Book2013

Page 1




‘สิง่ สำคัญสำหรับงานนีค้ อื การทีค่ ณ ุ ได มานำเสนอผลงานได มาฟ ง เพือ่ นๆ ต างสถาบันนำเสนอผลงานและได รบั ฟ งความคิดเห็นจากคณะกรรมการ ทีผ่ า นประสบการณ การทำงานในสายอาชีพการออกแบบนัน้ ๆ คนที่ได ประโยชน ไม ใช เฉพาะพวกคุณ แต กรรมการเองก็ได ฟง สืง่ ทีค่ ณ ุ นำเสนอ ได เห็นความคิด ทีน่ า สนใจ ถือว าเป นกิจกรรมทีด่ ที เี่ ราได มาแชร และได แลกเปลีย่ นกัน ดีใจที่ ได เป นส วนหนึง่ ของงานในป น’ี้ เสียงส วนหนึง่ จากคณะกรรมการของกิจกรรม คัดเลือกสุดยอดศิลปนิพนธ ประจำป หรือ Degree Shows โดย art4d ทีจ่ ดั กันมาอย างต อเนือ่ งเป นป ที่ 7 กล าวด วยความประทับใจท ามกลางน องๆ นิสติ นักศึกษาทีม่ าร วมนำเสนอผลงาน Degree Shows ถูกจัดขึน้ ด วยจุดเริม่ ต นทีต่ อ งการสร าง ‘เวที’ สำหรับ อนาคตนักออกแบบทีก่ ำลังก าวออกมาจากสถานศึกษา เวทีทเี่ ป ดกว างโดย ไม จำกัดจังหวัด สถาบัน เกรด หรือคำแนะนำของอาจารย เพราะวิทยานิพนธ หรือศิลปนิพนธ คอื สิง่ ทีท่ กุ คนตัง้ ใจป น มันเป นอย างดี และเพือ่ ไม ให สงิ่ ดีๆ ที่ เกิดขึน้ นัน้ ต องถูกเก็บไว ให รกู นั เพียงในคณะ การสร างเวทีเพือ่ เผยผลงานของ


นักออกแบบรุน ใหม สสู งั คมวงกว างจึงเกิดขึน้ พร อมกับการนำเสนอแนวคิด และคัดเลือกผลงานทีน่ า สนใจทัง้ ในเชิงความคิดและการออกแบบ ป นเี้ ราได เห็นความหลากหลายทางการออกแบบจากผลงานทีเ่ รา คัดเลือกทัง้ 7 สาขา (สถาป ตยกรรม ออกแบบภายใน โพรดักท กราฟ ก แอนิเมชัน่ และโมชัน่ กราฟ ก แฟชัน่ จิวเวลรี)่ ซึง่ เป นงานหินพอสมควรสำหรับ คณะกรรมการในการคัดเลือก เนือ่ งจากแต ละงานมีความโดดเด นทีแ่ ตกต าง กันมาก สิง่ ทีค่ อ นข างน าประทับใจก็คอื ความตัง้ ใจทีเ่ ราเห็นในแววตาทุกคูข อง นักออกแบบรุน ใหม ในระหว างการนำเสนอ หลายคนมีอาจารย ทปี่ รึกษาและ เพือ่ นๆ มาให กำลังใจ คอมเมนต และคำแนะนำจากคณะกรรมการเป นเหมือน ประตูอกี บานทีจ่ ะผลักดันให ความคิดของพวกเขาขยับก าวไปข างหน าด วย สายตาของนักออกแบบมืออาชีพรุน พีๆ่ ผูม ปี ระสบการณ และท ายทีส่ ดุ คือ การวิพากษ รว มกันของคณะกรรมการถึงงานแต ละชิน้ ซึง่ ก็ทำให เราได ผลงาน ทีโ่ ดดเด นและสุดยอดศิลปนิพนธ ของแต ละสาขามารวมไว ในหนังสือเล มนี้




JUDGES acharn teewoot e V k a is r, Kiatt g Directo sign Managin ts 49 House De c ect Archite n Boonsom pe Archit Yossapo, Shma Landsca arkum Director ajrabhaya Tep Twitee Vl Architect, CTURE Principa ent of ARCHITE Departm

สิน กรรมการตัด ign ทีวุฒาจารย์ 9 House Des เกียรติศักgดิ์ Dเวirector, Architects 4 Managinุญสม itect ยศพล บ Shma Landscape Arch RE Director, ราภัย เทพาคำ RCHITECTU A f o t n e ช ั m ว ์ rt ทวิตีย l Architect, Depa Principa


DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00


VERTICAL RECREATION SPACE OF AN URBAN AREAS Phiriya Chavanaphan Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University

A residential project that increases resting areas for city dwellers with vertical recreational spaces and garden. พืน้ ทีพ ่ กั ผ่อนทางตัง้ สำาหรับคนเมือง พีรยิ า ชวนะพันธุ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยทีเ่ พิม่ พืน้ ทีพ่ กั ผ่อนให้กบั คนเมืองด้วยพืน้ ทีส่ าำ หรับเล่นกีฬาและสวนที่ ซ้อนกันอยูใ่ นทางตัง้


DEGREE SHOW 2013 00/00

DEGREE SHOWS 2013 00/00




TYPOLOGY OF SHOPHOUSE watcharaporn Eiabsakul Architecture Program, Faculty of Architecture, Silpakorn University

From the forms of the typical shophouse, brings a new idea for the redesign of the traditional shophouse into a new form of building that will interact with the current social context.

ตึก(แถว)แนวใหม่ วัชราภรณ์ เอียบสกุล สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากรูปแบบของตึกแถวทีม่ อี ยูใ่ นปัจจุบนั

ทำให้เกิดแนวคิดทีจ่ ะออกแบบอาคารประเภท

ตึกแถวให้มลี กั ษณะความสัมพันธ์การใช้งาน

รูปแบบ ฯลฯ ทีเ่ ปลีย่ นไปเพือ่ ให้สอดคล้องกับ สภาพสังคมในปัจจุบนั


DEGrEE Show 2013 00/00

DEGrEE ShowS 2013 14/15



JAPAN-THAI CERAMIC INSTITUTE Sumantha Nuamthanang

Architecture Design program, School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi

The design of the architectural spaces is inspired from the studies of the Japanese way of living, which harmonises with nature, bringing the ‘Zen’ form of art through the concept of doing

สถาบันส่งเสริมและพัฒนาเซรามิค ญีป่ นุ่ –ไทย สุมณ ั ฑา น่วมธนัง ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี การออกแบบสเปซ ฟังก์ชนั่ และสถาปัตยกรรม จากการศึกษาวิถชี วี ติ ของชาวญีป่ นุ่ ทีด่ ำเนินวิถ ี ชีวติ โดยการอยูร่ ว่ มกับธรรมชาติ และถ่ายทอด

สุนทรียภาพเหล่านัน้ ผ่านศิลปะในรูปแบบของ

‘เซน’ ผ่านคอนเซ็ปต์ของวิถแี ห่งการกระทำ

วิถแี ห่งการใช้ชวี ติ

DEGrEE ShowS 2013 16/17


MY SENSATIONAL CAFÉ Suriya Poieam

Architecture Design Program, School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi

With the interest in music and studies of how songs can affect a person’s emotion and ideas, this mixed-used project is an expression of the experiences and communication of music in the form of architecture.

ความรูส้ กึ กับบ้านของฉัน สุรยิ า โพธิเ์ อีย่ ม ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จากความสนใจในการฟังเพลงและการศึกษา

ความรู้สึกนึกคิดของผู้ออกแบบที่มีต่อเพลง

5 เพลงทีช่ อบ จึงถ่ายทอดผ่านตัวโปรเจ็คต์ซงึ่ เป็นทัง้ บ้านและเป็นทัง้ พืน้ ทีท่ ำธุรกิจส่วนตัวเล็กๆ ร้านกาแฟ ร้านอาหาร และทีพ่ กั เพือ่ ให้ผเู้ ข้าชม ได้รสู้ กึ และสัมผัสกับอารมณ์พร้อมประสบการณ์ จากเพลงทีถ่ กู สือ่ สารผ่านพืน้ ทีต่ า่ งๆ โดยมี ธรรมชาติ รูปแบบของพืน้ ที ่ เสียง และบริบท โดยรอบเป็นสือ่ กลาง


DEGrEE Show 2013 00/00

DEGrEE ShowS 2013 18/19


wan waisaya s 49 g n o JUDGES W suta itect uj Karna ior Arch Theeran g Director, Inter ManaginChotitayangkul hting Designer, Chanat g Director / Lig Managin ht With Lig haktranon Arisara Cirector, Onion Design D

สิน กรรมการตัด รรณ ts 49 ูต วงศ์ ไวศยว ec ีธรานุช กรรDณirสector, Interior Archit g in g Light a Man ฐยางกูร signer, With ชนรรถ โชgติษDirector / Lighting De Managin ักรธรานนท์ อริศรา จ irector, Onion Design D


DEGrEE ShoWS 2013 00/00



DEGrEE ShoWS 2013 00/00


REHABILITATION OF CHAO PHRAYA RIVER WATER TREATMENT COMBINED WITH THE DEVELOPMENT OF COMMUNICATION Nutchanadda Laosumrit Department of Interior Design, Faculty of Arts and Design rangsit University

Nowadays, technology and transportation brings a devastating amount of waste water into the river without any consideration. This fact inspired the floating water treatment project which places further emphasis on the development of the local community by bringing sand into the area to construct riverside facilities. โครงการฟืน้ ฟูสภาพลุม่ แม่นำ้ เจ้าพระยา บวกกับพัฒนาชุมชนให้ดขี นึ้ นุชนัดดา เหล่าสัมฤทธิ์ สาขาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต ทุกวันนีเ้ ทคโนโลยีและการคมนาคมต่างๆ ทำให้ เกิดการปล่อยน้ำเสียลงแม่นำ้ โดยทีไ่ ม่มใี ครหัน มาดูแลรักษา จึงได้มแี นวคิดการบำบัดน้ำโดย ใช้ตน้ พืชควบคูก่ ารพัฒนาชุมชนและใช้เรือขน ทรายมาสร้างเป็นพืน้ ทีท่ สี่ ามารถรองรับ กิจกรรมริมน้ำทีห่ ลากหลาย


DEGrEE ShoWS 2013 00/00



WORLD BENEATH THE SEA Treethot Polrajlum

Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University

In order to create a spatial sequence, this underwater learning center is entered from the ground level into the water, allowing for the diminishing light to act as a guide for learning. ศูนย์การเรียนรูโ้ ลกใต้ทะเลบางแสน ตรีทศ พลราษฎร์ลำ้ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ศูนย์การเรียนรูโ้ ลกใต้ทะเลทีร่ อ้ ยเรียงบท นิทรรศการจากตืน้ ไปลึก เพือ่ ความต่อเนือ่ งใน การเข้าชมและรับรูเ้ นือ้ หาโดยแสดงออกผ่าน ทางลักษณะของ ‘แสง‘ และ ‘การสร้างพฤติกรรม‘ ทีเ่ หมาะสมต่อการเรียนรูเ้ พือ่ ประโยชน์สงู สุดต่อ การใช้งานอะควาเรียมแบบ learning centre

DEGrEE ShoWS 2013 26/27



DEGrEE ShoWS 2013 28/29



DOMESTICATING THE EXTERIOR SPACE Nipat Charoenpala

Interior Architecture Program, School of Architecture and Design, King Mongkut’s University of Technology Thonburi

This project stems from the study of people living within the Thonglor community, many of whom spend more time out of their own homes than in them, simply because their interior spaces are not fully supportive of their lifestyles.

การเรียกใช้พนื้ ทีภ่ ายนอก นิพฒ ั น์ เจริญปาละ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Domesticating the Exterior Space เกิดขึน้ จากการศึกษาพฤติกรรมของคนในชุมชนย่าน ทองหล่อทีใ่ ช้ชวี ติ อยูน่ อกบ้านมากกว่าในบ้าน เนือ่ งจากพืน้ ทีภ่ ายในไม่เพียงพอต่อการอยูอ่ าศัย จึงทำให้แนวความคิดของการออกแบบภายใน เปลีย่ นไปโดยไม่จำเป็นต้องอยูแ่ ต่ภายใน ห้องสีเ่ หลีย่ ม

DEGrEE ShoWS 2013 30/31


LIFE OF THE BUDDHA MUSEUM, MAHAMAKUT BUDDHIST UNIVERSITY Phachara Lertphadungtham

Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture, Chulalongkorn University

This project is not a temple, but an educational institution that exhibits and displays the life of Buddha through the simplest form of interior architecture, allowing visitors to learn through experience.

พิพธิ ภัณฑเจดียว์ ชิ าการ มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย พชร เลิศผดุงธรรม ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สถานทีแ่ ห่งนีไ้ ม่ใช่วดั แต่เป็นสถานทีศ่ กึ ษา สถานทีใ่ ห้ความสงบจากการจัดแสดงนิทรรศการ ทีบ่ อกเล่าพุทธประวัติ โดยการเล่าเรือ่ งผ่าน งานสถาปัตยกรรมภายในทีเ่ รียบง่ายทีส่ ดุ เพือ่ ให้ คนได้สมั ผัส รับรู้ และเกิดศรัทธาขึน้ ด้วยตนเอง



at JUDGES eteekulw m a p p u ai S Teerach irector, Qualy D n Desig Puttorngul y Pichaya l, Piece Compan a ip c i dio in a r P INKK Stu Teerach Ploypanr, Co-founder TH Designe

สิน กรรมการตัด ีกูลวัฒน์ ธีรชัย ศุภเมireธctor, Qualy Design Dธิธรกุล พิชย พุท l, Piece Company Principaรรณ ธีรชัย Studio พลอยพ r / Co-founder, THINKK Designe


DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00



DESIGN AND DEVELOPMENT PRODUCT FOR SWOOP SHOP OF SAHAPAT BY WEAVING REMNANT OF CLOTHS WITH THE LOOM OF BANRANGMAITENG Krantana Suweerah Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

This collection of cases for portable electronic devices is designed to be made with a weaving technique that interacts with the movements of the hands and feet and uses local materials. This project aims to celebrate the skills and traditional crafts of a community.

โครงการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ ด้วยเทคนิคการทอกี่ไฮเทคจากเศษผ้าของ กลุม่ ทอพรมอเนกประสงค์ บ้านรางไม้เต็ง สำหรับร้านสวูพในเครือสหพัฒนพิบลู กรานต์ตนา สุวรี ะ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ประเภท เครือ่ งห่อหุม้ อิเล็กทรอนิกส์แบบพกพาด้วย เทคนิคการทอกีจ่ ากเศษผ้าเหลือใช้ สำหรับ สุภาพบุรษุ และสุภาพสตรีทรี่ กั การใช้ชวี ติ อิสระ ทันสมัย และชืน่ ชอบการใช้ผลิตภัณฑ์ดว้ ยวัสดุ และกรรมวิธกี ารผลิตทีไ่ ม่ตอ้ งพึง่ พาเทคโนโลยี โดยนำเสนอวิธกี ารทอทีใ่ ช้มอื สัมพันธ์กบั เท้า มีการนำวัสดุภายในท้องถิน่ มาใช้ผลิตเครือ่ งทอ ได้รบั แรงบันดาลใจลวดลายสีสนั จากนกฮูกกับ เปลือกไม้ เพือ่ เป็นการยกระดับความสามารถ ของคนในชุมชนและส่งเสริมภูมปิ ญ ั ญาท้องถิน่

DEGrEE ShowS 2013 40/41


SOFT BOOKS FOR 3-6 YEARS OLD CHILDREN THAT CAN BE TRANSFORMED INTO CHILDREN’S ACCESSORIES Chanthakan Poto Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

These fabric books can be transformed into toys and accessories for children encouraging sustainability and eliminating the cost of having to purchase new toys.

โครงการออกแบบหนังสือผ้าเสริมพัฒนา การสำหรับเด็ก 3-6 ปี ทีส่ ามารถปรับเปลีย่ น เป็นของใช้สำหรับเด็ก จันทกานต์ โพโต ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง หนังสือผ้าเสริมพัฒนาการทีส่ ามารถปรับเป็น ของใช้เด็ก เพือ่ ยืดอายุการใช้งานและช่วยลด ค่าใช้จา่ ยของผูป้ กครอง


DEGrEE ShowS 2013 42/43




HEAT REFLECTION TEXTILE PRODUCTS FROM REUSED METALIZED LAMINATED FILM Supamas Leelapiyawat Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

This project utilizes metalic plastic sheets from confectionary packaging in combination with fabric and, through heat, transforms the sheets into a heat reflective material.

โครงการออกแบบผลิตภัณฑ์สงิ่ ทอสะท้อน ความร้อนจากบรรจุภณ ั ฑ์พลาสติกลามิเนต ชนิดเมทาไลท์ฟลิ ม์ ศุภมาส ลีลาปิยวัฒน์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เป็นการนำพลาสติกเมทาไลท์ฟลิ ม์ อาทิ ถุงขนม ที่มีสีเงินมาเชื่อมติดกับเนื้อผ้าด้วยความร้อน นอกจากทำให้มลี กั ษณะคล้ายสกรีนฟอล์ยแล้ว ยังช่วยสะท้อนความร้อน ซึง่ สามารถนำวัสดุที่ ได้นมี้ าเป็นวัสดุในการออกแบบผลิตภัณฑ์ตา่ งๆ


DEGrEE ShowS 2013 46/47


JUDGES ESIGN n sillapakuunder, TNOP™ D g n a W Fo Tnop irector / Design Dna Kangwarnjit Director), Somcha ecutive Creative ECD (ExDesign Prompt g Bhumichitra Bake Studio Piyapon Design, Shake & Head of

สิน กรรมการตัด ปคุณ P™ DESIGN ธีรนพ หวังirศeิลctor / Founder, TNO sign Design Dังวารจิตต์ , Prompt De r) to c e ก ir ะ D น e ช v ม ส tive Creati ECD (Exeภcูมuิจิตร tudio ปิยพงษ์ Design, Shake & Bake S f o Head


DEGrEE ShoWS 2013 00/00



DEGrEE ShoWS 2013 00/00



DEGrEE ShoWS 2013 00/00



STICKER TATTOO DESIGN ‘ATTA’

Chivayuth Chivalucksanangkoon Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

Body art is considered an expression of personality and belief, two human elements that are not necessarily permanent. This collection of sticker tattoos that peel off over time meet the need for a temporary means of expression and also serve as a reminder of the Buddhist principle of impermanence. การออกแบบสติก๊ เกอร์แทททู ชุด ‘อัตตา’ จิวายุทธ จิวาลักษณางกูร ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การแสดงตัวตนผ่านวัตถุภายนอก การยึดมัน่ ถือมัน่ ซึง่ ไม่มสี งิ่ ใดจีรงั ยัง่ ยืนเสมือนสติก๊ เกอร์ แทททูทมี่ วี นั หลุดลอกเลือนหายไปตามกาลเวลา เพือ่ ให้รจู้ กั การปล่อยวางตามหลักวิถพี ทุ ธ

DEGrEE ShoWS 2013 54/55


BOOK DESIGN AND THAI TYPEFACE DESIGN TO ENHANCE READING, LEARNING AND CONSERVING THE 12 BUDDHIST TRADITIONS OF NORTHEAST THAILAND FOR CHILDREN AND YOUTH Chaithawat Dongcharoaen Program in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts, Chiang Mai University

The design of this picture book was inspired by traditional Isaan style paintings, which were then adapted into a new graphic style while still preserving the core essence of Isaan art. This set of new graphics and typeface portrays and educates young people in the near extinct traditional Isaan rituals as well as facilitates an appreciation for, and preservation of, such rituals for future generations. โครงการออกแบบหนังสือภาพให้ขอ้ มูลและ ชุดตัวอักษรเพือ่ เสริมสร้างการอ่าน การเรียนรูแ้ ละอนุรกั ษ์ประเพณีอสี านของไทย เรือ่ ง ‘ฮีตสิบสอง’ สำหรับเด็กและเยาวชน ชัยธวัช ดงเจริญ สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจติ รศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การออกแบบหนังสือภาพให้ขอ้ มูลโดยมีแนวคิด มาจากงานจิตรกรรมไทยอีสานโบราณ นำมา ปรับใช้ ดัดแปลงใหม่ให้เกิดกราฟิกทีแ่ ตกต่าง แต่ยงั คงเสน่หข์ องงานจิตรกรรมอีสานอยู่ เพือ่ บอกเล่าเรือ่ งราวประเพณีฮตี สิบสองของภาค อีสาน ซึง่ ปัจจุบนั กำลังจะหายไปจากสังคม อีกทัง้ ออกแบบชุดตัวอักษรขึน้ มาใหม่เพือ่ การ อ่านและการเรียนรูข้ องเด็กและเยาวชนซึง่ เป็น วัยหัวเลีย้ วหัวต่อในยุคปัจจุบนั โดยทัง้ หมดนี้ เพือ่ เป็นส่วนหนึง่ ทีจ่ ะช่วยเสริมสร้างความรู้ และอนุรกั ษ์ประเพณีอนั ดีงามของไทยเอาไว้ให้ คนรุน่ หลังได้สบื ทอดต่อไป


DEGrEE ShoWS 2013 56/57



CALENDAR DESIGN ‘BRAIN GYM’

Natthakorn Noiphim Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

This calendar project encourages a daily routine of physical movements that stimulate the brain through exercises that support balance, concentration, creativity and emotion. การออกแบบปฎิทนิ ‘เบรนยิม’ ณัฏฐกรณ์ น้อยพิมพ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร กายบริหารสมองทีเ่ กิดจากการเคลือ่ นไหว ของร่างกายมีผลต่อสมองทัง้ 4 ด้าน ได้แก่ ความสมดุลของสมอง สมาธิ ความคิดสร้างสรรค์ และอารมณ์ความเครียด ถ่ายทอดผ่านรูปแบบ สือ่ ปฏิทนิ ทีส่ ามารถใช้งานและปฏิบตั ติ ามได้ ในทุกๆ วัน

DEGrEE ShoWS 2013 58/59


PAPERCRAFT DESIGN ‘THE ART OF FLOWER ARRANGEMENT IN THAILAND’ Wirin Chaowana Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

This project was inspired by a combination of traditional Thai flower arrangements, geometry and paper folding techniques, giving the material and medium a delicate yet contemporary twist. การออกแบบงานกระดาษชุด ‘พับ เพียบ เรียบ ร้อย’ วิรนิ เชาวนะ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การออกแบบงานกระดาษทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจ จากงานดอกไม้สดของไทยนำมาประยุกต์เข้ากับ รูปทรงเรขาคณิตและการพับกระดาษโดยยังคง ความละเอียดประณีตไว้ และออกแบบสือ่ ประชาสัมพันธ์ประกอบ



JUDGES upachai dio n Lohsis r, Lunchbox Stu a k a n in T o t c m e Dir thu Creativessakorn Kulthira r, o a t c p e g Dir Pon / Visual abel Founder R.VOR. Visual L O KOR.B avansirikul er, Tanat Jir irector / Found D d n n a ig il ha Des er Arts T Comput

สิน กรรมการตัด ศรีศุภชัย dio ทินกรรต์ หDลir่อector, Lunchbox Stu e v Creati กร กุลถิรธรรม พงศ์ภาส / Visual Director, l Founder R.VOR. Visual Labe KOR.BO ารศิริกุล ธนัช จิรว irector / Founder, Design D r Arts Thailand Compute


DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00


THE BLANKET Putssarapon Tamphanon Program in Computer Art, Faculty of Digital Art, rangsit University

This two-dimensional animation project is the expression of the designer towards their loving, yet pressuring, parents. The Blanket ภัสราภรณ์ ตามภานนท์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต อนิเมชัน่ 2 มิตเิ พือ่ แสดงออกถึงความคิดของ ผูอ้ อกแบบทีม่ ตี อ่ ครอบครัว โดยเล่าเรือ่ งความรัก และความคาดหวังของพ่อแม่ทมี่ มี ากเกินไป จนกลายเป็นความกดดัน




THE BIRD IS STARING AT THE FISH, FALLING FROM THE SKY AT THE TOP OF THE ROOF, UNDER THE SUN IN ANOTHER ONE FINE DAY Kanitharin Thailamtong Program in Computer Art, Faculty of Digital Art, rangsit University

The idea of, ‘free will’ is portrayed through the point of view of the designer by recreating a typical scene from everyday urban life in this animation. The Bird Is Staring at the Fish, Falling from the Sky at the Top of the Roof, under the Sun in Another One Fine Day กนิษฐรินทร์ ไทยแหลมทอง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต อนิเมชัน่ เรือ่ งนีก้ ล่าวถึงคำว่า ‘เจตจำนงเสรี’ โดยเล่าผ่านมุมมองส่วนตัวของผูอ้ อกแบบ โดย จำลองเหตุการณ์หนึง่ ทีเ่ กิดขึน้ และจบลงใน เมืองใหญ่ราวกับว่าเป็นเรือ่ งธรรมดา

DEGrEE ShowS 2013 68/69


THAI-THUI Kamolchanok wanasukpunt, Nuttapon Puntariganon Program in Computer Art, Faculty of Digital Art, rangsit University

From the idea that, ‘The Thai society is drowned in spit’ this designer was inspired by Thai social problems and reactions and reflects them from a personal point of view. The designer chose to present this antagonizing perspective in the hopes of increasing awareness towards these problems and improving our future. ไทยถุย กมลชนก วนาสุขพันธ์ ณัฐพล ปุณทาริกานนท์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต ‘เพราะสังคมไทยเป็นสังคมทีก่ ำลังจมอยูภ่ ายใต้ น้ำลาย’ ศิลปนิพนธ์ชนิ้ นีผ้ อู้ อกแบบได้รบั แรงบันดาลใจมาจากปัญหาต่างๆ และปฏิกริ ยิ า ของกลุม่ คนในสังคม เพือ่ สะท้อนความเป็นจริง และนำเสนอผ่านมุมมองของตัวเอง โดยนำเสนอ เนือ้ หาในแง่ลบเพือ่ ให้ผชู้ มตระหนักถึงปัญหา ในปัจจุบนั และเกิดการพัฒนาในอนาคต


DEGrEE ShowS 2013 70/71



TUINUI Tipjuta Budchan Thunyathorn Amornlertvit Program in Computer Art, Faculty of Digital Art, rangsit University

This animation project is a reflection of people’s lives who work on the streets, portraying the compassion and empathy that exists between this group of people. ตุย้ นุย้ ทิพจุฑา บุตรจันทร์ ธัญธร อมรเลิศวิทย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต งานออกแบบอนิเมชัน่ 2 มิตทิ สี่ ะท้อนวิถชี วี ติ ของบุคคลทีท่ ำมาหากินบนท้องถนน และสือ่ ถึง ความเห็นใจของเพือ่ นมนุษย์ตอ่ เพือ่ นมนุษย์

DEGrEE ShowS 2013 72/73


SURA Nantiphat Phae-ngam Computer Animation, School of Digital Media, Sripatum University

This three-dimensional animation speaks of social problems and intends to bring awareness toward these issues by presenting the story of a drunk driver, attempting to avoid police checkpoints. สุรา นันทิพฒ ั น์ แพรงาม สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อนิเมชัน่ คณะดิจทิ ลั มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม งานออกแบบอนิเมชัน่ และโมเดล 3 มิตทิ พี่ ดู ถึงปัญหาสังคมและกระตุน้ ให้คนตระหนักกับ สิง่ ทีเ่ กิดขึน้ โดยนำเสนอเนือ้ หาของคนเมาที่ พยายามหาทางหนีดา่ นตำรวจ



JUDGES gprasert Ek Thon , Thongprasert Founderrin Phongsai Watcha ogue Editor, Vdhi Platt Pla Director, AN Creative Situation, 4x4M Realistic

สิน กรรมการตัด สริฐ เอก ทองปรTะเhongprasert r, e Found ์ ผ่องใส วัชรินทร ogue N Editor, V ลาฎิ tion, 4x4MA พลัฏฐ์ พ Director, Realistic Situa Creative


DEGrEE ShoWS 2013 00/00



DEGrEE ShoWS 2013 00/00





MALLEABLE Chatchai Kengrungruengchai

Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts, Bangkok University

’Ayatori’ is a game where the player forms different shapes and images with a piece of string. This women’s wear collection has taken the concept of the ‘never-ending transformation’ of strings, and combined it with experimentation in different techniques and with various materials to create a transformable sentiment within the garments. Malleable ฉัตรชัย เก่งรุง่ เรืองชัย สาขาวิชาออกแบบแฟชัน่ และสิง่ ทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ การเล่นเชือก (Ayatori) เป็นการนำเชือกมา เล่นให้เกิดรูปทรงต่างๆ โดยรูปทรงของชุด คอลเล็คชัน่ นีไ้ ด้ถกู ออกแบบขึน้ ภายใต้คอนเซ็ปต์ ‘การเปลีย่ นแปลงรูปทรงทีไ่ ม่รจู้ บของการเล่น เชือก’ มีการทดลองเทคนิคต่างๆ หลากหลาย วิธเี พือ่ ให้เกิดรายละเอียดและความรูส้ กึ ที่ ไม่ธรรมดาบนเครือ่ งแต่งกายสตรี

DEGrEE ShoWS 2013 82/83


REALISATION & REFLECTIVENESS Natthakarn Tangpanichdee Department of Visual Arts Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University

This collection was inspired by the costume design of the film, Pride and Prejudice, with the interpretation of the characteristics of each of the actors and the context of the Regency period being drawn upon as inspiration to create a collection of white garments created through macramé techniques. Realisation & Reflectiveness ณัฐกานต์ ตัง้ พานิชดี สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในคอลเล็คชัน่ นีไ้ ด้หยิบเอาหนังเรือ่ ง Pride & Prejudice มาเป็นแรงบันดาลใจในการออกแบบชุด ซึง่ ได้ดงึ เอาอารมณ์คาแร็คเตอร์ของนักแสดง ทีอ่ ยูใ่ นช่วงยุค Regency มาตีความ เน้นโทน สีขาวกับโครงชุดทีเ่ รียบแต่แฝงเทคนิคการถัก ‘แมเครเม่’ ที่ได้มีการศึกษาและทดลองสร้าง ชิน้ งานด้วยเทคนิคแบบดัง้ เดิมรวมถึงสร้างสรรค์ เทคนิคใหม่ๆ


DEGrEE ShoWS 2013 84/85



EINSTEIN’S EXPEDITION Athibodee Suwannachot Department of Fashion Design, Faculty of Fine Arts and Design, rangsit University

This collection is inspired by Einstein’s Theory of Relativity, which tells the story of a time travelling woman, through the Theory of Einstein-Rosen Bridge or the Wormhole. The impact of these events has led to a series of experimentations within the garments that were then restructured through the Experimental Tailoring method. ผูห้ ญิงหลงเวลาผ่านทฤษฎีไอสไตน์ อธิบดี สุวรรณโชติ สาขาวิชาแฟชัน่ ดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต คอลเล็คชัน่ นีไ้ ด้แรงบันดาลใจมาจากทฤษฎี สัมพันธภาพของ Albert Einstein กลายมา เป็นแนวความคิดของผูห้ ญิงทีเ่ ดินทางหลงเวลา ผ่านทฤษฎี Einstein-Rosen Bridge หรือ Wormhole โดยผลระทบต่างๆ จากทฤษฎีทาง ฟิสกิ ส์ได้ถกู นำมาทดลองบนเสือ้ ผ้า จนได้ ผลลัพธ์เป็นเสือ้ ผ้าทีม่ โี ครงสร้างเสือ้ ใหม่แบบ Experimental Tailoring

DEGrEE ShoWS 2013 86/87


PSYCURIOUS Apirak Thongpiyaphoom Department of Visual Arts Design-Fashion Design, Faculty of Fine Arts, Srinakharinwirot University

The legend of the love between Psyche and Cupid is reinterpreted in this collection and coupled with a contemporary interpretation of traditional Thai embroidery techniques. โครงการพัฒนาการปักแบบนาฏศิลป์ไทย ดัง้ เดิมสูเ่ สือ้ ผ้าสำเร็จรูป อภิรกั ษ์ ทองปิยะภูมิ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชัน่ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ การนำภูมปิ ญ ั ญางานปักแบบไทยเดิมมาผสมผสาน กับเทคนิคปัจจุบนั แบบใหม่ ถ่ายทอดผ่านทาง แรงบันดาลใจเกีย่ วกับตำนานความรักของ Psyche และ Cupid



anij JUDGES Chenyavager, h is n a v an raya Nutre A Development M op h & s k n r & wo Desig io d u t s AuSmithTangviriyamater/Designer, Fonthip /Jeweller/Make Director Studio l Fonthip Jirajbhaskornku p n r o a h S ik g Sir , Sapran Founder

สิน กรรมการตัด านิชย์ นุตร์ อารยDะวevelopment Manpager, & n Desig ith studio & worksho io AuSm ั้งวิริยะเมธ Fonthip Stud r, e n ig s e ต ์ D ย r/ ฝนทิพ r/Jeweller/Make Directo ิรัฎฐ์ภาสกรกุล สิริการยer,์ จSaprang Shop Found


DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00



DEGrEE ShowS 2013 00/00



SELF-CHARACTERIZE KINETIC JEWELRY Nutnicha Karnjanasoonthorn Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

’Some unintentional actions may be deemed offensive by others, but may be an inevitable habit. From this, the designer has crafted a collection of jewelry that will distract others from the wearer’s actions and cause them to pay more attention to the jewelry.

การออกแบบเครือ่ งประดับขยับบุคลิก ณัฐณิชา กาญจนสุนทร ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร จากกลไกของหุน่ เชิดต่างๆ กับพฤติกรรม หรือ ท่าทางบางอย่างของผูอ้ อกแบบทีก่ ระทำแล้ว อาจมองดูไม่สภุ าพ และเป็นพฤติกรรมทีไ่ ม่ สามารถหลีกเลีย่ งได้ในบางครัง้ จึงออกแบบ เครือ่ งประดับทีด่ งึ ดูดความสนใจของผูท้ มี่ อง เห็นพฤติกรรมนัน้ ๆ ให้มาสนใจทีต่ วั เครือ่ ง ประดับแทน

DEGrEE ShowS 2013 96/97


BODY ADORNMENT AS AN URGE TO THE YOUNG GENERATION ON THE ART OF THAI-KREUNG/THAI WIENG’S CLOTHES Niracha Akarachaipanich Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts, Silpakorn University

The appreciation of the Thai-Kreung/ Thai Wieng tradition is expressed in this collection of contemporary jewelry. This colorful collection, made with traditional fabric dyeing techniques, is made to be worn at cultural events in order to promote tradition to the younger generation.

การออกแบบเครื่องประดับกายเพื่อกระตุ้น จิตสำนึกรักษ์ศลิ ปวัฒนธรรมไทครัง่ /ไทเวียง นิรชา อัครชัยพานิชย์ ภาควิชาออกแบบเครือ่ งประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ความประทับใจเสน่หว์ ฒ ั นธรรมการแต่งกาย

ทีง่ ดงามของชาวไทครัง่ ไทเวียง สือ่ ในรูปแบบ

ของเครือ่ งประดับกายภาพลักษณ์ใหม่สร้าง ความโดดเด่นด้วยรูปแบบและสีสนั สอดประสาน เทคนิคภูมปิ ญ ั ญาชาวบ้าน คือการย้อมผ้าจาก ธรรมชาติ เหมาะสำหรับใช้เป็นสือ่ การประชา-

สัมพันธ์ในงานพิธตี า่ งๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับการอนุรกั ษ์

ศิลปวัฒนธรรมเพือ่ ปลูกจิตสำนึกให้เยาวชนต่อไป


DEGrEE ShowS 2013 98/99




METAL DESIGN (JEWELRY): TO HELP REDUCE THE PLASTIC WASTE RATIO FOR OCCUPATIONAL PROMOTION DIVISION, SOCIAL DEVELOPMENT, DEPARTMENT OF BANGKOK Sikarin Noonuan Program in Industrial Design, Faculty of Architecture, King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang

This collection of jewelry helps reduce plastic waste in Bangkok by using rubbish from PET bottles as its principle material. Each of the pieces contains text encouraging wearers to think twice about consumption. โครงการออกแบบเครือ่ งประดับเพือ่ ช่วยลด อัตราการเกิดขยะพลาสติกในกรุงเทพมหานคร ของกองส่งเสริมอาชีพ สำนักพัฒนาสังคม สิขรินทร์ หนูนวล สาขาวิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง เครือ่ งประดับชุดนีอ้ อกแบบขึน้ เพือ่ ช่วยลดอัตรา การเกิดขยะพลาสติกในกรุงเทพฯ อย่างยัง่ ยืน

ตัง้ แต่การผลิตไปจนถึงมือผูส้ วมใส่เครือ่ งประดับ โดยเครือ่ งประดับของโครงการมีการใช้ขยะจำพวก ขวด PET เป็นส่วนประกอบในทุกชิน้ และ แต่ละชิน้ จะมีการแฝงแนวคิดทีก่ อ่ เกิดพฤติกรรม การลดอัตราการเกิดขยะแฝงอยูด่ ว้ ยเพือ่ ให้เกิด การลดตัง้ แต่จดุ กำเนิดอย่างแท้จริง


DEGrEE ShowS 2013 102/103


ARCHITECTURE Kantipat Phatijaree Architecture Design program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi กันติพัฒน์ ภัตติจารี ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Choat Aussawasuteerakul Architecture Design program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi ชชย์ อัศวสุธีรกุล ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Chaiyasat Sattasagulchai Architecture Program, Faculty of Architecture Kasetsart University ชัยเศรษฐ์ เศรษฐสกุลชัย ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ / Tanasab Apiwannarat Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University ธนทรัพย์ อภิวรรณรัตน์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Tanaporn Pannara Department of Architecture, Faculty of Architecture Chiang Mai University ธนพร พันธุ์นรา ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่ / Nanthaporn Siyoputhawong Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University นันทพร สิโยพุทวงศ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Patipan Potiyaraj Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University / ปฏิปนั โพธิยะราช สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Patcharada Inplang Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University พัชรดา อินแปลง สาขาวิชาสถาปัตยกรรม


คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Pimchanok Visitchaichan Program in Architecture, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang พิมพ์ชนก วิศษิ ฐชัยชาญ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Peerapol Karunwiwat Architecture Design program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi พีรพล การุณวิวธั น์ ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Phiriya Chavanaphan Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University พีรยิ า ชวนะพันธุ์ สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Pawat Kittikulunaporn Architecture Program, Faculty of Architecture Rajamangala University of Technology Thanyaburi ภาวัช กิตติคุณาภรณ์ สาขาเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี / Watcharaporn Eiabsakul Architecture Program, Faculty of Architecture Silpakorn University วัชราภรณ์ เอียบสกุล สาขาวิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Sumantha Nuamthanang Architecture Design program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi สุมัณฑา น่วมธนัง ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี / Suriya Poieam Architecture Design program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi สุรยิ า โพธิเ์ อีย่ ม ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ ภาควิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ

INTERIOR DESIGN Kittichot Tantichaipakorn Program in Interior Design, School of Architecture Bangkok University กิตติโชค ตันติชัยปกรณ์ สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Kultawatch Ananrattanasuk Department of Interior Design, Faculty of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology North Bangkok กุลธวัช อนันต์รตั นสุข สาขาวิชาออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ / Kosol Kosolkitiwong Program in Interior Design, School of Architecture Bangkok University โกศล โกศลกิตวิ งศ์ สาขาวิชาการออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Chopaka Thansaithong Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture Chulalongkorn University ช่อผกา ธารไทรทอง ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Duenphen Saelim Program in Interior Design, School of Architecture Bangkok University เดือนเพ็ญ แซ่ลิ่ม สาขาวิชาการ ออกแบบภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Treethot Polrajilum Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture Chulalongkorn University ตรีทศ พลราษฎร์ล้ำ ภาควิชา สถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Thanaporn Lohavichitranon Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture Chulalongkorn University ธนพร โลหะวิจติ รานนท์ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Nipat Charoenpala Interior Architecture Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi นิพัฒน์ เจริญปาละ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Nutchanadda Laosumrit Department of Interior Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University นุชนัดดา เหล่าสัมฤทธิ์ สาขาออกแบบภายใน คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Pawonrat Lertpinyowong Department of Interior Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University ปวรรัตน์ เลิศภิญโญวงศ์ ภาควิชาออกแบบภายใน คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Pawimol Samsen Department of Interior Architecture,


Faculty of Architecture Chulalongkorn University ปวิมล สามเสน ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Pitipat Ruangsri / Program in Interior Architecture, Faculty of Architecture, Urban Design and Creative Arts Mahasarakham University ปิติภัทร เรืองศรี สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ผังเมือง และนฤมิตศิลป์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม Pemika Chiarnpattanodom / Interior Architecture Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi เปมิกา เจียรพัฒโนดม ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี Phachara Lertphadungtham / Department of Interior Architecture, Faculty of Architecture Chulalongkorn University พชร เลิศผดุงธรรม ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Proud Pittayapibool Interior Architecture Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi พราว ทิทยาพิบูล ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Sittipat Rongronglarp Interior Architecture Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi สิทธิพัฒน์ รงรองลาภ ภาควิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และ การออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Itsara Manakid Interior Architecture Program, Faculty of Architecture Rajamangala University of Technology Thanyaburi อิสรา มานะคิด สาขาสถาปัตยกรรมภายใน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

PRODUCT DESIGN Krantana Suweerah Program in Industrial Design, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang กรานต์ตนา สุวีระ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Chanthakan Poto Program in Industrial Design, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang จันทกานต์ โพโต ภาควิชา ศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Nattakan Suppamongkolthaveesuk Department of Product design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University ณัฐฐ์กานต์ ศุภมงคลทวีสขุ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Duangkamon Panypoatiphan Industrial Design Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi ดวงกมล ปัญญาปฏิภาณ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Teerapa Sombatudomkhun Major in Product Design, Department of Visual Art, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University ธีราภา สมบัติอุดมคุณ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Napaporn Lerdsrinapaporn Program in Industrial Design, Faculty of Architecture Khon Kaen University นภาพร เลิศศรีนภาพร สาขาการออกแบบ อุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น / Rahut Jongsiri Department of Product design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University รหัท จงศิริ ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะ มัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Watcharasakul Leekasem Department of Product design, Faculty of Arts and Design Rangsit University วัชรสกุล หลีเกษม สาขาวิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Wiriya Mana-anatakul Industrial Design Program, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi วิรญ ิ า มานะอนันตกุล ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Weerawat Chaipet Thai Art Department, Design Program, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University วีรวัฒน์ ชัยเพ็ชร


สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Supamas Leelapiyawat King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang ศุภมาส ลีลาปิยวัฒน์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Sitigorn Laiparditigorn Major of Product Design, Faculty of Applied Arts and Design Ubon Ratchathani University สิทธิกร ลายประดิษฐกร ภาควิชาออกแบบผลิตภัณฑ์ คณะศิลปประยุกต์และการออกแบบ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี / Orakarn Sayatanan Program in Industrial Design, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang อรกานต์ สายะตานันท์ ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Onuma Ubonrut Thai Art Department, Design Program, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University อรอุมา อุบลรัตน์ สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชา ศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

GRAPHIC DESIGN Kewalin Timklab Program in Communication Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University เกวลิน ทิมกลับ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Jatuporn Phummai Program in Computer Graphic, Faculty of Fine and Applied Arts Dhurakij Pundit University จตุพร พุ่มไม้ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ / Chivayath Chivalucksanangkoon Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University จิวายุทธ จิวาลักษณางกูร ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Chaithawat Dongcharoaen Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University ชัยธวัช ดงเจริญ สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชา ศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Chinapat Yeukprasert Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University ชินภัทร์ หยึกประเสริฐ ภาค วิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Nuttapol Thongseang Department of Visual Communication Design, Faculty of Architecture Kasem Bundit University ณัฎฐพล ทองแสง ภาควิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิตย์ / Natthakorn Noiphim Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University ณัฏฐกรณ์ น้อยพิมพ์ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Nutpinya Boonsombut Program in Computer Graphic, Faculty of Fine and Applied Arts Dhurakij Pundit University ณัฐภิญญา บุญสมบัติ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ธุรกิจบัณฑิตย์ / Teratchai Thananchaya Program in Communication Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ธีร์รัชช์ชัย ธนัญชยะ สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Napisa Leelasuphpong Department of Industrial Design, Faculty of Architecture Chulalongkorn University นภิษา ลีละศุภพงษ์ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะ สถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Benjarat Aiemrat Program in Communication Design, Faculty of Fine Arts เบญจรัตน์ เอี่ยมรัตน์ สาขาวิชาการออกแบบสื่อสาร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Prasertsak Pradithkesorn Department of Visual Communication Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University ประเสริฐศักดิ์ ประดิษฐ์เกษร สาขาวิชาออกแบบ นิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Plaifon Chanpanya Program in Communication Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ปลายฝน จันทร์ปัญญา สาขาวิชาการออกแบบนิเทศ ศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Pratthana Srisungnern Department of Visual Communication Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University ปรารถนา ศรีสูงเนิน สาขาวิชา ออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Mantika Eiamtom Programs in


Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University มัญธิกา เอี่ยมต่อม สาขาวิชา การออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Vanicha Srathongoil Program in Communication Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University วณิชชา สระทองออย สาขาวิชาการออกแบบนิเทศศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Wirin Chaowana Department of Visual Communication Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University วิริน เชาวนะ ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Suphanat Wongsupa Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University ศุภณัฐ วงศ์สภุ า สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ANIMATION & MOTION GRAPHIC Kanitharin Thailamtong Program in Computer Art, Faculty of Digital Art Rangsit University กนิษฐรินทร์ ไทยแหลมทอง สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต / Krissana Kochsila Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University Sripatum University สาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Keawalee Warutkomain Communication design, School of Architecture and Design King Mongkut’s University of Technology Thonburi เกวลี วรุตม์โกเมน สาขาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี / Chayadol Tantisak Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University ชยดล ตันติศักดิ์ สาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Nuttapon Puntariganon, Kamolchanok Wanasukpunt Program in Computer Art, Faculty of Digital Art Rangsit University ณัฐพล ปุณทาริกานนท์, กมลชนก วนาสุขพันธ์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจทิ ลั อาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต / Tanawat Muninimit Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University / Tipjuta Budchan, Thunyathorn Amornlertvit Program in Computer Art, Faculty of Digital Art Rangsit University ทิพจุฑา บุตรจันทร์, ธัญธร อมรเลิศวิทย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต / Nantipat Phae-ngam Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University นันทิพัฒน์ แพรงาม สาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Panithan Praisinth Program in Industrial Design, Faculty of Architecture Khon Kaen University ปณิธาน ไพรสินธุ์ สาขาวิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น / Paweena Sripunjang Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University ปวีณา ศรีปญ ั จางค์ สาขาคอมพิวเตอร์แอนิเมชัน่ คณะดิจทิ ลั มีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Phongphanu Pornkajornkitkul Computer Animation, School of Digital Media Sripatum University พงศ์ภาณุ พรขจรกิจกุล สาขา คอมพิวเตอร์แอนิเมชั่น คณะดิจิทัลมีเดีย มหาวิทยาลัยศรีปทุม / Putssarapon Tamphanon Program in Computer Art, Faculty of Digital Art Rangsit University ภัสราภรณ์ ตามภานนท์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต / Ratchawoot Prukpusana Program in Computer Art, Faculty of Digital Art Rangsit University รัชวุฒิ พฤกภูษณ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์อาร์ต คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต / Vasuphon Sanpanich Department of Visual Communication Design, Faculty of Design Decorative Arts Silpakorn University วสุพล สรรพาณิช ภาควิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Wannita Sirikul Animation Production, Entertainment Media Program, Fine and Applied Arts Devision Mahidol University International College วัณณิตา ศิริกุล สาขาวิชาการผลิต แอนิเมชัน วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล / Setthaporn Panpee Program in Information Technology for Design, Faculty of Information and Communication Technology Silpakorn University เศรษฐพันธ์ ปันปี สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการออกแบบ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มหาวิทยาลัยศิลปากร


FASHION DESIGN Chatchai Kengrungruengchai Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ฉัตรชัย เก่งรุ่งเรืองชัย สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Chayanit Kunthatim Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ชญานิษฐ์ ขันระทิม สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Charnwut Dangchana Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ชาญวุฒิ แดงชนะ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะ ศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Natthakarn Tangpanichdee Department of visual arts design-fashion design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University ณัฐกานต์ ตั้งพานิชดี สาขาวิชา การออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Tanatanon Juntachot Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ธณฐนณ จันทโชติ สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย กรุงเทพ / Tidarat Deeboonruksadee Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ธิดารัตน์ ดีบุญรักษาดี สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Panrasri Sasinin Department of Fashion Design, Faculty of Decorative Arts ปัณรสี ศะศินิล ภาควิชาออกแบบเครื่องแต่งกาย คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Piyakan Chotipanit Department of Fashion Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University ปิยกานต์ โชติพานิช สาขาวิชาแฟชันดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Pongsapak Choawanasai Department of Fashion Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University พงศภัค เชาวนาสัย สาขาวิชาแฟชันดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Patchareeporn Piboonthanakite Department of visual arts design - fashion design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University พัชรีพร พิบูลชนเกียรติ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ /Pukkawat Rukieatchai Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ภัควัฒน์ หรูเกียรติไชย สาขาวิชาออกแบบแฟชั่นและ สิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Phanuwat Homhoon Program in Fashion and Textile Design, School of Fine and Applied Arts Bangkok University ภานุวัฒน์ หอมหุน สาขาวิชา ออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ / Sunyavit Duangumporn Department of Fashion Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University ศัลยวิทย์ ดวงอัมพร สาขาวิชาแฟชันดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Suttasinee Keawklan Faculty of Fine and Applied Arts, Program in Fashion Design Suan Sunandha Rajabhat University สุทธาสินี แก้วกลั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ สาขาวิชาการออกแบบเครื่องแต่งกาย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา / Athibodee Suwannachot Department of Fashion Design, Faculty of Arts and Design Rangsit University อธิบดี สุวรรณโชติ สาขาวิชาแฟชันดีไซน์ คณะศิลปะและการออกแบบ มหาวิทยาลัยรังสิต / Apirak Thongpiyaphoom Department of visual arts design-fashion design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University อภิรักษ์ ทองปิยะภูมิ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบแฟชั่น คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

JEWELRY DESIGN Ganniga Likitboonrueng Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University กรรณิกา ลิขิตบุญเรือง ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Jindawan Chongtuam Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University จินดาวรรณ


ช่องท้วม ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Chonticha Nakaghasien Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University ชลธิชา นาคะเกษียร สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Chawaroj Chawanawech Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University ชวรจน์ ชะวะนะเวช สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Chainarong Choomkaew Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University ชัยณรงค์ ชุมแก้ว สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครือ่ งประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Nutnicha Karnjanasoonthom Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University ณัฐณิชา กาญจนสุนทร ภาค วิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Nattawut Naraket Jewelry Design, Faculty of Gems Burapha University ณัฐวุฒิ นราเกตุ สาขาออกแบบเครื่องประดับ คณะอัญมณี มหาวิทยาลัยบูรพา / Thanyaporn Srima Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University ธัญพร ศรีมา สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ / Niracha อัครชัยพานิชย์ ภาควิชาออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Pornsiri Pornphapngam Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University พรศิริ พรภาพงาม สาขาวิชาการออกแบบ ทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Pitchayapa Petpiroon Department of Art, Music and Dance Education, Faculty of Education Chulalongkorn University พิชญาภา เพ็ชร์พิรุณ ภาควิชาศิลปะ ดนตรี และนาฎศิลป์ศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Puntira phatarakulmongkol Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University ภัณฑิรา ภัทรกุลมงคล สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ / Panuka Sroykham Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University ภาณุกา สร้อยคำ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Sasivimol Chaidaroon Department of Industrial design, Faculty of Architecture Chulalongkorn University ศศิวิมล ชัยดรุณ ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย / Sikarin Noonuan Program in Industrial Design, Faculty of Architecture King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang สิขรินทร์ หนูนวล ภาควิชาศิลปอุตสาหกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง / Sudtida Benchahiransak Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University สุดธิดา เบญจหิรัญศักดิ์ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการ ออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Suteera Meehokvong Jewelry Design, Faculty of Fine Arts Srinakharinwirot University สุธีรา มรหกวงศ์ สาขาวิชาการออกแบบทัศนศิลป์ วิชาเอกการออกแบบเครื่องประดับ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ / Supichya Singhasane Department of Jewelry Design, Faculty of Decorative Arts Silpakorn University สุพิชญา สิงหเสนี ภาควิชา ออกแบบเครื่องประดับ คณะมัณฑนศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร / Apichaya Jarasmanaskul Programs in Design, Thai Art Department, Faculty of Fine Arts Chiang Mai University อภิชญาน์ จรัสมนัสกุล สาขาวิชาการออกแบบ ภาควิชาศิลปะไทย คณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

















Degree ShowS Committee

Mongkon Ponganutree มงคล พงศ์อนุตรี Pratarn Teeratada ประธาน ธีระธาดา Pirak Anurakyawachon ภิรักษ์ อนุรักษ์เยาวชน Narong Othavorn ณรงค์ โอถาวร ProjeCt Co-orDinatorS

Rapee Chaimanee รพี ชัยมณี Pripada Wattanapanee ไปรผดา วัฒนปาณี Book eDitor

Rapee Chaimanee รพี ชัยมณี Book DeSignerS

Wilapa Kasviset วิลภา กาศวิเศษ Vanicha Srathongoil วณิชชา สระทองออย

Degree ShowS 2013 Published / Edited & Produced by art4d / Corporation 4d Printed by Focal Image Further details are available on www.degreeshows.org © Copyright 2O14 All rights reserved. No part of this publication may be reproduced or transmitted in any form or by any means, electronic, photocopying, recording, or otherwise, without the prior written permission of the copyright holder. While the Publisher has made every effort to publish full and correct credits for each piece included in this volume, error of omission or commission sometimes occur. For this, the Publisher is most regretful, but hereby disclaim any liability. Since this book is printed in four-color process, some of the images reproduced in it may appear slightly different from their original reproduction.






Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.