Development of Textile Products in Tambon Doikeaw, Amphur Chomthong,Chiang mai

Page 1

งานวิจยั เรื่องการพัฒนาผลิตภัณฑสิ่งทอกลุมทอผาบานดอยแกว ตําบลดอยแกว อํอาเภอจอมทอง ตาบลดอยแกว าเภอจอมทอง จัจงหวดเชยงใหม งหวัดเชียงใหม Development of Textile Products in Tambon Doikeaw, Amphur Chomthong,Chiang Chomthong Chiang mai ปงบประมาณ 2551


บทคัดย่ อ บทคดยอ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑสิ่งทอใหมี ความโดดเดนเปนเอกลักษณที่สามารถเพิ่มมูลคาและสรางรายไดแกกลุม ทอผาพื้นเมือง ตลอดจนเปนแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑสิ่งทอจากผา ทอใหมีความสอดคลองกับศักยภาพการผลิตและมีความเหมาะสมกับ ความตองการตลาด กลุ ความตองการตลาด กลมเป เปาหมายในการวจยครงนคอกลุ าหมายในการวิจัยครั้งนี้คือกลมทอผ ทอผาบาน าบาน ดอยแกว อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม ผูวิจัยเก็บใชวิธีการวิจัยและ พัฒ ั นาผลิ​ิตภัณ ั ฑโดยเก็​็บขอมูลเชิ​ิงคุณภาพดวยการสั​ัมภาษณสมาชิกิ ของ กลุม เพื่อศึกษาถึงสภาพปจจุบันและผลิตภัณฑของกลุม และความ ตองการเพื่อพัฒนาศักยภาพของผลิตภัณฑสําหรับเปนขอมูลนําเขาในการ พัฒนาผลิตภัณฑในครั้งนี้


ผลการวจยพบวากลุ ผลการวิ จัยพบวากลมทอผามความตองการในความรู ทอผามีความตองการในความรในการออกแบบ ผลิตภัณฑเปนอันดับแรก ผูวิจัยไดดําเนินการวิจัยตามกระบวนการพัฒนา รูปแบบผลิตภัณฑสิง่ ทอแบบใหม ใ โโดยได ไ รวมกับทางกลุมสิ่งทอสรางแนวคิด การออกแบบกระเปา 3 รู​ูปแบบ ไดแก กระเปาถือสุ​ุภาพสตรี กระเปาหิ้ว สุภาพสตรี และ กระเปาสะพายสุภาพสตรี จากนั้นออกแบบราง ออกแบบราง ภาพเหมือนจริง เขยนแบบการผลต ภาพเหมอนจรง เขียนแบบการผลิต การทาแบบตดเพอการผลต การทําแบบตัดเพื่อการผลิต และสราง และสราง ผลิตภัณฑกระเปาตนแบบ ทั้งนี้พบวาจากผลการดําเนินการวิจัย ผูผประกอบการมความรู ระกอบการมีความรความเข วามเขาใจในการเลอกใชสของเสนดายตามแนวโนม าใจในการเลือกใชสีของเสนดายตามแนวโนม ของแฟชั่น แตยังคงเอกลักษณลวดลายผาทอพื้นเมืองไวได ผลิตภัณฑมีความ แตกตางจากผลิตภัณ ั ฑอื่นในท ใ อ งตลาด และสามารถนําองคความรูไปตอยอด เพื่อสรางผลิตภัณฑใหมได คําสําคัญ: กระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑใหม, ผลิตภัณฑสิ่งทอ, สิ่งทอพื้นบาน


Abstract Research Title : Development of Textile Products in Tambon Doikeaw Amphur Chomthong,Chiang Doikeaw,Amphur Chomthong Chiang mai Research Director : MissRatirost Boonyarit Mr Suebsagul Chuenchom Mr.Suebsagul This research aimed to develop the textile products that are uniqueness, added value, and increase income of local textile weaving group, as well as to implement the process of new textile development in order to encourage production capability and to be appropriate with marketing demands. Target of this research is a local textile weaving group in Tambon Doikeaw, Amphur Doikeaw Amphur Chomthong, Chiang Mai. Chomthong Chiang Mai Qualitative data were collected by interviewing the head and gg p p p members of weaving group about present products of the group and their potential development needs.


Results showed that local textile weaving group’s primary Results showed that local textile weaving group s primary need was the knowledge in textile designs. Researcher implemented the new textile development process with p p p members of local weaving group in order to originate the concept of three patterns of woman bag: hand bag, holding b d h ld b O h bag, and shoulder bag. Other proceeding steps were the idea di h id development, sketch design, working drawing, cutting pattern, and final model of bags As a results of product development and final model of bags. As a results of product development process, members of Doikeaw local weaving group had better knowledge in how to choose color according to fashion trend g g while maintaining the uniqueness of local weaving patterns, products were differentiated from others local product in the market, and members have been able to extent the knowledge k d b h b bl h k l d to their own new products. Keywords: New Product Development Process Textile Keywords: New Product Development Process, Product, Local Weaving


ความสําคัญของการวิจัย โครงการผลตภณฑชุ โครงการผลิ ตภัณฑชมมชนท ชนทองถน องถิน่ เป เปนนโยบายหลกของรฐบาลในการเพมอาชพและรายไดสู นนโยบายหลักของรัฐบาลในการเพิม่ อาชีพและรายไดสช ุมมชน ชน ภาครัฐบาลและเอกชนเขาไปมีสวนรวมในการชวยพัฒนากลุม ชุมชน กลุมหมูบาน จังหวัดเชียงใหม หัตถกรรมผาทอพืน้ เมืองที่มีชอื่ เสียงและสรางรายไดใหกับกลุม ชุมชนตาง ๆ กลุมทอผาบานดอยแกว ตําบลดอยแกว อําเภอจอมทอง เปนแหลงผลิตผาทอและผลิตสินคาสิ่งทอขายสงและขายปลีกทั้งใน ประเทศและตางประเทศ ผูวิจัยใในฐานะผูทีม่ ีความรูทางดา นงานออกแบบผลิ​ิตภัณ ั ฑส ิง่ ทอ และการตัดั เย็บ็ ผลิติ ภัณ ั ฑ ศึกษาผลิตภัณฑรูปแบบใหมเล็งเห็นถึงความสําคัญของการที่จะมีสวนรวมในการสงเสริมและสนับสนุน กระบวนการทองถิ่นมาในการพัฒนาผลิตภัณฑสิ่งทอใหเปนที่รจ กและเปนเอกลกษณภู ักและเปนเอกลักษณภมมิปปญญาทองถน ญญาทองถิ่น กระบวนการทองถนมาในการพฒนาผลตภณฑสงทอใหเปนทรู เปนแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑสิ่งทอจากผาทอ ใหมีความสอดคลองกับศักยภาพการผลิตของกลุม ตามความตองการของตลาด

นางลักษณา สุตาคํา (ประธานกลุม)


วัตถุประสงค์ ของการวิจยั 1. เพื่อพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑสงิ่ ทอ ใหมีความโดดเดนเปนเอกลักษณ สามารถเพิ่มมูลคาและสรางรายไดแกกลุมทอผาบานดอยแกว ตําบลดอยแกว อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม 2. เพื่อเปนแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑสงิ่ ทอจากผาทอ ใหมีความสอดคลอง กับศักยภาพการผลิต และมความเหมาะสมกบความตองการของตลาด และมีความเหมาะสมกับความตองการของตลาด กบศกยภาพการผลต


ประโยชน์ ท่ คี าดว่ าจะได้ รับ 1. ไดผลิตภัณฑสงิ่ ทอ ที่มีความโดดเดนเปนเอกลักษณ เพิ่มมู​ูลคาสูกู ารผลิต เชิงพาณิชยใหกบั กลุมทอผา 2. 2 ทราบแนวทางการพฒนาผลตภณฑสงทอใหมความสอดคลอง ทราบแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑสงิ่ ทอใหมีความสอดคลอง กับศักยภาพการผลิต และมีเหมาะสมกับความตองการของตลาด  มิ การประกอบอาชี ป ี สิ​ินคาหตถกรรมสิ  ั ใ ือตอนบน 3 สงเสริ พ งิ่ ทอในเขตภาคเหนื


ขอบเขตการออกแบบ 1. พัฒนารูปแบบผลิตภัณฑสงิ่ ทอ โดยนํากระบวนการออกแบบอยางเปนขั้นตอน สรา งผลงานให ใ มีความโดดเด โ น เปปนเอกลักั ษณข องกลุม ทอผา บา นดอยแกว 2. ออกแบบผลิตภัณฑสงิ่ ทอ จํานวน 1 ชุด ออกแบบผลิตภัณฑกระเปาผาทอ จํานวน 3 รูปแบบ กระเปาถือสุภาพสตรี กระเปาหิ้วสุภาพสตรี กระเปาสะพายสุ​ุภาพสตรี โดยใชกระบวนการออกแบบและการตัดสินใจรวมกันกับกลุมทอผา บานดอยแกว


1. ประธานกลุม ทอผาบานดอยแกว 2 สมาชิกในกลุมทอผาบานดอยแกว


บรรยากาศของการจัดแสดงสินคาของราน

รูปแบบผลิ​ิตภั​ัณฑผาผื​ืน


ใ อ ปุ โโภคและบริโภคเคหะสิ่งทอ รูปแบบผลิตภัณฑข องใช


การพัฒนาอยางมีสวนของสมาชิกสิ่งทอ


การพัฒนาอยางมีสวนของสมาชิกสิ่งทอ


การตีปัญหา (problem identification) ความคดรเรมเบองตน ความคิ ดริเริ่ มเบือ้ งต้ น (preliminary ideas)

การทําํ ใให้​้ เป็ นผลสําํ เร็​็จ (implementation)

D i Process Design P การตัดสินใจ (decide)

การกลั่นกรองการออกแบบ (design refinement) การวิเคราะห์ การวเคราะห (analysis)

กระบวนการออกแบบของ Earle เปนกระบวนการที่นํามาจากการออกแบบ ทางวิศวกรรม ซึซงเปนกระบวนการททางานเกยวกบการออกแบบผลตภณฑอุ ทางวศวกรรม ่งเปนกระบวนการทีท่ าํ งานเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑอตสาหกรรม ตสาหกรรม เปนขั้นตอนการทํางานเปน 6 ขั้นตอน


ผลการวิจยั กระบวนการพัฒนา รู ปแบบผลิตภัณฑ์ ส่ งิ ทอรู ปแบบใหม่ แนวคิดการออกแบบ (Concept) จากแนวโนนการออกแบบและการตลาดสินคา ผลิตภัณฑชุมชนและขอมูลที่เกี่ยวของ นํา ขอมูล ขอบเขตทีช่ ดั เจนปญหาและความ ตอ งการในการออกแบบผลิ ใ ิตภั​ัณฑใหม 3 รูปแบบ ไดแก กระเปาถือ กระเปาหิ้ว กระเปา เหมาะสําหรับกลมผูผใหญตอนตน หญตอนตน และ สะพาย เหมาะสาหรบกลุ คงเอกลักษณของผาทอพื้นเมือง นําเอกลักษณ ของลวดลายโบราณ 4 ตะกอ ลายดอกสรอย ดอกหมาก และลายดอกแกว โดยใชกลุมสีใน ธรรมชาติมาเสริมความสวางไสวในแบบสีจัด จานตามสมัยนิยมของป 2009

โครงสรางการผสมลายผาลาย ดอกสรอยดอกหมากสี่ตะกอ


การวิเคราะหวัสดุในการออกแบบราง ( Idea Development )

การกลัน่ กรองหาขอสรุปและวิเคราะหการออกแบบ ตัดสินใจรวมกับกลุมเรื่องการออกแบบ การตลาด


ออกแบบราง  (Idea Development) (Idea De elopment) สรุปขอมู  ลจากการสมภาษณ ั  เพือ่ื เลือกแบบทีเ่ หมาะสมใหเห็นถึงแตกตางที่หลายหลาย โดยสามารถเลือกแบบที่ เปปนไปไ ไปไดจํานวน 3 รู ปแบบที​ีค่ าดวา จะสามารถใช ใ ง านได ไ ด ี งา ยตอ การผลิติ มีคี วาม เปนสากลตามแนวแฟชั่น แตยังคงเอกลักษณ


การออกแบบภาพรางเหมื  ือนจริงิ (Sketch Design) นําเสนอตอสมาชิก เพื่อใชในการสรางแบบการผลิตตอไป


เขียี นแบบการผลิ​ิต (Working Drawing) ( ki i ) เขียนภาพสองมิติทีร่ ะบุ ความกวางและสูงของวัตถุเพื่อใชระบุสัดสวนของผลิตภัณฑ


การทําแบบตัดเพือ่ การผลิต (Cutting Pattern) เพื่อใหทราบถึงขนาด สัดสวนและปรับแกไขขนาดใหสมบูรณตอไป


) วัสดุ​ุผาทอพื้นเมืองของกลุม ุ ทอผา การสรางผลิตภัณฑกระเปาตนแบบ ((Model)

บานดอยแกวลวดลายที่เปนเอกลักษณ กระเปาสําหรับสุภาพสตรีทมี่ ีจุดเดนคือ มีความ หรหราและเข ากับยคสมั ยนิยม โดยสามารถคงเอกลกษณผาทอพนเมองคอผาทอลาย โดยสามารถคงเอกลักษณผา ทอพื้นเมืองคือผาทอลาย หรู หราและเขากบยุ คสมยนยม 4 ตะกอ ลายดอกสรอยดอกหมาก ในโทนสีเขียวน้ําตาล



ผลการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ใหม่ จากมุ​ุมมองของผูู้ประกอบการ 1. ผู​ูประกอบการมีความรูคู วามเขาใจในการเลือกใชสีของเสนดายในการทอผาตาม แนวโนมของแฟชั่น ที่ยังคงเอกลักษณของรูปแบบลวดลายผาทอพืน้ เมืองได 2. ผลิตภัณฑที่ไดมีความแตกตางจากผลิตภัณฑสงิ่ ทออื่นๆ ๆจากทองตลาด 3. สามารถนําองคความรูจากการพัฒนาผลิตภัณฑนี้ไปตอยอดเพื่อสรางผลิตภัณฑ ใหมของกลมุ ทอผาได เพื่อเปนทางเลือกหนึ่งของผบู ริโภค

การพัฒนาอยางมีสวนรวม กับนักออกแบบและนักการตลาดถึงการพัฒนาผลิตภัณฑ


บรรณานุกรม [1] อําเภอจอมทอง. (2551). เสนทางการขับรถไปยัง อําเภอจอมทอง จังหวัดเชียงใหม . [ระบบ ออนไลน]. แหลงที่มา http://map.google.com (29 มีนาคม 2551) [2] โครงการวจยการพฒนาชุ ม.ป.ป. โ ิั ั ชดความรูข องภูมิปญญาไทญอดานสงทอสานกงาน. ป ไ   ิ่ ํ ั ป ป การคนหู  ก และทอผา. พัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. [3] ทรงพันธ วรรณมาศ. (2550). การถายทอดภูมปิ ญญาสิ่งทอทองถิ่นลานนนาสูสากล. ศูนยสิ่ง ทอลานนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียี งราย. [4] สาคร ชลสาคร. (2548). วัสดุที่ใชผลิตและตกแตงเสื้อผา. กรุงเทพ : สํานักพิมพสายธาร. [5] นิรชั สุสังข. (2548). การวิจัยการออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. ---------------. ออกแบบผลิตภัณฑอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร. [6] ปยารัช เชยวัดเกาะ. (2546). โครงสรางทางการตลาดของผลิตภัณฑสิ่งทอผาบานดอนหลวง จังหวัดลําพู​ูน . การคนควาแบบอิสระเศรษฐศาสตรมหาบั ณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย . ฐ มหาวิทยาลัยเชียงใหม [7] มนทิวา ไชยวงศ. (2548). กลยุทธเพื่อการพัฒนาวิสาหกิจทองถิ่นกรณีศึกษากระเปาจักสานตําบล หนองตอง อํอาเภอหางดง าเภอหางดง จงหวดเชยงใหม จังหวัดเชียงใหม . การคนควาแบบอสระเศรษฐศาสตรมหาบณฑต. การคนควาแบบอิสระเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย . มหาวิทยาลัยเชียงใหม [8] วัชระชัย บุญนอย. (2549). การศึกษาและพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑศิลปหัตถกรรมสินคาใบลาน ประเภทหมวกและกระเปา . วทยานพนธครุ ประเภทหมวกและกระเปา วิทยานิพนธครศาสตร ศาสตรมหาบณฑต มหาบัณฑิต บณฑตวทยาลย บัณฑิตวิทยาลัย สถาบนพระ สถาบันพระ จอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง


[9] เอกลักษณ กาลนิมิต. (2542). การประกอบอาชีพตัดเย็บกระเปาของชาวบานลาด ตําบลศรีสุข อําเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคราม. วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยมหาสารคราม [10] องคพรรณ หัตถมาศ. (2547). การวิจัยปฏิบัติการแบบมีสวนรวม เพื่อพัฒนาคุณภาพมาตรฐาน ั  ั ป า พื​ื้นบา นนางวั่ อําํ เภอเมือื ง จงหวดเพชรบู ั ั ผลิติ ภณฑหตถกรรมกระเปาผ รณ. รายงาน คหกรรมศาสตร คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ [11] นางนรมล ไชยสถตวานช. ทอผาา บบานแมวงชาง นางนิรมล ไชยสถิ ตวานิช. (2549). แนวทางการพฒนากลุ แนวทางการพัฒนากลมทอผ านแมวังชาง ตาบลพระธาตุ ตําบลพระธาต ขิงแกง อําเภอจุน จังหวัดพะเยา . การคนควาแบบอิสระศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย . มหาวิทยาลัยเชียงใหม [12] ณัฐกฤตา เตจาคํา(2549). การวิเคราะหศกั ยภาพโครงการหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑของกลุม เสนหสาบานไร ต.ทุงตอม อ.สันปาตอง จ.เชียงใหม. รายงานวิจัยอิสระเศรษศาสตร ิ ั ี ใ  มหาวทยาลยเชยงใหม [13] สิริพิชญ เหลืองสุวรรณ , บทความโครงสรางการทอและผลิตภัณฑจากผาทอมือ [ระบบ ออนไลน]. แหลงทมา ออนไลน]. แหลงที่มา web.thaitextile.org/dataarticle/weave.htm (วนทสบคน (วันทีส่ บื คน 1 มิถุนายน 2552)


[14] เทรนด เทรนดโทนสฮอต โทนสีฮอต ปป 2009 ,บทความจากนตยสาร บทความจากนิตยสาร womenplus l , [ระบบออนไลน]. [ระบบออนไลน] แหลงทมา แหลงที่มา web.women.mthai.com (วันทีส่ บื คน 1 มิถุนายน 2552) [15] เทรนดโทนสีฮอต ป 2009 , [ระบบออนไลน]. แหลงทีม่ า web.thesecretingredient.us,

(วันทีส่ บื คน 1 มิถุนายน 2552) [16] สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย , แผนแมบทการสงเสริมผลิตภัณฑชุมชนและทองถิน่ (OTOP) พ.ศ. 2551-2555, 2551 2555 [ระบบออนไลน]. [ ไ ] แหลงทมา  ี่ web.Pcoc.moc.go.th bP h (วนทสบคน ( ั ี่สื  2 มถุิ นายน 2552)



Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.