กว่า มีความเสี่ยง ต่อการเกิดมลพิษน้อยกว่าหรือมีความเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมสูงกว่า ทำ�ให้ โรคและแมลงทำ�ลายพืชน้อยกว่า และคุณภาพด้านโภชนาการของผลผลิต สูงกว่าเมื่อเทียบกับการปลูกพืชโดยไม่ใช้ปุ๋ยเคมีในการปลูกพืชอินทรีย์ แต่ พืชอินทรีย์มีข้อดีในเรื่องการปลอดสารพิษตกค้างจากสารเคมีป้องกันกำ�จัด ศัตรูพืช ดังนั้น ในพื้นที่ที่สามารถผลิตพืชโดยไม่ต้องใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัด ศัตรูพืช จึงควรผลิตพืชโดยไม่ใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชแต่มีการใช้ ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพอย่างเหมาะสม ซึ่งน่าจะเรียกว่า “การผลิตพืชปลอดสารพิษ” อย่างไรก็ตาม การผลิตพืชในพื้นที่ส่วนใหญ่ ของประเทศไทยยังจำ�เป็นต้องใช้สารเคมีปอ้ งกันกำ�จัดศัตรูพชื จึงควรทำ�การ ผลิตโดยใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชตามหลักวิชาการและใช้ปุ๋ยทั้ง


สามประเภทร่วมกันอย่างเหมาะสม ซึ่งเป็นการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP: Good Agricultural Practices) ที่องค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO) ให้การสนับสนุน การผลิตพืชแบบนี้น่าจะเรียกว่า “การผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษ” การผลิตพืชแบบหลังนี้จะต้องใช้สาร เคมี ป้ อ งกั น กำ � จั ด ศั ต รู พื ช โดยมี ก ารปฏิ บั ติ ที่ ทำ � ให้ ผ ลผลิ ต พื ช มี ส ารเคมี ป้องกันกำ�จัดศัตรูพชื ตกค้างอยูไ่ ม่เกินระดับทีป่ ลอดภัยสำ�หรับผูบ้ ริโภค อนึง่ ในการผลิ ต พื ช ปลอดสารพิ ษ และการผลิ ต พื ช ปลอดภั ย จากสารพิ ษ เกษตรกรสามารถผสมผสานการใช้ ปุ๋ ย ทั้ ง สามประเภทให้ ช่ ว ยลดการ ทำ�ลายพืชโดยโรคและแมลงได้ ซึ่งทำ�ให้มีความจำ�เป็นที่จะต้องทำ�การกำ�จัด โรคและแมลงน้อยลงอีกด้วย การผลิตพืชอินทรีย์ไม่เพียงแต่จะด้อยกว่าการผลิตพืชปลอดสารพิษ สำ�หรับพื้นที่ที่ไม่จำ�เป็นที่จะต้องใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชและการ ผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษสำ�หรับพี้นที่ที่จำ�เป็นต้องใช้สารเคมีป้องกัน กำ�จัดศัตรูพืช แต่ยังเปิดโอกาสให้มีการหลอกลวงผู้ที่ต้องการบริโภคพืช อินทรีย์เพราะไม่มีวิธีที่จะใช้ตรวจพิสูจน์ว่าผลผลิตนั้นได้จากการผลิตที่ไม่ ใช้ปุ๋ยเคมีจริงหรือไม่ แต่ในกรณีพืชปลอดสารพิษและพืชปลอดภัยจากสาร พิษสามารถตรวจพิสูจน์ได้ด้วยการตรวจปริมาณสารพิษในพืชเหล่านั้น ดัง นั้น จึงอาจกล่าวได้ว่าการผลิตพืชอินทรีย์มีข้อเสียทั้งในด้านวิชาการและใน ด้านสังคม และแนวคิดการผลิตพืชอินทรีย์ไม่เพียงแต่จะทำ�ให้การเกษตร ของประเทศหลงทาง แต่ยังเปิดช่องทางให้ผู้บริโภคถูกหลอกโดยกฎหมาย ไม่สามารถคุ้มครองได้อีกด้วย


๑. ความนำ� ปัจจุบนั ได้เกิดกระแสความคิดและหรือความเชือ่ อย่างกว้างขวางในระดับ โลกรวมทัง้ ในประเทศไทย ว่าการผลิตพืชอินทรียเ์ ป็นการผลิตทีด่ ที ส่ี ดุ ทัง้ ใน ด้านต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตพืชทีล่ ดลง การลดการระบาดของโรคและแมลง ทำ�ลายพืช ความเสีย่ งต่อการเกิดมลพิษน้อยหรือความเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม สูง การปลอดสารพิษจากสารเคมีปอ้ งกันกำ�จัดศัตรูพชื ของผลผลิต และคุณภาพ ด้านโภชนาการของผลผลิตสูง การผลิตพืชอินทรียใ์ นทีน่ ห้ี มายถึง การผลิตพืช ทีไ่ ม่ใช้ปจั จัยการผลิตทีเ่ ป็นสารเคมีเลย ซึง่ รวมทัง้ ไม่ใช้สารเคมีปอ้ งกันกำ�จัด ศัตรูพชื และไม่ใช้ปยุ๋ เคมี การห้ามใช้ปยุ๋ เคมีเป็นสิง่ ทีข่ ดั กับหลักวิชาการ เพราะ โดยความจริงปุ๋ยเคมีมีสมบัติหลายอย่างที่สนับสนุนให้มีความได้เปรียบปุ๋ย อินทรียแ์ ละปุย๋ ชีวภาพในด้านต่างๆ ทีก่ ล่าวข้างต้น และมีผลการวิจยั ทีใ่ ห้ขอ้ สรุปได้ชดั เจนจำ�นวนมาก ข้อสรุปในด้านต่างๆ และตัวอย่างผลงานวิจยั ทีใ่ ห้ ข้อสรุปเหล่านัน้ สามารถอธิบายโดยสังเขปได้ดงั นี้ ใชพวกเราทั้ง ๓ ใหเหมาะสมกับดินและพืช จะทำใหพืชดีที่สุดและเกิดมลพิษนอยที่สุด

ปุย อินทรีย

ปุย ชีวภาพ

ปุยN-P-K เคมี

๒. ปริมาณผลผลิตพืชที่ได้เมื่อใช้ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีเท่ากัน เมือ่ ใช้ในปริมาณเท่ากัน ในทีด่ นิ แปลงเดียวกัน ปุย๋ อินทรียใ์ ห้ผลผลิตพืช ได้น้อยกว่าปุ๋ยเคมีมาก กล่าวคือ หากจะใช้ปุ๋ยอินทรีย์ให้ได้ผลผลิตเท่ากับ ปุ๋ยเคมีจะต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์เป็นจำ�นวน ๘-๗๐ เท่าของปุ๋ยเคมี ขึ้นอยู่กับ


ชนิดปุ๋ยอินทรีย์ ดังรายละเอียดในตารางที่ ๒.๑ ตารางที่ ๒.๑ ปริมาณปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมักที่ให้ผลผลิตพืชได้เท่ากับปุ๋ย เคมี ๑ กิโลกรัม เมื่อปลูกพืชในที่ดินแปลงเดียวกัน ปริมาณ (กิโลกรัม) ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก ที่ให้ผลผลิตพืชเท่ากับปุ๋ยเคมีหนึ่งกิโลกรัม ๐๘ ๑๒ ๑๔ ๑๘ ๒๐ ๔๔ - ๗๐

ชนิดปุ๋ย มูลค้างคาว มูลไก่ มูลเป็ด มูลสุกร มูลโค ปุ๋ยหมัก

ที่มา อำ�นาจ สุวรรณฤทธิ์. ๒๕๕๓. ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม พิมพ์ครั้งที่ ๓ สำ�นักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๑๕๖ หน้า หมายเหตุ ข้อมูลบ่งชี้ว่า มูลค้างคาว มูลไก่ มูลเป็ด มูลสุกร มูลโค และ ปุ๋ยหมักจะต้องมีราคาถูกกว่าปุ๋ยเคมีอย่างน้อย ๘, ๑๒, ๑๔, ๑๘, ๒๐ และ ๔๔ เท่าจึงจะให้ผลตอบแทนจากการใส่ปุ๋ยเท่ากับปุ๋ยเคมี (คำ�นวณโดยไม่รวมค่าขนและค่าแรงใส่ปุ๋ย) ตองใสปุยอินทรียในปริมาณ ๘-๔๔ เทาของปริมาณปุยเคมี พืชจึงจะใหผลผลิตเทากับปุยเคมี ปุย อินทรีย

ปุย อินทรีย

ปุย อินทรีย

ปุย อินทรีย

ปุย ปุย ย อินททรีย อินทรีย ออินปุทร ย ี  ปุย ปุย อินทรีย อินทรีย

P11

พวกนายก็เหนื่อยหนอยนะ ปุยN-P-K เคมี


๓. ราคาต้นทุนผลผลิตพืชจากการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ปุ๋ยชีวภาพ และ ปุ๋ยเคมี ดังได้กล่าวแล้วในข้อ ๒ หากต้องการให้ได้ผลผลิตพืชที่ปลูกในดินเดียว กันเท่ากัน จะต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์มากกว่าปุ๋ยเคมีหลายเท่า เช่น หากปลูก พืชชนิดเดียวกันในดินเดียวกัน ต้องใช้มูลไก่ ๑,๒๐๐ กิโลกรัมจึงจะเพิ่ม ผลผลิตพืชได้เท่ากับปุ๋ยเคมี ๑๐๐ กิโลกรัม ดังนั้น ปุ๋ยอินทรีย์ ๑ กิโลกรัม จะต้องมีราคาถูกกว่าปุ๋ยเคมี ๑ กิโลกรัมหลายเท่า (๘-๗๐ เท่า ขึ้นอยู่กับ ชนิดของปุ๋ยอินทรีย์ เมื่อคำ�นวณโดยไม่รวมค่าขนส่งและค่าแรงใส่ปุ๋ยซึ่งใน กรณีปุ๋ยอินทรีย์สูงกว่าปุ๋ยเคมีมาก) จึงจะทำ�ให้ต้นทุนต่อหนึ่งกิโลกรัมของ ผลผลิตพืชที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์เท่ากับผลผลิตพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และหากใช้ราคา ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีที่จำ�หน่ายในปัจจุบันในการคำ�นวณราคาต้นทุนต่อ หน่วยผลผลิตพืช (โดยไม่รวมค่าขนส่งและค่าแรงใส่ปุ๋ย) จะพบว่าการผลิต โดยใช้ปุ๋ยอินทรีย์มีราคาต้นทุนสูงกว่าการผลิตโดยใช้ปุ๋ยเคมี ดังนั้น หาก ต้ อ งการให้ ร าคาต้ น ทุ น ของผลผลิ ต พื ช ที่ ป ลู ก โดยใช้ ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ ถู ก กว่ า ผลผลิตพืชที่ปลูกโดยใช้ปุ๋ยเคมี เกษตรกรจะต้องทำ�ปุ๋ยอินทรีย์ใช้เองหรือมี แหล่งปุ๋ยอินทรีย์ที่ราคาถูกกว่าปุ๋ยเคมี ๘-๗๐ เท่า ขึ้นอยู่กับชนิดปุ๋ยอินทรีย์ นอกจากจะต้องใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในปริมาณที่มากกว่าปุ๋ยเคมีหลายเท่าใน การเพิ่มผลผลิตพืชขึ้นเท่าๆกันแล้ว ในบางกรณีปุ๋ยอินทรีย์ไม่ทำ�ให้ผลผลิต พืชเพิ่มขึ้นเนื่องจากปุ๋ยอินทรีย์มีชนิดและปริมาณธาตุอาหารไม่เหมาะสม กับดินและพืชที่ปลูก แต่ปุ๋ยเคมีที่ได้รับการคัดเลือกสูตรปุ๋ยที่ใช้ให้เหมาะสม กับดินและพืชทำ�ให้คุณภาพและปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้น ดังตัวอย่างผลงาน วิจัยในตารางที่ ๓.๑ ผลงานวิจัยในตารางที่ ๓.๑ แสดงให้เห็นว่ามูลสุกรเพิ่มน้ำ�หนักส่วน เหนือดินแต่ไม่เพิ่มผลผลิตหัวมันสำ�ปะหลัง ขณะที่ปุ๋ยเคมีเพิ่มทั้งน้ำ�หนัก


ส่วนเหนือดินและผลผลิตหัวมันสำ�ปะหลัง ในกรณีนี้ปุ๋ยอินทรีย์เพิ่มต้นทุน การผลิตแต่ไม่เพิ่มผลผลิตหัวมันซึ่งส่งผลให้ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตสูงขึ้น แต่ปุ๋ยเคมีเพิ่มรายได้จากผลผลิตหัวมันประมาณ ๑,๘๐๐ บาทโดยจ่ายค่า ปุ๋ยประมาณ ๖๐๐ บาทต่อไร่ (คำ�นวณโดยใช้ราคาหัวมันและปุ๋ยในเดือน กันยายน ๒๕๕๗) ซึ่งมีผลทำ�ให้ต้นทุนต่อหน่วยผลผลิตหัวมันต่ำ�ลงพร้อม กับปริมาณผลผลิตหัวมันต่อไร่เพิ่มขึ้น ทำ�ให้กำ�ไรต่อไร่เพิ่มขึ้น ตารางที่ ๓.๑ น้ำ�หนักสดส่วนเหนือดินและหัวมันสำ�ปะหลังที่ไม่ใส่ปุ๋ย เปรียบเทียบกับที่ใส่ปุ๋ยเคมีและมูลสุกร ปุ๋ยที่ใส่ ๑. ปุ๋ยเคมี ๑.๑ ไม่ใส่ ๑.๒ ปุ๋ยสูตร ๑๒-๘-๘ จำ�นวน ๕๐ กก./ไร่ ๒. มูลสุกร ๒.๑ ไม่ใส่ ๒.๒ ๑๐๐ กิโลกรัมต่อไร่

น้ำ�หนักสด ส่วนเหนือดิน (ตัน/ไร่)

น้ำ�หนักหัวสด (ตัน/ไร่)

๒.๕๓

๒.๓๑

๓.๗๐

๓.๒๘

๓.๒๔ ๓.๕๖

๒.๘๑ ๒.๘๘

ที่มา รายงานผลการวิจัยดิน-ปุ๋ยพืชไร่ เล่มที่ ๒ ปี ๒๕๓๓, กลุ่มงานวิจัยดิน

และปุ๋ยพืชไร่ กองปฐพีวิทยา กรมวิชาการเกษตร หน้า ๒๓๘-๒๕๒.

อีกตัวอย่างหนึ่งที่แสดงว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ทำ�ให้ราคาต้นทุนของผล ผลิตสูงขึ้น และทำ�ให้กำ�ไรต่อไร่ที่ได้จากการปลูกพืชน้อยลง คือ ผลการ วิจัยของสุทิศา และคณะ (ที่มา: Pinitpaitoon, S. and co-authors. 2011.


Field Crops Res. 124: 302 – 315) ซึ่งทำ�ซ้ำ�ที่เดิมในประเทศไทยเป็นเวลา ๕ ปี ผลการวิจัยนี้ให้ข้อสรุปว่า ปุ๋ยหมักทำ�ให้การปลูกข้าวโพดได้กำ�ไรต่อไร่ น้อยลงเมื่อเทียบกับการปลูกโดยไม่ใส่ปุ๋ยอะไรเลย ไม่ว่าจะคำ�นวณโดยรวม ค่าปุย๋ และค่าแรงใส่ปยุ๋ หรือเมือ่ คำ�นวณโดยรวมเฉพาะค่าแรงงานในการใส่ปยุ๋ แต่ไม่รวมค่าปุย๋ ในการทดลองนีก้ ารปลูกโดยใช้ปยุ๋ เคมีท�ำ ให้ได้ก�ำ ไรมากขึน้ (ปุ๋ยหมักที่ใช้เป็นปุ๋ยที่จำ�หน่ายในท้องตลาดที่ใช้ตราที่ได้รับความเชื่อถือสูง มีไนโตรเจน ๐.๕๙% ฟอสฟอรัส ๐.๓๑% โพแทสเซียม ๐.๕๕%)

ปุย อินทรีย

ปุยN-P-K เคมี

แม้ปุ๋ยชีวภาพที่แนะนำ�ให้ใช้อยู่ในปัจจุบันส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายในการใช้ ต่ำ�กว่ามากเมื่อเทียบกับปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี แต่ปุ๋ยชีวภาพส่วนใหญ่มี เงื่อนไขหลายอย่างที่จะทำ�ให้การใช้ปุ๋ยได้ผลดี ตัวอย่างเงื่อนไข คือ (ก) ดิน จะต้องไม่มีจุลินทรีย์ชนิดเดียวกับจุลินทรีย์ที่ใช้เป็นปุ๋ยชีวภาพหรือมีน้อย (ข) ต้องมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อการเจริญเติบโตและกิจกรรมของจุลินทรีย์ในปุ๋ย (ค) ดินต้องไม่ขาดธาตุอาหารอื่นๆที่ไม่ใช่ธาตุที่จุลินทรีย์ในปุ๋ยจะช่วยเพิ่มให้ แก่พืช และ (ง) ต้องทราบว่าจำ�เป็นต้องใส่ปุ๋ยชีวภาพนั้นซ้ำ�หลังจากมีการใส่ ไปแล้วครั้งหนึ่งหรือไม่ เงื่อนไขเหล่านี้แตกต่างกันอย่างมากในระหว่างพื้นที่

๑๐


ต่างๆ หรือแม้แต่ในจุดต่างๆในแต่ละแปลงปลูกพืช และจำ�เป็นจะต้องทำ�การ วิจัยอีกมากเพื่อให้ทราบเงื่อนไขเหล่านี้ ดังนั้น การให้คำ�แนะนำ�การใช้ปุ๋ย ชีวภาพในปัจจุบันจึงเป็นแบบ “เหวี่ยงแห” คือไม่ได้บอกเงื่อนไขที่จะทำ�ให้ การใช้ปุ๋ยได้ผลดี ทั้งนี้เพราะยังไม่ทราบเงื่อนไข หรือไม่มีวิธีที่เหมาะสมที่ จะทำ�ให้ทราบว่าสภาพที่จะใช้ปุ๋ยมีเงื่อนไขเหมาะสมต่อการใช้ปุ๋ยชีวภาพ หรือไม่ การขาดความรู้เรื่องเงื่อนไขและหรือขาดวิธีที่เหมาะสมที่จะทำ�ให้ ทราบความเหมาะสมของเงื่อนไขดังกล่าวนี้ส่งผลให้การใช้ปุ๋ยชีวภาพให้ผล คุ้มค่าเฉพาะบางพื้นที่ แต่ทำ�ให้ต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงขึ้นโดยผลผลิตไม่ เพิ่มขึ้นในพื้นที่อื่นๆ ยกเว้นกรณีเชื้อไรโซเบียมซึ่งมีข้อมูลจากการวิจัยมาก พอสำ�หรับประกอบการให้คำ�แนะนำ�ที่มีความแม่นยำ�ที่น่าพอใจแล้ว ทำไมผลผลิตไมดีเหมือนไรขางๆ นะ

ปุยชีวภาพใชไดผลดีบางพื้นที่ แตใชไมไดผลในบางพื้นที่ เพราะแตละพื้นที่เหมาะสมตอการใชปุยตางกัน

ปุย ชีวภาพ

๑๑


๔. ผลของปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมีต่อการเข้าทำ�ลายพืชโดยโรค และแมลง ปุ๋ยอินทรีย์ส่วนใหญ่ทำ�ให้พืชถูกโรคและแมลงเข้าทำ�ลายมากขึ้น สำ�หรับ ปุ๋ยอินทรีย์ที่ใช้กันทั่วไปมีเพียงชนิดเดียว คือ มูลค้างคาว ซึ่งมีฟอสฟอรัสสูง ที่อาจจะช่วยลดการทำ�ลายพืชโดยโรคและแมลง (แต่ยังไม่มีรายงานผล การทดลอง) ตรงกันข้ามปุ๋ยเคมีที่มีฟอสฟอรัสและหรือโพแทสเซียมมาก แต่ มี ไ นโตรเจนไม่ ม ากเกิ น ไปทำ � ให้ พื ช ถู ก โรคและแมลงทำ � ลายน้ อ ยลง ทำ�ให้เกษตรกรสามารถลดการทำ�ลายพืชของโรคและแมลงได้ด้วยการ เลือกใช้ปุ๋ยเคมีท่ีมีสูตรที่ให้ฟอสฟอรัสและหรือโพแทสเซียมที่เป็นสัดส่วนที่ เหมาะสมกับปริมาณไนโตรเจน โดยไม่ควรมีไนโตรเจนสูงกว่าฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ซึ่งจะทำ�ให้พืชแข็งแรงไม่อวบน้ำ� เป็นวิธีการหนึ่งในการ ใช้ปุ๋ยเคมีเพื่อให้การผลิตพืชโดยไม่ใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชมีปัญหา ด้านโรคและแมลงน้อยลงได้ด้วย ตัวอย่างผลงานวิจัยที่ให้ข้อสรุปดังกล่าว มีดังนี้ คือ

ใชเราแลว โรคและแมลงรบกวนนอยลง

ปุย ฟอสฟอรัส

๑๒

ปุย โพแทสเซี่ยม


๔.๑ ปุย๋ เคมีทมี่ แี ต่ไนโตรเจนเพียงอย่างเดียวและปุย๋ เอ็นพีเคทีม่ ไี นโตรเจน สูงทำ�ให้พืชถูกโรคและแมลงเข้าทำ�ลายมากขึ้น [ที่มา: (๑) Chau, L. M. and Heong, K.L. 2005. Omonrice 13: 26-33. และ (๒) Zhong-xian, L. and co-authors. 2007. Rice Science 14(1): 56-66.] ๔.๒ ปุย๋ อินทรีย์ซึง่ ส่วนใหญ่มไี นโตรเจนมากกว่าฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ทำ�ให้พืชถูกโรคและแมลงเข้าทำ�ลายมากขึ้น ดังตัวอย่างผลการทดลองใน ตารางที่ ๔.๑ ตารางที่ ๔.๑ ผลของมูลไก่ต่อการถูกแมลงและโรคทำ�ลายของพริก ชื่อโรคและแมลง ๑. เพลี้ยอ่อน (ตัวต่อต้น) ๒. ตั๊กแตน (ตัวต่อต้น) ๓. มวนยุง (ตัวต่อต้น) ๔. ด้วงหมัด (ตัวต่อต้น) ๕. แมลงหวี่ขาว (ตัวต่อต้น) ๖. โรคใบด่าง ๖.๑ ต้นพริกที่เป็นโรค(%) ๖.๒ ความรุนแรงของโรค(%)

อัตราปุ๋ยมูลไก่ที่ใส่ (ตัน/ไร่) ๐ ๓.๒ ๖.๔ ๑.๔ ๑.๔ ๓.๑ ๐.๙ ๑.๖ ๑.๘ ๑.๐ ๒.๖ ๓.๘ ๐.๘ ๑.๐ ๐.๙ ๔.๙ ๖.๒ ๗.๙ ๓๑.๑ ๓๑.๑

๔๕.๘ ๔๕.๘

๔๗.๓ ๔๑.๕

ที่มา Echezona, B.C and Nganwuchu, O.G. 2006. Journal of

Agriculture, Food, Environment and Extension 5 (2): 49-58.

๑๓


๔.๓ งานวิจัยเกี่ยวกับผลของปุ๋ยเคมีที่ให้ฟอสฟอรัสต่อการทำ�ลายพืช โดยโรคและแมลงยังมีไม่เพียงพอที่จะให้ข้อสรุปที่ชัดเจน แต่มีรายงานว่า ปุ๋ยเคมีที่ให้ฟอสฟอรัสทำ�ให้พืชถูกโรคจุดสีน้ำ�ตาลรบกวนน้อยลง ดังผลงาน วิจัยในตารางที่ ๔.๒ ตารางที่ ๔.๒ ผลของปุ๋ยฟอสฟอรัสต่อการเป็นโรคจุดสีน้ำ�ตาล (จากเชื้อ Colletotrichum capsici)และผลผลิตของถั่วพุ่ม อัตราปุ๋ยฟอสฟอรัส (กก.พี/ไร่) ๐.๐ ๔.๘ ๙.๖ ๑๔.๔ ๑๙.๒

จำ�นวนต้นถั่วพุ่มที่เป็นโรค ผลผลิตเมล็ดถั่วพุ่ม (%) (กก./ไร่) ๕๙.๖ ๑๔๔ ๕๗.๗ ๒๓๖ ๔๓.๕ ๒๓๒ ๒๖.๑ ๒๓๖ ๒๕.๕ ๓๑๓

ที่มา Owolade O.F. and co-authors. 2006. African J. Biotechnology 5 (4): 343-347. หมายเหตุ “พี” หมายถึง ปริมาณฟอสฟอรัสทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ พืชทีแ่ สดงเป็น น้ำ�หนักของฟอสฟอรัสเป็นต๊อกไซด์ (P2O5)

๑๔


๔.๔ ปุ๋ยเคมีที่ให้โพแทสเซียมทำ�ให้พืชถูกโรคและแมลงรบกวนน้อยลง ตามการเพิ่มอัตราปุ๋ย ดังข้อมูลผลการวิจัยในตารางที่ ๔.๓ ตารางที่ ๔.๓ ผลของปุ๋ยโพแทสเซียมต่อผลผลิตและการถูกโรคและ แมลงทำ�ลายของถั่วเหลือง อัตราปุ๋ย ผลผลิตเมล็ด ด้วงสีน้ำ�เงิน แมลงวันเจาะ แมลงกินใบ โพแทสเซียม ถัว่ เหลือง (ตัว/แถว ๑ ลำ�ต้น (ตัว/แถว ๑ (กก.เค/ไร่) (กก./ไร่) เมตร) (% ต้นทีถ่ ูก เมตร) เจาะ) ๐๐ ๒๔๒ ๕.๙ ๑๓.๙ ๑.๓ ๒๕ ๒๘๙ ๒.๐ ๐๓.๙ ๑.๐ ๕๐ ๓๑๗ ๑.๘ ๐๒.๙ ๐.๘ ๗๕ ๓๑๙ ๑.๓ ๐๐.๐ ๐.๗ ที่มา International Potash Institute. 2007. e-ifc no. 11. http://www.ipipotash.org/en/eifc/2007/11/4 หมายเหตุ “เค” หมายถึง ปริมาณโพแทสเซียมที่ละลายน้ำ� แสดงเป็นน้ำ�หนัก ของโพแทสเซียมออกไซด์(K2O)

ตารางที่ ๔.๓ (ต่อ) อัตราปุ๋ยโพแทสเซียม (กก.เค/ไร่) ๐๐ ๒๕ ๕๐ ๗๕

โรคโคนเน่า (% ต้นตาย) ๙.๑๗ ๖.๐๗ ๔.๖๑ ๒.๒๒

โรคใบจุด (% ต้นที่เป็นโรค) ๓๘.๖ ๒๘.๕ ๒๒.๖ ๒๕.๔

๑๕


๔.๕ ปุย๋ เคมีเอ็นพีเคทีม่ ที ง้ั ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมมากแต่มไี นโตรเจน ไม่มากเกินไปทำ�ให้พชื ถูกโรคและแมลงรบกวนน้อยลง ดังตัวอย่างต่อไปนี้ คือ ๔.๕.๑ ปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ทำ�ให้ถั่วเหลืองถูกโรคและแมลง รบกวนน้อยลงเมื่อเพิ่มอัตราปุ๋ย ดังผลการวิจัยในตารางที่ ๔.๔ ตารางที่ ๔.๔ ผลของปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ต่อผลผลิตและการ เป็นโรคและการถูกแมลงทำ�ลายของถั่วลิสง อัตรา ปุ๋ยเคมี๑/ (กก./ไร่)

คะแนน โรค ใบจุด๒/

คะแนน โรค ราสนิม๒/

๐๐.๐ ๐๖.๕ ๑๒.๘ ๒๐.๐

๒.๐๘ ๑.๑๗ ๐.๙๖ ๐.๙๖

๑.๔๖ ๑.๒๒ ๑.๑๕ ๑.๐๐

คะแนน โรคแห้ง ตายของ ต้นกล้า๒/ ๑.๓๒ ๑.๒๐ ๑.๑๖ ๑.๑๐

คะแนน การถูก แมลง ทำ�ลาย๒/ ๔.๘๗ ๔.๔๕ ๓.๗๗ ๓.๒๘

น้ำ�หนัก เมล็ด ถั่วลิสง (กก./ไร่) ๓๑๔ ๕๔๖ ๕๖๓ ๕๗๐

๑/ ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕; ๒/ คะแนนสูงหมายถึงเป็นโรคมาก

ที่มา Ihejirika, G. O. and co-authors. 2006. J. Plant Sci. 1(4): 362-367.

K

P N ๑๖

ปุยN-P-K เคมี

ไนโตรเจนไมสูงกวา ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียม ทำใหพืชถูกโรคและแมลงทำลาย นอยลง


๔.๕.๒ ปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ทำ�ให้มันสำ�ปะหลังถูกโรคและ แมลงรบกวนน้อยลงเมื่อเพิ่มอัตราปุ๋ย ดังข้อมูลผลการวิจัยในตารางที่ ๔.๕ ตารางที่ ๔.๕ ผลของปุ๋ยเคมีสูตร ๑๕-๑๕-๑๕ ต่อการเจริญเติบโตและ การเป็นโรคและการถูกแมลงทำ�ลายของมันสำ�ปะหลัง อัตราปุ๋ย เคมี๑/ (กก./ไร่)

ไร๒/

๐.๐ ๖.๔ ๑๒.๘

๒.๓๖ ๑.๘๐ ๑.๓๘

เพลี้ยแป้ง๒/ โรคใบด่าง๒/ โรคใบจุด๒/ ๒.๐๔ ๐.๘๑ ๐.๗๕

๑.๗๒ ๑.๗๔ ๑.๑๕

๘.๘๑ ๔.๒๑ ๔.๐๘

เส้นรอบวง ต้นมัน สำ�ปะหลัง (ซม.) ๐.๕๙ ๐.๖๘ ๐.๗๔

๑/ ปุ๋ยสูตร ๑๕-๑๕-๑๕.

๒/ คะแนนมากหมายถึงเป็นโรคหรือถูกแมลงรบกวนมาก ทีม่ า Omorusi, V.I. and Ayanru, D.K.G. 2011. Int. J. Agric. Biol. 13: 391–395.

๕. ผลของปุ๋ยประเภทต่างๆต่อคุณภาพด้านโภชนาการของพืช ยั ง ไม่ มี ผ ลการวิ จั ย ที่ ชี้ ชั ด ว่ า ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ ห รื อ ปุ๋ ย เคมี ใ ห้ ผ ลผลิ ต พื ช ที่ มี คุณภาพด้านโภชนาการสูงกว่ากันหรือไม่ แต่ผลการวิจัยแสดงว่าพืชที่ใส่ปุ๋ย เคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์อย่างเหมาะสมมีคุณภาพด้านโภชนาการสูงกว่าพืชที่ ใส่ปุ๋ยประเภทเดียว และพืชที่ใส่ปุ๋ยทั้งสามประเภท (ปุ๋ยเคมี ปุ๋ยอินทรีย์ และ ปุ๋ยชีวภาพ) ร่วมกัน อย่างเหมาะสมกับดินแต่ละแห่งและพืชแต่ละชนิดมี คุณภาพสูงกว่าพืชทีใ่ ส่ปยุ๋ ประเภทเดียวหรือสองประเภทร่วมกัน ดังตัวอย่าง ข้อสรุปจากผลงานวิจัยต่อไปนี้ คือ

๑๗


๕.๑ หัวกะหล่ำ�ปลีและผลแตงกวาที่ได้รับปุ๋ยเคมี ปุ๋ยหมัก หรือ ปุ๋ยคอก มีความสามารถในการต่อต้านอนุมูลอิสระไม่แตกต่างกัน ดังผลการวิจัยใน ตารางที่ ๕.๑ ตารางที่ ๕.๑ ผลของปุ๋ยประเภทต่างๆต่อความสามารถในการต่อต้าน อนุมูลอิสระ(มิลลิกรัมสมมูลย์ของกรดกัลลิกต่อน้ำ�หนักพืชสด ๑๐๐ กรัม) ของหัวกะหล่ำ�ปลีและผลแตงกวา ปุ๋ยที่ใช้

กะหล่ำ�ปลี ปี ๒๐๐๕ ปี ๒๐๐๖

แตงกวา ปี ๒๐๐๕ ปี ๒๐๐๖

ไม่ใส่ปุ๋ย ๒๓๓ ± ๓๒ ก ๒๙๙ ± ๒๗ ก ๑๐๘ ± ๑๔ ก ๑๘๔ ± ๐๑ ก ปุ๋ยเคมี ๑๘๖ ± ๗๓ ก ๒๘๑ ± ๐๕ ก ๑๑๗ ± ๔๓ ก ๐๕๓ ± ๓๓ ข ปุ๋ยหมัก ๒๐๑ ± ๓๔ ก ๒๘๔ ± ๒๒ ก ๑๓๓ ± ๑๐ ก ๐๖๐ ± ๓๘ ข ปุ๋ยคอก ๒๑๑ ± ๖๕ ก ๒๙๖ ± ๓๒ ก ๑๒๙ ± ๓๒ ก ๐๖๒ ± ๑๒ ข

หมายเหตุ (๑) ในคอลัมน์เดียวกัน ค่าที่มีอักษร (ก หรือ ข) เหมือนกัน

ที่มา

กำ�กับไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น ๙๕ เปอร์เซ็นต์ (๒) ปุ๋ยทุกชนิดใส่ในอัตราที่ให้ธาตุอาหารหลักใกล้เคียงกัน (๓) ค่าความสามารถในการต่อต้านอนุมูลอิสระสูงหมายถึงผลผลิต พืชมีความสามารถในการต่อต้านการอนุมูลอิสระสูง อนุมูลอิสระเป็น สาเหตุที่ทำ�ให้เกิดโรคมะเร็ง Pavla, B. and Pokluda, R. 2008. Not. Bot. Hort. Agrobot. Cluj 36(1): 63-67

๕.๒ การวิจยั ทีท่ �ำ ในไร่ในประเทศไต้หวัน เพือ่ เปรียบเทียบผลมะเขือเทศที่ ผลิตแบบอินทรีย์ และทีผ่ ลิตตามหลักวิชาการ (good agricultural practices: GAP) ทำ�การทดลองในสิ่งแวดล้อม ๔ แบบ และในสภาพแวดล้อมแต่ละ

๑๘


แบบปลูกพืชอินทรีย์เปรียบเทียบกับปลูกพืชตามหลักวิชาการ ให้ข้อสรุปว่า การผลิตทั้งสองแบบให้ผลมะเขือเทศที่มีคุณภาพของผล ปริมาณสารต้าน อนุมูลอิสระ (ไลโคพีน เบตาคาโรทีน กรดแอสคอร์บิค และสารฟีนอลิค) และ มีความสามารถในการต้านอนุมูลอิสระไม่แตกต่างกัน (ที่มา: Lumpkin, H. L. 2005. Tech. Bull. 24. AVRDC Pub. No. 05-623. Shanhua, Taiwan) ไดผลผลิตมีคุณภาพ ดานโภชนาการสงู

ใชปุยอินทรีย รวมกับปุยเคมี ปุย อินทรีย

ปุยN-P-K เคมี

๕.๓ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีอย่างเหมาะสมทำ�ให้มะเขือเทศ มีคุณภาพด้านโภชนาการสูงกว่าใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยเคมีเพียงอย่างเดียว (ที่มา: Heeb, A. 2005. Doctoral Thesis. Swedish University of Agricultural Science, Uppsala.) ๕.๔ การใช้ปยุ๋ เคมีชว่ ยเพิม่ ความเข้มข้นของสารโปลีฟ่ นี อล คาร์โรตินอยด์ และความสามารถในการต่ อ ต้ า นอนุ มู ล อิ ส ระในหั ว มั น เทศมากกว่ า ปุ๋ย อินทรีย์ และการใช้ปยุ๋ เคมีรว่ มกับปุย๋ อินทรียช์ ว่ ยเพิม่ สมบัตทิ ง้ั สามดังกล่าว ของหัวมันเทศมากที่สุด (ที่มา: Koata, M. and co-authors. 2013. J. Nat. Sci. Res. 3: 23-30) ๕.๕ ผักโขมทีไ่ ด้รบั ปุย๋ เคมีรว่ มกับปุย๋ อินทรียแ์ ละปุย๋ ชีวภาพมีคลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี คาโรตินอยด์ คาร์โบไฮเดรต วิตามินซี และวิตามินบี-๙ มากกว่า เมื่อเทียบกับผักโขมที่ได้รับปุ๋ยอินทรียห์ รือปุย๋ เคมีอย่างใดอย่างหนึง่

๑๙


เพียงอย่างเดียว และผักโขมที่ใส่ปุ๋ยสองประเภทร่วมกันมีสารดังกล่าวเท่า เทียมหรือสูงกว่าในหลายกรณีเมื่อเทียบกับผักโขมที่ใส่ปุ๋ยประเภทเดียว ผลการทดลองบางส่วนแสดงในตารางที่ ๕.๒ ตารางที่ ๕.๒ ผลของปุย๋ ประเภทต่างๆต่อ (๑) น�ำ้ หนักแห้งส่วนเหนือดิน (๒) ความเข้มข้นของคลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี และคาโรตินอยด์ในใบ (๓) คาร์โบไฮเดรตในเนื้อเยื่อ และ (๔) ไวตามินซี และไวตามินบี-๙ ใน ใบของผักโขม ปุ๋ยที่ใช้๑/

เคมี (๑) อินทรีย์ (๒) ชีวภาพ (๓) ๑+๒ ๑+๓ ๒+๓ ๑+๒+๓

น้ำ�หนักแห้ง คลอโรฟิลล์เอ คลอโรฟิลล์บี คาโรตินอยด์ (กรัมต่อ (ไมโครกรัม (ไมโครกรัม (ไมโครกรัม กระถาง) ต่อ ๐.๑๐ ต่อ ๐.๑๐ ต่อ ๐.๑๐ ตารางเมตร) ตารางเมตร) ตารางเมตร) ๑๒.๙ ก ๓.๔ จ ๔.๒ จ ๗.๘ ค ๑๑.๑ ข ๓.๑ ค ๕.๖ ง

๒.๒๓ คง ๑.๗๕ จฉ ๑.๕๕ ฉ ๒.๘๘ ข ๒.๕๕ ขค ๒.๐๔ งจ ๓.๗๗ ก

๑.๕๗ กข ๑.๑๑ ขค ๐.๗๖ ค ๑.๗๗ ก ๑.๖๗ ก ๑.๑๔ ขค ๒.๑๘ ก

๐.๘๒ ก ๐.๖๗ ข ๐.๕๖ ข ๐.๙๑ ก ๐.๗๔ กข ๐.๘๑ ก ๐.๘๘ ก

๑/ (๑) เทียบเท่าปุ๋ยสูตร ๑๒-๑๒-๔๐ อัตรา ๔.๕ กรัมต่อกระถางที่ใส่ดินทราย ๗ กิโลกรัม (๒) ปุ๋ยหมัก [๐.๖๐% ไนโตรเจน] ๑๔ กรัมต่อกระถาง และ (๓) อโซโตแบคเตอร์ อโซสไปริลลั่ม และแบคทีเรียที่ละลายฟอสเฟต หมายเหตุ ค่าที่มีอักษร (ก, ข, ค,..) ร่วมกำ�กับไม่แตกต่างกันที่ระดับ ความเชื่อมั่น ๙๕% ที่มา Alderfast, A. A. and co-authors. 2010. World App. Sci. J. 9(1): 49-54.

๒๐


ตารางที่ ๕.๒ (ต่อ) ปุ๋ยที่ใช้๑/

เคมี (๑) อินทรีย์ (๒) ชีวภาพ (๓) ๑+๒ ๑+๓ ๒+๓ ๑+๒+๓

คาร์โบไฮเดรต ในเนื้อเยื่อ (เปอร์เซ็นต์) ๑๓.๓ ๑๒.๐ ๑๑.๖ ๑๕.๐ ๑๔.๐ ๑๓.๕ ๒๑.๐

คง งจ จ ข ขค ค ก

ไวตามินซี (มิลลิกรัมต่อ ๑๐กรัม) ๔๒.๗ ๒๘.๔ ๒๙.๐ ๔๔.๗ ๔๑.๑ ๓๘.๐ ๕๒.๒

ข ง คง กข ข กข ก

ไวตามินบี ๙ (ไมโครกรัมต่อ ๑๐ กรัม) ๘๕.๐ ๕๕.๐ ๔๐.๐ ๑๒๕.๐ ๑๐๐.๐ ๖๕.๐ ๑๕๕.๐

งจ งจ จ ข ขค งจ ก

๖. ผลของปุย๋ อินทรียแ์ ละปุย๋ เคมีตอ่ ความโปร่งและความแข็งของดิน ทั้งปุ๋ยเคมีและปุ๋ยอินทรีย์ ต่างก็ทำ�ให้ดินโปร่งมากขึ้น(มีความหนาแน่น รวมน้อยลง) และมีความแข็งน้อยลง ดังตัวอย่างผลงานวิจัยในตารางที่ ๖.๑ และ ๖.๒ การที่ปุ๋ยเคมีทำ�ให้ดินโปร่งมากขึ้นและแข็งน้อยลงเหมือนกับการใส่ปุ๋ย อินทรีย์ก็เนื่องจากปุ๋ยเคมีทำ�ให้พืชมีปริมาณตอซังและรากมากกว่าพืชที่ ไม่ใส่ปุ๋ย เมื่อไถกลบตอซังจึงทำ�ให้ดินมีอินทรียวัตถุมากกว่าแปลงที่ไม่ใส่ปุ๋ย เคมี ส่งผลให้ดินที่ใส่ปุ๋ยเคมีโปร่งมากกว่าและแข็งน้อยกว่าเมื่อเทียบกับดิน ที่ไม่ได้ใส่ปุ๋ยเคมี อนึ่ง การที่เกษตรกรบางรายสังเกตพบว่าดินที่ใส่ปุ๋ยเคมี แน่นทึบกว่าและแข็งมากกว่าดินที่ใส่ปุ๋ยอินทรีย์ ซึ่งขัดแย้งกับข้อสรุปจาก ผลงานวิจยั ทีก่ ล่าวข้างต้นนีส้ นั นิษฐานได้วา่ เป็นเพราะเกษตรกรเผาตอซังพืช

๒๑


หรือเคลือ่ นย้ายตอซังออกจากแปลงปลูกพืช ซึง่ ทำ�ให้ดนิ ทีใ่ ส่ปยุ๋ เคมีไม่เพียง แต่ได้รับซากพืชในปริมาณน้อย คือ จากรากพืช เท่านั้น แต่การเผาตอซัง พืชยังทำ�ให้อินทรีย์วัตถุที่มีอยู่แต่เดิมในดินส่วนบนถูกเผาไหม้ไปด้วย ตารางที่ ๖.๑ ผลของปุ๋ยเคมีและปุ๋ยหมักที่ใส่ให้กับข้าวนาน้ำ�ขังเป็นเวลา ๑๑ ปี (โดยไม่เผาตอซังข้าวหรือขนย้ายตอซังข้าวออกจากพืน้ ทีน่ า) ต่อความ โปร่งและความแข็งของดิน ความหนาแน่นรวม ของดินที่ระดับความลึก ความแข็ง ปุ๋ยที่ใส่ ๔-๑๐ เซนติเมตร ของดินชั้นบน๒/ (กรัมต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร)๑/ ไม่ใส่ ๑.๖๗ ๒๔.๗ ปุ๋ยเคมี๓/ ๑.๖๐ ๑๙.๖ ปุ๋ยหมัก ๑ ตัน/ไร่/ปี ๑.๖๐ ๑๗.๒ ๑/ ความหนาแน่นรวมต่ำ�แสดงว่ามีความโปร่งสูง;

๒/ ไม่มีหน่วย ค่าสูงแสดงว่าความแข็งสูง; ๓/ ใส่ปุ๋ยเดี่ยวเทียบเท่าปุ๋ยสูตร ๑๖-๘-๘ อัตรา ๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ต่อปี ที่มา ประเสริฐ สองเมือง และคณะ. ๒๕๒๙. รายงานผลการค้นคว้าวิจัย ดินและปุ๋ยข้าว, กลุ่มงานวิจัยดินและปุ๋ยข้าว, กองปฐพีวิทยา, กรมวิชาการเกษตร น. ๓๕๗-๓๖๖.

๒๒


ตารางที่ ๖.๒ ผลของปุ๋ยเคมีที่ใส่ให้กับข้าวโพดเป็นเวลา ๑๐ ปี (โดย ไม่เผาและไม่ขนย้ายตอซังออกจากพื้นที่) ต่อความแน่นทึบของดิน ปุ๋ยที่ใส่ ไม่ใส่ ปุ๋ยเคมี๒/

ความหนาแน่นรวมของดิน (กรัม/ลูกบาศก์เซนติเมตร)๑/ ที่ความลึก ที่ความลึก ๒-๘ เซนติเมตร ๑๒-๑๘ เซนติเมตร ๑.๑๗ ๑.๔๘ ๑.๐๔ ๑.๒๓

๑/ ความหนาแน่นรวมต่ำ�แสดงว่าดินมีความแน่นทึบน้อย ๒/ ใส่ปยุ๋ เดีย่ วอัตราเทียบเท่าปุย๋ สูตร ๑๐-๑๐-๑๐ อัตรา ๕๐ กิโลกรัมต่อไร่ตอ่ ปี ที่มา Tottao, D.A. 1987. Ph.D. Thesis, Department of Soil Science, Kasetsart University, Bangkok, Thailand. 157p.

ใชปุยเคมีโดยไมเผาหรือยายตอซังออก ทำใหดินมีความโปรงมากขึ้นและแข็งนอยลง

ปุยN-P-K เคมี

๒๓


๗. การเกิดมลพิษจากการใช้ปุ๋ยประเภทต่างๆ การผลิตพืชอินทรีย์ ซึ่งห้ามใช้ปุ๋ยเคมี ทำ�ให้เกิดมลพิษมากกว่าการผลิต พืชแบบปลอดสารพิษที่มีการใช้ปุ๋ยทั้งสามประเภทอย่างเหมาะสม กล่าวคือ ทำ�ให้มีการชะล้างไนเทรตจากดินลงสู่แหล่งน้ำ�มากกว่า มีการปลดปล่อย ก๊าซเรือนกระจกมากกว่า มีความเข้มข้นของไนเทรตในพืชสูงกว่า และมี ความเสี่ยงต่อการมีโลหะหนักในดินจนเกินระดับที่ปลอดภัยมากกว่า ดัง ตัวอย่างข้อสรุปจากการวิจัยต่อไปนี้ คือ

มีเทน

ปุย อินทรีย

ไนตรัสออกไซด

มีเทน

ปุย อินทรีย

ปุยอินทรียทำใหจุลินทรียเจริญเติบโตและใชออกซิเจนในดินมากขึ้น ซึ่งทำใหเกิดกาซมีเทนและไนตรัสออกไซดออกมาจากดินมากขึ้น

๗.๑ การปลูกพืชอินทรีย์ที่ทำ�ให้มีการชะล้างไนเทรตจากดินมากกว่า การปลูกพืชที่มีการใช้ปุ๋ยทั้งสามประเภทอย่างเหมาะสม กล่าวคือ เมื่อคิด ต่อหนึ่งกิโลกรัมของผลผลิตพืช การปลูกพืชอินทรีย์ปลดปล่อยไนเทรตจาก ดินสู่แหล่งน้ำ�มากกว่า ๒ เท่าของการปลูกพืชที่ใช้ปุ๋ยทั้งสามประเภทอย่าง เหมาะสม (ที่มา: Torstensen, G. and co-authors. 2006. Agron. J. 98: 603-615) ทั้งนี้เพราะอัตราการปลดปล่อยไนโตรเจนจากปุ๋ยอินทรีย์ไม่ สอดคล้องกับความต้องการของพืชในแต่ละช่วงอายุ ทำ�ให้ในบางช่วงเวลา ดิ น มี ไ นโตรเจนที่ ถู ก ปลดปล่ อ ยออกมาเหลื อ จากที่ พื ช ดู ด ใช้ ม ากและ

๒๔


ถูกเปลี่ยนเป็นไนเทรตแล้วถูกชะล้างออกจากดิน แต่สามารถปรับปริมาณ และเวลาการใส่ปุ๋ยเคมีให้สอดคล้องกับความต้องการของพืชได้ (ที่มา: Torstensson, G. and co-authors. 2006. Organic farming increases nitrate leaching from soils under cold temperate conditions. Abstract in 18th World Congress of Soil Science, July 9-15, 2006. Philadelphia, Pennsylvania, USA. งานวิจัยนี้ทำ�การทดลองกับดินเหนียว จัด ดินร่วนปนเหนียว และดินทราย เป็นเวลา ๑๐ ปีหรือมากกว่า) ๗.๒ ปุย๋ อินทรียท์ �ำ ให้มกี ารปลดปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์จาก ดินมากกว่าปุ๋ยเคมี ทั้งในสภาพน้ำ�ขังและสภาพปลูกพืชบนที่ดอน เพราะ คาร์บอนในปุ๋ยอินทรีย์ทำ�ให้จุลินทรีย์เจริญเติบโตและใช้ออกซิเจนมากขึ้น ส่งผลให้เกิดสภาพขาดออกซิเจนในดินมากขึ้น ซึ่งทำ�ให้เกิดก๊าซมีเทนและ ไนตรัสออกไซด์ออกมาจากดินมากขึ้น ก๊าซทั้งสองนี้เป็นก๊าซเรือนกระจกที่ ทำ�ให้โลกร้อน [ที่มา: (๑) Stevens, J. and Laughllin, J. 2001. Soil Sci. Soc. Am, J. 65: 1307-1314. (๒) Meng, L. and co-authors. 2005. Biochem. 37: 2037-2045. (๓) Ma, J. and co-authors. 2007. Aus. J. Soil Res. 45(5): 359-367. (๔) Jin, T. and co-authors. 2010. Soil Sci. and Plant Nut. 56: 53-56. (๕) Yang, X and Xiong, Z. 2010. Agriculture, Ecosystem and Environment 137: 308-316.] ๗.๓ เมื่อใส่ปุ๋ยในปริมาณที่ให้ผลผลิตพืชเท่ากัน ปุ๋ยอินทรีย์ทำ�ให้มี การสะสมไนเทรตในผลผลิตพืชมากกว่าปุ๋ยเคมี ดังตัวอย่างผลงานวิจัยใน ตารางที่ ๗.๑ ผลงานวิจัยในตารางที่ ๗.๑ แสดงว่า ปุ๋ยคอกและปุ๋ยเคมีในปริมาณ ที่ใช้ในการทดลองทำ�ให้กะหล่ำ�ปลีให้ผลผลิตเท่ากัน แต่ผลผลิตกะหล่ำ�ปลี

๒๕


ที่ใส่ปุ๋ยคอกมีไนเทรตสูงกว่ากะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยเคมี ทั้งนี้เพราะไม่สามารถ ควบคุมให้ปุ๋ยอินทรีย์ปลดปล่อยไนโตรเจน (ซึ่งถูกเปลี่ยนต่อไปเป็นไนเทรต และถูกพืชดูดกิน) ให้สอดคล้องกับความต้องการของพืชในแต่ละช่วงอายุ แต่ ส ามารถปรั บ ปริ ม าณและเวลาการใส่ ปุ๋ ย เคมี ใ ห้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ ต้องการของพืชในแต่ละช่วงอายุได้ อนึ่ง แม้ว่าผลการวิจัยดังกล่าวแสดงว่าผลผลิตกะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยหมักมี ไนเทรตต่ำ�กว่ากะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยเคมี แต่กะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยหมักให้ผลผลิต ต่ำ�กว่ากะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยเคมีเป็นอย่างมาก เนื่องจากการเพิ่มอัตราปุ๋ยหมัก เพือ่ ให้ผลผลิตเพิม่ ขึน้ จะทำ�ให้ผลผลิตพืชมีไนเทรตเพิม่ ขึน้ และการลดอัตรา ปุ๋ยเคมีลงเพื่อให้ได้ผลผลิตกะหล่ำ�ปลีที่ใช้ปุ๋ยเคมีเท่ากับกะหล่ำ�ปลีที่ใช้ ปุ๋ยอินทรีย์จะทำ�ให้ปริมาณไนเทรตในกะหล่ำ�ปลีต่ำ�ลง ดังนั้น การเปรียบ ปริ ม าณไนเทรตในกะหล่ำ � ปลี ที่ ใ ส่ ปุ๋ ย หมั ก ในการทดลองนี้ กั บ ปริ ม าณ ไนเทรตในกะหล่ำ�ปลีที่ใส่ปุ๋ยเคมีทำ�ให้ได้ข้อสรุปที่ไม่ตรงกับความเป็นจริง ใชฉันพืชมีไนเทรตนอย และมีไนเทรตถูกชะลงสูแหลงน้ำนอย เพราะปรับปริมาณและเวลาที่ใสฉัน ใหสอดคลองกับความตองการ แตละชวงอายุพืชได

เคมี ปุยN-P-K

๒๖


ตารางที่ ๗.๑ ผลของปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยเคมีต่อผลผลิตหัวและ ปริมาณไนเทรตในหัวกะหล่ำ�ปลี ปุ๋ยที่ใช้๑/

ผลผลิตหัวกะหล่ำ�ปลี๒/ ปริมาณไนเตรทในหัวกะหล่ำ�ปลี (กก./ตร.ม.) (มก./กก.) ๖.๔๐ ก ๔๐ ๕.๗๙ ก ๔๙ ๘.๐๖ ข ๑๒๑ ๗.๘๖ ข ๗๑

ไม่ใส่ปุ๋ย ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยเคมี ๑/ คำ�นวณจากปริมาณธาตุอาหารในปุ๋ย โดยตั้งเป้าผลผลิต ๘.๐ ตันต่อไร่

และผลผลิต ๑ ตันต้องใส่ไนโตรเจน ๓.๗๕ กก. ฟอสฟอรัส ๐.๕๗ กก. และโพแทสเซียม ๓.๕๗ กก.; ๒/ ค่าที่มีอักษร (ก หรือ ข) เหมือนกันกำ�กับไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับ ความเชื่อมั่น ๙๕ เปอร์เซ็นต์ ที่มา Zahradnik, A. and Petrikova, K. 2007. Hort. Sci. (PRAGUE) 34: 66-71.

๗.๔ ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ มี ค วามเสี่ ย งสู ง กว่ า ปุ๋ ย เคมี ใ นการทำ � ให้ มี ก ารสะสม โลหะหนักในดิน ซึ่งจะทำ�ให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคพืชที่ปลูกบนดินนั้น ดังตัวอย่างผลงานวิจัยในตารางที่ ๗.๒ ผลงานวิจัยในตารางที่ ๗.๒ แสดงว่า ธาตุตะกั่ว โครเมียม อาร์เซนิค และปรอทติ ด มากั บ ปุ๋ ย อิ น ทรี ย์ เ ข้ า ไปสู่ พื้ น ที่ ป ระเทศอั ง กฤษและเวลส์ มากกว่าที่ติดมากับปุ๋ยเคมีและปูนมาก ส่วนแคดเมียมผลการวิจัยไม่ชี้ชัด ว่าปุ๋ยอินทรีย์มีติดมามากหรือน้อยกว่าปุ๋ยเคมีและปูน

๒๗


ตารางที่ ๗.๒ ปริมาณ (ตันต่อปี) ธาตุโลหะหนักที่ดินซึ่งใช้ทำ�การ เกษตรในประเทศอังกฤษและเวลส์ได้รับจากปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยเคมี ชนิดปุ๋ย ๑. ปุ๋ยอินทรีย์ ๑.๑ ของเสียจาก ครัวเรือน ๑.๒ มูลสัตว์ ๑.๓ ผลพลอย ได้จาก อุตสาหกรรม รวม ๒. ปุ๋ยเคมีและปูน

ตะกั่ว แคดเมียม โครเมียม อาร์เซนิค ปรอท ๙๕

๙๘

มข

๕๒ <๑

๔ <๑

๓๙ ๒๑๐

๑๖ <๑

๑ <๑

>๑๔๗ ๑๓

>๖ ๘

๓๔๗ ๘๑

>๑๖ ๕

>๒ <๑

ที่มา Nicohlson, F.B. และคณะ 1998. Symp. No.25. Proc. 16th World

Congr. of Soil Sci., Montpellier, France หมายเหตุ < หมายถึงน้อยกว่า; > หมายถึงมากกว่า; มข หมายถึง ไม่มีข้อมูล

๘. การปลูกพืชที่ดีกว่าการปลูกพืชอินทรีย์และปัญหาด้านสังคม ที่เกิดจากพืชอินทรีย์ ผลการวิจยั ข้างต้นแสดงให้เห็นว่า การผลิตพืชอินทรีย์ ซึง่ ไม่ใช้สารเคมี รวมทัง้ ไม่ใช้ปยุ๋ เคมี เป็นการผลิตทีท่ �ำ ให้ตน้ ทุนการผลิตต่อหน่วยผลผลิตสูง กว่า ทำ�ให้พชื ถูกโรคและแมลงรบกวนมากกว่า ให้ผลผลิตทีม่ คี ณ ุ ภาพด้าน โภชนาการต�ำ่ กว่า และมีความเสีย่ งต่อการทำ�ให้เกิดมลพิษมากกว่า เมือ่ เทียบ

๒๘


กับระบบการผลิตทีใ่ ช้ปยุ๋ ทัง้ สามประเภทร่วมกันอย่างเหมาะสมกับดินแต่ละ แห่งและพืชแต่ละชนิด แต่พชื อินทรียม์ ขี อ้ ดีในเรือ่ งการปลอดสารพิษตกค้าง จากสารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืช ดังนั้น จึงควรผลิตพืชโดยมีการปฏิบัติ ที่รวมข้อดีของการผลิตพืชอินทรีย์และข้อดีของการใช้ปุ๋ยทั้งสามประเภท อย่างเหมาะสมกับดินแต่ละแห่งและพืชแต่ละชนิด การผลิตพืชแบบนี้ ก็คอื การผลิตพืชที่ไม่ใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชแต่มีการใช้ปุ๋ยเคมีร่วมกับ ปุย๋ อินทรียแ์ ละปุย๋ ชีวภาพอย่างเหมาะสม ซึง่ น่าจะเรียกว่า “การผลิตพืชปลอด สารพิษ” หรือหากจำ�เป็นต้องใช้สารเคมีปอ้ งกันกำ�จัดศัตรูพชื ก็ควรทำ�การ ผลิตโดยใช้สารพิษป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชตามหลักวิชาการร่วมกับการใช้ ปุ๋ยทั้งสามประเภทร่วมกันอย่างเหมาะสม ซึ่งน่าจะเรียกว่า “การผลิตพืช ปลอดภัยจากสารพิษ” การผลิตพืชแบบหลังนีใ้ ช้การปฏิบตั ทิ างการเกษตรทีด่ ี (GAP: Good Agricultural Practices) ซึง่ องค์การอาหารและเกษตรแห่ง สหประชาชาติ (FAO) ให้การสนับสนุน การผลิตพืชแบบนีจ้ ะต้องใช้สารเคมี ป้องกันกำ�จัดศัตรูพชื โดยมีการปฏิบตั ทิ ท่ี �ำ ให้ผลผลิตพืชมีสารพิษตกค้างจาก สารเคมีปอ้ งกันกำ�จัดศัตรูพชื อยูไ่ ม่เกินระดับทีป่ ลอดภัยสำ�หรับผูบ้ ริโภค ดังนั้น สำ�หรับพื้นที่ที่ผลิตพืชได้โดยไม่ต้องใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรู พืชจึงควรผลิตพืชปลอดสารพิษแทนการปลูกพืชอินทรีย์ อย่างไรก็ตาม การผลิตพืชในพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศไทยจำ�เป็นต้องใช้สารเคมีป้องกัน กำ�จัดศัตรูพืช จึงควรใช้การผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษกับพื้นที่เหล่านี้ อนึ่ง การผลิตพืชปลอดสารพิษและการผลิตพืชปลอดภัยจากสารพิษเป็น การผลิตที่สามารถผสมผสานการใช้ปุ๋ยทั้งสามประเภทในแบบที่จะช่วยลด การทำ�ลายพืชโดยโรคและแมลงได้ ซึ่งทำ�ให้มีความจำ�เป็นที่จะต้องทำ�การ กำ�จัดโรคและแมลงน้อยลงอีกด้วย

๒๙


ไมมีวิธีที่ตรวจพิสูจนผลผลิตที่อางวาเปนพืชอินทรีย ซึ่งเปดชองใหมีการหลอกลวง ที่กฏหมายไมสามารถคุมครองผูบริโภคได แตพืชปลอดสารพิษ และพืชปลอดภัยจากสารพิษ ตรวจพิสูจนได

พืชอินทรีย ปุยN-P-K เคมี

พืชปลอดภัย จากสารพิษ

ปุย ชีวภาพ ปุย อินทรีย

ปุยN-P-K เคมี

การผลิ ต พื ช อิ น ทรี ย์ ไ ม่ เ พี ย งจะด้ อ ยกว่ า การผลิ ต พื ช ปลอดสารพิ ษ สำ�หรับพื้นที่ที่ไม่จำ�เป็นต้องใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัดศัตรูพืชและการผลิต พืชปลอดภัยจากสารพิษสำ�หรับพื้นที่ที่จำ�เป็นต้องใช้สารเคมีป้องกันกำ�จัด ศัตรูพืชดังที่กล่าวข้างต้น แต่ยังไม่มีวิธีตรวจพิสูจน์ว่าผลผลิตที่อ้างว่าเป็น ผลผลิตพืชอินทรีย์เป็นผลผลิตพืชที่ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีจริงหรือไม่อีกด้วย ในขณะ ที่ ผ ลผลิ ต พื ช ปลอดสารพิ ษ และพื ช ปลอดภั ย จากสารพิ ษ สามารถตรวจ พิสูจน์ได้ด้วยการตรวจปริมาณสารพิษในผลผลิตเหล่านั้น ดังนั้น จึงอาจ กล่าวได้ว่าการผลิตพืชอินทรีย์มีข้อเสียทั้งในด้านวิชาการและในด้านสังคม ซึ่งไม่เพียงแต่จะทำ�ให้การเกษตรของประเทศหลงทาง แต่ยังจะทำ�ให้เกิด ปัญหาด้านสังคมจากการที่การผลิตพืชอินทรีย์เปิดช่องทางให้ผู้บริโภคถูก หลอกโดยกฎหมายไม่สามารถคุ้มครองได้อีกด้วย เพราะอาจมีผู้นำ�ผลผลิต พืชที่ผลิตโดยมีการใช้ปุ๋ยเคมีมาจำ�หน่ายโดยอ้างว่าเป็นผลผลิตพืชอินทรีย์ ได้โดยอาศัยช่องโหว่จากการที่ไม่มีวิธีตรวจพิสูจน์ว่าผลผลิตนั้นได้จากการ ปลูกพืชโดยใช้ปุ๋ยเคมีหรือไม่

๓๐


ประวัติผู้เชียน ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อำ�นาจ สุวรรณฤทธิ์ เกิดวันที่ ๒๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๔ ได้รบั ปริญญากสิกรรมและสัตวบาล บัณฑิต (เกียรตินิยม) จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และปริญญาเอก สาขาปฐพีวทิ ยาจากมหาวิทยาลัยนิวคาสเซิลอัพพอนไทน์ ประเทศอังกฤษ รับราชการเป็นอาจารย์ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ ตลอดอายุการทำ�งานมีผลงานทางวิชาการ ๒๑๖ เรื่อง เคยดำ�รงตำ�แหน่งหัวหน้าภาควิชาปฐพีวิทยา ประธานสภาข้าราชการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และอุปนายกสมาคมดินและปุ๋ยแห่งประเทศไทย เกษียณอายุราชการ ในตำ�แหน่งศาสตราจารย์ ระดับ ๑๑ หลังเกษียณอายุราชการได้รับ แต่งตั้งเป็นศาสตราจารย์เกียรติคุณ

๓๑


บันทึกเพิ่มเติม _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________ _______________________________________

๓๒


¾×ª»ÅÍ´ÀÑ ¨Ò¡ÊÒþÔÉ


ปลูกพืชอินทรีย

พื้นที่สวนใหญทำไมได พืชไมมีสารพิษ พืชที่ไดมีตนทุนสูง เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมนอย พืชมีคุณภาพดานโภชนาการต่ำ พืชมีไนเทรตและธาตุโลหะหนักสูง ปรับปุยใหพืชตานทานโรคและแมลงไมได ตรวจพิสูจนผลผลิตไมได

ปลูกพืชปลอดสารพิษ

พื้นที่สวนใหญทำไมได พืชไมมีสารพิษ พืชที่ไดมีตนทุนต่ำ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมมาก พืชมีคุณภาพดานโภชนาการสูง พืชมีไนเทรตและธาตุโลหะหนักต่ำ ปรับปุยใหพืชตานทานโรคและแมลงได ตรวจพิสูจนผลผลิตได

ปลูกพืช ปลอดภัยจากสารพิษ

ทำไดทุกพื้นที่ พืชมีสารพิษไมเกินระดับปลอดภัย พืชที่ไดมีตนทุนต่ำ เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมปานกลาง พืชมีคุณภาพดานโภชนาการสูง พืชมีไนเทรตและธาตุโลหะหนักต่ำ ปรับปุยใหพืชตานทานโรคและแมลงได ตรวจพิสูจนผลผลิตได

ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร ๑๐๙๐๐


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.