2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
โครงการศู น ย์ ก ารแพทย์ ร ามาธิ บ ดี ศ รี อ ยุ ธ ยาจั ด ตั้ ง ขึ้ น ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องคณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยามในพระราชูปถัมภ์ มีเป้าหมายเพื่ อให้บริการสุ ขภาพ บริการการแพทย์เฉพาะทางและมี เป้าหมายที่จะขยับขยายโครงการให้มีก้าวเท่าทันเทคโนโลยีสุขภาพเป็นสถาบันการแพทย์ชั้นนําของเอเชียต่อไป โดยโครงการนี้จึงมีเนื้อหา เกี่ยวกับการจัดตั้งโครงการศูนย์การแพทย์ การวิเคราะห์ผู้ใช้งาน องค์ประกอบของโครงการ ที่ตั้งที่ดิน การทบกวนวรรณกรรม กฎหมาย และเทศบัญญัติ ตลอดไปจนถึงแนวคิดการออกแบบโครงการขั้นตอนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม วิศวกรรมโครงสร้างและงานระบบ ประกอบอาคาร อนึ่ ง คณะผู้ จั ด ขอขอบพระคุ ณ คณะอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ช าสหวิ ท ยาการออกแบบสถาปั ต ยกรรมและเทคโนโลยี ท างอาคาร คณะ สถาปั ต ยกรรม ศิ ล ปะและการออกแบบ สถาบั นเทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ าเจ้ าคุ ณทหารลาดกระบั ง ที่ ค อยให้ คํ าปรึ กษาตลอดการจั ด ทํ า โครงการ สมาคมสถาปนิ ก สยาม ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิ บ ดี มหาวิ ท ยาลั ย มหิ ด ล ตลอดจน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่มีส่วนทําให้โครงการนี้สําเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดีและคาดหวังว่าการจัดทําโครงการนี้จะเป็นประโยชน์ให้แก่คณะผู้จัดทํา พั ฒนาองค์ความรู้เพื่ อนําไปประกอบอาชีพสถาปนิกสืบต่อไป
2021 KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
01
02
PROJECT INFORMATION
03
SITE ANALYSIS
LITERATURE REVIEW
o o o
TERM OF REFERENCE USER PROPOSITION FUNCTION
o o o o
o o o o o
STENO DIABETES CENTER COPENHAGEN PSYCHIATRIC HOSPITAL IN SLAGELSE JUNG CLINIC EMERGENCY HOSPITAL 19 CASE STUDY SUMMARY
LOCATION SURROUNDING INFORMATION EXISTING SETBACK AND VIEW SUNLIGHT AND ACCESS WINDPATH AND POLLUTION
05
04 CASESTUDY
SITE SITE SITE SITE • • •
CONCEPTUAL DESIGN o o
DESIGN CONCEPT ARCHITECTURE TOOLS
o o o o
LAW AND REGULATION URBAN PLANNING LAW BUILDING CONTROL LAW STANDARD • JCI • EIA
06
DESIGN PROCESS o o o o o
o
SCHEMATIC AREA SCHEMATIC PLAN MASS ALTENATIVE MASS ANALYSIS MASS DEVELOPMENT • STRUCTURE • GREEN AREA • FACADE MASS SUMMARY
08 BUILDING CONSTRUCTION o o o o o o
FOUNDATION DIAPHRAGRAM WALL POST TENSION SLAB GREEN ROOF FACADE SPECIAL STRUCTURE • SKYWALK
07 ARCHITECTURAL DESIGN o o o o o
PLAN SECTION ELEVATION PERSPECTIVE AREA SUMMARY
09
MECHANICAL SYSTEM o ELECTRICAL SYSTEM o SOLAR PANEL SYSTEM o AIR CONDITIONING SYSTEM o VENTILATION SYSTEM o WATER SYSTEM o COLD WATER SYSTEM o WASTE WATER SYSTEM o FIRE RESISTANT SYSTEM o GAS SYSTEM o VERTICAL CIRCULATION SYSTEM o SECURITY & PROTECTION SYSTEM o WASTE MANAGEMENT SYSTEM o COMMUNICATION SYSTEM o AUDIO SYSTEM o LIGHTNING PROTECTION SYSTEM o MAINTENANCE SYSTEM o AUTOMATIC PARKING SYSTEM o METHODS FOR PREVENTING
PROJECT INFORMATION o TERM OF REFERENCE o USER o PROPOSITION FUNCTION
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
โครงการศูนย์การแพทย์รามาธิบดีศรีอยุธยา
โดย คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยามในพระราชูปถัมภ์
โครงการศูนย์การแพทย์ รามาธิบดีศรีอยุธยา
เป็นศูนย์กลางในการให้บริการ ด้านสุขภาพ
ASIA MEDICAL INSTITUTE
สร้างต้นแบบการดูแลสุขภาพ และ บริการการแพทย์เฉพาะทาง
INNOVATIVE HEALTH CARE
พร้อมปรับเปลี่ยนสําหรับความก้าวหน้าด้าน สุขภาพและการรักษาในอนาคต
FLEXIBLE SPACE
วิทยาเขตพญาไท
(โรงพยาบาลรามาธิบดี)
คณะแพทย์โรงพยาบาลรามาธิบดี T A R G E T
วิทยาเขตบางพลี
• การผลิตบุคคลากรทางการแพทย์ท่ม ี ี คุณภาพในสาขาต่าง ๆ • การเรียนรู้การดูแลรักษาแบบองค์ รวม • การใช้เทคโนโลยีท่เี หมาะสม • สามารถทํางานในชุมชนได้
(สถาบันการแพทย์จักรีนฤบดินทร์)
ศูนย์การแพทย์รามาธิบดีศรีอยุธยา (RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER)
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
เป็นสถาบันการแพทย์ชั้นนําของเอเชีย
มีเทคโนโลยีท่ท ี ันสมัยและแพทย์เฉพาะทาง ที่ตรงจุด
เป็นอาคารที่ทันสมัย มีพื้นที่ยืดหยุ่นและเกิด ประโยชน์สูงสุด
REPRESENTATIVE AND INCOME
เป็นอาคารที่ส่งเสริมภาพลักษณ์พร้อมทั้ง สร้างรายได้ให้แก่โครงการ
ENERGY SAVING
เป็นอาคารประหยัดพลังงานและรักษา สิ่งแวดล้อม
01
MEDICAL CENTER
ผู้ใช้บริการ
ผู้ให้บริการ
แพทย์
พยาบาล
เจ้าหน้าที่
นักศึกษา แพทย์
พนักงาน ภายใน โครงการ
ฝ่ายบริหาร และธุรการ
คนไข้ที่มา รับการ รักษา
ญาติ คนไข้ที่มา รับการรักษา
RESEARCH CENTER
ผู้ให้บริการ
เจ้าของ ร้านค้า
พนักงานใน โครงการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ผู้ใช้บริการ
กลุ่มลูกค้าที่ มาซื้อของ
นักวิจัย
ผู้ที่มา สัมนา
ผู้ที่มา ติดต่อ
ส่งเอกสาร เวชภัณฑ์
02
WELLNESS CENTER COMMERCIAL
RECEPTION
RETAIL ร้านค้า
TOTAL AREA
1000
GREEN AREA LOBBY & WAITING AREA RECEPTION ส่วนประชาสัมพั นธ์
RECEPTION
TOTAL AREA
1000
พื้ นที่พักคอย พื้ นที่รอรับยา พื้ นที่เก็บของเวชภัณฑ์ ห้องสุขา
LOBBY & WAITING AREA
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
TOTAL AREA
1000
HEALING GARDEN พื้ นที่สีเขียว
TOTAL AREA
1000
03
WELLNESS CENTER WELLNESS CENTER
WELLNESS CENTER แผนกการรักษา
TOTAL AREA
6000
DERMA CLINIC แผนกผิวหนัง
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
DENTAL CLINIC แผนกทันตกรรม
ALTERNATIVE CLINIC แผนกแพทย์ทางเลือก
IVF CLINIC แผนกผู้มีบุตรยาก
PLASTIC SURGERY แผนกศัลยกรรมพลาสติก
04
WELLNESS CENTER SERVICE
LABORATORY
GENERAL LAB
TOTAL AREA
1000
OFFICE
RETAIL ร้านค้า
TOTAL AREA
1500
PARKING
PARKING จอดรถ
TELEMEDICINE MEETING ROOM
TOTAL AREA
2500
TOTAL AREA
1000
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
05
MEDICAL CENTER RETAIL AND RESTAURANT
RETAIL AND RESTAURANT ร้านค้าและร้านอาหาร
TOTAL AREA
500
RESTAURANT
TOTAL AREA
GREEN AREA
TOTAL AREA
ห้องอาหาร / กาแฟ
350
RETAIL ร้านค้า
TOTAL AREA
150
OTHER AREA
OTHER AREA พื้ นที่อื่นๆ
TOTAL AREA
500
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
พื้ นที่สีเขียว
500
06
MEDICAL CENTER SPECIAL CLINIC
พื้ นที่ทั่วไป
SPECIAL CLINIC คลีนิกเฉพาะทาง
TOTAL AREA
1,000
LOBBY & WAITING AREA RECEPTION ส่วนประชาสัมพั นธ์
RECEPTION
TOTAL AREA
100
พื้ นที่พักคอย พื้ นที่รอรับยา พื้ นที่เก็บของเวชภัณฑ์ ห้องสุขา
LOBBY & WAITING AREA
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
TOTAL AREA
200
07
MEDICAL CENTER REHABILITATION CENTER
REHABILITATION CENTER ศูนย์ฟนฟู ื้ สมรรถภาพ
800
WEIGHT SHIFTING TRAINING
TOTAL AREA
TOTAL AREA
HYDROTHERAPY
TOTAL AREA
TOTAL AREA
บริเวณฝึกเดิน
200
REHABILITATION ห้องฟื้ นฟู สมรรภาพ
TOTAL AREA
600
WELLNESS CENTER
WELLNESS CENTER ศูนย์สุขภาพ
300
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ห้องวารีบําบัด
120
YOGA ROOM
ห้องออกกําลังกาย และทางเดินสีเขียว
TOTAL AREA
180
07
MEDICAL CENTER TRIAGE AND CONSULTANT AREA
TRIAGE AND CONSULTANT AREA พื้ นที่ทดสอบและให้คําปรึกษา
TOTAL AREA
100
TRIAGE
TOTAL AREA
LAB
TOTAL AREA
พื้ นที่ทดสอบ
50
CONSULTANT AREA
TOTAL AREA
IMAGING AREA
TOTAL AREA
พื้ นที่ให้คําปรึกษา
50
CLINCAL SUPPORT SPACES
CLINCAL SUPPORT SPACES พื้ นที่สนับสนุนทางคลีนิก
TOTAL AREA
1,000
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ห้องแล็บ
500
ห้องถ่ายภาพ
500
08
MEDICAL CENTER CLINICAL STAFF WORKSPACES
CLINICAL STAFF WORKSPACES พื้ นที่ทํางานของเจ้าหน้าที่
TOTAL AREA
300
CIRCULATION & SERVICE AREA
CLINCAL STAFF WORKSPACES
TOTAL AREA
ห้องทํางาน
240
MEETING ROOM
ห้องประชุม / สัมมนา
TOTAL AREA
60
PARKING
PARKING จอดรถ
CIRCULATION & SERVICE AREA พื้ นที่ให้บริการ
TOTAL AREA
1,000
TOTAL AREA
500
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
09
SITE ANALYSIS o o o o
2021
SITE SITE SITE SITE • • •
LOCATION SURROUNDING INFORMATION EXISTING
SETBACK AND VIEW SUNLIGHT AND ACCESS WINDPATH AND POLLUTION
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
ที่ตั้ง : ถนน พญาไท แขวง ถนนพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400
30.00 ม.
รายชื่อโรงพยาบาลใน ระยะรัศมี 2 กิโลเมตร 5
ตําแหน่งที่ตั้ง SITE มีระยะห่าง จาก รพ.รามาธิบดี 1.7 กิโลเมตร
8
1
4
3
9
ราชเทวี คือ ศู นย์กลางการคมนาคมและเป็นที่ตั้งของ ย่ า นที่ ทํ า การรั ฐ บาล ย่ า นธุ ร กิ จ การค้ า และการท่ อ งเที่ ย ว สถานที่ สํ า คั ญ ทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละวั ฒนธรรม และย่ า น ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ สํ า คั ญ น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง เ ป็ น ศู น ย์ ก ลา ง คมนาคม มีประชากรอาศัยในเขตนี้ค่อนข้างหนาแน่นและยัง มีชุมชนที่มีเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมพิ เศษเฉพาะด้วย
8
6 7
2 1
N รายชื่อโรงพยาบาล
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
1. สถาบันประสาทวิทยา
4. รพ.สถาบันโรคไตภูมิฯ
7. รพ.พระมงกุฎเกล้า
2. รพ.รามาธิบดี
5. รพ.พญาไท 1
8. สถาบันสุขภาพเด็กฯ
3. รพ.สงฆ์
6. รพ.เวชศาสตร์เขตร้อน
9. รพ.ราชวิถี
10
3
2
4 1 N
30.00 ม.
3
1 FRONT
BESIDE (L)
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
4 BACK
BESIDE (R)
11
RAMATHIBODI HOSPITAL
การเชื่อมต่อกับศูนย์ใหญ่ RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
1.7 กิโลเมตร
ในกรณีที่หากมีผู้ป่วยฉุกเฉินหรือผู้ป่วยที่จําเป็นต้องค้างคืนหรือได้รับการรักษาต่อระยะยาว ทางศูนย์การแพทย์รามาธิบดี ฯ ก็สามารถ ประสานให้ส่งตัวผู้ป่วยไปทําการรักษาต่อยังโรงพยาบาลรามาธิบดี (ศูนย์ใหญ่) ได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
12
ตั้งอยู่บนพื้ นที่ 2 แปลง แปลงที่ 1 โรงพยาบาลเดชา พื้ นที่ 1.44 ไร่ ( 2,298 ตร.ม.) แปลงที่ 2 แปลงเช่า พื้ นที่ 1.22 ไร่ ( 1,951 ตร.ม.)
SITE 01
2,298 ตารางเมตร ( 1.44 ไร่ )
ขนาดและรูปร่างที่ดิน SIZE & SHAPE SITE 01
SITE 02
2,298 ตารางเมตร ( 1.44 ไร่ )
1,951 ตารางเมตร ( 1.22 ไร่ )
SITE 02
N
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
กรรมสิทธิ์ของ มูลนิธิรามาธิบดี
พื้ นที่ให้เช่า ราชพั สดุ 1,951 ตารางเมตร ( 1.22 ไร่ )
TOTAL AREA 4,249 ตารางเมตร หรือ 2.66 ไร่
00 13
ACCESS รถยนต์
เส้นทางถนนศรีอยุธยา
N
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
รถประจําทาง ท่ารถอยู่ห่างจากโครงการ 200 -260 เมตร รถไฟฟ้า BTSพญาไท / ARLพญาไท รถไฟ สถานีรถไฟ พญาไท เดิน
เดินจากสถานีรถไฟ/รถไฟฟ้า /ป้ายรถเมย์
14
SET BACK ตัวพื้ นที่มีข้อกําหนดเรื่องระยะร่น และความสูง ของอาคาร จากถนนโดยรอบโครงการ 2 ทาง ได้แก่ ทางด้านหน้า เป็นถนนขนาด 30 เมตร และทางด้านหลังเป็นถนน Airport Rail Link มีขนาดประมาณ 12 เมตร
มุมมองที่ 01 กับ มุมมองที่ 02 จะเห็นโครงการใกล้เคียงกันแต่ มุมมองที่ 02 จะอยู่ สูงกว่า จึง จะมองเห็นโครงการได้ดีกว่า
02 01
มุมมองจาก Airport Rail Link
01
03
03 04
02
04 บริเวณใกล้เคียงส่วนมากจะเป็นตึกสูง 7ชั้น ถึง 30 ชั้น ขึ้นไป ทําให้มุมมอง โดนปิดบังไป แต่ยังมีอาคารขนาดเล็กที่สอดแทรกทําให้มีช่องที่สามารถมอง เห็นวิวและสวนต้นไม้ได้
03
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
พื้นที่ค่อนข้างโล่ง มีพื้นที่สีเขียวแทรก
04
สามารถมองเห็นพื้นที่สีเขียวได้ ( สวนสาธารณะ )
15
ตามแนวพื้นที่ด้านกว้าง PRO - หันหน้าเข้าถนน -
แกนขนาดกับพื้นที่ จัดการง่าย
-
โดนแดดหลายด้าน
CON
ตามแนวพื้นที่ด้านยาว PRO ทิศเหนือ และ ทิศตะวันออก โดนแดด น้อย
-
ทิศใต้ และ ทิศตะวันตก
แกนขนานกับพื้นที่ โดนนแดดน้อย วางตาม แนวตะวัน ช่วยประหยัดพลังงาน
CON
โดนแดด มาก
-
หันด้านแคบเข้าถนน
สามารถเข้าโครงการได้ 3 ช่องทางหลัก 02 615 m .
-
01 03
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
PRO
ที่ตั้งโครงการเข้าถึงง่าย โดยสารได้หลายช่องทาง สามารถจัดเส้นทางเข้าออกได้ง่าย
CON -
มุมมองในการมองเห็นแคบ อยู่ชิดกับใต้สะพานกลับรถทําให้แออัด
16
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงฤดูหนาว OCT-MAY
N
Noise Pollution
มลภาวะทางเสียงที่เกิดขึ้นจากสภาพแวดล้อมภายนอก ( จากการใช้รถบนท้องถนน และเสียงจากรถไฟฟ้า ) เสียงรถวิ่งบนท้องถนน เสียงแตรรถ เสียงรถไฟฟ้า เสียงรถไฟ
37 DB 37 DB 34 DB 49 DB
จําเป็นต้องมีระบบในการป้องกัน เสียงรบกวน
Air Pollution ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ช่วงฤดูหนาว NOV-JAN
มลภาวะทางอากาศ ที่เกิดจาก ฝุ่นละออง ควันร้อนและควันดํา บริเวณริมถนน และก๊าซอันตรายอื่นๆ ที่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สุขภาพ หรืออาการ ละคายเคืองได้.
OCT - MAY
ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
เป็นลมที่พัดเอาความชื้นเข้ามาก่อให้เกิดเมฆมากและฝนตกชุก
NOV – JAN
ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นลมที่พัดเอาอากาศเข้ามาทําให้ท้องฟ้าโปร่ง อากาศหนาวเย็น และแห้ง โดยเฉพาะภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ผลการตรวจวัดรถยนต์ควันดํา
มลภาวะจากควันดํา
60%
ฝุ่นละออง 30 % อื่นๆ 10 %
จําเป็นต้องมีระบบในการป้องกัน ฝุ่นและควัน
17
LITERATURE REVIEW o o o o
2021
LAW AND REGULATION URBAN PLANNING LAW BUILDING CONTROL LAW STANDARD • •
JCI EIA
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
มาตรฐาน
กฎหมายทั่วไป
กฎหมายผังเมือง กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
-
กฎกระทรวงสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา
กฎหมายควบคุมอาคาร -
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่องควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องกําหนดบริเวณซึ่งอาคาร บางชนิดจะปลูกสร้างไม่ได้
-
กฎกระทรวงฉบับที่ 33 พ.ศ. 2535 กฎกระทรวงฉบับที่ 55 พ.ศ. 2543
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
JCI (Joint Commission International) EIA (Environmental Impact Assessment) WELL-BEING
กฎหมายสิ่งแวดล้อม -
กฎกระทรวงกํ า หนดประเภท หรื อ ขนาดของอาคาร และ มาตรฐาน หลักเกณฑ์ และวิธีการในการออกแบบอาคารเพื่ อ การอนุรักษ์พลังงาน พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม แห่งชาติ ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง ่ แวดล้อม
18
กฎหมายผังเมือง
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 พื้ นที่สีแดง เขต พาณิชยกรรม พ.4
FAR 8:1
OSR 4%
SITE 01 SITE 01
เลขโฉนดที่ดิน : 1140 เนื้อที่ : 1 ไร่ 1 งาน 51.8 ตร.วา พื้ นที่ : 2,298 ตร.ม.
SITE 02 เลขโฉนดที่ดิน : 3395
SITE 02
เนื้อที่ : 1 ไร่ 69.6 ตร.วา พื้ นที่ : 1,951 ตร.ม. ตําแหน่งที่ตั้ง : ต.พญาไท อ.ดุสิต จ.กรุงเทพฯ ราคาประเมินที่ดิน : 260,000 ตร.วา (กรมธนารักษ์)
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
พื้ นที่อาคารสูงสุดตาม FAR SITE 1 : 2,298 x 8 = 18,384
ตร.ม.
SITE 2 : 1,951 x 8 = 15,608
ตร.ม.
รวม
33,992ตร.ม.
พื้ นที่ว่างอาคารตาม OSR SITE 1 : 2,298 x 4% = 91.92
ตร.ม.
SITE 2 : 1,951 x 4% = 78.04
ตร.ม.
รวม
169.96
ตร.ม.
อ้างอิงจากเว็บไซต์กรมธนารักษ์และสํานักงานที่ดิน
19
ขอบเขตการก่อสร้างอาคารตามข้อบัญญัติกรุงเทพ และพระราชบัญญัติควบคุมอาคาร
SITE 1
จากการศึกษาที่ดินของเรามีศักยภาพที่จะพั ฒนาพื้ นที่ดินนี้เป็นอาคาร 3 ประเภท อาคารขนาดใหญ่
อาคารสูง
ถน นศ รีอ ย
อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
และเพื่ อศึกษาความคุ้มค่าในการเลือกประเภทอาคารที่จะก่อสร้าง จึงได้ทดลอง คํานวณพื้ นที่สูงสุดที่จะสามารถทําการก่อสร้างของแต่ละประเภทอาคารดังนี้
OPTION 1
SITE 2 ุธย
าก วา้ ง 30 ม.
3 m.
ระยะร่นอาคารขนาดใหญ่
SITE 1 ประเภทอาคารขนาดใหญ่ พื้ นที่อาคาร / ชั้น 1,458.55 ตร.ม. ความสูงอาคารตามกฎหมาย 23 ม. พื้ นที่อาคารรวม 8,751.3 ตร.ม.
124.6 m.
23 m.
23 m.
N
ระยะร่นอาคารสูงและ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ
OPTION 2
SITE 1 ประเภทอาคารขนาดใหญ่ พื้ นที่อาคาร / ชั้น 1,458.55 ตร.ม. ความสูงอาคารตามกฎหมาย 23 ม. พื้ นที่อาคารรวม 8,751.3 ตร.ม.
60 m.
N
6 m.
23 m.
SITE 2 ประเภทอาคารสูงและ อาคารขนาดใหญ่พิเศษ ความสูงอาคารตามกฎหมาย พื้ นที่อาคารรวม 17,285.5 ตร.ม.
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
SITE 2 ประเภทอาคารขนาดใหญ่ พื้ นที่อาคาร / ชั้น 1,061.77 ตร.ม. ความสูงอาคารตามกฎหมาย 23 ม. พื้ นที่อาคารรวม 6,370.62 ตร.ม.
20
ระยะร่น 6 เมตร ตามเทศ บัญญัติอาคารสูง
ระยะร่น 3 เมตร ตามเทศ บัญญัติอาคารขนาดใหญ่
ระยะร่น 14 เมตร ตามเทศบัญญัติ ของเทศบาลกรุงเทพ
ระยะร่น 12 เมตร ตามเทศบัญญัติ ของเทศบาลกรุงเทพ ระยะร่น 1/6 ของเส้นรอบรูปนอก อาคาร ตามเทศบัญญัติของ เทศบาลกรุงเทพ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
21
การคํานวนจํานวนห้องนํ้า
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 หมวด 6 ประเภทของอาคาร
เกณฑ์การกําหนดจํานวน
จํานวนห้องส้วม
อ่างล้างมือ
ที่ถ่ายอุจจาระ
ที่ถ่ายปัสสาวะ
สถานพยาบาล
ต่อพื้ นที่อาคาร 200 ตร.ม. (1) สําหรับผู้ชาย (2) สําหรับผู้หญิง (3) สําหรับผู้พิการ
2 4 1
2 -
1 1 1
อาคารพาณิชย์
ต่อพื้ นที่อาคาร 200 ตร.ม. (1) สําหรับผู้ชาย (2) สําหรับผู้หญิง (3) สําหรับผู้พิการ
1 3 1
2 -
1 1 1
สํานักงาน
ต่อพื้ นที่อาคาร 300 ตร.ม. (1) สําหรับผู้ชาย (2) สําหรับผู้หญิง (3) สําหรับผู้พิการ
1 3 1
2 -
1 1 1
จํานวน : 133
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
จํานวน : 27
จํานวน : 126
22
การคํานวนจํานวนที่จอดรถ ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ.2544 หมวด 9 ข้อ 84 อาคารหรื อ ส่ ว นหนึ่ ง ส่ ว นใดของอาคารหลั ง เดี ย ว หรื อ หลาย หลังที่เป็นอาคารประเภทที่ต้องมีท่จ ี อดรถ ที่กลับรถและ ทางเข้ า ออก ของรถตามข้อ 83 ต้องจัดให้มีท่จ ี อดรถตาม จํ า นวนที่ กํ า หนดของแต่ ล ะ ประเภทของอาคารเพื่ อการนั้น ๆ
สถานพยาบาล
1 : 120
30 คัน สถานพยาบาล
57 คัน
สํานักงาน
1 : 60
5 คัน 1 : 120
สํานักงาน
อาคารขนาดใหญ่
กฎกระทรวง กําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู้ พิ การหรือทุพพลภาพ และคนชรา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564 ข้อ 12
อาคารตามข้อ 3 ต้องจัดให้มีท่ีจอดรถสําหรับผู้พิการ หรือผู้ทุพพลภาพ และคนชรา
(4)
จํานวนที่จอดรถตั้งแต่ 151 คัน แต่ไม่เกิน 200 คัน ให้ ที่จอดรถไม่น้อยกว่า 6 คัน
มี
1 : 120
9 คัน 1 : 60
14 คัน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
อาคารขนาดใหญ่
53 คัน
ที่จอดรถคนพิ การ
1 : 120
1 คัน
168 คัน
พื้ นที่จอดรถ ทั้งหมด
พื้ นที่จอดรถ 5,625
= 6 คัน
= = =
168 คัน X 12 ตร.ม.
+ +
พื้ นที่จอดรถคนพิ การ (15x4)
= 2,620 + 60 =
พื้ นที่จอดรถ 25 ตร.ม. (รวมพื้ นที่สัญจร)
2,620 ตร.ม.
2,680 ตร.ม.
23
กฎหมายบันไหนีไฟ
ข้อ 44 ตําแหน่งที่ตั้งบันไดหนีไฟ
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื่อง ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544 หมวด 4 ข้อ 39 โรงพยาบาลที่ ก่ อ สร้ า งหรื อ ดั ด แปลงเกิ น 1 ชั้ น นอกจากมี บั น ได ตามปกติแล้วต้องมีทางหนีไฟโดยเฉพาะอย่างน้อย 1 ทาง และ ต้องมีทางเดินไปยังทางหนีไฟนั้นโดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
ข้อ 41 ระยะของบันไดหนีไฟ
ลูกนอนกว้าง≥ 22 ซม. ลูกตั้งสูง ≤ 20 ซม.
พื้ นหน้าบันไดหนีไฟต้อง กว้างไม่ น้อยกว่าความกว้างของบันได ชานพั ก กว้ า งไม่ น้ อ ยกว่ า ความ กว้างของบันได
มีความกว้างไม่น้อย 90 เซนติเมตร และไม่เกิน 150 เซนติเมตร
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
และอีกด้านหนึ่งกว้าง ไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร
ข้อ 45 ประตูของบันไดหนีไฟ
สามารถทนไฟได้ไม่ น้ อ ยกว่ า 1 ชั่ ว โมง และต้ อ งเป็ น บาน เปิดชนิดผลักเข้าสู่ บันไดเท่านั้น
ความกว้างไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร
24
กฎหมายผู้พิการและคนชรา
ข้อ 10 ลักษณะของลิฟท์
กฎกระทรวง กําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564
ขนาดห้องลิฟท์มีความกว้างไม่น้อยกว่า 1.60 ม. ความยาว ไม่น้อยกว่า 1.40 ม. และความสูง ไม่น้อยกว่า 2.30 ม.
ข้อ 3 อาคารประเภทสถานพยาบาลทั้ ง ของรั ฐ และ เอกชน ต้องจัดให้มีสิ่งอํานวยความสะดวก สําหรับผู้พิการและคนชรา
ช่องประตูลิฟท์มีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.90 ม.
มีช่องนิรภัยกระจกใส มีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.20 ม. ความยาวไม่น้อยกว่า 0.80 ม. และความสูง จากพื้ น ไม่เกิน 1.10 ม.
ข้อ 8 ลักษณะของทางลาด มีความกว้างไม่น้อยกว่า 0.90 ม. ปลายราวจับยื่น ไม่น้อย กว่า 0.30 ม.
ข้อ 11 ลักษณะของบันได
ลูกนอนกว้าง ≥ 43 ซม ≤ 48 ซม. . ลูกตั้งสูง ≤ 18 ซม.
มีราวจับบันไดทั้ง 2 ข้างในกรณีท่ี พื้ นมี ความต่างระดับกันตั้งแต่ 0.60 ม. ขึ้นไป
ลูกตั้งบันไดห้ามเปิดเป็นช่อง โล่ง เว้นแต่ลูกนอนบันไดยก ขอบสูงด้านในสูงไม่เกิน 0.05 ม. ขึ้นไป
ในกรณีท่เี ป็นทางลาด แบบ 2 ทางมีความกว้าง ไม่น้อยกว่า 1.50 ม. พื้ นที่หน้าทางลาดไม่น้อยกว่า 1.50 ม.
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
25
กฎหมายผู้พิการและคนชรา ข้อ 21 ขนาดห้องนํ้าผู้พิการ
โถส้วมชนิดนั่งราบ สูงจากพื้ น ไม่น้อยกว่า 0.40 ม. แต่ไม่เกิน 0.45 ม.
ติดตั้งระบบสัญญาณแสงและ สัญญาณเสียงให้ผู้พิการหรือ ทุพพลภาพ
ก๊ อ กนํ้ า เป็ น ชนิ ด ก้ า น โยกหรื อ ก้ า นกดหรื อ ก้ า น ห มุ น ห รื อ ร ะ บ บ อัตโนมัติ
พื้ นห้องส้วมต้องมีระดับเสมอกับพื้ นภาย นอก ถ้าเป็นทางต่างระดับต้องมีทางลาด
ข้อ 12 ที่จอดรถคนพิ การ จั ด พื้ น ที่ จ อดรถสํ า หรั บ ผู้ พิ ก ารใกล้ กั บ ทางเข้ า -ออก อาคาร ลักษณะไม่ขนานกับทางสัญจร มี สั ญ ลั ก ษณ์ รู ป คนพิ ก ารที่ พื้ นขนาด 0.90x0.90 ม.
ความสูงจากพื้ นถึง ขอบบนของอ่ า งไม่ น้ อ ยกว่ า 0.75 ม. แต่ไม่เกิน 0.80 ม.
พื้ นที่ว่างภายในห้องนํ้า มีเส้น ผ่ า นศู น ย์ ก ลาง ไม่ น้ อ ยกว่ า 1.50 ม. ขึ้นไป
มีราวจับบริเวณด้านที่ชิดผนังเพื่ อช่วยในการ พยุงตัว เป็นราวจับในแนวนอนและแนวดิง ่ ประตู ห้ อ งนํ้ า เป็ น บานเลื่ อ นหรื อ บานเปิดออกสู่ภายนอก โดยต้อง เปิดค้างได้ ไม่น้อยกว่า 90 องศา และมีราวจับแนวนอน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ขนาดช่องจอดรถ มีความกว้าง ไม่น้อยกว่า 2.40 ม. และยาวไม่ น้อยกว่า 6.00 ม.
มี ท่ี ว่ า งด้ า นข้ า งรถไม่ น้อยกว่า 1.00 ม.
มีป้ายสัญลักษณ์รูปคนพิ การขนาดไม่น้อยกว่า 0.30x0.30 ม. ติดสูงจากพื้ น 2.00 ม.
26
Joint Commission International ( JCI )
องค์กรสากลจากประเทศสหรัฐอเมริกาที่คอยตรวจสอบมาตรฐานคุณภาพและความปลอดภัย เพื่ อให้การรับรองคุณภาพแก่ โรงพยาบาลต่าง ๆ เป้าหมายสําคัญขององค์กรคือการปรับปรุงการดูแลรักษาสุขภาพของโรงพยาบาลทั่วโลก
SECTION 1
SECTION 3
ข้อกาหนดในการเข้าร่วมการรับรอง
มาตรฐานการบริหารจัดการสถานพยาบาล
ข้อกําหนดในการเข้าร่วมการรับรอง (APR)
SECTION 2
การพั ฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของ (QPS) การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ (PCI) การกากับดูแลกิจการ การนา และทิศทางองค์กร (GLD) การจัดการอาคารสถานที่และความปลอดภัย (FMS) คุณสมบัติและการศึกษาของบุคลากร (SQE) การจัดการกับสารสนเทศ (MOI)
มาตรฐานที่มุ่งเน้นผู้ป่วยเป็นศู นย์กลาง เป้าหมายความปลอดภัยผู้ป่วยสากล (IPSG) การเข้าถึงบริการและการดูแลอย่างต่อเนื่อง (ACC) สิทธิผู้ป่วยและครอบครัว (PFR) การประเมินผู้ป่วย (AOP) การดูแลผู้ป่วย (COP) การดูแลด้านวิสัญญีและศัลยกรรม (ASC) การจัดการด้านยาและการใช้ยา (MMU) การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและครอบครัว (PFE)
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
SECTION 4 มาตรฐานของศู นย์การศึ กษาทางการแพทย์ขององค์กร การให้การศึกษาแก่ผู้ประกอบวิชาชีพด้านการแพทย์ (MPE) โปรแกรมการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์ (HRP)
27
CASESTUDY o o o o o
2021
STENO DIABETES CENTER COPENHAGEN PSYCHIATRIC HOSPITAL IN SLAGELSE JUNG CLINIC EMERGENCY HOSPITAL 19 CASE STUDY SUMMARY
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
แนวคิดการออกแบบการใช้ธรรมชาติบําบัด ให้ผู้ใช้งานรู้สึก เหมือนอยู่ท่ามกลางสวนขนาดใหญ่ โดยใช้พื้นที่ landscape ขนาดใหญ่กลางอาคารเป็นตัวเชื่อม ออกแบบให้สถาปัตยกรรมเชื่อมต่อกับธรรมชาติ
Project Info : Architects
:
Location : Area : Project Year :
Vilhelm Lauritzen Architects / Mikkelsen Architects Herlev, Denmark 18,200 sqm plus basement carpark 2016
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
28
จุดเด่น 1. การใช้สถาปัตยกรรมล้อไปกับสวนให้เกิดความรู้สึกเชื้อเชิญ 2. ใช้ระดับที่สูงขึ้นเพิ่ มความเป็นส่วนตัว เช่นส่วนวิจัย 3. พื้ นที่ส่วนกลางและส่วนบําบัดล้อมรอบไปด้วยคอร์ด 6 คอร์ดเพื่ อการ เชื่อมต่อที่เข้าถึงง่ายโดยถูกออกแบบให้เข้าถึงได้ทั้งผู้ป่วย ญาติผู้ป่วย และ เจ้าหน้าที่ โดยมีพื้นที่กิจกรรมที่หลากหลายรองรับ 4. พื้ นและเพดานไม้ระแนงทําจากไม้สีอ่อน และภายในอาคาร ให้สัมผัสได้ถึง ธรรมชาติเป็นองค์ประกอบหลักของอาคาร
จุดด้อย 1. สวนในโรงพยาบาลอาจเสี่ยงต่อการติดเชื้อและดูแลยาก 2. ทางเปิดเยอะทําให้ยากต่อการควบคุมคน 3. อาคารมีลักษณะแผ่ อาจไม่เหมาะกับทีดินทีมีที่เล็ก
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
29
”แนวคิ ด การออกแบบอาคารที่ ส ามารถช่ ว ย ฟื้ นฟู และรักษาผ่านสถาปัตยกรรม และสามารถ เชื่อมการมองเห็นระหว่างผู้ป่วยและเจ้าหน้าที่”
Project Info : Architects Location Area Project Year
: : : :
Karlsson Arkitekter/VLA Denmark 44,000 sqm approx. 200 beds 2017
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
30
จุดเด่น ่ ี่ไม่เป็นทางการ ส่งผลให้เกิดความรู้สึกอบอุ่น 1. การออกแบบพื้ นทีท 2. ใช้สีและแสงที่อบอุ่น 3. พื้ นที่โล่งบริเวณโถง เพื่ อให้ผู้ป่วยสามารถมองเห็นกิจกรรมและสังเกตสิ่งที่อยู่รอบตัว จนกว่าจะพร้อมเข้าร่วมกิจกรรม 4. พื้ นที่ระหว่างอาคารสําหรับการรักษา ถูกขั้นพื้ นที่ด้วยกิจกรรม พื้ นที่น้ใี นอนาคตสามารถ ปรับเปลี่ยนยืดหยุ่นเพื่ อรองรับนวัตกรรมใหม่ ๆ 5. พื้ นที่ที่เปิดโล่งของอาคารเกิดเป็นสวนระหว่างพื้ นที่อาคาร ให้ผู้ป่วยสามารถเชื่อมต่อกับ ภายนอกเมื่อพั กในห้องพั ก
จุดด้อย 1. 2.
พื้ นที่โถงที่เปิดโล่ง อาจะทําให้ผู้ป่วยเกิดอุบัติเหตุได้ อาคารลักษณะแผ่ทําให้การดูแลผู้ป่วยต้องใช้บุคลากรในการดูแลจํานวนมาก
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
07
“แนวคิดในการออกแบบ คือ ความต้องการนําเสนอตัวคลินิก ที่มีความเป็นส่วนตัวถูกนําเสนอกับบริบทรอบข้างเสมือนเป็น สวนที่เปิดรับแก่สาธารณะ”
Project Info : Architects
:
Location : Area : Project Year :
Kim Seunghoy (Seoul National University) KYWC Architects Jeju-si, South Korea 3233 m² 2014
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ส่วนพื้ น ที่สีเขีย วมีส่วนเชื่อมต่อพื้ น ที่ภายนอกและภายใน กั บ พื้ น ที่ ส าธารณะ การรวมพื้ น ที่ ข องห้ อ งพิ เ ศษกั บ เส้ น ทางและส่วนเปิดโล่ง 31
จุดเด่น ่ ั กคอย การเปิดโล่งของตัว mass ให้อาคาร มีความสูงถึง 6 เมตรทําให้พื้นทีพ สามารถมองเห็นทิวทัศน์ด้านนอกได้ใช้ระดับที่สูงขึ้นเพิ่ มความเป็นส่วนตัว 2. การออกแบบที่เปิดรับกับการสัญจรของรถบริเวณที่ตั้งที่เป็นหัวมุมถนนและ การเปิดรับพื้ นที่สําหรับผู้ใช้งานที่เดินทางเท้า 3. การออกแบบที่ไล่ระดับของ mass อาคาร ให้ส่วน mass แรกมีสัดส่วนที่ ใกล้เคียงกับผู้ใช้งานที่เดินทางเท้า แล้วค่อยๆไล่ระดับไปตาม function อื่นๆ 1.
จุดด้อย 1. 2.
กรอบอาคารมีลักษณะเป็นกระจกใสเปิดโล่งรอบอาคาร อาจไม่เหมาะกับ ลักษณะภูมิประเทศของไทย ทางเข้าอาคารหลายทางทําให้จัดการดูแลความปลอดภัยได้ยาก
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
32
DESIGN CONCEPT ระบบ Modular ในการวางผัง
โครงสร้างมี ความยืดหยุ่น เคลื่อนย้ายได้
การก่อสร้างที่ยั่งยืน ไม่ก่อให้เกิดผลเสีย ต่อสังคม
มี facilities ที่ครบครัน
Project Info : Architects Location Area Project Year
: : : :
Filippo Taidelli Rozzano (MI) 2,750 sqm 2020
ระบบ Modular : 6
ประกอบไปด้วย ห้องฉุกเฉิน, ห้องวิกฤตอายุรกรรม(SubICU) ห้องความดันลบ, ส่วนวินิจฉัย, ส่วนปฏิบัติการ และส่วนฉายรังสี RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
33
จุดเด่น ให้ความสําคัญของมนุษย์กับพื้ นที่ กระบวนการบําบัดมุ้งเน้นไปที่ผู้ป่วย สร้าง สภาพแวดล้อมในเชิงบวก 2. เปลือกภายนอกของอาคารมีลักษณะเป็นผิวสองชั้นช่วยปรับให้เข้ากับสภาพ อากาศ และการจัดตั้งองศาของ facade ทําให้ลดภาระผลกระทบจากรังสี ดวงอาทิตย์ได้ 3. การก่อสร้างที่ยั่งยืน ไม่ก่อให้เกิดผลเสียต่อสังคม 1.
จุดด้อย 1. 2.
โครงสร้างมีความยืดหยุ่นเคลื่อนย้ายได้ อาจไม่เหมาะกับโรงพยาบาลที่เป็น อาคารถาวร มีคอร์ทกลางอาคารทําให้ระยะทางสัญจรภายในโรงพยาบาลไม่กระชับ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
34
STENO DIABETES CENTER COPENHAGEN, DENMARK (18,200 sq.m.) •
• •
การเชื่อมต่ออาคารกับพื้ นที่สี เ ขี ย ว เ พื่ อ เ ป็ น ตั ว เ ชื่ อ ม กิจกรรม และใช้ธรรมชาติเป็น ตัวบําบัด การใช้ ร ะดั บ เป็ น ตั ว แบ่ ง การ เข้าถึงของพื้ นที่ กิจกรรมและ ผู้ใช้งาน ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ กิ จ ก ร ร ม ที่ ห ล า ก ห ล า ย แ ล ะ มี ก า ร เชื่ อ มโยงกั น เป็ น ตั ว เชื่ อ มปฎิ สัมพั นธ์ระหว่างมนุษย์
JUNG CLINIC, SOUTH KOREA ( 3,233 sq.m.)
PSYCHIATRIC HOSPITAL IN SLAGELSE, DENMARK (44,000 sq.m.) •
•
•
การออกแบบพื้ นที่ท่ีเปิดโล่ง ไม่ อึ ด อั ด สร้ า งความผ่ อ น คลายให้กับผู้ป่วย เพิ่ มพื้ นที่เชื่อมต่อกับพื้ นที่สี เขียว เนื่องจากสามารถช่วย ในการบําบัดและทําให้ผู้ป่วย มีความผ่อนคลายมากยิง ่ ขึ้น การจั ด วางพื้ น ที่ บํ า บั ด ผสม กั บ พื้ น ที่ จั ด กิ จ กรรม ทํ า ให้ พื้ นที่ ก ารรั ก ษาเกิ ด ค ว าม หลากหลาย และสามารถ คํานึงถึงปรับเปลี่ยนพื้ นที่ได้ ในอนาคต
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
• • •
การออกแบบอาคารให้ส่วน พื้ นที่ สี เ ขี ย วเชื่ อ มต่ อ กั บ ส่วนสาธารณะ ก า ร เ ปิ ด รั บ ใ ห้ ผู้ ใ ช้ ง า น ทางเดิ น ทางเท้ า เข้ า ถึ ง ได้ ง่าย ก า ร ใ ช้ พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว เชื่ อ มโยงพื้ นที่ ภ ายนอก และภายใน โอบล้อมอาคาร
EMERGENCY HOSPITAL 19, Rozzano (2,750 sq.m.) • • •
ให้ ค วามสํ า คั ญ ของมนุ ษ ย์ กับพื้ นที่ เปลือกภายนอกของอาคาร มี ลั ก ษ ณ ะ เ ป็ น ผิ ว ส อ ง ชั้ น ช่วยปรับให้เข้ากับสภาพ พื้ นที่สีเขียว มีบทบาทในการ รักษาผู้ป่วยและผู้ปฏิบัติงาน
35
CONCEPTUAL DESIGN o DESIGN CONCEPT o ARCHITECTURE TOOLS
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
องค์การอนามัยโลก (WHO) ระบุว่า
โควิด-19 อาจกลายเป็นโรคประจําถิ่น ที่จะอยู่กับเราไปตลอด ทําให้ประชาคมโลกต้องเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกับโรคนี้
วิถีชีวิตที่ยืดหยุ่นมากขึ้น
วิถีชีวิตรูปแบบดิจิตอล
วิถีชีวิตทีใ่ ส่ใจสุขภาพ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
36
มุ่งเน้นการดูแลผู้ป่วยทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจด้วยวิถี
CONNECT
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
MEDICAL INTELLIGENCE
BALANCE
37
การเชื่อมต่อที่ไร้ขอบเขต สามารถ เข้าถึงบริการทางการแพทย์ ครบวงจรได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว
CONNECT
ให้ความสําคัญกับสุขภาพองค์ รวมทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ของคนไข้และบุคลากร
BALANCE
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
เทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ี ทันสมัย สะดวกรวดเร็ว เสริมศั กยภาพความแม่นยํา
MEDICAL INTELLIGENCE
38
CONNECT การเขาถึงบริการการแพทย์ครบวงจรได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว เชื่อมต่อกับศูนย์การแพทย์รามาใหญ่ เพื่ อการบริการที่ครบครัน และเข้าถึงบริการทางการแพทย์ท่ค ี รบวงจรผ่านการส่งต่อผู้ป่วย
พื้ นที่อํานวยความสะดวก TELEMEDICINE
ทางเชื่อมระหว่าง2อาคาร ทางเชื่อมจาก AIRPORT RAIL LINK เข้าสู่ MEDICAL CENTER โดยตรง
พื้ นที่เปิดด้านหน้า เชื่อมต่อ โครงการและทางเท้าด้านหน้า
ทีจอดรถอัตโนมัติ รองรับผู้ สัญจรโดยรถยนต์ส่วนตัว มี ความสะสวกสบายในการใช้งาน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
1.7 KM.
39
BALANCE
ส่วน GREEN AREA
การรักษากาย ใจ และจิตวิญญาณ โดยอาศัยกระบวนการทางธรรมชาติ ในการเยียวยาร่วมกับการแพทย์ในเกิดความสมดุลแก่ผู้ป่วยและแพทย์
ส่วน MEDICAL
ออกแบบ HEALING GARDEN ออกแบบ GREEN AREA
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
40
MEDICAL INTELLIGENCE การใช้เทคโนโลยีท่ท ี ันสมัยในการดูแลรักษาคนไข้ ทั้งในเรื่องของการบริการและการรักษา
“การใช้พื้นที่น้อยลง”
ช่วยลดจํานวน คนทํางาน
การทํางาน ที่รวดเร็ว
ระบบ TELECONSULTING
ระบบเซนเซอร์
ระบบเซนเซอร์มาใช้สัมผัส ระหว่างบุคคลกับส่วนต่าง ๆ ของพื้ นที่ เพื่ อลดการ
ลดความเสี่ยงต่อ การเกิดโรค
ระบบการจองคิวออนไลน์
จองคิวออนไลน์โดยผ่าน Rama App ช่วยลดจํานวนความแออัดที่จะเกิดขึ้นโดย การกําหนดช่วงเวลาของผู้เข้าใช้บริการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ให้คําปรึกษากับผู้ป่วย แบบออนไลน์ ช่วยให้ผู้ป่วย เกิดความสะดวกสบายยิ่งขึ้น
การใช้หุ่นยนต์
ระบบการทํางานที่แม่นยําและ สามารถควบคุมได้ โดยใช้หุ่นยนต์
41
Area
Next Normal
ออกแบบการใช้พ้ื นที่ให้ ยืดหยุ่น ปรับใช้ได้ทุกสถานการณ์ โดยปรับใช้ภายใต้รูปแบบ Flexible
MODULAR ROOM ขนาดห้องสามารถปรับได้ตามความต้องการ
Circulation
Next Normal
ออกแบบเส้นทางให้ สั้น และ กระชับ
ลด
การใช้เวลาและพื้ นที่
พื $นที( สั้นที่สุด
CIRCULATION CIRCULATION เพื่ อลดพื้ นที่เสี่ยงติดโรคและลดระยะเวลาการรักษาตัวใน โรงพยาบาลที่ดูจะเป็นช่วงเวลาหนักหน่วงสําหรับคนไข้ให้ มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
42
DESIGN PROCESS o o o o o
SCHEMATIC AREA SCHEMATIC PLAN MASS ALTENATIVE MASS ANALYSIS MASS DEVELOPMENT • • •
STRUCTURE GREEN AREA FACADE
o MASS SUMMARY
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
WELLNESS CENTER (SITE 2) COMMERCIAL 1000 sqm RESTURANT RETAIL
GENERAL LAB
WELLNESS CENTER 6000 sqm • ALTERNATIVE MEDICINE • DENTAL CLINIC • DERMATOLOGY CLINIC • PLASTIC SURGERY CLINIC • IVF CLINIC
OFFICE 1000 sqm TELEMEDICINE MEETING ROOM
RECEPTION 1000 sqm เวชระเบียน ส่วนต้อนรับ
PARKING 2000 sqm SERVICE 2000 sqm
GREEN AREA 1000 sqm HEALING GARDEN
LABORATORY 1000 sqm
M/E CSSD LAUNDRY CANTEEN
Total 15,000 sqm
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
MEDICAL CENTER (site 1) RECEPTION 200 sqm
เวชระเบียน ส่วนต้อนรับ
COMMERCIAL 500 sqm RESTURANT RETAIL
SPECIAL CLINIC 1000 sqm ห้องให้คําปรึกษา ห้องตรวจ
REHABILITATION 800 sqm
PHYSICAL TERAPHY
IMAGINE 1000 sqm
LAB X-RAY คลังยา
WELLNESS CENTER 300 sqm ANTI-AGEING
OTHERS 500 sqm HEALING GARDEN
ADMIN 300 sqm OFFICE MEETING ROOM
PARKING 1000 sqm SERVICE 400 sqm M/E CSSD LAUNDRY CANTEEN
Total 6,000 sqm
43
PARKING 1000 sqm
SERVICE 400 sqm
ADMIN 300 sqm
OTHERS 500 sqm REHABLITATION 800 sqm
IMAGINE 1000 sqm
WELLNESS CENTER 300 sqm
PARKING 2000 sqm
RECEPTION 200 sqm
COMMERCIAL 500 sqm
DROP OFF
OFFICE 1000 sqm LABORATORY 900 sqm
WELLNESS CENTER 6000 sqm
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
COMMERCIAL 500 sqm
RECEPTION 1000 sqm
DROP OFF
SERVICE 2000 sqm
SPECIAL CLINIC 1000 sqm
MAIN ENTRANCE ผู้ป่วยและญาติ แพทย์และพยาบาล เจ้าหน้าที่โรงพยาบาล
44
1
2
3
4
5
6
1
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
45
CRITERIA OF MASS MASS NUMBER
CONNECT (5)
GREEN AREA (5)
COMPACT (5)
TOTAL (15)
MASS NUMBER 1
3
5
3
11
MASS NUMBER 2
3
1
5
9
MASS NUMBER 3
2
2
5
9
MASS NUMBER 4
5
3
5
13
MASS NUMBER 5
4
3
4
11
MASS NUMBER 6
3
5
2
10
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
46
PROS • • •
• •
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
อาคารมีความเชื่อมต่อกันได้ดี ทําให้ฟง ั ก์ชั่น การใช้งานเชื่อมถึงกันได้สะดวก ใช้ศักยภาพของพื้ นที่ได้อย่างคุ้มค่า อาคารทั้งสองหลังมีความกลมกลืนกัน
CONS
อาคารมีความทึบตัน ไม่ค่อยมีส่วนเปิดโล่ง การมีส่วนโค้งของอาคารด้านหลัง (ส่วนที่มีการรักษา) อาจทําให้จัดสรรพื้ นที่ใช้งานได้ยาก
47
เพิ่ มพื้ นที่สีเขียว
MASS 01 MASS DEVELOPMENT
อาคารด้านหน้าดูหรูหรา ดึงดูดเพิ่ มยอดขาย
ปรับมุมของอาคาร ให้บังแดดในตัวเอง
ทางเชื่อมที่ทําให้ 2 อาคารเหมือนไม่แยกจาก กัน
เพิ่ มพื้ นที่ให้กับอาคาร และยังเป็นถนน 6 เมตร
CONCEPT DIAGRAM อาคารดูไม่แตกแยก
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
การเชื่อมต่อกับพื้ นที่สีเขียว
ลดระดับอาคารช่วยให้รู้สึกไม่ตัน
07
Modular Coordination CONSTRUCTION
LIFT SEPARATE BUILDING FOR PRIVACY
CONSTRUCTION FOR ECONOMIC
CONNECT CONNECT BUILDING
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
48
FLEXIBLE AREA WELCOME COURT OUTSIDE FLEXIBLE ACTIVITIES
GREEN AREA 2 ACTIVE COURT OUTSIDE+INSIDE ACTIVE ACTIVITY
GREEN AREA 1 WELCOME COURT OUTSIDE PROJECT VIEW/WELCOMING
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
49
ประหยัดพลังงาน ช่วยลดความร้อน
EAST ใช้ฟาซาดบังแดดแนวตั้ง
SOUTH ใช้ฟาซาดบังแดดแบบแนวตั้ง
WEST ใช้ฟาซาดบังแดดแนวตั้ง
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
50
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
51
ARCHITECTURAL DESIGN o o o o o
2021
PLAN SECTION ELEVATION PERSPECTIVE AREA SUMMARY
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
ARCHITECTURAL DESIGN
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
AIRPORT RAIL LINK
NOBLE REVENT CONDOMINIUM
CAR SHOWROOM (HONDA)
LAY-OUT PLAN
ีอยุธยา ร ศ น ถน
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0 2
4
8
6
52
IN
IN
OUT
OUT
USER CIRCULATION
SCALE 1:500
N
0 2
4
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
6
8
SERVICE CIRCULATION
N
0 2
4
6
8
53
ZONING
ZONING
PARKING
PARKING
PARKING PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
54
ZONING CIRCULATION RETAIL AND RESTAURANT SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) 25) 26)
WATER PUMP WATER TANK FIRE PUMP FIRE TANK CHILLER ROOM CCTV ROOM GARBAGE ROOM SERVICE PARKING CSSD PHARMACY AHU GENERATOR MDB TRANSFORMER SERVICE PARKING GARBAGE ROOM PHARMACY STORAGE CSSD GENERATOR MDB TRANSFORMER CCTV ROOM WATER TANK WATER PUMP FIRE TANK FIRE PUMP
B1 FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
55
ZONING CIRCULATION RETAIL AND RESTAURANT SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)
RECEPTION AND WAITING AREA RETAIL AUDIO CONTROL AHU AHU RECEPTION AND WAITING AREA STORAGE RETAIL
1ST FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
56
ZONING CIRCULATION RETAIL AND RESTAURANT SPECIAL CLINIC SERVICE 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) 25) 26)
CATH LAB CONTROL ROOM SYSTEM ROOM STAFF ROOM CONTROL ROOM SYSTEM ROOM ECHOGRAM ROOM CONSULTING ROOM CONSULTING ROOM RECEPTION AND WAITING AREA STORAGE ROOM WEIGHT AND HEIGHT MEASUREMENT AREA STAFF ROOM CONSULTING ROOM EEG DIRTY ROOM CLEAN ROOM AHU CONTROL ROOM SYSTEM ROOM BRAIN MRI ROOM STAFF ROOM RECEPTION AND WAITING AREA AUDIO CONTROL STORAGE PHARMACY RETAIL
2ND FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
57
ZONING CIRCULATION SPECIAL CLINIC SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23)
DIRTY ROOM STAFF ROOM TREATMENT ROOM TREATMENT ROOM RECEPTION AND WAITING AREA TREATMENT ROOM TREATMENT ROOM STAFF ROOM AHU STORAGE STORAGE RECEPTION AND WAITING AREA AHU DARK ROOM DIRTY ROOM X-RAY MINOR OR DENTAL TREATMENT DENTAL TREATMENT DENTAL TREATMENT RECEPTION AND WAITING AREA CLEAN ROOM STORAGE
3RD FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
58
ZONING CIRCULATION IMAGINE WELLNESS SERVICE 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19)
CT SCAN MRI SYSTEM CONTROL ROOM CONTROL ROOM SYSTEM CONTROL ROOM DSA BONE DENSITY SCAN CLEAN STORAGE WAITING AREA CHANGIN ROOM NURSE STATION STAFF ROOM DIRTY STORAGE CLEAN STORAGE ห้องเก็บปัสสาวะ ห้องเก็บเลือด PLAIN X-RAY
20) 21) 22) 23) 24) 25) 26) 27) 28) 29) 30) 31) 32) 33) 34) 35) 36) 37)
CONTROL ROOM CONTROL ROOM AGIGOGAM PACS ห้องอ่านฟิล์ม ห้องเก็บฟิล์ม CONTROL ROOM STORAGE FLUROSCOPY AHU FOOT MASSAGE AND MANICURE THAI MASSAGE LOCKER ROOM CHINESE MEDICINE WAITING AREA RECEPTION STAFF AREA AHU
4TH FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
59
ZONING CIRCULATION REHABLITATION WELLNESS SERVICE 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) 25) 26)
MULTI-PURPOSE ROOM PHYSICAL THERAPY STAFF WAITING ROOM CONSULT ROOM MEDICAL RECORD RECEPTION CONSULT ROOM STORAGE ROOM TEST BALANCE ROOM MEETING ROOM STAFF AREA OCCUPATIONAL ROOM OCCUPATIONAL ROOM AHU DOUBLE BEDROOM SINGLE BEDROOM SINGLE BEDROOM SINGLE BEDROOM SINGLE BEDROOM SINGLE BEDROOM CONSULT ROOM CONSULT ROOM MEDICAL RECORD RECEPTION STAFF AREA AHU
5TH FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
60
ZONING CIRCULATION OFFICE LABORATORY WELLNESS SERVICE 1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19) 20) 21) 22) 23) 24) 25) 26) 27) 28) 29) 30) 31)
DIRECTOR-GENERAL ROOM PHYSICIANS RESTING AREA PHYSICIANS OFFICE DEPUTY DIRECTOR ROOM SECRETARY ROOM MEETING ROOM STAFF OFFICE NURSE OFFICE RECEPTION STAFF AREA STAFF RESTROOM PANTRY STAFF RESTING AREA LABORATORY MICROSCOPY SAMPLE ROOM PATHOLOGY SCOPY MEETING ROOM AHU TREATMENT ROOM CONSULT ROOM STORAGE’ STAFF MEETING ROOM STORAGE STAFF ROOM LOCKER ROOM STAFF ROOM PANTRY DIRTY STORAGE CLEAN STORAGE AHU
6TH FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
61
ZONING CIRCULATION WELLNESS SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15)
AHU CONSULT ROOM. WAITING AREA CHANGING ROOM STAFF CHANGING ROOM SCRUB STAFF ROOM RECOVERY ROOM PREPARATION ROOM OPERATING ROOM OPERATING ROOM STORAGE STAFF CHANGING ROOM GAS STORAGE WAITING AREA
7TH FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
N
0 2
4
6
8
62
ZONING CIRCULATION WELLNESS SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8) 9) 10) 11) 12) 13) 14) 15) 16) 17) 18) 19)
AHU CLEAN STORAGE DIRTY STORAGE OPERATING ROOM STAFF CHANGING ROOM CLEAN STORE STAFF ROOM ห้องเก็บไข่ ห้องเก็บไข่ PREPARATION ROOM ห้องตรวจ CHANGING ROOM RECOVERY ROOM LOCKER ROOM ULTRASOUND CONSULT ROOM CONSULT ROOM CONSULT ROOM WAITING AREA
8TH FLOOR PLAN
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
2
4
6
8
63
ZONING CIRCULATION LABORATORY SERVICE 1) 2) 3) 4) 5)
STAFF ROOM ห้องปฎิบัติการเพาะเลียงตัวอ่อน องตรวจวิเคราะห์เชื้ออสุจิ ห้องเก็บไข่และอสุจิ AHU
9TH FLOOR PLAN
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
2
4
6
8
64
ZONING CIRCULATION OFFICE SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)
TELEMIDICINE ROOM DOCTOR’s LIVING AREA PANTRY TELEMIDICINE ROOM TELEMIDICINE ROOM TELEMIDICINE ROOM TELEMIDICINE ROOM AHU
10TH FLOOR PLAN SCALE 1:200
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
2
4
6
8
65
ZONING CIRCULATION OFFICE SERVICE
1) 2) 3) 4) 5) 6) 7) 8)
STORAGE MEETING ROOM SECRETARY AREA DIRECTOR ROOM CO-DIRECTOR ROOM STORAGE PANTRY AHU
11TH FLOOR PLAN
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
2
4
6
8
66
ROOF PLAN
N RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
2
4
6
8
67
ARCHITECTURAL DESIGN
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
LABORATORY IVF CLINIC PLASTIC SURGERY CLINIC DERMATOLOGY CLINIC
DENTAL CLINIC
RETAIL
LOBBY & WAITING AREA
SERVICE
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
07 68
ADMINISTRATION ADMINISTRATION LABORATORY IVF CLINIC PLASTIC SURGERY CLINIC DERMATOLOGY CLINIC
ADMINISTRATION
WELLNESS CENTER
REHABILITATION IMAGINE
WELLNESS CENTER CIRCULATION
DENTAL CLINIC
RETAIL RETAIL
SERVICE
LOBBY & WAITING AREA SERVICE
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER
SERVICE
SPECIAL CLINIC
SPECIAL CLINIC SERVICE
69
เสร็ จก็บอกละกัน ADMINISTRATION
LABORATORY
REHABILITATION IMAGINE
WELLNESS CENTER
SPECIAL CLINIC
SPECIAL CLINIC
SERVICE
RETAIL SERVICE
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
70
Wall section RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
71
ARCHITECTURAL DESIGN
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
72
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
73
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
74
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
75
ARCHITECTURAL DESIGN
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
ARCHITECTURAL DESIGN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
76
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
77
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
78
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
79
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
80
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
81
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
82
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
83
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
83
MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER 475.91
299.60 865.45 279.44
197.59
TOTAL 12,732.63
219.7 449.49
840
3066.12
211.99
TOTAL 5,747.46
3103.44
3606.92
865.45
LOBBY &CIRCULATION
LABORATORY
SPECIAL CLINIC
ADMINISTRATOR
IMAGINE
RETAIL AND RESTAURANT
WELLNESS CENTER
SERVICE
REHABILITATION
PARKING
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
161.72
575.50
1448.00
470.63
295.02
LOBBY &CIRCULATION
LABORATORY
IMAGINE
ADMINISTRATOR
WELLNESS CENTER GREEN AREA
RETAIL AND RESTAURANT SERVICE PARKING
84
BUILDING CONSTRUCTION o o o o o o
FOUNDATION DIAPHRAGRAM WALL POST TENSION SLAB GREEN ROOF FACADE SPECIAL STRUCTURE •
2021
SKYWALK
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
โครงสร้างส่วนฐานราก ฐานรากวางบนเสาเข็ม (Piled foundation) WELLNESS CENTER AND MEDICAL CENTER
ลักษณะชั้นดินในกรุงเทพ เป็น ดินเหนียวอ่อน เป็ น ตะกอนชั้ น บนที่ พ บในบริ เ วณที่ ร าบลุ่ ม ภาค กลางตอนล่าง มีความหนาประมาณ 15-25 เมตร ดิ น เหนี ย วกรุ ง เทพมี คุ ณ สมบั ติ ท างวิ ศ วกรรมไม่ เหมาะสมต่องานฐานรากเพราะมีความยืดหยุ่นสู ง เมื่อมีนํ้าหนักกดทับมาก ๆ จะบีบนํ้าออกไปจากเนื้อ ดิ น ทํ า ให้ เ กิ ด การหดตั ว ลงมากจนทํ า ให้ ฐ านราก แตกร้าวเสียหาย
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
เหมาะกับบริเวณพื้ นที่ที่มีชั้นดินอ่อน ต้องอาศั ย เสาเข็มในการถ่ายเทนํ้าหนักไปยังชั้นดินแข็งที่อยู่ ลึกลงไปในแต่ละพื้ นที่ ซึ่งมีระยะความลึกของชั้น ดินแข็งแต่ละที่ไม่เท่ากัน
เสาเข็มระบบเปียก (WET PROCESS) มักใช้ในงานอาคารขนาดใหญ่ รับนํ้าหนักต่อต้นได้มาก
85
RETAINING WALL
FLOOR
DIAPHRAGRAM WALL
POST TENSION FLAT SLAB
สามารถควบคุมและลดการเคลื่อนตัวของดินรอบ ๆ ขั้นตอนงานก่อสร้างจากล่างขึ้นมาด้านบนไม่ซับซ้อน มีระบบคํ้ายันชั่วคราวเข้ามาช่วยรับแรง
นํ้าหนักน้อย ลดพื้ นที่ ลดต้นทุน ก่อสร้างได้อย่างรวมเร็ว ในกรณีที่เจาะช่องเปิดควร พิ จารณาเรื่องขนาด และ ตําแหน่งช่องเจาะให้เหมาะสม
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
86
FLOOR
3
GREEN ROOF
FACADE
นํ้าหนักพื้ น ต้องมีโครงสร้างที่รับนํ้าหนัก ได้ อย่างน้อย 1-2 ตัน/ตรม.
COLUMN AND BEAM
2
1
3
LOW-E GLASS
1
ดิน แผ่นใยกรองดิน ระบบกันซึม ชั้นระบายนํ้า แผ่นคอนกรีตกันทะลุ
1
สะท้อนความร้อน ช่วยประหยัดพลังงาน
ALUMINIUM COMPOSITE ทนการกัดกร่อน ไม่เกิดสนิม นํ้าหนักเบา
2
พื้ นคอนกรีต
VERTICAL FACADE 3
ALUMINIUM COMPOSITE ลดความร้อน ประหยัดพลังงาน
GREEN ROOF แบบก่อ เพื่ อลดพื้ นที่ใต้พื้น RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
87
STRUCTURAL DESIGN
SKY WALK
BOX TRUSS
พื้ นเหล็ก H BEAM หนา 60 มีความแข็งแรง รองรับนํ้าหนักได้ดี
SKELETIO N FRAME
3.00 m
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
SPAN 4.00x13.00 M. HIGHT 3.60 M.
88
MECHANICAL SYSTEM • ELECTRICAL SYSTEM •
SOLAR PANEL SYSTEM
•
VENTILATION SYSTEM
• •
COLD WATER SYSTEM WASTE WATER SYSTEM
• AIR CONDITIONING SYSTEM • WATER SYSTEM • • • • • • • • • • •
FIRE RESISTANT SYSTEM GAS SYSTEM VERTICAL CIRCULATION SYSTEM SECURITY & PROTECTION SYSTEM WASTE MANAGEMENT SYSTEM COMMUNICATION SYSTEM AUDIO SYSTEM LIGHTNING PROTECTION SYSTEM MAINTENANCE SYSTEM AUTOMATIC PARKING SYSTEM METHODS FOR PREVENTING
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
การไฟฟ้านครหลวง
METROPOLITAN ELECTRICITY AUTHORITHY
UPS
สถานีย่อยมักกะสัน
ATS
OIL-TYPE
RMU
OIL-TYPE
MDB
ATS UPS
EMDB
DB 01 แสงสว่างชั้น B1-3
LP
DB 02 แสงสว่างชั้น 4-6
LP
DB 03 กําลังชั้น B1-3
LP
DB 04 กําลังชั้น 4-6
LP
DB 05 ปรับอากาศชั้น B1-6
LP
DB 06 ดับเพลิงและประปา
LP
EDB 01 แสงสว่างชั้น 4 บางส่วน
ELP
EDB 02 กําลัง Lab, X-ray
ELP
EDB 03 ดับเพลิง / ประปา
ELP
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
MDB
SOLAR MODULE
DC/AC INVERTER
EMDB
EDB 01 แสงสว่างชั้น B1-3 บางส่วน
ELP
EDB 02 แสงสว่างชั้น 4-7 บางส่วน
ELP
EDB 03 แสงสว่างชั้น 8-11 บางส่วน
ELP
EDB 04 กําลัง Lab, OR, CLINIC
ELP
EDB 05 ปรับอากาศชั้น B1-6 บางส่วน
ELP ELP
DB 01 แสงสว่างชั้น B1-3
LP
DB 02 แสงสว่างชั้น 4-7
LP
DB 03 แสงสว่างชั้น 8-11
LP
EDB 06 ปรับอากาศชั้น 7-11 บางส่วน
DB 04 กําลังชั้น B1-3
LP
EDB 07 ดับเพลิง / ประปา
ELP
DB 05 กําลังชั้น 4-7
LP
EDB 08 ระบบอื่น ๆ
ELP
DB 06 กําลังชั้น 8-11
LP
DB 07 ปรับอากาศชั้น B1-6
LP
DB 08 ปรับอากาศชั้น 7-11
LP
DB 09 ระบบดับเพลิง
LP
DB 10 ระบบประปา
LP
DB 11 ระบบอื่น ๆ
LP
ELECTRICAL DIAGRAM แบ่งระบบไฟฟ้าเป็น 3 Phase 4 สาย ต่อจากการไฟฟ้านครหลวงสถานีย่อย มั ก กะสั น กรุ ง เทพฯ ต่ อ ไปที่ RMU เพื่ อ แ ป ล ง ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า ก่ อ ส่ ง ต่ อ ไ ป ที่ TRANSFORMER หลังจากนั้นส่งต่อไปยัง MDB ที่มีการแยกส่วนตามพื้ นที่การใช้งาน แล้วส่งต่อไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ สายไฟแรงสูง สายไฟแรงตํ่า สายไฟแรงตํ่าสํารอง สายฟ้าสํารองอื่น ๆ
89
ELECTRICAL DIAGRAM
TO 7-11 FL.
FLOOR 6
FLOOR 11
สายไฟแรงสูง สายไฟแรงตํ่า สายไฟแรงตํา่ สํารอง TRANSFORMER UPS MDB / EMDB LP ELP DB EDB
FLOOR B1
FLOOR 7
FROM B1-6 FL. RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
90
TOTAL ELECTRICAL LOAD MEDICAL CENTER TOTAL
WELLNESS CENTER TOTAL
476.26 kVA
576.95 kVA
การเลือกใช้หม้อแปลงเป็นแบบ OIL-TYPE เนื่องจาก เรื่ อ งของความมั่ น คงของระบบจ่ า ยไฟที่ สู ง กว่ า และ งบประมาณที่ น้ อ ยกว่ า โดยใช้ ข นาดที่ เ หมาะสมคื อ 250 kVA
2
100
50
160
100
250
160
315
160
500
250
หม้อแปลงไฟฟ้า
3 PHASE 50Hz 22000-416/240V. ขนาด 710 x 1,250 x 1,350 mm.
MDB (MAIN DISTRIBUTION BOARD) ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้าหลัก
(250 kVA) X 2 = 500 (250 kVA) X 3 = 750
3 PHASE 50Hz 400/230V. ขนาด 2,000 x 1,000 x 2,100 mm.
3 -
100
160
400
TRANSFORMER OIL-TYPE
-
* การเลือกใช้หม้อแปลงขนาดเล็กมากกว่า 1 ตัว แทน การใช้หม้อแปลงขนาดใหญ่ เพื่ อความมั่นคงของระบบ จ่ายไฟที่สูงกว่า
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
POWER BACKUP SYSTEM ระบบสํารองไฟฟ้า
DB (DISTRIBUTION BOARD) ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า = 17 ตัว EMDB (EMERGENCY MAIN DISTRIBUTION BOARD) ตู้ควบคุมระบบไฟฟ้า = 11 ตัว
UPS (UNINTERRUPTIBLE POWER SUPPLY)
เครื่องสํารองไฟฟ้า
ขนาดพิ กัด 294 kVA x 2 = 588 kVA
MEDICAL CENTER TOTAL
214.37 kVA
WELLNESS CENTER TOTAL
280.3 kVA
91
SOLAR PANEL SYSTEM
POLYCRYSTALLINE SILICON SOLAR CELLS SUNERGY USA รุ่น SUN 330-72P กําลังไฟ 330 วัตต์ ขนาด 1,950 X 990 X 40
SOLAR PANEL LOAD CALCULATION MEDICAL CENTER ROOF AREA : 633.07 ตร.ม. ELECTRICAL LOAD 476,260 VA = 476.26 Kva = 381,008 WATT /5h = 76,201.6 WATT SOLAR PANEL กําลังไฟฟ้าแผ่นละ 330 WATT ใช้ทั้งหมด 231 แผ่น
ใช้ระบบ SOLAR แบบ OFF-GRID ที่จะเชื่อมต่อกับ ก า ร ไ ฟ ฟ้ า โ ด ย ไ ฟ ฟ้ า ที่ ผ ลิ ต ไ ด้ จ ะ ถู ก เ ก็ บ ไ ว้ ใ น แ บ ต เ ต อ รี่ แ ล ะ นํ า ม า ใ ช้ ง า น เ มื่ อ เ ปิ ด อุ ป ก ร ณ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า เนื่องจากในเรื่องของงบประมาณที่ ถูกกว่าและช่วยไม่ให้ระบบไฟฟ้าได้รับความเสียหาย เมือไฟตก
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
92
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
WATER SUPPLY SYSTEM
SANITARY SYSTEM แนวคิดในการเลือกใช้น้าํ ในโครงการ ด้ว ยโครงการเป็นอาคาร โรงพยาบาล จึงมีความจําเป็นในการใช้น้ํา มากในการบํ า บั ด รั ก ษา เราจึ ง มี ก ารสํ า รองนํ้ า ไม่ ใ ห้ มี ก ารขาดแคลนหรื อ บกพร่องในการรักษา และด้วยใช้นํ้าในโครงการมาก จึงเกิดนํ้าทิ้งจํานวนมาก เช่ นกั น ทั้ งนี้ เราจึ งนํ าไปบํ าบั ดอย่ างสะอาดก่ อ นปล่ อ ยสู่ ส าธารณะ และ นํ า กลั บ ไปใช้ ใ หม่ ใ นโครงการ มี ก ารสํ า รองนํ้ า ในกรณี เ พลิ ง ไหม้ เพื่ อ ป้ อ งกั น อั น ตรายต่ อ ผู้ ใ ช้ ง าน และช่ ว ยลดความเสี ย หายให้ กั บ อาคารอี ก ด้ ว ย และ สุ ด ท้ า ยเรายั ง มี ก ารกั ก เก็ บ นํ้ า ฝนเพื่ อ ไปใช้ ใ นโครงการเพื่ อ ทดแทนการใช้ นํ้าประปา
ระบบรั บ นํ้ า ประปาจากการประปานคร หลวงโดยนําเข้าสู่ โครงการ เข้าถังเก็บ นํ้าใต้ดินก่อนจ่ายเข้าสู่อาคาร
RAIN WATER MANAGEMENT SYSTEM ระบบกัก เก็บ นํ้าฝนแล้ว นํากลับ มาใช้ใหม่ใน โครงการเพื่ อ เป็ น การประหยั ด นํ้ า และช่ ว ย เรื่องการซึมนํ้าของหน้าดิน
WASTEWATER TREATMENT SYSTEM ระบบบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ภายในโครงการจาก การใช้งานทั้งสุ ขภัณฑ์และงานระบบและ นํ้าอื่นๆในโครงการ
FIRE WATER SYSTEM ระบบการใช้นํ้าเพื่ อรับมือและปกป้องเหตุ เพลิ ง ไหม้ ใ นโครงการ โดยมี ก ารสํ า รอง นํ้าอย่างเพี ยงพอ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
93
WATER USE คิดจากการใช้น้าํ ของผู้ใช้อาคาร บุคลากร = 70 คน OPD ในช่วงเวลาเปิดทําการ ( Special clinic ) = 850 คน Retail = 30 คน
การคํานวณปริมาณนํ้าใช้ภายในอาคาร
Medical Center OPD/SPECIAL
จํานวนคน
ปริมาณการใช้น้าํ (ลิตร/คน/วัน)
จํานวนชั่วโมงการ ทํางาน(ชม)
อัตราการใช้น้าํ (ลิตร/วัน)
Special clinic
850.00
100.00
8.00
85,000
บุคลากร
70
75
8.00
5,250
Retail
30
40
8.00
1,200
รวม
91,450
มีการใช้น้าํ ภายใน 1 วัน
= 91.45 ลบ.ม. +นํ้าดับเพลิง 85.71 ลบ.ม177.16
ลบ.ม./วัน
นํ้าสํารองทั้งหมด 2 วัน
= 182.90 ลบ.ม.
ต้องมีการสํารองนํ้าสําหรับ
950 คน
บุคลากร = 180 คน OPD ในช่วงเวลาเปิดทําการ ( Special clinic ) = 550 คน พื้ นที่ให้เช่า = 250 Retail = 30 คน
ต้องมีการสํารองนํ้าสําหรับ
Wellness Center OPD/SPECIAL
จํานวนคน
ปริมาณการใช้น้าํ (ลิตร/คน/วัน)
จํานวนชั่วโมงการ ทํางาน(ชม)
อัตราการใช้น้าํ (ลิตร/วัน)
Special clinic
550.00
100.00
8.00
55,000
บุคลากร
180
75
8.00
13,500
Retail
30
40
8.00
1,200
พื้ นที่ให้เช่า
250
50
8.00
12,500
รวม
มีการใช้น้าํ ภายใน 1 วัน
= 82.20 ลบ.ม. +นํ้าดับเพลิง 56.78 ลบ.ม138.98
ลบ.ม./วัน
นํ้าสํารองทั้งหมด 2 วัน
= 164.40 ลบ.ม.
82,200
1,020 คน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
94
WATER SUPPLY SYSTEM WATER SUPPLY SYSTEM
LAYOUT
ระบบนํ้าสํารองในอาคาร รับนํ้าสาธารณะมากักไว้ใน บ่อสํารองนํ้าหลัก และ บริเวณดาดฟ้า และ แจกจ่ายไปยังส่วนต่างๆ ของอาคารเหมือนกันทั้ง 2 อาคาร
LIST A
Transfer Pump B Roof Tank C Booster Pump Pressure Reducing Valve Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
0
รับจากการประปานครหลวง สาขาพญาไท
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
95
Wellness Center Tank
WATER SUPPLY WATER SUPPLY SYSTEM
ระบบจ่ายนํ*าลง (Feed Down) + มีเครือ2 งสูบนํ*า
B
SYSTEM ้าสํารองในอาคาร ระบบนํ
Medical Center Tank
LIST
นํ้าประปา
M
Tank
P
M
นํ้าประปา
Wellness Center นํ้าประปานครหลวง สาขาพญาไท
Tank
Transfer Pump
Tank
2. ชั้น 1 – 9 ตึกหน้า และ 1-4 ตึก หลัง ของอาคารที่มีแรงดันมากใช้ Reducing Pressure Vale จะลดแรงดัน นํ้าเพื่ อส่งนํ้า
P
Booster Pump
Roof Tank Feed Down
0
สัดส่วนนํ้าใช้ ในโครงการ
ใช้ Transfer Pump สูบนํ้าขึ้นสู่ Roof Tank 1. ชั้น10-11 ตึกหน้า และ 5-6ตึกหลัง มีแรงดันน้อยกว่าปกติ ใช้ Booster Pump สร้างแรงดันนํ้า
A
Transfer Pump B Roof Tank C Booster Pump Pressure Reducing Valve Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
0
B
Medical Center นํ้าประปานครหลวง สาขาพญาไท
Tank
Transfer Pump
Booster Pump
Roof Tank Feed Down
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ชั้น 10-11
การติดตัง* เครือ2 งสูบนํ*า (Pump)
ชั้น 1 - 9
0
ชั้น 5-6
ใช้ Pump Duty และ Pump Standby สลับกัน
ชั้น 1 - 4
96
SANITARY EQUIPMENT สุขภัณฑ์ประหยัดนํ้า
จํานวนสุขภัณฑ์ในโครงการ สุขภัณฑ์ของตึก Wellness Center สุขภัณฑ์ห้องนํ้า
จํานวนสุขภัณฑ์
โถสุขภัณฑ์
84
โถปัสสาวะ
6
อ่างล้างมือ
84
อ่างล้างจาน
4
SAVEWATER
70%
มีตะแกรงกรองนํ้าติดอยู่กับปลาย ก๊ อ กมี ห น้ า ที่ เ พิ่ มฟองอากาศให้ แ ก่ กระแสนํ้า ช่วยลดปริมาณการใช้นํ้า
Water Faucet
สุขภัณฑ์ของตึก Medical Center สุขภัณฑ์ห้องนํ้า
จํานวนสุขภัณฑ์
โถสุขภัณฑ์
49
โถปัสสาวะ
21
อ่างล้างมือ
42
อ่างล้างจาน
6
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
SAVEWATER
30%
Flush Tank
ระบบ WASH DOWN อาศัยหลักการใช้นํ้าใหม่แทน ที่นํ้าเก่า ในการชําระล้าง จึงใช้ปริมาณนํ้าน้อยและ ชําระล้างรวดเร็ว
97
WASTEWATER TREATMENT WASTEWATER TREATMENT
ท่อระบายอากาศ
SYSTEM
ออกสู่ภายนอกโครงการ
LAYOUT
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
ท่อระบายอากาศ
นํ้าทิ้ง + นํ้าโสโครก
บ่อหน่วงนํ้า
บ่อบําบัด
BLACK WATER
บําบัดนํ้าเสีย ปล่อยออกสู่สาธารณะ
“ระบบบําบัดนํ้าเสีย นํ้าโสโครก” LIST
0
RWP = Raw Water Pump
ย ร ู่ภา กา กส ครง อ อ กโ นอ
A = Submersible Aerator Pump M
= Mixer Pump Sludge
SP = Sewage Pump SLP = Sludge Pump
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า บ่อหน่วงนํ้า บ่อบําบัด บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
บ่อบําบัด บ่อหน่วงนํ้า
ย ู่ภา าร กส ครงก อ อ กโ นอ
BLACK WATER
บ่อบําบัด
บ่อหน่วงนํ้า
EP = Effluent Pump
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
ออกสู่ภายนอกโครงการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
98
WASTEWATER TREATMENT
การบํ า บั ด นํ้ า เสี ย แบ่ ง เป็ น 2 แบบ คื อ นํ้ า ทิ้ ง และ นํ้ า โสโครก โดยมีการบําบัดนํ้าเสียทั้งหมดให้นํ้า กลับมามีคุณภาพ ที่สามารถปล่อย กลับสู่สาธารณะได้
Wellness Center
SYSTEM
“ระบบบําบัดนํ้าเสีย นํ้าโสโครก”
ท่อระบายอากาศ
นํ้าโสโครกจากโครงการ คิดจากจํานวนสุขภัณฑ์
BLACK WATER
Medical Center
Wellness Center
ท่อระบายอากาศ
65.76 ลบ.ม.
นํ้ า โสโครกสุ ข ภั ณ ฑ์ นั้ น ต้ อ ง ผ่านการบําบัดนํ้าเสียโดยเลือกใช้บ่อ บําบัดหล่อคอนกรีตเสริมเหล็กชนิด เติ ม อากาศ ฝั ง ใต้ ดิ น เพื่ อ ประหยั ด พื้ นที่ในโครงการ
LIST RWP = Raw Water Pump
ออกสู่สาธารณะ
58.52 ลบ.ม.
ออกสู่สาธารณะ
Medical Center
บ่อหน่วงนํ้า
บ่อบําบัด บ่อตรวจสอบ บ่อหน่วงนํ้า คุณภาพนํ้า
บ่อบําบัด
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
A = Submersible Aerator Pump M
บ่อดักไขมัน เลือกใช้บ่อดัก
= Mixer Pump Sludge
แรงดัน นํ้าโสโครก ภายในโครงการ
SP = Sewage Pump
บ่อบําบัด
ชนิดเติมอากาศ
บ่อหน่วงนํ้า
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
ไขมันสําเร็จรูปไฟเบอร์กลาส ออกสู่ท่อ สาธารณะ
SLP = Sludge Pump EP = Effluent Pump SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
99
WASTEWATER TREATMENT LAYOUT
COOLING TOWER
WASTEWATER TREATMENT SYSTEM
COOLING TOWER
“ระบบบําบัดนํ้าเสีย นํ้าทิ้ง”
TANK
MF RO /UF
P
TANK
COOLING TOWER
นํ้าทิ้งจากโครงการ คิดจาก 80% จํานวนนํ้าใช้
Wellness Center
65.76 ลบ.ม.
Medical Center
73.16 ลบ.ม.
TANK MF /UF RO
0
TANK
P
LIST
P
COOLING TOWER
Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
P
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
100
GREY WATER Wellness Center
WASTEWATER TREATMENT SYSTEM
นํากลับไปหมุนเวียน
COOLING TOWER
“ระบบบําบัดนํ้าเสีย นํ้าทิ้ง”
Medical Center COOLING TOWER
Wellness Center
RO (REVERSE OSMOSIS) สามารถป้องกัน สารตกค้างและเชื้อ โรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
28.76 ลบ.ม.
Medical Center
26.16 ลบ.ม.
MF/UF
LIST
P
รดนํ้าต้นไม้
P
RO Tank
รดนํ้าต้นไม้
MF/UF RO Tank
Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
แรงดัน นํ้าทิ้ง ภายในโครงการ
Pump
ระบบบําบัดนํ้าทิง ้
Tank
MF / UF
RO
Tank
หล่อเย็น COOLING TOWER
รดนํ้าต้นไม้ TANK
MF / UF (MICRO FILTRATION ULTRA FILTRATION MEMBRANE) การผลิ ต นํ้ า ประปาจากแหล่ ง นํ้ า ดิ บ ผลิ ต นํ้ า ประปาโดยใช้ ถั ง ตะกอนชนิ ด ต่างๆและการกรอง
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
101
ระบบบําบัดนํ้าเสีย แบบ SBR (SEQUENCING BATCH REACTOR)
VACUUM PUMP ระบบปั๊มสุญญากาศ DRY CLEW VACUUM PUMP
VACUUM PUMP ระบบปั๊มสุญญากาศ
เส้นทางการทํางานของบ่อบําบัด
1. 2. 3. 4.
บ่อสูบนํ้าเสีย บ่อเติมอากาศตกตะกอน บ่อผสมคลอรีน หรือบ่อฆ่าเชื้อโรค ลานตากตะกอน
0
ปั๊มสุ ญญากาศระบบอุ้ง มือ แบบไม่มีนํ้ามันหล่อลื่น ค่ า สุ ญ ญ า ก า ศ ตํ่ า สุ ด 1 5 0 200 MBAR ABS โครงสร้าง ด้ า นในไม่ มี ส่ วนของโลหะต่ อ โลหะ สั มผัสกันภายในตัว ทําให้ มีความทนทานสู ง และสามารถ รั บ เอาของเหลวหรื อ อนุ ภ าค แ ป ล ก ป ล อ ม ข น า ด เ ล็ ก ไ ด้ ระบายความร้ อ นด้ ว ยอากาศ เหมาะสําหรับการทําสุญญากาศ ในงานประเภท โรงพยาบาลที่ ต้องเน้นเรื่องความสะอาด
มีรถ มาร ับไป มีร ถม าร ับ
เป็ น วิ ธี ก ารบํ า บั ด นํ้ า เสี ย ที่ ใ ช้ พื้ น ที่ น้ อ ย สะดวก ประหยั ด และใช้ ต้ น ทุ น ตํ่ า เพราะถั ง เติ ม อากาศกับถังตกตะกอนอยู่ในถังเดียวกัน เป็นระบบบําบัดนํ้าเสียโดยวิธีทางชีวภาพ สารอินทรีย์เป็นสาเหตุของการเน่าเสี ยของนํ้าจะถูกจุลินทรีย์ที่อยู่ในถังเติมอากาศย่อย สลาย โดยในกระบวนการย่อยสลายจะต้องใช้ออกซิเจนเป็นส่ ว นประกอบ จึงต้องทําการเติม อากาศให้เพี ยงพอเพื่ อให้จุลินทรีย์สามารถนํา O2 ใช้ในการย่อยสลายสารอินทรีย์ในนํ้าเสียได้แต่ เป็นการเติมอากาศเป็นช่วงๆ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ไปบ
ําบ
บําบ
ัดต่อ
ัดต ่อ
102
RAIN WATER MANAGEMENT ออกสู่ภายนอกโครงการ
LAYOUT
RAIN WATER MANAGEMENT
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
SYSTEM
P RO
TANK
“ระบบระบาย นํ้าฝน” นํ้าฝน
1,400-1,600 มม.ม. ต่อปี
0 P
LIST
RO TANK
Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
RO
TANK
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า TANK
RO
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
บ่อตรวจสอบ คุณภาพนํ้า
ออกสู่ภายนอกโครงการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
103
พื้ นที่รับนํ้าฝน
Wellness Center
RAIN WATER MANAGEMENT SYSTEM
Wellness Center
สํานักงาน
“ระบบระบาย นํ้าฝน”
Medical Center
ภายในอาคารมี ก ารจั ด การ พื้ น ที่ รั บ ฝ น ส่ ว น บ น ข อ ง อาคาร มีระบบการเก็บนํ้าฝน เพื่ อนํ้ า กลั บ ไปใช้ ใ หม่ และ การทํ า บ่ อ หน่ ว งนํ้ า เพื่ อ ชะลอการระบายนํ้ า ไปสู่ พื้ น ที่ ข้างเคียงโครงการอีกทั้งเป็น การสํ า รองนํ้ า และช่ ว ยเรื่ อ ง การซึมนํ้าของหน้าดิน
สํานักงาน
พื้ นที่รับนํ้าฝนของอาคารเเนวราบ = 669 ตร.ม. พื้ นที่รับนํ้าฝนตามแนวตั้ง = 543.4 ตร.ม รวมปริ ม าณนํ้ า ฝนบนพื้ นที่ รั บ นํ้ า ของ อาคาร = 12,012.4 X1.6 = 1,939.8 ลูกบาศก์เมตร/ปี
Medical Center P
รดนํ้าต้นไม้
P
Tank RO Tank
Tank RO Tank
นํ้าฝน
1,600 มิลลิเมตร/ปี
บนอาคาร
นํ้าฝน บนพื้ นถนน
ระบบกรองนํ้า
Tank บ่อหน่วงนํ้า
RO
Tank
รดนํ้าต้นไม้นอกอาคาร
Pump
นํ้าชักโครก
รดนํ้าต้นไม้
พื้ นที่รับนํ้าฝนของอาคารเเนวราบ = 1ม096.3 ตร.ม. พื้ นที่รับนํ้าฝนตามแนวตั้ง = 842.585 ตร.ม รวมปริ ม าณนํ้ า ฝนบนพื้ นที่ รั บ นํ้ า ของ อาคาร = 1938.885 X1.6 = 3,102.216 ลูกบาศก์เมตร/ปี
รดนํ้าต้นไม้ในอาคาร
RO (REVERSE OSMOSIS) สามารถป้องกัน สารตกค้างและเชื้อ โรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
104
RAIN WATER MANAGEMENT
จัดเป็น สวน และไม้พุ่ม เป็นไม้กระถาง เพื่ อให้ เกิดความร่มรื่นจึงใช้เป็นระบบมินิสปริงเกลอร์และ ระบบนํ้าหยด ป้องกันการกระเด็นโดนผู้ใช้บริการ
ต้นไม้ภายในโครงการ
SYSTEM
ระบบรดนํ้าต้นไม้
จัดเป็นไม้พุ่ม และไม่ยืนต้นจะใช้เป็น ระบบนํ้าหยด เพื่ อให้เหมาะสมกับพรรณไม้
การใช้นํ้าฝน จากที่ กักเก็บจากโครงการ เข้ามาใช้เพื่ อรดนํ้า ต้นไม้
ตารางคํานวนการจ่ายนํ้าตามฤดูกาล นํ้าสําหรับรดต้นไม้ได้ จากการนํานํ้ากลับมา ใช้ใหม่ที่
62%
ปริมาณการ ใช้น้าํ ที่ ต้องการ
ต้นไม้ดา้ นหน้าโครงการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ชนิดของ ระบบรดนํ้า
อากาศเย็น
อากาศอบอุ่น
อากาศร้อน
สวน
มินิสปริง เกลอร์
30 นาที ทุกๆ 3 วัน
35 นาที ทุกๆ 2 วัน
35 นาที ทุกวัน
พุ ่ มไม้
ระบบนํ้าหยด
3 ชั่วโมง สัปดาห์ละ ครั้ง
15นาที ทุกวัน
2 ชั่วโมง ทุกวัน
ไม้กระถาง
ระบบนํ้าหยด
ทุกๆ2วันจนเต็ม กระถาง
ทุกวันจนเต็ม กระถาง
ทุกวันจนเต็ม กระถาง
สนามหญ้า
POP UP (หัวฉีดสเปรย์)
10-15 นาที ทุกๆ 4 วัน
15 นาที ทุกๆ 4 วัน
35 นาที ทุกๆ 2 วัน
105
DETAIL PLAN SANITARY SYSTEM
แบบขยายท่อ ของห้องนํ้าอาคาร Wellness Center LIST Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
106
DETAIL PLAN SANITARY SYSTEM
แบบขยายท่อ ของห้องนํ้าอาคาร Medical Center LIST Cold Water Pipe ⌀1/2” Waste Water Pipe ⌀ 2” SOIL WATER Pipe ⌀ 6”
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
0
107
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
COOLING TOWER CHILLER AIR HANDLING UNIT (AHU) SUPPLY AIR DUCT FRESH AIR DUCT EXHAUST AIR DUCT
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
108
การคํานวณความต้องการปรับอากาศภายในโครงการ Medical Center
พื้ นที่ปรับอากาศแบบรวมศูนย์ 4229.75 ตร.ม. ความต้องการปรับอากาศ 295 TONS ประเภทการใช้งาน HALL OPD OFFICE CLINIC SUPPORT CORRIDOR LOBBY RETAIL TOTAL
พื้ นที่ 538.08 1365.16 579.27 517.57 795.93 225.4 185.11 4206.52
พื้ นที่ ตร.ม. / ตัน
20 10 20 10 30 20 15
จํานวนตัน 26.904 136.516 28.9635 51.757 26.53 11.27 12.3406667 294.28
BTU 322,848 1,638,192 347,562 621,084 318,372 135,240 148,088 3,531,386
ใช้ COOLING TOWER ขนาด 750 TONS 1 เครื่อง CHILLER 150 TONS 2 เครื่อง (สํารอง 1 เครื่อง)
20 10 20 10 30 20 15
จํานวนตัน 28.857 114.147 35.909 40.264 23.1613333 6.637 12.0326667 261.008
BTU 346284 1369764 430908 483168 277936 79644 144392 3132096
ใช้ COOLING TOWER ขนาด 750 TONS 1 เครื่อง CHILLER 150 TONS 2 เครื่อง (สํารอง 1 เครื่อง)
Wellness Center
พื้ นที่ปรับอากาศแบบรวมศูนย์ 3847.5 ตร.ม. มีความต้องการปรับอากาศ 261 TONS ประเภทการใช้งาน HALL FUNC. ROOM OFFICE LAB CORRIDOR LOBBY RETAIL TOTAL
พื้ นที่ 577.14 1141.47 718.18 402.64 694.84 132.74 180.49 3847.5
พื้ นที่ ตร.ม. / ตัน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
108
แสดงตําแหน่งของห้อง AHU EXHAUST AIR DUCT
COOLING TOWER WATER CHILLER WATER TANK SUPPLY AIR DUCT FRESH AIR DUCT
AIR HANDLING UNIT (AHU) SUPPLY AIR DUCT FRESH AIR DUCT EXHAUST AIR DUCT
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
108
VENTILATION SYSTEM ระบบระบายอากาศ
การติดตั้งระบบระบายอากาศ Dental Clinic
อ้างอิงจากกองแบบแผนกรมสนับสนุนสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข
การติดตั้งระบบฟอกอากาศที่ Consulting Room และ ห้อง Clean Room
Exhaust Fan (3 ACH)
ติดแผ่นกรองอากาศ Alpine Filter ด้านล่างของเครื่องรับอากาศ ติดตั้งพั ดลมเติมอากาศ ที่ผ่านการรกรองอากาศ ในปริมาณไม่น้อยกว่า 2 เท่าของปริมาตร ห้องต่อชั่วโมง
Fresh Air Unit 100%
ติดเครื่องฟอกอากาศ แบบแขวนผนัง เพิ่ มปริมาณการ หมุนเวียนอากาศ RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
ห้องทันตกรรม สําหรับ 1 ยูนิต มีการระบายอากาศและฟอกอากาศด้วย HEPA Filter รวมกัน 24ACH
108
VENTILATION SYSTEM ระบบระบายอากาศ การติดตั้งระบบระบายอากาศภายใน ห้องทั่วไปและสํานักงาน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
1.Remote Controller Switch 2.Ventilation Hood 3.Ventilation Vent(Exhaust) 4.Door Vent 5.Vent Cap 6.Heat Reclaim Ventilation
108
VENTILATION SYSTEM ระบบระบายอากาศ การติดตั้งระบบระบายอากาศภายในห้องผ่าตัด ระบบการจ่ายกระแสลมที่ราบเรียบ (Laminar Flow System)
ข้อกําหนดการปรับและหมุนเวียนอากาศในห้องผ่าตัด ต้องหมุนเวียนอากาศภายในห้องผ่าตัด ได้จํานวนไม่น้อยกว่า 25 ACH (Air Change per Hour) ของปริมาตรห้องต่อชั่วโมง ต้องรักษาความดันอากาศห้องให้เป็นบวก เมื่อเทียบกับพื้ นที่ข้างเคียง และควรเปิดระบบปรับ และ ระบายอากาศตลอดเวลาเพื่ อรักษา ความชื้นและความดันให้เป็นบวก ระบบปรับอากาศสามารถปรับอุณหภูมิได้ ในช่วง 17-27 องศาเซลเซียส (วสท.) โดยอุณหภูมิเหมาะสมขณะใช้งานคือ 20-22 องศาเซลเซียส (WHO) หรือ 20-23 องศาเซลเซียส (CDC)
ติดตั้งแผ่นกรองอากาศประสิทธิภาพสูง แบบ Electric Filter ที่มี Pressure Drop ตํ่ามากเพี ยง 0.25 in.WG.
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
108
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
สถานีดับเพลิงที่ใกล้ที่สุด สถานีดับเพลิงกู้ภัยพญาไท ระยะห่างจากโครงการ 3.1 กม.
สถานีดับเพลิงและกู้ภัยพญาไท SITE LOCATION
จุดรวมพล FIRE PUMP ROOM
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
114
ระบบท่อแห้งแบบชะลอนํ้าเข้า ( Pre Action System )
ระบบดับเพลิงอัตโนมัติ (Fire Suppression System)
ระบบนี้เหมาะสําหรับพื้ นที่ป้องกันที่ต้องการหลีกเลี่ยงความบกพร่องทางกลของระบบท่อ
เป็นสิ่งที่สําคัญในห้อง Data Center หรือ ห้อง Server เมื่อมีเหตุการณ์ไฟไหม้ หากไม่
และหัวกระจายนํ้าดับเพลิงที่อาจฉีดนํ้าโดยที่ไม่มีเพลิงไหม้เกิดขึ้น จนเป็นเหตุให้ทรัพย์สิน
มี ร ะบบดั บ เพลิ ง ที่ ส ามารถทํ า งานทั น ที เ มื่ อ เกิ ด เหตุ อุ ป กรณ์ ที่ อ ยู่ ภ ายในห้ อ ง Data
หรืออุปกรณ์ที่มีมูลค่าสูงเสียหาย ภายในเส้นท่อจะไม่มีนํ้าดับเพลิงอยู่เช่นเดียวกับระบบ
Center หรือ ห้อง Server จะถูกทําลายอย่างรุนแรงเช่น สาย Fiber , สาย Cable
ท่อแห้งระบบจะถูกควบคุมด้วยวาล์วควบคุม (Pre-Action
สื่อสาร , อุปกรณ์สื่อสาร (Switch, Server ) เป็นต้นระบบดับเพลิงอัตโนมัติ จะมีส่วน
Control
Valve)
วาล์ว
ควบคุ ม จะเปิ ด ออกปล่ อ ยให้ นํ้ า ไหลเข้ า ไปในท่ อ เมื่ อ ระบบแจ้ ง เหตุ เ พลิ ง ไหม้ ต รวจจั บ
ช่วยให้เหตุเพลิงไหม้สงบลง และ มีความเสียหายไม่รุนแรง
สัญญาณเพลิงไหม้ได้
SPRINKLER TYPE
NOVEC1230 OZONE DEPLETION POTENTIAL
CONCEALED
PENDENT
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
UPRIGHT
O.P.D = 0
GLOBAL WARMING POTENTIAL
GWP < 1
ATMOSPHERIC LIFETIME
5 DAYS
115
FIRE DETECTION SYSTEM
ADDRESSABLE SYSTEM ระบบสั ญญาณเตือนอัคคีภัยแบบ Addressable เป็น ระบบชนิ ด ที่ ทั น สมั ย ที่ สุ ด ส่ ว นประกอบต่ า ง ๆ จะถู ก ระบุที่อยู่ (Address) เมื่ออุปกรณ์ทําการแจ้งเตือนไฟ ไหม้ ระบบเหล่าจะสามารถระบุได้อย่างรวดเร็วว่าเกิด ปั ญ หาเกิ ด ขี้ น ที่ จุ ด ใด ช่ ว ยประหยั ด เวลาในการค้ น หา อุปกรณ์ที่ส่งสัญญาณได้มาก ทําให้การช่วยเหลือทําได้ ทันท่วงที
FIRE ALARM EQUIPMENT
FIRE EXTINGUISHING QUIPMENT
SMOKE DETECTOR
FIRE HOSE CABINET
9 M.
64 M. FIRE WATER PUMP
RING ALARM HEAT DETECTOR
9 M. MANUAL FIRE ALARM STATION
60 M. LIGHT ALARM
30 M.
45 M. RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
FIRE EXTINGUISHER
45 M. NOVEC1230 SYSTEM SPRINKLER SYSTEM
4.5 M. 116
500 GMP
MEDICAL CENTER 250 GMP
อัตราการส่งนํ้าที่ต้องการ = (500x1)+(250x1)= 750 GPM
ปริมาณนํ้าดับเพลิงในระยะเวลาการสํารอง นํ้า 30 นาที = 750 x 30 = 22,500 แกลลอน/30 นาที (85,171.77 ลิตร)
= 85.17 CU.M
ปริมาณนํ้าดับเพลิงในระยะเวลา 30 นาทีทั้งอาคาร = 636,149.32 ลิตร =
636.14 CU.M
500 GMP X 1 250 GMP X 1 พื้ นที่ครอบครองอันตรายน้อย สํารองนํ้า 30 นาที TANK สําหรับจ่ายนํ้า 30 MINUTE
TANK = 90 CU.M Dimension 3 x 10
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
117
500 GMP
WELLNESS CENTER อัตราการส่งนํ้าที่ต้องการ = (500x1) = 500 GPM
ปริมาณนํ้าดับเพลิงในระยะเวลาการสํารอง นํ้า 30 นาที = 500 x 30 = 15,000 แกลลอน/30 นาที (56,781.18 ลิตร)
= 56.78 CU.M
ปริมาณนํ้าดับเพลิงในระยะเวลา 30 นาทีทั้งอาคาร = 1,590,464.9 ลิตร =
1,590.46 CU.M
500 GMP X 1 พื้ นที่ครอบครองอันตรายน้อย สํารองนํ้า 30 นาที TANK สําหรับจ่ายนํ้า 30 MINUTE
TANK = 60 CU.M
Dimension 2.5 x 12.60
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
118
ทางหนีไฟของโครงการจะ ใช้ เ ป็ น บั น ไดหลั ก ในการใช้ ขึ้ น -ลง และเมื่ อ เกิ ด เหตุ ฉุ ก เฉิ น เพลิ ง ไหม้ จะถู ก ใช้ เป็น บัน ไดหนีไ ฟ โดยแต่ล ะ บั น ไดมี ร ะยะห่ า งระหว่ า ง บันไดไม่เกิน 60 เมตร และ บันไดหนีไฟทุกตัวในอาคาร เ ดี ย ว กั น จ ะ ส า ม า ร ถ เชื่อมต่อกันได้
≤ 60 M.
ลิ ฟ ต์ ผ จญเพลิ ง ถู ก ใช้ เป็นลิฟต์ SERVICE ในช่ ว งเวลาปกติ เมื่ อ เกิดเหตุเพลิงไหม้จะถูก ใช้ เ ป็ น ลิ ฟ ต์ ผ จญเพลิ ง และสามารถเชื่อมต่อกัน ระหว่างลิฟต์สองตัว อีก ทั้ ง เชื่ อมกั บ บั น ไดหนี ไ ฟ ในอาคาร
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
119
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
7TH FLOOR PLASTIC SURGERY เครื่องดมยาสลบ ควบคุมจํานวนออกซินเจน ก๊าซไนทรัสออกไซด์และ ไอระเหยของยาสลบตัวอื่นๆ
ตําแหน่งการเก็บถังก๊าซออกซิเจน scrub
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
120
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
WELLNESS CENTER MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER PASSENGER LIFT SERVICE LIFT FIREMAN LIFT ESCALATOR
X2 X2 X1 X1 PAIR
MEDICAL CENTER PASSENGER LIFT SERVICE LIFT FIREMAN LIFT ESCALATOR
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
X2 X2 X1 X1 PAIR
121
ELEVATOR SYSTEM
SPEED
1.75 M/SEC OVERHEAD
4.00 M
CAPACITY 750 KG.
NUMBER OF PERSON 11 PEOPLE
SPEED
1.75 M/SEC
CAPACITY 1000 KG.
NUMBER OF PERSON 15 PEOPLE
TRACTION ELEVATOR
MACHINE ROOMLESS
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
122
ESCALATOR SYSTEM อ้างอิงบันไดเลื่อนตามมาตรฐาน EN115 โดยใช้อัตราเร็วตามคําแนะนําของวสท. คือ 0.5 เมตร / วินาที
Automatic Operation Escalator (Slow Operation in Stand-by) บันไดเลื่อนระบบเซนเซอร์ตรวจจับผู้ใช้ เมื่อไม่มีผู้ใช้งานจะลดอัตราเร็วจาก 0.5 เหลือ 0.16 ม./วินาที เพื่ อประหยัดพลังงาน
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
123
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
PROTECTION SYSTEM
SECURITY SYSTEM
เครื่องสแกนบัตร (CARD-BASED ACCESS CONTROL)
เครื่องสแกนลายนิ้วมือ (FINGERPRINT SCANNER) เครื่ อ งบั น ทึ ก เวลาการเข้ า ออก ของพนั ก งานและบุ ค คลากร ทางการแพทย์ เช่ น ห้ อ งพั ก พนักงาน สํานักงาน
เครื่องสแกนบัตรระบบ รั ก ษาความปลอดภั ย สํ า หรั บ บุ ค คลากรทาง การแพทย์ เช่ น ห้ อ ง ฉายรังสี
พนักงานรักษาความปลอดภัย (SECURITY GUARD) มี ก ารจ้ า งงานพนั ก งานรั ก ษา ความปลอดภั ย เพื่ อ ดู แ ลความ ปลอดภั ย ของโครงการ โดยมี เ จ้ า ห น้ า ที่ ป ร ะ จํ า ท า ง เ ข้ า เ พื่ อ ตรวจคนเข้าออกและมีเจ้าหน้าที่ บางส่วนดูแลภายในอาคาร
กล้องวงจรปิด (CLOSED-CIRCUIT TELEVISION) ติ ด ตั้ ง ก ล้ อ ง ว ง จ ร ปิ ด ต า ม บ ริ เ ว ณ ท า ง เ ข้ า - อ อ ก ข อ ง รถยนต์ แ ละทางเท้ า รวมถึ ง บริ เ วณมุ ม อั บ สายตา ภายใน และภายนอกอาคาร
กล้องวงจรปิดอินฟาเรด (INFARED CAMERA)
กล้องวงจรกระบอก (BULLET CAMERA)
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
124
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
INTERNET SYSTEM ETHERNET LAN SYSTEM LAN(Local Area Network) คือระบบเครือข่าย แบบเชื่อมต่อคอมพิ วเตอร์ เข้ า ด้ ว ยกั น ในระยะจํ า กั ด เช่ น ในอาคารเดี ย วกั น หรื อ บริ เ วณเดี ย วกั น ที่ สามารถลากสายถึงกันได้โดยตรง ส่วนมากจะใช้สายเคเบิ้ล หรือ ที่เรียกกัน ว่า สายแลน เป็นตัวกลางในการเชื่อมต่อ อัตราเร็วของเครือข่าย โดยเป็น การสงข้อมูลดด้วยความเร็วสูง
WIRELESS LAN SYSTEM ระบบเครือข่ายไร้สาย (WLAN = Wireless Local Area Network) คือ ระบบการสื่อสารข้อมูลที่มีรูปแบบในการสื่อสารแบบไม่ใช้สาย โดยใช้การส่ง คลื่นความถี่วิทยุในย่านวิทยุ RF และ คลื่นอินฟราเรด ในการรับและส่งข้อมูล ระหว่างคอมพิ วเตอร์แต่ละเครื่อง ผ่านอากาศ, ทะลุกําแพง, เพดานหรือสิ่งก่อสร้าง อื่นๆ โดยปราศจากความต้องการของการเดินสาย โดยมีคุณสมบัติครอบคลุมทุก อย่างเหมือนกับระบบ LAN แบบใช้สาย
MEDICAL CENTER SERVER 1st FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER SERVER 2nd FLOOR PLAN
125
IP-PBX SYSTEM
TELEPHONE SYSTEM
IP-PBX (Internet Protocol – Private Branch Exchange)
ตําแหน่ง IP PHONE
IPPBX เป็นบริการระบบตู้สาขาโทรศัพท์ผ่านโครงข่ายอินเทอร์เน็ต ที่ออกแบบมาเพื่ อใช้งานทดแทนระบบตู้สาขาโทรศัพท์แบบ Analog (PABX) โดยที่ผู้ใช้บริการไม่ต้องลงทุนติดตั้งระบบตู้สาขา IP-PBX สามารถใช้งานได้เทียบเท่ากับตู้สาขาแบบเก่า
ELEVATOR HALL ADMIN / OFFICE NURSE STAION
(EACH DEPARTMENT) LAN
IP-PBX SERVER
WELLNESS SERVER
RECEPTION
IP PHONE
MEDICAL CENTER SERVER
แบ่ง SERVER แยกเป็น 2 อาคารเพื่ อสะดวกต่อการจัดการและ รองรับการแยกตัวในอนาคต
MEDICAL CENTER SERVER 1st FLOOR PLAN
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER SERVER 2nd FLOOR PLAN
126
TELEMEDICINE SYSTEM Telemedicine คือ การให้บริการด้านสาธารณสุขกับประชาชน โดยบุคลากรทางการแพทย์ ผ่านทางเทคโนโลยีและการสื่อสารแบบ Video conference เพื่ อแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกันโรค โดยไม่มีข้อจํากัดเรื่องเวลาและสถานที่
ผู้ป่วยสามารถเข้ารับบริการ ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
แพทย์ได้ทําหน้าที่อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยไม่ต้องเสียเวลาเดินทาง
เพิ่ มประสิทธิภาพการสื่อสารทั้งภายใน และนอกองค์กรณ์
ลดความเสี่ยงในการพบเจอที่อาจ ทําให้เกิดโรคติดต่อ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
07
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
HORN SPEAKER
PUBLIC ADRESS SYSTEM ใช้ในการส่งข่าวสารจากจุดหนึ่งไปยังจุดหนึ่ง โดยการส่งสัญญาณเสียง จากแหล่งกําเนิดเสียงต้นทาง แล้วส่งไปที่เครื่องขยายเสียงเพื่ อทําการ ขยายให้ได้กําลังสูง เพื่ อจะได้ส่งไปตามสายในระยะทางไกล โดยที่ ปลายทางจะมีลําโพงต่ออยู่
-
OUTDOOR ROOF GARDEN
CEILING SPEAKER
-
OPD OFFICE INDOOR SPACE
WALL MOUNT SPEAKER -
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
PARKING SYSTEM
127
NURSE CALL SYSTEM ระบบเรียกพยาบาลไร้สายแบบ IP Network สามารถใช้งานได้ทันทีโดย ไม่ต้องเดินสายหรือติดตั้งใดๆ แจ้งเตือนไปมาระหว่างตึกได้ ผ่านระบบ IP ใช้เรียกพยาบาล หรือ ผู้ดูแล ได้ง่ายโดยมีที่เสียบปลั๊กไฟให้หน้า จอแสดงผล รอรับสัญญาณจากตัวกด
IP NURSE CALL SYSTEM
ติดตั้งเครื่องเรียกพยาบาล ในห้องนํ้าทุกชั้นและส่ง สัญญาณแจ้งเตือนไปยัง NURSE STAION ของแต่ละชั้น
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
128
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
MEDICAL CENTER ปริมาณขยะเฉลี่ย0.4 ลิตร ต่อวัน/ตร.ม. 7478.6 x 0.4 = 2,991.2 (3 M2) พื้ นที่เก็บขยะคิดเป็น 3 เท่าของปริมาณขยะ = 3 x 3 = 9 ลูกบาศก์เมตร
จุดจอดรถ
ขยะทั่วไป ขยะรีไซเคิล ขยะอันตรายและ ติดเชื้อ แยกขยะ
WELLNESS CENTER ปริมาณขยะเฉลี่ย0.4 ลิตร ต่อวัน/ตร.ม. 11586.13 x 0.4 = 4634.4 (4.6 M2) พื้ นที่เก็บขยะคิดเป็น 3 เท่าของปริมาณขยะ = 4.6 x 3 = 13.8 ลูกบาศก์เมตร รถขยะเข้ามาเก็บทุกๆ 2 วัน
ลิฟต์ขยะ
จุดแยกขยะ
ห้องขยะ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
จุดจอดรถ
รถขนขยะ
129
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายนอกสิ่งก่อสร้าง แบ่งเป็น 2 ประเภทใหญ่ ได้แก่
1
แบบดั้งเดิม (conventional system) ระบบที่ใช้แท่งแฟรงกลิน และกรงฟาราเดย์
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
2
ไม่ใช่แบบดั้งเดิม (unconventional system) ระบบที่ใช้แท่งอีเอสอี แท่งเซมิคอนดักเตอร์ และแท่งดีเอเอส
130
Air terminals Air terminals base ตาข่ายป้องกันฟ้าผ่า
Down Conductor
Earthing pit / Ground rod
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
131
ระบบป้องกันไฟฟ้าภายในอาคาร อุปกรณ์ป้องกันแรงดันไฟฟ้าเกิน (Surge Protection Device : SPD )
มีการต่อประสานศักย์ไฟฟ้าเท่า กับ การกําบัง ( Shielding ) มีการต่อลงดิน ( Earthing )
Surge Protection Device : SPD
ระบบป้องกันฟ้าผ่าภายในเพื่ อป้องกันกระแสฟ้าผ่าที่ไหลผ่านเข้ามา เพื่ อป้องกันความเสียหายให้กับอาคารและเครื่องกล เช่น เซอร์กิตเบรกเกอร์ ดังนั้นการป้องกันการชํารุดควรต้องมีระบบป้องกันฟ้าผ่า ภายในอาคาร
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
132
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
MEDICAL CENTER
WELLNESS CENTER 8.50
8.50 2.50
2.50
6.00 2.50
8.50
AUTOMATIC CAR PARKING
2.50
6.00
2.50
8.50
13
5.00
5.00
6.50
6.00
5.00
8.50
5.00 6.00
11
5.00
ระบบที่จอดรถอัตโนมัติ เพิ่ มความสะดวกสบายและความ คล่องตัวให้แก่ผู้ใช้งานโดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วย และช่วย ประหยัดพื้ นทีสําหรับโครงการที่มีพื้นที่จํากัด
2.50
8.50
5.50 2.50 6.00
2.50 8.50
2.50 6.00
2.30 2.30
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
133
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
ROPE ACCESS CLEANING ระบบทําความสะอาดโดยการให้พนักงานโรยตัวเพื่ อทําความ สะอาดและบํารุงรักษากระจกและกรอบอาคาร
FACADE เว้นระยะฟาสาด 60 ซม. เพื่ อความสะดวกในการซ่อมบํารุง และการดูแลรักษาฟาสาดภายนอกอาคาร
60 ซม.
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
134
MECHANICAL SYSTEM
2021
KMITL
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN
METHODS FOR PREVENTING เพื่ อเป็นการป้องกันพื้ นที่ต่างระดับ และทางลาดภายในโครงการ
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
135
พื้ นที่สีเขียวตามเกณฑณ์ EIA พื้ นที่สีเขียวขั้นตํ่า
พื้ นที่สีเขียวทั้งหมด 1 คน : 1 ตร.ม.
พื้ นที่สีเขียว ของโครงการ
2270
2281
1135
1147
567.5
574
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
พื้ นที่สีเขียวชั้นล่าง 50% ของพื้ นที่
พื้ นที่ปลูกไม้ยืนต้น 50% ของพื้ นที่ชั้นล่าง
ตร.ม.
ตร.ม.
+1.50
อัตราส่วนพื้ นที่สีเขียวต่อผู้ใช้บริการ
:
1
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
136
•
สํานักทะเบียนกลางกรมการปกครอง 31 ธันวาคม 2563
•
กรมสุขภาพจิต และสภาคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
•
COVID Symptom App
•
กฎกระทรวงให้ใช้บังคับผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556
•
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานครเรื่องควบคุมอาคาร พ.ศ. 2544
•
เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพฯ เรื่องกําหนดบริเวณซึ่งอาคารบางชนิดจะปลูกสร้างไม่ได้
•
กฎกระทรวงฉบับบที่ 33 พ.ศ. 2535
•
กฎกระทรวงฉบับบที่ 55 พ.ศ. 2543
•
กฎกระทรวง กําหนดสิ่งอํานวยความสะดวกสําหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564
•
https://www.arch2o.com/steno-diabetes-center-copenhagen-vilhelm-lauritzen-architectsmikkelsen-architects/
RAMATHIBODI SRI-AYUTTAYA MEDICAL CENTER
137
MEMBER o o o o o
นพรุจ นวีร์ พสธร รมณ อริญชยา
บุญบาง จิตรบํารุง พั ฒนกิตติพงศ์ ลอพั นธุ์ไพบูลย์ สร้อยสุข
60020033 60020035 60020053 60020063 60020075
SCHOOL OF ARCHITECTURE, ART, AND DESIGN