เน
๒ คานา โครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ถือเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลได้กาหนดค่านิยม ๑๒ ประการ ให้ประชาชนชาวไทยนามาประพฤติปฏิบัติ เพื่อสร้างสังคมให้มีความสุข สานักงาน กศน . เป็น หน่วยงานหลักที่จัดการศึกษาให้กับประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ถือเป็นหน้าที่ในการพัฒนาประชาชน ให้มีความประพฤติปฏิบัติตามค่านิยม ๑๒ ประการ โดยผ่านกระบวนการต่างๆ โดยเริ่มจากการสร้างการรับรู้ และความเข้าใจเพื่อก่อให้เกิดความตื่นตัว เพื่อยังลึกลงในความรู้ สึกของการเป็นคนไทย ความตระหนักและ เห็ น ความส าคั ญ ของเรื่ อ งดั ง กล่ า ว จากนั้ น จึ ง น าสู่ ก ารสร้ า งกระบวนการปลู ก จิ ต ส านึ ก และ การเสริมสร้างค่านิยมผ่านหลักสูตรและกิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์การศึกษา ข้ อ มู ล เ ชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ แ ล ะ ส รุ ป เ ป็ น ค ว า ม รู้ ค ว า ม เ ข้ า ใ จ แ ล ะ ค ว า ม รู้ สึ ก ต่ อ ค่ า นิ ย ม ดั ง ก ล่ า ว เพื่อนาสู่การประพฤติปฏิบัติอย่างต่อเนื่องจนเป็นลักษณะนิสัย โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาประชาชนนอกระบบ โรงเรียนให้เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสานึกในการประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมหลักของไทย ๑๒ ประการ ดังนั้น กศน. ตาบลสาราญ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ขอนแก่น จึงได้จัดทาโครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักไทย ๑๒ ประการ ขึ้นระหว่างวันที่ ๙-๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๗ ณ วัดวิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น กศน.ตาบลสาราญ ธันวาคม ๒๕๕๗
๓
สารบัญ เรื่อง
หน้า
คานา สารบัญ บทที่ 1 บทนา ค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ บทที่ 2 เอกสารโครงการ ชื่อโครงการ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ระยะเวลา บทที่ 3 วิธีการดาเนินการ แนวคิดในการดาเนินงาน / กลไกการดาเนินงาน กิจกรรมที่ ๑ พิธีเปิด/บรรยายพิเศษ กิจกรรมที่ ๒ ละลายพฤติกรรม กิจกรรมที่ ๓ ค่านิยมชุดรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ กิจกรรมที่ ๔ จุดเทียนปัญญา บารมี รับขวัญชาวค่าย กิจกรรมที่ ๕ ทาบุญ ใส่บาตร กิจกรรมที่ ๖ ค่านิยมชุด คนดีมีคุณธรรม กิจกรรมที่ ๗ สะท้อนความรู้สึก มอบหมายภารกิจ กิจกรรมที่ ๘ สวดมนต์ ทาวัตรเย็น กิจกรรมที่ ๙ พิธีมอบใบประกาศนียบัตร / พิธีปิด บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ก ข ๑ ๓–๕
ภาคผนวก โครงการ ตารางค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ สมุดบันทึกเข้าค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ใบลงเวลาเข้าค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตัวอย่างใบงาน เรื่องสัญลักษณ์ของชาติไทย / เรื่องรูปภาพพระราชกรณียกิจ ตัวอย่างแบบประเมินความพึงพอใจ ภาพกิจกรรม คณะผู้จัดทา …………………………………………………………………………..
๖–๙
๑๐ – ๑๑ ๑๒
๔ บทที่ 1 บทนา โครงการค่ายส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ถือว่าเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลได้กาหนดค่านิยม ๑๒ ประการ ให้ประชาชนชาวไทยนามาประพฤติปฏิบัติ เพื่อสร้างสังคมให้มีความสงบสุข สานักงาน กศน. เป็น หน่วยงานหลักที่จัดการศึกษาให้กับประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ถือเป็นหน้าที่ในการพัฒนาประชาชนให้ มีความประพฤติปฏิบัติตามค่านิยม ๑๒ ประการโดยผ่านกระบวนการต่างๆ เริ่มจากการสร้างการรับรู้และ ความเข้าใจ เพื่อก่อให้ความตื่นตัว ความตระหนักและเห็นความสาคัญของเรื่องดังกล่าว จากนั้น จึงนาสู่การ สร้างกระบวนการปลุกจิตสานึกและการเสริมสร้างค่านิยม ผ่านหลักสูตรและกิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้มี ส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์การศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์และสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกต่อ ค่านิยมดังกล่าว เพื่อนาสู่การประพฤติปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จนเป็นลักษณะนิสัย โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนา ประชาชนนอกระบบโรงเรียนให้เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสานึกในการประพฤติปฏิบัติตาม ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ จากคากล่าวที่ว่า “เราจะสร้างสรรค์ประเทศไทยให้เข้มแข็ง ฉะนั้นคน ต้องเข้มแข็งก่อน” คนในชาติจะต้องเป็นอย่างไร ดังนี้ 1.มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติในปัจจุบัน ทุกชาติจะพัฒนาได้ หากเสาหลักหรือสถาบันหลักของชาติเข้มแข็งด้วยความรักอย่างถูกวิธีของคนในชาติ เราหวังอย่างยิ่งที่จะเห็น 3 สถาบันหลักของชาติมีความเข้มแข็งอย่างสมดุลดีงาม ชาติบ้านเมืองสงบคนรักในความเป็นไทยและชาติของ เรา พร้อมไปกับยึดมั่นในหลักธรรมคาสอนของศาสนาขัดเกลาใจคนมีคุณธรรม และยึดมั่นในการเคารพรัก พร้อมทั้งเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ไว้อยู่เหนือสิ่งใด 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม คนไทยต้องมีค่านิยมจิตสาธารณะ ซื่อสัตย์ไม่คดโกงไม่เอาเปรียบคนอื่น เสียสละเพื่อส่วนรวมไม่เห็นแก่ตัว อดทน และมีอุดมการณ์ต่อส่วนรวม 3. กตัญญู ต่อพ่อแม่ ครูบาอาจารย์ เป็นคุณลักษณะเด่นของคนไทยทุกยุคสมัย 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษา เล่าเรียน ทางตรงและทางอ้อม ประเทศชาติจะพัฒนาได้บุคลากรของคน ในชาติต้องมีคุณภาพ ไม่ว่าจะเป็นทางวิชาการและทางทักษะความสามารถ คนในชาติมีปัญญามีความรู้ คนใน ชาติอีกส่วนก็สนับสนุนในภูมิปัญญาความรู้ของคนไทยด้วยกัน เพื่อสร้างค่านิยมใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม เรามีวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามมากมายทัดเทียมระดับ โลก 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน 7. เข้าใจ เรียนรู้ การเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ คนไทยต้อง เคารพในการมีระเบียบ วินัย จะสร้างการเรียนรู้ไปถึงการเคารพบุคคลอื่น จากนั้นเราก็จะหนักแน่นในการเคารพกฎหมาย 9. มีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติ ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่าย จาหน่าย และขยายกิจการ เมื่อ มีความพร้อม ก็มีภูมิคุ้มกันที่ดี 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอาย เกรง กลัวต่อบาป ตามหลักของศาสนา
๕ 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และต่อชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง หากคนไทยยึดมั่นตามค่านิยมชาติที่เน้นทั้งเรื่องการพัฒนาตัวเองทั้งในด้านความสามารถ ทั้งคุณธรรม ศีลธรรม เพื่อร่วมมือกันทาให้ชาติบ้านเมืองและส่วนรวมดีขึ้น เหล่านี้ล้วนดีทั้งนั้น เหล่านี้ล้วนยิ่งต้องเผยแพร่ให้ขึ้ นใจ ให้ ฝังใจ วันใดคนไทยเข้มแข็ง ชาติเราก็จะเข้มแข็ง ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว กศน.ตาบลสาราญ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จึงได้จัดทาโครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ขึ้น ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วัดวิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น เพื่อให้ทุกคนได้ตระหนักถึงความสาคัญเรื่องค่านิยมของคนไทยสืบต่อไป
๖ บทที่ 2 เอกสารโครงการ โครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก 12 ประการ ความเป็นมา รัฐบาลได้กาหนดค่านิยม 12 ประการ ให้ประชาชนชาวไทยนามาประพฤติปฏิบัติ เพ่อสร้างสังคมให้มี ความสงบสุข ส านั กงาน กศน.เป็ นหน่ว ยงานหลั กที่จัดการศึกษาให้ กับประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ถือเป็นหน้าที่ในการพัฒนาประชาชนให้มีความประพฤติปฏิบัติตามค่านิยม 12 ประการโดยผ่ านกระบวนการ ต่างๆ เริ่มจากการสร้างการรับรู้และความเข้าใจ เพื่อก่อให้ความตื่นตัว ความตระหนักและเห็นความสาคัญของ เรื่องดังกล่าว จากนั้น จึงนาสู่การสร้างกระบวนการปลุกจิตสานึกและการเสริมสร้างค่านิยม ผ่านหลักสูตรและ กิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการคิด วิ เคราะห์การศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์และสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกต่อค่านิยมดังกล่าว เพื่อนาสู่การประพฤติปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จนเป็นลักษณะนิสัย หลักการ 1. เป็นหลักสูตรที่มุ่งส่งเสริมให้คนไทยที่อยู่นอกระบบโรงเรียนมีจิตสานึกในการประพฤติปฏิบัติตาม ค่านิยม 12 ประการ 2. เป็ น หลั ก สู ตรที่ เน้ น กระบวนการในการพัฒ นาคน โดยการสร้า งการมีส่ ว นร่ว มในด้านการคิ ด การวิเคราะห์ จากการศึกษาข้อมูล หรือการศึกษาดูงานในสภาพจริง แล้วสรุปเหตุผล และองค์ความรู้ เพื่อนาสู่ การประพฤติปฏิบัติตามค่านิยม
เป้าหมาย พัฒนาประชาชนนอกระบบโรงเรียนให้เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสานึกในการประพฤติ ปฏิบัติตามค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในค่านิยมหลัก 12 ประการ 2. เพื่อกระตุ้นจิตสานึกของประชาชนให้ประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมหลักของไทย 3. เพื่อเสริ มสร้ างการมีส่ว นร่ว มในการรณรงค์ เผยแพร่ความรู้ ความเข้าใจและเชิญชวนให้ผู้ อื่น ประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมหลักของไทย
๗ เนื้อหาสาระ 1. มีความรักชาติ สาสนา พระมหากษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทย 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย 8. มีระเบียบ วินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
การจัดการเรียนรู้ การจัดกระบวนการเรีย นรู้ เน้น การใช้กระบวนการกลุ่ ม การมีส่ว นร่ว มในการคิด วิเคราะห์ สรุป เหตุผลและองค์ความรู้ โดยใช้วิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้หลายวิธีประกอบกัน คือ 1. การบรรยายนาเข้าสู่เนื้อหา 2. การอภิปราย ประเด็นที่กาหนดจากกรณีศึกษา คลิป รูปภาพ หรือบทเพลง 3. การศึกษาดูงาน
ระยะเวลา จัดกิจกรรมค่าย จานวน 3 วัน 2 คืน วันที่ ๙ – ๑๑ ธันวาคม พ.ศ.2557 สถานที่ ณ วัดวิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง จังหวัด ขอนแก่น
ค่าดาเนินการ - ค่าอาหาร 80×70×7 - ค่าอาหารว่าง 80×25×5 - ค่าวัสดุ รวม
= 39,200 = 10,000 = 2,800 = 52,000
บาท บาท บาท บาท
๘ สื่อ / แหล่งค้นคว้า / ใบความรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. รูปภาพ 4. คลิป / วีดิทัศน์ 5. กรณีศึกษา การวัดประเมินผล 1. ประเมินด้วยการสังเกตพฤติกรรมจากผู้เข้าร่วมกิจกรรมรายบุคคลและการแสดงความรู้สึก ความ คิดเห็น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม 2. ประเมินจากการตรวจใบงาน
๙ บทที่ 3 วิธีดาเนินการ ๑. ชื่อ โครงการเสริมสร้างค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ๒. วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริม สนับสนุนประชาชน คนรุ่นใหม่ให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ได้เข้าใจและภาคภูมิใจ และร่วมสร้างสรรค์คุณค่าเอกลักษณ์ของชาติและท้องถิ่น ๓. เป้าหมาย นักศึกษาทั้งหมด ๘๐ คน ได้แก่ ชาย ๕๕ คน หญิง ๒๕ คน ๔. ระยะเวลา จานวน วัน/คืน จานวน ๓ วัน ๒ คืน
พักค้างคืน
ไป-กลับ
๔. แนวคิดในการดาเนินงาน/กลไกการดาเนินงาน - วิทยากรบรรยาย - ใบงานเรื่องสัญลักษณ์ของชาติไทย และเรื่องรูปภาพพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว - ละดมความคิดเห็นในหัวข้อคุณธรรมพร้อมนาเสนองาน
กิจกรรมที่ ๑ พิธีเปิด/บรรยายพิเศษ โครงการเสริมสร้างค่านิยมหลักของไทย ๑๒ ประการ วิทยากร ชื่อ-สกุล คณะครู รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) ก่อนประธานในพิธีจะเปิดโครงการ คณะครูได้จัดเตรียมความพร้อม และเมื่อประธานเดินทางมาถึง นักศึก ร่วมกันร้องเพลง “สานึกรักบ้านเกิด” พร้อมท่าทางประกอบอย่างพร้อมเพียงกัน จากนั้นนางสาวพรไพฑูรย์ ไสยบูรณ์ หัวหน้า กศน.ตาบลสาราญ ได้กล่าวรายงานต่อหน้าท่านประธาน นายกเทศมนตรี เทศบาลตาบลสาราญ นายเทพฤทธิ์ ศรีปัญญาเพื่อแจ้งวัตถุประสงค์ในการจัดโครงการครั้งนี้ แล้ว ประธานกล่าวเปิดงานพร้อมลั่นฆ้องชัย
๑๐ กิจกรรมที่ ๒ ละลายพฤติกรรม วิทยากร ชื่อ-สกุล พันตรีจักรรินทร์ อินนอก / สิบเอกนุกูล ดอกไม้ รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) วิทยากร และคณะครู ร่วมกันจัดกิจกรรมละลายพฤติกรรมนักศึกษา ในรูปแบบต่าง เช่น ร้องเพลงพร้อม ท่าทางประกอบเพลง เล่นเกมส์ เพื่อความผ่อนคลายให้นักศึกษาและสร้างความคุ้นเคยในการอยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุข กิจกรรมที่ ๓ ค่านิยมชุดรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ วิทยากร ชื่อ-สกุล พันตรีจักรรินทร์ อินนอก และคณะ รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) วิทยากรบรรยายและนาเสนอวีดิทัศน์เกี่ยวกับเรื่องความเป็นมาของประเทศไทย ให้คณะครูและนักศึกษา รับฟังและชม เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจที่ได้เกิดในแผ่นดินไทย มีพระมหากษัตริย์ที่กล้าหาญ ทาให้ประเทศเราไม่ เคยตกเป็นเมืองขึ้นของชาติใด กิจกรรมที่ ๔ จุดเทียนปัญญา บารมี รับขวัญชาวค่าย วิทยากร ชื่อ-สกุล (วิทยากร พระมหาสงกรานต์และคณะ) รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) คณะครูเตรียมความพร้อมสาหรับงานเย็นนี้ แล้ววิทยากรและคณะครูร่วมกับนักศึกษาร่วมจุดเทียนปัญญา บารมี รับขวัญชาวค่าย เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ กิจกรรมที่ ๕ ทาบุญ ใส่บาตร วิทยากร ชื่อ-สกุล คณะครู (วิทยากร พระมหาสงกรานต์และคณะ) รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) วิทยากร คณะครูและนักศึกษาพร้อมกันจัดเตรียมอาหารใส่บาตร โดยนิมนต์พระรับบิณฑบาต จานวน ๙ รูป เพื่อให้นักศึกษาเกิดความศรัทธาและเลื่อมใสในพระพุทธศาสนาและได้ทากิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์เพื่อเป็นการ เสริมสร้างการรู้จักช่วยเหลือทานุบารุงศาสนา
๑๑ กิจกรรมที่ ๖ ค่านิยมชุด คนดีมีคุณธรรม วิทยากร ชื่อ-สกุล (วิทยากร พระมหาสงกรานต์และคณะ) รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) วิทยากร คณะครู และนักศึกษารับฟังการบรรยายธรรม เรื่องคุณธรรม จริยธรรม เพื่อปลูกฟังจิตสานึ กให้ นั ก ศึ ก ษ า เ ป็ น ผู้ ที่ มี ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ทั้ ง ร่ า ง ก า ย จิ ต ใ จ ส ติ ปั ญ ญ า ค ว า ม รู้ แ ล ะ คุ ณ ธ ร ร ม มีจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดาเนินชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมที่ ๗ สะท้อนความรู้สึก มอบหมายภารกิจ วิทยากร ชื่อ-สกุล วิทยากร รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) ให้ นั ก ศึ ก ษาท าใบงาน เรื่ อ ง เพลงชาติ ไ ทย และ โครงการตามพระราชด าริ เพื่ อ ให้ เ กิ ด ความรั ก พระมหากษัตริย์ ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ๗ กลุ่ม และให้ส่งตัวแทนกลุ่มออกมาจับฉลากหัวข้อคุณธรรม แล้วร่วมกันละดมความ คิดเห็นในหัวข้อที่จับได้ และเขียนแสดงความคิดเห็นในรูปแบบ mind map พร้อมนาเสนอหน้าห้อง กิจกรรมที่ ๘ สวดมนต์ ทาวัตรเย็น วิทยากร ชื่อ-สกุล (วิทยากร พระมหาสงกรานต์และคณะ) รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) วิทยากร คณะครู และนักศึกษา ร่วมกันสวดมนต์ทาวัตรเย็น นั่งสมาธิ เพื่อให้เกิดความเลื่อมใสในศาสนา คิดดีทาดี มีสติ กิจกรรมที่ ๙ พิธีมอบใบประกาศนียบัตร / พิธีปิด วิทยากร ชื่อ-สกุล อาจารย์สุธี สังคนนท์ ตาแหน่ง ครู ชานาญการพิเศษ กศน.อาเภอเมืองขอนแก่น รูปแบบและรายละเอียดการจัดกิจกรรม (โดยสรุป) อาจารย์สุธี สังคนนท์ ต าแหน่ ง ครู ช านาญการพิ เ ศษกศน.อ าเภอเมื อ งขอนแก่ น ได้ ม อบใบ ประกาศนียบัตรให้นักศึกษา และกล่าวให้โอวาท พร้อมปิดโครงการ
๑๒ กิจกรรมพิเศษ จุดเทียนอุดมการณ์ / จุดเทียนปัญญาบารมี ระหว่างเวลา ๑๙.๐๐-๒๐.๐๐ น. วันที่ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๗
๖. สรุปผลโครงการ ๑. ด้านปลูกฝังและสร้างค่านิยมในผู้เข้าค่าย ระดับ
พอใช้
ดี
ดีมาก
ดี
ดีมาก
๒. ด้านรูปแบบการจัดค่าย ระดับ
พอใช้
๓. อื่นๆ...................................................................... ....................................................
๗. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ - นักศึกษามีความพร้อมในการเข้ารับการอบรม - นักศึกษาที่เข้ารับการอบรมตรงตามกลุ่มเป้าหมายของโครงการ - คณะวิทยากร และคระครูมีความพร้อมในการดาเนินกิจกรรม
๘. แนวการขยายผล มอบหมายภารกิจให้แต่ละศูนย์การเรียนนา หลักสูตรค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลักของไทย ๑๒ ประการ ไป จัดกิจกรรมการเรียนการสอยในแต่ละศูนย์การเรียน
๑๓ บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล โครงการค่ายส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ถือว่าเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลได้กาหนดค่านิยม ๑๒ ประการ ให้ประชาชนชาวไทยนามาประพฤติปฏิบัติ เพื่อสร้างสังคมให้มีความสงบสุข สานักงาน กศน. เป็นหน่วยงานหลักที่ จัดการศึกษาให้กับ ประชาชนที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ถือเป็นหน้าที่ในการพัฒนาประชาชนให้มีความประพฤติ ปฏิบัติตามค่านิยม ๑๒ ประการโดยผ่านกระบวนการต่างๆ เริ่มจากการสร้างการรับรู้และความเข้าใจ เพื่อก่อให้ ความตื่น ตัว ความตระหนั กและเห็ น ความส าคัญของเรื่องดังกล่ าว จากนั้น จึงนาสู่การสร้างกระบวนการปลุ ก จิตสานึกและการเสริมสร้างค่านิยม ผ่านหลักสูตรและกิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการคิด วิเคราะห์ การศึกษาข้อมูล เชิง ประจั กษ์แ ละสรุ ป เป็ น ความรู้ ความเข้ า ใจและความรู้สึ กต่อ ค่านิยมดัง กล่ าว เพื่ อนาสู่ การ ประพฤติปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จนเป็นลักษณะนิสัย โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาประชาชนนอกระบบโรงเรียนให้เป็น พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสานึกในการประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ด้วย เหตุผลและความจาเป็นดังกล่าว กศน.ตาบลสาราญ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จึงได้ จัดทาโครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ขึ้น ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วัดวิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ตลอดระยะเวลาที่เข้า ร่วมกิจกรรมได้มีการสร้างแบบประเมินความพึ งพอใจสาหรับนักเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ จานวน ๘๐ คน โดยสรุป ดังนี้
๑๔ แบบสอบถามการประเมินโครงการค่ายส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมือง ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วัดวิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง ระดับความคิดเห็น รายการ มากที่สุด 1. บุคลิกภาพของวิทยากร
มาก
ปานกลาง น้อย
93.59
2. กิจ กรรมเหมาะสมกั บ เวลา สถานที่ และโอกาสของ 96.69 ผู้รับบริการ 3. รูปแบบความหลากหลายด้านเนื้อหาสาระของกิจกรรม 4. ความรู้และประโยชน์จากค่ายในครั้งนี้
95.55 95.69
5. สามารถนากลับไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ 4.1 การดาเนินโครงการ 4.1.1 ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการ 4.1.2 ร้อยละของความพึงพอใจ 4.1.3 ร้อยละของความรู้ความเข้าใจ 4.1.4 ร้อยละของการนาไปใช้ประโยชน์
93.89 ร้อยละ 100 ร้อยละ 95.35 ร้อยละ 93.69 ร้อยละ 93.98
4.2 ปัญหา/อุปสรรค 4.2.1 นักศึกษากลุ่มเป้าหมายยังขาดวุฒิภาวะ สมาธิ ในการรับฟังการบรรยาย 4.2.2 นักศึกษากลุ่มเป้าหมายทัศนคติต่อการเข้าค่ายที่วัดว่าคือความน่าเบื่อหน่าย ๔.๓ วิธีการแก้ปัญหา 4.3.1 ให้นักศึกษาละลายพฤติกรรมเพื่อเรียกความมั่นใจ ความสนใจในการรับฟังการบรรยาย 4.3.2 ปรับทัศนคติโดยการสร้างแรงจูงใจในการเข้าค่าย เช่น วิทยากร พระมหาสงกรานต์และคณะ จะมีการ นาเทคโนโลยี (Internet) มาช่วยประกอบการสอนทาให้นักศึกษาเกิดความสนใจอยากเรียนรู้ มีการสื่อสารสองทาง มีการถามตอบ ทาให้มีทัศนคติในการเข้าค่ายที่ดีขึ้น
บทที่ 5
๑๕
สรุปผลและข้อเสนอแนะ ผลการดาเนินงานตามโครงการค่ายส่งเสริมค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ซึ้งถือได้ว่าเป็นกิจกรรมที่รัฐบาลได้ กาหนดค่านิยม ๑๒ ประการ ให้ประชาชนชาวไทยนามาประพฤติปฏิบัติ เพื่อสร้างสังคมให้มีความสงบสุข สานักงาน กศน. เป็น หน่วยงานหลักที่จัดการศึกษาให้กับประชาชนที่อยู่ นอกระบบโรงเรียน ถือเป็นหน้าที่ในการพัฒนา ประชาชนให้มีความประพฤติปฏิบัติตามค่านิยม ๑๒ ประการโดยผ่านกระบวนการต่างๆ เริ่มจากการสร้างการรับรู้ และความเข้าใจ เพื่อก่อให้ความตื่นตัว ความตระหนักและเห็นความสาคัญของเรื่องดังกล่าว จากนั้น จึงนาสู่การ สร้างกระบวนการปลุกจิตสานึกและการเสริมสร้างค่านิยม ผ่านหลักสูตรและกิจกรรม เพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วม ในการคิด วิเคราะห์การศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์และสรุปเป็นความรู้ ความเข้าใจและความรู้สึกต่อค่านิยมดังกล่าว เพื่อนาสู่การประพฤติปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จนเป็นลักษณะนิสัย โดยมีเป้ าหมายเพื่อพัฒนาประชาชนนอกระบบ โรงเรียนให้เป็นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย มีจิตสานึกในการประพฤติปฏิบัติตามค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ด้วยเหตุผลและความจาเป็นดังกล่าวนั้น กศน.ตาบลสาราญ สังกัดศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองขอนแก่น จึงได้จัดทา โครงการค่ายเสริมสร้างค่านิยมหลัก ๑๒ ประการ ขึ้น ระหว่างวันที่ ๙-๑๑ เดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ณ วัด วิจารณ์สว่างโสภา บ้านอัมพวัน หมู่ที่ 8 ตาบลสาราญ อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ ประชาชน นักศึกษา ตระหนักถึงความเป็นไทย เข้ าใจในวัฒนธรรมเพิ่มมากยิ่งขึ้น เพราะเป้าหมายของการศึกษา อยากให้ผู้เรียนมีความเจริญงงอกงามทางด้านความรู้และสามารถนามาใช้ในชีวิตประจาวันได้ และเป็นการเปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้ใช้ศักยภาพในด้านความรู้ความสามารถของผู้เรียน และยังได้เสริมสร้างความเข้าใจของค่านิยม ๑๒ ประการให้เพิ่มมากขึ้นอีกด้วย
ข้อเสนอแนะ 1. 2. 3. 4.
ควรมีการจัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง มีการวัดผล ติดตามผลความเข้าใจ การนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน ของผู้ที่ผ่านการเข้าค่าย มีสถานที่ของการจัดค่ายที่หลากหลาย มีการจัดกิจกรรมที่เหมาะสม กับกลุ่มอายุ
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๒๓
๒๔
๒๕
๒๖
๒๗
๒๘
๒๙
๓๐
๓๑
๓๒
๓๓
๓๔
๓๕
๓๖
๓๗
๓๘
๓๙
๔๐
๔๑
๔๒
๔๓
๔๔
๔๕
๔๖
๔๗
๔๘
๔๙
๕๐