รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ THE SATISFACTION OF STUDENTS, LECTURERS, AND OFFICERS TOWARD RATCHAPHRUEK COLLEGE’ S OPERATION โดย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย
การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551
รายงานการวิจัย เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ THE SATISFACTION OF STUDENTS, LECTURERS, AND OFFICERS TOWARD RATCHAPHRUEK COLLEGE’ S OPERATION โดย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย
การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2551 ปที่ทําการวิจัยแลวเสร็จ 2552
ชื่อโครงการวิจัย ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ ชื่อผูวิจัย นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย (ภาษาอังกฤษ) Miss Chompoo Vivatvigai ปที่ทําการวิจัย 2552 บทคัดยอ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอ การดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ และเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ คือ ฉบับนักศึกษา ฉบับคณาจารย และฉบับเจาหนาที่ โดยแตละฉบับมีคําถาม 3 สวน คือ สถานภาพของ ผูตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ และขอเสนอแนะอื่นๆ มาตราวัดแบบ Likert จํานวน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษา 266 คน คณาจารย 27 คน และ เจาหนาที่ 7 คน ไดมาโดยการสุมอยางงาย และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธ ถึงมีนาคม 255 2 ไดแบบสอบถามคืนรอยละ 100 วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ คือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คา สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความพึงพอใจดวยคา t–test และวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – way Analysis of Variance) ทําการเปรียบเทียบความแตกตางรายคูดวย LSD ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ (α) เทากับ 0.05 ผลการศึกษาพบวา 1) ดานสถานภาพนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง เรียนหลักสูตร 2 ป ตอเนื่อง เปนนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด มีอายุ 20-25 ป และเปนนักศึกษาภาคปกติ สวนดาน ความพึงพอใจ พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูในระดับมาก รองลงมา อยูในระดับปานกลางคือดานหลักสูตร ดานหองเรียนและหองสมุด ดานการจัดบริการสนับสนุนการ เรียนการสอน และดานบริการอื่นๆ ซึ่งในดานบริการอื่นๆ มี 6 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่ จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชได สะดวก มีบริการเงินดวน ( ATM) ที่สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมีรานอาหารใหเลือก หลากหลาย
ข
2) คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง ดํารงตําแหนงอาจารยประจํา สังกัดสาขาบัญชี โดยภาพรวมคณาจารยพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยใน การสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูในระดับมาก สวนดานการบริหารจัดการ ดานหองเรียน และหองสมุด ดานบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง ซึ่งในดานบริการอื่นๆ มี 5 รายการ ที่อยูระดับ นอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 3) เจาหนาที่ที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง มีความพึงพอใจในดานการ บริหารจัดการอยูในระดับปานกลาง โดยความพึงพอใจมากสุด คือ พึงพอใจตอ มีความพึงพอใจในตัว ผูบังคับบัญชา รองลงมา คือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปด วิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และมีการประสานงานและการ ทํางานรวมกันของบุคลากรในองคการ สวนบริการอื่นๆ เห็นวา มีรานถายเอกสารที่ดี และมีการรักษา ความปลอดภัยอยางดี ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา สถานภาพสวนตัว ไดแก สาขาวิชาที่เรียน และ ประเภทภาคที่ ศึกษาของนักศึกษาที่แตกตางกัน มีผลตอระดับความพึงพอใจในการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษที่ แตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
Project:
The satisfaction of students, lecturers, and officers toward Ratchaphruek College ‘s operation
Researchers: Miss Chompoo Vivatvigai Year:
2009
Abstract
The purposes of this research were to study the satisfaction of students, lecturers, and officers toward Ratchaphruek College’s operation and to compare the satisfaction of students that divided into demographic factors toward Ratchaphruek College’s operation. 3 types, which were the questionnaire for students, lecturers, and officers, were used as the tools that had 3 parts: demographic factor, the satisfaction factor, and suggestion. The population of this research were 266 students, 27 lecturers, and 7 officers. The samples were randomly selected by using simple random sampling from February to March in 2009. The data was analyzed by using frequency, mean, percentage, standard deviation, t-test and One-way analysis of variance, and LSD. The results found that as follows: 1) For demographic factors, most respondents were female that was studying in 2 continuously years program. Most respondents were in Accounting major, Faculty of Accounting, between 20-25 years of age, and study in normal program. For satisfaction level, students had the highest level of satisfaction in term of teaching method of lectures. Moreover, curriculum, classroom and library, and extra curriculum were in medium level of satisfaction. Finally, others services that were food sanitation, public telephone, ATM machine, taste of food in the cafeteria, variety of shops, and Ratchaphruek cooperative store were in low level of satisfaction. 2) Most of lecturers were female in faculty of accounting. Overall satisfaction was in medium level. However, teaching method, curriculum, and research project were in high level of satisfaction. Moreover, management, class room and library, others services were in medium level of
satisfaction. For others services that had 5 sub factors such as food sanitation, ATM machine, Ratchaphruek College cooperative store, variety of shops, and taste of food in the cafeteria, these were in low level of satisfaction. 3) Most of officers were female that had medium level of satisfaction in term of management factor. The highest level of satisfaction was found in the superior. The second highest level of satisfaction was the colleagues, receive the assignment meet the knowledge, operational system was getting better, and having the understanding coordinative and working as a team. The others services had copy machine and good security system. The result of hypothesis test found that the different in demographic factor of students had affected on the level of satisfaction at 95% confidential level.
คํานํา รายงานการวิจัย ฉบับนี้สําเร็จลุลวงดวยดี ดวยความกรุณาจาก วิทยาลัยราชพฤกษ อธิการบดี ดร.อณาวุฒิ ชูทรัพย อาจารยสันธยา ดารารัตน ประธานกรรมการการวิจัย และ คณะกรรมการการวิจัยทุกทาน พิจารณามอบทุนอุดหนุนการวิจัยแกขาพเจา พรอมทั้ง รอง ศาสตราจารย ดร.ลัดดาวัลย เพชรโรจน และ รองศาสตราจารย ดร.วิรัช วรรณรัตน ที่ปรึกษา ที่ไดให คําแนะนํา และชวยแกไขขอบกพรองมาตลอด ผูวิจัยขอขอบพระคุณไว ณ โอกาสนี้ ผู วิจัย ขอขอบพระคุณ นักศึกษาทุกทาน ที่ไดสนับสนุนการศึกษา วิจัย ในครั้งนี้ โดย การสละเวลา และตั้งใจในการตอบแบบสอบถาม ทําใหรายงานการวิจัยฉบับมีความสมบูรณ สุดทายจะสําเร็จไมไดหากขาดครอบครัวที่เปนกําลังใจตลอดมา
นางสาวชมภู วิวัฒนวิภัย พฤษภาคม 2552
สารบัญ หนา บทคัดยอภาษาไทย.............................................................................................. บทคัดยอภาษาอังกฤษ......................................................................................... คํานํา................................................................................................................... สารบัญ................................................................................................................ สารบัญตาราง...................................................................................................... สารบัญภาพ......................................................................................................... บทที่ 1. บทนํา..................................................................................................... - ความเปนมาและความสําคัญของปญหา...................................... - วัตถุประสงคการวิจัย................................................................... - สมมติฐานการวิจัย....................................................................... - ขอบเขตการวิจัย........................................................................... - ประโยชนที่จะไดรับ....................................................................
ก ค จ ฉ ซ ฌ 1 1 2 2 2 4
2. แนวความคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ...................................... - แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา............................................... - แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ........................................... - ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ................................................. - งานวิจัยที่เกี่ยวของ........................................................................ - กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย....................................................
5 5 6 14 18 22
3. วิธีดําเนินการศึกษาวิจัย........................................................................... - ประชากรและกลุมตัวอยาง........................................................... - ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย......................................................... - เครื่องมือที่ใชในการวิจัย............................................................... - การวิเคราะหขอมูล........................................................................
23 23 24 24 26
ช
สารบัญ (ตอ) บทที่
หนา
4. ผลการศึกษาวิจัย........................................................................................ - ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอ การดําเนินการของวิทยาลัย............................................... - ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอ การดําเนินการของวิทยาลัย................................................ - ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอ การดําเนินการของวิทยาลัย................................................. - ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการของวิทยาลัย............................................
27
41
5. สรุปการศึกษา อภิปรายผล และขอเสนอแนะ............................................. - สรุปผลการวิจัย................................................................................ - อภิปรายผลการศึกษา........................................................................ - ขอเสนอแนะ.....................................................................................
50 50 53 54
บรรณานุกรม……………………………………………………………… ภาคผนวก ………………………….……….……………………………..
55 57
27
46 48
สารบัญตาราง ตารางที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
หนา คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของนักศึกษา........................... 28 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักศึกษาตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 29 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามเพศ..................................................................................................... 33 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามหลักสูตรที่ศึกษา................................................................................ 33 การวิเคราะหความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของ วิทยาลัยจําแนกตามสาขาวิชา............................................................................... 34 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานหลักสูตรและ การสอนจําแนกตามสาขาวิชา.............................................................................. 35 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของ คณาจารยจําแนกตามสาขาวิชา............................................................................. 36 การ8 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานบริการอื่นๆ จําแนกตามสาขาวิชา............................................................................................ 37 การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามอายุ..................................................................................................... 38 ความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา........................................................................... 39 การเปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของ คณาจารยจําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา............................................................ 40 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน คณาจารย.............................................................................................................. 41 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของคณาจารยตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 42 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพดานเพศของผูตอบแบบสอบถามที่ เปนเจาหนาที่....................................................................................................... 46 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ........................................................................ 46
สารบัญภาพประกอบ
ภาพที่ 1 2 4 5 6 7 8
แสดงลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎีของ Maslow ……………… แสดงลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎี ERG ……………. แสดงแสดงองคประกอบของบรรยากาศองคการ..............…………... แสดงตัวบงชี้สําคัญของบรรยากาศแบบเปดและแบบปด ……… แสดงแสดงองคการเพื่อบริการแบบตาง ๆ……. แสดงกรอบความคิดในการศึกษาวิจัย..............…………... แสดงสัดสวนการสุมตัวอยางแตละชั้นปการศึกษา …………….
หนา 14 16 20 22 32 44 46
บทที่ 1 บทนํา ความเปนมาและความสําคัญ การศึกษาระดับอุดมศึกษาเปนการศึกษาระดับสูง ที่มุงพัฒนาคนเพื่อเขาสูวิชาชีพตางๆ ซึ่งจะเปนพื้นฐานของการพัฒนาประเทศที่สําคัญ รวมทั้งการมุงเนนที่จะพัฒนาองคความรูใหมให เกิดขึ้น อันจะเปนการเพิ่มพูนขีดความสามารถทางวิชาการระดับสูงในสาขาวิชาตางๆ เพื่อเปน เครื่องมือและฐานกําลังอํานาจทางความรู ความคิด และการพัฒนาอยางตอเนื่อง วิทยาลัยราชพฤกษเปนวิทยาลัยเอกชนแหงใหมที่เปดสอนมาตั้งแตปการศึกษา 2549 โดยเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม มีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตใหเปนคนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญในแตละสาขาวิชาสรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และสามารถอยูในสังคมอยางมี ความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่มุงมั่นจะเรียนรู และพัฒนาตนเองอยูตลอดเวลา เพื่อนําความรู ความสามารถเปนกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศชาติดังปรัชญาของวิทยาลัยที่วา “สถาบันแหง การเรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรม นําหนาสูสากล ” นอกจากนี้ความตองการจัดการศึกษา ระดับอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาเยาวชนไทยใหมีความรูดานวิชาชีพ และมุงมั่นที่จะพัฒนาการศึกษาเพื่อ ประโยชนแกสังคมและประเทศชาติ (วิทยาลัยราชพฤกษ, 2550) ดังนั้นการดําเนินงานของวิทยาลัยฯ ในดานตางๆ จึงสอดคลองกับปณิธานใหเปนไปดังที่ หวังไว เนื่องจากการดําเนินงานดังกลาวจะมีผลตอการพัฒนาทางวิชาการ บุคลากร ตลอดจน นักศึกษาที่จะจบไปเปนบัณฑิตในแตละป ดังนั้นการใหบริการตางๆ จึงตองมีความสอดคลองตอ ความตองการของบุคคลทุกฝาย เพราะทุกคนมีความตองการอยูเสมอ และไมมีสิ้นสุด ความตองการ ใดที่ไดรับการตอบสนอง ก็จะทําใหบุคคลนั้นเกิดความพึงพอใจ หรือความพึงพอใจจะเกิดขึ้น ตอเมื่อบุคคลไดรับหรือบรรลุจุดมุงหมายในสิ่งที่ตองการระดับหนึ่ง และความรูสึกดังกลาวจะลดลง หรือไมเกิดขึ้น หากความตองการหรือจุดมุงหมายนิ่งที่ตองการไดรับการบําบัดเปนความพอใจ ดังนั้นเพื่อใหทราบความคิดเห็นของผูที่เกี่ยวของทุกฝาย และจะเปนขอมูลในการปรับปรุง การดําเนินงานของวิทยาลัยตอไป งานวิจัยสถาบันจึงไดศึกษาเรื่องความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการทางวิทยาลัยราชพฤกษ
2
วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ 2. เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษา ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว ไดแก เพศ หลักสูตรที่ศึกษา สาขาวิชา อายุ และประเภทภาคที่ศึกษา สมมติฐานการวิจัย การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนก สถานภาพสวนตัว ขอบเขตการวิจัย 1. ขอบเขตดานเนื้อหา ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของนักศึกษา ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ - หลักสูตรที่ศึกษา - สาขาวิชา - อายุ - ประเภท (รอบ) 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานหลักสูตร - ดานการสอนของคณาจารยโดยภาพรวม - ดานการบริการ - ดานหองเรียน และหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ
3
ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของคณาจารย ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ - ตําแหนง - สาขาวิชาที่สังกัด 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานหลักสูตร - ดานการจัดการคณาจารยในการสอน - ดานการบริหารจัดการ - ดานการวิจัย - ดานหองเรียนและหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ ผูศึกษามุงศึกษาตัวแปรในสวนของเจาหนาที่ ดังนี้ 1. ตัวแปรอิสระ คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ประกอบดวย - เพศ 2. ตัวแปรตาม คือความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ประกอบดวย - ดานการบริหารจัดการ - ดานบริการอื่นๆ 2. ขอบเขตดานประชากร ศึกษาเฉพาะนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ของวิทยาลัยราพฤกษ ที่ศึกษาและ ปฏิบัติงานในปการศึกษา 2550 3. ขอบเขตดานระยะเวลา ระหวางเดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม 2552 รวม 5 เดือน
4
5. ประโยชนที่ไดรับ 1. ผลการสํารวจครั้งนี้ไดทราบขอมูลความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินของวิทยาลัย เพื่อนําไปสูการพัฒนาและปรับปรุงการดําเนินการของวิทยาลัยใหดี ยิ่งขึ้น 2 . เปนแนวทางในการพัฒนาการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษตอไป
บทที่ 2 แนวความคิด ทฤษฎีและผลงานวิจัยที่เกี่ยวของ การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา อาจารย และเจาหนาที่ วิทยาลัยราชพฤกษ ผู ศึกษาวิจัยไดรวบรวมแนวคิด ทฤษฏี และขอมูลที่เกี่ยวของ ขอเสนอหัวขอตามลําดับดังนี้ 1. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 3. ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ 5. กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย 1. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสถานศึกษา พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545ไดบัญญัติคําตางๆ ที่เกี่ยวของกับสถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษาไวดังนี้ “สถานศึกษา” หมายความวา สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนยการเรียน วิทยาลัย สถาบัน มหาวิทยาลัย หนวยงานการศึกษา หรือหนวยงานอื่นของรัฐหรือของเอกชน ที่มีอํานาจ หนาที่หรือมีวัตถุประสงคในการจัดการศึกษา “มาตรฐานการศึกษา ” หมายความวา ขอกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพ ที่พึง ประสงคและมาตรฐานที่ตองการใหเกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแหง และเพื่อใชเปนหลักในการ เทียบเคียงสําหรับการสงเสริมและกํากับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล และการประกัน คุณภาพทางการศึกษา “ผูสอน” หมายความวา ครูและคณาจารยในสถานศึกษาตางๆ “ครู” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการเรียนการสอนและ การสงเสริมการเรียนรูของผูเรียนดวยวิธีการตางๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน “คณาจารย” หมายความวา บุคลากรซึ่งทําหนาที่หลักทางดานการสอนและการวิจัยใน สถานศึกษาระดับอุดมศึษาระดับปริญญาของรัฐและเอกชน “ผูบริหารการศึกษา” หมายความวา บุคลากรวิชาชีพที่รับผิดชอบการบริหารการศึกษา นอกสถานศึกษาตั้งแตระดับเขตพื้นที่การศึกษาขึ้นไป
6
“บุคลากรทางการศึกษา ” หมายความวา ผูบริหารสถานศึกษา ผูบริหารการศึกษา รวมทั้งผูสนับสนุนการศึกษาซึ่งเปนผูทําหนาที่ใหบริการ หรือปฏิบัติงานเกี่ยวเนื่องกับการจัด กระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ และการบริหารการศึกษาในหนวยงานการศึกษาตางๆ นอกจากนี้ในสวนที่ 3 ของพรบ.การศึกษาแหงชาติ มาตราที่ 43 ยังระบุวาการบริหาร และการจัดการศึกษาของเอกชนใหมีความเปนอิสระ โดยมีการกํากับ ติดตาม การประเมินคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาจากรัฐ และตองปฏิบัติตามหลักเกณฑการประเมินคุณภาพและมาตรฐาน การศึกษาเชนเดียวกับสถานศึกษาของรัฐ มาตรา 44 ใหสถานศึกษาเอกชนตามมาตรา 18 (2) เปนนิติบุคล และมีคณะกรรมการ บริหารประกอบดวย ผูบริหารสถานศึกษาเอกชน ผูรับใบอนุญาต ผูแทนผูปกครอง ผูแทนองคกร ชุมชน ผูแทนครู ผูแทนศิษยเกา และผูทรงคุณวุฒิ จํานวนคณะกรรมการ คุณสมบัติ หลักเกณฑ วิธีการสรรหา การเลือกประธานกรรมการและกรรมการ วารการดํารงตําแหนง และการพนจาก ตําแหนง ใหเปนไปตามที่กําหนดในกฎกระทรวง มาตรา 45 ใหสถานศึกษาเอกชนจัดการศึกษาไดทุกระดับ และทุกประเภทการศึกษา ตามที่กฎหมายกําหนด โดยรัฐตองกําหนดนโยบายและมาตราการที่ชัดเจนเกี่ยวกับการมีสวนรวม ของเอกชนในดานการศึกษา การกําหนดนโยบายและแผนการจัดการศึกษาของรัฐของเขตพื้นที่การศึกษาหรือของ องคกรปกครองสวนทองถิ่น ใหคํานึงถึงผลกระทบตอการจัดการศึกษาของเอกชน โดยใหรัฐมนตรี หรือคณะกรรมการเขตพื้นที่การศึกษา หรือองคกรปกครองสวนทองถิ่นรับฟงความคิดเห็นของ เอกชน และประชาชนประกอบการพิจารณาดวย ใหสถานศึกษาของเอกชนที่จัดการศึกษาระดับปริญญาตรีดําเนินกิจการไดโดยอิสระ สามารถพัฒนาระบบบริหารและการจัดการที่เปนของตนเอง มีความคลองตัว มีเสรีภาพทางวิชาการ และอยูภายใตการกํากับดูแลของสภาสถานศึกษา ตามกฎหมายวาดวยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับความพึงพอใจ 2.1 แนวความคิดเกี่ยวกับความพึงพอใจ โดยทั่วไปการศึกษาเกี่ยวกับความพึงพอใจมักจะศึกษาในภาพสองมิติ คือ มิติความพึง พอใจของผูปฏิบัติ และมิติความพึงพอใจของผูรับบริการ ในการศึกษาครั้งนี้เปนการศึกษาในมิติ แรก ซึ่งมีผูกลาวถึงแนวคิดนี้ไวจํานวนมากพอควร ในลักษณะใกลเคียงและสัมพันธกับเรื่อง ทัศนคติ เชน
7
2.2 ความหมายของความพึงพอใจในงาน ความพึงพอใจในงานเปนปจจัยที่มีความสําคัญ ในการบริหารงานทรัพยากรมนุษยภายใน องคกร ความพึงพอใจอาจมีหลายองคประกอบที่จะทําใหพนักงานในองคการนั้นๆ สามารถ ปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อีกทั้งมีความรวมมือและเชื่อมั่นที่จะผลักดันให องคการนั้นประสบผลสําเร็จในธุรกิจ Strauss and Sayles (Strauss and Sayles, 1960: 119 อางในวัฒนา เจียรวิจิตร , 2543:5) กลาวถึงความพึงพอใจในงาน หมายถึง ความรูสึกพอใจในงานที่ทํา และเต็มใจที่จะปฏิบัติงานนั้น ใหบรรลุวัตถุประสงคขององคการ บุคคลจะรูสึกพอใจในงานที่ทํา เมื่องานนั้นใหผลประโยชน ตอบแทนทั้งทางดานวัตถุจิตใจ ซึ่งสามารถสนองตอบความตองการพื้นฐานของบุคคลได คํานิยาม นี้เนนถึงความสัมพันธระหวางความพึงพอใจ กับผลประโยชนตอบแทนในการทํางาน Morse (Morse, 1955:27 อางในนันทา รัตพันธุ , 2541: 9) ใหความหมายของความพึง พอใจในงานที่ทําดานเชิงจิตวิทยาวา หมายถึงทุกสิ่งทุกอยางที่สามารถลดความเครียดของผูทํางาน ใหนอยลง ความเครียดจะสงผลตอความพึงพอใจ หรือไมพึงพอใจในงานที่ทํา ถามีความเครียด มากจะทําใหเกิดความไมพอใจในงาน และความเครียดนี้มีผลมาจากความตองการของมนุษย (Human Needs) เมื่อไดรับการตอบสนองความตองการดังกลาวแลว ความเครียดนั้นจะลดลงหรือ หมดไป และเกิดเปนความพึงพอใจขึ้นทดแทน Hulin (Hulin, 1966 อางในณัฐวรรณ ศุภลาภ , 2543: 10) กลาวไววา ความพึงพอใจใน งานตองรวมถึงความรูสึกที่เกิดขึ้นของคนงานตอการตอบสนอง การทํางานกับการพาดพิงถึงงานที่ ทําอยูในปจจุบัน ความรูสึกนี้ยังรวมถึงความคาดหวังของคนที่ไดรับบริการ และการตอบแทนที่ เขาไดรับในการทํางาน Smith and Wakeley (Smith and Wakeley,1972, อางในนันทา รัตพันธุ, 2541 : 9) กลาวไว วา ความพึงพอใจในงานเปนความรูสึกของบุคคลที่มีตองานที่ทํา อันแสดงถึงระดับความ พึงพอใจ ตอการไดรับการสนองตอบทั้งทางรางกาย จิตใจและสภาพแวดลอมของบุคคลนั้นเพียงใด เสถียร เหลืองอราม (2519, อางในณัฐวรรณ ศุภลาภ , 2543: 11) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจในงานเปนผลของการจูงใจใหมนุษยทํางาน โดยออกมาในรูปของความพอใจที่ คนทํางานมากไดเงินมาก บรรยากาศในสภาพที่ทํางานดี เปนการเสริมสรางแรงจูงใจ ใหเกิดความ พึงพอใจในงานดวยเงินและรางวัลตอบแทนดวยกันทั้งนั้น ความพึงพอใจในงานจะเกิดขึ้น เมื่อคน มีความรูสึกวา ประสบผลสําเร็จในการทํางานที่ยอมรับสามารถทําดวยตนเอง และมีโอกาส กาวหนาในตําแหนงหนาที่การงาน นอกจากนี้ถาหนวยงานสามารถออกแบบรายงาน ใหผูปฏิบัติ
8
เกิดความพึงพอใจในงานไดแลว หนวยงานก็จะมีทางหาความรวมมือจากพนักงานไดมากขึ้น และ ผูปฏิบัติมีความเต็มใจ และพรอมที่จะทํางานมากขึ้น โสภิณ ทองปาน (2542: 36) ใหความหมายไววา ความพึงพอใจในการทํางานเปนระดับ (Degree) ความรูสึกของแตละคนที่มีความรูสึกในแงบวก หรือลบตองานที่ทํา เปนการสนองตอบ ในความรูสึก หรือในความคิดตองานที่ตนเองทํา ตอสถานที่ทํางาน รวมทั้งลักษณะทางกายภาย (Physical Conditions) เชน หองทํางาน ทางเขา -ออก ตําแหนงที่ตั้งของเครื่องจักร อุปกรณ หองน้ํา บันได และอื่นๆ และลักษณะทางสังคม (Social Conditions) คือสังคมของผูรวมงานตั้งแต หัวหนางาน เพื่อนรวมงาน มองในอีกแงหนึ่งความพึงพอใจในการทํางานเปนระดับเครื่องชี้วัด ถึง ความแตกตางระหวางความคาดหวังในความรูสึก กับสิ่งที่เปนจริง สกล วรรณพงษ (2526 อางในมานิต คุมภัย, 2541: 7) ใหความหมายความพึงพอใจในงาน วา หมายถึงความรูสึกหรือทัศนคติที่ดีตองานที่ทํา เปนความรูสึกที่เกิดจากการที่ไดรับการ ตอบสนองทั้งรางกายและจิตใจ ทําใหบุคคลเกิดความพึงพอใจในการทํางาน จากความหมายของความพึงพอใจในงานที่นักวิชาการ และผูศึกษาวิจัยตาง ๆ ไดให ความหมายมาแลวนั้น อาจสรุปไดวา ความพึงพอใจในงานเปนความรูสึกภายในของคน และ ทัศนคติที่มีแนวโนมไปในทางที่ดี ของบุคคลในงานที่ทําอยูนั้น เมื่อบุคคลนั้นไดรับการตอบสนอง ตอความตองการ (Demand Needs) ทั้งรางกายและจิตใจอยางสมเหตุสมผลแลว ยอมสงผลให บุคคลมีความพึงพอใจอันสมควร ในการที่จะปฏิบัติงานอยางทุมเทจิตใจ และรางกายเพื่อให องคการสามารถประสบผลสําเร็จ ตามวัตถุประสงคที่วางไว 2.3 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับความพึงพอใจ 1. Von Haller B. Gilmer (1971 อางในกิตติพัฒน อินทรเกษตร, 2541 : 10-11) ไดกลาวถึง องคประกอบที่มีผลตอความพึงพอใจในการปฏิบัติงานไว 10 ประการ ตามลําดับดังนี้ :1. ความมั่นคงในงาน (Security) ไดแก ความมั่นคงของอาชีพ ความมั่นคงใน ตําแหนงหนาที่การงาน ความมั่นคงขององคการ ความเหมาะสมของอาชีพกับงาน ความอาวุโส การ มีโอกาสไดเรียนรูและฝกหัดทักษะจากงาน ไมมีอิทธิพลของการเมืองเขามาเกี่ยวของกับตํา แหนง หนาที่การงาน 2. โอกาสกาวหนาในการปฏิบัติงาน (Opportunity for Advancement) ไดแก การ ไดรับความกาวหนาโดยยึดหลักคุณธรรม ความอาวุโส สามารถกาวหนาไปตามโครงสรางและ ขนาดขององคการ ชื่อเสียงขององคการและความสัมพันธกับชุมชน มีการวางแผนในการดําเนินงาน
9
3. องคการและการจัดการ (Company and Management) ไดแก นโยบายและการ ดําเนินการ การบริหารงานมีความยุติธรรม ผูรวมงานใหการรวมมือสนับสนุน องคการใหความ สนใจ ผูรวมงาน การฝกอบรม การประชุมเกี่ยวกับบทบาทหนาที่ รักษาสัญญาจริงใจ การเปด โอกาสใหผูรวมงานมีสวนในการตัดสินใจ 4. เงินเดือน (Salary) ไดแก ความเหมาะสมของเงินเดือนที่ไดรับกับภาวะทาง เศรษฐกิจ คาครองชีพ เงินเดือนเปนผลประโยชนตอบแทนที่นาพอใจ มีความยุติธรรม ไดรับการ เลื่อนเงินเดือนสม่ําเสมอ 5. ลักษณะงานที่ทํา (Intrinsic Aspect of the Job) ไดแก ฝกอบรมใหมีความรู ความสามารถอยางเหมาะสม การวางแผนและมีความตั้งใจ ความภาคภูมิใจในความสําเร็จและ ผลงาน งานที่ทํามีชื่อเสียงและมีคุณคา เปนประโยชนตอสังคม มีงานและโครงงานชัดเจน ความ รับผิดชอบ อํานาจบังคับบัญชา ความคิดริเริ่มสรางสรรค ทาทาย มีอิสระในการปฏิบัติงาน นาสนใจ ปริมาณงานเหมาะสม 6. การนิเทศงาน (Supervision) ไดแก ผูบังคับบัญชามีความยุติธรรม สุภาพ เอื้อเฟอ เผื่อแผ รูจักกาลเทศะ การนิเทศงานถูกตอง ผูบังคับบัญชาใหการยกยอง สงเสริมใหกาวหนา ในตําแหนงทางสังคม กระตือรือรน มีคุณธรรม ชี้แจงนโยบาย และการดําเนินงาน 7. ลักษณะทางสังคมของงาน (Social Aspect of the Job) ไดแก สัมพันธภาพ ระหวางผูบังคับบัญชากับผูใตบังคับบัญชา ความสัมพันธของผูรวมงาน การไดรับการยอมรับนับถือ การมีเกียรติยกยอง ความรวมมือในการปฏิบัติงาน การทํางานใชขบวนการกลุม ประชาชนและ สังคมทั่วไปใหการยอมรับ 8. การติดตอสื่อสาร (Communication) ไดแก ขาวสารที่มีความเหมาะสม นาเชื่อถือ ทันสมัย ชัดเจน รวดเร็ว การจัดทําเอกสาร สิ่งพิมพเพื่อเผยแพร ชี้แจงเรื่องตาง ๆ 9. สภาพการทํางาน (Working Condition) ไดแก สภาพแวดลอม บรรยากาศ สภาพที่ทํางาน หองทํางาน แสงสวาง อุณหภูมิ ความปลอดภัย วัสดุอุปกรณเพียงพอ การจัด นันทนาการตางๆ การอํานวยความสะดวกในดานอาหารการกิน การพยาบาล ที่พักผอน สถานที่ตั้ง และชุมชน ชั่วโมงการทํางาน 10.ผลประโยชนเกื้อกูลตางๆ (Benefits) ไดแก คาตอบแทนและเงินอื่น ๆ เชน คา เบี้ยเลี้ยง คาพาหนะเดินทาง คาชวยเหลือบุตร บําเหน็จบํานาญ การจัดสวัสดิการตาง ๆ เชน สหกรณ ที่พัก การรักษาพยาบาล วันหยุด
10
2. ทฤษฎีสองปจจัยในการจูงใจของ Herzberg Frederick Herzberg (มัลลิกา ตนสอน ดร ., พฤติกรรมองคการ 2544: 37-38) ไดกลาวถึง ทฤษฎีสองปจจัยในการจูงใจ (Two-factor Theory of Motivation) จากการเก็บรวบรวมขอมูลที่ เกี่ยวกับความพอใจ และความไมพอใจในงาน (Job Satisfaction and Dissatisfaction) โดย Herzberg จําแนกออกเปน 2 ปจจัย ไดแก (1) ปจจัยธํารงรักษา (Hygiene Factors) เปนสภาพแวดลอมภายนอก (Extrinsic Condition) ที่สงผลตอความไมพอใจใน งานของบุคคลถาเขาไมไดรับการตอบสนองอยางเหมาะสม ประกอบดวยปจจัยตอไปนี้ 1.1) เงินเดือน 1.2) ระเบียบและขั้นตอนตาง ๆ ในองคการ 1.3) ความมั่นคงของงาน 1.4) การควบคุมงาน 1.5) เงื่อนไขในการทํางาน 1.6) ความสัมพันธระหวางบุคคลในองคการ 1.7) สถานะ (2) ปจจัยจูงใจ (Motivators) เปนสภาพแวดลอมภายใน (Intrinsic Condition) ที่สงผลตอความพอใจ และการ จูงใจในการทํางานของบุคคล ซึ่งจะทําใหบุคคลมีผลการทํางานที่ดี ปจจัยจูงใจจะ ประกอบดวยปจจัยตาง ๆ ตอไปนี้ 2.1) ความสําเร็จ 2.2) ความกาวหนา 2.3) การยอมรับ 2.4) เนื้อหาของงาน 2.5) ความรับผิดชอบ 2.6) โอกาสในการเติบโต การศึกษาของ Herzberg ไดรับการวิจารณในเรื่องความเชื่อถือได การประยุกตใชงานและ ความเปนสากล เนื่องจากวิธีการเก็บรวมรวมและวิเคราะหขอมูล ขนาดของกลุมตัวอยาง และการ สรุปผลการศึกษาของ Herzberg อยางไรก็ดี แนวคิดของเขาไดรับการยอมรับและนําไปใชปรับปรุง ระบบคุณภาพของงานในหลายองคการ ตลอดจนเปนแนวความคิดสําคัญในการศึกษาความ ตองการและการจูงใจเชิงประยุกต
11
3. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งจูงใจ Bernard (Bernard, 1968 อางใน วัฒนา เจียรวิจิตร , ความพึงพอใจในการทํางานของ พนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัทในเครือ 2543: 10) ไดนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับสิ่งจูงใจ ที่เปนสิ่งกระตุนใหคนเกิดความพอใจในงานไว 8 ประการ คือ (1) สิ่งจูงใจที่เปนวัตถุ (Material Inducements) ไดแก เงิน สิ่งของอื่น ๆ ที่เปนการ ตอบแทนแกผูปฏิบัติงาน เสมือนเปนรางวัลใหแกผูปฏิบัติงานนั่นเอง (2) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับโอกาสของบุคคล (Personal Non-Material Opportunities) หมายถึง สิ่งจูงใจที่ไมไดเปนวัตถุแตเปนเสมือนรางวัลใหแกผูปฏิบัติงานเชนกัน ไดแก โอกาสที่ จะมีชื่อเสียง เกียรติยศ สิทธิพิเศษตาง ๆ หรือการไดรับตําแหนงดีขึ้น (3) สิ่งจูงใจทางกายภาพที่พึงปรารถนา (Desirable Physical Conditions) หมายถึง สิ่งแวดลอมในการทํางานไดแก สภาพแวดลอม สถานที่ทํางาน วัสดุ อุปกรณ เครื่องมือ เครื่องใช (4) สิ่งจูงใจที่เปนผลประโยชนทางอุดมคติ (Ideal Benefaction) หมายถึง การที่ หนวยงานไดสนองความตองการของบุคคลในดานความภาคภูมิใจ ที่ไดแสดงฝมือในการทํางาน ความรูสึกพอใจที่ไดทํางานอยางเต็มที่ (5) สิ่งจูงใจดานความดึงดูดใจทางสังคม (Association Attractiveness) หมายถึง ความสัมพันธฉันทมิตรในหมูผูรวมงาน (6) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับสภาพการทํางาน โดยปรับสภาพการทํางานใหเหมาะสมตรง กับ ทัศนคติ และวิธีการปฏิบัติงานของบุคคล (Adaptation of Conditions Habitual Method and Attitude) หมายถึง การปรับปรุงสภาพการทํางานใหเหมาะสม กับความสามารถของผูปฏิบัติงานที่ มีความสามารถแตกตางกัน (7) สิ่งจูงใจเกี่ยวกับโอกาสที่จะมีสวนรวมในการทํางาน (The Opportunity of Enlarged Participation) หมายถึง การเปดโอกาสใหผูปฏิบัติงาน มีโอกาสในการแสดงความคิดเห็น และมีสวนรวม ทําใหรูสึกวาเปนคนสําคัญคนหนึ่งในหนวยงาน
12
(8) สิ่งจูงใจดานความเปนอยูรวมกันฉันทมิตร (The Condition of Communication) หมายถึง ความพอใจในดานสังคมของบุคลากรที่อยูรวมกันฉันทมิตร มีความ กลมเกลียว และรวมมือกันทํางานในหมูเพื่อนรวมงาน 4. ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการของมนุษย Abraham H. Maslow (1954 : 370-396) ไดเขียนทฤษฎีจูงใจ (Motivator Theory) หรือ ทฤษฎีทั่วไปเกี่ยวกับการจูงใจ (Maslow’s General Theory of Human Motivation) โดยมีสมมุติฐาน ไววา มนุษยทุกคนมีความตองการขั้นพื้นฐาน และความตองการนี้จะมีตลอดเวลา และมีอยางไมมี ที่สิ้นสุด ความตองการใดที่ไดรับการตอบสนองแลว ความตองการอื่นจะมาแทนที่ ความตองการ ใดที่ไดรับการตอบสนองแลวจะไมเปนสิ่งจูงใจอีกตอไป สวนความตอง การที่ยังไมไดรับการ ตอบสนองจะยังเปนสิ่งจูงใจอยู กระบวนความตองการของมนุษยจะมีลําดับขั้นจากต่ําไปหาสูง ตามลําดับความสําคัญในสิ่งที่ตองการของมนุษย (Hierarchy of Needs) Maslow ไดแบงลําดับขั้น ของความตองการของมนุษยเปน 5 ขั้นตอน คือ
ภาพที่ 1 ลําดับขั้นความตองการตามทฤษฎีของ Maslow ที่มา : มัลลิกา, 2544 : 33 1. ความตองการทางกายภาพ (Physiological Needs) ความตองการดานกายภาพ เปนความตองการระดับพื้นฐานเบื้องตนของมนุษย เปนความตองการในสิ่งจําเปนเพื่อความอยูรอด เชน ความตองการในเรื่องอาหาร น้ํา ที่อยูอาศัย เครื่องนุงหม และยารักษาโรค เปนตน การ ตอบสนองความตองการทางกายภาพขององคกรทุกแหง จะอยูในรูปของการจายเงินคาจาง ซึ่งถือ เปนปจจัยสําคัญในการตอบสนองความตองการระดับหนึ่ง
13
2. ความตองการความปลอดภัยและความมั่นคง (Safety and Security Needs) ความตองการในระดับที่สูงขึ้น จากความตองการขั้นพื้นฐานที่ไดรับ การตอบสนองพอสมควร แลว มนุษยจะมีความตองการปรารถนาที่จะใหตัวเองไดรับการปองกันพิทักษ ในดานความ ปลอดภัยตอชีวิต และจากอันตรายตาง ๆ ที่เกิดขึ้นกับรางกายของมนุษย รวมทั้งความมั่นคงทาง เศรษฐกิจที่ตองการความมั่นคง ในการดํารงชีพหรือในหนาที่การงาน 3. ความตองการการมีสวนรวมในสังคม (Social Belonging Needs) เปนความ ตองการความรัก ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง และความตองการความสมหวังของชีวิต บางที ความตองการความรักและการเปนสวนหนึ่งของบุคคล รูสึกรุนแรงมากที่สุดในความสัมพันธกับ บิดามารดา สามีหรือภรรยา หรือลูก นอกจากนี้ความตองการเหลานี้ตอบสนองไดใน สภาพแวดลอมทางสังคม ความตองการความสัมพันธที่อบอุนกับเพื่อน ความรูสึกวาเปนบุคคล หนึ่งในกลุม สภาพแวดลอมของการทํางาน เปนสภาพแวดลอมทางสังคมอยางหนึ่งดวย หาก พนักงานไมรูสึกวาพวกเขาเปนสวนสําคัญขององคกร และเพื่อนรวมงานของพวกเขาตองการพวก เขาในทีมแลว พวกเขาจะรูสึกคับอกคับใจ และจะไมตอบสนองตอสิ่งจูงใจระดับสูง 4. ความตองการเกียรติยศชื่อเสียง (Esteem Needs) ความตองการเกียรติยศ ชื่อเสียงแบงไดออกเปน 2 แบบ ไดแก แบบแรก คือ ความตองการความสําเร็จ อํานาจ และความสามารถ พวกเขา ตองการความรูสึกวา พวกเขาบรรลุถึงบางสิ่งบางอยางที่สําคัญ เมื่อพวกเขาปฏิบัติงานของพวกเขา แบบที่สอง คือ ความตองการชื่อเสียง สถานภาพ ความสําคัญ และการยกยอง ในฐานะที่เปนผูบริหาร เรามีวิธีหลายอยางในการตอบสนองความตองการทั้งสองแบบเหลานี้ในผู อยูใตบังคับบัญชาของเรา เชน การมอบหมายงานที่ทาทาย การใหสิ่งยอนกลับทางดานผลการ ปฏิบัติงาน การยกยองผลการปฏิบัติงาน และการใหผูอยูใตบังคับบัญชามีสวนรวมกําหนด เปาหมายการตัดสินใจ 5. ความตองการความสําเร็จสูงสุด (Self-actualization Needs) พนักงานจะถูกจูง ใจดวยความตองการความสมหวังของชีวิต พนักงานที่ถูกจูงใจดวยความตองการความสมหวังของ ชีวิต จะพยายามหาความหมายและความเจริญเติบโตสวนบุคคลในการทํางานของพวกเขา และ แสวงหาความรับผิดชอบใหมอยางกระตือรือรน Maslow ย้ําวาความแตกตางของบุคคลมีมากที่สุดที่ ระดับนี้ ในกรณีของบุคคลบางคน การสรางผลงานที่มีคุณภาพสูงอาจจะเปนวิธีการตอบสนอง ความตองการความสมหวังของชีวิต ในกรณีของบุคคลอื่น ๆ การตอบสนองความตองการความ สมหวังของชีวิต อาจจะเปนการพัฒนาความคิดสรางสรรคที่มีประโยชน ดวยการตระหนักถึงความ แตกตางของความตองการความสมหวังของชีวิตของผูอยูใตบังคับบัญชา ผูบริหารสามารถจูงใจผู
14
อยูใตบังคับบัญชาอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น พวกเขาสามารถเลือกวิธีการตาง ๆ ที่ชวยใหผูอยูใต บังคับบัญชาบรรลุถึงเปาหมายสวนบุคคลได 3. ขอมูลเกี่ยวกับวิทยาลัยราชพฤกษ ปรัชญาของวิทยาลัย วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม มีความมุงมั่นที่จะผลิตบัณฑิตใหเปน คนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญในแตละสาขาวิชา สรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ สามารถอยูในสังคมอยางมีความสุข โดยบัณฑิตตองเปนบุคคลที่มุงมั่นจะเรียนรู และพัฒนาตนเอง อยูตลอดเวลา เพื่อนําความรูความสามารถเปนกําลังในการพัฒนาประเทศชาติดังปรัชญาของ วิทยาลัยที่วา “สถาบันแหงการเรียนรูยุคใหม คุณภาพคุณธรรมนําหนาสูสากล” วิสัยทัศน วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันแหงการเรียนรูยุคใหมมุงผลิตบัณฑิตที่มีความสมดุลดาน ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบตอสังคม สามารถใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย และใชภาษาอังกฤษในการสื่อสารไดเปนอยางดี และมุงพัฒนาเปนมหาวิทยาลัยแหงการเรียนรูยุค ใหมในป พ.ศ. 2554 พันธกิจ 1. เปนสถาบันอุดมศึกษาแหงการเรียนรูยุคใหม พรอมผลิตบัณฑิตที่มีความรูในวิชาการ และมีความสามารถในการปฏิบัติ โดยเฉพาะอยางยิ่งการนําความรูใหมๆ และเทคโนโลยีที่กาวหนา มาใชในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจของประเทศ 2. พัฒนาคณาจารยและบุคลากรอื่นๆ ของวิทยาลัยใหมีการศึกษาเพิ่มเติมในระดับสูงขึ้น เพื่อเสริมสรางความรู ความสามารถ ทักษะและเจตคติไปพัฒนางานของตนใหดียิ่งขึ้น 3. จัดกิจกรรมการปลูกฝงระเบียบ วินัย คุณธรรม จริยธรรม แกนักศึกษา เพื่อเปนบัณฑิตที่มี คุณภาพ มีจรรยาบรรณวิชาชีพ รวมทั้งมีความรับผิดชอบตอหนาที่และสังคม 4. สรางเสริมการคนควาวิจัยในสาขาวิชาตางๆ เพื่อความกาวหนาทางวิชาการและเพื่อ ประโยชนในการนําไปใชในการพัฒนาสังคม และพัฒนาประเทศชาติ 5. เพื่อเปนศูนยกลางการใหบริการทางวิชาการแกสังคมและเผยแพรความรูดานตางๆ ใหแก ชุมชน ทองถิ่น และประเทศชาติ 6. สงเสริมและทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม รวมสืบสานมรดกทางวัฒนธรรมและ ขนบธรรมเนียมอันดีงาม เพื่อดํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณของชาติไทย
15
เปาหมายพันธกิจ เพื่อใหการดําเนินงานบรรลุตามพันธกิจดังกลาวขางตน จึงกําหนดเปาหมายพันธกิจ ทั้งใน เชิงเชิงคุณภาพดังตอไปนี้ 1. คุณภาพบัณฑิต – ผูสําเร็จการศึกษาตองมีคุณสมบัติดังนี้ - มีความรูความเขาใจในเนื้อหาสาระของวิชาที่ศึกษา - สามารถนําความรูไปใชในการปฏิบัติงานได - สนใจใฝรู และสามารถเรียนรูไดตลอดชีวิต - มุงมั่นจะเรียนรูและพัฒนาตนเองตลอดเวลา - มีคุณธรรม จริยธรรมรับผิดชอบตอสังคม มีระเบียบวินัย มีจรรยาบรรณ วิชาชีพ - สามารถใชเทคโนยีสมัยใหมได - อยูในสังคมอยางมีความสุข 2. การพัฒนาบุคลากร – บุคลากรของวิทยาลัยจะไดรับการพัฒนาดังนี้ - ศึกษาเพิ่มเติมในระดับสูงขึ้น - มีการสงเสริมคณาจารยใหมีตําแหนงทางวิชาการเพิ่มขึ้น - ไดรับการอบรม สัมมนาทั้งในวิทยาลัยและภายนอกวิทยาลัย - มีความสามารถในการแขงขันไดในวิชาชีพของตน - ใหมีเจตคติที่ดีตอเพื่อนรวมงานตอวิทยาลัย - กระตือรือรนและสนใจเรียนรูเรื่องใหม ๆ อยางตอเนื่อง 3. การคนควาวิจัยในสาขาวิชาตางๆ โดยคณาจารย นักศึกษาจะรวมกัน ดังนี้ - วิจัย คนควาเพื่อนําความรูไปพัฒนาวิชาการและเปนประโยชนตอวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติ - เนนการวิจัยที่เปนองคความรูใหม - เนนการวิจัยเพื่อพัฒนาตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 4. การบริการวิชาการแกสังคม – วิทยาลัยจะเปนหนวยงานที่ใหบริการแกสังคมใน ลักษณะ ดังนี้ - เปนองคกรแหงการเรียนรู และมีประสิทธิภาพ - ทําประโยชนแกสังคมอยางตอเนื่อง - พัฒนาตนเองไปเปนมหาวิทยาลัยที่เปนที่พึ่งของสังคมได
16
5. ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น – วิทยาลัยจะพัฒนาสงเสริมศิลปวัฒนธรรมและ ภูมิปญญาทองถิ่น ดังนี้ - ปลูกฝงคานิยม วัฒนธรรมดานศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นแกนักศึกษา - สืบสานคุณคาและเอกลักษณของทองถิ่น - สนับสนุนกิจกรรมตามประเพณีนิยม กรอบยุทธศาสตร เพื่อใหการดําเนินการของวิทยาลัยสามารถบรรลุตามวิสัยทัศนและพันธกิจไดอยาง ครบถวนและมีประสิทธิภาพ วิทยาลัยจึงกําหนดกรอบการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ใหความสําคัญแกคุณภาพของบัณฑิต - วิทยาลัย ถือวาคุณภาพบัณฑิตมีความสําคัญยิ่ง และตองไดรับการเอาใจใสดูแลใหสําเร็จการศึกษาตามระยะเวลาที่กําหนด และมีความรู ความสามารถตามมาตรฐาน เปนผูที่มีคุณธรรม และมีความสามารถทางเทคโนโลยี 2. ยึดมั่นคุณภาพความเปนสากล วิทยาลัยจะมุงมั่นจัดการศึกษาใหไดมาตรฐาน โดยมีการ ตรวจสอบติดตามตลอดเวลา 3. เปนองคกรแหงการเรียนรู - วิทยาลัยมุงมั่นที่จะพัฒนาตนเองไปเปนมหาวิทยาลัยที่เปน แหลงเรียนรูหลากหลายสาขาวิชา โดยนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาประยุกตใชใหเหมาะกับภารกิจ ของวิทยาลัย เนนการบริหารจัดการองคความรู 4. มุงสรางเครือขายทั้งภายในและภายนอก –วิทยาลัยเนนเครือขายของสถาบันในเครือ และ เนนสรางเครือขายกับหนวยงานภายนอก โดยมุงเสริมสรางการประสานงานหนวยงานทั้งภาครัฐ และเอกชน เพื่อสรางเครือขายในลักษณะพันธมิตร 5. การใชเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสม - วิทยาลัยจะติดตามพัฒนาการของเทคโนโลยี ทันสมัยตลอดเวลา เพื่อนํามาใชในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การบริหาร และการ บริการ 6. พัฒนาคณาจารยและบุคลากรอื่นๆ - วิทยาลัยจะสงเสริมใหคณาจารยไดพัฒนา ความสามารถเพื่อเขาสูตําแหนงทางวิชาการระดับ ผศ. รศ. และ ศ. ประเด็นยุทธศาสตร เพื่อใหเกิดผลตามเจตนารมณของวิสัยทัศน พันธกิจ เปาหมายพันธกิจ กรอบยุทธศาสตร ขางตน จึงพัฒนาประเด็นยุทธศาสตรซึ่งวิทยาลัยจะใหความสําคัญในการดําเนินงาน ดังตอไปนี้ 1. ดานการบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน มุงพิจารณาหลักสูตรให สอดคลองกับภาวะความตองการของสังคมปจจุบัน มีความทันสมัย ปรับปรุงหลักสูตรใหเหมาะสม ตลอดเวลาทุก 5 ป เปดทางเลือกในระบบที่ยืดหยุนมากขึ้น แตยังคงไวซึ่งคุณภาพและมาตรฐาน
17
มุงเนนใหนักศึกษาไดประโยชนสูงสุดจากหลักสูตร ระบบการเรียนการสอนและเนื้อหาสาระที่ได ศึกษา ปรับระบบการสอนใหเหมาะสมกับกลุมผูเรียน เปดคณะและสาขาวิชาที่เปนความตองการ ของตลาดแรงงานและสังคมเพิ่มเติม ไดแก คณะบัญชี คณะนิติศาสตร คณะนิเทศศาสตร คณะศิลป ศาสตร คณะวิทยาศาสตร เทคโนโลยีสารสนเทศ ( IT) และเปดสาขาเพิ่ม คือ สาขา การจัดการ โรงแรมและทองเที่ยว ในคณะบริหารธุรกิจ ขยายการศึกษาไประดับปริญญาโท คือ M.BA., Exec. M.BA., M.A., M.S.(IT, MIS.) 2. ดานพัฒนาทรัพยากรบุคคล โดยมุงการพัฒนาความรูความสามารถของคณาจารยใหมี การศึกษาระดับสูงขึ้น มีการพัฒนาการเรียนการสอนที่ทันสมัยมุงพัฒนาความรูความสามารถ ทักษะ เจตคติ ที่เหมาะสมกับวิชาชีพ ทั้งดานความรูทั่วไปในวิชาชีพ (General Training) ความรูเฉพาะทาง (Functional Training) และดานอื่นๆ และสงเสริมใหคณาจารยเขาสูตําแหนงทางวิชาการระดับ ผศ. รศ. และ ศ. .ใหมากขึ้น 3. ดานสื่อและเทคโนโลยี มุงเนนการพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีที่ทันสมัยเอื้อตอการใชงาน ทั้ง Internet, E-learning, CD, Tape, E-book และ Multimedia อื่นๆ รวมทั้งเอกสารประกอบการ สอน เอกสารคําสอน ตํารา หนังสือ 4. ดานพัฒนาคุณภาพบัณฑิต มุงเนนการวางระบบที่สงเสริมความรู ความสามารถทาง วิชาการ โดยเฉพาะการใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย ( IT) ความสามารถดานภาษาตางประเทศ การเปน ผูนํา การเปนผูมีคุณธรรม การรูจักคิดวิเคราะห รวมทั้งความพรอมดาน EQ และ MQ ควบคูกับ IQ การสรางเสริมประสบการณ การสรางความพรอมใหกับนักศึกษาเพื่อเปนบัณฑิตที่มีคุณภาพ ทั้งนี้ รวมถึงคุณภาพของผูเรียนหรือผูเขารับการอบรมดวย 5. ดานการพัฒนาเครือขายความรวมมือ มุงสรางเครือขายความรวมมือกับผูรับบริการ / ชุมชน / หนวยงานที่รับฝกงานแบบสหกิจศึกษา / สมาคมวิชาชีพ / สมาคมวิชาการตางๆ / เครือขาย อุดมศึกษา / ภูมิปญญาทองถิ่น / กลุมอนุรักษศิลปวัฒนธรรมความเปนไทย / กลุมศิษยเกา และ สถานประกอบการอื่นๆ ที่เกี่ยวของ โดยเนนการทําความตกลงรวมมือและการเจรจาเพื่อหากลุม เครือขาย พันธมิตร ทั้งในระดับชาติ ระดับนานาชาติ 6. ดานพัฒนาการบริหารจัดการ ดานทรัพยากรบุคคล เทคโนโลยี อาคารสถานที่ การเงิน งบประมาณ วัสดุครุภัณฑ ยานพาหนะ รวมทั้งดานธุรการ/สารบรรณ สวัสดิการ และการจัดการ สภาพแวดลอม ภูมิทัศนของวิทยาลัย โดยมุงการจัดระบบการบริหารวิทยาลัยใหมีความยุติธรรม ธรรมภิบาล มีประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานและมีความคลองตัวมากยิ่งขึ้น
18
7. ดานพัฒนาคุณภาพการบริการทางวิชาการแกสังคม มุงใหบริการวิชาการแกสังคมอยางมี คุณภาพในสาขาวิชาที่คณะตางๆ เปดสอน ในเชิงการจัดอบรมระยะสั้น ระยะยาว การจัดสัมมนาเชิง ปฏิบัติการ การเปนที่ปรึกษา การเปนวิทยากร 8. ดานการประชาสัมพันธ มุงเนนการประชาสัมพันธอยางตอเนื่องทั้งกับสถาบันในเครือ สถานศึกษาอื่นและหนวยงานทั้งของรัฐและเอกชน ในเขตจังหวัดนนทบุรี บริเวณรอบวิทยาลัย ทั่วไป และที่อื่นๆ เพื่อเพิ่มจํานวนนักศึกษา และเพิ่มปริมาณผูใชบริการของวิทยาลัยดวยการอบรม การประชุม สัมมนา และอื่นๆ โดยเนนการประชาสัมพันธเชิงรุกทุกตัวบุคคลและหนวยงาน ผาน ทางสื่อตางๆ ทุกรูปแบบ 9. ดานการวิจัยและงานสรางสรรค มุงสงเสริมใหเกิดการวิจัยที่เปนความชํานาญของ คณาจารยและนักวิจัยของวิทยาลัยในสาขา/คณะวิชาที่เปดสอน รวมทั้งการวิจัยที่เปนการสรางองค ความรูใหม และการวิจัยเพื่อการพัฒนา ( R&D) ประเทศ โดยอาจรวมมือกับหนวยงานภายนอก/ ชุมชน ในการวิจัยเพื่อตอบสนองความตองการของหนวยงาน และมุงเนนการแสวงหาทุนจาก ภายนอกในการทําวิจัย 10. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม มุงเนนการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมที่เปนเอกลักษณ ของชุมชน ของสังคม เนนความเปนไทย และการอนุรักษวัฒนธรรมที่เปนภูมิปญญาทองถิ่น โดย อาศัยวิทยากรจากทองถิ่นเปนหลัก 11 . ดานการประกันคุณภาพ มุงเนนการสรางระบบเพื่อการประกันคุณภาพทั้งในระดับ หนวยงานยอย (คณะ/สํานัก/ศูนย) และในระดับวิทยาลัย เพื่อนําไปสูการรับรองมาตรฐานการศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษาตอไป 4. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ดารุณี สังขบุรินทร (2548) ไดทําการศึกษาเรื่อง ศึกษาความพึงพอใจในหลักเกณฑและ วิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ เพื่อศึกษาระดับ เปรียบเทียบ ความพึงพอใจใจหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ จําแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน และเพื่อประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการ ปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ การวิจัยครั้งนี้ ศึกษาจากกลุมตัวอยาง คือ พนักงานมหาวิทยาลัย จํานวน 101 คน โดยสุมจาก ประชากร คือ พนักงานมหาวิทยาลัยจากจํานวน 212 คน ที่ผานมาการประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งหมด จํานวน 136 คน เครื่องมือที่ใชในการเก็บรวบรวมขอมูลเปนแบบสอบถามมีลักษณะเปน แบบมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ จํานวน 40 ขอ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล ไดแก คารอย
19
ละ คาเฉลี่ย คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใชการวิเคราะหความแปรปรวนแบบสามทาง ( Three–way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน และเมื่อมีนัยสําคัญทางสถิติ ทําการเปรียบเทียบพหูคูณ โดยใช วิธีการแบบ LSD เพื่อหาความแตกตางเปนรายคู ผลการวิจัยพบวา 1. พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีความพึงพอใจในหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานโดยภาพรวมและรายดาน อยูในระดับปานกลาง 2. ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ตามตัวแปรเพศ วุฒิ และสายงาน 2.1 ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในหลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานของ พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ พบวา 2.1.1 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีเพศตางกัน มีความพึงพอใจในหลักเกณฑการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายดานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเพศหญิงมีความพึงพอใจมากกวาเพศชาย 2.1.2 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณที่มีวุฒิการศึกษาตางกัน มีความพึงพอใจใน หลักเกณฑการประเมิน ผลการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมและรายดานไมแตกตางกัน 2.1.3 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีสายงานตางกัน มีความพึงพอใจในหลักเกณฑ การประเมิน โดยภาพรวมและรายดานแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ . 01 และ .05 ตามลําดับ โดยภาพรวมและรายดาน สายสนับสนุนมีความพึงพอใจมากกวาสายวิชาการ 2.2 ผลการเปรียบเทียบความพึงพอใจในวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ พบวา 2.2.1 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีเพศตางกัน และวุฒิการศึกษาตางกัน มีความพึง พอใจไมแตกตางกัน 2.2.2 พนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ ที่มีสายงานตางกัน มีความพึงพอใจแตกตางกันอยาง มีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยสายสนับสนุนมีความพึงพอใจมากกวาสายวิชาการ
20
2.3 เพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน มีปฏิสัมพันธรวมกัน สงผลตอความพึงพอใจใน หลักเกณฑการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ โดยภาพรวมและราย ดานอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2.4 เพศ วุฒิการศึกษา และสายงาน ไมมีปฏิสัมพันธรวมกันไมสงผลตอความพึงพอใจ ในวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ 3. ผลการประมวลปญหาและขอเสนอแนะในการปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการ ประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามความคิดเห็นของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ 3.1 ปญหาเกี่ยวกับหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามความคิดเห็น ของพนักงาน มหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ สายวิชาการและสายสนับสนุนมีลักษณะงานตางกัน แตใช หลักเกณฑและวิธีการประเมินแบบเดียวกัน ไมมีเกณฑการประเมินที่ชัดเจนตามตําแหนงงาน ไมมี การประเมินโดยรวบรวมขอมูลรอบดาน เกณฑ ที่ใชในการประเมินไมสอดคลองกับลักษณะการ ปฏิบัติงานจริง สวัสดิการ คาตอบแทน และสถานภาพ ระหวาง ขาราชการและพนักงาน มหาวิทยาลัยตางกันแตใชหลักเกณฑเดียวกัน หลักเกณฑการประเมินไมครอบคลุมมีเพียงดาน ผลงาน และดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การประเมินของคณะกรรมการไมครอบคลุมมีเพียงดาน ผลงาน และดานคุณลักษณะการปฏิบัติงาน การประเมินของคณะกรรมการบริหารพนักงาน มหาวิทยาลัย ไมไดประเมินตามสภาพความเปนจริง เปนการประเมินจากเอกสาร แบบประเมินไม เหมาะสม ไมมีพื้นที่เขียนสรุปการทํางาน อุปสรรคและปญหาที่ทําใหงานไมถึงเปาหมายและแนว ทางแกไข 3.2 ขอเสนอแนะในการปรับปรุงหลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตาม ความคิดเห็นของพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณ มีดังนี้ รูปแบบ หลักเกณฑและวิธีการประเมินผลการ ปฏิบัติงานระหวางสายสนับสนุนกับสายวิชาการควรแยกออกจากกัน ควรมีเกณฑในการพิจารณา ของแตละคณะ แตละภาควิชา แตละหนวยงาน ควรปรับปรุงการประเมินใหเหมาะสมตามตําแหนง งานและแตละภาระงาน หลักเกณฑควรสอดคลองกับภาระงานจริง และมีลักษณะเฉพาะของ มหาวิทยาลัยทักษิณ ควรใหพนักงานมหาวิทยาลัยทักษิณเขาไปมีบทบาทและมีสวนรวมในการ กําหนดรูปแบบเกณฑและรวมประเมิน ควรปรับรูปแบบการประเมินเปนแบบ 360 องศา ปรับ สัดสวนการประเมินจากหนวยงานที่สังกัด : คณะกรรมการประเมินเปน 60 : 40 ควรเปดโอกาสให พนักงานมหาวิทยาลัยชี้แจงรายละเอียดปญหาและอุปสรรครวมทั้งวิธีแกไขปญหา
21
วัฒนา เจียรวิจิตร (2543 : บทคัดยอ ) ไดทําการศึกษาความพึงพอใจในการทํางานของ พนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร ศึกษาเฉพาะกรณี บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัท ในเครือ จํานวน 72 คน ผลการศึกษาพบวาพนักงานมีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง และเมื่อ พิจารณาความพึงพอใจในการทํางานโดยแยกตามองคประกอบของความพึงพอใจพบวา พนักงานมี ความพึงพอใจมากในดานความสัมพันธกับผูบังคับบัญชา และดานความสัมพันธกับเพื่อนรวมงาน สวนดานเงินเดือน คาตอบแทน และสวัสดิการ ดานความมั่นคงและความกาวหนา ดานความสําคัญ ของงานตอบริษัท มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง สําหรับการศึกษาปจจัยที่มีความสําคัญตอ ความพึงพอใจของพนักงานพบวา ปจจัยที่มีความสําคัญอันดับหนึ่ง คืองานที่ทาทาย มีความสําคัญ และมีโอกาสศึกษาเทคโนโลยี่ใหม อันดับสองคือ เพื่อนรวมงาน อันดับสามคือ เงินเดือนคาจาง และสวัสดิการ อันดับสี่คือ หัวหนางาน และอันดับหาคือ ความมั่นคงและมีโอกาสกาวหนา นันทา รัตพันธุ (2541 : บทคัดยอ ) ไดทําการศึกษาทัศนคติของพนักงานเทคโนโลยี่ สารสนเทศที่มีตอสิ่งจูงใจในการทํางานใน ธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน) ผลการศึกษาสรุป ไดวาปจจัยที่มีอิทธิพลตอการตัดสินใจคิดลาออกที่ธนาคารควรจะตองดําเนินการเพื่อเปนการจูงใจ ใหพนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศมีความพึงพอใจในการทํางานกับธนาคารไทยพาณิชยฯ คือ อัตรา เงินเดือน สวัสดิการ ทุนการศึกษา และความสะวกในการเดินทางมาทํางานโดยรอยละ 44.3, 37.8, 27.0และ 22.7 ของพนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ ที่ทําหนาที่เกี่ยวของกับ การพัฒนาระบบ คอมพิวเตอรทั้งหมด มีความคิดที่จะลาออกดวยเหตุผลดังกลาวขางตนตามลําดับ ถาพิจารณาในดาน ความพึงพอใจตอปจจัยทั้ง 4 ดังกลาว พนักงานเทคโนโลยี่สารสนเทศ มีความพึงพอใจเฉลี่ย 3.161, 2.735, 2.708 และ 3.581 คือ อยูในระดับความพึงพอใจปานกลางสําหรับอัตราเงินเดือน สวัสดิการ และทุนการศึกษา สําหรับปจจัยเรื่องความสะดวกในการเดินทางมาทํางานมีระดับความพึงพอใจ มาก
22
5. กรอบความคิดในการศึกษาวิจัย จากการศึกษาแนวความคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของ ผูศึกษาจึงกําหนดกรอบแนวคิดดังนี้ ตัวแปรอิสระ ตัวแปรตาม สถานภาพสวนบุคคล
นักศึกษา - เพศ - หลักสูตรที่ศึกษา - สาขาวิชา - อายุ - ประเภท (รอบ)
ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ - ดานหลักสูตร - ดานการสอนของคณาจารยโดย ภาพรวม - ดานการบริการ - ดานหองเรียน และหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ
คณาจารย - เพศ - ตําแหนง - สาขาที่สังกัด
- ดานหลักสูตร - ดานการจัดการคณาจารยในใน การสอน - ดานการบริหารจัดการ - ดานการวิจัย - ดานหองเรียนและหองสมุด - ดานบริการอื่นๆ - ดานการบริหารจัดการ - ดานบริการอื่นๆ
เจาหนาที่ - เพศ
ภาพที่ 2 กรอบแนวคิดการวิจัย
บทที่ 3 วิธีดําเนินการศึกษาวิจัย ในการสํารวจครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ( Survery Research) ผูวิจัยไดกําหนดพื้นที่ที่ ทําการศึกษาแบบเฉพาะเจาะจง คือ วิทยาลัยราชพฤกษ โดยมีนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ของ วิทยาลัย โดยใชวิธีสุมตัวอยางแบบงาย ตัวแปรในการศึกษาวิจัย เครื่องมือในการวิจัย คือ แบบสอบถาม การวิเคราะหขอมูลใชสถิติพรรณนา โดยมีรายละเอียดดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร ( Population) นักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ของวิทยาลัยราชพฤกษ มี จํานวนทั้งสิ้น 1,198 คน โดยมีรายละเอียดดังนี้ นักศึกษาที่กําลังศึกษาในวิทยาลัยราชพฤกษ ทุก ชั้นป ทุกสาขาวิชา ภาคการเรียน 2550 ซึ่งจํานวนนักศึกษาที่มีสถานภาพ (ลงทะเบียน) ณ วันที่ 18 ธันวาคม 2550 ทั้งสิ้น 1,062 คน คณาจารย จํานวน 107 คน และเจาหนาที่ จํานวน 29 คน (ที่มา : ฐานขอมูลฝายทรัพยากรมนุษย วิทยาลัยราชพฤกษ ณ วันที่ 13 มกราคม 2552) 2. กลุมตัวอยาง (Sample) ผูวิจัยกําหนดกลุมตัวอยาง ซึ่งสามารถระบุจํานวนประชากรได ผูวิจัยจึงกําหนดขนาดกลุมตัวอยางตามสูตรของทาโร ยามาเน ( Taro Yamane) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และความคลาดเคลื่อน 5% หมายความวาประชากรตัวอยาง 100 คน จะเกิดความคลาดเคลื่อน ของการสุมตัวอยาง 5 คน ตามสูตรขนาดตัวอยางที่เหมาะสมจํานวน 1,198 คน จะใชแบบสอบถาม จํานวน 300 ชุด n
โดย
=
N 1 + Ne 2
= ขนาดของกลุมตัวอยาง = ขนาดของประชากร N = ความคลาดเคลื่อนของการสุมตัวอยาง e (โดยในการศึกษาครั้งนี้กําหนดไว = 0.05) n
24
แทนคา
1,198 1 + [1,198x (0.05)2] = 299.87 n ดังนั้นขนาดของกลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยเทากับ 300 ราย n
=
และใชวิธีการสุมตัวอยางชนิดอาศัยความนาจะเปน ( Probability Sampling) แบบ Stratified Sampling โดยแบงประชากรที่แตกตางกันในเรื่อง สถานะภาพ ซึ่งสามารถแบง ไดเปน 3 กลุม จากนั้น ใชวิธี Probability มาจัดสัดสวนการสุมตัวอยางแตละชั้นปการศึกษา ดังแสดงในตาราง ตอไปนี้ ตาราง จํานวนประชากรและกลุมตัวอยาง จํานวนประชากร สัดสวน ลําดับ สถานะภาพ การวิจัยทั้งหมด การสุมตัวอยาง ประชากร 1 อาจารย 107 27 2 เจาหนาที่ 29 7 3
นักศึกษา รวมจํานวนกลุมตัวอยางทั้งสิ้น
1,062
266
1,198
300
ตัวแปรที่ใชในการศึกษาวิจัย 1. ตัวแปรอิสระ ( Independent Variable) คือ คุณลักษณะสวนบุคคล ของนักศึกษา ประกอบดวย เพศ หลักสูตรที่ศึกษา สาขาวิชาที่สังกัด อายุ และประเภทภาคที่ศึกษา 2. ตัวแปรตาม ( Dependent Variable) คือ ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ ไดแก แบบสอบถามสําหรับ นักศึกษา สําหรับคณาจารย และสําหรับเจาหนาที่ โดยแบบสอบถามประกอบไปดวยคําถาม
25
เกี่ยวกับสถานภาพของผูตอบ และแบบวัดความพึงพอใจโดยมีมาตรวัดแบบ Likert Scale จํานวน 5 ชวง คําถามประกอบดวยความพึงพอใจ 6 ดาน ไดแก 1. ดานหลักสูตร คือ มีหลักสูตรที่ทันสมัย มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่ สอดคลองกับสภาพปจจุบัน เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษา สามารถศึกษาระดับสูงได เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษาตางประเทศ หลักสูตรเปด โอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงไดอยางเปนระบบ มีวิชาเลือกหลากหลาย 2. ดานการจัดการคณาจารยในการสอน คือ มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน มีความรูความสามารถในการสอน เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา มีความมั่นคงทาง อารมณ มีประสบการณในการสอน ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสม กับวิชา จัดกิจกรรมการเรียนการมสอนไดเหมาะสม มีภาระการสอนพอเหมาะ จัดตารางสอนได เหมาะสม 3. ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน คือ จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม จัดหองพักไดเหมาะสม จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม มีสวัสดิการที่ เหมาะสม มีการประชุมการทํางานรวมกัน มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน มีการปฐมนิเทศให รูจักวิทยาลัย เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมูคณาจารย สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทางวิชาการ จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานใหเหมาะสม จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม 4. ดานการวิจัย คือ มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน มีการสนับสนุนทุน ดําเนินการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย 5. ดานหองเรียนและหองสมุด คือ มีความสะดวกสบายในหองเรียน มีหนังสือใน หองสมุดเพียงพอ ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก การใชระบบอินเตอรเน็ตมีความสะดวก 6. ดานบริการอื่นๆ คือ หองน้ําสะอาด ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม มีสนามกีฬาที่ดี มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย อาหารที่จําหนายสะอาด ถูก สุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีบริการเงินดวน ( ATM) ที่สะดวก มีรานถาย เอกสารที่ดี มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี
26
การหาคุณภาพของเครื่องมือ เมื่อผูศึกษาวิจัยไดสรางแบบสอบถามเสร็จ ไดนําแบบสอบถามดังกลาวไปทดสอบกับ นักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ของวิทยาลัยราชพฤกษ จํานวน 30 ชุด แลวนํามาปรับปรุงแกไข กอนนําไปใช การเก็บรวบรวมขอมูล ในการเก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใชในการศึกษาวิจัย ผูวิจัยไดดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล ดวยการใชแบบสอบถาม ซึ่งแบงเปน 3 ชุด โดยชุดแรกนําแบบสอบถามไปสํารวจกับกลุมตัวอยางที่ เปนนักศึกษา ชุดที่สอง นําแบบสอบถามไปสํารวจกับกลุมตัวอยางที่คณาจารย และชุดที่สามนําไป สํารวจกับกลุมตัวอยางที่เปนเจาหนาที่ รวม 300 ชุด การวิเคราะหขอมูล การวิจัยครั้งนี้ผูวิจัยใชขอมูลที่เก็บรวมรวมจากลุมตัวอยาง จํานวน 300 คน มาดําเนินการ วิเคราะหเชิงปริมาณ ( Quantitative) โดยการประมวลผลดวยโปรแกรมสําเร็จ โดยคาสถิติที่ใชใน การวิเคราะหขอมูล คือ คาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ANOVA (One-way) และทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD สวนผลขอมูลเชิงคุณภาพที่ไดจากการสังเกต ผูวิจัยนํามา วิเคราะหเชิงพรรณนา โดยบรรยายลักษณะของขอมูลเชิงประจักษ
บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การศึกษาเรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย เจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัยราชพฤกษ ผูศึกษารวบรวมขอมูลจากกลุมประชากรที่เปนนักศึกษา คณาจารยและเจาหนาที่ การวิเคราะหขอมูลจะนําเสนอ 4 ตอน ดังนี้ ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยมีเกณฑการใหคะแนน 5 ระดับ ดังนี้ ระดับความพึงพอใจ ระดับคะแนน 5 คะแนน มากที่สุด 4 คะแนน มาก 3 คะแนน ปานกลาง 2 คะแนน นอย 1 คะแนน นอยที่สุด และมีเกณฑการแปลความหมายของระดับคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ คะแนนเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมากที่สุด คะแนนเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับมาก คะแนนเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง คะแนนเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง มีความพึงพอใจอยูในระดับนอย คะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับนอยที่สุด ตอนที่ 1 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test ANOVA (One-way) และทดสอบความ แตกตางรายคูดวย LSD ดังตาราง
28
ตารางที่ 1 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน นักศึกษา สถานภาพทั่วไป 1. เพศ ชาย หญิง 2. หลักสูตรที่ศึกษา หลักสูตร 4 ป หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง 3. สาขาวิชาที่ศึกษา คอมพิวเตอรธุรกิจ การตลาด การจัดการ การจัดการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี นิติศาสตร นิเทศศาสตร 4. อายุ ต่ํากวา 25 ป 20 - 25 ป 26 - 30 ป 30 ปขึ้นไป 5. ประเภท ภาคปกติ ภาคสมทบ (ค่ํา) ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย)
จํานวน
รอยละ
85 181
31.95 68.05
76 190
28.57 71.43
37 44 50 46 54 21 14
13.91 16.54 18.80 17.29 20.30 7.89 5.26
42 117 66 41
15.79 43.98 24.81 15.41
135 46 85
50.75 17.29 31.95
29
จากตารางที่ 1 พบวา นักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 68.05 เรียนหลักสูตร 2 ปตอเนื่อง รอยละ 71.43 เปนสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด รอยละ 20.30 รองลง ตามลําดับคือ สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว สาขาวิชา การตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชานิติศาสตร และสาขาวิชานิเทศศาสตร มีอายุต่ํา กวา 20 - 25 ป รอยละ 43.98 รองลงมาตามลําดับคือ 26 - 30 ป ต่ํากวา 25 ป และ 30 ปขึ้นไป และ เปนนักศึกษาภาคปกติ รอยละ 50.75 รองลงมาตามลําดับคือ ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) และภาค สมทบ (ค่ํา) ตารางที่ 2 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการ ของวิทยาลัยราชพฤกษ ขอที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6.
ความพึงพอใจ ดานหลักสูตร มีหลักสูตรที่ทันสมัย มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลอง กับสภาพปจจุบัน เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐาน เพื่อ ชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษา ตางประเทศ หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปน ระบบ มีวิชาเลือกหลากหลาย รวม
ระดับความพึงพอใจ X S.D แปลความ 3.32 3.38
0.83 0.74
ปานกลาง ปานกลาง
3.49
0.76
ปานกลาง
3.08 3.34
0.87 0.83
ปานกลาง ปานกลาง
3.00
0.90
ปานกลาง
3.27
0.63
ปานกลาง
30
ตารางที่ 2 (ตอ) ขอที่ 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14.
1. 2. 3. 4. 5. 6.
ขอความ ดานการสอนของคณาจารย มีวุฒิตรงกับวิชาที่สอน มีความรูความสามารถในการถายทอดความรู เปนกันเองกับนักศึกษา เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความมั่นคงทางอารมณ แตงกายสุภาพเรียบรอย มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีประสบการณในวิชาที่สอน ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา แนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม มีเอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา รวม ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความเหมาะสม การศึกษาดูงานนอกสถานที่เหมาะสม การประชาสัมพันธภาพลักษณของวิทยาลัยใหเปนที่ รูจักผานสื่อตางๆ การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบเรียบรอย รวม
ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.79 3.73 4.01 3.75 3.62 4.05 3.59 3.66 3.70 3.49 3.69 3.68 3.52 3.61 3.71
0.77 0.71 0.75 0.81 0.82 0.76 0.78 0.71 0.74 0.77 0.79 0.84 0.77 0.83 0.53
มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก มาก
3.22
1.00
ปานกลาง
3.21 2.84 2.64 3.04
0.84 1.05 1.14 0.99
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
3.08 3.01
0.91 0.73
ปานกลาง ปานกลาง
31
ตารางที่ 2 (ตอ) ขอที่
ขอความ
ดานหองเรียน และหองสมุด 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โฟรเจ็คเตอร 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก รวม ดานการบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 10. มีรานถายเอกสารที่ดี 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 12. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี รวม
ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.45
0.95
ปานกลาง
3.11 3.10 3.11 3.09 3.17
0.98 0.93 0.94 1.01 0.80
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
2.97 3.11 3.06 2.87 2.03 2.14 2.41 2.39 2.27 3.11 2.35 2.95 2.64
0.97 0.88 0.96 0.99 1.06 1.10 1.07 1.04 1.18 1.01 1.02 1.06 0.72
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย นอย นอย นอย นอย ปานกลาง นอย ปานกลาง ปานกลาง
32
จากตารางที่ 2 พบวานักศึกษาสวนใหญมีความพึงพอใจอยูในระดับมาก 1 ดาน คือ ดานการ สอนของคณาจารย และระดับปานกลาง 4 ดาน เรียงลําดับจากมากลงมา คือ ดานหลักสูตร ดาน หองเรียนและหองสมุด ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน และ ดานการบริการอื่นๆ และเมื่อพิจารณารายการยอยแตละดานมีรายละเอียดดังนี้ ดานการสอนของคณาจารย พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับมากทุกรายการและ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ อาจารยแตงกายเรียบรอย รองลงตามลําดับคือ อาจารยเปนกันเองกับนักศึกษา มี คุณวุฒิตรงกับวิชาที่สอน เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความรูความสามารถในการการถายทอด ความรู ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนํา ชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีประสบการณในวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ มีเอกสาร ประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนไดเหมาะสม และแนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม ดานหลักสูตร พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับปานกลางและคาเฉลี่ยทุกรายการอยู ในระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยที่ไมต่ํากวา 3.00 โดยคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการ สรางความรูพื้นฐาน รองลงตามลําดับคือ เพื่อชวยให มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลอง และหลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปนระบบ ดานหองเรียนและหองสมุด พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อ พิจารณารายขอ พบวา คาเฉลี่ยทุกรายการอยูในระดับปานกลาง ซึ่งมีคาเฉลี่ยที่ไมต่ํากวา 3.00 โดย ขอที่มีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ รองลงตามลําดับคือ มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ และการคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจในระดับ ปานกลางและคาเฉลี่ยทุกรายการอยูในระดับปานกลาง มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 2 รายการ ไดแก การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความเหมาะสม และการศึกษาดูงานนอกสถานที่ เหมาะสม ดานบริการอื่นๆ พบวา นักศึกษามีความพึงพอในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายขอ อยูระดับปานกลาง ยกเวน 6 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย ราน สหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก มีบริการเงินดวน (ATM) ที่ สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย
33
ตารางที่ 3 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนกตามเพศ ขอที่
รายการ
1. 2. 3. 4. 5.
ดานหลักสูตร ดานการสอนของคณาจารย ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน ดานหองเรียนและหองสมุด ดานบริการอื่นๆ
ชาย X 3.39 3.86 3.21 3.37 2.87
เพศ S.D 0.69 0.47 0.72 0.82 0.79
หญิง S.D X 3.21 0.59 3.63 0.55 2.91 0.72 3.08 0.78 2.53 0.66
t
sig
3.45 1.28 1.05 0.06 3.14
0.06 0.26 0.31 0.80 0.08
จากตารางที่ 3 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาจําแนกตามเพศไมมีความแตกตางกัน ใน ทุกดาน ตารางที่ 4 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยจําแนกตาม หลักสูตรที่ศึกษา ขอ ที่
รายการ
1. 2. 3. 4. 5.
ดานหลักสูตร ดานการสอนของคณาจารย ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน ดานหองเรียนและหองสมุด ดานบริการอื่นๆ
หลักสูตร 4 ป 2 ปตอเนื่อง S.D X S.D X 3.23 0.57 3.28 0.65 3.61 0.49 3.74 0.54 2.98 0.69 3.02 0.75 3.10 0.72 3.20 0.83 2.61 0.70 2.65 0.73
t
Sig
1.09 1.48 1.23 1.24 0.45
0.30 0.22 0.27 0.27 0.50
จากตารางที่ 4 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาจําแนกตามหลักสูตรที่ศึกษาไมมีความ แตกตางกัน ในทุกดาน
34
ตารางที่ 5 การวิเคราะหความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของวิทยาลัย จําแนกตามสาขาวิชา แหลงของความแปรปรวน 1. ดานหลักสูตรและการสอน
2.ดานการสอนของคณาจารย
3. ดานการจัดบริการสนับสนุน การเรียนการสอน 4. ดานหองเรียนและหองสมุด
5. ดานบริการอื่นๆ
ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม
SS
df
MS
6.67 97.05 103.72 6.93 68.08 75.01 5.03 137.98 143.02 7.29 162.96 170.26 11.96 126.58 138.54
6 259 265 6 259 265 6 259 265 6 259 265 6 259 265
1.11 2.97* 0.37
0.01
1.16 4.40* 0.26
0.00
0.84 0.53
1.57
0.15
1.22 0.63
1.93
0.08
1.99 4.08* 0.49
0.00
F
Sig
* ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 5 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาเมื่อจําแนกตามสาขาวิชาที่เรียน มีความ แตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จํานวน 3 ดาน คือ ดานหลักสูตรและการสอน ดานการ สอนของคณาจารย และดานบริการอื่นๆ เมื่อทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD ไดขอแตกตางดัง ตารางที่ 6 - 8
35
ตารางที่ 6 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานหลักสูตรและการสอน จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม 0.12 0.67 0.05 0.78 0.30 0.28 คอมพิวเตอร ธุรกิจ การตลาด 0.03* 0.00* 0.05 0.80 0.96 การจัดการ 0.10 0.86 0.15 0.16 การจัดการ การทองเที่ยว 0.07 0.01* 0.01* และการ โรงแรม การบัญชี 0.18 0.19 นิติศาสตร 0.88 นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 6 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดมีความพึงพอใจ ดานหลักสูตรและการ สอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการ ทองเที่ยว สวนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวมีความพึงพอใจ ดาน หลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตรและสาขาวิชานิเทศศาสตร อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
36
ตารางที่ 7 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของคณาจารย จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม คอมพิวเตอร 0.06 0.56 0.05 0.24 0.71 0.01* ธุรกิจ การตลาด 0.01* 0.00* 0.00* 0.05 0.00* การจัดการ 0.13 0.52 0.93 0.02 การจัดการ การทองเที่ยว 0.37 0.21 0.16 และการ โรงแรม การบัญชี 0.57 0.04* นิติศาสตร 0.03* นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 7 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารย แตกตางจากนักศึกษาเกือบทุกสาขาวิชายกเวนสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ แตนักศึกษาสาขาวิชา นิเทศศาสตรมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ การบัญชี และนิติศาสตร อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
37
ตารางที่ 8 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานบริการอื่นๆ จําแนกตามสาขาวิชา การจัดการ สาขา คอมพิวเตอร การ การ การทองเที่ยว การ นิติ นิเทศ ธุรกิจ ตลาด จัดการ และการ บัญชี ศาสตร ศาสตร วิชา โรงแรม คอมพิวเตอร 0.11 0.41 0.02* 0.20 0.25 0.87 ธุรกิจ การตลาด 0.39 0.00* 0.00* 0.01* 0.32 การจัดการ 0.00 0.02 0.06 0.67 การจัดการ การทองเที่ยว 0.22 0.46 0.06 และการ โรงแรม การบัญชี 0.88 0.28 นิติศาสตร 0.29 นิเทศศาสตร * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 8 พบวา นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตาง จากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี และนิติศาสตร สวน นักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจมีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
38
ตารางที่ 9 เปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตามอายุ แหลงของความแปรปรวน SS MS F Sig df 1. ดานหลักสูตรและการสอน
2.ดานการสอนของคณาจารย
3. ดานการจัดบริการสนับสนุน การเรียนการสอน 4. ดานหองเรียนและหองสมุด
5. ดานบริการอื่นๆ
ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม ระหวางกลุม ภายในกลุม รวม
1.62 102.10 103.72 1.20 73.81 75.01 1.35 141.66 143.02 1.47 168.79 170.26 2.91 135.63 138.54
3 262 265 3 262 265 3 262 265 3 262 265 3 262 265
0.54 0.39
1.38
0.25
0.40 0.28
1.42
0.24
0.45 0.54
0.83
0.48
0.49 0.64
0.76
0.52
0.97 0.52
1.88
0.13
* ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 9 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินงานของวิทยาลัย เมื่อจําแนก ตามอายุ คือ ต่ํากวา 20 ป 20 - 25 ป 26 - 30 ป และ 31 ปขึ้นไป มีความพึงพอใจไมแตกตางกัน
39
ตารางที่ 10 ความแปรปรวนความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัย จําแนกตาม ประเภทภาคที่ศึกษา แหลงของความแปรปรวน SS df MS F Sig 0.17 0.42 0.66 2 0.33 1. ดานหลักสูตรและการสอน ระหวางกลุม 0.39 103.39 263 ภายในกลุม 103.72 265 รวม 1.23 4.44* 0.01 2 2.45 2.ดานการสอนของคณาจารย ระหวางกลุม 0.28 263 72.56 ภายในกลุม 265 75.01 รวม 1.13 2.10 0.12 2 2.25 3. ดานการจัดบริการสนับสนุน ระหวางกลุม 0.54 140.76 263 ภายในกลุม การเรียนการสอน 143.02 265 รวม 1.89 2.98 0.05 2 3.77 4. ดานหองเรียนและหองสมุด ระหวางกลุม 0.63 166.48 263 ภายในกลุม 170.26 265 รวม 1.18 2.29 0.10 2 2.37 5. ดานบริการอื่นๆ ระหวางกลุม 0.52 136.17 263 ภายในกลุม 138.54 265 รวม * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จากตารางที่ 10 พบวา ความพึงพอใจของนักศึกษาเมื่อจําแนกตาม ประเภทภาคที่ศึกษา มี ความแตกตางกันที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 จํานวน 1 ดาน คือ ดานการสอนของคณาจารย เมื่อ ทดสอบความแตกตางรายคูดวย LSD ไดขอแตกตางดังตารางที่ 11
40
ตารางที่ 11 เปรียบเทียบความแตกตางความพึงพอใจรายคูดวย LSD ดานการสอนของคณาจารย จําแนกตามประเภทภาคที่ศึกษา ภาคปกติ ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) ภาคสมทบ (ค่ํา) ประเภทภาคที่ศึกษา ภาคปกติ 0.00* 0.11 ภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) 0.51 ภาคสมทบ (ค่ํา) * ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .05 ตารางที่ 11 พบวา นักศึกษาภาคปกติมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตาง จากนักศึกษาภาคสมทบ (เสาร – อาทิตย) อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
41
ตอนที่ 2 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 12 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพทั่วไปของผูตอบแบบสอบถามที่เปน คณาจารย สถานภาพทั่วไป จํานวน รอยละ 1. เพศ 48.15 13 ชาย 51.85 14 หญิง 2. ตําแหนง 77.78 21 อาจารยประจํา 22.22 6 อาจารยพิเศษ 3. สังกัดหมวด / สาขา 7.41 2 สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ 11.11 3 สาขาการตลาด 14.81 4 สาขาการจัดการ 7.41 2 สาขาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม 33.33 9 สาขาบัญชี 18.52 5 สาขานิติศาสตร 7.41 2 สาขานิเทศศาสตร จากตารางที่ 1 2 พบวา คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง ประจํา ตําแหนงอาจารยประจํา และสังกัดสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด รองลงตาม คือ สาขาวิชานิติศาสตร สาขาวิชาการจัดการ สาขาวิชาการตลาด สาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการการ ทองเที่ยวและการโรงแรม และสาขาวิชานิเทศศาสตร
42
ตารางที่ 13 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของคณาจารยตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ ขอที่ ความพึงพอใจ X S.D แปลความ ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย 3.59 0.57 มาก 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน 3.74 0.66 มาก 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยให 3.78 0.70 มาก นักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดานภาษาตางประเทศ 3.22 0.75 ปานกลาง 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงไดอยางเปน 3.59 0.64 มาก ระบบ 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย 3.63 0.74 มาก รวม 3.59 0.46 มาก ดานการจัดการคณาจารยในการสอน 1. มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 3.96 0.52 มาก 2. มีความรูความสามารถในการสอน 4.00 0.28 มาก 3. เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา 4.11 0.42 มาก 4. มีความมั่นคงทางอารมณ 3.93 0.55 มาก 5. มีประสบการณในการสอน 3.67 0.55 มาก 6. ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา 3.93 0.68 มาก 7. มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา 3.89 0.64 มาก 8. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม 3.85 0.60 มาก 9. มีภาระการสอนพอเหมาะ 3.41 1.05 ปานกลาง 10. จัดตารางสอนไดเหมาะสม 3.26 0.90 ปานกลาง รวม 3.80 0.42 มาก
43
ตารางที่ 13 (ตอ) ขอที่
ขอความ
ดานการบริหารจัดการ 1. จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม 2. จัดหองพักไดเหมาะสม 3. จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม 4. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 5. มีการประชุมการทํางานรวมกัน 6. มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน 7. มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย 8. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 9. สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมูคณาจารย 10. สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทางวิชาการ 11. จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานไดเหมาะสม 12. จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม รวม ดานการวิจัย 1. มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน 2. มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย 3. มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย 4. จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย รวม ดานหองเรียน และหองสมุด 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก รวม
ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.41 2.78 3.26 2.81 3.15 3.30 3.81 3.33 3.15 3.41 3.30 3.26 3.25
0.93 0.89 0.71 1.08 0.77 0.78 0.48 0.96 1.10 1.19 0.87 1.10 0.67
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง มาก ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
3.74 3.70 3.63 3.19 3.56
0.94 1.07 0.88 1.24 0.91
มาก มาก มาก ปานกลาง มาก
3.44
0.07
ปานกลาง
2.78 3.19 3.37 3.37 3.23
0.64 0.74 0.63 1.04 0.48
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
44
ตารางที่ 13 (ตอ) ขอที่
ขอความ
ดานบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 10. มีรานถายเอกสารที่ดี 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 12. มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี รวม
ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 2.74 3.22 2.78 2.59 1.96 1.96 2.26 2.30 2.26 2.81 2.52 3.07 2.54
1.02 0.93 0.85 0.97 1.06 0.90 1.13 0.95 0.86 0.83 0.80 0.62 0.69
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย นอย นอย นอย นอย ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
จากตารางที่ 1 3 พบวา คณาจารยมีความพึงพอใจในการจัดการของวิทยาลัย โดยภาพรวม คณาจารยพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยในการสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูในระดับมาก สวนดานอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาตามรายการแต ละดานมีดังนี้ ดานการจัดการคณาจารยในการสอน คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เอาใจใสดูแลนักศึกษาชวยเหลือนักศึกษา รองลงมา คือ มีความรูความสามารถในการสอน มีวุฒิ การศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม และมีประสบการณใน การสอน นอกนั้นระดับปานกลาง ดานหลักสูตร คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาใน หลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได รองลงมา คือ มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน มีวิชาเลือกหลากหลาย มีหลักสูตรที่
45
ทันสมัย หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรูการปฏิบัติจริงไดอยางเปนระบบ และเนื้อหาหลักสูตรให ความสําคัญดานภาษาตางประเทศ มีเพียงรายการเดียวที่อยูในระดับปานกลาง คือ สามารถศึกษา ระดับสูงได ดานการวิจัย คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับมาก คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีนโยบายสงเสริม การวิจัยชัดเจน รองลงมา คือ มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย มีเพียงรายการเดียวที่อยูในระดับปานกลาง คือ จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย ดานการบริหารจัดการ คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณารายขอ พบวา มีความพึงพอใจในระดับมาก 1 รายการ คือ มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย นอกนั้นระดับ ปานกลาง มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 2 รายการ ไดแก มีสวัสดิการที่เหมาะสม และจัดหองพักได เหมาะสม ดานหองเรียนและหองสมุด คณาจารยมีความพึงพอใจในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาราย ขอ พบวา มีคาเฉลี่ยที่ต่ํากวา 3.00 จํานวน 1 รายการ ไดแก มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ ดานบริการอื่นๆ คณาจารยมีความพึงพอในระดับปานกลาง และเมื่อพิจารณารายขออยู ระดับปานกลาง ยกเวน 5 รายการที่อยูระดับนอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการ เงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี
46
ตอนที่ 3 สถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย การวิเคราะหสถานภาพทั่วไปและความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของ วิทยาลัย โดยคาความถี่ คารอยละ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตารางที่ 14 คาความถี่และคารอยละเกี่ยวกับสถานภาพดานเพศของผูตอบแบบสอบถามที่เปน เจาหนาที่ สถานภาพทั่วไปดานเพศ จํานวน รอยละ ชาย 2 28.00 หญิง 5 72.00 จากตารางที่ 14 พบวา เจาหนาที่ที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนเพศหญิง รอยละ 7 2.00 และเปนเพศชาย รอยละ 28.00 ตารางที่ 15 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ ขอที่ ขอความ S.D แปลความ X ดานการบริหารจัดการ 1. งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ 3.29 0.76 ปานกลาง 2. มีโอกาสความกาวหนาในหนาที่การงาน 3.00 0.82 ปานกลาง 3. มีความเหมาะสมของภาระงานที่ไดรับมอบหมาย 2.86 0.90 ปานกลาง 4. การอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถตอเนื่อง 3.14 1.07 ปานกลาง 5. มีความพรอมของอุปกรณในการปฏิบัติงาน 3.14 0.69 ปานกลาง 6. มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ 3.43 0.79 ปานกลาง 7. มีการประสานงานและการทํางานรวมกันของบุคลากร 3.29 0.76 ปานกลาง ในองคการ นอย 8. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 2.43 0.53 9. มีการประชุมทํางานรวมกัน 2.86 0.90 ปานกลาง 10. มีการชี้แจงระเบียบปฏิบัติงานตางๆ อยางชัดเจน 3.00 0.82 ปานกลาง 11. มีการปฐมนิเทศการปฏิบัติงาน 3.00 1.15 ปานกลาง 12. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 3.00 1.53 ปานกลาง 13. สงเสริมความกาวหนา 3.14 1.21 ปานกลาง
47
ตารางที่ 15 (ตอ) ขอที่
ขอความ
ดานการบริหารจัดการ (ตอ) 14. ความพอใจตอสถานที่ปฏิบัติงาน 15. มีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา 16. มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน รวม ดานการบริการอื่นๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 5. รานสหกรณมีบริการที่เหมาะสม 6. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก 7. มีรานถายเอกสารที่ดี 8. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก 9. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี รวม
ระดับความพึงพอใจ S.D แปลความ X 3.00 4.00 3.86 3.15
0.82 1.15 1.07 0.49
ปานกลาง มาก มาก ปานกลาง
3.00 2.86 2.57 2.57 3.14 2.29 3.86 2.43 3.29 2.89
1.00 1.07 1.13 1.27 1.35 1.38 1.07 1.13 0.76 0.81
ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง นอย มาก นอย ปานกลาง ปานกลาง
จากตารางที่ 1 5 พบวา เจาหนาที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมดานการบริหารจัดการ และ ดานการบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา ดานการบริหารจัดการ ที่มีความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน 1 รายการ คือ มีสวัสดิการที่เหมาะสม นอกนั้นอยูในระดับ ปานกลาง และมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ ความพอใจตอมีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา รองลงมา ตามลําดับคือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และมีการประสานงานและการทํางานรวมกัน ของบุคลากรในองคการ สวนดานบริการอื่นๆ เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีความพึงพอใจใน ระดับมาก จํานวน 1 รายการ คือ มีรานถายเอกสารที่ดี ความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน 2 รายการ คือ มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก และมีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก นอกนั้นอยู ในระดับปานกลาง
48
ตอนที่ 4 ขอเสนอแนะอื่นๆ ของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัย สรุปขอคิดเห็นจากแบบสอบถามปลายเปด โดยมีนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่มีความ คิดเห็น ดังนี้ ความคิดเห็นของนักศึกษา 1. ควรมีรานอาหารมากกวานี้ เพราะมีนอยมากบางครั้งก็เปด บางครั้งก็ปด โรงอาหารมี แมลงวันเยอะมาก เวลาฝนตกก็อยูไมได แมคาควรมีมารยาทและทําอาหารอรอย เพราะ คนนะคะไมใชจรเขที่จะกินไดทุกอยาง แตไมมีอะไรจะกิน จึงจําเปนตองกิน จํานวน 23 คน 2. ขอโรงยิม ฟตเนต สนามเทนนิส ควรมีอุปกรณกีฬาในการใหนักศึกษาออกกําลังกายได อยางสะดวก จํานวน 3 คน 3. หองสมุดควรเปดถึง 19.30 น. เพื่อที่จะใหนักศึกษาภาคค่ําไดเขาไปใชบริการไดบาง เพราะทางวิทยาลัยไดเก็บเงินบํารุงสวนนี้ดวย จํานวน 9 คน 4. หองน้ําสกปรกและเหม็นมาก ชวยใหแมบานทําความสะอาดหองน้ําในชวงเย็น เพราะ รอบค่ําหองน้ําสกปรกมาก จํานวน 3 คน 5. อยากใหทําหลังคาตรงที่จอดรถยนตและมอเตอรไซคดวยครับ และเพิ่มที่จอดรถดวย จํานวน 2 คน 6. ควรเพิ่มตู ATM ภายในวิทยาลัยเพื่อความสะดวก เพราะในบริเวณนี้หาไดยาก จํานวน 9 คน 7. ดานหลักสูตร ไมมีสิทธิเลือกวิชาเรียนเองเลยครับ จํานวน 6 คน 8. อาจารยสอนดีมากครับ และเปนกันเองดูแลเอาใจใสนักศึกษาดีมาก จํานวน 5 คน 9. การเดินทางไมสะดวกวิทยาลัยอยูไกลบานแถมไมมีรถเมลวิ่งผาน ลําบากมากในการ เดินทางไปเรียน จํานวน 15 คน 10. สถานที่คับแคบ อยากใหมีหนังสือมากกวานี้มีทุกประเภท จํานวน 5 คน 11. อยากไดอาจารยที่เปนไกดจริง ๆ มาสอน เพราะวาเคาจะนําความรูความสามารถใชได จริงๆ มาประยุกตใชได เรียนแบบเดิมเมื่ออยูในตํารา นาเบื่อมาก รูสึกวาคาเทอมแพง ความรูที่ไดไมแนนเลย จํานวน 2 คน 12. ควรมีเนื้อหารายวิชาใหมีความสอดคลองกันและสามารถนําไปปฏิบัติไดในการทํางาน จํานวน 3 คน
49
13. อยากใหวิทยาลัยเนนความสําคัญตอกิจกรรมและงานดานตาง ๆ โดยเฉพาะงานดานรับ ปริญญา ควรจัดใหมีซุมตาง ๆ ในการรวมถายรูปใหมากกวาที่เปนอยู เพราะนั่นหมายถึง ความภูมิใจที่ตองเก็บไวเปนที่ระลึกตอไป จํานวน 4 คน 14. งานทะเบียนใหความอํานวยสะดวกลาชา บางทานหนาตาไมอยากใหบริการแกนักศึกษา จํานวน 7 คน ความคิดเห็นของคณาจารย 1. ดานการเรียนการสอน ควรเนนเรื่องคุณภาพ รวมทั้งการเครงครัดและกวดขันดาน ระเบียนวินัย การตรงตอเวลาของนักศึกษา จํานวน 5 คน 2. หลักสูตรแตละสาขาเอก ไมไดใหความสําคัญแกหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเทาที่ควร จํานวน 2 คน 3. การจัดการรานอาหารหรือการประมูลรานคา ควรจะมีการเปดเผยเพื่อความโปรงใส เพราะปจจุบันไมทราบถึงรายละเอียดการประมูล และรานอาหารก็ไมมีการปรับปรุง รสชาติและคุณภาพอการ ถาเปนไปไดควรจะหารานที่ดีและมีคุณภาพมาเปดใหบริการ จํานวน 13 คน ความคิดเห็นของเจาหนาที่ อยากใหปรับความสะอาดของหองทั้งบนอาคารเรียนและโรงอาหาร โดยเฉพาะหองน้ํา หญิงที่โรงอาหารสกปรกมากๆ
บทที่ 5 สรุปผลการวิจัย อภิปรายผล และขอเสนอแนะ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษา คณาจารย และเจาหนาที่ ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ และเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักศึกษาตอการ ดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ จําแนกตามสถานภาพสวนตัว เครื่องมือที่ใช คือ แบบสอบถาม จํานวน 3 ฉบับ คือ ฉบับนักศึกษา ฉบับคณาจารย และฉบับเจาหนาที่ โดยแตละฉบับมีคําถาม3 สวน คือ สถานภาพของผูตอบแบบสอบถาม ความพึงพอใจ และขอเสนอแนะอื่นๆ มาตราวัดแบบ Likert จํานวน 5 ระดับ คือ มากที่สุด มาก ปานกลาง นอย และนอยที่สุด จํานวนนักศึกษา2 66 คน จากประชากร 1,062 คน คณาจารย 27 คน จากประชากร 107 คน และเจาหนาที่ 7 คน จากประชากร 29 คน ไดมาโดยการสุมอยางงาย และดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือนกุมภาพันธถึง มีนาคม 2552 ไดแบบสอบถามคืนรอยละ100 วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติ คือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความพึงพอใจดวยคา t–test และวิธีวิเคราะหความ แปรปรวนทางเดียว (One – Way Analysis of Variance) ทําการเปรียบเทียบความแตกตางรายคูดวย LSD ทีร่ ะดับนัยสําคัญทางสถิติ (α) เทากับ 0.05 สรุปผลการวิจัย 1. ความพึงพอใจของนักศึกษา 1) ดานสถานภาพนักศึกษาที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง(68.05%) เรียน หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง (71.43%) เปนนักศึกษาสาขาวิชาการบัญชีมากที่สุด(20.30%) มีอายุ 20-25 ป (43.98%) และเปนนักศึกษาภาคปกติ (50.75%) 2) นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูในระดับมาก( X = 3.7 1) รองลงมา อยูในระดับปานกลางคือดานหลักสูตร( X = 3.27) ดานหองเรียนและหองสมุด ( X = 3.17) ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอน( X = 3.0 1) และดานบริการอื่นๆ ( X = 2.64) รายละเอียดดังนี้ 2.1) ดานการสอนของคณาจารย นักศึกษาพึงพอใจอยูในระดับมากทุก รายการโดยมีคาเฉลี่ยสูงสุด คือ แตงกายสุภาพเรียบรอย( X = 4.0 5) รองลงมา อาจารยเปนกันเอง กับนักศึกษา มีคุณวุฒิตรงกับวิชาที่สอน เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี มีความรูความสามารถในการ
51
การถายทอดความรู ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา มีการวัดผล/ประเมินผล ไดครอบคลุมเนื้อหาวิชา แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน มีประสบการณในวิชาที่สอน มีความมั่นคงทางอารมณ มี เอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย มีการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม และแนะนําแหลงคนควา/แหลงเรียนรูเพิ่มเติม 2.2) ดานหลักสูตร นักศึกษาพอใจอยูในระดับปานกลางทุกรายการ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถ ศึกษาอยูในระดับสูงได ( X = 3.49) รองลงมา คือ เนื้อหาวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพ ปจจุบัน และหลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติไดอยางเปนระบบ 2.3) ดานหองเรียนและหองสมุดอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โฟรเจ็คเตอร( X = 3.45) รองลงมา คือ มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ และการคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก 2.4) ดานการจัดบริการสนับสนุนการเรียนการสอนอยูในระดับปานกลาง คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา ( X = 3.22) รองลงมา คือ ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน และ การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบเรียบรอย 2.5) ดานบริการอื่นๆ อยูใน ระดับปานกลาง ยกเวน 6 รายการที่อยูระดับ นอย คือ อาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีโทรศัพท สาธารณะที่ใชไดสะดวก มีบริการเงินดวน( ATM) ที่สะดวก อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี และมี รานอาหารใหเลือกหลากหลาย 3) ผลการเปรียบเทียบรายดาน ตามสถานภาพของนักศึกษา พบวา เพศ และหลักสูตรที่ ศึกษาไมมีความแตกตางกัน สวนดานที่แตกตางกันมีดังนี้ 3.1) ดานหลักสูตรและการสอน นักศึกษาสาขาวิชาการตลาดมีความพึงพอใจ ดาน หลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการและสาขาวิชาการจัดการการ โรงแรมและการทองเที่ยว สวนนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยวมีความ พึงพอใจ ดานหลักสูตรและการสอนแตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชานิติศาสตรและสาขาวิชานิเทศ ศาสตร
52
3.2) ดานการสอนของคณาจารย นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดาน การสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาเกือบทุกสาขาวิชายกเวนสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจ แตนักศึกษาสาขาวิชานิเทศศาสตรมีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชา คอมพิวเตอรธุรกิจ การบัญชี และนิติศาสตร สวนนักศึกษาภาคปกติมีความพึงพอใจดาน การสอนของคณาจารยแตกตางจากนักศึกษาภาคสมทบ(เสาร – อาทิตย) 3.3) ดานบริการอื่นๆ นักศึกษาสาขาวิชาการตลาด มีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม การบัญชี และนิติศาสตร สวนนักศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอรธุรกิจมีความพึงพอใจดานบริการอื่นๆ แตกตางจากนักศึกษา สาขาวิชาการจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม 2. ความพึงพอใจของคณาจารย คณาจารยที่ตอบแบบสอบถามสวนใหญเปนหญิง(คณาจารยหญิง 1 4 คน จาก 20 คน) สวนใหญดํารงตําแหนงอาจารยประจํา สังกัดสาขาบัญชี โดยภาพรวมคณาจารยพึงพอใจอยูใน ระดับปานกลาง โดยดานการจัดการคณาจารยในการสอน ดานหลักสูตร และดานการวิจัยอยูใน ระดับมาก สวนดานอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง โดยมีรายละเอียด ดังนี้ 1.) ดานการจัดคณาจารยในการเรียนการสอนคาเฉลี่ยสูงสุด คือ เอาใจใสดูแล นักศึกษาชวยเหลือนักศึกษา ( X = 4.11) รองลงมา คือ มีความรูความสามารถในการสอน และมี วุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 2.) ดานหลักสูตร คาเฉลี่ยสูงสุด คือ เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรู พื้นฐานเพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได ( X = 3.78) รองลงมา คือ มีเนื้อหาในวิชา หลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับสภาพปจจุบัน และมีวิชาเลือกหลากหลาย 3.) ดานการวิจัย คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน( X = 3.74) รองลงมา คือ มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย และมีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย 4.) ดานการบริหารจัดการ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย ( X = 3.81) รองลงมา คือ จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม และสงเสริมความกาวหนาในการทํา ตําแหนงทางวิชาการ 5.) ดานหองเรียนและหองสมุด คาเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความสะดวกสบายภายใน หองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร ( X = 3.44) การคนควาหนังสือ ใน หองสมุดมีความสะดวก และการใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก
53
6.) ดานบริการอื่นๆ คาเฉลี่ยสูงสุด คือ ภูมิทัศนวิทยาลัยสวยงาม( X = 3.22) สวนความพึงพอใจอยูในระดับนอยมี 5 รายการ คืออาหารที่จําหนายสะอาดถูกสุขอนามัย มีบริการ เงินดวน (ATM) ที่สะดวก รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย และอาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 3. ความพึงพอใจของเจาหนาที่ เจาหนาที่สวนใหญเปนหญิง( 5 คนใน 7 คน) มีความพึงพอใจในดานการบริหาร จัดการอยูในระดับปานกลาง โดยความพึงพอใจมากสุด คือ พึงพอใจตอ มีความพึงพอใจในตัว ผูบังคับบัญชา ( X = 4.00) รองลงมา คือ มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน มีระบบการปฏิบัติดีขึ้น กวาเมื่อเปดวิทยาลัยใหมๆ งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรูความสามารถ และ มีการ ประสานงานและการทํางานรวมกันของบุคลากรในองคการ สวนบริการอื่นๆ เห็นวา มีรานถาย เอกสารที่ดี และมีการรักษาความปลอดภัยอยางดี
อภิปรายผล
จากสรุปผลการวิจัย พบวา นักศึกษามีความพึงพอใจดานการสอนของคณาจารยอยูใน ระดับมาก โดยคาเฉลี่ยสูงสุด คือ การแตงกายสุภาพ เรียบรอย ทั้งนี้เพราะการคัดเลือกคณาจารย วิทยาลัยใหความสําคัญกับบุคลิกภาพ และการแตงกาย เมื่อรับเขาเปนคณาจารยแลวมีการปฐมนิเทศ และมีการตักเตือนหากพบวาแตงกายไมสุภาพเรียบรอย ระดับรองลงมา มีความเปนกันเองกับ นักศึกษา เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี ทั้งนี้เนื่องจากอาจารยสวนใหญ เปนคณาจารยที่มี ประสบการณและมีวัยใกลเคียงกับผูเรียน จึงทําใหมีความเขาใจนักศึกษาเปนอยางดี และเขาใจ ความรูสึกของนักศึกษาไดอยางดี(อายุโดยเฉลี่ยของคณาจารย34 ป) สําหรับดานคณาจารยมีคุณวุฒิ ตรงวิชาที่สอนและมีความรูความสามารถในการถายทอดความรู แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการ เรียนไดนั้น เนื่องจากวิทยาลัยมีระบบการคัดเลือกคณาจารยเปนอยางดี ซึ่งพิจารณาทั้งคุณวุฒิ ประสบการณ ทั้งนี้วิทยาลัยจึงมีการอบรมดานการเรียนการสอน การใชสื่อ การจัดสอน เทคนิคการ ของการประเมินผลตลอดจนเรื่องตางๆ ใหกับคณาจารย กอนเปดการเรียนการสอน(การปฐมนิเทศ คณาจารยใหม, 2551) สวนที่นักศึกษาพึงพอใจนอย คือ รานอาหารที่จําหนายในวิทยาลัย ในเรื่อง ของความสะอาดถูกสุขอนามัย รสชาติ และความหลากหลายของรานอาหาร ทั้งนี้เพราะระยะ เริ่มแรกนักศึกษามีนอย จึงมีรานคามาประมูลและเปดดําเนินกิจการนอย ประกอบกับการคมนาคม ไมสะดวก จึงเปนอุปสรรคตอการทํากิจกรรมของรานคา เพราะไมคุมทุน ซึ่งทางวิทยาลัยได ตระหนักดีในเรื่องนี้และกําลังดําเนินการปรับปรุงอยู สวนเรื่องของรานสหกรณโทรศัพทสาธารณะ
54
และตูบริการเงินดวน ( ATM) ทางวิทยาลัยไดตระหนักถึงการอํานวยความสะดวกแกนักศึกษา เชนกัน แตในการที่จะขอใหมีบริการโทรศัพทสาธารณะ และตูบริการเงินดวน( ATM) มีเงื่อนไข กําหนดในเรื่องของจํานวนผูใช ซึ่งคาดวาอีกไมนานจํานวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะสามารถ ดําเนินการในการขอบริการตางๆ เหลานี้ได สวนคณาจารยมีความพึงพอใจดานการจัดการคณาจารยในการสอนอยูในระดับมาก เมื่อ พิจารณารายการยอย พบวา มีความพึงพอใจมากในเรื่องการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย ความกาวหนาในตําแหนงทางวิชาการ การจัดหองใหมีการสงเสริมการวิจัย มีการอบรมเสริมทักษะ ดานการวิจัย มีความสะดวกสบายในหองเรียน การคนควาหนังสือในหองสมุด และวิทยาลัยมีภูมิ ทัศนสวยงาม ทั้งนี้เพราะวิทยาลัยไดใหความสําคัญและมีการประชุมอบรม และจัดสัมมนาทําความ เขาใจกับคณาจารยอยูในระดับมาก เพราะทางวิทยาลัยมีการแบงงานบริหารชัดเจน มีการประชุม หารือรวมกันตลอดเวลา เนื่องจากเปดดําเนินการใหม จึงตองปรับวิธีการใหทันการอยูตลอดเวลา สวนเจาหนาที่มีความพึงพอใจโดยภาพรวมดานการบริหารจัดการ และดานการบริการอื่นๆ อยูในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาแตละรายการ พบวา มีความพึงพอใจในระดับนอย จํานวน2 รายการ คือ มีสวัสดิการที่เหมาะสม และบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก
ขอเสนอแนะ 1. ควรมีการประเมินความพึงพอใจซ้ําในปถัดไป เนื่องจากวิทยาลัยไดนําปญหาตางๆ มา ปรับแกบางเรื่องแลว เพื่อจะไดทราบความคิดเห็นของทุกๆ ฝาย 2. ควรมีการประชุมหารื้อทําความเขาใจและชี้แจงประเด็นการดําเนินการตางๆ ใหบุคลากร ทุกฝายไดรับทราบ 3. ควรมีการวิจัยในเรื่องการพัฒนาการเรียนการสอน และการติดตามผลของนักศึกษา เพื่อ เปนขอมูลในการปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนของวิทยาลัยตอไป 4. ควรมีการปรับปรุงการบริหารดานรานอาหารใหมีรสชาติดีขึ้น และมีรานคาหลากหลาย สอดคลองกับความตองการตอไป
บรรณานุกรม
กิตติพัฒน อินทรเกษตร. 2541. ความพึงพอใจในการทํางานของเจาหนาที่โรงพยาบาลเอกชน : กรณีศึกษาโรงพยาบาลแพทยปญญา. กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโท สําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ .ศ.2542. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟค. ณัฐวรรณ ศุภลาภ. 2543. ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานสาขาธนาคารกรุงศรีอยุธยา จํากัด (มหาชน) ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. ธนัทพงศ ธนพุทธิวิโรจน. (2532). การศึกษาพฤติกรรมผูนําของผูบริหารโรงเรียนกับความ พึงพอใจในการทํางานของครูโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสํานักงานการประถมศึกษา จังหวัดมุกดาหาร. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). ชลบุรี : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บางแสน. นันทา รัตพันธุ. 2541. การศึกษาทัศนคติของพนักงานเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีตอสิ่งจูงใจในการ ทํางานในธนาคารไทยพาณิชย จํากัด (มหาชน). กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. มานิต คุมภัย. 2541. ความพึงพอใจในงานของพนักงานธนาคารกรุงเทพ จํากัด (มหาชน) กรณีศึกษา : ภาคกลาง 4 เขต 3, ภาคนิพนธ คณะพัฒนาสังคม สถาบันบัณฑิตพัฒน บริหารศาสตร. วัฒนา เจียรวิจิตร. 2543. ความพึงพอใจในการทํางานของพนักงานฝายพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร บริษัท เมโทรซอฟท จํากัด และบริษัทในเครือ . กรุงเทพฯ: การศึกษาคนควาดวยตนเอง, ปริญญาโทสําหรับผูบริหาร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โสภิณ ทองปาน. 2542. คําบรรยายวิชาการวิจัยทางการจัดการ. ภาควิชาเศรษฐศาสตร, คณะ เศรษฐศาสตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. โสภาค วิริโยธิน. (2529). ความสัมพันธระหวางพฤติกรรมผูนําของผูบริหารกับความพึงพอใจ ในการทํางานของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาใน จังหวัด นครศรีธรรมราช. ปริญญานิพนธ กศ.ม. (การบริหารการศึกษา). สงขลา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา.
56
Barnard, Chester I. (1968). The Function of the Executive. Cambridge : Harvard University Press. Clayton, A. P. 1972. Existence, Relatednen, and Growth : Human Needs in Organizational Settings. New York: Free Press. Paula F. Silver, Educational Administration : TheoreticalPerspectives on Practice and Research New York : Harper & Row, 1983, p. 181. Halpin, Andrew W. (1966). Theory and Research in Administration. New York : Macmillan. Herzberg, Frederick and others. (1959). The Motivation to Work. New York : John Wiley and Sons. Herzberg, F. and the others. 1959. The Motivation to Work. New York: McGraw-Hill Book Company. Morse, Nancy C. (1958). Satisfactions in the White Callar Job. Am – Arbor : University of Michigan. Maslow, A. H. 1954. Motivation and Personality. New York: Harper and Row Publishers. Strauss, George and Sayless, Leonard R. (1960). Personnel : The Human Problems of Management. Englewood Cliffs, New York : Prentice – Hall. http://elib.fda.moph.go.th/multim/thesis/section2.html วันที่ 25 พฤศจิกายน 2551 Wayne K.Hoy and Cecil G.Miskel, Educational Administration :Theory, Research and Practice New York : Random-House, 1978, p. 34.
58
แบบสอบถามเรื่อง
ความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง ดวยงานวิจัยและพัฒนาไดเสนอโครงการทําวิจัยประจําปเรื่อง ความพึงพอใจของของคณาจารย และเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ บัดนี้การดําเนินงานของวิทยาลัยผานไประยะหนึ่งแลว งานวิจัยและพัฒนาจึงใครขอความอนุเคราะหทานไดโปรดใหความเห็นโดยกาเครื่องหมาย หนาขอความที่ ตรงกับความ ขอมูลนี้จะเปนความลับสําหรับสําหรับการวิจัยและผลสรุปจะเปนประโยชนในการปรับปรุงและพัฒนา งานของวิทยาลัยใหดีขึ้นตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของผูตอบ เพศ ชาย หญิง ตําแหนง อาจารยประจํา อาจารยพิเศษ สาขาวิชาที่สังกัด หมวดศึกษาทั่วไป การจัดการ การตลาด คอมพิวเตอรธุรกิจ การบัญชี นิติศาสตร นิเทศศาสตร การจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของคณาจารยตอการดําเนินการของวิทยาลัย ระดับความพึงพอใจ สําหรับ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ผูวิจัย ที่สุด กลาง มาก ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย V1 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับ V2 สภาพปจจุบัน 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐานเพื่อ V3 ชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดาน V4 ภาษาตางประเทศ 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริงได V5 อยางเปนระบบ 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย V6 7. อื่นๆ (โปรดระบุ)………………………………………………………………………………………………………
59 การดําเนินของงานวิทยาลัย
มาก ที่สุด
ระดับความพึงพอใจ มาก ปาน นอย กลาง
นอย มาก
ดานการจัดการคณาจารยในการสอน 8. มีวุฒิการศึกษาตรงกับสาขาวิชาที่สอน 9. มีความรูความสามารถในการสอน 10. เอาใจใสดูแลนักศึกษา ชวยเหลือนักศึกษา 11. มีความมั่นคงทางอารมณ 12. มีประสบการณในการสอน 13. ใชสื่อเหมาะสมกับเนื้อหา 14. มีการวัดผล/ประเมินผลไดเหมาะสมกับวิชา 15. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม 16. มีภาระการสอนพอเหมาะ 17. จัดตารางสอนไดเหมาะสม 18. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………… ดานการบริหารจัดการ 19. จัดมอบหมายภาระงานอื่นๆ ไดเหมาะสม 20. จัดหองพักไดเหมาะสม 21. จัดหาอุปกรณคอมพิวเตอรไดเหมาะสม 22. มีสวัสดิการที่เหมาะสม 23. มีการประชุมการทํางานรวมกัน 24. มีการชี้แจงระเบียบตางๆ อยางชัดเจน 25 มีการปฐมนิเทศใหรูจักวิทยาลัย 26. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น 27. สรางบรรยากาศความเปนวิชาการในหมู คณาจารย 28. สงเสริมความกาวหนาในการทําตําแหนงทาง วิชาการ 29. จัดหาผูทรงคุณวุฒิแตละดานไดเหมาะสม 30. จัดหาผูบริหารทางวิชาการไดเหมาะสม
สําหรับ ผูวิจัย
V7 V8 V9 V10 V11 V12 V13 V14 V15 V16
V17 V18 V19 V20 V21 V22 V23 V24 V25 V26 V27 V28
60 ระดับความพึงพอใจ สําหรับ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ผูวิจัย ที่สุด กลาง มาก 31. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………… ดานการวิจัย 32. มีนโยบายสงเสริมการวิจัยชัดเจน V29 33. มีการสนับสนุนทุนดําเนินการวิจัย V30 34. มีการอบรมเสริมทักษะดานการวิจัย V31 35. จัดอํานวยความสะดวกดานอุปกรณการวิจัย V32 36. อื่นๆ (โปรดระบุ)………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………. ดานหองเรียน และหองสมุด 37. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ V33 เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร 38. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ V34 39. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย V35 40. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก V36 41. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก V37 42. อื่นๆ (โปรดระบุ)……………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………. ดานบริการอื่นๆ 43 V38 หองน้ําสะอาด 44. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม V39 45. มีสนามกีฬาที่ดี V40 46 V41 มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ 47 V42 มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย 48 V43 อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี 49 V44 อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย 50 V45 รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ 51 V46 มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก
61 ระดับความพึงพอใจ การดําเนินของงานวิทยาลัย ดานบริการอื่นๆ
มาก ที่สุด
มาก
ปาน กลาง
นอย
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย
52.
มีรานถายเอกสารที่ดี
V47
53.
มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก
V48
54.
มีการรักษาความปลอดภัยที่ดี
V49
55.
อื่นๆ (โปรดระบุ)…………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ขอเสนอแนะอื่นๆ ………………………………………………………………. …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………… ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม------------------------------------------
62
แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ คําชี้แจง โปรดใหความคิดเห็นโดยกาเครื่องหมาย หนาขอความที่ตรงกับความพึงพอใจ ของทานในเรื่องตอไปนี้ และหากมีขอคิดเห็นเพิ่มเติมโปรดระบุในขอเสนอแนะตอนทาย ผลสรุปจากการวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนตอการปรับปรุงและพัฒนางานที่เกี่ยวของของ วิทยาลัยตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของผูตอบ เพศ ชาย หญิง ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของเจาหนาที่ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ ระดับความพึงพอใจ การดําเนินของงานวิทยาลัย มาก มาก ปาน นอย นอย ดานการบริหารจัดการ 1. งานที่ไดรับมอบหมายตรงกับความรู ความสามารถ 2. มีโอกาสความกาวหนาในหนาที่การงาน 3. มีความเหมาะสมของภาระงานที่ไดรับ มอบหมาย 4. การอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถตอเนื่อง 5. มีความพรอมของอุปกรณในการปฏิบัติงาน 6. มีระบบการปฏิบัติดีขึ้นกวาเมื่อเปดวิทยาลัย ใหมๆ 7. มีการประสานงานและการทํางานรวมกันของ บุคลากรในองคการ 8. มีสวัสดิการที่เหมาะสม
ที่สุด
กลาง
สําหรับ ผูวิจัย
ที่สุด
V1 V2 V3 V4 V5 V6 V7 V8
63
การดําเนินของงานวิทยาลัย
มาก ที่สุด
ระดับความพึงพอใจ
มาก
ปาน กลาง
นอย
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย
9. 10.
V9 มีการประชุมทํางานรวมกัน V10 มีการชี้แจงระเบียบปฏิบัติงานตางๆ อยาง ชัดเจน 11. มีการปฐมนิเทศการปฏิบัติงาน V11 12. เปดโอกาสใหแสดงความคิดเห็น V12 13. สงเสริมความกาวหนา V13 14. ความพอใจตอสถานที่ปฏิบัติงาน V14 15. มีความพึงพอใจในตัวผูบังคับบัญชา V15 16. มีความพึงพอใจในเพื่อนรวมงาน V16 17. อื่นๆ (โปรดระบุ)....................................................................................................... ........................................................................................................................................................... ดานการบริการอื่นๆ 18. หองน้ําสะอาด V17 19 ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม V18 20 มีสนามกีฬาที่ดี V19 21 มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ V20 22 รานสหกรณมีบริการที่เหมาะสม V21 23 มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวก V22 24 มีรานถายเอกสารที่ดี V23 25 มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก V24 26 มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี V25 ขอเสนอแนะอื่นๆ……………………………………………………….
…………………………………………………………… ……………………………………………………………. ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม-------------------------------------------
แบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ
64
คําชี้แจง ดวยงานวิจัยและพัฒนาไดเสนอโครงการทําวิจัยประจําปเรื่อง “ความพึงพอใจของนักศึกษา ตอการดําเนินการของวิทยาลัยราชพฤกษ” บัดนี้การดําเนินงานของวิทยาลัยผานไประยะหนึ่งแลว งานวิจัยและ พัฒนาจึงใครขอความอนุเคราะหจากนักศึกษาโปรดใหความเห็นโดยกาเครื่องหมาย หนาขอความที่ตรง กับความพึงพอใจของนักศึกษา ผลสรุปจากการวิจัยครั้งนี้จะเปนประโยชนตอการปรับปรุงและพัฒนางานที่เกี่ยวของของวิทยาลัย ราชพฤกษใหดีขึ้นตอไป ขอมูลสวนที่ 1 สถานภาพของนักศึกษา 1. เพศ ชาย
หญิง
2. หลักสูตรที่ศึกษา
หลักสูตร 4 ป
หลักสูตร 2 ปตอเนื่อง
3. สาขาวิชาที่สังกัด
คอมพิวเตอรธุรกิจ การจัดการ การบัญชี นิเทศศาสตร
การตลาด การจัดการการทองเที่ยวและการโรงแรม นิติศาสตร
4. อายุ
ต่ํากวา 20 ป 26 - 30 ป
20 - 25 ป 31 ปขึ้นไป
5. ประเภท
ภาคปกติ ภาคสมทบ (ค่ํา) ภาคสมทบ (เสาร - อาทิตย) ขอมูลสวนที่ 2 ความพึงพอใจของนักศึกษาตอการดําเนินการของวิทยาลัยฯ ระดับความพึงพอใจ การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ มาก ปาน มาก นอย ที่สุด กลาง 1) ดานหลักสูตร 1. มีหลักสูตรที่ทันสมัย 2. มีเนื้อหาในวิชาหลักของวิชาเอกที่สอดคลองกับ สภาพปจจุบัน 3. เนื้อหาในหลักสูตรเนนการสรางความรูพื้นฐาน เพื่อชวยใหนักศึกษาสามารถศึกษาระดับสูงได
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย V1 V2 V3
65 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ
มาก ที่สุด
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย
V4 4. เนื้อหาหลักสูตรใหความสําคัญดาน ภาษาตางประเทศ V5 5. หลักสูตรเปดโอกาสการเรียนรู การปฏิบัติจริง ได อยางเปนระบบ V6 6. มีวิชาเลือกหลากหลาย 7. อื่น ๆ (โปรดระบุ)........................................................................................................................................................ ………………………………………………………………………………………………………………………….. 2) ดานการสอนของคณาจารยโดยภาพรวม V7 1. มีวุฒิตรงกับวิชาที่สอน V8 2. มีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู V9 3. เปนกันเองกับนักศึกษา V10 4. เอาใจใสดูแลนักศึกษาอยางดี V11 5. มีความมั่นคงทางอารมณ V12 6. แตงกายสุภาพเรียบรอย V13 7. มีเทคนิคในการสอนทําใหเขาใจงาย V14 8. มีประสบการณในวิชาที่สอน V15 9. ใชสื่อที่เหมาะสมกับเนื้อหา V16 10. แนะนําแหลงคนควา / แหลงเรียนรูเพิ่มเติม V17 11. มีการวัดผล / ประเมินผล ไดครอบคลุม เนื้อหาวิชา V18 12. แนะนําชวยเหลือนักศึกษาในการเรียน V19 13. มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไดเหมาะสม V20 14. มีเอกสารประกอบการสอนเหมาะสมกับเนื้อหา 15. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………… ........................................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................................
66 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ
มาก ที่สุด
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย
3) ดานการบริการ V21 1. มีความสะดวกในการติดตอกับหนวยงานบริการ เชน งานทะเบียน การเงิน กิจการนักศึกษา V22 2. ในกิจกรรมการปฐมนิเทศใหความรูที่มีประโยชน V23 3. การจัดงานกีฬาภายในของวิทยาลัยฯมีความ เหมาะสม V24 4. การศึกษาดูงานนอกสถานที่เหมาะสม V25 5. การประชาสัมพันธภาพลักษณของวิทยาลัยใหเปน ที่รูจักผานสื่อตางๆ V26 6. การแตงกายของนักศึกษามีความเปนระเบียบ เรียบรอย 7. อื่น ๆ (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………….. 4) ดานหองเรียน และหองสมุด V27 1. มีความสะดวกสบายภายในหองเรียน เชน โตะ เกาอี้ กระดาน ไมโครโฟน โปรเจ็คเตอร V28 2. มีหนังสือในหองสมุดเพียงพอ V29 3. ตําราในหองสมุดมีความทันสมัย V30 4. การคนควาหนังสือในหองสมุดมีความสะดวก V31 5. การใชระบบอินเทอรเน็ตมีความสะดวก 6. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………. ........................................................................................................................................................................................ 5) ดานบริการอื่น ๆ 1. หองน้ําสะอาด 2. ภูมิทัศนวิทยาลัยฯ สวยงาม 3. มีสนามกีฬาที่ดี
V32 V33 V34
67 การดําเนินงานของวิทยาลัยฯ
มาก ที่สุด
ระดับความพึงพอใจ ปาน มาก นอย กลาง
นอย มาก
สําหรับ ผูวิจัย
V35 4. มีสถานที่นั่งพักผอนเพียงพอ V36 5. มีรานอาหารใหเลือกหลากหลาย V37 6. อาหารที่จําหนายมีรสชาติดี V38 7. อาหารที่จําหนายสะอาด ถูกสุขอนามัย V39 8. รานสหกรณมีของที่ตองการเพียงพอ V40 9. มีบริการเงินดวน (ATM) ที่สะดวด V41 10. มีรานถายเอกสารที่ดี V42 11. มีโทรศัพทสาธารณะที่ใชไดสะดวก V43 12. มีการรักษาความปลอดภัยอยางดี 13. อื่น ๆ (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………………….. ขอเสนอแนะอื่น ๆ ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................. ----------------------------------------------------- ขอบคุณที่ตอบแบบสอบถาม-------------------------------------------