หนังสือภาพประกอบทางพฤกษศาสตร์
ปลูกยา ประดับบ้าน รวิสรา บุญนาค
Be like a flower, turn your faces to the sun.
ค�ำน�ำผูเ้ ขียน
ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ เป็ น สิ่ ง ที่ พ บเห็ น กั น ได้ ใ นชี วิ ต ประจ� ำ วั น โดยส่ ว นใหญ่ มั ก มองว่ า ไม้ เ หล่ า นี้ ใช้ ส� ำ หรั บ การปลู ก เพื่ อ ประดั บ ตกแต่ ง บ้ า นหรื อ สถานที่ ต ่ า ง ๆ เพี ย งเท่ า นั้ น แต่ ใน ความจริ ง แล้ ว ประโยชน์ มี ม ากกว่ า แค่ ก ารปลู ก เพื่ อ ชมเพี ย งความสวยงาม มี น ้ อ ยคนนั ก ที่ รู ้ รายละเอี ย ดเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะทางพฤกษศาสตร์ ข องไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ผู ้ เ ขี ย นจึ ง สนใจและอยากจะ เรี ย นรู ้ เ กี่ ย วกั บ ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ให้ ม ากขึ้ น พร้ อ มทั้ ง อยากถ่ า ยทอดและแนะน� ำ คุ ณ ประโยชน์ ข อง ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ที่ มี ม ากกว่ า ความสวยงามผ่ า นหนั ง สื อ เล่ ม นี้ ไม่ ว ่ า จะเป็ น ภาพประกอบที่ แ สดง รายละเอี ย ด ข้ อ มู ล ลั ก ษณะทางพฤกษศาสตร์ สรรพคุ ณ ของพั น ธุ ์ ไ ม้ แ ต่ ล ะชนิ ด เพื่ อ ให้ ทุ ก คนได้ เข้ า ใจและเห็ น ภาพมากขึ้ น พร้ อ มกั น นี้ ผุ ้ เ ขี ย นได้ ใ ช้ ทั ก ษะการวาดภาพทางพฤกษศาสตร์ และการวาด ภาพสี น�้ ำ ที่ ชื่ น ชอบ มาเป็ น สื่ อ กลางในการอธิ บ ายเรื่ อ งราวต่ า ง ๆ ของพรรณไม้ ที่ พ บเห็ น กั น ทั่ ว ไป หนั ง สื อ ปลู ก ยาประดั บ บ้ า นนี้ เป็ น หนั ง สื อ ที่ บ อกเล่ า เรื่ อ งราวเกี่ ย วกั บ ลั ก ษณะทาง พฤกษศาสตร์ แ ละสรรพคุ ณ ที่ น ่ า สนใจของไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ 8 ชนิ ด ประกอบกั บ ภาพวาดสี น�้ ำ ที่ แสดงให้ เ ห็ น ส่ ว นประกอบต่ า ง ๆ ของแต่ ล ะพรรณไม้ ส� ำ หรั บ ผู ้ ที่ ส นใจอยากจะเรี ย นรู ้ แ ละศึ ก ษา ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ ให้ ม ากขึ้ น สามารถใช้ ห นั ง สื อ เล่ ม นี้ เ ป็ น สื่ อ การเรี ย นรู ้ ผู ้ เ ขี ย นคิ ด ว่ า หนั ง สื อ เล่ ม นี้ จ ะเป็ น ประโยชน์ แ ก่ ผู ้ อ ่ า นทุ ก ท่ า น ขอบคุ ณ ค่ ะ
ผู้จัดท�ำ รวิสรา บุญนาค
Contents 8
10
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
ท�ำความรู้จัก
11
รางจืด
เลือกชนิด
พวงชมพู
17
23
29
กระดังงาสงขลา
ชุมเห็ดเทศ
35 ชงโค
41
กาหลง
สายน�้ำผึ้ง
อัญชัน
47
53
8
ไม้ ด อก หมายถึ ง พั น ธุ ์ ไ ม้ ที่ มี ลั ก ษณะของดอกที่ โ ดดเด่ น สวยงามและ
มี เ อกลั ก ษณ์ จึ ง มั ก ปลู ก เพื่ อ ประโยชน์ ด ้ า นความสวยงาม หรื อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล ในบางครั้ ง อาจแบ่ ง เป็ น ไม้ ตั ด ดอก ซึ่ ง เป็ น ไม้ ใ ห้ ด อกเพื่ อ การตั ด ออกมาใช้ ป ระโยชน์ เ พราะมี ก ้ า นดอกยาว และ ไม้ ด อก ซึ่ ง เป็ น ไม้ ที่ ใ ห้ ด อก เพื่ อ ใช้ ช มความงามโดยไม่ มี ก ารตั ด ดอก เนื่ อ งจากมี ลั ก ษณะก้ า นดอกสั้ น และ ดอกมี ลั ก ษณะบอบบาง
ไม้ ป ระดั บ หมายถึ ง พั น ธุ ์ ไ ม้ ที่ ป ลู ก เพื่ อ ประโยชน์
จากรู ป ร่ า ง รู ป ทรง ความสวยงามของสี สั น ล� ำ ต้ น และใบที่ ต ่ า งกั น ลั ก ษณะความสวยงาม การหาได้ ย าก ความเชื่อถึงความเป็นสิริมงคล รวมถึงการมีเอกลักษณ์ ที่ ไม่ เ หมื อ นพั น ธุ ์ ไ ม้ อื่ น ท� ำ ให้ นิ ย มปลู ก ประดั บ ตกแต่ ง ตามบ้ า น และตามสถานที่ ต ่ า งๆ ทั้ ง ในกระถางและพื้ น ดิ น
9
เลือกชนิด ไม้ดอกไม้ประดับ อย่างไรดี... 1
3
เลื อ กต้ น ไม้ ต ามความถู ก ใจเป็ น หลั ก และ ตามความชอบส่ ว นตั ว และมี ร าคาเหมาะสม
เลื อ กซื้ อ ตามความต้ อ งการของตนเอง ว่ า ต้ อ งการปลู ก ต้ น ไม้ เ พื่ อ อะไร เช่ น เพื่ อ ชมความสวยงาม และสี สั น ของดอกไม้ เพื่ อ มองสี เ ขี ย วของใบไม้ เพิ่ ม ความสดชื่ น เพื่ อ ต้ อ งการร่ ม เงาเพื่ อ ป้ อ งกั น แสงแดด ป้ อ งกั น ลม เพื่ อ เป็ น ฉากบั ง สายตา เพื่ อ ประโยชน์ ท างด้ า นสมุ น ไพร หรื อ ปลู ก เพื่ อ ความเป็ น สิ ริ ม งคล
2 เลื อ กจากสถานที่ และความเหมาะสมที่ จ ะ ท� ำ การปลู ก ต้ น ไม้ โดยต้ น ไม้ แ ต่ ล ะชนิ ด ต้ อ งการสภาพแวดล้ อ มที่ ต ่ า งกั น เช่ น แสง น�้ ำ อากาศ อุ ณ หภู มิ และสภาพดิ น ก่ อ นเลื อ กซื้ อ ต้ น ไม้ ค วรค� ำ นึ ง ถึ ง ปั จ จั ย ด้ า นต่ า งๆ ที่ เ หมาะกั บ การเจริ ญ เติ บ โตของ ต้ น ไม้ ช นิ ด นั้ น ๆ ด้ ว ย
10
รางจืด
Thunbergia laurifolia Linn.
11
รางจืด
Babbler’s Bill Leaf
12
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Thunbergia laurifolia Linn. ชื่อวงศ์
: ACANTHACEAE
ชื่อสามัญ
: Babbler’s Bill leaf
ชื่อท้องถิ่น
: เครือเขาเขียว, ทิดพุด (นครศรีธรรมราช),
คาย รางเย็น (ยะลา), ดุเหว่า (ปัตตานี)
นิเวศวิทยา เป็ น พรรณไม้ ที่ พ บในทวี ป เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ขึ้ น ได้ ดี ทั้ ง ในที่ แ ดดจั ด และในร่ ม ชอบดิ น ร่ ว นซุ ย เก็ บ ความชื้ น ได้ มี แ ร่ ธ าตุ ส มบู ร ณ์ ต้ อ งการน�้ ำ ใน ปริ ม าณปานกลาง ควรมี ห ลั ก ยึ ด เกาะตอนปลู ก
13
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
ดอก
14
เป็ น พรรณไม้ เ ถา (climber) มี ล� ำ เถาแข็ ง แรง ลั ก ษณะกลมเป็ น ข้ อ ปล้ อ งชั ด เจน เถามี สี เ ขี ย ว ไม่ มี มื อ เกาะ (tendril) ใช้ ก ารพั น รั ด ของล� ำ เถาในการไต่ ขึ้ น ที่ สู ง ช่ ว ยเกาะยึ ด พื ช ชนิ ด อื่ น และสิ่ ง ต่ า ง ๆ
ออกเป็ น ช่ อ อยู ่ ต ามง่ า มใบ ในช่ อ ๆ หนึ่ ง จะมี ด อกอยู ่ 3-4 ดอก ห้ อ ยระย้ า ลงมา ดอกรู ป กรวย (funnel form) โคนดอกแคบ ปลายดอกบานออกเป็ น กลี บ 5 กลี บ ดอกมี สี ม ่ ว งอ่ อ นๆ หรื อ สี ค ราม ดอกอ่ อ นที่ ยั ง ไม่ บ าน มี ใบประดั บ สี เ ขี ย วประน�้ ำ ตาลแดง ห่ อ หุ ้ ม อยู ่ ดอกบานเต็ ม ที่ ข นาดประมาณ 3 นิ้ ว เกสรตั ว ผู ้ 4 อั น
ใบ
เป็ น พื ช ใบเดี่ ย ว (simple leaf) จะออกทแยงขึ้ น ไป ตามล� ำ เถา แผ่ น ใบรู ป ไข่ (ovate) ปลายใบแหลม (acute) โคนใบมน (obtuse) ขอบใบเรี ย บ (entire) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate venation) เนื้ อ ใบบางเห็ น เส้ น ใบได้ ชั ด เจน ใบสี เ ขี ย วเข้ ม ออกใบดก
ผล
ลั ก ษณะเป็ น ผลแห้ ง (dry fruit) โคนผลกลม ปลายฝั ก เรี ย วแหลม เมื่ อ ผลแก่ จ ะแตกออกเป็ น 2 ซี ก
15
สรรพคุณ
รางจืด ราชาแห่งการล้างพิษ
เช่น พิษยาฆ่าแมลง พิษจากแอลกอฮอล์
บรรเทาอาการผื่นแพ้ รักษาแผล
แผลสด แผลไฟไหม้ น�้ำร้อนลวก มีฤทธิ์ ในการต้านอนุมูลอิสระ แก้อาการวิงเวียน อาเจียน ปวดศีรษะ รักษาอาการร้อนใน กระหายน�้ำ
16
พวงชมพู
Antigonon leptopus Hook.& Arn.
17
พวงชมพู Coral Vine
18
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Antigonon leptopus Hook.& Arn. ชื่อวงศ์
: POLYGONACEAE
ชื่อสามัญ
: Coral Vine
ชื่อท้องถิ่น
: พวงนาค (ไทย), ชมพูพวง (กรุงเทพฯ),
หงอนนาค (ปัตตานี)
นิเวศวิทยา มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด อยู ่ ในประเทศเม็ ก ซิ โ ก และทางใต้ ข องรั ฐ เท็ ก ซั ส สามารถขึ้ น ได้ ในดิ น ทั่ ว ไปตามป่ า เบญจพรรณ ที่ ร าบลุ ่ ม เป็ น พื ช กลางแจ้ ง ชอบแสงแดดจั ด หรื อ แสงแดดร� ำ ไร
19
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
ดอก
20
เป็ น พรรณไม้ เ ถา (climber) ขนาดเล็ ก มี ป ลายล� ำ เถาอ่ อ นสี เ ขี ย ว ส่ ว นโคนล� ำ เถามี ลั ก ษณะแข็ ง สี น�้ ำ ตาล มี มื อ เกาะ (tendril) ช่ ว ยในการไต่ ขึ้ น ที่ สู ง และยึ ด เกาะสิ่ ง ต่ า งๆ ล� ำ เถาทอดยอดยาวและเร็ ว
ออกดอกเป็ น ช่ อ แบบช่ อ กระจะ (raceme) ก้ า นดอกย่ อ ยออกจาก แกนกลางช่ อ ดอกกลางประกอบด้ ว ยดอกเล็ ก ๆ จ� ำ นวนมาก ดอกมี สี ข าวหรื อ สี ช มพู กลี บ ดอก มี 5 กลี บ กลี บ ดอกมี ข อบเรี ย บ ปลายเเหลมงุ ้ ม เข้ า เกสรตั ว ผู ้ 8 อั น เกสรตั ว เมี ย 3 อั น ปลายช่ อ มี มื อ เกาะ (tendril) ใช้ เ กี่ ย วสิ่ ง ต่ า งๆ เพื่ อ ใช้ เ ป็ น การพยุ ง ล� ำ ต้ น
ใบ
เป็ น พื ช ใบเดี่ ย ว (simple leaf) ใบออกเรี ย งสลั บ แบบ (alternate) แผ่ น ใบรู ป หั ว ใจ (cordate) ปลายใบเรี ย วแหลม (acute) โคนใบหยั ก เว้ า รู ป หั ว ใจ (cordate) ขอบใบเรี ย บ (entire) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบนิ้ ว มื อ (reticulate palmate venation) แผ่ น ใบสี เ ขี ย ว ออกใบดก
ผล
มี ลั ก ษณะแห้ ง (dry fruit) แบบ achene รู ป ร่ า งแบบสามเหลี่ ย ม มี ก ลี บ ดอกที่ แ ห้ ง ห่ อ หุ ้ ม อยู ่
21
สรรพคุณ
พวงชมพู เป็นยากล่อมประสาท ช่วยให้นอนหลับสบาย ช่วยให้คลายเครียด
22
ชุมเห็ดเทศ Cassia alata (L.) Roxb.
23
ชุมเห็ดเทศ Ringworm Bush
24
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cassia alata (L.) Roxb. หรือ
Senna alata (L.) Roxb
ชื่อวงศ์
: CAESAL PINIACEAE
ชื่อสามัญ
: Ringworm Bush
ชื่อท้องถิ่น
: ขี้คาก (ภาคเหนือ), ชุมเห็ดเทศ (ภาคกลาง, ภาคใต้),
ชุมเห็ดใหญ่, ตะสีพอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน),
ลับมืนหลวง, หมากกะลิงเทศ (ภาคเหนือ)
นิเวศวิทยา เป็ น พรรณไม้ ท ้ อ งถิ่ น ของประเทศเม็ ก ซิ โ ก พบขึ้ น ได้ ทั่ ว ไป ในประเทศไทย ทั้ ง บนที่ ร าบหรื อ บนภู เ ขาสู ง เป็ น พรรณไม้ ก ลางแจ้ ง ที่ โ ตขึ้ น ง่ า ย ชอบแสงแดดจั ด หรื อ จะปลู ก ตามริ ม น�้ ำ ก็ ได้ เพราะชอบความชื้ น สู ง
25
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
ดอก
26
เป็ น พรรณไม้ พุ ่ ม (shrub) ที่ เ ป็ น ไม้ เ นื้ อ อ่ อ น มี ล� ำ ต้ น สู ง ประมาณ 1-3 เมตร มี ก ารแตกกิ่ ง ก้ า นออกรอบต้ น ทางด้ า นข้ า ง และขนานกั บ แนวพื้ น
ออกดอกเป็ น ช่ อ แบบกระจะ (raceme) แต่ ล ะช่ อ จะประกอบด้ ว ย ดอกย่ อ ยสี เ หลื อ ง มี 5 กลี บ มี ก ลี บ ประดั บ สี เ หลื อ งแกมน�้ ำ ตาล 5 กลี บ ขนาดดอกเมื่ อ บานเต็ ม ที่ ก ว้ า งประมาณ 2 เซนติ เ มตร ช่ อ ดอกยาวประมาณ 20-40 เซนติ เ มตร เกสรตั ว ผู ้ ย าวมี 9-10 อั น
ใบ
เป็ น ใบแบบขนนกปลายคู ่ (pinnately compound leaf) แผ่ น ใบรู ป ขอบขนาน (oblong) ปลายใบมน (obtuse) โคนใบมน (obtuse) ขอบใบเรี ย บ (entire) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate venation) ขนาดของใบกว้ า งประมาณ 4 เซนติ เ มตร ยาวประมาณ 10 เซนติ เ มตร
ผล
จ ะ ติ ด ผ ล เ มื่ อ ด อ ก โ ร ย แ ล ้ ว โ ด ย เ ป ็ น ฝ ั ก สี เ ขี ย ว แ บ น แ บ บ ถั่ ว ( l e g u m e ) มี ค รี บ 4 ครี บ ฝั ก มี ผ นั ง กั้ น มี เ มล็ ด 50-60 เมล็ ด เมื่ อ แก่ จ ะกลายเป็ น สี น�้ ำ ตาล เข้ ม เกื อ บด� ำ และแตกออกตามแนวตะเข็ บ
27
สรรพคุณ
ชุมเห็ดเทศ เป็นยาระบาย บำ�รุงผิวหนัง รักษากลากเกลื้อน
รักษาโรคเหงือก เป็นยาขับปัสสาวะ ขับพยาธิใยลำ�ไส้ รักษาริดสีดวงทวาร
28
กระดังงาสงขลา Cananga odorata Hook.f. & Th. var. fruticosa (Craib) J.sincl.
29
กระดังงาสงขลา Dwarf Ylang-Ylang
30
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cananga odorata (Lam.) Hook.f. & Th. var. fruticosa (Craib) J.sincl. ชื่อวงศ์
: ANNONACEAE
ชื่อสามัญ
: Dwarf ylang-ylang
ชื่อท้องถิ่น
: กระดังงาเบา (ภาคใต้), กระดังงอ (มาเลย์-ยะลา)
นิเวศวิทยา มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด ในจั ง หวั ด สงขลา พบได้ ทั่ ว ไปในเขตร้ อ นชื้ น และป่ า ดงดิ บ แล้ ง ของภาคใต้ และแถบอิ น โดแปซิ ฟ ิ ค เป็ น พรรณไม้ ที่ ช อบอยู ่ ก ลางแจ้ ง ออกดอกตลอดปี เมื่ อ ได้ รั บ การดู แ ลอย่ า งเต็ ม ที่
31
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
เป็ น พรรณไม้ พุ ่ ม (shrub) สู ง ประมาณ 3-5 เมตร ล� ำ ต้ น เป็ น สี น�้ ำ ตาลเทาอ่ อ น ซึ่ ง มี ก ารแตกกิ่ ง ก้ า นสาขามาก
ดอก
32
ออกดอกเป็ น ดอกเดี่ ย ว หรื อ ออกช่ อ แบบกระจุ ก (cymose) ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั บ ดอกกระดั ง งาไทยแต่ มี ข นาดเล็ ก และมี ก ลิ่ น หอมน้ อ ยกว่ า ดอกอ่ อ นมี สี เ ขี ย ว และเมื่ อ แก่ จ ะเปลี่ ย นเป็ น สี เหลื อ ง มี ก ลี บ ดอกยาว 4-8 เซนติ เ มตร ประมาณ 15-24 กลี บ เกสรเพศผู ้ ย าวประมาณ 3 มิ ล ลิ เ มตร จ� ำ นวนมาก แกนอั บ เรณู หนึ่งในสามของเกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมียเกาะอยู่ ในระยะออกดอก ดอกยาวประมาณ 3-4 นิ้ ว ดอกส่ ง กลิ่ น หอมมากในช่ ว งเช้ า และเย็ น
ใบ
เป็ น ใบเดี่ ย ว (simple leaf) ออกเรี ย งแบบสลั บ (alternate) แผ่ น ใบรู ป ไข่ (ovate) ปลายใบแหลม (acute) โคนใบมน (obtuse) ขอบใบเรี ย บ (entire) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate venation) ใบมี สี เ ขี ย วเข้ ม ขนาดใบยาวประมาณ 5-8 เซนติ เ มตร
ผล
เป็ น ผลแบบกลุ ่ ม (aggregate fruit) มี รู ป ไข่ สี เ ขี ย วเข้ ม ขนาดประมาณ 1.5 - 2.3 เซนติ เ มตร เป็ น อาหาร ของสั ต ว์ ในป่ า
33
สรรพคุณ
กระดังสงขลา บ�ำรุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย แก้ลมวิงเวียน
เป็นยาขับปัสสะวะ รักษาโรคผิวหนัง แก้กลากเกลื้อน แก้คัน
แก้ร้อนใน กระหายน�้ำ ช่วยให้เจริญอาหาร
34
ชงโค
Bauhinia purpurea Linn
35
ชงโค
Purple bauhinia
36
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia purpurea Linn. ชื่อวงศ์
: LEGUMINOSAE-CAESAL PINIACEAE
ชื่อสามัญ
: Purple bauhinia
ชื่อท้องถิ่น
: กะเฮอ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เสี้ยวดอกแดง
(ภาคเหนือ), สะเปซี (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน)
นิเวศวิทยา มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด ในประเทศเขตร้ อ นทั่ ว ไป ได้ แ ก่ อิ น เดี ย และจี น ขึ้ น ตามป่ า ดิ บ เขาและป่ า โปร่ ง ทั่ ว ไป พบในทุ ก ภาคทั่ ว ประเทศ เป็ น พื ช กลางแจ้ ง ที่ ป ลู ก ง่ า ย เจริ ญ เติ บ โตได้ ดี ใ นดิ น ทุ ก ชนิ ด
37
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
ดอก
38
เป็ น พรรณไม้ ต ้ น (tree) ขนาดกลาง ล� ำ ต้ น สู ง ประมาณ 5-10 เมตร เป็ น พุ ่ ม ทรงกลม เปลื อ กล� ำ ต้ น มี สี น�้ ำ ตาลเทาผิ ว เรี ย บ
ดอกออกเป็ น ช่ อ ดอกเป็ น แบบสมมาตรตามแนวรั ศ มี (radial symmetry) มี ก ลี บ 5 กลี บ จั ด เรี ย งคล้ า ยกั บ ดอกกล้ ว ยไม้ มี เ กสรตั ว ผู ้ 8-9 อั น ตั ว เมี ย 1 เส้ น อยู ่ ต รงกลางดอก ดอกสี ช มพู แ ดงถึ ง สี ม ่ ว งเข้ ม ดอกบานเต็ ม ที่ ข นาดประมาณ 7 เซนติ เ มตร
ใบ
เป็ น ใบเดี่ ย ว (simple leaf) ออกเรี ย งสลั บ (alternate) แผ่ น ใบรู ป กลม (orbicular) ปลาย ใบเว้ า ลึ ก (obcordate) ขอบใบเรี ย บ (entire) โคนใบมน (obtuse) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate venation) เส้ น กลางใบสี ขาวปนเขี ย ว ขนาดใบกว้ า งประมาณ 7 เซนติ เ มตร
ผล
ผลเป็ น ฝั ก แบบถั่ ว (legume) ผลงอกจากดอกแก่ ฝั ก อ่ อ นสี เ ขี ย ว เมื่ อ แก่ เ ป็ น สี น�้ ำ ตาลเข้ ม ไม่ มี ผ นั ง กั้ น ขนาดยาวประมาณ10 เซนติ เ มตร ภายในมี เ มล็ ด แบน
39
สรรพคุณ
ชงโค รักษาอาการไข้ ดับพิษไข้ รักษาอาการไอ รักษาแผล ช่วยในการห้ามเลือด
ใบอ่อนเคี้ยวเพื่อลดกลิ่นปาก
ช่วยขับปัสสาวะ รักษาอาการท้องเสีย เป็นยาขับลม
40
กาหลง
Bauhinia acuminate L.
41
กาหลง
Snowy Orchid Tree
42
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bauhinia acuminate L. ชื่อวงศ์
: LEGUMINOSAE
ชื่อสามัญ
: Snowy Orchid Tree
ชื่อท้องถิ่น
: กาแจ๊ะกูโด (นราธิวาส), ส้มเสี้ยว (ภาคกลาง),
โยธิกา (นครศรีธรรมราช), เสี้ยวน้อย (เชียงใหม่)
นิเวศวิทยา มี ต ้ น ก� ำ นิ ด แถบทวี ป เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ แ ละศรี ลั ง กา พบขึ้ น ได้ ทั่ ว ไปตาม ป่ า เบญจพรรณทั่ ว ไปที่ มี น�้ ำ พอประมาณ ชอบอากาศร้ อ นชื้ น และแสงแดดจั ด
43
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
เป็ น พรรณไม้ พุ ่ ม (shrub) ขนาดเล็ ก ล� ำ ต้ น สู ง ประมาณ 2-4 เมตร เปลื อ กล� ำ ต้ น แข็ ง สี น�้ ำ ตาล กิ่ ง อ่ อ นมี สี เ ขี ย วและมี ข นสี ข าวปกคลุ ม เมื่ อ เริ่ ม แก่ กิ่ ง จะเกลี้ ย งไม่ มี ข น
ดอก
44
ดอกออกเป็ น ช่ อ แบบช่ อ กระจะ (raceme) ดอกเป็ น รู ป ระฆั ง (bell-shaped) ดอกมี สี ข าว กลี บ มี 5 กลี บ ปลายกลี บ มน สอบตรงโคนดอก ช่ อ หนึ่ ง มี ด อกประมาณ 5-8 ดอก เ ก ส ร ตั ว ผู ้ มี 5 เ ส ้ น ป ล า ย เ ก ส ร มี สี เ ห ลื อ ง เ ก ส ร ตั ว เมี ย สี เ ขี ย วกลางดอกมี 1 เส้ น มี ข นาดใหญ่ แ ละยาวกว่ า เกสรตั ว ผู ้ ดอกบานเต็ ม ที่ ข นาดประมาณ 5 เซนติ เ มตร
ใบ
เป็ น ใบเดี่ ย ว (simple leaf) แผ่ น ใบรู ป ไข่ (ovate) ปลายใบเว้ า ลึ ก (obcordate) ขอบใบเรี ย บ (entire) โคนใบรู ป หั ว ใจ (cordate)เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate venation) แผ่ น ใบสี เ ขี ย วพั บ เข้ า หากั น ขนาดของใบ ประมาณ 2-5 เซนติ เ มตร
ผล
เป็ น แบบฝั ก ถั่ ว (legume) ลั ก ษณะแบน ยาวประมาณ 10-12 เซนติ เ มตร ที่ ป ลาย และโคนฝั ก จะแหลม ขอบฝั ก มี สั น หนา ฝั ก อ่ อ นมี สี เ ขี ย วเมื่ อ แก่ มี สี น�้ ำ ตาลแตกได้ ภายในมี เ มล็ ด 5-12 เมล็ ด
45
สรรพคุณ
กาหลง ลดความดันโลหิต รักษาอาการปวดศีรษะ รักษาเลือดออกตามไรฟัน
รักษาแผลในจมูก รักษาโรคสตรี
อาการปวดท้องประจ�ำเดือน
รักษาอาการไอ ขับเสมหะ
46
อัญชัน
Clitoria ternatea L.
47
อัญชัน
Butterfly Pea
48
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Clitoria ternatea L. ชื่อวงศ์
: LEGUMINOSAE-PAPILIONOIDEAE
ชื่อสามัญ
: Butterfly Pea
ชื่อท้องถิ่น
: แดงชัน (เชียงใหม่), เอื้องชัน (เหนือ)
นิเวศวิทยา เป็นพรรณไม้ที่มีต้นก�ำเนิดอยู่ ในทวีปอเมริกาใต้ แต่พบได้ทั่วไป ในเขตร้ อ น ชอบทั้ ง แดดจั ด และร� ำ ไร ออกดอกตลอดปี ออกดอกได้ ทุ ก สภาพแสง แต่ ถ ้ า ร่ ม หรื อ ชื้ น เกิ น ไป ใบจะใหญ่ มากกว่ า ปกติ และหากดิ น มี แ ร่ ธ าตุ น ้ อ ยเกิ น ไป ใบจะเป็ น จุ ด สี ข าวและไม่ ค ่ อ ยมี ด อก
49
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
เป็ น ไม้ เ ถา (climber) ขนาดเล็ ก ล� ำ เถามี ข นาดเล็ ก และอ่ อ น เถาอ่ อ นมี ข นนุ ่ ม ปกคลุ ม ล� ำ ต้ น จะเลื้ อ ย และพั น ไม้ อ่ื น ได้ ไ กล 1-5 เมตร
ดอก
50
ดอกเป็ น ดอกเดี่ ย ว (solitary flower) มี ก ลี บ เลี้ ย งเป็ น วงสี เ ขี ย ว ดอกรู ป ร่ า งคล้ า ยดอกถั่ ว (zygomorphic) มี ห ลายสี ตั้ ง แต่ สี น�้ ำ เงิ น หรื อ สี น�้ ำ เงิ น อมม่ ว ง จนถึ ง สี ข าว เส้ น ใบดอกชั ด เจน ออกดอกตลอดปี ดอกมี ก ลี บ ดอก 5 กลี บ คื อ (standard 1 กลี บ , wing 2 กลี บ , keel 2 กลี บ ) บางครั้ ง อาจพบประเภทที่ มี ก ลี บ ดอกซ้ อ นกั น มากกว่ า นี้ ขนาดกว้ า งประมาณ 3.5 เซนติ เ มตร
ใบ
เป็ น ใบประกอบขนนกชั้ น เดี ย ว (pinnately compound leaf) แผงละ 5-9 ใบใบมี ข นาดเล็ ก แผ่ น ใบรู ป ไข่ (ovate) ปลายใบแหลม (acute) โคนใบมน (obtuse) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบ ขนนก (reticulate pinnate venation) ใบยาว ประมาณ 1-3 เซนติ เ มตร
ผล
เป็ น ฝั ก แบนแบบฝั ก ถั่ ว (legume) มี ป ลายแหลม รู ป ร่ า งคล้ า ยดาบ เมื่ อ แก่ จ ะเปลี่ ย นเป็ น สี น�้ ำ ตาลถึ ง ด� ำ
51
สรรพคุณ
อัญชัน
มีสารเอนโทไซยานิน กระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ช่วยให้ผมดกด�ำเงางาม ต่อต้านอนุมูลอิสระ แก้ฟกช�้ำ แก้พิษแมลงกัดต่อย ลดความเสี่ยง
การเกิดเส้นเลือดอุดตัน บ�ำรุงดวงตา
แก้อาการตาฟาง ตาพร่ามัว เป็นยาระบาย ขับปัสสาวะ
52
สายน้ำ�ผึ้ง
Lonicera japonica Thunb.
53
สายน้ำ�ผึ้ง
Lonicera
54
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Lonicera japonica Thunb. ชื่อวงศ์
: CAPRIFOLIACEAE
ชื่อสามัญ
: Lonicera
ชื่อท้องถิ่น
: กิมงึงฮวย (จีน), สายน้ำ�ผึ้ง (กรุงเทพฯ)
นิเวศวิทยา มี ต ้ น ก� ำ เนิ ด อยู ่ ในทวี ป เอเชี ย เป็ น พรรณไม้ ที่ ปลู ก ได้ ทั้ ง ในสภาพอากาศร้ อ นและเย็ น สามารถ เจริ ญ เติ บ โตได้ ใ นดิ น ทุ ก ชนิ ด ออกดอกตลอดปี
55
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ ต้น
เป็ น พรรณไม้ เ ถา (climber) ล� ำ เถากลม มี ก ้ า นช่ อ ดอกหนาแน่ น ล� ำ เถาอ่ อ นมี สี เ ขี ย ว และมี ข นแข็ ง สี น�้ ำ ตาลแกมเหลื อ งปกคลุ ม เมื่ อ แก่ จ ะมี สี น�้ ำ ตาลแก่
ดอก
56
ดอกช่ อ แบบช่ อ กระจุ ก (cymose) ช่ อ หนึ่ ง มี ด อกประมาณ 10-20 ดอก มี ก ลิ่ น หอม รู ป ไข่ ถึ ง รู ป รี ดอกรู ป หลอด (tubular form) ดอกมี ข นาด ยาวประมาณ 4 เซนติ เ มตร กลี บ ดอกรู ป ปากเปิ ด ดอกสี ข าวหรื อ สี เ หลื อ งอ่ อ นและเปลี่ ย นเป็ น สี เ หลื อ ง โคนกลี บ ดอกจะเชื่ อ มติ ด กั น เป็ น หลอด ส่ ว นปลายแยกออกเป็ น ส่ ว นบน 1 กลี บ ส่ ว นล่ า ง 4 กลี บ มี เ กสรตั ว ผู ้ 5 อั น มี ก ลิ่ น หอม
ใบ
เป็ น ใบเดี่ ย ว (simple leaf) แผ่ น ใบรู ป หอก (lanceolate) ปลายใบแหลม (acute) โคนใบมน (obtuse) ขอบใบเรี ย บ (entire) เส้ น ใบเป็ น ร่ า งแหแบบขนนก (reticulate pinnate vanetion) แผ่ น ใบมี ข นาดกว้ า ง 1.5-4 เซนติ เ มตร ยาว 3-8 เซนติ เ มตร เส้ น กลางใบสี ข าว แผ่ น ใบสี เ ขี ย วเข้ ม เป็ น มั น เงา ค่ อ นข้ า งหนาและแข็ ง ที่ บ นผิ ว ใบมี ข นนุ ่ ม
ผล
ผลเป็ น แบบผลสด (fleshy fruit) เมื่ อ สุ ก มี สี ด� ำ เป็ น มั น เงา ทรงกลม ขนาดเส้ น ผ่ า นศู น ย์ ก ลางประมาณ 0.5-0.7 เซนติ เ มตร มี เ มล็ ด สี น�้ ำ ตาลเข้ ม 2-3 เมล็ ด
57
สรรพคุณ
สายน้ำ�ผึ้ง แก้ล�ำไส้อักเสบ รักษาอาการไอ ช่วยขับปัสสาวะ เป็นยาเจริญอาหาร รักษาหอบหืด แก้ท้องเสีย แก้บิด
58
ประวัติผู้เขียน นางสาว รวิสรา บุญนาค ( ผักกาด ) สาขาเทคโทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล FACEBOOK : Rawisara Bunnak E-mail : rawizzpks@gmail.com
59
60
บรรณานุกรม จิ ร ายุ พิ น จั น ทร์ ป ระสงค์ . ไม้ ต ้ น ประดั บ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2 . บริ ษั ท อมริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พั บ ลิ ช ชิ่ ง จ� ำ กั ด (มหาชน); 2543. เจนจบ ยิ่ ง สุ ม ล. (2555). สารานุ ก รมสมุ น ไพรไทย. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 . กรุ ง เทพฯ: บริ ษั ท วี . พริ้ น ท์ จ� ำ กั ด ; 2555. ดวงแก้ ว ศรี ลั ก ษณ์ . ดอกไม้ น ่ า ปลู ก . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3 . กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ สงแดด; 2548. ปิ ย ะ เฉลิ ม กลิ่ น . ไม้ ด อกหอม. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 5 . บริ ษั ท อมริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พั บ ลิ ช ชิ่ ง จ� ำ กั ด (มหาชน); 2543. พร้ อ มจิ ต ศรลั ม พ์ , วงศ์ ส ถิ ต ย์ ฉั่ ว กุ ล , สมภพ ประธานธุ ร ารั ก ษ์ . สมุ น ไพรสวนสิ ริ รุ ก ขชาติ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3 . กรุ ง เทพฯ: บริ ษั ท อมริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พั บ ลิ ช ชิ่ ง จ� ำ กั ด (มหาชน); 2543 พร้ อ มจิ ต ศรลั ม พ์ , วงศ์ ส ถิ ต ย์ ฉั่ ว กุ ล , สมภพ ประธานธุ ร ารั ก ษ์ . สยามไภษั ช ยพฤกษ์ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 3 . กรุ ง เทพฯ: บริ ษั ท อมริ น ทร์ พ ริ้ น ติ้ ง แอนด์ พั บ ลิ ช ชิ่ ง จ� ำ กั ด (มหาชน); 2543 วุ ฒิ วุ ฒิ ธ รรมเวช. ย่ อ เภสั ช กรรมไทยและสรรพคุ ณ สมุ น ไพร. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2 . บริ ษั ท ศิ ล ป์ ส ยาม บรรจุ ภั ณ ฑ์ แ ละการพิ ม พ์ จ� ำ กั ด ; 2548 สมสุ ข มั จ ฉาชี พ , อุ ด มลั ก ษณ์ มั จ ฉาชี พ . ไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 . กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ แ พร่ พิ ท ยา; 2536 เศรษฐมั น ตร์ กาญจนกุ ล . ไม้ ด อกหอม เล่ ม 1. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 . กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ เ ศรษฐศิ ล ป์ ; 2550 เศรษฐมั น ตร์ กาญจนกุ ล . ร้ อ ยพรรณพฤกษา พรรณไม้ ด อกไม้ ป ระดั บ 2. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 1 . กรุ ง เทพฯ: ส� ำ นั ก พิ ม พ์ เ ศรษฐศิ ล ป์ ; 2550 florafaunaweb.nparks.gov.sg. Singapore; [Internet]. c 2013 Retrieved May 10, 2018, Available from; https://florafaunaweb.nparks.gov.sg/special-pag es/plant-detail.aspx?id=1312
61
62
63