ผ้าและสิ่งทอลับแล
Lablae
textile and fabric
Radamanee Chimliang
เมืองลับแล ดินแดนแห่งปริศนาลี้ลับ มีม่านหมอกพิษเป็นกำ�แพง สรรพสิ่งภายในกลับตาลปัตร เมืองนี้นับถือผู้หญิงกีดกันผู้ชาย หญิงเป็นนายชายเป็นข้า มาลา คำ�จันทร์
เมืองลับแล เป็นเมืองเก่าใน ตำ � นานที่ เ ป็ น เรื่ อ งเล่ า สื บ กั น มาช้ า นาน ในบางท้องที่ว่ากันว่าเมืองลับแล ซุกซ่อนอยู่ในป่า บ้างว่าเป็นเมืองแม่ ม่ายพลเมืองมีแต่ผู้หญิง บ้างว่าคน เมืองนี้ถือศีลธรรมและวาจาสัตย์ ใน ตำ � นานนั้ น เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ เมื อ ง ลั บ แลในแต่ ล ะท้ อ งที่ มั ก จะมี สำ � นวน เล่าที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งเรื่องราว ความลึกลับเหล่านี้ถูกนำ�มาสร้างเป็น นิ ย ายเรื่ อ งดั ง บทประพั น ธ์ ข องมาลา คำ�จันทร์ นักเขียนรางวัลซีไรต์ ด้วย ความที่เป็นเรื่องเล่าพื้นบ้านที่คนไทย ส่วนใหญ่รู้จักกันดีแม้ว่าเมืองลับแล
ของแต่ละท้องถิ่นจะมีสำ�นวนผิดเพี้ยน และแตกต่างกันออกไป แต่ที่เหมือน กั น คื อ ความลึ ก ลั บ และความเป็ น มา อันเลือนรางราวกับเป็นเมืองที่ตั้งอยู่ ในม่านหมอก คล้ายจะแลเห็นเช่น เดียวกับชื่อ เมืองลับแล ซึ่งหมายถึงที่ ซึ่งมองดูไม่เห็นเป็นชื่อเมืองที่ตั้งตาม ลั ก ษณะภู มิ ป ระเทศที่ ลี้ ลั บ ซั บ ซ้ อ น เมื่ อ มองจากภายนอกเห็ น แต่ ป่ า เขา ไม่ค่อยพบเห็นบ้านเรือน ซึ่งความ ลึกลับเหล่านี้คือเสน่ห์ของเมืองลับแล ที่หลายคนอาจสงสัยว่าเมืองลับแลมี อยู่จริงหรือเป็นเพียงเรื่องเล่าปรัมปรา เท่านั้น
ล แ ั บ ล ง อ ื ม เ น ั บ ุ จ ในปัจ
ในปั จ จุ บั น ลั บ แลเป็ น อำ � เภอ หนึ่ ง ในจั ง หวั ด อุ ต รดิ ต ถ์ อ ยู่ ใ นเขต ภาคเหนื อ ตอนล่ า งที่ มี ค วามหลาก หลายของวัฒนธรรมที่ผสมผสานและ สืบทอดมาแต่โบราณจากการรวบรวม เอกสารประวั ติ ก ารสร้ า งเมื อ งลั บ แล และตำ�นานเมืองลับแลกล่าวว่าในสมัย
อาณาจักรโยนกเชียงแสนบรรพบุรุษ ดั้งเดิมรุ่นแรกของชาวลับแลเป็นชาว ไทยวนที่ อ พยพจากอาณาจั ก รโยนก เชียงแสนลงมาตั้งถิ่นฐานทำ�มาหากิน ในเขตท้ อ งที่ เ มื อ งลั บ แลก่ อ นที่ ค น ไทยจะสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยขึ้น
เนื่ อ งจากลั ก ษณะภู มิ อ ากาศ และภู มิ ป ระเทศของเมื อ งลั บ แลมี ความอุ ด มสมบู ร ณ์ เ หมาะสมต่ อ การตั้ ง ถิ่ น ฐานจึ ง ปรากฏว่ า ได้ มี ค น ไทจากหั ว เมื อ งในอาณาจั ก รล้ า น นาและอาณาจั ก รล้ า นช้ า งหรื อ นคร เวียงจันทน์อพยพและทยอยลงมาตั้ง ถิ่ น ฐานในเขตท้ อ งเมื อ งลั บ แลตั้ ง แต่ สมัยสุโขทัยและอยุธยาต่อมาจึงไดมี
การได้ จั ด สรรที่ ดิ นให้ ราษฎรที่ มี เ ชื้ อ สายมาจากอาณาจักรโยนกเชียงแสน ไปตั้ ง บ้ า นเรื อ นตั้ ง แต่ บ้ า นต้ น เกลื อ ตำ�บลแม่พูล บ้านท้องลับแล ตำ�บล ฝายหลวง ถึงบ้านคอกช้าง ตำ�บลศรี พนมมาศ ส่วนราษฎรที่มีเชื้อสายมา จากเวียงจันทร์ให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่ บ้านกระต่าย บ้านนาแต้ว และบ้านนา ทะเล ตำ�บลชัยจุมพล
วั ฒ นธรรมการทอผ้ า เป็ น วัฒนธรรมที่ถ่ายทอดกันมาช้านาน และกระจัดกระจายกันอยู่มาตั้งแต่ ดิ น แดนสิ บ สองปั น นาทางตอนใต้ ของจี น เรื่ อ ยลงมาตลอดพื้ น ที่ ใ น บริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ซึ่ง เป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งของชนก ลุ่ ม ไทยที่ มี ร่ ว มกั น สตรี ไ ท-ลาวได้ สร้ า งสรรค์ ผ้ า ทอพื้ น เมื อ งนานา ชนิดภายในครอบครัวสมาชิกฝ่าย หญิ ง จะรั บ ผิ ด ชอบด้ า นการผลิ ต เครื่ อ งนุ่ ม ห่ ม ของครอบครั ว นั บ ตั้งแต่ต้นคือเริ่มปลูกฝ้ายและหม่อน เพื่ อ เลี้ ย งตั ว ไหมจนถึ ง ทอเป็ น ผื น และตัดเย็บเป็นเสื้อผ้าเด็กหญิงชาว ไทจะเริ่มหัดทอผ้าตั้งแต่อายุ 6-7 ปีโดยเริ่มด้วยการทอลายง่ายๆเช่น ทอตีนซิ่นสำ�หรับผ้าซิ่นของตนเอง นอกจากนี้ผ้าทอยังมีบทบาทสำ�คัญ อีกในชีวิตตั้งแต่เกิด พิธีการสำ�คัญ ในระหว่างที่มีชีวิตอยู่แล้ว จนถึงใน พิธีกรรมเมื่อสิ้นชีวิตแล้ว
การทอผ้ า ของชาวอุ ต รดิ ต ถ์ นั้นเพื่อใช้สอยกันภายในครอบครัว มีรายละเอียดและรูปแบของผ้าทอ เมืองอุตรดิตถ์เป็นไปตามลักษณะ ของชาติ พั น ธุ์ เ ดิ ม ซึ่ ง ปั จ จุ บั น ได้ มี การผสมผสานกลมกลืนได้แก่กลุ่ม วัฒนธรรมไทยพื้นถิ่นมีสำ�เนียงการ พูดแบบคนสุโขทัย ส่วนใหญ่อาศัย อยู่ ใ นเขตลุ่ ม แม่ น้ำ � น่ า นบางส่ ว น ของอำ � เภอพิ ชั ย และบางส่ ว นของ อำ�เภอลับแล เขตอำ�เภอเมือง ส่วน กลุ่มวัฒนธรรมล้านนาจะอยู่ในเขต ตอนเหนือของอำ�เภอลับแล อำ�เภอ ท่าปลาและอำ�เภอทองแสนขันและ กลุ่มวัฒนธรรมล้านช้างแบบหลวง พระบางอยู่ใน อำ�เภอทองแสนขัน
และในบางหมู่บ้านของ อำ�เภอ ตรอน อำ�เภอพิชัย และอำ�เภอ ลับแล ซึ่งมีความ สัมพันธ์กับการ แต่งกายตามประเพณีพื้นถิ่นที่มีรูป แบบดั้งเดิมเป็นเอกลักษณ์ของโดย การสังเกตจากลวดลายสีสัน และ รูปแบบของผ้าทั้งหมอนหก หมอน มะแปบ ถุงกุลา ผ้าปกขันหมาก ผ้าห่มต่างๆหญิงสาวชาวลับแลแต่ เดิมนิยมมวยผมและเหน็บดอกไม้ สวมเสื่อเก๋งสีขาวหรือสีครามพาด ทับด้วยสไบ การนุ่งซิ่นหากอยู่เรือน จะนุ่งซิ่นผ้าฝ้าย เช่นซิ่นแหล้ ซิ่นซิ่ว ซิ่นต๋าแหล้ม ซิ่นไก หากไปนอกบ้าน อาจจะนุ่ ง ซิ่ น เช่ น ซิ่ น ลั บ แลงแดง ซิ่นมุก ซิ่นตีนจก นิยมใช้ในโอกาส พิเศษต่างๆเวลาอากาศหนาวชาว ลับแลอาจห่มด้วยผ้าห่มหัวเก็บ
สิ่ง
ล แ บ ั ทอล
สไบ เป็นผ้าที่สตรีใช้ห่มคลุม หรือพาดไหล่ทับจากเสื้อเก๋ง เสื้อเก๋ง เป็นเสื้อโบราณของ ชาวลั บแลปั จ จุ บันพบน้ อยมากไม่ มี การใส่ ใ นชี วิ ต ประจำ � วั น เฉกเช่ น ใน อดีต เสื้อเก๋งมีลักษณะที่ทอด้วยฝ้าย คอกลม ผ่าหน้า แขนกระบอก แต่ง ด้วยกระดุมเงินราบคอเสื้อ ลงมา จนถึงชายเสื้อ ด้านในมีสาบสีแดง ของผู้หญิงจะเว้าตรงเอว มีทั้งที่เป็นสี ฝ้ายธรรมชาติและแบบที่ย้อมด้วยสี คราม
หมอน
เป็นเครื่องอุปโภคที่ ใช้กันในทุกครัวเรือน ชาวลับแลนิยม ทอหน้ า หมอนและทำ � หมอนไว้ ใ ช้ ใ น ครอบครัวในยามที่ว่างเว้นการเกษตร นอกจากใช้ ห มอนหนุ น นอนในชี วิ ต ประจำ�วันแล้วยังใช้ถวายพระ ใช้ใน งานพิธีกรรมทางศาสนา
หมอนมะแปบหรื อ หมอนหน้ า เดียว มีลักษณะรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้วิธีการเย็บหมอนเป็นช่องใหญ่ช่อง เดี ย วด้ ว ยผ้ า ฝ้ า ยสี ข าวภายในจะยั ด ด้วยนุ่น มีหน้าเดียวมักนำ�ผ้าที่ทอด้วย เทคนิ ค การจกมาเย็ บ ติ ด หน้ า หมอน เพื่อความสวยงาม
หมอนหก มีลักษณะรูปทรง สี่เหลี่ยมผืนผ้า ใช้วิธีการเย็บหมอน เป็นช่องเล็กๆด้วยผ้าฝ้ายสีขาวตลอด ความยาวของหมอนภายในจะยั ด ด้วยนุ่นแล้วนำ�มาเย็บติดกัน 2 ช่อง 4 ช่อง และ 6 ช่อง เส้นยืนมักจะใช้ ฝ้ายสีแดงย้อมด้วยครั่ง เส้นพุ่งจะใช้ ไหมย้อมสีเขียวและสีเหลือง ซึ่งจะพบ มากและลายหน้าหมอนที่เป็นที่นิยม คื อ ลายนาคโดยลายหลั ก ที่ พ บมาก จะเป็นลายนาคและลายกลีบจันทร์ ตามลำ�ดับ ส่วนลายอื่นที่พบเช่น ลาย นก ลายเตย และลายขอต่างๆ ทั้งสี่ ขอ แปดขอ สิบสิบขอ
ผ้าซิ่น เป็นผ้านุ่งของสตรี มี
ลักษณะที่แตกต่างกันไปตามท้องถิ่น ทั้งขนาด การนุ่ง และลวดลายบนผืน ผ้า ซิ่นที่ใส่ในชีวิตประจำ�วันที่มักจะ ทอด้วยฝ้ายหากในโอกาสพิเศษจะใส่ ซิ่นที่มีลวดลายสวยงามทอจากไหม ซิ่นไก เป็นซิ่นที่มีองค์ประกอบ เช่นเดียวกับซิ่นซิ่วแต่มีสีเข้มเช่นสีดำ� หรือสีน้ำ�เงินแต่เปลี่ยนตัวใช้เทคนิค ไกคือการใช้ฝ้ายหรือไหม 2 สีปั่น ควบกันเป็นเส้นเดียว เรียกอีกอย่าง ว่าหางกระรอก ซิ่นไกแบบโบราณมัก
ซิ่นซิ่ว เป็นซิ่นที่ทอสำ�หรับนุ่ง ทำ�งานอยู่กับบ้าน ตีนซิ่นเป็นผ้าพื้น สีดำ� ตัวซิ่นเป็นพื้นสีเขียว จะจกลาย ประกอบระหว่ า งรอยต่ อ ตี น กั บ ตั ว และตัวกับหัวซิ่น ซิ่นซิ่วจะเป็นซิ่นที่ ทอลักษณะเดียวกับซิ่นไก แต่เปลี่ยน เป็นใช้ด้ายสีซิ่ว (สีเขียว) ทอคั่นด้วย เส้นสีดำ�เป็นตาๆ ส่วนหัวซิ่นและตีน ซิ่ น จะทออย่ า งเดี ย วกั น ทุ ก ประการ ซิ่นซิ่วเป็นซิ่นที่ใช้เรียกกันโดยทั่วไป ของชาวลั บ แลและชาวหาดเสี้ ย ว อำ�เภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย
ซิ่นลับแลง เป็นซิ่นที่ทอเป็นตา ขนาดเท่าๆ กันจำ�นวน 5-6 ตา แต่ละ ตาจะมีเส้นขาวคั่นระหว่างกลางตา ที่ 3 จะมีเส้นสีเหลืองคั่นอยู่ตลอดใน 1ตาใหญ่ จ ะมี เ ส้ น สี ดำ � หนาคั่ น เป็ น ระยะ ๆ จำ�นวน 5 เส้น เส้นที่ 6 จะ ใหญ่เป็น 2 เท่าหรือ 2 เท่าครึ่งของ เส้นสีดำ� เป็นการทอฝ้ายและมีเส้น ไกแซมเป็นเส้นเล็กๆ ซิ่นลับแลงหรือ ซิ่นลับแลที่เรียกกันตามท้องถิ่นนั้น มักจะมีพื้นสีแดงหรือสีแดงเข้ม(ก่ำ�) เป็นเอกลักษณ์ของซิ่นอำ�เภอลับแล
ซิ่นมุก เป็นซิ่นที่มีการยกดอก เป็นลายเล็กๆ รูปแปดเหลี่ยม เป็น แนวขวางพาดบนตัวซิ่นคือจะทอด้วย องค์ประกอบเดียวกับซิ่นซิ่ว ซิ่นแล้ หรือซิ่นต๋าเหล้มเพียงแต่เปลี่ยนลาย ริ้วเป็นลายมุกซึ่งเป็นลายที่เกิดจาก การทอจะมีลักษณะเป็นลายดอกแก้ว บางครั้งตัวซิ่นเป็นมุกส่วนตีนซิ่นจะ ต่อด้วยตีนจก ซึ่งผ้าซิ่นมุกต่อตีนจกนี้ จะนิยมนุ่งไปในงานสำ�คัญต่าง
ซิ่นตีนจก เป็นซิ่นที่มีลักษณ์โดด เด่นตรงบริเวณตีนซิ่น ซึ่งซิ่นตีนจก ของอำ�เภอลับเเล มักจะทำ�ไปหัวซิ่น สีเเดงเเละสีขาวเช่นเดียวกับไทยวน ราชบุรีตัวซิ่นนิยมเป็นมุกทั้งสีดำ�หรือ สีเขียวเข้ม ส่วนตีนซิ่นนิยมจกเต็ม พื้นที่ตลอดทั้งผืนซึ่ง ต่างจากซิ่นไทย วนอื่นๆทั้งซิ่นเชียงใหม่ ลำ�ปาง เมือง ลอง ที่จะนิยมจกเพียง 50-75% ของตี น ซิ่ น เท่ า นั้ น ซิ่ น ตี น จกของลั บ แลนิยมสีเอกรงค์ คือสีเขียวและสี เหลือง ทอด้วยฝ้ายจกไหมและมีแบบ ที่เป็นจกผสมสีคือใช้สีนอกเหนือจาก สีเหลืองและสีเขียว
ผ้าห่ม
เป็นผ้าห่มคลุมเวลา ออกนอกบ้านหรือห่มไปวัดหรืองาน พิธี เป็นผ้าฝ้ายค่อนข้างหนาทอด้วย หู ก หน้ า แคบจึ ง ต้ อ งใช้ ส องผื น ผนึ ก ต่อกันตรงกลาง มีทั้งแบบที่จกเป็น ลายเก็บและไม่มีลายเก็บ มักทำ�เป็น เชิงครุย ปล่อยเส้นด้ายเป็นเกลียวไว้ ผ้าห่มนอกจากจะใช้ห่มคลุมร่างกาย เพี่ อ ความอบอุ่ น แล้ ว ยั ง สามารถใช้ ปูฟูกหรือที่นอนแทนผ้าหลบและใช้ มัดเป็นเปลให้ลูกน้อยนอนเรียกว่าใช้ งานได้หลากหลาย
ผ้าห่มแต๊บ คล้ายผ้าห่มหัว เก็บเพียงแต่ไม่มีลายเก็บ นิยมทอ ลายสอง หรือลายสาม บางพื้นที่ เรียกตามลายทอ ว่า ผ้าห่มลายสอง หรือ ผ้าห่มลายสาม ซึ่งของลับแลจะ นิยมพื้นสีขาวต่างจากของหาดเสี้ยวที่ จะนิยมสีแดงและสีดำ�
ผ้าห่มหัวเก็บ ใช้ห่มในฤดูหนาว หรือช่วงอากาศเย็น ตัวผ้าห่มทอด้วย ฝ้ายขาวเป็นดอกนูนลายสองหรือย่ำ� สี่ตลอดผืน มีเครือคั่นเป็นระยะ ห้าริ้ว ระหว่างชายกับเครือจะพุ่งด้วยเครือ เหลือง หนึ่งริ้ว ตรงมุมผ้าหรือหัวจะ เก็บลาย นำ�สองผืนมาเพลาะรวม กันเป็นผืนใหญ่ ปล่อยชายครุยให้ สวยงาม บางครั้ง ก็มีการติดเม็ดเงิน หรือ เลื่อม ที่ลายเก็บให้ดูสวยงามขึ้น
ผ้าปกขันหมาก คือ ผ้าที่ใช้ใน พิ ธี ก รรมทางศาสนาเช่ น งานบวช สำ�หรับวางบนพานหมากพูล และ เครื่องสักการะต่างๆมีรูปแบบลักษณะ คล้ายผ้าเช็ดมีการจกลายที่ปลายทั้ ง สองด้านและมักทำ�เป็นเชิงครุย
ถุงกุลา เป็นถุงย่ามที่ทอขึ้นจาก ฝ้ า ยแซมไกไหมตกแต่ ง ด้ ว ยการจก ลายและติ ด เลื่ อ มแว่ น นำ � มาตั ด เย็ บ เป็นถุงสำ�หรับใช้ใส่สิ่งของสำ�หรับพก ติดตัวนิยมสะพายไปนอกบ้าน
์ ก า ร แ ต่ ง ก า ย จะมีสีโทนเดียวกันมากกว่าเช่นในเชิง ณ ษ ัก ล ก ข อ ง ช า ว ลั บ แ ล ใ น หนึ่งๆ มักมีสีเหลืองเป็นตัวนำ�ส่วน อ เ ล แ บ ั ล อ อดีตสามารถบ่งบอก ด้ า ยสี อื่ น ๆที่ นำ � มาประกอบกั น ก็ จ ะ ผ้าท ถึ ง กลุ่ ม ชนดั้ ง เดิ ม ที่ เ ข้ า มาอาศั ย อยู่ ที่ อำ�เภอลับแลนั่นคือชาวไทยวน หญิง สาวชาวลับแลแต่เดิมนิยมมวยผมและ เหน็บดอกไม้เช่นเดียวกับสตรีชาวไท เครื่องแต่งกายนั้นจะสวมเสื่อเก๋งสีขาว หรือสีครามพาดทับด้วยสไบ การนุ่ง ซิ่ น หากอยู่ เ รื อ นจะนุ่ ง ซิ่ น ผ้ า ฝ้ า ยเพื่ อ สะดวกต่อการลุกนั่ง สะดวกสบายใน การทำ�ครัวหรือทำ�งานบ้านต่างๆซิ่น มักมีสีเข้มเช่นซิ่นแหล้ ซิ่นซิ่ว ซิ่นต๋าแห ล้ม ซิ่นไก หากไปนอกบ้านอาจจะนุ่ง ซิ่นที่มีสีสันมากขึ้นเช่นซิ่นลับแลงแดง ซิ่นมุกเหลือง ซิ่นมุกเขียว แต่เมื่อครั้ง งานบุญต่างๆเช่นวันพระ ไปทำ�บุญที่ วัด อาจจะนุ่งซิ่นตีนจก ซึ่งนิยมใช้ใน โอกาสพิเศษต่างๆเช่นงานบวช งาน ขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน หรืออื่นๆซึ่ง ผ้าซิ่นตีนจกของลับแล เป็นที่มีชื่อเสียง และมี รู ป แบบที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ ตี น ซิ่นนิยมจกด้านหน้าแบบเดียวกับหาด เสี้ยวเต็มพื้นที่ตลอดทั้งผืนโทนจะต่าง จากจกหาดเสี้ยวตรงที่จกลับแลออก
เป็นสีน้ำ�ตาลเข้มกับแดงเข้มหรือเขียว สองสามสีเท่านั้นในขณะที่ซิ่นตีนจก ราชบุรีจะออกเป็นสีแดงแต่จกลับแล เป็นสีเหลือง ส่วนตัวซิ่นมักเป็นเขียว หรือดำ� นิยมเป็นซิ่นมุก เมื่อเวลา อากาศหนาวสตรี ช าวลั บ แลอาจห่ ม ด้ ว ยผ้ า ห่ ม หั ว เก็ บ แทนการห่ ม สไบ เนื่องจากการทอฝ้ายด้วยเทคนิคทอ เป็นลายสอง สายสามหรือยกสี่ตะกอ นั้ น ทำ � ให้ ผ้ า มี ค วามหนาเป็ น พิ เ ศษ เพิ่ ม ความอบอุ่ น ให้ แ ก่ ผู้ ห่ ม คลุ ม ได การแต่ ง กายของชาวลั บ แลในอดี ต สามารถบ่ ง บอกถึ ง กลุ่ ม ชนดั้ ง เดิ ม ที่ เข้ามาอาศัยอยู่ที่อำ�เภอลับแลนั่นคือ ชาวไทยวน หญิงสาวชาวลับแลแต่ เดิมนิยมมวยผมและเหน็บดอกไม้เช่น เดียวกับสตรีชาวไท
เครื่ อ งแต่ ง กายนั้ น จะสวมเสื่ อ เก๋งสีขาวหรือสีครามพาดทับด้วยสไบ การนุ่ ง ซิ่ น หากอยู่ เ รื อ นจะนุ่ ง ซิ่ น ผ้ า ฝ้ายเพื่อสะดวกต่อการลุกนั่ง สะดวก สบายในการทำ�ครัวหรือทำ�งานบ้าน ต่างๆซิ่นมักมีสีเข้มเช่นซิ่นแหล้ ซิ่นซิ่ว ซิ่นต๋าแหล้ม ซิ่นไก หากไปนอกบ้าน อาจจะนุ่ ง ซิ่ น ที่ มี สี สั น มากขึ้ น เช่ น ซิ่ น ลับแลงแดง ซิ่นมุกเหลือง ซิ่นมุกเขียว แต่เ มื่อ ครั้งงานบุญต่างๆเช่นวันพระ ไปทำ�บุญที่วัด อาจจะนุ่งซิ่นตีนจก ซึ่ง นิยมใช้ในโอกาสพิเศษต่างๆเช่นงาน บวช งานขึ้นบ้านใหม่ งานแต่งงาน หรื อ อื่ น ๆซึ่ ง ผ้ า ซิ่ น ตี น จกของลั บ แล เป็ น ที่ มี ชื่ อ เสี ย งและมี รู ป แบบที่ เ ป็ น เอกลั ก ษณ์ ที่ ตี น ซิ่ น นิ ย มจกด้ า นหน้ า แบบเดียวกับหาดเสี้ยวเต็มพื้นที่ตลอด ทั้งผืนโทนจะต่างจากจกหาดเสี้ยวตรง ที่จกลับแลออก
เช่นในเชิงหนึ่งๆ มักมีสีเหลืองเป็น ตัวนำ�ส่วนด้ายสีอื่นๆที่นำ�มาประกอบ กั น ก็ จ ะเป็ น สี น้ำ � ตาลเข้ ม กั บ แดงเข้ ม หรื อเขี ยวสองสามสี เ ท่ า นั้ นในขณะที่ ซิ่นตีนจกราชบุรีจะออกเป็นสีแดงแต่ จกลับแลเป็นสีเหลือง ส่วนตัวซิ่นมัก เป็นเขียวหรือดำ� นิยมเป็นซิ่นมุก เมื่อ เวลาอากาศหนาวสตรีชาวลับแลอาจ ห่มด้วยผ้าห่มหัวเก็บแทนการห่มสไบ เนื่ อ งจากการทอฝ้ า ยด้ ว ยเทคนิ ค ทอ เป็นลายสอง สายสามหรือยกสี่ตะกอ นั้นทำ�ให้ผ้ามีความหนาเป็นพิเศษเพิ่ม ความอบอุ่นให้แก่ผู้ห่มคลุมได้ ผ้าห่ม หัวเก็บนิยมใช้พื้นสีขาวแซมสีน้ำ�ตาล หรือสีเทาเป็นลายริ้วต่างจากของหาด เสี้ ย วที่ นิ ย มสี ดำ � หรื อ สี แ ดงที่ เ รี ย กว่ า ผ้าห่มแซงแดงและผ้าห่มลายดี ส่วน ปลายด้ า นหนึ่ ง จะมี ก ารจกเป็ น ลาย นาค ลายก่องข้าว ลายดอกพิกุล ลาย ไทรย้อย ฯลฯ เรียกว่าการเก็บลาย
จึงทำ�ให้เรียกผ้าห่มที่มีลายแบบนี้ว่า ผ้าห่มหัวเก็บส่วนผ้าห่มที่ไม่มีลายเก็บ จะเรียกว่าผ้าห่มแต๊บ ผ้าห่มลายสอง ผ้าห่มลายสาม ซึ่งมีลักษณะคล้ายๆ กันแต่ต่างกันที่เทคนิคการทอและชื่อ เรียกต่างกันตามท้องถิ่น ชาวลับแล ทั้งชายและหญิงนิยมสะพายถุงย่ามที่ เรียกว่าถุงกุลา เวลาไปนอกบ้าน ไป วัด หรือไปงานบุญต่างๆส่วนการทำ� หมอนนั้นสตรีชาวลับแลจะนิยมทำ�ขึ้น ใช้ในครัวเรือนนิยมตกแต่งหมอนด้วย การจกหน้าหมอนทั้งหมอนหน้าเดียว หมอนสี่ หมอนหก หมอนป่อง แต่ที่ พบมากมักจะเป็นหมอนหกที่มีใช้กัน พบมากมักจะเป็นหมอนหกที่มีใช้กัน ทุ ก ครั ว เรื อ นส่ ว นมากจะทำ � ไว้ ใ ช้ เ อง มิใช่เพื่อการซื้อขายเนื่องจากประชากร ส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจึงทอผ้า ทำ�หมอนและเครื่องใช้อื่นๆขึ้นเองโดย ไม่ต้องเสียเงินซื้อ
ลวดลายต่ า งๆที่ ป รากฏในผ้ า ทอ ลับแลส่วนใหญ่จะอยู่ในรูปแบบเรา ขาคณิ ต มี ก ารพั ฒ นาและดั ด แปลง จากสิ่งที่พบเห็นในชีวิตประจำ�วันเช่น ลายสี่ขอ ลายแปดขอ ลายดอกจันทร์ ลายเตย ลายพาน ลายดอกพิกุล ส่วนลายที่เกิดจากจินตนาการหรือ เรื่องเล่าสืบต่อกันมา เช่นลายนาค ลายม้า ลายนกหรือลายหงส์ เป็น ลายที่มักเกี่ยวกับความเชื่อทางของ บรรพบุรุษและความเชื่อทางศาสนา ซึ่งวิธีการทอจะยากง่ายต่างกันไปขึ้น อยู่กับความชำ�นาญของช่างทอที่ประ ประดิ ษ ฐ์ ล วดลายที่ พ บเห็ น ในชี วิ ต ประจำ � วั น มาทอเล่ า เรื่ อ งราวลงบน ผื น ผ้ า เป็ น ลวดลายที่ สื บ ทอดกั น มา แต่ โ บราณที่ อ บรมสั่ ง สอนถ่ า ยทอด องค์ความรู้จากรุ่นสู่รุ่น
เหล่ า นี้ เ ป็ น สิ่ ง บ่ ง บอกความ เป็นไทยวนและลาวเวียงจันทน์ของ ชาวลับแลได้ดี แสดงออกในงานผ้า ทอซึ่งเป็นมรดกร่วมทางวัฒนธรรม ที่ มี ค วามสั ม พั น ธ์ กั น ทั้ ง อิ ท ธิ พ ล ที่ ส่ ง ต่ อ หรื อ แม้ แ ต่ รู ป แบบที่ ต่ า ง กัน ดังนั้นผ้าทอลับแลจึงเป็นการ ผสมผสานวั ฒ นธรรมทั้ ง สองเข้ า ไว้ ด้ ว ยกั น เพราะความหลากหลาย ของวั ฒ นธรรมทำ � ให้ ไ ม่ อ าจรั ก ษา รู ปแบบดั้ ง เดิ มของขนบธรรมเนี ย ม ประเพณีของตนไว้ได้ การผสมผสาน กลมกลื น ทางวั ฒ นธรรมจึ ง เกิ ด ขึ้ น เป็นเอกลักษณ์ของชาวลับแลในที่สุด