4. PPT ผศ.นฤมล

Page 1

วิจัยเรื่อง การวิเคราะหตัวแปรจําแนกกลุมนักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงและต่ํา

A Discriminant Analysis of Students in School of Business Administration, Bangkok University with High and Low Academic Achievement. โดย

ผศ. นฤมล ธนการพาณิช

1


 โลกในยุคคริสตศตวรรษที่

21 เปนยุคของการแขงขันและ พัฒนาในดานตาง ๆ เชน การเมือง เศรษฐกิจและสังคม สิง่ หนึ่งที่เปนปจจัยสําคัญของการพัฒนา คือ มนุษย ซึ่งมนุษย เปนทรัพยากรที่สําคัญทีส่ ุดของชาติที่จะขับเคลื่อนสังคมโลก ใหมีความเจริญกาวหนา โดยอาศัยเครื่องมือที่ดที ี่สุด คือ การศึกษา เพราะการศึกษาเปนปจจัยสําคัญที่ทําใหสังคม ประเทศชาติมีความกาวหนาและพัฒนาในรูปแบบตาง ๆ ดังนั้น การจัดการศึกษาจําเปนตองเนนถึงองคประกอบที่ สงเสริมและสนับสนุนคุณภาพของการศึกษา ซึ่งองคประกอบ ที่สําคัญมากประการหนึ่ง คือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ นักศึกษา

 2


บทนํา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนผลการเรียนซึ่งเปนตัวกําหนด ผลสําเร็จทางการเรียน ในกรณีผูที่สําเร็จการศึกษาตามเกณฑที่กําหนดดวย คะแนนผลการเรียนตั้งแตระดับปานกลางถึงระดับสูง ยอมไมเกิดปญหาความ ลาชาของเวลาการศึกษาใหครบตามหลักสูตร และปญหาการสูญเปลาจากการ ลงทุนดานการศึกษาเนื่องจากถูกใหออกจากมหาวิทยาลัยกลางคัน โดย ผูสําเร็จการศึกษาสามารถนําผลการเรียนไปเปนหลักฐานสําคัญและรับรองการ มีความรูในการประกอบอาชีพ หรือสามารถศึกษาในขั้นสูงตอไป ซึ่งปญหาที่ กลาวขางตนอาจจะเกิดขึ้นกับผูที่มีคะแนนผลการเรียนต่ํา หรือมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่าํ ดวยปจจัยที่เกี่ยวของกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่แตกตางกัน ดังนั้น จึงควรศึกษาใหทราบถึงปจจัยพื้นฐานที่จําแนกนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงและต่ํา และนําผลการศึกษาไปพัฒนาหลักสูตร ตํารา วิธีการเรียนการสอนตอไป ซึ่งมีผลโดยตรงตอการพัฒนามนุษยใหไดตรงที่ สุด เปนผลใหการพัฒนาประเทศไดอยางมีประสิทธิภาพและเต็มศักยภาพ

3


4


พัฒนามนุษยเพื่อการพัฒนาในดานอื่นตอไป ผูวิจัยจึงได ทําการศึกษา การวิเคราะหตัวแปรจําแนกกลุมนักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง และต่ํา โดยเนนที่ตัวแปรดานนักศึกษา ไดแก พฤติกรรมการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการเรียนของผูเรียน และความมีวินัย ในตนเองของผูเรียน และคาดวาตัวแปรทั้ง 4 ตัวแปร นาจะเปนตัว แปรที่จําแนกนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงและต่ํา เพื่อ ประโยชนในดานการปรับปรุงการเรียนการสอนตอไป

5


1. เพื่อวิเคราะหตัวแปรที่สามารถจําแนกกลุมนักศึกษาคณะ บริหารธุรกิจ 2. เพื่อคนหาตัวแปรที่ดีในการจําแนกกลุมนักศึกษาคณะ

บริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่มีผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนสูงและต่ํา

3. เพื่อสรางสมการจําแนกกลุมนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและ ต่ํา 6


1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนเฉลี่ยสะสม ตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ปการศึกษา 2553 ถึงภาค การศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2553 2. นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปที่ 2 ปการศึกษา 2554 3. นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง หมายถึง นักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพชั้นปที่ 2 ปการศึกษา 2554 ที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 7


4. นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา หมายถึง นักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพชั้นปที่ 2 ป การศึกษา 2554 ที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวาหรือเทากับ 2.00

5. พฤติกรรมการเรียน หมายถึง การกระทําของนักศึกษา

ที่เกี่ยวของกับการมาเรียน การเตรียมตัวในการเรียน วิธีการเรียน การรวมมือในการทํากิจกรรม และการฝก ปฏิบัติงาน 6. แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ หมายถึง แรงกระตุนที่ทําใหนักศึกษามี ความมุงมั่น ความพยายาม และความรับผิดชอบ เพื่อประสบ ผลสําเร็จในการเรียนตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว 8


7. เจตคติตอการเรียนของผูเรียน หมายถึง ความรูสึก หรือความคิดของผูเรียนตอการเรียน ซึ่งแสดงออกเปนพฤติกรรม ในลักษณะชอบ หรือไมชอบ อาจจะเห็นดวยหรือไมเห็นดวย ซึ่ง คาดวาเปนตัวกําหนดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 8. ความมีวินัยในตนเองของผูเรียน หมายถึง การปฏิบัติตนเอง ของนักศึกษา โดยเนนเรื่องของการบังคับใหปฏิบัติตามระเบียบ ของมหาวิทยาลัย การตรงตอเวลา แตงกายถูกระเบียบ ตั้งใจ เรียน เปนผลใหเปนผูที่มีความรับผิดชอบสูง บริหารจัดการ ชีวิตไดอยางเหมาะสม 9


9. การวิเคราะหจําแนก เปนเทคนิคทางสถิติสําหรับจําแนก ความแตกตางระหวางหนวยที่นํามาวิเคราะหวาควรจะอยูใน กลุมใด ของกลุมที่แบงออกเปน 2 กลุมหรือมากกวา โดยตัว แปรที่นํามาศึกษาสามารถอธิบายความแตกตางของหนวย วิเคราะหที่อยูตางกลุมกัน พรอมทั้งสามารถสรางสมการเพื่อ พยากรณหนวยวิเคราะหใด ๆ วาควรจะอยูในกลุมใด

10


1. ประชากรและกลุมตัวอยาง

การวิจัยครั้งนี้มีประชากรในการวิจัยเปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปที่ 2 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่ ลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาที่ 1/2554 มีกลุมตัวอยางเปน นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปที่ 2 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพที่สุมมา จากการใชวิธีการสุมแบบกลุม (Cluster Sampling) ไดจํานวนนักศึกษาที่เปนตัวอยางทั้งสิ้น 960 คน คัดแบงเปน 2 กลุมจากจํานวนนักศึกษา 338 คน คือ กลุม นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแต 2.75 – 4.00 จํานวน 155 คน และกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ํา มีคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ํากวาหรือเทากับ 2.00 จํานวน 183 คน 11


ประกอบดวย ตัวแปรเกี่ยวกับขอมูลทั่วไป ไดแก เพศ ภูมิลําเนา (จังหวัดและภาค) ผลการเรียนในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่พัก ขณะศึกษาในปจจุบัน อาชีพของบิดา และรายไดรวมของครอบครัว ตอเดือน ตัวแปรตนซึ่งเปนตัวแปรจําแนก ประกอบดวย พฤติกรรมการเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เจตคติตอการเรียนของ ผูเรียน และความมีวินัยในตนเองของผูเ รียน และตัวแปรตามซึ่ง เปนตัวแปรจัดกลุม ไดแก ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนซึ่งแบงเปน 2 ระดับคือ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่ํา 12


วิธีดําเนินวิจยั 1. เครื่องมือการวิจัย ประกอบดวยแบบสอบถาม 2 สวน

โดยที่สวนที่ 1 เปนแบบสํารวจขอมูลทั่วไป และสวนที่ 2 เปนแบบวัดความ คิดเห็นของนักศึกษาในดานตาง ๆ 4 ดาน มีรายละเอียดดังนี้

สวนที่ 1 แบบสํารวจขอมูลทั่วไป ไดแก เพศ ภูมิลําเนา (จังหวัดและภาค) ผลการเรียนในระดับ มัธยมศึกษาตอนปลาย ระดับเกรดเฉลี่ยสะสมของ นักศึกษาในขณะนี้ ที่พักขณะศึกษาในปจจุบัน อาชีพ ของบิดา และรายไดรวมของครอบครัวตอเดือน

13


วิธีดําเนินวิจัย

1. เครื่องมือการวิจยั  

สวนที่ 2 แบบวัดความคิดเห็นของนักศึกษาในดานตาง ๆ 4 ดาน ที่ไดรับการพิจารณาจากผูทรงคุณวุฒิ คือ

ดานที่ 1 เปนแบบวัดความคิดเห็นดานพฤติกรรมการเรียน เปนแบบมาตรประมาณ คา 5 ระดับ ดานที่ 2 เปนแบบวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ เปนแบบมาตร ประมาณคา 5 ระดับ ดานที่ 3 เปนแบบวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับเจตคติตอการเรียนของผูเรียน เปนแบบ มาตรประมาณคา 5 ระดับ ดานที่ 4 เปนแบบวัดความคิดเห็นเกี่ยวกับความมีวินัยในตนเองของผูเรียน เปนแบบ มาตรประมาณคา 5 ระดับ 14


วิธีดําเนินวิจัย

15


วิธีดําเนินวิจัย 

ผูว ิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลในเดือนสิงหาคม – กันยายน 2554 จากกลุมตัวอยางที่เปนนักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคปกติ ชั้นปที่ 2 คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จํานวนทั้งสิ้น 338 คน คัดแบงเปน 2 กลุม คือ กลุมทีม่ ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง คือกลุมนักศึกษาที่มีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ป การศึกษา 2553 ถึงภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2553 ตั้งแต 2.75 – 4.00 จํานวน 155 คน และกลุมทีม่ ีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนต่ํา คือ กลุมนักศึกษาทีม่ ีคะแนนเฉลี่ยสะสมตั้งแตภาคการศึกษาที่ 1 ป การศึกษา 2553 ถึงภาคการศึกษาที่ 2 ปการศึกษา 2553 ต่ํากวา หรือเทากับ 2.00 จํานวน 183 คน 16


วิธีดําเนินวิจัย

17


วิธีดําเนินวิจัย การวิเคราะหขอมูลทางสถิติดวยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ เพื่อวิเคราะห 1. หาตัวแปรที่เกี่ยวกับความคิดเห็นของนักศึกษาดาน พฤติกรรมการเรียน ดานแรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ดานเจตคติตอ การเรียนของผูเรียน และดานความมีวินัยในตนเองของผูเรียน เพื่อจําแนกกลุมนักศึกษาทีม่ ีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและ ต่ํา โดยการวิเคราะหจําแนก (Discriminant Analysis) แบบ ขั้นตอน (Stepwise) โดยวิธี วิลค แลมปดา นําเสนอในรูปของ ตารางแสดงสมการจําแนก

18


วิธีดําเนินวิจัย 3. การวิเคราะหขอมูล (ตอ)

19


ตัวแปร พฤติกรรมการเรียน เจตคติตอการเรียนของผูเรียน แรงจูงใจใฝสัมฤทธิ์ ความมีวินัยในตนเองของผูเรียน

คา Wilk’s Lambda 0.494 0.698 0.859 0.931

Sig. 0.000** 0.000** 0.000** 0.000**

20


21


2. ตัวแปรที่ดีในการจําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการ เรียนสูงและต่ํา แสดงดวยตารางที่ 2 และ 3 ดังนี้

ตัวแปร พฤติกรรมการเรียน เจตคติตอการเรียนของผูเรียน (คาคงที่)

สัมประสิทธิค์ าโนนิคอล 1.788 1.355 -10.050

22


 จากตารางที่ 2

ผลการวิเคราะหตัวแปรที่ดีที่สามารถจําแนกกลุม นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงและต่ํา ไดอยางมี นัยสําคัญทางสถิตทิ ี่ระดับ 0.01 มี 2 ตัวแปร ไดแก พฤติกรรม การเรียน และเจตคติตอการเรียนของผูเรียน และสามารถสราง สมการจําแนกกลุมแสดงในรูปของคะแนนดิบไดดังนี้คือ Y = -10.050 + 1.788 (พฤติกรรมการเรียน) + 1.355 (เจต คติตอการเรียนของผูเรียน)

23


ลําดับ

ตัวแปร

สัมประสิทธิค์ าโนนิคอล

1

พฤติกรรมการเรียน

0.832

2

เจตคติตอการเรียนของผูเรียน

0.519

จากตารางที่ 3 พบวา พฤติกรรมการเรียนเปนตัวแปรจําแนกกลุม นักศึกษาที่มีความสําคัญมากที่สุดหรือดีที่สุด และรองลงมาคือ เจตคติตอ การเรียนของผูเรียน ซึ่งสามารถสรางสรางสมการจําแนกกลุมแสดงในรูป ของคะแนนมาตรฐานไดดังนี้คือ

Z = 0.832 (พฤติกรรมการเรียน) + 0.519 (เจตคติตอการ เรียนของผูเรียน)

24


ตารางที่ 4: การประเมินสมการจําแนกประเภทของกลุมนักศึกษาที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ํา

Function

Eigen value

1

1.403

Percent of Cumulative Canonical Wilk’s Chi- df Sig. Variance Percent Correlation Lambda Square

100.0

100.0

0.764

0.416 290.245 2 0.000

ตารางที่ 4 เมื่อพิจารณาจากสหสัมพันธคาโนนิคอล (Canonical Correlation) ซึ่งมีคาสูงเทากับ 0.764 แสดงวาสมการดังกลาวมีอํานาจในการจําแนกกลุมสูง และ สอดคลองกับคาวิลค แลมบดา (Wilk’s Lambda) ซึ่งมีคาต่ําเทากับ 0.416 25 ดังนั้น จึงกลาวไดวา สมการดังกลาวมีอํานาจในการจําแนกกลุมไดดี


พยากรณ

กลุม

จริง

นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง (จํานวน) (รอยละ) นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา (จํานวน) (รอยละ)

154

กลุมสูง 138

182

(89.6) 22

(10.4) 160

(12.1)

(87.9)

กลุมต่ํา 16

รอยละของจํานวนทีพ่ ยากรณไดถูกตองเทากับ 88.8 26


จากตารางที่ 5 พบวา จากกลุมจริงของนักศึกษาที่ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง 154 คน ผลการพยากรณไดนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูง 138 คน คิดเปนรอยละ 89.6 และนักศึกษาที่มี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา (ซึ่งไมตรงกับความจริง) 16 คน คิดเปน รอยละ 10.4 สวนกลุมจริงของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา 182 คน ผลการพยากรณไดนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ํา 160 คน คิด เปนรอยละ 87.9 และนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง (ซึ่งไมตรง กับความจริง) 22 คน คิดเปนรอยละ 12.1 ดังนั้นตัวแปรทั้ง 4 ตัวแปร รวมกันสามารถจําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ํา ไดรอยละ 88.8 27


จากผลการวิจัย ดังนี้ 1. ตัวแปรที่สามารถอธิบายความแตกตางระหวางกลุม นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงและต่ํา ไดแก พฤติกรรมการเรียน แรงจูงใจใฝสมั ฤทธิ์ เจตคติตอการเรียน ของผูเรียน และความมีวินัยในตนเองของผูเรียน และสมการ จําแนกกลุมที่ไดสามารถจําแนกกลุมนักศึกษาไดถูกตองรอย ละ 88.8 28


2. ผลจากการวิเคราะหจําแนกกลุมแบบขั้นตอน พบวา ตัว แปร 2 ตัวแปรคือพฤติกรรมการเรียน และ เจตคติตอการเรียน ของผูเรียน เปนตัวแปรทีด่ ีที่มีความสําคัญมากที่สดุ และรองลงมา ตามลําดับ ที่จําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง และต่ํา และสมการจําแนกกลุมที่ไดสามารถจําแนกกลุม นักศึกษาไดถูกตองรอยละ 88.8 โดยเปนกลุมนักศึกษาที่มี ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูงไดถูกตองรอยละ 89.6 และกลุม นักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนต่ําไดถูกตองรอยละ 87.9 29


เมื่อพิจารณาตัวแปรจําแนกกลุมที่ดี พบวา ตัวแปร พฤติกรรม การเรียน ซึ่งสามารถจําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนสูงและต่ําไดดีที่สุด เชน พฤติกรรมตาง ๆ เหลานี้ คือ นักศึกษาอานบทเรียนลวงหนา นักศึกษาจดบันทึกทุกครั้งขณะ เรียน นักศึกษาถามอาจารยผูสอนทันทีเมื่อมีขอสงสัย นักศึกษา มีสมาธิและจิตใจจดจอขณะเรียน นักศึกษามีสวนรวมในการแสดง ความเห็นเมื่ออาจารยเปดโอกาส เปนตน เปนพฤติกรรมโดยสวน ใหญของนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูง 30


 ตัวแปรที่

2 ที่สามารถจําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงและต่ําไดดีรองลงมา คือ เจตคติตอการเรียน ของผูเรียน เชน นักศึกษาตองการเพิ่มเติมความรู นอกเหนือจากเนื้อหาในหองเรียน นักศึกษารูสึกกระตือรือรน ในการเขาเรียน และ นักศึกษาคิดวาการเรียนทําใหผูเรียนมีการ คิดอยางเปนระบบ เปนตน ซึ่งเจตคติที่ดตี อ การเรียน ยอม สงเสริมใหผูเรียนมีแนวโนมทีจ่ ะมีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนสูง 31


3. จากสมการจําแนกกลุมที่ไดคือ Z = 0.832 (พฤติกรรมการเรียน) + 0.519 (เจตคติตอการ เรียนของผูเรียน) พบวา สัมประสิทธิ์คาโนนิคอลของตัวแปร พฤติกรรมการเรียน (0.832) มีคามากกวาตัวแปรเจตคติตอการ เรียนของผูเรียน (0.519) ดังนั้น ตัวแปรจําแนกกลุมนักศึกษา คณะบริหารธุรกิจ ชั้นปที่ 2 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงและต่ํา ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพที่สําคัญที่สุด และรองลงมาตามลําดับ คือ ตัวแปรพฤติกรรมการเรียน และตัวแปรเจตคติตอการเรียน ของผูเรียน 32


ขอเสนอแนะ 

ขอเสนอแนะแบงเปน 2 ดาน คือ ดานการนําผลการวิจัยไปใชประโยชน และดานการทําวิจัยครั้งตอไป

1. การนําผลวิจัยไปใชประโยชน การนําผลวิจัยครั้งนี้ไปใชประโยชน เปนการเนนที่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเรียนของนักศึกษาดวยการสรางพฤติกรรมการเรียนที่ดี และการสราง เจตคติที่ดีตอการเรียนของผูเรียน เพื่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น โดย ไมไดคํานึงถึงตัวแปรอื่น ๆ ในกลุมปจจัยที่เปน พื้นความรูเดิมของนักศึกษา คุณภาพการสอนของผูสอน และสิ่งแวดลอม ซึ่งอาจมีตัวแปรในกลุมปจจัย เหลานี้ที่ใชอธิบายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาไดเชนเดียวกัน สําหรับการใชประโยชนจากผลวิจัยครั้งนี้ ผูเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ต่ําควรปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนของตนเอง โดยมีอาจารยผูสอน และผู ที่เกี่ยวของใหคําแนะนําการเรียนดังนี้ คือ 33


ขอเสนอแนะ 1. การนําผลวิจัยไปใชประโยชน 

1) ดานนักศึกษา ควรสรางพฤติกรรมการเรียนที่ดี ตั้งแตกอ นเขาชั้นเรียน ขณะเรียน และหลังเลิกเรียน โดยมี การวางแผน การดําเนินการ และสรุปผลพฤติกรรมที่กระทํา ตลอดจนแกไขพฤติกรรมใหเปนไปตามทีว่ างแผนไว

34


ขอเสนอแนะ 2) ดานอาจารยผูสอน แนะนําและชวยหามาตรการให นักศึกษามีพฤติกรรมการเรียนที่ดี เชน แนะนําการเตรียมตัว กอนเรียน โดยนักศึกษาควรจัดเตรียมความพรอมเกี่ยวกับ อุปกรณการเรียน ไดแก เครื่องเขียนและหนังสือประกอบการ เรียน ตลอดจนอานบทเรียนลวงหนา แนะเทคนิควิธีการเรียนให สัมฤทธิ์ผลทางการเรียนสูง เชน ทําการบาน จดบันทึก และสรุป ยอเนื้อหาที่เรียนมาแลว ตลอดจนหามาตรการใหนักศึกษาตรงตอ เวลาในการเขาชั้นเรียน โดยหากิจกรรมใหนักศึกษาทําในชั้นเรียน เชน มีการทดสอบยอยในชวงตนชั่วโมงกอนการเรียนเพื่อกระตุน ใหนักศึกษาตรงตอเวลาในการเขาชั้นเรียน เปนตน 35


ขอเสนอแนะ

3) หนวยงานที่เกี่ยวของ เชน ฝายแนะแนวการศึกษา ของมหาวิทยาลัย ควรรวมมือกับอาจารยผูสอนใหคําปรึกษา และแนะนํานักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิท์ างการเรียนต่ํา ให ปรับปรุงพฤติกรรมการเรียนที่จะทําใหสอดคลองกับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนที่สูงขึ้นตอไป

36


ขอเสนอแนะ 1) การวิจัยครั้งนี้ ไดทาํ การศึกษาเฉพาะนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี ภาคปกติ ชัน้ ปที่ 2 คณะบริหารธุรกิจ ดังนั้น ควรขยายกลุมนักศึกษาเปาหมายที่ทําการศึกษาเพิ่มอีก 2 ชั้นป คือ ชั้นปที่ 3 และชั้นปที่ 4 ในคณะเดียวกัน เพื่อ เปรียบเทียบตัวแปรจําแนกกลุมนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนสูงและต่ําของ 3 ชั้นปดังกลาว และประโยชนใน การปรับปรุงวิธีการเรียนสําหรับนักศึกษาที่มีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนต่ําของแตละชั้นป 37


ขอเสนอแนะ

2) ควรทําการวิจัยในลักษณะเดียวกัน โดยเพิ่มตัว แปรอื่น ๆ ในดานพื้นฐานความรูเ ดิม และดานคุณภาพ การสอน ซึง่ เปนตัวแปรที่ใชอธิบายผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของนักศึกษาไดเชนเดียวกัน

38


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.