สารบัญ หน้ า กิตติกรรมประกาศ รายชื่อคณะที่ปรึกษา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรู ป
ก ข ค จ ฉ
บทที่ 1
บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล 1.2 วัตถุประสงค์ 1.3 ขอบเขตของงาน 1.4 แนวทางการดาเนินงาน
บทที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ข้อดี ข้ อเสีย ข้ อจากัด และเสนอแนะแนวทางการดาเนิ นงาน บารุงปกติ 2-1 2.1 ศึกษาและเก็บข้ อมูลรูปแบบการดาเนินงานบารุงปกติของกรมทางหลวงชนบท 2-1 2.2 วิเคราะห์ข้อดี ข้ อเสีย และข้ อจากัดในการดาเนินงานบารุงปกติในปั จจุบนั 2-6 2.3 เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานบารุงปกติของกรมทางหลวงชนบท 2-10
บทที่ 3
ศึกษารู ปแบบ และวิธีจ้างภาคเอกชนในภารกิจที่เกี่ยวข้ องกับงานบารุงปกติ 3.1 สารวจเอกสารทังในประเทศและต่ ้ างประเทศ 3.2 ศึกษาและเก็บข้ อมูลเบื ้องต้ นถึงรูปแบบที่ดาเนินงานในปั จจุบนั ของภาครัฐ 3.3 ศึกษารูปแบบสัญญาสาหรับการดาเนินงานจ้ างเหมาในปั จจุบนั
บทที่ 4
วิเคราะห์ และเปรี ยบเทียบความคุ้มค่ าในการลงทุน และผลประโยชน์ ท่ ีเกิดขึน้ ระหว่ างการจ้ างเหมาภาคเอกชน และการดาเนินงานเอง 4-1 4.1 ปั ญหา และอุปสรรคในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินในภารกิจบารุงปกติงานทาง และข้ อเสนอแนะในการแก้ ไขปั ญหา 4-1 4.2 เปรี ยบเทียบผลระหว่างการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ าร่วมดาเนินงานในงานบารุงปกติ งานทางกับการที่ภาครัฐดาเนินการบารุงรักษาเอง 4-7
สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1-1 1-1 1-2 1-2 1-3
3-1 3-1 3-10 3-15
ค
สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 5 พัฒนาแนวทางการปรั บปรุ งรู ปแบบการจ้ างสาหรั บใช้ จ้างเอกชนในงานบารุ งปกติ ของกรมทางหลวงชนบท 5-1 5.1 พัฒนาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการจ้ างสาหรับใช้ จ้างเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท 5-1 ภาคผนวก ภาคผนวก ก ระเบียบวิธ๊การจ้ างเหมา
ผ-1 ผ-2
ภาคผนวก ข รหัสการดาเนินงาน และประเภทการดาเนินงานของกรมทางหลวง
ผ-17
ภาคผนวก ค การขึ ้นทะเบียนผู้รับเหมาของกรมทางหลวง ภาคผนวก ง การค ้าประกันผลงานของกรมทางหลวง
ผ-25 ผ-52
ภาคผนวก จ ระเบียบการจัดจ้ าง ข้ อบังคับ และแนวทางในการปฏิบตั ิ
ผ-55
ภาคผนวก ฉ รายละเอียดเอกสารที่เกี่ยวข้ อง และตัวอย่างเอกสาร
ผ-82
สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ง
สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 2.1 วิธีการและขันตอนการควบคุ ้ ม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล 2-4 ตารางที่ 3.1 ตัว อย่า งระยะเวลาของสัญญาจ้ า งในงานบ ารุ ง ปกติประเภทต่า งๆ ของประเทศ นิวซีแลนด์ 3-7 ตารางที่ 3.2 ตัวอย่างเกณฑ์มาตรฐานของงานบารุงรักษาผิวทางแอสฟั ลต์ 3-9 ตารางที่ 3.3 สิทธิในการประกวดราคา และสอบราคาผู้รับเหมาที่ขึ ้นทะเบียนประเภทที่ 10-16 3-14 ตารางที่ 4.1 การเปรี ยบเที ยบโครงสร้ างต้ นทุนในงานบารุ ง ปกติของแขวงการทางระหว่างการ ดาเนินการเองและการจ้ างเอกชน 4-10 ตารางที่ 4.2 การเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางตรงเฉลี่ยระหว่างการดาเนิ นการเองและ การจ้ างเอกชน ของงานบารุงปกติบางประเภท 4-11 ตารางที่ 4.3 งบประมาณการดาเนินงานของแขวงการทางสมุทรปราการประจาปี 2544 4-14 ตารางที่ 4.4 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมของแขวงการทางจาแนกตามประเภทกิจกรรม 4-15 ตารางที่ 4.5 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม (ดาเนินการเอง) ไปเป็ นต้ นทุนของงานบารุงปกติประเภท ต่างๆ 4-15 ตารางที่ 4.6 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม (จ้ างเอกชน) ไปเป็ นต้ นทุนของงานบารุ งปกติประเภท ต่างๆ 4-16 ตารางที่ 4.7 ต้ นทุนต่อหน่วยในการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนของงานบารุ งปกติประเภท ต่างๆ 4-16
สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
จ
สารบัญรูป หน้ า รูปที่ รูปที่ รูปที่ รูปที่ รูปที่
1.1 2.1 2.2 2.3 3.1
แนวทางการดาเนินงานของโครงการ กระบวนการปฏิบตั งิ านบารุงปกติ ผังโครงสร้ างบารุงปกติ ผังแสดงระบบการควบคุม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผลงานบารุงปกติ การสัมภาษณ์ เชิงลึก การดาเนิน การจ้ างเหมากิจกรรมบารุ งปกติสานักงานบารุ งทาง หลวงพิเศษระหว่างเมือง (motorway) รูปที่ 4.1 ผังโครงสร้ างองค์กรของแขวงการทาง รูปที่ 4.2 แนวทางการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม
สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1-4 2-2 2-3 2-4 3-12 4-8 4-12
ฉ
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล ในปั จจุบนั กรมทางหลวงชนบทต้ องรับผิดชอบดูแลรักษาระบบโครงข่ายทางหลวงชนบททัว่ ประเทศ กว่า 40,000 กิโลเมตร และสะพานมากกว่า 7,000 แห่ง ให้ สามารถใช้ งานได้ อย่างสะดวกและปลอดภัย ตลอดอายุก ารใช้ ง าน อย่า งไรก็ ต ามทางหลวงเหล่ า นี เ้ มื่ อ เปิ ดการใช้ งานไปได้ ร ะยะหนึ่ ง ย่ อ มมี ก าร เสื่อมสภาพลงตามอายุ ทาให้ ขีดความสามารถในการใช้ งาน รวมทังความสะดวกปลอดภั ้ ยของผู้ใช้ ทางลด น้ อยลง ดังนันภารกิ ้ จดูแลและบารุ งรักษาสิ่งก่อสร้ างเหล่านีใ้ ห้ อยู่ในสภาพที่สามารถใช้ งานได้ ดีอยู่อย่าง สม่ าเสมอจึง เป็ นหนึ่ง ในภารกิ จ ที่ ส าคัญ ยิ่ง ของกรม ซึ่ง แต่เดิม นัน้ ภาครั ฐ มักจะให้ ความส าคัญกับการ ก่อสร้ างทางหลวงมากกว่าการบารุงรักษาทาให้ งบประมาณสาหรับการบารุงรักษาที่ได้ รับมีจากัด ส่งผลให้ ทางหลวงขาดการซ่อมบารุ งรักษาที่เพียงพอ อย่างไรก็ตามในปั จจุบนั ภาครัฐได้ เริ่ มให้ ความสาคัญต่อการ บารุงรักษาทางหลวงเพิ่มขึ ้น เนื่องจากทางหลวงที่ไม่ได้ รับการบูรณะบารุงรักษาอย่างทันท่วงทีอาจส่งผลให้ เกิดความชารุดเสียหายหนักจนถึงต้ องสร้ างใหม่ซงึ่ จาเป็ นต้ องใช้ งบประมาณจานวนมาก ในส่วนของงานบารุ งรักษาทางนันสามารถจ ้ าแนกออกได้ เป็ นหลายประเภทได้ แก่ งานบารุ งปกติ งานบารุงตามกาหนดเวลา งานบารุงพิเศษ และงานซ่อมฉุกเฉิน เป็ นต้ น ซึง่ ภารกิจด้ านการบารุงรักษาต่างๆ เหล่านี ้นัน้ ได้ เปิ ดโอกาสให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมในการดาเนินการด้ วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในงาน บารุงตามกาหนดเวลา งานบารุ งพิเศษ และงานซ่อมฉุกเฉิน ซึ่งเป็ นงานที่มีมลู ค่างานต่อการดาเนินการใน แต่ล ะครั ง้ ที่ ค่อ นข้ า งมากและสามารถระบุป ริ ม าณงานได้ ชัด เจนนัน้ ภาครั ฐ ได้ ท าการจ้ า งเหมาให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการเป็ นส่วนใหญ่ ในขณะที่งานบารุ งปกตินนั ้ กรมยังคงดาเนินการเองอยู่เกือบ ทังหมด ้ แต่อย่างไรก็ตาม สืบเนื่องจากการที่ภาครัฐได้ ดาเนินการจัดทาแผนแม่บทในการปฏิรู ประบบราชการ (พ.ศ.2550 – พ.ศ.2554) เพื่อปรับเปลี่ยนบทบาทในการทางานในระบบราชการขึ ้นใหม่ โดยได้ มีการ กาหนดแนวทางและวิธี การต่างๆในการปรั บบทบาท ภารกิจ และขนาดของหน่วยงานภาครั ฐเพื่อให้ มี ประสิทธิภาพในการทางานเพิ่มขึ ้น มีการปรับปรุงกฎระเบียบ และขันตอนวิ ้ ธีการในการบริ หารส่วนราชการ การพัฒนาคุณภาพของบุคลากรภาครัฐ การเร่งรัดการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่น การนาเทคโนโลยีตา่ งๆเข้ า มาใช้ ในการพัฒนาหน่วยงาน การปรับโครงสร้ างส่วนราชการ พร้ อมทังจ ้ ากัดบทบาทและจานวนบุคลากร ของภาครัฐลง และส่งเสริ มให้ เอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในการดาเนินการในภารกิจของรัฐมากขึ ้น ซึ่งการ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ปรับเปลี่ยนบทบาทดังกล่าวนี ้ ภาครัฐมีแนวคิดในการเน้ นการดาเนินการเองเฉพาะภารกิจหลักที่มีความ จ าเป็ น เพื่ อให้ ภ าครั ฐ มี ขนาดองค์ กรที่ เ ล็ ก ลง มี ค วามคล่องตัว และยื ดหยุ่นในการบริ ห ารงานมากขึน้ ประหยัดงบลงทุนเบื ้องต้ น รวมทังภาครั ้ ฐสามารถที่จะใช้ เวลาสนใจในการวางแผนการจัดการงานต่างๆ ได้ มากขึ ้น จากนโยบายดังกล่าว ภารกิจบารุงปกติของงานทางซึ่งกรมยังคงดาเนินการเองเป็ นส่วนใหญ่นนั ้ จึง เป็ นอีกภารกิจหนึง่ ที่กรมได้ ให้ ความสนใจและมีนโยบายที่จะส่งเสริ มให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินงาน แต่อ ย่างไรก็ ตามในการที่ กรมจะทาการจ้ างเหมาให้ ภ าคเอกชนเข้ ามาร่ วมดาเนินงานนัน้ จาเป็ นต้ องมีการศึกษาถึงผลที่เกิดขึ ้นจากการจ้ างภาคเอกชน ทังในด้ ้ านคุณภาพ ระยะเวลา และต้ นทุนใน การดาเนินงาน รวมถึงปั ญหาหรื ออุปสรรคที่อาจเกิดขึ ้นเมื่อดาเนินการจ้ าง ตลอดจนแนวทางในการพัฒนา รูปแบบสัญญาจ้ างเพื่อให้ มีความเหมาะสมในการนามาใช้ สาหรับงานบารุ งปกติ เพื่อให้ เกิดประโยชน์ต่อ ภาครัฐในการตัดสินใจหรื อกาหนดนโยบายในการดาเนินการเกี่ ยวกับการบารุ งรั กษาทางให้ ไ ด้ อย่างมี ประสิทธิภาพ 1.2 วัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์ของโครงการศึกษารูปแบบการจ้ างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวง ชนบท (Alternative Procurement and Contracting Methods for Rural Road Routine Maintenance) เพื่อ ศึกษาถึงแนวทางและรู ปแบบต่างๆในการจ้างเอกชนเข้ามามี ส่วนร่ วมในการดาเนิ นงานบารุงปกติ งาน ทาง ปั ญ หาหรื อ อุป สรรคที ่ค าดว่ า จะเกิ ดขึ้ น รวมถึ ง ข้ อเสนอแนะในการแก้ไ ขปั ญหาดัง กล่ า ว เพื ่อให้ หน่วยงานสามารถดาเนิ นการได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพและเกิ ดประโยชน์อย่างเต็มที ่ 1.3 ขอบเขตของงาน โครงการศึ ก ษารู ป แบบการจ้ างเหมาภาคเอกชนในงานบ ารุ ง ปกติ ข องกรมทางหลวงชนบท ประกอบด้ วยขอบเขตของงานดังต่อไปนี ้ 1. ศึก ษา วิ เ คราะห์ ข้ อดี ข้ อ เสี ย ข้ อ จ ากั ด และเสนอแนะแนวทางการด าเนิ น งานบ ารุ ง ปกติ ของกรมฯ 2. ศึกษารูปแบบวิธีการจ้ างภาคเอกชน ในภารกิจที่เกี่ยวข้ องกับงานบารุงปกติ ของหน่วยงานต่างๆ ทังในและต่ ้ างประเทศ 3. วิเคราะห์ และ เปรี ยบเทียบ ความคุ้มค่าในการลงทุนและประโยชน์ที่เกิดขึ ้นระหว่างการจ้ างเหมา ภาคเอกชนเข้ ามาร่วมดาเนินงานในงานบารุ งปกติงานทางกับการที่กรมฯดาเนินการบารุงรักษา เอง สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
4. พัฒนาแนวทางการปรับปรุ งรู ปแบบการจ้ างสาหรับใช้ จ้างเอกชนในงานบารุ งปกติของกรมทาง หลวงชนบท 1.4 แนวทางการดาเนินงาน การดาเนินงานเพื่อพัฒนารู ปแบบสัญญาจ้ างเพื่อให้ มีความเหมาะสมในการนามาใช้ สาหรับงาน บารุงปกติ มีการศึกษาถึงผลที่เกิดขึ ้นจากการจ้ างภาคเอกชน ทังในด้ ้ านคุณภาพ ระยะเวลา และต้ นทุนใน การดาเนิ นงาน รวมถึง ปั ญ หาหรื ออุป สรรคที่ อาจเกิ ด ขึน้ เมื่ อ ดาเนิ นการจ้ า ง ตลอดจนวิ เ คราะห์ และ เปรี ยบเทียบ ความคุ้มค่าในการลงทุนและประโยชน์ที่เกิดขึ ้นระหว่างการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาร่ วม ดาเนินงานในงานบารุ งปกติงานทางกับการที่ กรมฯดาเนินการบารุ ง รักษาเอง เพื่ อให้ เกิดประโยชน์ต่อ ภาครัฐในการตัดสินใจหรื อกาหนดนโยบายในการดาเนินการเกี่ ยวกับการบารุ งรั กษาทางให้ ไ ด้ อย่างมี ประสิทธิภาพ แนวทางการดาเนินงานโครงการศึกษารู ปแบบการจ้ างเหมาภาคเอกชนในงานบารุ งปกติของกรม ทางหลวงชนบทนี ้ประกอบด้ วยองค์ประกอบงานทังหมด ้ 5 องค์ประกอบงาน แสดงดังรูปที่ 1.1
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
-
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท องค์ ประกอบงานที่ 1
องค์ ประกอบงานที่ 2
ศึกษา วิเคราะห์ ข้ อดี ข้ อเสีย ข้ อจากัด และเสนอแนะแนวทางการดาเนินงานบารุงปกติ
ศึกษารูปแบบและวิธีจ้างภาคเอกชนในภารกิจที่เกี่ยวข้ องกับงานบารุงปกติ
ศึกษา และเก็บข้ อมูลรูปแบบการดาเนินงานบารุงปกติของกรมฯ วิเคราะห์ข้อดี ข้ อเสีย และข้ อจากัดของการดาเนินงานบารุงปกติของกรมฯ ศึกษา รูปแบบและขีดความสามารถของบุคลากร เครื่องจักร เครื่องมือในการดาเนินงานบารุงปกติ เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานบารุงปกติของกรมฯ
-
สารวจเอกสารทังในประเทศ ้ และต่างประเทศ ศึกษาและเก็บข้ อมูลเบื ้องต้ นถึงรูปแบบที่ดาเนินงานในปั จจุบนั ของภาครัฐ ศึกษาระเบียบการจัดจ้ าง ข้ อบังคับ และแนวทางการปฏิบตั ิ ศึกษาเรื่องที่เกี่ยวกับการค ้าประกันผลงาน และการตรวจรับงาน
องค์ ประกอบงานที่ 3 วิเคราะห์ และเปรียบเทียบความคุ้มค่าในการลงทุน และประโยชน์ที่เกิดขึ ้นระหว่างการจ้ างเหมาภาคเอกชน และการที่กรมฯ ดาเนินงานบารุงรักษาเอง - ศึกษาปั ญหาและอุปสรรคในการให้ เอกชนเข้ ามาดาเนินการในภารกิจบารุงรักษาปกติงานทาง และข้ อเสนอแนะในการแก้ ไขปั ญหา - เปรียบเทียบผลระหว่างการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาร่วมดาเนินงานในงานบารุงปกติงานทางกับการที่ภาครัฐดาเนินการบารุงรักษาเอง
องค์ ประกอบงานที่ 4 พัฒนาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการจ้ างสาหรับใช้ จ้างเอกชนในงานบารุงปกติของทางหลวงชนบท - พัฒนาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการจ้ างสาหรับใช้ จ้างเอกชนในงานบารุงปกติของกรมทางหลวงชนบท - พัฒนาฟั งก์ชนั่ การติดตามการดาเนินงาน การเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้ อมูลต่างๆ การป้องกันข้ อมูล และการรายงานผล องค์ ประกอบงานที่ 5
ที่ 1.1กแนวทางการด าเนินงานของโคร สรุรูปปผลการศึ ษา และจัดทารายงานและเอกสาร รูปที่ 1.1 แนวทางการดาเนินงานของโครงการ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1- 4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บทที่ 2 ศึกษา วิ เคราะห์ข้อดี ข้อเสีย ข้อจากัด และเสนอแนะแนวทางการดาเนิ นงานบารุงปกติ คณะที่ ป รึ ก ษาได้ ศึก ษาปั ญ หา วิ ธี ป ฏิ บัติง าน การติด ตามและประเมิ น ผลการบ ารุ ง รั ก ษาทาง กิจกรรมบารุ งปกติของกรมทางหลวงชนบท ตลอดจนข้ อเสนอแนะต่างๆในการปรับปรุ งงานบารุ งปกติ จากสานักบารุ งทาง สานักทางหลวงชนบท และสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด โดยดาเนินการศึกษา จากเอกสารการวิจยั ที่ผ่านมา ศึกษาจากคูม่ ือการบารุงปกติ ตลอดจนการดาเนินงานการสัมมนากลุ่มย่อย (Focus Group) โดยรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 2.1 ศึกษา และเก็บข้ อมูลรู ปแบบการดาเนินงานบารุ งปกติของกรมทางหลวงชนบท 1. กระบวนการในการปฏิบัตงิ านบารุงปกติ จากการศึกษาคูม่ ือบารุงปกติผิวทาง สานักบารุงทาง กรมทางหลวงชนบท พบว่ากระบวนการใน การปฏิบตั งิ านบารุงปกติเริ่ มตังแต่ ้ ก่อนเดือนตุลาคมของทุกปี (ต้ นปี งบประมาณ) โดยเจ้ าหน้ าที่ที่เกี่ยวข้ อง จัดชุดออกสารวจและประเมินสภาพความเสียหายของสายทาง เพื่อนาข้ อมูลมาพิจารณาคัดเลือกว่าสาย ทางใดควรดาเนินการซ่อมบารุงโดยกิจกรรมใด เมื่อคัดเลือกสายทางที่เหมาะสม จะทาการซ่อมบารุ งด้ วย วิธีบารุ งปกติแล้ วนาข้ อมูลที่ได้ จากการสารวจในสนามจัดทาประมาณการค่าใช้ จ่าย จัดส่งให้ หน่วยงาน ตามสายบังคับบัญชาเป็ นผู้ต รวจสอบ และอนุมตั ิ จากนัน้ ทาการจัดซื ้อวัสดุ พร้ อมทัง้ จัดเตรี ยมแผนการ ดาเนินงาน บุคลากร เครื่ องมือ และเครื่ องจักรกลในการซ่อมบารุ ง และเข้ าดาเนินการตามแผนงาน เมื่อ ดาเนินการแล้ วเสร็ จจัดทารายงานผลการดาเนินงาน ขณะเดียวกันหลังจากดาเนินการซ่อมบารุงแล้ วเสร็ จ เจ้ าหน้ าที่ชุดบารุ งรักษาจะเข้ าตรวจสอบสภาพทางอยู่เสมอ หากพบเห็นความเสียหาย จะจัดเตรี ยมแผน เข้ าซ่อมบารุ งในรอบต่อไป โดยการตรวจสอบและซ่อมบารุ งปกติจะทาอย่างต่อเนื่องตลอดปี งบประมาณ เมื่ อใกล้ สิน้ ปี งบประมาณจึง เริ่ ม ต้ นกระบวนการในการปฏิ บัติตามที่ กล่าวไว้ ข้างต้ น โดยกระบวนการ ปฏิบตั งิ านบารุงปกติดงั แสดงรูปที่ 2.1 2. การจัดการโครงสร้ างงานบารุงปกติ เพื่อให้ การบริ หารจัดการงานบารุ งปกติเป็ นไปอย่างมีระบบ กรมทางหลวงชนบทจึงได้ กาหนด โครงสร้ างภายใน และจัดทาคาสัง่ มอบหมายหน้ าที่รับผิดชอบอย่างชัดเจน ทาให้ การควบคุม ตรวจสอบ กากับดูแล และการติดตามประเมินผลเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตามการมอบหมายงานตาม
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
โครงสร้ างนัน้ จาเป็ นต้ องพิจารณาถึงความเหมาะสมของปริ มาณถนนในความรับผิดชอบ อัตรากาลังของ ข้ าราชการ เจ้ าหน้ าที่ของรัฐ จานวนเครื่ องจักร และเครื่ องมือที่มีอยู่ในหน่วยงาน เพื่อให้ มีความเหมาะสม ในการจัด จ านวนชุด ซ่อ มบ ารุ ง และเพื่ อ ให้ ก ารซ่ อ มบ ารุ ง เป็ นไปอย่า งต่อ เนื่ อ งและทัน ต่อ เหตุก ารณ์ นอกจากนี ้ในแต่ละชุดซ่อมบารุงอาจมีหน้ าที่แตกต่างกันเพื่อความคล่องตัวในการดาเนินงาน เช่น ชุดซ่อม บารุงที่ 1 ดาเนินการซ่อมบารุงผิวทาง ในขณะที่ชดุ ซ่อมบารุงที่ 2 ดาเนินการงานจราจรสงเคราะห์ เป็ นต้ น โดยการจัดการโครงสร้ างงานบารุงปกติดงั แสดงรูปที่ 2.2
สารวจสภาพทาง
ตรวจสอบ และ ประมวลผล
รายงานผล
สารวจ ประเมิน สภาพสายทาง
เข้ า ดาเนินการ ซ่ อมบารุ ง ปกติ
ประมาณการ
ดาเนินงาน จัดซือ้ วัสดุ
ทาแผนการ ดาเนินงาน จัดซือ้ วัสดุ
รูปที่ 2.1 กระบวนการปฏิบตั ิงานบารุงปกติ 3. การตรวจสอบ ติดตามประเมินผล เมื่ อได้ ดาเนินการแล้ ว เสร็ จจะต้ องมี การตรวจสอบ ติดตามประเมิ นผล ซึ่ง เป็ นกระบวนการที่ สามารถนาผลที่ ไ ด้ ไ ปใช้ ประโยชน์ ในการปรั บปรุ ง ขัน้ ตอนการทางานให้ มี ประสิทธิ ภ าพเพิ่ม มากยิ่ง ขึน้ ในการบริ ห ารจั ด กา รด้ านเค รื ่ อ ง มื อ เครื่ อ งจัก ร วัส ดุ อุป กรณ์ บุค ลากร และงบประมาณให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด ข้ อมู ล ที่ ใ ช้ ในการควบคุม ตรวจสอบ และติ ด ตามประเมิ น ผลของงานบ ารุ ง ปกติ ประกอบด้ วยเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ที่ได้ จัดทาไว้ ระหว่างดาเนินการและการตรวจสอบสภาพหน้ างาน ซึ่ง ดาเนิ นการโดยส านักงานทางหลวงชนบทจัง หวัด และผู้ที่ไ ด้ รั บมอบหมาย นอกจากการตรวจสอบ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ติดตามประเมินผลภายในหน่วยงานของสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดแล้ ว จะได้ รับการตรวจสอบจาก สานักทางหลวงชนบทที่รับผิดชอบ และหน่วยงานในส่วนกลาง รวมทัง้ ระดับผู้บริ หารอีกทางหนึ่งด้ วย ดังแสดงรูปที่ 2.3 ซึง่ รายละเอียด วิธีการ และขันตอน ้ ตามตารางที่ 2.1 สานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด (ทชจ.)
หน่ วยพัสดุประจา ทชจ.
หน่ วยซ่ อมบารุ ง
หน่ วยซ่ อมบารุ ง
หน่ วยซ่ อมบารุ ง
รูปที่ 2.2 ผังโครงสร้ างงานบารุงปกติ
ผู้บริหาร สานักงานทางหลวงชนบท สานักบารุ งทาง สานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด หัวหน้ าหน่ วย หัวหน้ าชุด พนักงานขับเครื่องจักรกล
รูปที่ 2.3 ผังแสดงระดับการควบคุม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผลงานบารุงปกติ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 2.1 วิธีการและขันตอนการควบคุ ้ ม ตรวจสอบ ติดตามประเมินผล ที่
ระดับ
วิธีการ/ขัน้ ตอน
1.
ผู้บริ หาร
ทชจ.นาเสนอผลการดาเนินการ/ปั ญหาอุปสรรคในที่ประชุมเมื่อมีการจัด ประชุมตรวจราชการ สุม่ ตรวจสภาพเส้ นทาง ให้ คาปรึกษาแนะนาในการออกตรวจราชการ
2.
- สานักทางหลวงชนบท - สานักบารุงทาง
จัดประชุมหารื อ/ฝึ กอบรม สทช.ตรวจสอบให้ ความเห็นชอบประมาณการ/แผนปฏิบตั ิงาน ตรวจสอบเอกสารรายงานที่ได้ รับ จัดทาแผนตรวจสอบ ติดตามประเมินผล ตรวจสอบ ติดตามผลการดาเนินงาน จัดทารายงานเสนอกรม
3.
ภายในหน่วยงาน ทชจ. 3.1 ทชจ.
ตรวจสอบเอกสารหลักฐานที่หน่วยซ่อมบารุงรายงาน จัดประชุมหารื อผู้เกี่ยวข้ อง ตรวจสอบ กากับ ดูแลผลการปฏิบตั ิงาน การใช้ วสั ดุ รายงานผลการดาเนินงาน/ปั ญหาอุปสรรคเสนอ สทช. / สบร.
3.2 หัวหน้ าหน่วยซ่อมบารุง
ตรวจสอบรายงานประจาวันของชุดซ่อมบารุง ตรวจสอบการปฏิบตั ิงานทุกสายทางเปรียบเทียบกับรายงาน (ตาแหน่งซ่อมบารุง, ปริ มาณงาน, วิธีการซ่อมบารุง) ตรวจสอบการใช้ วสั ดุจาก รายงานเบิกวัสดุ, รายงานการใช้ วสั ดุ ประจาวัน, และบัญชีควบคุมวัสดุวสั ดุคงเหลือ ณ ที่เก็บรักษา รายงานประจาเดือน/ปั ญหาอุปสรรคเสนอ ทชจ.
3.3 หัวหน้ าชุดซ่อมบารุง
ควบคุมการซ่อมบารุงให้ เป็ นไปตามแผนงานและถูกต้ องตามหลัก วิชาการ ควบคุมการใช้ วสั ดุ อุปกรณ์เครื่ องจักรกล รายงานผลงานประจาวัน/ปั ญหาอุปสรรคเสนอหัวหน้ าหน่วยซ่อมบารุง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
4. ประเภทกิจกรรมในงานบารุงปกติในปั จจุบัน กิจกรรมงานบารุ งปกติซึ่งอยู่ในความรับผิด ชอบของกรมทางหลวงชนบท ได้ แบ่งประเภทของ กิจกรรมตามลักษณะผิวทางได้ ดงั นี ้ (1) บารุงปกติผิวทางลาดยาง หมายถึง การบารุงรักษาผิวทางลาดยางให้ อยู่ในสภาพที่ใช้ งาน ได้ ดีตลอดเวลา เป็ นงานที่กระทาอยูเ่ ป็ นประจา ประกอบด้ วย งานปะซ่อมผิวทาง (Patching) เป็ นงานขุดรื อ้ เพื่อซ่อมแซมเฉพาะผิวทาง งานขุดซ่อมพื ้นทาง (Deep Patching) เป็ นงานขุดซ่อมชันโครงสร้ ้ างทาง แล้ วทาผิวทาง ใหม่ งานข้ างทาง เป็ นงานซ่อมแซมและบารุงรักษาในเขตทาง ได้ แก่ งานตัดหญ้ าข้ างทาง ทา ความสะอาด ร่องน ้า และท่อระบายน ้า งานจราจรสงเคราะห์ ได้ แ ก่ งานซ่อ มแซมบ ารุ ง รั กษาป้าย เครื่ องหมายจราจร งาน ซ่อมแซมหลักโค้ ง และหลักกิโลเมตร งานบารุงรักษาอาคารระบายน ้า ได้ แก่ ทาความสะอาด และทาสีสะพาน (2) บารุ งปกติผิวทางคอนกรี ต หมายถึง การบารุ งรักษาผิวทางคอนกรี ตให้ อยู่ในสภาพที่ใช้ งานได้ ดีตลอดเวลา เป็ นงานที่กระทาอยูเ่ ป็ นประจา ประกอบด้ วย งานซ่อมรอยต่อ (Joint Repair) เป็ นการเปลี่ยนวัสดุรอยต่อเดิมระหว่างแผ่นพื ้นคอนกรี ต ที่เสื่อมสภาพ งานซ่อมผิวทางคอนกรี ต (Concrete Patching) เป็ นการซ่อมผิวทางคอนกรี ตที่ชารุ ด เสียหาย โดยวิธีการขุดรื อ้ วัสดุรองพื ้นส่วนที่ชารุ ดเสียหาย ออกแล้ วทาการเปลี่ยนวัสดุ ใหม่ตามที่ออกแบบไว้ งานทาความสะอาดผิวทาง (Surfacing Cleaning) เป็ นการเก็บกวาดวัสดุ และสิ่งปฏิกลู บนผิวทาง ทังนี ้ ้ยังรวมถึงการล้ างทาความสะอาดผิวทางด้ วย งานทาความสะอาดบ่อพัก เป็ นงานทาความสะอาด เช่น การลอกตะกอนภายในบ่อพัก น ้า งานข้ างทาง เป็ นงานซ่อมแซมและบารุงรักษาในเขตทาง ได้ แก่ งานตัดหญ้ าข้ างทาง ทา ความสะอาดร่องน ้า และท่อระบายน ้า งานจราจรสงเคราะห์ ได้ แ ก่ งานซ่อ มแซมบ ารุ ง รั กษาป้าย เครื่ องหมายจราจร งาน ซ่อมแซมหลักโค้ ง และหลักกิโลเมตร งานบารุงรักษาอาคารระบายน ้า ได้ แก่ ทาความสะอาด และทาสีสะพาน สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
(3) งานบารุ งรั กษาผิวทางลูกรั ง หมายถึง การบารุงรักษาผิวทางลูกรังให้ อยู่ในสภาพที่ใช้ งาน ได้ ดีตลอดเวลา เป็ นงานที่กระทาอยูเ่ ป็ นประจา ประกอบด้ วย งานซ่อมหลุมบ่อ (Surface Patching) เป็ นการขุดเอาวัสดุส่วนที่เสียหายออก ตกแต่งก้ น หลุม แล้ วเติมวัสดุใหม่ที่ได้ มาตรฐานลงไป แล้ วบดอัดแน่นจนเสมอผิวเดิม งานกวาดเกลี่ยผิวทาง (Light Grading) เป็ นงานกวาดเกลี่ยผิวทางเดิมที่เป็ นคลื่นลอน ลูกระนาด ร่องล้ อ ตลอดจนรอยกัดเซาะของน ้า โดยใช้ รถเกลี่ยให้ เรี ยบ หรื ออาจเติมวัสดุ ใหม่ได้ ตามความจาเป็ น งานข้ างทาง เป็ นงานซ่อมแซมและบารุ งรักษาบริ เวณลาดข้ างทาง ได้ แก่ งานตัดหญ้ า ข้ างทาง ทาความสะอาดร่องน ้า และท่อระบายน ้า งานจราจรสงเคราะห์ ได้ แ ก่ งานซ่อ มแซมบ ารุ ง รั กษาป้าย เครื่ องหมายจราจร งาน ซ่อมแซมหลักโค้ ง และหลักกิโลเมตร งานบารุงรักษาอาคารระบายน ้า ได้ แก่ ทาความสะอาด และทาสีสะพาน 2.2 วิเคราะห์ ข้อดี ข้ อเสียและข้ อจากัดในการดาเนินงานบารุงปกติในปั จจุบัน เพื่อเป็ นการรับทราบปั ญหา อุปสรรค ตลอดจนการดาเนินงานในปั จจุบนั คณะที่ปรึกษาดาเนินการ สัมมนากลุ่มย่อยเมื่อวันที่ 10 มีนาคม พ.ศ. 2553 ณ ห้ องประชุม 3 อาคาร 1 กรมทางหลวงชนบท โดยได้ เชิญตัวแทนจากผู้แทนจาก 4 ภาคของประเทศ ที่ปฏิบตั ิหน้ าที่เกี่ยวข้ องกับงานซ่อมบารุงทางของกรมทาง หลวงชนบท จานวนภาคละ 2 คน รวมทังสิ ้ ้น 8 คน โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี ้ ผู้แทนจากภาคกลาง จานวน 2 คน ประกอบด้ วย - ผู้แทนจากสานักทางหลวงชนบทที่ 4 (เพชรบุรี) จานวน 1 คน - ผู้แทนจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด ภายใต้ สทช.ที่ 4 จานวน 1 คน ผู้แทนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือจานวน 2 คน ประกอบด้ วย - ผู้แทนจากสานักทางหลวงชนบทที่ 7 (อุบลราชธานี) จานวน 1 คน - ผู้แทนจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด ภายใต้ สทช.ที่ 7 จานวน 1 คน ผู้แทนจากภาคเหนือจานวน 2 คน ประกอบด้ วย - ผู้แทนจากสานักทางหลวงชนบทที่ 8 (นครสวรรค์) จานวน 1 คน - ผู้แทนจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด ภายใต้ สทช.ที่ 8 จานวน 1 คน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผู้แทนจากภาคใต้ จานวน 2 คน ประกอบด้ วย - ผู้แทนจากสานักทางหลวงชนบทที่ 11 (สุราษฎร์ ธานี) จานวน 1 คน - ผู้แทนจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด ภายใต้ สทช.ที่ 11 จานวน 1 คน การสัมมนากลุ่มย่อย (Focus Group) มีวตั ถุประสงค์เพื่อสอบถามความคิดเห็น ปั ญหา ตลอดจน ข้ อเสนอแนะเกี่ยวกับการดาเนินงานบารุงปกติในปั จจุบนั ของกรมทางหลวงชนบท และการดาเนินงานซ่อม บารุงปกติในปั จจุบนั โดยการสัมมนากลุม่ ย่อย (Focus Group) สามารถสรุปรายละเอียดได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1. การได้ มาซึ่งข้ อมูลความเสียหายเบือ้ งต้ น จากการสอบถามความคิดเห็น พบว่า ข้ อมูลความเสี ยหายที่ ไ ด้ ก่อนช่วงตุล าคมของทุกปี นัน้ ได้ มาจาก 2 ทาง คือ การร้ องเรี ยนของชาวบ้ าน และการดาเนินการสารวจเอง โดยการดาเนินการสารวจส่วนใหญ่ดาเนินการปี ละ 1 ครัง้ ตามที่ได้ กาหนดในคูม่ ือการบารุงปกติ ของสานักบารุ งทาง กรมทางหลวงชนบท แต่ในบางสานักทางหลวงชนบทอาจมีนโยบายการสารวจความ เสียหายเพิ่มเติม เช่น กาหนดให้ มีการสารวจ 2 ปี ต่อครัง้ 2. วิธีการในการดาเนินการสารวจความเสียหาย จากการสอบความคิดเห็นพบว่า การสารวจส่วนใหญ่เป็ นการเดินวัดปริ มาณความเสียหายอย่าง ละเอี ย ด เช่ น ความกว้ า ง ความยาว และความลึก ของบริ เ วณพื น้ ที่ เ สี ย หาย นอกจากนัน้ ชุด ส ารวจ ดาเนินการสารวจทังในส่ ้ วนของผิวทาง ระบบระบายน ้า ส่วนประกอบอื่นถนน แต่การสารวจความเสียหาย อาจจะแตกต่างกันในส่วนของชุดสารวจที่ออกไปสารวจความความเสียหาย เช่น ให้ นายช่างดาเนินการ สารวจความเสียหาย หรื ออาจให้ คนงานดาเนินการสารวจความเสียหาย นอกจากนี ้ ยังพบอีกว่า ความแตกต่างของประสบการณ์ในการทางาน ความรู้และความเข้ าใจที่ เกี่ ยวข้ องกั บ ประเภทความเสี ย หาย ตลอดจนการเลื อ กวิ ธี การซ่ อ มบ ารุ งของแต่ ล ะบุ ค คล มักส่งผลกระทบต่อการประมาณการความเสียหายที่เกิดขึ ้น 3. ปั ญหา อุปสรรค และข้ อจากัดในการดาเนิน งานที่เกี่ยวข้ องกับกิจกรรมซ่ อมบารุ งปกติ ในส่ วนนีค้ ณะที่ปรึกษาได้ แบ่ งหัวข้ ออกเป็ น 3 ส่ วนด้ วยกัน โดยมีรายละเอียดดังต่ อไปนี ้ ด้ านบุคลากร บุคลากรด้ านช่างที่มีความรู้ประสบการณ์มีไม่เพียงพอ เนื่องจากบุคลกรที่มีประสบการณ์ใกล้ เกษี ยณ หรื อเกษี ยณไปแล้ ว และไม่สามารถบรรจุเพิ่มเติม ในตาแหน่ง ทดแทนได้ อี กทัง้ ปริ ม าณงานมี มากกว่าปริ มาณบุคลากรที่มีอยู่ ทาให้ การทางานมีประสิทธิภาพลดลง นอกเหนือจากนัน้ แล้ วบุคลากรที่
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-7
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
รับผิดชอบด้ านการซ่อมบารุ งในทุกระดับยังมีทศั นคติในการเลือกวิธีการซ่อมบารุ งที่แตกต่างกัน และเห็น ความสาคัญแตกต่างกัน เช่น การเลือกวิธีการปะซ่อมผิวทาง หรื อขุดซ่อมผิวทาง นอกเหนื อ จากนี ้ ผู้เ ข้ า ร่ ว มสัม มนามี ค วามเห็ น เพิ่ ม เติ ม เกี่ ย วกับ แรงจูง ใจในการท างาน เนื่องจากมีความเห็นว่าการดาเนินงานสายปฏิบตั ิง านมีความก้ าวหน้ าในการทางาน หรื อเลื่อนขัน้ เป็ น ผู้บริ หารได้ ยาก ทาให้ ไม่มีแรงจูงใจในการทางาน และบุคลากรให้ ความสาคัญกับการควบคุม งานก่อสร้ าง มากกว่าการควบคุมงานซ่อมบารุง ทาให้ งานซ่อมบารุงไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ข้ อเสนอแนะและแนวทางการแก้ ไขมี ดงั นี ้ จัดอบรมเชิง ปฏิ บตั ิการให้ บุคลากรในทุกระดับ ศึกษาดูงานรู ปแบบงานซ่อมที่ดีและมีประสิทธิภาพ มีการสอนงานและถ่ายทอดความรู้ ในหน่วยงานและ ข้ ามหน่วยงาน นอกจากนันควรจั ้ ดหาบุคลากรเพิ่มเติมในทังด้ ้ านช่าง เพื่อเพิ่มเติมในตาแหน่งที่เกษี ยณ ใน รูปแบบพนักงานราชการ หรื อลูกจ้ างชัว่ คราว ด้ านเครื่องจักร และอุปกรณ์ สนับสนุน เครื่ องจักรกลที่มีอยู่มีไม่ครบตามกรอบปฏิบตั ิงานในการซ่อมบารุง และเครื่ องจักรกลที่มีอยู่มี สภาพการใช้ งานที่ชารุ ดทรุดโทรม มีอายุการใช้ งานมากกว่า 20 ปี ตลอดจนไม่สามารถซ่อมแซมได้ หรื อ กรณีที่ซ่อมแซมก็จะไม่ค้ มุ ค่ากับค่าซ่อมแซม ทาให้ ประสิทธิภาพการซ่อมบารุ งไม่เต็มที่ส่งผลกระทบต่อ แผนงานที่กาหนดในแผนงาน ทาให้ การดาเนินงานล่าช้ า ด้ านงบประมาณ งบประมาณที่ ไ ด้ รั บ การจั ด สรรไม่ เ พี ย งพอต่ อ สภาพความเสี ย หายของสายทาง โดยงบประมาณที่ได้ รับคงที่ในทุกพื ้นที่มีคา่ เฉลี่ยอยู่ที่ 29,000 บาทต่อกิโลเมตร แต่สภาพความเสียหายที่ แท้ จริ งอาจมีคา่ เฉลี่ยการซ่อมบารุงประมาณ 60,000 – 3,000,000 บาทต่อกิโลเมตร ซึ่งงบประมาณบารุง ปกติคงที่ ทาให้ ไม่เพียงพอในการนาไปใช้ ซ่อมบารุ งรักษาความเสียหายที่เกิดขึ ้น และไม่เพียงพอกับการ บารุงรักษาสินทรัพย์อื่นๆ ในแต่ละสายทาง เช่น หลักกิโลเมตร หลักนาโค้ ง ป้ายจราจร เป็ นต้ น 4. การดาเนินงานซ่ อมบารุงปกติในปั จจุบันของแต่ ละสานักทางหลวงชนบท ปั จจุบนั การดาเนินงานซ่อมบารุงปกติจะดาเนินการเองเป็ นส่วนใหญ่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกิจกรรม บารุ งปกติผิวทาง ได้ แก่ การขุดซ่อมผิวทาง และปะซ่อมผิวทาง เนื่องจากแต่ละสานักงานทางหลวงชนบท ในแต่ละจัง หวัด เกรงว่า จะมีปัญหาในการจัดจ้ างบารุ ง ปกติผิวทางเนื่ องจากไม่ทราบปริ ม าณงานที่ จ ะ เกิดขึ ้นตลอดทังปี ้ และปริมาณงานอาจมีการเพิ่มขึ ้นตลอดปี ทาให้ เกิดปั ญหาการจัดจ้ าง ในอดีตหน่วยงาน ของกรมโยธาธิ การ (เดิม) ได้ ทดลองดาเนินงานในลักษณะจ้ างเหมามาแล้ วโดยคิดค่างานสูงกว่างาน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-8
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ดาเนินการเอง 30 – 35% และมีการแบ่งกลุ่มสายทางออกเป็ นกลุ่ม กลุ่มละประมาณ 200 กิโลเมตรให้ ภาคเอกชนดาเนินงาน โดยมีการดาเนินงานดังนี ้ 1. งานขุดซ่อมและปะซ่อมผิวทาง มีปริ มาณงานซ่อม และแบบก่อสร้ าง (As – Built) ชัดเจน ซึ่ง ผู้รับจ้ างค ้าประกันเฉพาะความเสียหายที่ซ่อมเท่านัน้ หากมีความเสียหายอื่นที่นอกเหนือจาก ที่กาหนดผู้วา่ จ้ างจะต้ องดาเนินการเอง 2. งานจราจรสงเคราะห์ มีปริมาณงานที่ต้องซ่อมบารุงและทดแทนชัดเจน 3. งานตัดหญ้ า 2 ข้ างทางมีปริ มาณงานที่จะต้ องดาเนินงานชัดเจน และกาหนดให้ ตดั 1 ครัง้ ต่อ สายทาง 4. มี ก ารแต่ ง ตั ง้ คณะกรรมการตรวจการจ้ าง และผู้ ควบคุ ม งานตามระเบี ย บพั ส ดุ ฯ เพื่อควบคุม และตรวจสอบผลการดาเนินงานให้ เป็ นไปตามสัญญา แต่เ นื่องจากการดาเนินงานเป็ นไปในระยะสัน้ เนื่องจากต่อมาได้ แยกกรมเป็ นกรมทางหลวง ชนบท ทาให้ ไม่ทราบปั ญหาที่เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่อง แต่สามารถสรุปปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้ ดงั นี ้ 1. สายทางใดได้ รับงบประมาณในการบารุงปกติดงั กล่าวแล้ ว จะไม่ได้ รับงบประมาณเพิ่มเติม ซึง่ หากมีความเสียหายเกิดขึ ้นนอกเหนือจากความเสียหายที่อยูใ่ นสัญญาของผู้รับจ้ าง จะไม่มี งบประมาณเข้ าดาเนินการซ่อมแซมได้ 2. ปริมาณงานน้ อยเกินไป ทาให้ ภาคเอกชนไม่ให้ ความสนใจในการเข้ ามาดาเนินการ กิจ กรรมดูแลส่วนประกอบอื่ นของถนน เช่น การดูแลรั กษา ซ่อมแซม ทาสี และทดแทนหลัก กิโลเมตร หลักนาโค้ ง เครื่ องหมายจราจร ป้ายจราจร เป็ นต้ น หน่วยงานส่วนใหญ่ ยังคงดาเนินงานเอง ทังหมด ้ แต่มีบางหน่วยงานเริ่ มเปลี่ยนบทบาทในการดาเนิ นงานเป็ นการจ้ างเหมามากขึ ้น จากการสัมมนา พบว่า กิจกรรมการทดแทนป้ายจราจร หลักนาโค้ ง หลักกิโลเมตร ราวป้องกันการตก (Guard rail) มีการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินงาน โดยเป็ นลักษณะของสัญญาจ้ างเหมาที่มีปริ มาณงาน และราคาต่อหน่วยที่ ชัดเจน โดยจัดจ้ างเป็ นสายทาง ซึ่งเลือกใช้ เป็ นสัญญาเหมารวม (Lump – Sum Contract) เป็ นสัญญาจ้ าง เหมาในการดาเนินงาน กิ จ กรรมตัด หญ้ าข้ า งทาง พบว่า ส่ว นใหญ่ ส านัก งานทางหลวงชนบทจัง หวัด (ทชจ.) จะให้ ประชาชนในท้ องที่นนั ้ หรื อบริ เวณนันด ้ าเนินการ ซึ่งอาจจะเป็ นอาสาสมัครกรมทางหลวงชนบท (อส.ทช.) หรื อประชาชนท้ องที่ หรื อประจาอยู่ที่สายทางนันให้ ้ เข้ ามาดาเนินงาน โดยเป็ นไปในลักษณะของการตกลง ราคาเป็ นครัง้ ๆ หรื ออาจจะเป็ นการจ้ างต่อวัน เช่นกาหนดให้ ตดั 20 วันต่อเดือน และในส่วนของอุปกรณ์ใน การตัดหญ้ าทาง ทชจ. เป็ นผู้จัดหาให้ จากการดาเนินงานพบว่า ผลการดาเนินงานเป็ นที่น่าพอใจมาก เนื่องจากเป็ นประชาชนซึ่งอยู่ประจาสายทางนัน้ สามารถดาเนินงานได้ ตลอดทังวั ้ น ไม่เสียเวลาไปกับการ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-9
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
เดินทางไป – กลับระหว่าง ทชจ. และสายทางที่ต้องการดาเนินงาน และเป็ นการประหยัดงบประมาณและ เวลาในการที่จะต้ องขนย้ ายเครื่ องจักรและคนงาน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในที่ทางานซึ่งมีระยะทางไกล และ คาดว่าในอนาคตจะมี การเพิ่ม เติม งาน เช่นการทาสี หลักกิ โลเมตร การทาสี ป้ายจราจร เนื่ องจากเป็ น กิจกรรมที่ตอ่ เนื่องกันไปกับการตัดหญ้ า 5. ความคิดเห็นเพิ่มเติม 1. ในอนาคตหากมีการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมควรมีการกาหนดรูปแบบการดาเนินงานที่ ชัดเจนเพื่อให้ หน่วยงานปฏิบตั ิในทิศทางเดียวกัน สามารถเปรี ยบเทียบผลการดาเนินงาน และติดตามผล การดาเนินงานของแต่ละหน่วยงานได้ 2. ควรให้ ภ าคเอกชนเข้ ามามี ส่ว นร่ ว ม แต่ยกเว้ น การขุดซ่อม และการปะซ่อ มไว้ เนื่ อ งจาก ปริ ม าณงานไม่ชัด เจน และมี ก ารขยายตัว ท าให้ เ กิ ด ปั ญ หาในการจัด จ้ าง เช่น วิ ธี ก ารซ่อ มในขณะที่ ดาเนินการสารวจสามารถซ่อมด้ วยการปะซ่อม แต่เมื่อดาเนินงานจริงต้ องดาเนินงานด้ วยการขุดซ่อม ทาให้ เกิ ดปั ญหาตามมา หรื อการประกันผลงานสามารถทาได้ ยาก เพราะผู้รับเหมาอาจจะอ้ างได้ ว่า ความ เสียหายเกิดจากการจราจร เพื่อหลีกเลี่ยงการประกันผลงาน เป็ นต้ น 3. การประกันผลงาน ควรมีการกาหนดระยะเวลาการดาเนินงานให้ เหมาะสมกับวิธีการซ่อม บารุง เนื่องจากการประกันผลงานในปั จจุบนั กาหนดครัง้ ละ 2 ปี การประกันผลงานเป็ นเวลา 2 ปี ดังกล่าว อาจจะทาให้ ผ้ รู ับเหมาไม่มีความสนใจเข้ ามาดาเนินงาน 4. การตรวจรั บงาน เนื่ องจากในปั จ จุบันมี เจ้ า หน้ าที่ ไ ม่เพี ยงพอในการดาเนิ นงาน และไม่มี มาตรฐานที่ชดั เจนในการตรวจรับงานซ่อมบารุงปกติ 5. ควรมี ก ารศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ การเบิ ก จ่ า ยงบประมาณ เช่ น มี ก ารระบุ ใ ห้ ด าเนิ น งานเอง แต่เปลี่ยนแปลงเป็ นการดาเนินงานเป็ นการจ้ างเหมาสามารถดาเนินงานเองได้ หรื อไม่ 6. ควรมีการกาหนดมาตรฐานวิธีการซ่อมบารุ งปกติในแต่ละประเภทอย่างชัดเจน เพื่อเป็ นแนว ทางการดาเนินงานในอนาคต และเป็ นแนวทางในการควบคุม และตรวจรับงาน 7. ควรมีการเพิ่มประเภทของกิจกรรมการซ่อมบารุ งรักษา และทดแทนอุปกรณ์เกี่ยวกับไฟฟ้า แสงสว่าง และสัญญาณไฟจราจร โดยเฉพาะอย่างยิ่งสายทางในเขตชุมชน 2.3 เสนอแนะแนวทางการดาเนินงานบารุงปกติของกรมทางหลวงชนบท จากปั ญหาต่างๆ ดังที่ได้ แสดงไว้ ข้างต้ นรวมถึงสถานการณ์ปัจจุบนั คณะที่ปรึกษาจึงมีแนวคิดในการ กาหนดนโยบายเพื่อแก้ ไขปั ญหาต่างๆ อยู่ 2 แนวทาง ด้ วยกัน คือ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-10
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
นโยบายการแก้ ไขปั ญหาแบบเฉพาะเจาะจงของแต่ละปั ญหา นโยบายการแก้ ไขปั ญหาในลักษณะภาพรวม จากที่ กล่าวมาในหัวข้ อ 2.3 ทาให้ ทราบว่า แนวทางการแก้ ปัญหา มี อยู่ 2 แนวทางหลัก ซึ่ง รายละเอียดของนโยบายมีดงั ต่อไปนี ้ 2.3.1 นโยบายการแก้ ไขปั ญหาแบบเฉพาะเจาะจงของแต่ ละปั ญหา ปั ญหาในการดาเนินงานซ่อมบารุ งปกติ ของกรมทางหลวงชนบท ประกอบด้ วยปั ญหาด้ าน บุคลากร ด้ านเครื่ องจักรกลและอุปกรณ์สนับสนุน ด้ านงบประมาณ ด้ านวางแผนการดาเนินงาน และด้ าน การรายงานผล ติดตามและประเมินผล มีรายละเอียดแนวทางแก้ ไขดังนี ้ ด้ านบุคลากร แนวทางการแก้ ไขได้ ดงั นี ้ 1. จัดอบรมเชิง ปฏิ บตั ิการให้ บุคลากรทุกระดับ พร้ อมทัง้ มี การประเมินผลการเข้ าร่ วม อบรมอย่างต่อเนื่อง 2. จัดให้ มีการศึกษาดูงาน หน่วยงาน ทชจ. ที่มีรูปแบบงานซ่อมที่ดีและมีประสิทธิภาพ มี การสอนงาน และแลกเปลี่ยนความรู้ในหน่วยงานและข้ ามหน่วยงาน 3. จัดหาบุคลากรเพิ่มเติมในทัง้ ด้ านช่าง เพื่ อเพิ่มเติมในตาแหน่งที่ เกษี ยณ ในรู ปแบบ พนักงานราชการ หรื อลูกจ้ างชัว่ คราวรายเดือนโดยมีสญ ั ญาจ้ างตังแต่ ้ 4 – 5 ปี ขึ ้นไป 4. ผลักดันให้ บุคลากรเรี ยนรู้ งานทัง้ หมดนอกเหนื อจากงานในหน้ าที่ เพื่ อให้ สามารถ ทางานแทนกันได้ และมีการส่งผ่านความรู้ไปยังบุคลากรรุ่นต่อๆ ไป 5. เสริ ม สร้ างให้ บุค ลากรมี ทัศ นคติ (Attitude) ในการท างานที่ ดี ต่อ องค์ ก ร เช่ น ควรดาเนินงานซ่อมบารุ งเพื่อเป็ นการสร้ างภาพลักษณ์แก่องค์กร และเพื่อเป็ นการใช้ งบประมาณให้ เกิด ประโยชน์สงู สุด ด้ านเครื่องจักร และอุปกรณ์ สนับสนุน แนวทางการแก้ ไขได้ ดงั นี ้ 1. จัดหาเครื่ องจักรกลให้ เพียงพอในชุดขุดซ่อมบารุงแต่ละชุด 2. จัดสรรเครื่ องจักรกลตาม works load และประเภทงานที่มีอยู่ 3. หากมี ข้ อจ ากัด ในเรื่ อ งของงบประมาณในการจัด ซื อ้ อาจรวมเครื่ อ งจัก รกลที่ มี ประสิ ท ธิ ภ าพไว้ ที่ ใ ดที่ ห นึ่ ง เพื่ อ ให้ ห น่ว ยงานต่า งๆ ยื ม ใช้ ร วมทัง้ คอยดูแ ลเครื่ อ งจัก รพร้ อมใช้ ง านอยู่ ตลอดเวลา 4. พิจารณาแนวทางในการเช่าซื ้อเครื่ องจักร ในกรณีที่ไม่มีงบประมาณเพียงพอในการซื ้อ เครื่ องจักร
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-11
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ด้ านงบประมาณ แนวทางในการแก้ ไขได้ ดงั นี ้ 1. พิจารณาจัดสรรงบประมาณให้ เหมาะสมกับ ความต้ องการงบประมาณ และสภาพ ความเสียหายที่เกิดขึ ้นจริง โดยปรับเปลี่ยนราคาต่อหน่วยที่จดั สรรให้ เพิ่มสูงขึ ้น 2. พิจารณาจัดสรรงบประมาณสาหรับการก่อสร้ างมาใช้ สาหรับงานซ่อมบารุงสายทางที่มี ความเสียหายมากจนจาเป็ นต้ องดาเนินการซ่อมสร้ างทางใหม่ ด้ านการวางแผนการดาเนินงาน แนวทางในการแก้ ไขได้ ดงั นี ้ 1. จัดทาแผนงานการซ่อมบารุ งด้ วยการพิจารณาลาดับความสาคัญของแต่ละสายทาง โดยคานึงถึงปั จจัยต่างๆ ทังด้ ้ าน ปริ มาณความเสียหาย ความสาคัญของสายทาง และผลกระทบที่เกิดขึ ้น ต่อประชาชนผู้ใช้ เส้ นทาง 2. จัดลาดับความสาคัญของกิจกรรมที่ต้องดาเนินการ กิจกรรมไหนที่ส่งผลกระทบต้ อง ประชาชนอย่างมาก และจาเป็ นเร่งด่วน ก็ให้ ความสาคัญกับกิจกรรมนันเป็ ้ นพิเศษ ด้ านการรายงาน ติดตาม และการประเมินผล แนวทางในการแก้ ไขได้ ดงั นี ้ 1. พัฒนาระบบสารสนเทศสาหรับใช้ ในการรายงาน การติดตาม และการประเมินผลการ ดาเนินงานบารุ งปกติ โดยระบบที่พัฒนาขึ น้ ต้ องสามารถเชื่อมโยงข้ อมูลต่างๆ ได้ ทงส่ ั ้ วนกลางและส่วน ภูมิภาค 2. มอบหมายหน้ าที่ ใ ห้ มี บุค ลากรโดยเฉพาะส าหรั บการจัดทารายงานทัง้ ในส่ว นของ รายงานการติดตามผล การประเมินผล ตลอดจนรายงานความก้ าวหน้ า เพื่อให้ รูปแบบของรายงานตรง ตามที่สว่ นกลางได้ กาหนดไว้ 2.3.2 นโยบายการแก้ ปัญหาในลักษณะภาพรวม การแก้ ปัญหาในข้ อ 2.3.1 เป็ นแนวทางการปั ญหาเฉพาะด้ านเท่านัน้ ซึ่งไม่ใช่การแก้ ปัญหา อย่างยัง่ ยืน และแก้ ไขได้ เฉพาะบางประเด็นปั ญหาเท่านัน้ ดังนันคณะที ้ ่ปรึ กษาจึงได้ นาแผนแม่บทในการ ปฏิรูประบบราชการ (พ.ศ. 2540 – 2544) ที่ม่งุ เน้ นให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมในกิจการของภาครัฐ มาพิจารณา และพบว่าแนวทางสาหรับการแก้ ไขปั ญหาในการดาเนินการบารุ งปกติที่ยงั่ ยืนอาจทาได้ ด้วย การเปิ ดโอกาสให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วม หรื อ การจ้ างเหมา (Contract Out) ดาเนินงานซ่ อมบารุ ง ปกติ ควบคูไ่ ปกับการดาเนินงานซ่อมบารุงเองของหน่วยงานภาครัฐ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2-12
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บทที่ 3 ศึกษารูปแบบ และวิ ธีจ้างภาคเอกชนในภารกิ จ ที่เกี่ยวข้องกับงานบารุงปกติ 3.1 สารวจเอกสารทัง้ ในประเทศและต่ างประเทศ สื บ เนื่ อ งจากการที่ ภ าครั ฐ ได้ ด าเนิ น การจั ด ท าแผนแม่ บ ทในการปฏิ รู ประบบราชการ (พ.ศ.2540 – พ.ศ.2544) ซึ่งเป็ นแผนแม่บทซึ่งเพิ่มบทบาทให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในภารกิจที่ ดาเนินการโดยภาครัฐนัน้ นับเป็ นส่วนหนึ่งของการปฏิรูประบบราชการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน ของภาครัฐ โดยทัว่ ไปแล้ ววิธีการในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในภารกิจของภาครัฐนันสามารถ ้ กระทาได้ หลายวิธีการ (ไกรยุทธ, 2538) เช่น
การถอนตัวจากการจัดการผลิตโดยรัฐ (Withdrawal from Service Provision) การขายกิจการ (Divestiture) การร่วมลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน (Joint Venture) การจ้ างเหมา (Contracting Out) การให้ สมั ปทาน (Franchising) การให้ เช่า (Leasing)
การเพิ่มความเสรี ในการดาเนินงาน (Liberalization) รูปแบบของการจ้ างเหมา (Contracting Out) ภารกิจต่างๆของภาครัฐมาให้ ภาคเอกชนดาเนินการ แทน นับเป็ นหนึ่งในรูปแบบในการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนในภารกิจของรัฐ โดยจิรัตน์ (2530) ได้ ให้ คา จากัดความของการจ้ างเหมาภาคเอกชนให้ ดาเนินการแทนในภารกิจของรัฐไว้ ว่า “เป็ นการที่ภาครั ฐทา สั ญ ญากั บ ภาคเอกชนโดยเป็ นการท าความตกลงที่ มี ผ ลผู ก พั น ให้ ภ าครั ฐ ต้ อ งจ่ า ยเงิ น ให้ กั บ ภาคเอกชนนัน้ เพื่อให้ ภาคเอกชนจัดการบริ การให้ แก่ ประชาชน ณ ระดับปริมาณและคุณภาพ ตามที่ทงั ้ สองฝ่ ายได้ ตกลงกัน ทาให้ ภาครัฐสามารถให้ บริการงานต่ างๆได้ โดยที่ภาครั ฐเป็ นเพียง ผู้ ก าหนดแนวทางความต้ อ งการที่ ต้ อ งการได้ รั บ จากภาคเอกชน พร้ อมทั ้ง ท าการควบคุ ม ตรวจสอบการทางานของภาคเอกชนให้ เป็ นไปตามความต้ องการช่ วยให้ ภาครั ฐไม่ จาเป็ นต้ อง ดาเนินการในภารกิจดังกล่ าวเองทัง้ หมด” อย่างไรก็ตามการตัดสินใจดาเนินการจ้ างเหมาให้ ภาคเอกชนเข้ ามาร่ วมในภารกิจของรัฐมีทงข้ ั ้ อดี และข้ อเสียต่างๆ ที่ต้องนามาพิจารณาในการใช้ ในการประกอบการตัดสินใจ โดย Blaine (1984) ได้ สรุ ป
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ข้ อดีของการจ้ างเหมาไว้ ได้ แก่ การประหยัดค่าใช้ จ่ายของภาครัฐ ความยืดหยุ่นและความคล่องตัวในการ ดาเนินงานไม่ว่าจะเป็ นช่วงที่ภ าครั ฐมีง านมากหรื อน้ อย การเกิดความสะดวกในการวางแผนงานด้ าน งบประมาณ การทาให้ ภาครัฐได้ รับเทคโนโลยีที่ทนั สมัยในการดาเนินงานจากภาคเอกชน รวมทังเป็ ้ นการ ส่งเสริ มให้ เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ ้นด้ วย ขณะที่ McMullen (1986) ได้ เสริมข้ อดีของการจ้ างเหมาว่า ช่วยให้ ภาครัฐได้ รับบริ การจากภาคเอกชนในงานที่ต้องการความเชี่ยวชาญพิเศษ และช่วยส่งเสริ มคุณภาพของ งานให้ ดีขึ ้นกว่าเดิม ข้ อเสียที่เกิดจากการจ้ างภาคเอกชนนัน้ Blaine (1984) กล่าวว่า การให้ ภาคเอกชนเข้ ามาร่ วม ดาเนินการในภารกิจของรัฐ อาจทาให้ ภาครัฐสูญเสี ยบุคลากรที่มี ความรู้ ความสามารถ และเกิดความ ขัดแย้ ง หรื อความไม่เข้ าใจกันระหว่างผู้วางนโยบายกับพนักงานเนื่องจากเกิดความไม่มนั่ ใจในตาแหน่ง หน้ าที่การงานที่รับผิดชอบอยู่ ซึ่งอาจจะต้ องถูกปรับลดหรื อโอนถ่ายไปอยู่กบั หน่วยงานอื่น รวมทังเป็ ้ นการ ยากสาหรับภาครัฐในการที่จะกลับมาดาเนินการเองอีกครัง้ ในภารกิจที่ได้ ทาการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ า มา ดาเนินการไปหมดแล้ ว ในขณะที่ Parkman, Madelin and Robinson (2001) กล่าวถึงผลเสียของการจ้ าง ภาคเอกชนว่าถ้ าภาครัฐดาเนินการโดยไม่มีความระมัดระวังแล้ ว อาจเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ ภาคเอกชนบาง รายยอมเสนอราคาประมูลในราคาต่าเพื่อเข้ ามาผูกขาดการดาเนินงานในภายหลังได้ การตัดสินใจปฏิรูประบบราชการโดยการเพิ่มบทบาทของภาคเอกชนให้ เข้ ามาดาเนินการในภารกิจ ของรั ฐ นัน้ สิ่ ง ส าคัญ สิ่ ง หนึ่ง ที่ ต้ อ งคานึง ถึง คื อ การเปรี ย บเที ย บผลที่ จ ะได้ รั บ จากการดาเนิ น งานโดย ภาคเอกชน กับการดาเนินการเองโดยภาครัฐ (ไกรยุทธ, 2538) โดยในส่วนของการบารุ งรักษาทางนัน้ สามารถพิจารณาได้ จากสามปั จจัยหลักด้ วยกันคือ คุณภาพของงาน เวลาในการทางาน และต้ นทุนในการ ทางาน (Witheford, 1997) การพิจารณาคุณภาพของงานเมื่อมีการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการแทนนัน้ Rehfuss (1989) กล่าวว่าการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาร่วมดาเนินการแทนส่งผลดีตอ่ คุณภาพของงานที่ได้ เนื่องจากเกิด การเปรี ยบเทียบผลงานที่ภาครัฐดาเนินการเองกับการที่ให้ เอกชนเข้ ามาดาเนินการ ซึ่งทาให้ ทงสองฝ่ ั้ ายต่าง ต้ องเร่ งปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานของตนเอง เพื่อให้ งานที่ได้ มีคณ ุ ภาพไม่น้อยไปกว่างานที่ได้ จาก การดาเนินงานของอีกฝ่ ายหนึ่ง นอกจากนี ้การจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการยังทาให้ ภาครัฐได้ รับ การบริการจากภาคเอกชนในงานที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง ซึ่งเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ มีการนา เทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ ามาใช้ ด้วย แต่อย่างไรก็ตามคุณภาพของงานที่ได้ รับจากภาคเอกชนนันจะดี ้ หรื อไม่ส่วน หนึ่งยังขึ ้นอยู่กับการกาหนดข้ อกาหนดต่างๆ ในสัญญาการจ้ างว่าสามารถทาได้ อย่างสมบูรณ์และรัดกุม เพียงใดด้ วย ปั จจัยด้ านเวลาการทางานเป็ นปั จจัยหนึ่งที่มี ความส าคัญ เพราะการทางานของภาคเอกชนเกิ ด ความล้ าช้ าไม่เ ป็ นไปตามที่กาหนด ก็จ ะส่งผลเสียหายต่อภาครั ฐทัง้ ในส่วนของค่าใช้ จ่ายต่างๆ ที่ อาจ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
เพิ่มขึ ้น การเสียโอกาสจากการเข้ าไปใช้ ประโยชน์จากสิ่งก่อสร้ างดังกล่าว รวมถึงทาให้ เกิดความไม่สะดวก ในการใช้ บริ การของประชาชนอีกด้ วย แต่อย่างไรก็ตามยังมีประเด็นที่เกี่ยวกับเวลาการทางานอีกด้ านที่มี ความสาคัญได้ แก่ ระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชน (Contractor Response Time) ซึ่งนับเป็ นสิ่งที่มีความสาคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับงานที่มีผลโดยตรงต่อความสะดวกและปลอดภัยของ ผู้ใช้ บริการ เช่น งานซ่อมบารุงรักษาผิวถนน งานซ่อมแซมเกี่ยวกับอุปกรณ์ระบบจราจรต่างๆ หรื องานกาจัด หิมะ เป็ นต้ น ซึ่งระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชนนันจะมากหรื ้ อน้ อยขึ ้นอยู่กับความเสี่ยงที่ ผู้ใช้ บริการจะได้ รับ เช่น ในกรณีของถนนนัน้ ระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการจะขึ ้นอยู่กบั ความเสี่ยงที่ผ้ ใู ช้ ถนนจะได้ รับจากการที่ถนนเกิดความเสียหายในขณะเดียวกันความเสี่ยงดังกล่าวนี ้จะมีคา่ เพิ่มขึ ้นถ้ า ถนน ดัง กล่ า วมี ป ริ ม าณการจราจรมาก ดัง นัน้ การพิ จ ารณาก าหนดระยะเวลาการเข้ า มาด าเนิ น การของ ภาคเอกชนในสัญญาการจ้ างจาเป็ นต้ องพิจารณาถึงพื ้นที่ที่จะทาการจ้ างด้ วย (Newman and Garmong, 1991) การพิจารณาความคุ้มค่าด้ านต้ นทุนค่าใช้ จ่ายระหว่างการที่ภาครัฐดาเนินการเองกับภาคเอกชนเข้ า มาร่ วมดาเนินการแทน Jarrell and Skibniewski (1987) ได้ พิจารณาเปรี ยบเทียบต้ นทุนที่เกิดจากการ ดาเนินการเองของภาครัฐ เทียบกับต้ นทุนจากการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการ นอกจากการ เปรี ยบเทียบผลด้ านต่างๆ ที่จะได้ รับแล้ ว ยังคงมีประเด็นอื่นๆ ที่ต้องคานึงถึงด้ วย (McMullen, 1986) ได้ แก่ ความเหมาะสมของงานที่ จ ะจ้ างเหมา เช่ น ต าแหน่ ง ที่ ตั ง้ ปริ ม าณงาน ความสะดวก ในการตรวจสอบ ความพร้ อมของฝ่ ายเจ้ าของงาน เช่น ความสามารถในการเขียนข้ อกาหนดต่างๆในสัญญา หรื อ ความสามารถในการควบคุม ติดตามตรวจสอบการทางานของผู้รับจ้ าง ความพร้ อมของภาคเอกชน เช่น ความพร้ อมในด้ านของศักยภาพในการดาเนินงาน หรื อ ความ สนใจในการเข้ าร่วมในการดาเนินดังกล่าว ความเหมาะสมของงานที่จะทาการจ้ างเหมานันนั ้ บเป็ นปั จจัยหนึ่งที่มีความสาคัญ ซึ่งส่งผลต่อเนื่อง ไปยังความสะดวกในการตรวจรับงานของหน่วยงานภาครัฐ รวมถึงความสนใจของภาคเอกชนที่มีตอ่ งาน นันๆอี ้ กด้ วย โดย Newman and Garmong (1991) ได้ กล่าวว่าลักษณะของงานที่เหมาะสมต่อการจ้ าง เหมาบารุงรักษานัน้ ควรเป็ นงานที่สามารถกาหนดรายละเอียดและปริ มาณงานที่ต้องกระทาได้ ชดั เจน มี มูลค่างานที่เหมาะสมที่จะจูงใจให้ ภาคเอกชนเข้ ามาร่วมในการดาเนินงาน รวมถึงมีความสะดวกต่อภาครัฐ ในการควบคุม และตรวจสอบคุณ ภาพของงาน ในขณะที่ Jorgansen and Whitman (1984) กล่าวว่าลักษณะงานอีกบางประเภทที่มีความเหมาะสมในการจ้ างภาคเอกชนได้ แก่ งานที่ใช้ ความรู้ความ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ชานาญของบุคลากร หรื อใช้ เครื่ องมือเครื่ องจักรเป็ นพิเศษ รวมถึงงานที่มีปริ มาณงานที่กระทาไม่ มีความ สม่าเสมอตลอดรอบระยะเวลาการทางาน เช่น งานกาจัดหิมะ เป็ นต้ น ปั จจัยสาคัญอีกประการหนึง่ ในการดาเนินการจัดจ้ างภาคเอกชน ได้ แก่ ความสามารถของหน่วยงาน ภาครัฐในการเขียนข้ อกาหนดต่างๆ ในสัญญา รวมทังความสามารถในการควบคุ ้ ม ติดตามตรวจสอบการ ทางานของภาคเอกชนผู้รับจ้ าง ซึ่ง Jarrell and Skibniewski (1987) ได้ กล่าวถึงรายละเอียดหลักที่ต้อง จัดเตรี ยมไว้ ในเอกสารสัญญาการจ้ างได้ แก่ รายละเอียดของชนิดและปริ มาณงานที่จะทาการจ้ าง เกณฑ์ คุณ ภาพขัน้ ต่ า ที่ ย อมรั บ ได้ ข องงานเพื่ อ ใช้ ใ นการควบคุม ตรวจสอบการท างานของผู้รั บ จ้ า ง รวมทัง้ ระยะเวลาของสัญญาการจ้ างและการประกันผลงาน โดย Zimmerman, Wolters and Kallman (2001) ได้ เสนอตัวอย่างส่วนหนึ่งของเกณฑ์คุณภาพขัน้ ต่าที่ยอมรั บได้ ในงานบารุ งรั กษาทาง เช่น ค่าความเรี ยบ (Roughness) ค่าความฝื ด (Skid Resistance) จานวนหลุมบ่อ (Potholes) บนพื ้นผิวทางและระยะเวลา การเข้ ามาดาเนินการซ่อมแซมเมื่ อถนนเกิ ดความเสี ยหายเป็ นต้ น ซึ่ง เกณฑ์ เหล่านี ไ้ ด้ กาหนดขึน้ โดย หน่วยงานที่ รับ ผิ ดชอบด้ านการขนส่ง แห่ง รั ฐ Virginia ประเทศสหรั ฐ อเมริ กาทางด้ าน Smith and Peelgrane (1996) ได้ เน้ นถึงความสาคัญของข้ อมูลเก่า (Historical Data) ของสิ่งก่อสร้ างที่ ทาการจ้ าง ภาคเอกชนบารุงรักษาไม่ว่าจะเป็ นข้ อมูลลักษณะทัว่ ไป ประเภทของวัสดุที่ใช้ ในการก่อสร้ าง อายุ ข้ อมูล การบารุงรักษาที่ผ่านมา รวมถึงข้ อมูลพฤติกรรมการเสียหาย ซึ่งข้ อมูลดังกล่าวนี ้จะเป็ นประโยชน์อย่างยิ่ง ในการกาหนดปริมาณงานที่ทาการจ้ างรวมถึงกาหนดคุณภาพของงานที่ต้องการ การควบคุมติดตามตรวจสอบการทางานของภาคเอกชนผู้รับจ้ าง Newman and Garmong (1991) ได้ เสนอตัวอย่างของการประเมินประสิทธิภาพการทางานของภาคเอกชน เช่น ตัวอย่างจากหน่วยงานที่ รับผิดชอบด้ านการขนส่งแห่งรัฐ Iowa ที่ได้ จดั ทาแบบฟอร์ มสาหรับใช้ ในการประเมินการดาเนินการของ ภาคเอกชน ซึ่งหัวข้ อที่ทาการประเมินได้ แก่ คุณภาพของงานที่ได้ การจัดการบริ หารงานความปลอดภัยใน การทางาน และความพร้ อมของเครื่ องมือเครื่ องจักรในการทางาน แบบฟอร์ ม การประเมิ น ของหน่ ว ยงานที่ รั บ ผิ ด ชอบด้ า นการขนส่ง แห่ ง รั ฐ British Columbia ประกอบด้ ว ยสามแบบฟอร์ ม ย่อย ได้ แ ก่ การประเมิ น ประสิท ธิ ภ าพการท างานทั่ว ไปของภาคเอกชน (Contractor Reporting Assessment) การประเมินความสัมพันธ์ ระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐหรื อ สาธารณชนทัว่ ไป (Contractor Public Relations) และการประเมินระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการ ซ่อมแซม (Contractor Response Time Assessment) ความพร้ อมและความสนใจในการเข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชนนับเป็ นอีกปั จจัยที่มีความสาคัญ ต่อการดาเนินการจ้ างเหมา ในการคัดเลือกภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการจ้ างเหมาในงานบารุ งรักษาควร พิจ ารณาถึง ศัก ยภาพของผู้รั บเหมาทัง้ ทางด้ า นของบุค ลากร เครื่ อ งมื อ เครื่ อ งจัก ร ฐานะทางการเงิ น ประสบการณ์ในการทางานรวมทังผลงานในอดี ้ ตที่ผ่านมา นอกจากนี ้หน่วยงานแต่ละหน่วยควรมีการขึ ้น สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ทะเบียนบัญชีรายชื่อรวมทังก ้ าหนดคุณสมบัติของภาคเอกชนที่จะเข้ ามาดาเนินงานเพื่อทาการจัดแบ่งชัน้ ตามระดับขีดความสามารถ อันจะก่อให้ เกิดประโยชน์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้รับจ้ างให้ เหมาะสมกับ ลักษณะของงานเมื่อมีความต้ องการใช้ งาน (McMullen, 1986) ในส่วนของความสนใจของภาคเอกชนนัน้ Parkman, Madelin and Robinson (2001) กล่าวว่าปริ มาณมูลค่างานที่ทาการจ้ างและระยะเวลาของ สัญญาการจ้ างเหมาบารุงรักษาเป็ นหนึ่งในปั จจัยหลักที่สาคัญต่อความสนใจเข้ ารวมดาเนินงาน ในขณะที่ พื ้นที่ทาการจัดจ้ างก็เป็ นอีกปั จจัยหนึ่งที่มีความสาคัญ โดยพื ้นที่ที่มีความเจริ ญเช่นพื ้นที่ในเขตเมืองมักมี ภาคเอกชนสนใจเข้ ามาร่ วมดาเนินการมากกว่าพื ้นที่ในเขตชนบทที่ห่างไกลออกไป (Steel and Long, 1998) ความสนใจในด้ า นของการลงทุน ในภารกิ จ บ ารุ ง รั ก ษาได้ เ พิ่ ม ขึน้ อย่า งมากนับ ตัง้ แต่ใ นช่ ว งปี ค.ศ. 1970 เป็ นต้ นมา เนื่องจากทางสายต่างที่สร้ างขึ ้นอย่างมากในช่วงก่อนหน้ านีเ้ ริ่ มเสื่อมสภาพลง ประกอบกับการเริ่ มตระหนักถึงความสาคัญของการบารุ งรักษาที่เป็ นการช่วยยืดอายุการใช้ งานและช่วย ประหยัดงบประมาณในการก่อสร้ างใหม่ จากเหตุผลดังกล่าวทาให้ งบลงทุนจานวนมากได้ ถูกใช้ ในงาน บารุ งรักษา ซึ่งปั ญหาหนึ่ง ที่เกิ ดขึน้ ตามมาคือ การที่หน่วยงานภาครั ฐที่รับผิดชอบดูแลในเรื่ องของการ บารุ งรักษาอยู่นนไม่ ั ้ มีขีดความสามารถที่เพียงพอที่จะรองรับปริ มาณงานที่เพิ่มขึ ้นอย่างรวดเร็ วได้ รวมทัง้ การดาเนินงานบางประเภทอาจต้ องอาศัยบุคลากรหรื อเครื่ องมือเครื่ องจักรเป็ นพิเศษ สาเหตุเหล่านี ้ส่งผล ให้ เอกชนเริ่มเข้ ามามีบทบาทในภารกิจของรัฐมากขึ ้นตามลาดับ (Jorgansen and Whitman, 1984) อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพของการดาเนินงานที่ได้ จากภาคเอกชนนันย่ ้ อ มแตกต่างกันไปตามผล จากปั จ จัย ต่า งๆ ซึ่ ง คุณ ภาพของงานที่ ไ ด้ รั บ นับ เป็ นสิ่ ง หนึ่ ง ที่ มี ค วามส าคัญ โดยจากการศึก ษาของ Witheford (1997) พบว่าปั ญหาเกี่ ยวกับคุณภาพของงานเป็ นปั ญหาหลักที่เกิดขึน้ เมื่ อมีการจ้ างเหมา ภาคเอกชนให้ เ ข้ า มาร่ ว มดาเนิน การในภารกิ จ ของรั ฐ ในการพิ จ ารณาคุณ ภาพของงานที่ ไ ด้ จ ากการ ดาเนินงานของภาคเอกชนนัน้ ได้ มีผ้ ทู าการศึกษาไว้ หลายรายซึ่งผลลัพธ์ที่ได้ มีทงพอใจมากและพอใจน้ ั้ อย ต่อผลงานของภาคเอกชน เช่น การศึกษาของ McMullen (1986) ซึ่งได้ ทาการสารวจความคิดเห็นของ หน่วยงานต่างๆ ที่รับผิดชอบในการดูแลและบารุงรักษาถนนและสะพานทัว่ ประเทศสหรัฐอเมริ กา และพื ้นที่ ใกล้ เคียงเกี่ยวกับความพอใจในคุณภาพงานที่ได้ จากภาคเอกชนจานวนทังสิ ้ ้น 28 หน่วยงาน พบว่ามีเพียง 57% ที่พอใจต่อคุณภาพงานที่ได้ ในขณะที่ผลการศึกษาของ Newman and Garmong (1991) ที่ได้ ทาการสารวจความคิดเห็นของ เจ้ า หน้ าที่ จ ากหน่ วยงานของรั ฐ ต่า งๆ ของประเทศอเมริ กาที่ เกี่ ยวข้ อ งกับ การบ ารุ ง รั ก ษาถนนจ านวน 44 หน่วยงานเกี่ ยวกับความพอใจในคุณภาพงานที่ได้ จากภาคเอกชน พบว่า 68% มีความพอใจต่อ คุณภาพของงานที่ได้ รับ ส่วนหน่วยงานที่ยงั มีความไม่พอใจต่อคุณภาพของงานที่ได้ รับนันให้ ้ ความคิดเห็น ว่า สาเหตุหลักมักเกิดจากงานจากเอกชนดังนี ้ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
1. ใช้ วสั ดุที่ไม่มีคณ ุ ภาพ 2. วิธีการปฏิบตั งิ านไม่ถกู ต้ องตามมาตรฐานที่ภาครัฐกาหนดไว้ วิธี การจัดการกับปั ญ หาดังกล่าวมี ตงแต่ ั ้ การระงับการจ่ายเงินหรื อลดจ านวนเงิ นที่ จ ะจ่ายให้ แก่ ภาคเอกชนผู้รับจ้ าง การบังคับให้ ผ้ รู ับจ้ างต้ องแก้ ไขงานให้ แล้ วเสร็ จโดยสมบูรณ์โดยผู้รับจ้ างต้ องเป็ นผู้ออก ค่าใช้ จ่ายเอง หรื อการหักคะแนนประเมินประสิทธิ ภาพการทางานของผู้รับจ้ างซึ่งจะมีผลต่อโอกาสของ ภาคเอกชนผู้รับจ้ างในการเข้ ามาประมูลงานอื่นในโอกาสต่อไป พร้ อมกันนี ้ภาครัฐจาเป็ นต้ องเพิ่มความ รอบคอบในการเขียนข้ อกาหนดต่างๆ ในสัญญา และการควบคุมตรวจสอบการทางานของภาคเอกชนให้ มากขึ ้นกว่าเดิม ระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชนเป็ นอีกประเด็นหนึ่งที่มีความสาคัญในการพิจารณา ประสิทธิภาพการทางานของภาคเอกชน ซึ่งหน่วยงานแต่ละแห่งมีความพึงพอใจต่อระยะเวลาการเข้ ามา ดาเนินการของภาคเอกชนแตกต่างกันไป โดยจากการศึกษาของ McMullen (1986) พบว่าหน่วยงานที่ เกี่ยวข้ องกับการบารุงรักษาทางที่ทาการศึกษา มีจานวนถึงประมาณ 80% ที่มีความพอใจต่อระยะเวลาการ เข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชน ในขณะที่ผลการศึกษาของ Witheford (1997) พบว่าปั ญหาเกี่ยวกับ ระยะเวลาการเข้ ามาดาเนินการของภาคเอกชนเป็ นปั ญหาหลักอีกปั ญหาหนึ่งที่เกิดขึ ้นเมื่อมีการจ้ างเหมา ภาคเอกชนให้ เข้ ามาร่วมดาเนินการในภารกิจของรัฐ ในส่วนของประเด็นด้ านการประหยัดต้ นทุนค่าใช้ จ่ายนัน้ จากข้ อมูลของรัฐ Massachusetts พบว่า การจ้ างภาคเอกชนเข้ ามาบารุงรักษาทางสามารถช่วยให้ รัฐประหยัดงบประมาณลงได้ ประมาณ 4.4 ล้ าน เหรี ยญสหรัฐ ทางด้ านข้ อมูลของรัฐ Virginia ประมาณไว้ ว่าสามารถประหยัดงบประมาณลงได้ ประมาณ 17% หรื อประมาณ 22 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ ตลอดระยะเวลา 5 ปี ครึ่งของสัญญา (Kostro, 1994) ในขณะที่ประเทศออสเตรเลียซึ่งได้ ทาการจ้ างภาคเอกชนเข้ ามาช่วยบารุ งรักษาทางเช่นเดียวกัน พบว่า สามารถช่วยให้ ภาครัฐประหยัดงบประมาณลงได้ ประมาณ 25% (Porter, 2001) แต่อย่างไรก็ตาม ประเด็นในเรื่ องของการประหยัดจากการจ้ างเหมานันจ ้ าเป็ นที่จะต้ องพิจารณาข้ อมูลต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องให้ ครอบคลุมทังหมดไม่ ้ วา่ จะเป็ นต้ นทุนทางตรงหรื อต้ นทุนแฝง (Blaine, 1984) นอกจากนี ้ McMullen (1986) ยังมีความไม่มนั่ ใจในประเด็นของการประหยัดค่าใช้ จ่ายของภาครัฐจากการจ้ างภาคเอกชนเนื่องจากมี ปั จจัยต่างๆที่สง่ ผลในการพิจารณาอยูเ่ ป็ นจานวนมาก ซึ่งอาจส่งผลให้ การจ้ างภาคเอกชนมีต้นทุนที่สงู กว่า การที่ภาครัฐดาเนินการเองได้ ทางด้ านของรู ปแบบของการจ้ างภาคเอกชนในภารกิ จบารุ งรักษาทางนัน้ จากผลการศึกษาของ McMullen (1986) ที่ไ ด้ ทาการเก็บรวบรวมข้ อมูลจากหน่วยงานต่างๆ ที่ รับผิดชอบในการดูแลและ บารุงรักษาถนนและสะพานทัว่ ประเทศสหรัฐอเมริกาและพื ้นที่ใกล้ เคียงจานวนทังสิ ้ ้น 75 หน่วยงาน ซึ่งจาก ผลการศึกษาพบว่า การจ้ างเอกชนส่วนใหญ่จะพิจารณาจากราคาเป็ นหลัก โดยคัดเลือกผู้รับจ้ างที่เสนอ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ราคาต่าสุด และรูปแบบของสัญญาจ้ างส่วนใหญ่เป็ นสัญญาแบบราคาต่อหน่วย (Unit Price) ซึ่งสอดคล้ อง กับผลการศึกษาของ Witheford (1997) ที่สอบถามความคิดเห็นของหน่วยงานที่รับผิ ดชอบการบารุงรักษา ทางของรัฐต่างๆ ในประเทศสหรัฐอเมริกาจานวน 30 รัฐ ซึ่งจากผลการศึกษาพบว่า 70% คัดเลือกผู้รับจ้ าง จากราคาต่าสุด และ 55% ใช้ รูปแบบสัญญาแบบราคาต่อหน่วย (Unit Price) เมื่ อพิ จ ารณาในด้ านของระยะเวลาของสัญญา สัญญาจ้ างในงานบารุ ง รั กษาส่วนใหญ่ มักเป็ น สัญญาจ้ างระยะสัน้ เมื่อภาครัฐต้ องการซ่อมแซมงานใด ในบริ เวณใดก็คอ่ ยคัดเลือกผู้รับจ้ างเป็ นครัง้ ๆ ไป แต่อย่างไรก็ตามหลายหน่วยงานได้ มีการพัฒนารู ปแบบของสัญญาจ้ างเพื่อให้ มีความเหมาะสมกับงาน บารุงรักษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับงานบารุงปกติที่ต้องมีการซ่อมแซมอยู่ตลอดเวลา แต่มลู ค่างานในแต่ละ ครัง้ อาจจะไม่มากนัก ซึง่ แนวทางรูปแบบหนึง่ ที่ได้ มีการใช้ กนั ได้ แก่ การจ้ างเอกชนมาดาเนินการในลักษณะ สัญญาระยะเวลายาว (เช่น 1 ปี หรื อมากกว่า) โดยมีการประมาณความเสียหายไว้ ก่อน ซึ่งเมื่อถนนเกิด ความเสียหายขึ ้นจริงก็คอ่ ยให้ เอกชนรายนันเข้ ้ าไปซ่อมแซมเป็ นครัง้ ๆ ไปตลอดอายุสญ ั ญา ตัว อย่ า งของรู ป แบบสัญ ญาจ้ า งดัง กล่า วได้ แ ก่ สัญ ญาจ้ า งบ ารุ ง ปกติข องประเทศนิ ว ซี แ ลนด์ (Porter, 2001) ซึง่ เป็ นสัญญาจ้ างเอกชนสาหรับงานบารุงปกติประเภทต่างๆ มีอายุของสัญญาตังแต่ ้ 1-5 ปี โดยมีรูปแบบการจ่ายเงินแบบราคาต่อหน่วย (Unit Price) โดยจ่ายเป็ นรายเดือน ดังตัวอย่างในตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 ตัวอย่างระยะเวลาของสัญญาจ้ างในงานบารุงปกติประเภทต่างๆ ของประเทศนิวซีแลนด์ ประเภทของงานในสัญญา 1. 2. 3. 4. 5.
งานบารุงรักษาผิวทาง งานบารุงรักษาระบบระบายน ้า งานติดตังและซ่ ้ อมแซมระบบไฟสัญญาณจราจร งานติดตังและซ่ ้ อมแซมระบบไฟฟ้ าแสงสว่าง งานติดตังและซ่ ้ อมแซมเครื่ องหมายจราจรและสิง่ อานวยความ ปลอดภัย 6. งานบารุงรักษาสะพานและโครงสร้ าง 7. งานตัดหญ้ าและกาจัดวัชพืชอื่นๆ ทีม่ า : Porter (2001)
ระยะเวลาของสัญญา (ปี ) 3-5 3-5 3-5 1 1 3-5 2
นอกจากนี ้ หลายประเทศได้ มีการพัฒนารูปแบบสัญญาจ้ างสาหรับงานบารุงปกติไปเป็ นในรูปแบบ ของสัญญาจ้ างเหมาบารุ งรักษาแบบเบ็ดเสร็ จ (Total Maintenance Contract: TMC) ซึ่งสัญญาจ้ าง ดังกล่าวนี ้เป็ นการกาหนดให้ ผ้ รู ับจ้ างมีหน้ าที่ในการรับผิดชอบดูแลและบารุ งรักษาสิ่งก่อสร้ างต่างๆ ของ ภาครัฐในช่วงระยะเวลาหนึ่ง โดยอาจให้ รับผิดชอบดูแลการบารุงรักษาในบางภารกิจหรื อให้ รับผิดชอบทุก ภารกิจ และผู้รับจ้ างได้ รับค่าตอบแทนในอัตราคงที่ (Lump-sum) ตามที่ทงสองฝ่ ั้ ายได้ มีการตกลงกันไว้ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-7
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
โดยในการดาเนินงาน ผู้รับจ้ างจะรับประกันว่าตลอดระยะเวลาของสัญญา จะดูแลถนนในงานที่รับผิดชอบ ให้ เป็ นไปตามเกณฑ์คณ ุ ภาพที่ภาครัฐกาหนด (Parkman, Madelin and Robinson, 2001) ซึ่งในปั จจุบนั ได้ มีหน่วยงานหลายแห่งเริ่ มนารู ปแบบสัญญาดังกล่าวเข้ ามาใช้ ลักษณะของสัญญาดังกล่าวนี ้ เป็ นการที่ ภาครัฐโอนความรับผิดชอบเกี่ยวกับการบารุ งรักษาทางไปให้ ภาคเอกชนดูแล ไม่ว่าจะเป็ นในส่วนของการ สารวจความเสียหาย การวางแผนการบารุ งรักษา และการดาเนินการบารุ งรักษา โดยภาครัฐเป็ นเพียง ผู้ดแู ลตรวจสอบผลงานที่ผ้ รู ับจ้ างทาให้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด ซึ่งรูปแบบการจ้ างดังกล่าวนี ้ ส่วนใหญ่จะเป็ นในลักษณะของ Outcome Driven Contract กล่าวคือ ภาครัฐจะให้ อิสระแก่ผ้ รู ับจ้ างในการ เลือกเทคนิควิธีในการบารุงรักษาหรื อวัสดุที่ใช้ ตราบใดที่ผลงานที่ได้ เป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานที่กาหนด นอกจากนี ้สัญญาลักษณะดังกล่าวยังเป็ นการโอนความเสี่ยงในการดาเนินงานไปให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง เนื่องจาก จ่ายค่าตอบแทนในอัตราคงที่ไม่วา่ ปริมาณงานจะมากหรื อน้ อย (Porter, 2001) ประเทศแรกที่มีการนาสัญญาในลักษณะดังกล่า วมาใช้ ได้ แก่ ประเทศสหรัฐอเมริ กา โดยในปี ค.ศ. 1992 รัฐ Massachusetts ได้ เริ่มทดลองใช้ รูปแบบสัญญาในลักษณะของ TMC ในการจ้ างเหมาบารุงปกติ ถนนเป็ นระยะทางทังสิ ้ ้น 1,450 ไมล์ หรื อคิดเป็ น 12% ของความยาวถนนทัง้ หมดในรัฐนัน้ ระยะเวลาของ สัญญา 1 ปี และได้ ขยายเพิ่มเป็ น 7,200 ไมล์ ในปี ถัดมา(Kostro, 1994) ในขณะที่รัฐ Virginia ประเทศ สหรัฐอเมริ กา ได้ เริ่ มใช้ สญ ั ญาลักษณะดังกล่าวในปี ค.ศ.1996 ครอบคลุมระยะทางทัง้ สิน้ ประมาณ 1,100 ไมล์ หรื อประมาณ 25% ของความยาวของถนนทัง้ หมดในรัฐนัน้ โดยมีระยะเวลาของสัญญา 5 ปี ครึ่ง และมีมลู ค่าของสัญญา 131.6 ล้ านเหรี ยญสหรัฐ โดยกาหนดให้ ผ้ รู ับจ้ างต้ องรับผิดชอบในงาน บารุ ง ปกติทุกประเภทตัง้ แต่การปะซ่อมผิ วทางจนถึง การกาจัดวัชพื ช (Zimmerman, Wolters and Kallman, 2001) ในสัญญาของรัฐ Virginia นี ้ ภาครัฐจะกาหนดเกณฑ์มาตรฐานของงานประเภทต่างๆ ที่ผ้ รู ับจ้ างต้ อง ดาเนินการให้ ได้ ตามที่กาหนดตลอดอายุสญ ั ญา ดังตัวอย่างที่แสดงในตารางที่ 3.2 นอกจากนี ้ยังมีประเทศอื่น ที่ ใ ช้ รู ป แบบการจ้ า งดัง กล่า วด้ วย เช่น ประเทศออสเตรเลี ย ซึ่ง ได้ เ ริ่ ม ใช้ รู ป แบบสัญ ญาดัง กล่า วในปี ค.ศ. 1995 ครอบคลุมถนนความยาวทังสิ ้ ้น 2,000 กิโลเมตร ระยะเวลาของสัญญา 10 ปี มูลค่าของสัญญา ทังสิ ้ ้น 170 ล้ านเหรี ยญออสเตรเลีย (Hudson, Hass and Uddin, 1997) ทางด้ านประเทศโคลัมเบีย ได้ เริ่ มใช้ สญ ั ญา TMC สาหรับจ้ างเหมาภาคเอกชนในงานบารุ งปกติ ตังแต่ ้ ปี ค.ศ.1997 โดยสัญญาดังกล่าวมีอายุ 2 ปี มีงวดการจ่ายเงินให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างทุกเดือน (Parkman, Madelin and Robinson, 2001)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-8
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 3.2ตัวอย่างเกณฑ์มาตรฐานของงานบารุงรักษาผิวทางแอสฟั ลต์
-
เป้าหมายของการ บารุ งรักษา ความเรี ยบ (Smooth) ความปลอดภัย (Safety) ความฝื ด (Skid) ความคงทน (Durability)
เกณฑ์ มาตรฐานที่กาหนด
- Skid Index มากกว่า 20 - ความกว้ างของรอยแตกแบบร่องล้ อ (Rut) น้ อยกว่า 0.5 นิ ้ว - รอย Crack ห้ ามกว้ างเกิน 0.25 นิ ้ว - รอยหลุมบ่อ (Pothole) ห้ ามกว้ างเกิน 3 นิ ้ว หรื อลึกเกิน 1 นิ ้ว - การปะซ่อม (Patching) ห้ ามมีระดับสูงหรื อต่ากว่าผิวข้ างเคียงเกิน 0.5 นิ ้ว - PCI Index เป็ นไปตามค่าที่กาหนด ทีม่ า: Zimmerman, Wolters and Kallman (2001)
อย่างไรก็ตามในการจ้ างภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในการดาเนินงานโดยทัว่ ไปนั น้ ยังคงมีปัญหา บางประการเกิดขึ ้นโดย Whitman (1984) ได้ สรุปถึงปั ญหาหลักที่เกิดขึ ้นได้ แก่ 1. ปั ญหาในการกาหนดขอบเขตและปริมาณงานที่จะทาการจ้ าง 2. ปั ญหาการเขียนข้ อกาหนดต่างๆในเอกสารสัญญาจ้ าง ซึ่งจะส่งผลโดยตรงต่อคุณภาพของงานที่ ได้ โดยเอกสารสัญญาจ้ างบางส่วนยังไม่มีความเหมาะสมกับภารกิจบารุงรักษา 3. ปั ญหาขีดความสามารถของบุคลากรภาครัฐในการควบคุมตรวจสอบการทางาน ทังในด้ ้ านของ ความรู้ความสามารถและความเพียงพอของบุคลากร 4. ปั ญหาความสนใจและความพร้ อมในการเข้ ามาดาเนินงานของภาคเอกชน 5. ปั ญหาความไม่ชดั เจนในการเปรี ยบเทียบความคุ้มค่าในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการแทน ภาครัฐ นอกจากนี ้ Campbell (1995) ได้ เสนอข้ อคิดสาหรับการพิจารณาการจัดจ้ างภาคเอกชนว่าผู้ประเมิน ควรมีความเป็ นกลางและควรประเมินโดยใช้ ทงข้ ั ้ อมูลเชิงปริ มาณและข้ อมูลเชิงคุณภาพ ทางด้ าน Greaver (1999) เสนอว่าหน่วยงานที่จะจ้ างเอกชนควรจะต้ องศึกษาถึงความพร้ อมในการกลับมาดาเนินการใน ภารกิจดังกล่าวเองอีกครัง้ ภายหลังถ้ าเกิดมีการเลิกจ้ างเอกชนไปด้ วย ในขณะที่ Larbi (1998) กล่าวว่าควร ให้ ความสนใจถึงปั ญหาบุคลากรและเครื่ องมือเครื่ องจักรที่มีอยู่ว่าจะจัดการอย่างไรเมื่อ มีการนาเอกชนเข้ า มาดาเนินการแทน รวมทัง้ ปั ญหาการต่อต้ านจากเจ้ าหน้ าที่ของภาครัฐ ที่อาจเกิดจากความไม่มั่นใจใน ตาแหน่งหน้ าที่การงานที่รับผิดชอบอยูซ่ งึ่ อาจจะต้ องถูกปรับลดหรื อโอนถ่ายไปอยู่กบั หน่วยงานอื่น
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-9
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
3.2 ศึกษาและเก็บข้ อมูลเบือ้ งต้ นถึงรู ปแบบที่ดาเนินงานในปั จจุบันของภาครั ฐ 3.2.1 กรมทางหลวง งานบารุงรักษาทางหลวงแผ่นดินของกรมทางหลวง ในส่วนของภารกิจบารุงตามกาหนดเวลา บารุงพิเศษและบูรณะ ปั จจุบนั กรมทางหลวงจ้ างภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการเกือบทังหมด ้ ในขณะที่ใน ส่วนของภารกิจบารุ งปกติงานทางนัน้ ในอดีตที่ผ่านมากรมทางหลวงจะดาเนินการบารุงรักษาเอง โดยมี หน่วยงานย่อยที่มีหน้ าที่เฉพาะในการบารุ งรักษาทางกระจายอยู่ตามพื ้นที่ต่างๆ ทัว่ ประเทศ ได้ แก่ แขวง การทางต่างๆ ซึง่ หน่วยงานย่อยเหล่านี ้จะมีหน้ าที่โดยตรงในการปฏิบตั ิงานบารุงรักษาโดยเฉพาะงานบารุง ปกติ โดยในหน่วยงานจะมีแรงงานและเครื่ องจักรไว้ สาหรับปฏิบตั งิ านตามหน้ าที่ที่ได้ รับมอบหมาย จากการที่ภาครัฐมีนโยบายในการลดขนาดของหน่วยงานลง เริ่ มจากนโยบายการลดจานวน เจ้ าหน้ าที่ที่ปฏิบตั ิงานทัง้ ข้ าราชการและลูกจ้ าง พร้ อมทังลดงบประมาณลงทุ ้ นสาหรับใช้ จดั ซือ้ เครื่ องมือ เครื่ องจักรมาทดแทนเครื่ องมือเครื่ องจักรเดิมที่เสื่อมสภาพไปทาให้ เครื่ องจักรที่ใช้ อยู่มีสภาพเก่าและไม่ เพียงพอ สิ่ งต่างๆ เหล่านี ส้ ่งผลให้ ขีดความสามารถในการดาเนินงานบารุ ง รัก ษาลดลง ซึ่ง สวนทางกับ ปริ มาณงานในการดูแลรักษาทางที่เพิ่มมากขึ ้นตามนโยบายของกรมทางหลวงที่ให้ ความสาคัญกับการ บารุงรักษาทางมากขึ ้นกว่าเดิม สิ่งดังกล่าวนี ้ก่อให้ เกิดผลที่ตามมาคือทาให้ ภาครัฐไม่มีขีดความสามารถใน การดาเนินการบารุงรักษาทางได้ อย่างครอบคลุมทัว่ ถึงและทันต่อสภาพความเสียหายที่เกิดขึ ้น ด้ วยเหตุผลดังกล่าวภาครัฐจึงมีนโยบายในการส่งเสริ มให้ เอกชนเข้ ามาร่วมดาเนินการแทนใน ภารกิ จ ที่ รั ฐ เคยด าเนิ น การเอง เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการด าเนิ น งาน ส่ ง ผลให้ เ ริ่ ม มี ก ารจ้ า ง ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการร่วมกับภาครัฐในงานบารุงปกติงานทาง โดยในส่วนของกรมทางหลวงตังแต่ ้ ปี พ.ศ. 2541 เป็ นต้ นมา กรมทางหลวงได้ เริ่ มให้ ภาคเอกชนเข้ ามาร่วมดาเนินการในงานบารุงปกติของทาง หลวงแผ่นดินดังกล่าว และได้ มีการเพิ่มสัดส่วนการจ้ างขึ ้นเรื่ อยๆ จนในปี พ.ศ. 2544 กรมทางหลวงได้ กาหนดสัดส่วนการจ้ างเอกชนในงานบารุงปกติขนต ั ้ ่า ของแต่ละแขวงอยู่ประมาณร้ อยละ 15 – 30 ของ งบประมาณต่อปี ในการบารุงปกติ ลักษณะของการจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการในงานบารุ งปกติในปั จจุบนั นัน้ เมื่อแขวงการ ทางได้ รับงบประมาณในการบารุงรักษาประจาปี มาแล้ ว ก็จะแบ่งงบประมาณส่วนหนึ่งออกมาไว้ สาหรับใช้ จ้ างเอกชนในงานบารุ งปกติ สัดส่วนของงบประมาณที่จะแบ่งออกมานัน้ จะมีปริ มาณที่แตกต่างกันตาม แขวงการทางต่างๆ แต่ต้องไม่น้อยกว่าสัดส่วนขันต ้ ่าที่ สานักบริ หารบารุงทางกาหนด โดยสัดส่วนดังกล่าวมี ค่าอยูร่ ะหว่าง 15 – 30 เปอร์ เซ็นต์จากงบบารุงปกติทงหมด ั้ และสัดส่วนดังกล่าวขึ ้นอยู่กบั การตัดสินใจของ แต่ล ะแขวงการทาง โดยพิจ ารณาทัง้ ในส่วนของปริ มาณความเสียหายที่ ส ารวจ จ านวนบุคลากร และ จานวนเครื่ องจักรซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของแขวง จากนัน้ แขวงการทางต่างๆ จะทาการสารวจสภาพ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-10
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ความเสียหายประเภทต่างๆ ของทางหลวงที่อยู่ในความรับผิดชอบ เมื่อรวบรวมปริ มาณความเสียหายได้ จานวนหนึง่ ก็จะทาการประกาศสอบราคา หรื อประกวดราคาจ้ างเหมาให้ เอกชนผู้สนใจเสนอราคา เอกชนที่ เสนอราคาต่าสุดก็จะได้ รับการคัดเลือกเข้ ามาดาเนินการบารุ งรักษาต่อไป โดยรู ปแบบของสัญญาเป็ น สัญญาจ้ างระยะสันเฉพาะส ้ าหรับแต่ละงาน ดังนันในปี ้ หนึ่งจึงมีสญ ั ญาจ้ างบารุงปกติหลายสัญญาขึ ้นอยู่ กับปริมาณความเสียหายที่เกิดขึ ้นและปริมาณเงินที่แต่ละแขวงการทางได้ รับ โดยลักษณะของสัญญาจ้ างเหมาดาเนินการบารุงปกติในส่วนที่เป็ นความรับผิดชอบของกรม ทางหลวงซึง่ ดาเนินการในปั จจุบนั แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะคือ สั ญ ญาลั ก ษณะจ้ างเหมาให้ ดู แ ลตลอดทั ง้ สายทาง โดยมี ก ารก าหนดมาตรฐาน และประสิทธิภาพไว้ เช่น ไม่มีหลุมบ่อตลอดสายทาง (Zero Pothole) ความยาวของหญ้ า บริ เ วณเขตทางต้ องไม่ ย าวเกิ น กว่ า มาตรฐานก าหนดไว้ หรื อต้ องด าเนิ น การตั ด 2 ครัง้ ต่อปี สัญญาลักษณะราคาต่อหน่วย (Unit Price Contract) โดยแขวงการทางดาเนินการสารวจ ความเสีย หาย และสรุ ปปริ มาณงานเพื่อดาเนินการจ้ างเหมา แต่จ านวนปริ มาณงานที่ เอกชนต้ องทาจริ งอาจมากหรื อน้ อยกว่าค่าที่ ประมาณไว้ ก็ได้ โดยภาครั ฐ มี สิ ทธิ์ ในการ ยกเลิก ปรับลด หรื อปรับเพิ่มงานในบางรายการได้ ตามความเหมาะสม และภาครัฐจะ จ่ายเงินให้ แก่เอกชนผู้รับจ้ างตามราคาต่อหน่วยของงานแต่ละรายการที่ทาได้ จริ ง ซึ่งราคา ต่อหน่วยที่จา่ ยนันเป็ ้ นราคาเดียวกับราคาต่อหน่วยซึง่ ระบุในสัญญาตอนต้ น นอกจากทางหลวงแผ่นดินที่กรมทางหลวงได้ เริ่ มจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการไปบ้ างแล้ วนัน้ กรมทางหลวงยังมีทางหลวงอีกประเภทที่ได้ มีการจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการในงานบารุ งปกติเช่นกัน ได้ แก่ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (Motor Way) ซึ่งเป็ นทางหลวงที่เก็บค่าผ่านทางจากผู้ใช้ โดยใน ปั จจุบนั อยู่ภายใต้ การดูแลของกองทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองโดยมี สานักงานบารุ งทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมืองทาหน้ าที่ในการซ่อมบารุงและดูแลรักษา โดยคณะที่ปรึกษาได้ ดาเนินการเข้ าไปสัมภาษณ์เชิงลึก เมื่อวันที่ 14 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 ณ สานักงานบารุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง โดยเชิญเจ้ าหน้ าที่ และผู้เชี่ยวชาญในกิจกรรมงานบารุ ง ปกติของทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองเข้ าร่วมสัมภาษณ์ ดังรูปที่ 3.1 และ รายละเอียดดังนี ้ 1. คุณสุชาติ ชาติประเสริฐ รองผู้อานวยการฝ่ ายวิศวกรรม 2. คุณรุ่ง บัวใหญ่รักษา หัวหน้ าฝ่ ายแผนงาน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-11
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
รูปที่ 3.1 การสัมภาษณ์เชิงลึก การดาเนินการจ้ างเหมากิจกรรมบารุงปกติ สานักงานบารุงทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง (motorway) ซึ่งลักษณะของสัญญาจ้ างในส่วนของทางหลวงพิเศษระหว่างเมื อง (Motorway) จะแตกต่าง จากสัญญาจ้ างของทางหลวงแผ่นดินทัว่ ไป กล่าวคือสัญญาจ้ างดังกล่าวเป็ นสัญญาจ้ างเอกชนเข้ ามาดูแล รักษาทางเป็ นระยะเวลายาวประมาณ10 เดือน ในลักษณะของสัญญาราคาต่อหน่วย ซึ่งภาครัฐจะกาหนด ปริ มาณงานแต่ละรายการที่เอกชนจะต้ องทาตลอดสัญญาไว้ คร่าวๆ ก่อน แต่จานวนปริ มาณงานที่เอกชน ต้ องทาจริงอาจมากหรื อน้ อยกว่าค่าที่ประมาณไว้ ก็ได้ โดยภาครัฐมีสิทธิ์ในการยกเลิก ปรับลด หรื อปรับเพิ่ม งานในบางรายการได้ ตามความเหมาะสม และภาครัฐจะจ่ายเงินให้ แก่เอกชนผู้รับจ้ างตามราคาต่อหน่วย ของงานแต่ละรายการที่ทาได้ จริง การจ้ างบารุ ง ปกติ ของทางหลวงพิเศษระหว่างเมื องนี ้ ได้ มี การแบ่ง การจ้ างออกเป็ นสอง สัญญาตามกลุ่มลักษณะงาน สัญญาที่หนึ่งเป็ นสัญญาจ้ างเหมาในงานบารุงรักษาทางและไหล่ทาง ทาง แยกต่างระดับ สะพาน ท่อ และทางระบายน ้า ส่วนสัญญาที่สองเป็ นสัญญาจ้ างเหมาในงานอานวยความ ปลอดภัย และป้องกันอุบตั เิ หตุ การดาเนินงานบารุ งรักษานัน้ เอกชนที่ได้ รับการคัดเลือกให้ เข้ าดาเนินการจะทาแผนปฏิบตั ิ งานส่ง ให้ ภ าครั ฐ ตรวจสอบและพิจ ารณาเห็นชอบก่อนลงมื อ ทางาน ซึ่ง ประกอบด้ วย แผนปฏิ บัติง าน ประจาปี และแผนปฏิบตั ิงานประจาเดือน โดยแผนปฏิบตั ิงานดังกล่าวนี ้จะแสดงถึง ลาดับขันตอน ้ ปริ มาณ งาน สถานที่ทางาน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน เครื่ องมือ เครื่ องจักร และบุคลากรที่จะทางานในแต่ละ รายการในงาน การปฏิบตั ิงานผู้รับจ้ างเอกชนและภาครัฐจะร่ วมกันตรวจสอบความเสียหายต่างๆ ของสาย ทางที่เ กิดขึน้ จริ งในแต่ละเดือน จากนัน้ เอกชนจะทาการรวบรวมความเสียหายดัง กล่าว เพื่ อเสนอเป็ น แผนการด าเนิ น การบ ารุ ง รั ก ษาส าหรั บ เดื อ นต่อ ไป และให้ ภ าครั ฐ พิ จ ารณาอนุมัติเพื่ อ เข้ า ด าเนิ น การ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-12
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บารุ ง รั กษาต่อไป นอกจากนี ใ้ นกรณี ที่เ ป็ นงานซ่อมฉุกเฉิ นที่อยู่น อกเหนื อแผนรายเดือนที่ เอกชนเสนอ ภาครัฐสามารถสัง่ ให้ เอกชนเข้ าไปดาเนินการแล้ วให้ ไปเบิกเงินรวมกับงานตามแผนเดิมเมื่อสิ ้นงวดได้ ผลที่ได้ รับจากการที่กรมทางหลวงนารู ปแบบการจ้ างบารุ งปกติระยะยาวดังกล่าวมาใช้ คือ ก่อให้ เกิดความรวดเร็วในการปฏิบตั ิงาน เนื่องจากสัญญาจ้ างระยะยาวใช้ เวลาในขันตอนการคั ้ ดเลือกผู้รับ จ้ างเพียงครัง้ เดียว ทาให้ ประหยัดเวลาในการคัดเลือกผู้รับจ้ าง นอกจากนีย้ งั ลดระยะเวลาในขัน้ ตอนของ การคัดเลือกผู้รับจ้ างลงยังส่งผลให้ ถนนได้ รับการบารุ งรักษาอย่างทัน ท่วงทีต่อการเสียหายที่เกิดขึ ้น และ รวดเร็วกว่ารูปแบบการจ้ างสัญญาระยะสันที ้ ่จะต้ องรอรวบรวมปริ มาณงานให้ ได้ จานวนหนึ่ งจึงดาเนินการ จ้ างเป็ นครัง้ ๆ ไป ซึง่ ในบางครัง้ ความเสียหายก็เกิดขึ ้นเป็ นเวลานานกว่าจะได้ รับการบารุงรักษา นอกจากนี ้ สัญญาจ้ างระยะยาวยังเป็ นการลดภาระการทางานของภาครัฐในการจัดเตรี ยมการจ้ างอีกด้ วย ผลดีประการต่อมาได้ แก่ เรื่ องของคุณภาพและมาตรฐานในการทางาน เนื่องจากรูปแบบการ จ้ างระยะยาวเป็ นการรวบรวมงานที่จะทาตลอดระยะหนึ่ง เช่น ตลอดปี เพื่อมาดาเนินการจ้ างในครัง้ เดียว ทาให้ ปริ มาณงานมีเป็ นจานวนค่อนข้ างมากซึ่งส่งผลให้ มีมูลค่าของสัญญาสูง ก่อให้ เกิดความสนใจแก่ผ้ ู รับจ้ างในการเข้ ามาร่ วมแข่งขัน ภาครัฐสามารถกาหนดคุณสมบัติของผู้รับจ้ างให้ มีมาตรฐานที่สงู ได้ ไม่จะ เป็ นในด้ านของบุคลากร หรื อเครื่ องมือเครื่ องจักรต่างๆ เนื่องจากเอกชนมีความคุ้มค่าในการลงทุนมากกว่า การรับงานที่มีมลู ค่าน้ อยๆ ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งโดยเฉพาะกับโครงการทางหลวงพิเศษระหว่างเมืองที่ ต้ องการผู้รับจ้ างบารุงรักษาที่มีมาตรฐานสูง เนื่องจากเป็ นทางหลวงพิเศษที่ รถใช้ ความเร็ วสูงและผู้ใช้ ต้อง เสียเงินค่าผ่านทาง นอกจากนี ้ข้ อดีอีกประการหนึ่งคือ ความเป็ นมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบตั ิงาน เนื่องจาก เป็ นสัญญาจ้ างระยะยาวที่มีการรวมงานต่างๆ เข้ ามาจ้ างพร้ อมกันในครัง้ เดียว โดยให้ เอกชนผู้รับจ้ างราย หนึง่ เข้ ามารับผิดชอบ รวมทังยั ้ งเป็ นการสะดวกต่อภาครัฐในการควบคุมตรวจสอบการทางานของผู้รับจ้ าง ด้ วย ซึง่ ความเป็ นมาตรฐานเดียวกันในการปฏิบตั งิ านนี ้มีความสาคัญอย่างยิ่งกับโครงการทางหลวงพิเศษ ระหว่างเมื องที่ มีเส้ นทางผ่านพื น้ ที่ ในหลายจัง หวัด ถ้ าให้ ผ้ ูรับจ้ างหลายรายเข้ ามาดาเนินการอาจเกิ ด ปั ญหาคุณภาพในการดาเนินงานแตกต่างกัน ซึง่ จะส่งผลเสียต่อการสัญจรของผู้ใช้ เส้ นทางที่ต้องการทางที่ มีสภาพดีสม่าเสมอตลอดเส้ นทางได้ อย่างไรก็ตาม การจ้ างเอกชนในงานบารุ งปกติของทางหลวงระหว่างเมืองนี ้ ยังคงมีปัญหา อุปสรรคเกิดขึ ้นอยู่บางประการ เช่น ความยากในการระบุประเภทและปริ มาณความเสียหายของงานใน สัญญาจ้ าง เนื่องจากลักษณะของงานบารุ งปกตินนั ้ สามารถที่จะจาแนกเป็ นประเภทย่อยต่างๆ ได้ เป็ น จานวนมาก ทาให้ เ กิดความยากในการเขียนประเภทงานบารุ ง ปกติต่างๆ ในสัญญาให้ ครอบคลุม งาน ทังหมดที ้ ่จะเกิดขึน้ จริ ง นอกจากนี ้จากการที่ลกั ษณะของงานบารุ งปกติที่ ส่วนใหญ่มกั ไม่ทราบปริ มาณที่ เกิดแน่นอน ยังส่งผลให้ การกาหนดปริมาณงานของงานบารุงปกตินนก ั ้ าหนดได้ ล่วงหน้ าค่อนข้ างยาก สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-13
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
นอกจากนี ้จากการสัมภาษณ์เกี่ยวกับการติดตาม และตรวจสอบการดาเนินงาน ตลอดจนการ ตรวจการจ้ างเหมาบารุ งปกติของกรมทางหลวงพบว่าในขันตอนการตรวจสอบการจ้ ้ า งเหมานัน้ ก่อนการ ดาเนินงานใดๆ ผู้รับเหมาต้ องแจ้ งผู้ควบคุมงานทุกครัง้ เพื่อให้ ผ้ คู วบคุมงานได้ ตรวจสอบความเรี ยบร้ อย เช่น การขุดซ่อมผิวทาง ควรมีการแจ้ งผู้ควบคุมงานตรวจสอบการขุดรื อ้ ชันทางว่ ้ าได้ ดาเนินการขุดรื อ้ ชันที ้ ่ เสี ยหายออกแล้ วทัง้ หมด และให้ ผ้ ูควบคุม งานจัดทารายงานการดาเนินงาน เช่น ก่อนการดาเนินงาน ระหว่างการดาเนินงาน และหลังการดาเนินงาน แจ้ งแก่คณะกรรมการตรวจการจ้ างในโครงการดังกล่าว ต่อไป สาหรับแนวทางการตรวจการจ้ างเหมามีแนวทางในการตรวจการจ้ างดังตารางที่ 3.3 ตารางที่ 3.3 แนวทางการตรวจการจ้ างเหมาบารุงปกติ ประเภทสินทรัพย์ ผิวทาง
กิจกรรม ปะซ่อมผิวทาง ขุดซ่อมผิวทาง
ส่วนประกอบอื่นถนน และจราจร สงเคราะห์ งานตัดหญ้ า
รายละเอียดการตรวจการจ้ าง ปริ มาณงานตามรายละเอียดในแบบ ความกว้ าง และยาวของรอยปะซ่อม ผลการทดสอบวัสดุที่นามาใช้ ในการซ่อมบารุง สูตรส่วนผสมเฉพาะงาน (Job Mixed Design) ความแน่นในการบดอัดเป็ นไปตามมาตรฐาน รายงานการติดตามการดาเนินงานของผู้ควบคุมงาน มาตรฐานกรมทางหลวง ความสูงของหญ้ าอยูร่ ะหว่าง 4 – 7 ซม. โดยทัว่ ไปแนะนาให้ ตัดที่ความสูง 5 ซม. ทังนี ้ ้ขึ ้นอยูก่ บั พื ้นที่ด้วย
ทัง้ นี ใ้ นการแต่ง ตัง้ คณะตรวจการจ้ าง และผู้ควบคุม งานนัน้ เนื่ องจากงานบารุ ง ปกติมิ ไ ด้ ดาเนินการพร้ อมกันหลายๆ โครงการ ดังนันผู ้ ้ ควบคุมงานจึงไม่ได้ อยู่ประจา ณ ตาแหน่งที่ซ่อมบารุ ง แต่ ผู้รับเหมาต้ องแจ้ งผู้ควบคุมงานทุกครัง้ ก่อนดาเนินงาน โดยทัว่ ไปผู้ควบคุมงาน 1 คนจะดูแลโครงการจ้ าง เหมาบารุงปกติไม่เกิน 2 โครงการ และโครงการดังกล่าวควรอยู่ในพื ้นที่เดียวกัน และใกล้ กบั โครงการหลัก ซึ่ง ผู้ควบคุม งานดัง กล่าวดูแลอยู่ และการแต่ง ตัง้ ผู้ค วบคุม งานต้ อ งเหมาะสมกับ ความสามารถ และ ประสบการณ์ของผู้ควบคุมงานด้ วย เช่น ผู้ควบคุมงานซึ่งมีความรู้และประสบการณ์ งานซ่อมบารุงปกติผิว ทาง ก็ควรให้ ดแู ลในส่วนของการซ่อมบารุ งปกติผิวทาง นอกจากนี ้ในการควบคุมงานต้ องมีการจัดลาดับ ความสาคัญของงานเช่นกัน เช่น ในกรณีที่งานผิวทาง และงานตัดหญ้ าดาเนินการพร้ อมกัน ผู้ควบคุมงาน ต้ องเข้ าไปควบคุมงานในส่วนของงานผิวทางก่อน เนื่องจากมีความสาคัญ และส่งผลกระทบต่อผู้ใช้ ทาง มากกว่างานตัดหญ้ า
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-14
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
3.3 ศึกษารู ปแบบสัญญาสาหรั บการดาเนินงานจ้ างเหมาในปั จจุบัน สัญญา หมายถึง ความตกลงร่ วมกันระหว่างสองฝ่ ายโดยฝ่ ายหนึ่งสัญญาว่าจะจัดหาบริ การวัสดุ และทรัพยากรที่จาเป็ นเพื่อดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่กาหนด และอีกฝ่ ายหนึ่งสัญญาว่าจะจ่าย ค่าตอบแทนให้ ตามที่ได้ ดาเนินการดังกล่าวแล้ วเสร็จ สัญญาการจะมีผลบังคับใช้ ตามกฎหมายได้ จะต้ องประกอบด้ วยหลักการ พื ้นฐานเบื ้องต้ นที่สาคัญ ของการทาสัญญา ที่สาคัญก็คือคูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ ายจะต้ องเป็ นผู้ที่กฎหมายให้ การรับรองว่า สามารถทา สัญญา (LEGAL CAPACITY TO SIGN THE CONTRACT) แทนบริ ษัทของแต่ละฝ่ ายได้ สัญญาที่ดี จะต้ องมีเนื ้อหาเด่นชัด สามารถปฏิบตั ไิ ด้ และมีความเป็ นธรรมต่อผู้ที่เกี่ยวข้ องทุกฝ่ าย สัญญาในปั จจุบนั มีหลายชนิด หลายประเภท แล้ วแต่ความต้ องการของผู้ว่าจ้ าง แต่โดยทัว่ ๆ ไปแล้ ว สัญญาแต่ละประเภท มีข้อดีและข้ อเสียแตกต่างกันออกไปตามประเภทของงาน สัญญาที่นิยมใช้ กนั มากใน ประเทศไทย ได้ แก่ 1. สัญญาประเภทเหมารวม (LUMP SUM CONTRACT) เป็ นสัญญาที่นิยมใช้ มากในประเทศ ไทย ลักษณะของสัญญาประเภทนี ้ คือ ผู้รับจ้ างตกลงที่จะทางานทังหมดที ้ ่ระบุในสัญญาในวงเงินที่คงที่ จานวนหนึง่ ส่วนระยะเวลาของการจ่ายเงินอาจจะแบ่งเป็ นงวดตามผลงานที่เสร็ จ รวมทังจ ้ านวนเงินหักเก็บ เอาไว้ เพื่อประกันผลงานด้ วย สัญญาประเภทนี ้เหมาะกับงานที่ มีลกั ษณะของการดาเนินงาน ประเภทงาน และปริมาณงานที่ชดั เจนงาน สามารถระบุถึงงบประมาณที่ต้องใช้ ได้ อย่างถูกต้ อง ข้ อดี: ทราบงบการดาเนินการที่ แน่นอน ได้ งานครบถ้ วนถูกต้ องตามข้ อกาหนดและแบบที่ กาหนดไว้ และสามารถตรวจสอบผลงานได้ ง่าย ข้ อเสีย: การเปลี่ยนแปลงหรื อปรับปรุงแก้ ไขแบบ หรื อปริมาณงานทาได้ ลาบาก 2. สัญญาประเภทราคาต่ อหน่ วย (UNIT PRICE CONTRACT) จุดประสงค์ของสัญญาประเภท นี ้ คือ คิดค่าใช้ จ่ายเป็ นราคาต่อหน่วยงานที่ทาได้ จริ ง เพื่อให้ การจ่ายเงินเป็ นไปโดยง่ายใกล้ เคียงปริ มาณ งานที่ทาได้ จริงมากที่สดุ ข้ อดี: สามารถเริ่ มทางานได้ โดยไม่จาเป็ นต้ องรู้ปริ มาณงานที่แน่นอน การจ่ายเงินให้ แก่ผ้ รู ับ จ้ างขึ ้นอยูก่ บั กับผลงานที่ทาได้ จริง การเพิ่มลดปริมาณงานทาได้ ง่าย ข้ อเสีย: การตรวจรับงานต้ องใช้ ความพยายามมากยิ่งขึ ้นเนื่องจากต้ องตรวจรับงานทังในส่ ้ วน ของปริมาณงาน และคุณภาพของงานในแต่ละงวดงาน จากการศึกษาเกี่ยวกับการจ่ายเงินค่าตอบแทนสาหรับการจ่ายเงินในสัญญาราคาต่อหน่วยซึ่ง อ้ างอิงจากระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิ่ มเติม และพระราชบัญญัติว่าด้ วย ความผิดเกี่ยวกับการเสนอราคาต่อหน่วยของรัฐ พ.ศ. 2542 พบว่า สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-15
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
“คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ าย ต่างตกลงว่า จานวนปริมาณงานที่กาหนดไว้ ในบัญชีรายการก่อสร้ าง หรื อ ใบแจ้ งปริ มาณงาน และราคานี ้ เป็ นจานวนโดยประมาณเท่านัน้ จานวนปริ มาณงานที่แท้ จริ งอาจจะมาก หรื อน้ อยกว่านี ้ก็ได้ ซึ่งผู้ว่าจ้ าง จะจ่ายเงินค่าจ้ าง ให้ แก่ผ้ รู ับจ้ าง ตามราคาต่อหน่วยของงาน แต่ละรายการ ที่ได้ ทาเสร็จจริง คูส่ ญ ั ญาทังสองฝ่ ้ าย ต่างตกลง ที่จะไม่เปลี่ยนแปลงราคาต่อหน่วย หรื อเรี ยกร้ องค่าสินไหม ทดแทน อันเกิดจาก การที่จานวนปริ มาณงานในแต่ละรายการ ได้ แตกต่าง ไปจากที่กาหนดไว้ ในสัญญา” ทังนี ้ ้นอกจากในกรณีตอ่ ไปนี ้ 1. เมื่อปริ มาณงานที่ทาเสร็ จจริ งในส่วนที่เกินกว่า ร้ อยละ125 (หนึ่งร้ อยยี่สิบห้ า) แต่ไม่เกินร้ อย ละ 150 (หนึง่ ร้ อยห้ าสิบ) ของปริมาณงาน ที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริ มาณงาน และ ราคา จะจ่ายให้ ในอัตราร้ อยละ 90 (เก้ าสิบ) ของราคาต่อหน่วยตามสัญญา 2. เมื่อปริ มาณงาน ที่ทาเสร็ จจริ ง ในส่วนที่เกินกว่า ร้ อยละ 150 (หนึ่งร้ อยห้ าสิบ) ของปริ มาณ งานที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริ มาณงาน และราคาจะจ่ายให้ ในอัตราร้ อยละ 83 (แปดสิบสาม) ของราคาต่อหน่วย ตามสัญญา 3. เมื่อปริ มาณงานที่ทาเสร็ จจริ ง น้ อยกว่าร้ อยละ 75 (เจ็ดสิบห้ า) ของปริ มาณงาน ที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริ มาณงานและราคา จะจ่ายให้ ตามราคาต่อหน่วยในสัญญา และจะ จ่ายเพิ่มชดเชย เป็ นค่า overhead และ mobilization สาหรับงานรายการ นันในอั ้ ตราร้ อยละ 17 (สิบเจ็ด) ของผลต่าง ระหว่างปริ มาณงานทังหมด ้ ของงานรายการนัน้ ตามสัญญา โดยประมาณ กับปริมาณงานที่ทาเสร็จจริง คูณด้ วย ราคาต่อหน่วยตามสัญญา 4. ผู้วา่ จ้ าง จะจ่ายเงินที่เพิ่มขึ ้น หรื อหักลดเงิน ในแต่ละกรณี ดังกล่าวข้ างต้ น ในงวดสุดท้ าย ของ การจ่ายเงิน หรื อก่อนงวดสุดท้ าย ของการจ่ายเงิน ตามที่ผ้ วู า่ จ้ าง จะพิจารณาเห็นสมควร 3. สัญญาเปิ ดท้ าย (Open – End Contract) คือ สัญญาที่มีการกาหนดราคาต่อหน่วยไว้ แต่ไม่ได้ กาหนดปริมาณงาน โดยผู้วา่ จ้ างสามารถจัดจ้ างในราคาต่อหน่วยที่กาหนดไว้ ตลอดช่วงระยะเวลาสัญญาที่ กาหนดไว้ ข้ อดี: การจ่ายเงินให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างขึ ้นอยูป่ ริมาณงานที่จดั จ้ าง ข้ อเสีย: การตรวจรับงานต้ องใช้ ความพยายามมากยิ่งขึ ้นเช่นเดียวกับสัญญาราคาต่อหน่วย และราคาต่อหน่วยที่ผ้ รู ับจ้ างเสนออาจจะสูงกว่าปกติเนื่องจากการที่ไม่ร้ ูปริ มาณงานที่แน่ชดั ในปั จจุบนั สัญญาลักษณะเปิ ดท้ ายส่วนใหญ่จะเป็ นสัญญาซื ้อขายส่วนใหญ่ และในส่วนของ การซ่อมบารุงยังไม่มีระเบียบ กฎหมายรองรับ แนวทางในการเลือกรู ปแบบสัญญาการจ้ างเหมา ควรศึกษาถึงความพร้ อมของภาครัฐเป็ นหลัก เนื่องจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด (ทชจ.) มีความแตกต่างกัน ทังเรื ้ ่ องปริ มาณงานและพื ้นที่ใน สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-16
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ความรับผิดชอบ ตลอดจนความพร้ อมของอุปกรณ์ เครื่ องจักร และบุคลากร ของ ทชจ. ซึ่งจากการศึกษาที่ ผ่านมาพบว่า หน่วยงานรัฐที่มีความพร้ อมทังเครื ้ ่ องจักรและบุคลากร จะสามารถดาเนินการด้ วยตนเอง ใน ต้ นทุนที่ถูกกว่าการให้ ภาคเอกชนดาเนินการ แต่สาหรับภาครัฐที่ไม่มีความพร้ อมในเรื่ องดังกล่าว ต้ นทุน การจ้ างภาคเอกชนมีแนวโน้ ม ถูกกว่าการที่ ภ าครั ฐ ดาเนินการเอง ทัง้ นี ใ้ นกรณี ที่ภาครั ฐ ให้ ภ าคเอกชน ดาเนินการ ควรศึกษาถึง รู ปแบบสัญ ญาให้ สอดคล้ องกับลักษณะกิ จกรรมแต่ละประเภทของงานบารุ ง ตลอดจนองค์ประกอบของแต่ละสายทาง และการใช้ งานที่แตกต่างกัน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
3-17
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บทที่ 4 วิ เคราะห์ และเปรียบเทียบความคุ้มค่าในการลงทุน และผลประโยชน์ ที่เกิ ดขึน้ ระหว่างการจ้างเหมาภาคเอกชน และการดาเนิ นงานเอง 4.1 ปั ญหา และอุปสรรคในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการในภารกิจบารุงปกติงานทาง และ ข้ อเสนอแนะในการแก้ ปัญหา การจ้ างเหมา (Contract Out) หมายถึง การที่ภาครัฐทาสัญญากับภาคเอกชนโดยเป็ นการทาความ ตกลงที่ มี ผ ลผูกพันให้ ภ าครั ฐ ต้ องจ่ายเงิ นให้ กับภาคเอกชนนัน้ เพื่ อ ให้ ภ าคเอกชนจัดการบริ การให้ แ ก่ ประชาชน ณ ระดับปริ มาณและคุณภาพตามที่ทงสองฝ่ ั้ ายได้ ตกลงกัน ทาให้ ภาครัฐสามารถให้ บริ การงาน ต่างๆได้ โดยที่ภาครัฐเป็ นเพียงผู้กาหนดแนวทางความต้ องการที่ต้องการได้ รับจากภาคเอกชน พร้ อมทังท ้ า การควบคุมตรวจสอบการทางานของภาคเอกชนให้ เป็ นไปตามความต้ องการช่วยให้ ภาครัฐไม่จาเป็ นต้ อง ดาเนินการในภารกิจดังกล่าวเองทังหมด ้ อย่างไรก็ตามการจ้ างเหมาให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการนันจ ้ าเป็ นต้ องมีการพิจารณาปั จจัยต่างๆ ทัง้ ในส่วนที่เกี่ ยวข้ องกับระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี สานักงบประมาณ กระทรวงการคลัง และปั ญหา อุปสรรคในมุมมองของภาคเอกชน เพื่อให้ การจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการเกิดประสิทธิภาพใน การดาเนิน การ และเป็ นการรั กษาผลประโยชน์ ให้ ภ าครั ฐ มากที่ สุด รายละเอี ยดที่ เกี่ ยวข้ องกับปั จ จัย ดังกล่าวสรุปได้ ดงั นี ้ 4.1.1 การจ้ างเหมาตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี และกรมบัญชีกลางกระทรวงการคลัง คณะที่ปรึ กษาได้ วิเคราะห์และพิจารณาแล้ ว เห็นว่า ส่วนสาคัญในการจ้ างเหมาภาคเอกชน เข้ ามาดาเนินการในงานซ่อมบารุงปกติที่เกี่ยวข้ องกับระเบียบสานักนายก และกรมบัญชีกลางคือ การคา้ ประกันผลงาน การให้ เ อกชนเข้ ามาดาเนินการบารุ ง รั กษานัน้ ภาครั ฐ มี ข้อ กาหนดระบุให้ เ อกชนต้ อ ง รับประกันผลงานที่ได้ ดาเนินการภายในระยะเวลา 2 ปี ข้ อกาหนดดังกล่าวนี ้ก่อให้ เกิดปั ญหาแก่ภาคเอกชน ในการเข้ ามารับงานบารุงปกติ เนื่องจากลักษณะโดยธรรมชาติข องงานบารุงปกติซึ่งเป็ นงานซ่อมแซมจะมี ความแตกต่างจากงานก่อสร้ างทัว่ ไป งานบารุงปกติมีจดุ ประสงค์เพียงเพื่อไม่ให้ ความเสียหายลุกลามมาก ดังนันแม้ ้ ซอ่ มบารุงปกติไปแล้ วแต่สาเหตุของความเสียหายจริ ง ยังไม่ได้ รับการแก้ ไขเมื่อซ่อมแซมแล้ วก็มกั เกิดความเสียหายซ ้าบริเวณเดิมอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในงานซ่อมแซมผิวทาง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
สาเหตุที่ซ่อมแซมแล้ วมักเกิดความเสียหายซ ้าบริ เวณเดิมอีก อาจมาได้ จากหลายปั จจัย เช่น ถนนบริเวณดังกล่าวมีปริมาณการจราจรมาก หรื อมีรถบรรทุกหนักสัญจรผ่านเป็ นจานวนมาก ส่งผลให้ ถนนเกิดความเสียหายเร็วกว่าปกติ ประเด็นต่อมาคือ ความเสียหายเกิดขึ ้นในชันพื ้ ้นทาง แต่ซ่อมแซมเพียง แค่ชนผิ ั ้ วทาง ดังนันเมื ้ ่อเปิ ดใช้ งานถนนก็จะเกิดความเสียหายที่บริ เวณเดิมขึ ้นอีก เนื่องจากจุดที่เป็ นสาเหตุ ของปั ญหาจริงๆ ยังไม่ได้ รับการแก้ ไข เนื่องจากงบประมาณที่ได้ รับมีอยู่จากัดจึงพิจารณาซ่อมในจุดที่มีความเสีย หายมากก่อน และการซ่อมบารุ งผิวทางมักซ่อมเป็ นจุดๆ ตามตาแหน่งที่เกิดความเสียหาย พื ้นที่บริ เวณข้ างๆ ที่มีความ เสียหายแต่มีปริ มาณความเสียหายน้ อยกว่า ก็จะพิจารณาซ่อมแซมในโอกาสต่อไป หลังจากใช้ งานไปสัก ระยะหนึ่งพื ้นที่บริ เวณดังกล่าวอาจเกิดความเสีย หายมากขึ ้น และสุดท้ ายก็จะส่งผลถึงบริ เวณที่เพิ่งทาการ ซ่อ มไปที่ อยู่ติด กัน ทาให้ เ กิ ด ความเสี ย หายซ า้ ขึน้ บริ เ วณที่ ทาการซ่อ มแล้ ว และบางกรณี เมื่ อ ท าการ ซ่อมแซมเพียงช่องจราจรเดียว ช่องจราจรอื่นๆ ที่เสียหายน้ อยกว่าไม่ได้ รับการซ่อมแซม รถที่วิ่งอยู่บนถนนก็ เลือกที่จะวิ่งแต่ช่องทางที่ซ่อมแซมเพียงช่องทางเดีย ว ส่งผลให้ บริ เวณดังกล่าวที่ ทาการซ่อมแซมไปเกิด ความเสียหายเร็วกว่ากาหนดอีกเช่นกัน ด้ วยสาเหตุดงั กล่าวงานซ่อมแซมผิวทางมักกลับมาเกิดความเสียหายอีกภายในระยะเวลา ประกัน 2 ปี จึงเป็ นต้ นทุนของภาคเอกชนที่อาจจะเพิ่มขึ ้น และเป็ นอุปสรรคของผู้รับจ้ างในการดาเนินงาน ดังนันควรปรั ้ บปรุ งระยะเวลาประกันให้ เหมาะสมกับประเภทกิจกรรมมากยิ่งขึ ้น เนื่องจากการรับประกัน ผลงาน 2 ปี อาจไม่เหมาะสมกับลักษณะการดาเนินงานซ่อมบารุงผิวทางดังเหตุผลที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น แต่ใ นส่ว นของงานซ่อมบ ารุ ง ปกติประเภทอื่ น เช่น การทาสี หลัก กิ โลเมตร หรื อ การติดตัง้ ป้ ายจราจร สามารถใช้ ระยะเวลาประกันได้ ตามปกติ นอกจากนี ้จากการสัมภาษณ์ผ้ เู ชี่ยวชาญจากรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังเกี่ยวกับการ ประกันผลงาน ซึ่งได้ รับคาแนะนาให้ อ้างอิงตามหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ ว ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 และหนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร1204/ 11843 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2536 ซึ่งแสดงรายละเอียดดังภาคผนวก จากการพิจารณาหนังสือดังกล่าว คณะที่ ปรึ กษามีความเห็นว่าการ ประกันความชารุ ดบกพร่ องเป็ นเวลา 2 ปี ดังกล่าวนันจ ้ ากัดเฉพาะงานก่อสร้ างเท่านัน้ หากเป็ นงานซ่อม บารุงโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานบารุงปกติ กรมทางหลวงชนบทสามารถดาเนินการปรับระยะเวลารับประกัน ความชารุดบกพร่อง หรื อกาหนดระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่องตามประเภทกิจกรรมได้ โดยอาจ ใช้ ระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่องของกรมทางหลวงเป็ นแนวทางในการกาหนดระยะเวลาประกัน ความชารุดบกพร่อง โดยระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่ องแสดงมีรายละเอียดดังภาคผนวก ค
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ปริมาณงาน และราคาต่ อหน่ วยในการจัดจ้ าง ลักษณะของงานบารุงปกติที่เป็ นงานซ่อมบารุงเล็กๆ น้ อยๆ ดังนันปั ้ ญหาหนึ่งที่พบในการ ตัด สิ น ใจจ้ า งเอกชนเข้ า มาด าเนิ น การคื อ การที่ มูล ค่า งานมี ค่า น้ อ ยจนเอกชนไม่ ส ามารถเข้ า มาร่ ว ม ดาเนินการได้ เนื่องจากไม่ค้ มุ กับต้ นทุนค่าดาเนินการของเอกชน สาเหตุของปั ญหาอุปสรรคเนื่องจากการดาเนินการของเอกชนมีต้นทุนค่าดาเนินการคงที่ ได้ แก่ ค่าจ้ างแรงงาน ค่านา้ มัน และค่าเสื่อมราคาของพาหนะ ภายในช่วงขอบเขตปริ มาณงานค่าหนึ่ง ต้ นทุนเหล่านี ้มีคา่ คงที่ไม่ว่าปริ มาณงานจะเปลี่ยนไปอย่างไร เช่น ในชุดทางานหนึ่งอาจจะประกอบไปด้ วย คนงานและเครื่ องจักรจานวนหนึ่ง ดังนันการเคลื ้ ่อนย้ ายชุดทางานดังกล่าวไปทางานก็จะเกิดต้ นทุนคงที่ เท่ากันไม่วา่ ปริมาณงานที่จะทามีคา่ มากหรื อน้ อย ด้ วยเหตุผลดังกล่าว ถ้ ามูลค่างานมีค่าน้ อยเอกชนจะไม่ค้ มุ ค่าในการดาเนินการเพราะ ผลตอบแทนที่ได้ รับไม่ค้ มุ ค่ากับต้ นทุนที่ต้องเสียไป เช่น งานปะซ่อมผิวทาง ซึ่งภาครัฐอาจกาหนดราคา กลางประมาณ 200 บาทต่อตารางเมตร ถ้ าภาครัฐต้ องการจ้ างเอกชนจานวน 50 ตารางเมตร ภาครัฐ อาจจะไม่สามารถดาเนินการจ้ างได้ เพราะมีมูลค่างานเพียง 10,000 บาท ซึ่งอาจไม่ค้ มุ ค่ากับต้ นทุนที่ เอกชนต้ องเสียไป ดังนันเมื ้ ่อปริ มาณงานมีคา่ น้ อย ต้ นทุนต่อหน่วยในการทางานจึงสูงมาก ทาให้ เอกชนไม่ สามารถเข้ ามาดาเนินงานได้ แต่จากการสัมภาษณ์ ผ้ ูรับเหมาซึ่งมีประสบการณ์ และประวัติการดาเนินงานบารุ งปกติ พบว่าเมื่อราคาต่อหน่วยในการซ่อมบารุงมีราคาเหมาะสมก็เต็มใจที่จะเข้ ามาดาเนินการ โดยที่ไม่จาเป็ นว่า มูลค่างานต้ องมีมลู ค่าสูง และมีปริ มาณงานเนื ้องานปริ มาณมาก นอกจากนันจากการสั ้ มภาษณ์เจ้ าหน้ าที่ แขวงการทางปทุมธานีพบว่า ผู้รับเหมาให้ ความสนใจในการเข้ ามาดาเนินงานถึงแม้ ว่ามูลค่างานในแต่ สัญญาต่ากว่าหนึง่ แสนบาท ลักษณะของสัญญาที่ใช้ ในการจ้ างเหมาบารุงปกติ ปั จ จุบัน สัญ ญาจ้ างระหว่างภาครั ฐ และภาคเอกชนส่วนใหญ่ จ ะเป็ นสัญญาเหมารวม (Lump – sum Contract) ซึ่งมีการระบุปริ มาณงาน และราคาต่อหน่วยอย่างชัดเจน โดยที่ผ้ รู ับเหมา ดาเนินการเท่ากับปริ มาณงานที่ระบุในสัญญาเท่านัน้ เมื่อนาลักษณะของสัญญาเหมารวมเปรี ยบเทียบกับ ลักษณะงานบารุ งปกติโดยเฉพาะอย่างยิ่งการซ่อมบารุ งผิวทาง พบว่าสัญญาลักษณะดังกล่าวอาจเกิด ความไม่เหมาะสมเนื่องจากการซ่อมบารุงผิวทางอาจมีการเพิ่มขึ ้นของปริ มาณงานตลอดเวลา นอกจากนัน้ สัญญาเหมารวมยังมีข้อจากัด ของระยะเวลาการลงนามสัญญาเนื่องจากกระบวนการการจัดจ้ างมีความ ซับซ้ อน และมีกระบวนการมากมาย ซึ่งระยะเวลาดังกล่าวอาจทาให้ ปริ มาณความเสียหายที่เกิดขึ ้นมีการ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ขยายตัวเพิ่มขึ ้น ทาให้ สญ ั ญาดังกล่าวไม่คลอบคลุมปริ มาณความเสียหายที่เพิ่มขึ ้น ทาให้ ความเสียหาย บางส่วนไม่ได้ รับการซ่อมบารุง จากเหตุผลข้ างต้ น คณะที่ปรึ กษาได้ ดาเนินการสอบถามความคิดเห็น และสัมภาษณ์เชิง ลึกผู้เชี่ยวชาญจากสานักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี เกี่ยวกับประเด็นเรื่ องลักษณะของสัญญาโดยมี ความเห็นว่า กรมทางหลวงชนบทสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบสัญญาจากสัญญาเหมารวม (Lump – Sum Contract) เป็ นสัญญาลักษณะราคาต่อหน่วย (Unit Cost Contract) โดยมีลกั ษณะของการให้ ภาคเอกชน เข้ ามาดาเนินงานบารุงปกติทงหมดตลอดทั ั้ งช่ ้ วงกิโลเมตร ซึ่งมีลกั ษณะการจ้ างเป็ นบาทต่อกิโลเมตร เช่น 20,000 บาทต่อกิโลเมตร นอกจากนี ้คณะที่ปรึกษาได้ เสนอความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า แต่ละสายทางซึ่งมีองค์ประกอบ และการใช้ งานที่แตกต่างกัน ฉะนันจ ้ านวนเงินที่ได้ รับสาหรับนาไปใช้ จ้างเหมาภาคเอกชน และลักษณะของ สัญญาควรแตกต่างกันเช่น กิจ กรรมบารุ ง ปกติผิ วทาง เนื่ องจากปริ ม าณงานมีการเพิ่ม ขึน้ ตลอดเวลา ทาให้ ไ ม่ สามารถระบุปริมาณงานที่เกิดขึ ้นได้ อย่างชัดเจน ดังนันควรใช้ ้ สญ ั ญาลักษณะราคาต่อ หน่วย (Unit cost contract) เพื่อสามารถคลอบคลุมปริ มาณความเสียหายที่เกิดขึ ้น ภายหลังได้ ด้วย กิจกรรมจราจรสงเคราะห์ กิจกรรมตัดหญ้ า และกิจกรรมดูแลระบบระบายน ้า สามารถ ใช้ สญ ั ญาลักษณะเหมารวม (Lump – Sum Contract) เช่นเดิม เนื่องจากสามารถระบุ ปริมาณงานได้ อย่างชัดเจน ข้ อกาหนดในการนางบประมาณไปใช้ ในการจ้ างเหมาบารุงปกติ ปั จจุบนั งบประมาณที่กรมทางหลวงชนบทได้ รับ จากรัฐบาล มีการระบุในพระราชบัญญัติ งบประมาณถึงการนางบประมาณไปใช้ ว่า “งบประมาณสาหรั บดาเนินการเอง” ในอนาคตหากกรมทาง หลวงชนบทน างบประมาณดัง กล่า วมาใช้ ใ นการจ้ างเหมา เกรงว่า จะเป็ นการขัด ต่อ พระราชบัญ ญัติ งบประมาณ จากประเด็นดังกล่าวคณะที่ปรึกษาได้ สอบถามความคิดเห็นจากสานักงบประมาณ สานัก นายกรัฐมนตรี มีความเห็นว่า กรมทางหลวงชนบทสามารถนางบประมาณดังกล่าวมาใช้ ในการจ้ างเหมาได้ โดยไม่ขดั ต่อพระราชบัญญัตงิ บประมาณ และเห็นด้ วยกับแนวคิดในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมกับ กรมทางหลวงชนบทในกิจกรรมซ่อมบารุงทาง นอกจากนันส ้ านักงบประมาณ สานักนายกรัฐมนตรี มีความเห็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วมด้ วย โดยมีแนวทางในการดาเนินงานคือ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กรมทางหลวงชนบทควรมี ก ารคัด เลื อ กสายทางส าหรั บ การให้ ภ าคเอกชนเข้ า มา ดาเนินการ เช่นสายทางในจังหวัดใหญ่ๆ หรื อสายทางที่มีความสาคัญได้ แก่ สายทางที่ มีสถานที่ทอ่ งเที่ยว เป็ นต้ น ควรมีการจัดทาสายทางนาร่ องในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในภารกิจบารุ ง ปกติของกรมทางหลวงชนบท เพื่อให้ เห็นภาพของการดาเนินการจ้ างเหมาะที่ชดั เจน มากยิ่งขึ ้น 4.1.2 ปั ญหาและอุปสรรคในการจ้ างเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมในความเห็นของภาคเอกชน เพื่อศึกษาและทราบถึงปั ญหาอุปสรรคในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมในงานซ่อมบารุง ของภาครัฐในความเห็นของภาคเอกชน คณะที่ปรึกษาได้ สมั ภาษณ์ผ้ รู ับจ้ างซึ่งมีประสบการณ์ในการเข้ ามา ดาเนินการบารุงปกติของกรมทางหลวง รายละเอียดดังนี ้ แขวงการทางกรุงเทพ บริษัทนารากรกรุ๊ป จากัด แขวงการทางปทุมธานี บริษัทลาภูศลิ ป์ จากัด บริษัทธนัทธร จากัด บริษัทดีมาร์ ค เทรดดิ ้ง จากัด บริษัทอีสเทริ์ น จากัด แขวงการทางชัยนาท ห้ างหุ้นส่วนจากัด โชคจาเริญค้ าวัสดุก่อสร้ าง (2544) จากการสัม ภาษณ์ พ บว่า ปั ญ หาอุป สรรคในความคิด เห็ น ของผู้รั บ จ้ า ง มี อ ยู่ด้ ว ยกัน 6 ประเด็น ดังนี ้ ระยะเวลาที่เอกชนต้ องรั บประกันผลงานไม่ สอดคล้ องกับลักษณะหรื อพฤติกรรม ความเสียหายจริง การให้ เ อกชนเข้ ามาดาเนินการบารุ ง รั กษานัน้ ภาครั ฐ มี ข้อ กาหนดระบุให้ เ อกชนต้ อ ง รับประกันผลงานที่ได้ ดาเนินการไปภายในระยะเวลา 2 ปี ข้ อกาหนดดังกล่าวนี ้จากการสอบถามความ คิดเห็นของภาคเอกชนพบว่า ถนนที่ได้ เข้ าดาเนินการซ่อมแซมไปแล้ วอาจมีปริ มาณการจราจรมาก หรื อมี รถที่ใช้ เส้ นทางดังกล่าวบรรทุกน ้าหนักเกินกว่าที่กฎหมายกาหนด ส่งผลให้ ถนนเกิดความเสียหายเร็ วกว่า ปกติ หรื อ ก็ มัก จะเกิ ด ความเสี ย หายซ า้ ซากในบริ เ วณเดิ ม อัน มี ส าเหตุจ ากปั จ จัย แวดล้ อ มอื่ น ๆ เช่ น สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ระยะเวลาในการปิ ดช่องจราจรมีอย่างจากัด จาเป็ นต้ องเปิ ดช่องจราจรอย่างเร่งด่วน ซึ่งบางครัง้ วัสดุที่นามา ซ่อมแซมอาจจะไม่ได้ กาลังตามที่กาหนด ส่งผลให้ เกิดความเสียหายขึ ้นอย่างรวดเร็ วภายหลังการซ่อมบารุง สภาพภูมิอากาศในช่วงดาเนินงาน เช่น มีฝนตกอย่างต่อเนื่อง เป็ นต้ น จึงเป็ นเหตุให้ ต้นทุนของผู้รับจ้ างเพิ่ม สูงขึ ้น จนไม่ค้ มุ กับที่จะเข้ ามาดาเนินการซึ่งปั ญหานี ้อาจแก้ ไขได้ โดยการปรับระยะประกันตามที่คณะที่ ปรึกษาได้ แนะนา การอนุมัตผิ ลทดสอบวัสดุของภาครัฐมีความล่ าช้ า เพื่อควบคุมคุณภาพของงานให้ ได้ มาตรฐานตามที่ภาครัฐกาหนด ภาครัฐจึงกาหนดให้ เอกชนต้ องส่งตัวอย่างวัสดุไปทดสอบเพื่อให้ ภาครัฐเห็นชอบก่อนดาเนินงาน ซึ่งปั ญหาที่พบคือ การอนุมตั ิ ผลทดสอบของภาครัฐค่อนข้ างเป็ นไปอย่างล่ าช้ า ซึ่งการทดสอบวัสดุโดยเฉลี่ยจะใช้ เวลาประมาณ 15-30 วัน ส่วนหนึง่ อาจเนื่องมาจากระเบียบของราชการที่มีขนตอนค่ ั้ อนข้ างมาก รวมทังหน่ ้ วยงานของภาครัฐที่มี หน้ าที่ในการทดสอบวัสดุมีเครื่ องมือ หรื อบุคลากรไม่เพียงพอกับปริมาณงานที่ต้องรับผิดชอบ นอกจากนี ้ใน งานบางประเภทหน่วยงานที่ทดสอบในระดับภูมิภาคไม่มีเครื่ องมือสาหรับทดสอบงานดังกล่าว จึงต้ อง จัดส่งตัวอย่างมาทดสอบที่สานักวิเคราะห์และวิจยั พัฒนา ที่กรุงเทพมหานคร ทาให้ ผ้ รู ับจ้ างเสียเวลานาน กว่าจะได้ รับการอนุมตั ผิ ลทดสอบ การความล่ าช้ าในการลงนามสัญญาจ้ าง เมื่ อภาครั ฐได้ ผ้ ูรั บจ้ างในการดาเนินงานหลังการคัดเลื อกเป็ นที่เรี ย บร้ อยแล้ วกลับเกิ ด ความล่าช้ าในการลงนามในสัญญาจ้ างเพื่อให้ เอกชนเริ่ มทางาน สาเหตุของปั ญหาดังกล่าวเกิดจากการที่ ยังไม่ได้ รับงบประมาณสาหรับใช้ ในการจ้ าง ทาให้ ไม่สามารถลงนามสัญญาจ้ างเพื่อให้ เอกชนเข้ ามาเริ่ ม ทางานได้ ส่งผลให้ เกิดความล่าช้ าในการเริ่มงาน ปั ญหาในการติดต่ อประสานงานกับหน่ วยงานอื่น การดาเนินงานบารุงรักษาทาง มีความเกี่ยวข้ องกับการดาเนินงานของหน่วยงานอื่น เช่น ไฟฟ้ า ประปา โทรศัพ ท์ หรื อ ตารวจ ซึ่ ง เป็ นหน้ าที่ ข องผู้รั บจ้ างที่ ต้อ งประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ดังกล่าว ซึง่ บางครัง้ ก็เกิดความล่าช้ า เนื่องจากมีขนตอนทางราชการค่ ั้ อนข้ างมากและไม่สะดวกเหมือนเมื่อ แขวงการทางดาเนินการบารุ งรักษาเอง ซึ่งจะมีความสะดวกในการประสานงานมากกว่าเนื่องจากเป็ น หน่วยงานราชการเหมือนกัน ปั ญหาดังกล่าวนี ้จะพบมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตตัวเมือง เนื่องจากจะมี ระบบสาธารณูปโภคต่างๆ อยู่ค่อนข้ างมาก นอกจากนี ้ในการซ่อมบารุ งผิวทางบางกรณีมีความจาเป็ นที่ จะต้ องมีการปิ ดผิวทางการจราจรบางส่วน ซึ่งบางครัง้ ก็เกิดปั ญหาในการทางานเพราะถูกหน่วยงานอื่นที่
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ร่ วมดูแลทางดัง กล่าวจ ากัดเวลาในการทางาน พร้ อมทัง้ เร่ ง ให้ รีบทางานและคืนผิ วการจราจรโดยเร็ ว เนื่องจากส่งผลต่อการจราจรบริเวณดังกล่าว ระยะเวลาดาเนินการที่ภาครัฐระบุให้ ในสัญญาสัน้ เกินไป จากผลการศึกษาพบว่า สภาพภูมิอากาศที่มีความไม่แน่นอน เมื่อเกิดฝนตก ผู้รับจ้ างไม่ สามารถเข้ าดาเนินการได้ ทาให้ ปริ มาณงานที่ทาได้ ตอ่ วันลดน้ อยลง ในขณะที่ระยะเวลาในการดาเนินการ ยังคงเดิม ส่งผลให้ ในบางครัง้ ไม่สามารถทางานได้ เสร็จทันตามที่กาหนดไว้ ในสัญญา 4.2 เปรี ยบเทียบผลระหว่ างการจ้ างเหมาภาคเอกชนเข้ ามาร่ วมดาเนินงานในงานบารุ งปกติงาน ทางกับการที่ภาครัฐดาเนินการบารุงรักษาเอง นอกจากการศึกษาเกี่ยวกับอุปสรรคในการให้ ภ าคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมแล้ ว การศึกษาถึงต้ นทุน ระหว่างการดาเนินการโดยภาครั ฐ และภาคเอกชน ก็เป็ นสิ่ง สาคัญเพื่อเป็ นการรักษาผลประโยชน์ของ ภาครัฐ และเป็ นแนวทางในการเลือกปฏิบตั ติ อ่ ไป “ต้ นทุนของการดาเนินงาน” นับเป็ นปั จจัยที่สาคัญปั จจัยหนึ่งในการพิจารณาว่าจ้ างเอกชนเข้ ามา ดาเนินการ ซึ่งการพิจารณาด้ านต้ นทุนนี ้ทาให้ ภาครัฐสามารถวางแผนการจ้ างได้ อย่างมีประสิทธิภาพและ ใช้ งบประมาณอย่างคุ้มค่าที่สุด โดยทัว่ ไปโครงสร้ างของต้ นทุนของการที่ภาครัฐดาเนินการเองมีความ แตกต่างกับการจ้ างภาคเอกชนเข้ ามาดาเนินการ เนื่องด้ วยกรมทางหลวงชนบทยังไม่เคยให้ ภาคเอกชนเข้ า มามี ส่วนร่ วมในการดาเนินงานบารุ ง ปกติ ด้ วยเหตุนีเ้ นือ้ หาในหัวข้ อนี จ้ ะเป็ นการแสดงให้ เห็นถึงความ แตกต่างด้ านโครงสร้ างของต้ นทุนระหว่างการที่กรมทางหลวงดาเนินการบารุงปกติเอง และการจ้ างเอกชน เข้ ามาดาเนินการ นอกจากนี ้ยังแสดงแนวทางในการพิจารณาเปรี ยบเทียบต้ นทุนที่แท้ จริ งในการดาเนินงาน บารุงปกติระหว่างการที่กรมทางหลวงดาเนินการเอง และการจ้ างเอกชนรายละเอียดดังต่อไปนี ้ 4.2.1 การเปรียบเทียบโครงสร้ างต้ นทุนระหว่ างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชน ในการดาเนินงานบารุ งปกตินนั ้ หน่วยงานหลักของกรมทางหลวงที่รับผิดชอบเกี่ ยวกั บงาน ดังกล่าวได้ แก่ แขวงการทางต่างๆ ทัว่ ประเทศ ซึ่งแขวงการทางแต่ละแขวงโดยทัว่ ไปจะมีโครงสร้ างของ องค์กรดังแสดงในรูปที่ 4.1 ซึ่งหมวดการทางต่างๆ มีหน่วยบารุงทางเคลื่อนที่ และหน่วยจราจรสงเคราะห์ เป็ นหน่วยงานที่รับผิ ดชอบในการดาเนินการซ่อมบารุ งทาง ควบคุมดูแลงานจ้ างเอกชนบารุ งทาง และ สนับสนุนฝ่ ายบริ หารงานด้ านวิศวกรรมในการวางแผนงานบารุ งทาง ทางด้ านหน่วยงานช่างปรับซ่อม รับผิดชอบหน้ าที่ในการซ่อมบารุงเครื่ องจักรและยานพาหนะของแขวง ในขณะที่ฝ่ายบริ หารงานทัว่ ไปไม่ว่า จะเป็ นฝ่ ายสารบรรณ การเงินและบัญชี พัสดุและสัญญา และสถิติ ทาหน้ าที่ในการสนับสนุนการทางาน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-7
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ของหน่วยงานอื่น จากการจัดผังองค์กรดังกล่าว สามารถนามาวิเคราะห์โครงสร้ างต้ นทุนในการบารุงปกติ ระหว่างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนได้ ดงั นี ้ แขวงการทาง
ฝ่ ายบริ หารงานทัว่ ไป งานสารบรรณ งานการเงินและบัญชี งานพัสดุและสัญญา งานสถิติ
ฝ่ ายหมวดการทาง หมวดการทาง ต่างๆ (5-6 หมวด)
ฝ่ ายช่าง งานบารุงทางเคลือ่ นที่ งานจราจรสงเคราะห์
รูปที่ 4.1ผังโครงสร้ างองค์กรของแขวงการทาง โครงสร้ างต้ นทุนของแขวงการทางในกรณีท่ ีบารุ งปกติเอง โครงสร้ างต้ นทุนในการดาเนิ นการบารุงปกติเองของแขวงการทาง สามารถจาแนกได้ เป็ น สองส่วนคือ ต้ นทุนทางตรง และต้ นทุนทางอ้ อม ดังนี ้ 1. ต้ นทุนทางตรง การดาเนินการเองของแขวงการทาง ต้ นทุนทางตรงที่เกิดขึ ้นนันเป็ ้ นต้ นทุนในการบารุง ปกติที่สามารถระบุได้ อย่างชัดเจนว่าใช้ ไปในการทางานส่วนใด ได้ แก่ - ค่าวัสดุที่ใช้ ในการดาเนินงานเช่น ค่าแอสฟั ลต์ - ค่าแรงงานของคนงาน ซึง่ เป็ นลูกจ้ างชัว่ คราวของแขวง - ค่าเครื่ องมือเครื่ องจักร ซึง่ คานวณมาจากค่าเสื่อมราคา - ค่าน ้ามันเชื ้อเพลิง 2. ต้ นทุนทางอ้ อม ต้ นทุนทางอ้ อมเป็ นต้ นทุนที่ไม่สามารถระบุ ได้ โดยตรงว่าใช้ ไปในส่วนใดของงาน ซึ่ง ส่วนใหญ่ ใช้ ไปเพื่ อสนับสนุนการทางานของส่วนหลัก ซึ่งในการดาเนินงานบารุ งปกตินนั ้ ต้ นทุนทางอ้ อม ของแขวงการทางประกอบไปด้ วย
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-8
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท - เงินเดือนและสวัสดิการของนายช่างแขวงและผู้ชว่ ย ซึง่ ทาหน้ าที่ในงานบริ หาร - เงินเดือนและสวัสดิการของนายช่ างและเจ้ าหน้ าที่ผ้ คู วบคุมงานของหมวดการทาง -
ต่างๆซึง่ รับผิดชอบในการปฏิบตั งิ านบารุงรักษา เงินเดือนและสวัสดิการของเจ้ าหน้ าที่ฝ่ ายธุรการอื่ นๆ ซึ่งทาหน้ าที่สนับสนุนการ ทางาน ค่าตอบแทน เช่น ค่าเช่าบ้ าน ค่าจ้ างในการทางานวันหยุดนักขัตฤกษ์ ค่าใช้ สอย เช่น ค่าพาหนะ ค่าเบี ้ยเลี ้ยง ค่าจ้ างชัว่ คราว ค่าซ่อมแซมครุภณ ั ฑ์ ค่าวัสดุ เช่น ค่าวัสดุสานักงาน วัสดุยานพาหนะ หรื อวัสดุสิ ้นเปลืองต่างๆ ค่าจ้ างชัว่ คราว เช่น ค่าจ้ างทาความสะอาด ค่าสาธารณูปโภค เช่น ค่าน ้า ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าไปรษณีย์ ค่าเสื่อมราคาของเครื่ องมือเครื่ องจักรในช่วงที่ไม่ได้ ถกู ใช้ งาน (Idle Time) ค่าเสื่อมของอาคารสานักงาน และยานพาหนะสาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป
โครงสร้ างต้ นทุนของแขวงการทางในกรณีท่ จี ้ างเอกชนดาเนินการ โครงสร้ างต้ นทุนของแขวงการทางในกรณีที่จ้างเอกชนเข้ ามาดาเนินการในงานบารุงปกติ สามารถจาแนกได้ เป็ นต้ นทุนทางตรงและทางอ้ อมเช่นเดียวกันดังนี ้ 1. ต้ นทุนทางตรง ต้ นทุนทางตรงในกรณีที่จ้างเอกชนมาดาเนินการได้ แก่ ค่าจ้ างหรื อค่าตอบแทนที่จา่ ย ให้ แก่เอกชนในการทางาน ซึ่งเป็ นราคางานที่เอกชนยื่นประมูลเพื่อรับงานดังกล่าวไปดาเนินการ 2. ต้ นทุนทางอ้ อม องค์ประกอบของต้ นทุนทางอ้ อมในกรณีที่จ้างเอกชนมาดาเนินการจะคล้ ายกับการ ดาเนินการเอง ซึง่ ประกอบด้ วย เงินเดือนและสวัสดิการของเจ้ าหน้ าที่ตา่ งๆ ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ และ ค่าจ้ างชัว่ คราว ค่าสาธารณูปโภค และค่าเสื่อมสานักงานและยานพาหนะสาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป ซึง่ สิ่งที่ แตกต่างกันคือ ในกรณีที่แขวงดาเนินการเอง ต้ นทุนทางอ้ อมเหล่านี ้จะเป็ นต้ นทุนที่ใช้ ในการสนับสนุนการ ปฏิบตั งิ านบารุงรักษาของแขวง แต่ในกรณีที่จ้างเอกชน ต้ นทุนทางอ้ อมเหล่านี ้จะเป็ นต้ นทุนที่เกี่ยวข้ องกับ การควบคุม ตรวจสอบ และตรวจรับงานจ้ าง สรุปโครงสร้ างต้ นทุนของแขวงการทางที่เกิดขึ ้นในกรณีที่ดาเนินการเองและจ้ างเอกชนเข้ า มาดาเนินการแสดงในตารางที่ 4.1
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-9
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 4.1 การเปรี ยบเทียบโครงสร้ างต้ นทุนในงานบารุงปกติของแขวงการทางระหว่างการดาเนินการเอง และการจ้ างเอกชน
ต้ นทุนทางตรง
ต้ นทุนทางอ้ อม
ดาเนินการเอง
จ้ างเอกชน
- ค่าวัสดุ - ค่าแรงงาน - ค่าเครื่ องมือเครื่ องจักร - ค่าเชื ้อเพลิง ต้ นทุนที่ใช้ สนับสนุนการปฏิบตั งิ าน
- ค่าตอบแทนการจ้ างเอกชน
- เงินเดือนและสวัสดิการของนายช่าง และฝ่ าย ธุรการ - ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ และค่าจ้ างชัว่ คราว - ค่าสาธารณูปโภค - ค่าเสือ่ มราคาของเครื่ องมือเครื่ องจักรในช่วงที่ไม่ได้ ถูกใช้ งาน - ค่าเสือ่ มราคาของสานักงาน และยานพาหนะ สาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป
ต้ นทุนที่ใช้ ควบคุมและตรวจรับงานจ้ าง - เงินเดือนและสวัสดิการของนายช่าง และ ฝ่ ายธุรการ - ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ และค่าจ้ าง ชัว่ คราว - ค่าสาธารณูปโภค - ค่าเสือ่ มราคาของสานักงาน และ ยานพาหนะสาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป
จากตารางที่ 4.1 เมื่อภาครัฐจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการนัน้ องค์ประกอบของต้ นทุนที่ มี การเปลี่ยนแปลงอย่างชัดเจนคือ ต้ นทุนทางตรง โดยเปลี่ยนจากค่าวัสดุ แรงงาน เครื่ องมือเครื่ องจักร และ เชือ้ เพลิง มาเป็ นค่าตอบแทนการจ้ างเอกชน ซึ่งในการคานวณราคากลางสาหรับใช้ จ้างเอกชนดังกล่าว ภาครัฐจะประเมินจากมาตรฐานการประมาณราคาของงานประเภทต่างๆ ซึ่งจะเป็ นต้ นทุนทางตรงของ เอกชนบวกด้ วยจานวนเงินที่คานวณจาก Factor F ซึ่งแทนค่าอานวยการ กาไร ดอกเบี ้ย และความผันผวน ของเอกชน ซึ่งเมื่อพิจารณาตัวอย่างการเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางตรงเฉลี่ยของแขวงการทางต่างๆ ระหว่าง การดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนในงานบารุงปกติบางประเภท ซึ่งเป็ นข้ อมูลของปี พ.ศ. 2544 พบว่า โดยส่วนใหญ่ต้นทุนทางตรงในการดาเนินการเองนัน้ มีแนวโน้ มค่อนข้ างที่จะมีมลู ค่าสูงกว่าค่าตอบแทนที่ ใช้ ในการจ้ างเอกชน ดังแสดงในตารางที่ 4.2 ในส่วนของต้ นทุนทางอ้ อมนัน้ ไม่ว่าจะดาเนินการเองหรื อจ้ างเอกชน องค์ประกอบของ ต้ นทุนส่วนใหญ่ ยังคงเหมือนเดิม สิ่ง ที่เ ปลี่ยนไปคือ ที่ มาของต้ นทุนดังกล่าว โดยในการดาเนินการเอง ต้ นทุนทางอ้ อมจะเป็ นต้ นทุนสาหรับการสนับสนุนการปฏิบตั งิ านบารุงรักษาของหมวดการทางต่างๆ แต่เมื่อ เปลี่ยนมาเป็ นการจ้ างเอกชนแล้ ว ต้ นทุนทางอ้ อมของแขวงการทางเหล่านี ้จะส่วนใหญ่จะเป็ นต้ นทุนที่ใช้ ใน การสนับสนุนการดาเนินการจ้ างเอกชน เช่น การคัดเลือกผู้รับจ้ างการควบคุมดูแลการจ้ าง รวมถึงการตรวจ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-10
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
รับงาน ซึ่งเมื่อเปลี่ยนจากการดาเนินการเองมาเป็ นการจ้ างเอกชนแล้ ว ภาระในการดาเนินการบารุงรักษา ส่วนใหญ่จะถูกโอนให้ ไปอยู่ในความรับผิดชอบของผู้รับจ้ าง ทาให้ ในแต่ละแขวงการทางอาจไม่จาเป็ นต้ อง มีบุคลากรมากเหมือนก่อน ดังนันการจ้ ้ างเอกชนจึงมีแนวโน้ มที่จะทาให้ สามารถลดต้ นทุนทางอ้ อมต่างๆ ของแขวงการทางลงได้ เช่น เงินเดือน และสวัสดิการของเจ้ าหน้ าที่ รวมถึงค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ ค่าจ้ างชั่ว คราว และค่าสาธารณูปโภคต่า งๆ นอกจากนี ต้ ้ นทุนทางอ้ อมอี ก ส่ว นที่ สามารถลดลงได้ คื อ ค่าเสื่อมราคาหรื อค่าเช่าของเครื่ องมือเครื่ องจักรในช่วงที่ไม่ได้ ถูกใช้ งาน เนื่องจากได้ มีการโอนหน้ าที่ใน การดาเนินงานบารุงรักษาไปให้ เอกชนแล้ ว แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจากต้ นทุนทางอ้ อมนันไม่ ้ สามารถระบุได้ อย่างแน่ชดั ว่าใช้ ไปในส่วนใดของการดาเนินงาน ดังนันการพิ ้ จารณาเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางอ้ อมที่แท้ จริ ง ของการดาเนินงานในแต่ละกิจกรรม จึงจาเป็ นต้ องมีการปั นส่วนต้ นทุนตามกิจกรรมที่ก่อให้ เกิ ดต้ นทุน ดังกล่าว ซึง่ จะกล่าวถึงในหัวข้ อถัดไป ตารางที่ 4.2 การเปรี ยบเทียบต้ นทุนทางตรงเฉลี่ยระหว่างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนของงาน บารุงปกติบางประเภท
ประเภทงาน
ต้ นทุนเฉลี่ย ในการดาเนินการ เอง (บาท / ตร.ม.)
ราคากลางใน การจ้ างเอกชน (บาท / ตร.ม.)
115 155 220 0.49 2.80 290 14
110 180 330 0.40 3.00 320 15
งานปรับระดับผิวทางแอสฟั ลต์ งานปะซ่อมผิวทางแอสฟั ลต์ งานขุดซ่อมผิวทางแอสฟั ลต์ งานตัดหญ้ า งานทาความสะอาดรางระบายน ้า งานตีเส้ นจราจร งานทาความสะอาดป้ายจราจร
ค่ างาน (บาท / ตร.ม.)ในกรณีท่ ี ราคาประมูลต่ากว่ าราคากลาง 10 %
20 %
99 162 297 0.36 2.70 288 13.5
88 144 264 0.32 2.40 256 12
4.2.2 แนวคิดและตัวอย่ างในการคานวณต้ นทุนที่แท้ จริ งระหว่ างการดาเนินการเอง และ การจ้ างเอกชนในงานบารุงปกติ โดยทัว่ ไปในการดาเนินงานบารุงปกติในปั จจุบนั นัน้ แขวงการทางต่างๆ ยังคงดาเนินการเอง เป็ นส่วนใหญ่ โดยมีการจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการบ้ างในบางส่วน ซึ่งต้ นทุนการดาเนินงานบารุงปกติไม่ ว่าแขวงการทางจะดาเนินการเอง หรื อจ้ างเอกชนจะประกอบไปด้ วยต้ นทุนสองชนิดคือ ต้ นทุนทางตรงและ ต้ นทุนทางอ้ อม โดยทั่วไปการวิเคราะห์โครงสร้ างต้ นทุนเพื่อไปคานวณหาต้ นทุนต่อหน่วยของงานต่างๆ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-11
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ในส่วนของต้ นทุนทางตรงนันค่ ้ อนข้ างจะสะดวกในการวิเคราะห์เนื่องจากมีความชัดเจนว่าใช้ ไปในงานส่วน ใดและเป็ นจานวนเงินเท่าใด ขณะที่ต้นทุนทางอ้ อมมักเกิดปั ญหาในการคานวณเนื่องจากไม่สามารถระบุได้ อย่างแน่ชัดว่าใช้ ไ ปในส่วนใดของงาน ดัง นัน้ การพิจ ารณาเปรี ยบเที ยบความแตกต่างของด้ านต้ นทุน ระหว่างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนนัน้ จึงใช้ หลักของการวิเคราะห์ต้นทุนตามกิจกรรม (ActivityBased Costing; ABC) มาประยุกต์ ซึ่งประเด็นสาคัญที่ต้องพิจารณาคือ การจาแนกต้ นทุนทางอ้ อมที่ แท้ จริงของแขวงการทางว่าส่วนใดใช้ ไปในการดาเนินการเอง และส่วนใดใช้ สนับสนุนการจ้ างเอกชน เพื่อให้ เกิดความถูกต้ องในการเปรี ยบเทียบต้ นทุนในการดาเนินการ โดยแนวคิดในการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมเพื่อ พิจารณาต้ นทุนที่แท้ จริงในการดาเนินการแสดงไว้ ในรูปที่ 4.2 ต้ นทุนทางอ้ อมที่เกิดภายในแขวงการทาง เงินเดือน และสวัสดิการ
ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ
ของบุคลากร
สาธารณูปโภค และอื่นๆ
งานบารุงปกติ (ดาเนินการเอง)
งานบารุงปกติ (จ้ างเอกชน)
งาน ก.
งาน ข.
งานอื่นๆ
งาน ค.
ต้ นทุนทางอ้ อมทีน่ใส่ช้วไปในงานบ ารุงปกติ ประเภทต่างๆ รูปที่ 4 แนวทางการปั นต้ นทุนทางอ้ อมของแขวงการทาง
รูปที่ 4.2 แนวทางการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม จากรู ปที่ 4.2 ได้ แสดงถึงแนวทางการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมเพื่อวิเคราะห์ต้นทุนทางอ้ อมที่ แท้ จริงที่ใช้ ในงานดาเนินการบารุงปกติเอง งานจ้ างเอกชน และงานอื่นๆ ของแขวงการทางโดยจากรูปที่ 4.2 ต้ นทุนทางอ้ อมของฝ่ ายปฏิบตั ิงานบารุ งรักษา ได้ แก่ เงินเดือนและสวัสดิการของนายช่างโยธาต่างๆ และ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-12
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ต้ นทุนทางอ้ อมของฝ่ ายบริ หาร ได้ แก่ เงิน เดือนและสวัสดิการของนายช่างแขวง และฝ่ ายธุ รการต่างๆ รวมทัง้ ค่าตอบแทน ค่า ใช้ สอย ค่าวัสดุ ค่าจ้ างชั่วคราว ค่าสาธารณูปโภค ตลอดจนค่าเสื่อมราคาของ เครื่ องมือเครื่ องจักรในช่วงที่ไม่ได้ ถกู ใช้ งาน ค่าเสื่อมราคาของสานักงาน และยานพาหนะสาหรับใช้ ในงาน ทัว่ ไป ต้ นทุนทางอ้ อมเหล่านี ้จะถูกปั นส่วนไปเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมของกิจกรรมทังสามด้ ้ าน ได้ แก่ งานบารุง ปกติที่ดาเนินการเอง งานบารุงปกติที่จ้างเอกชน และงานด้ านอื่นๆ ของแขวง โดยเกณฑ์หลักที่ใช้ สาหรับ การปั นส่วนได้ แก่ อัตราส่วนโดยเฉลี่ยของจานวนชัว่ โมงแรงงาน (Man-Hour) ของฝ่ ายต่างๆ ที่ใช้ ไปกับ กิจกรรมทังสาม ้ ผลลัพธ์ที่ได้ จากขันตอนนี ้ ้คือ ต้ นทุนทางอ้ อมต่อปี ที่ใช้ ไปในกิจกรรมทังสามด้ ้ านของแขวง การทาง ได้ แก่ การปฏิบตั งิ านบารุงปกติเอง การดูแลการจ้ างเอกชนในงานบารุงปกติและกิจกรรมอื่นๆ ขัน้ ตอนต่อไปได้ แ ก่ การปั นส่วนต้ นทุน ทางอ้ อ ม โดยเกณฑ์ ที่ใช้ ส าหรั บ การปั นส่วนได้ แ ก่ อัตราส่วนโดยเฉลี่ยของจานวนชั่วโมงแรงงาน (Man – Hour) ที่แขวงการทางใช้ ไปกับงานบารุ งปกติ ประเภทต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นการดาเนิ นการเอง หรื อการจ้ างเอกชน เช่น ถ้ าแขวงการทางใช้ เวลาในการ ทางานทัง้ หมดไปกับงานปะซ่อมผิวทางคิดเป็ นร้ อยละ 10 ของเวลาที่ใช้ ในการปฏิบตั ิงานทังหมดแล้ ้ ว ต้ นทุนทางอ้ อมที่ใช้ ไปในการปฏิบตั ิงานบารุ งปกติเองจานวนร้ อยละ 10 จะถูกปั นส่วนไปให้ กับงานบารุ ง ปกติดงั กล่าว ซึ่งเมื่ อรวมกับข้ อมูลปริ มาณงานบารุ งปกติประเภทต่างๆ ที่ทาได้ ตลอดทังปี ้ แล้ ว สามารถ นาไปคานวณหาต้ นทุนทางอ้ อมต่อหน่วยของงานบารุงปกติประเภทต่างๆ ทังในกรณี ้ ของการดาเนินการเอง และการจ้ างเอกชน และเมื่อนามารวมกับต้ นทุนทางตรงต่อหน่วยที่ทราบอยู่ สามารถที่จะนาไปเปรี ยบเทียบ ความแตกต่างด้ านต้ นทุนระหว่างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนได้ 4.2.3 ตัวอย่ างในการคานวณต้ นทุนที่แท้ จริงระหว่ างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชน ในงานบารุงปกติของแขวงการทางสมุทรปราการ แขวงการทางสมุทรปราการ เป็ นหนึ่งในแปดสิบห้ าแขวงของกรมทางหลวงที่มีหน้ าที่หลักใน การบารุ งรักษาทางหลวงให้ มีสภาพดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานบารุงปกติที่ต้องกระทาสม่าเสมอตลอดทังปี ้ โดยมีเส้ นทางหลวงที่อยู่ในความรับผิดชอบระยะทางยาวประมาณ 660 กิโลเมตร มีการแบ่งหน่วยงาน บารุ งปกติออกเป็ น 6 หมวดการทาง มีจานวนบุคลากรตามข้ อมูลในปี พ.ศ. 2544 ประกอบไปด้ วย ข้ าราชการจานวน 34 คน และลูกจ้ างประจาจานวน 55 คน และมีข้อมูลงบประมาณการดาเนินงานของ แขวงประจาปี งบประมาณ 2544 แยกตามหมวดต่างๆ ดังแสดงในตารางที่ 4.3
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-13
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 4.3 งบประมาณการดาเนินงานของแขวงการทางสมุทรปราการประจาปี 2544 หมวด เงินเดือนและสวัสดิการ ฝ่ ายปฏิบตั ิงาน ฝ่ ายบริ หารและสนับสนุนการดาเนินงาน ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุและค่าจ้ างชัว่ คราว ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสือ่ มราคาของเครื่ องมือเครื่ องจักรในช่วงที่ไม่ได้ ถกู ใช้ งาน (Idle Time) ค่าเสือ่ มราคาของสานักงาน และยานพาหนะสาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป รวม
งบประมาณ (บาท) 670,000 531,000 2,874,000 800,000 290,000 962,000 6,127,000
จากตารางที่ 4.3 การคานวณสวัสดิการของบุคลากร มีสมมุติฐานโดยกาหนดให้ คา่ สวัสดิการ ของบุคลากรคิดเป็ นสัดส่วน 0.2 ของเงินเดือนที่ได้ รับ และจากข้ อมูลงบประมาณการดาเนินการทังหมด ้ ดังกล่าวซึ่งเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมของแขวงการทางสามารถนาไปปั นส่วนเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมของกิจกรรมที่ แขวงการทางดาเนินการทังสามส่ ้ วนได้ แก่ ต้ นทุนทางอ้ อมที่ใช้ ไปในการดาเนินงานบารุงปกติในส่วนที่แขวง การทางดาเนินการเอง (ต้ นทุนที่ใช้ สนับสนุนการปฏิบตั ิงาน) ต้ นทุนทางอ้ อมที่ใช้ ไปในการดาเนินงานบารุง ปกติในส่วนที่แขวงการทางจ้ างเอกชน (ต้ นทุนที่ใช้ ควบคุมและตรวจรับงานจ้ าง) และต้ นทุนทางอ้ อมที่ใช้ ไป ในงานอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวข้ องกับงานบารุ งปกติ ดังแสดงในตารางที่ 4.5 โดยในส่วนของสัดส่วนการปั นส่วน ต้ น ทุน ทางอ้ อมรวมในแต่ล ะรายการของแขวงการทางไปเป็ นต้ น ทุน ของกิ จ กรรมในแต่ล ะด้ า นนัน้ การศึก ษานี ม้ ี สมมุ ติฐานโดยใช้ ตั วเลขค่ า สั ดส่ ว นเฉลี่ยโดยประมาณที่ไ ด้ ม าจากการสั มภาษณ์ เจ้ าหน้ าที่ของแขวงการทางฝ่ ายต่ างๆ ที่เกี่ยวข้ องกับงานบารุ งปกติ เนื่องจากแขวงการทางไม่ มี การเก็บรวบรวมข้ อมูลเป็ นตัวเลขที่แท้ จริงไว้ หลังจากนัน้ เป็ นการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมในขัน้ ที่สอง ซึ่งเป็ นการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม เฉพาะของงานบารุงปกติทงจากการด ั้ าเนินการเอง (2,041,800 บาท) และการจ้ างเอกชน (467,000 บาท) ไปเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมของงานบารุงปกติประเภทต่างๆ โดยในตัวอย่างการวิเคราะห์นี ้ ได้ แสดงการปั นส่วน ต้ นทุนไปยังงานปรับระดับผิวทางแอสฟั ลต์ งานขุดซ่อมผิวทางแอสฟั ลต์ งานตัดหญ้ า และงานตีเส้ นจราจร ซึง่ เป็ นสี่งานบารุงปกติหลักที่แขวงการทางสมุทรปราการจ้ างเอกชนเข้ ามาดาเนินการ และยังคงดาเนินการ เองด้ วยอีกส่วนหนึ่ง โดยปั นส่วนตามสัดส่วนโดยเฉลี่ยของจานวนชัว่ โมงแรงงาน (Man-Hour) ที่แขวงการ ทางใช้ ไปกับงานบารุ ง ปกติแต่ล ะประเภท ไม่ว่าจะเป็ นกรณี ของการดาเนินการเองหรื อการจ้ างเอกชน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-14
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ซึ่งข้ อมูลดังกล่าวรวบรวมมาจากรายงานสรุ ปผลการดาเนินงานประจาแต่ละเดือนของแขวงการทางดัง แสดงในตารางที่ 4.5 และ 4.6 ตามลาดับ ตารางที่ 4.4 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมของแขวงการทางจาแนกตามประเภทกิจกรรม
ต้ นทุนทางอ้ อม เงินเดือนและสวัสดิการฝ่ ายช่าง เงินเดือนและสวัสดิการฝ่ ายสนับสนุน ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุและค่าจ้ าง ชัว่ คราว ค่าสาธารณูปโภค ค่าเสื่อมราคาของเครื่ องมือเครื่ องจักร ในช่วงที่ไม่ได้ ถกู ใช้ งาน ค่าเสื่อมของสานักงาน และ ยานพาหนะสาหรับใช้ ในงานทัว่ ไป รวม
กิจกรรมที่แขวงการทางดาเนินการ งานบารุงปกติ งานอื่นๆ ส่ วนที่ดาเนินการเอง ส่ วนที่จ้างเหมา สัดส่ วน บาท สัดส่ วน บาท สัดส่ วน บาท 0.32 214,400 0.08 53,600 0.60 402,000 0.32 169,900 0.08 42,500 0.60 318,600
รวม บาท 670,000 531,000
0.32
919,700
0.08
229,900
0.60
1,724,400 2,874,000
0.32
256,000
0.08
64,000
0.60
480,000
800,000
0.60
174,000
-
-
0.40
116,000
290,000
0.32
307,800
0.08
77,000
0.60
577,200
962,000
2,041,800
467,000
3,618,200 6,127,000
ตารางที่ 4.5 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม (ดาเนินการเอง) ไปเป็ นต้ นทุนของงานบารุงปกติประเภทต่างๆ ประเภทงาน ปรับระดับผิวทางแอสฟั ลท์ ขุดซ่อมผิวทางแอสฟั ลท์ ตัดหญ้ า ตีเส้ นจราจร รวม
สัดส่ วนของเวลา ที่ใช้ ไป
ต้ นทุนทางอ้ อม (บาท/ปี )
ต้ นทุนทางตรง (บาท/ปี )
0.04 0.03 0.07 0.02 0.16
90,000 69,000 140,000 43,000 -
1,902,000 1,014,000 1,209,000 409,000 -
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
สัดส่ วนต้ นทุน ทางตรงต่ อต้ นทุน ทางอ้ อม 21:1 15:1 8.5:1 9.5:1 -
4-15
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ 4.6 การปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อม (จ้ างเอกชน) ไปเป็ นต้ นทุนของงานบารุงปกติประเภทต่างๆ ประเภทงาน ปรับระดับผิวทางแอสฟั ลท์ ขุดซ่อมผิวทางแอสฟั ลท์ ตัดหญ้ า ตีเส้ นจราจร รวม
สัดส่ วนของเวลา ที่ใช้ ไป
ต้ นทุนทางอ้ อม (บาท/ปี )
ต้ นทุนทางตรง (บาท/ปี )
0.18 0.21 0.26 0.31 0.95
84,000 96,000 120,000 140,000 -
598,000 382,000 1,076,000 1,322,000 -
สัดส่ วนต้ นทุน ทางตรงต่ อต้ นทุน ทางอ้ อม 7.1:1 4.0:1 9.0:1 9.2:1 -
ในตารางที่ 4.5 และ 4.6 ต้ นทุนทางอ้ อมที่เกี่ยวข้ องกับงานบารุงปกติได้ ถกู ปั นส่วนเข้ าไปเป็ น ต้ น ทุน ทางอ้ อมของงานบารุ ง ปกติแ ต่ล ะประเภทตามสัด ส่ว นของเวลาที่ ใ ช้ ไ ปในการด าเนิ น งาน เช่น จากตารางที่ 4.6 ในการดาเนินงานบารุงปกติเอง แขวงการทางใช้ เวลาไปกับงานปรับระดับผิวทางแอสฟั ลต์ คิดเป็ น 4% ของเวลาทังหมด ดังนันต้ ้ นทุนทางอ้ อมที่ใช้ ไปในการดาเนินงานบารุงปกติในส่วนที่แขวงการ ทางดาเนินการเอง (2,041,800 บาท) จะถูกปั นส่วนไปเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมในส่วนของการดาเนินการเอง ของงานปรับระดับผิวทางแอสฟั ลต์จานวนทัง้ สิน้ ประมาณ 90,000 บาท (2,041,800 คูณด้ วย 0.04) เป็ นต้ น ซึ่งต้ นทุนทางอ้ อมของงานแต่ละประเภทที่ ได้ จากการปั นส่วนดัง กล่าวนัน้ เมื่อนาไปหารต้ นทุน ทางตรงซึ่งเป็ นข้ อมูลที่เก็บรวบรวมมาจากแขวงการทางแล้ ว จะได้ เป็ นค่าสัดส่วนของต้ นทุนทางตรงต่อ ต้ นทุนทางอ้ อม ซึ่งค่าสัดส่วนดังกล่าวนีเ้ มื่อนามาหารต้ นทุนทางตรงต่อหน่วยของงานบารุ งปกติแต่ละ ประเภท จะได้ เป็ นต้ นทุนทางอ้ อมต่อหน่วย ซึ่งสามารถนามาคานวณต่อไปเป็ นต้ นทุนรวมต่อหน่วยทังใน ้ ส่วนของการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนในงานบารุงปกติแต่ละประเภทได้ ดังแสดงในตารางที่ 4.8 ตารางที่ 4.7 ต้ นทุนต่อหน่วยในการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนของงานบารุงปกติประเภทต่างๆ
ประเภทงาน
ปรับระดับผิวทางแอสฟั ลท์ ขุดซ่อมผิวทางแอสฟั ลท์ ตัดหญ้ า ตีเส้ นจราจร
ต้ นทุนต่ อหน่ วยในการดาเนินการเอง ต้ นทุนต่ อหน่ วยในการจ้ างเอกชน (บาท / ตร.ม.) (บาท / ตร.ม.) ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ต้ นทุน ทางตรง ทางตรง ทางอ้ อม รวม ทางตรง ทางตรง ทางอ้ อม รวม ต่ อ ต่ อ ต่ อ ต่ อ ต่ อ ต่ อ ต่ อ ต่ อ ทางอ้ อม หน่ วย หน่ วย หน่ วย ทางอ้ อม หน่ วย หน่ วย หน่ วย 21:1 123 5.8 129 7.1:1 98 14 112 15:1 242 16 258 4.0:1 301 76 377 8.5:1 0.55 0.06 0.61 9.0:1 0.23 0.03 0.26 9.5:1 295 31 326 9.2:1 275 30 305
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-16
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ในตารางที่ 4.7 เมื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยในการดาเนินงานตามแนวทางที่ได้ เสนอไว้ พบว่า ต้ นทุนต่อหน่วยในการจ้ างเอกชนมาดาเนินการส่วนใหญ่มีแนวโน้ มที่ต่ากว่ าการที่แขวงการทางดาเนินการ เอง แต่อย่างไรก็ ตาม การวิเ คราะห์ดัง กล่าวนี ม้ ี จุดประสงค์หลักเพี ยงเพื่ อเป็ นตัวอย่างแนวทางในการ เปรี ยบเทียบความแตกต่างด้ านต้ นทุนเท่านัน้ ต้ นทุนที่แท้ จริงอาจมีความแตกต่างจากตัวอย่างที่แสดงได้ อนั เนื่องมาจากความละเอียดของข้ อมูลที่ใช้ การกาหนดสมมุติฐานที่ใช้ ในการวิเคราะห์ รวมถึงการกาหนด สัดส่วนในการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมยกตัวอย่างเช่น การกาหนดสัดส่วนในการปั นส่วนต้ นทุนทางอ้ อมของ เงินเดือนและสวัสดิการ ค่าตอบแทน ใช้ สอย วัสดุ ค่าจ้ างชัว่ คราวค่าสาธารณูปโภค ตลอดจนค่าเสื่อมราคา ต่างๆ ของแขวงการทาง ไปเป็ นต้ นทุนทางอ้ อมของงานบารุ งปกติที่ดาเนินการเองงานบารุ ง ปกติที่จ้า ง เอกชน และงานด้ านอื่นๆ ของแขวง เป็ นต้ น ซึ่งการกาหนดสัดส่วนของการปั นส่วนต้ นทุนที่ต่างกัน ย่อม ส่งผลให้ ผลการเปรี ยบเทียบต้ นทุนระหว่างการดาเนินการเองและการจ้ างเอกชนมีความแตกต่างกันตามไป ด้ วย จากข้ างต้ นเมื่อวิเคราะห์ต้นทุนต่อหน่วยในการดาเนินงานตามแนวทางที่ได้ เสนอไว้ พบว่า ต้ นทุนต่อหน่วยในการจ้ างเอกชนมาดาเนินการส่วนใหญ่มีแนวโน้ มที่ต่ากว่าการที่แขวงการทางดาเนินการ เอง แต่การปฏิบตั ิงานจาเป็ นที่จะต้ องศึกษาถึง ความพร้ อมของภาครัฐทังในส่ ้ วนของบุคลากร เครื่ องจักร และอุปกรณ์ ซึ่งจากการศึกษาพบว่า แนวโน้ มของราคาต่อหน่วยของการให้ ภาคเอกชนสูงกว่าราคาต่อ หน่วยของภาครัฐ หากภาครัฐมีความพร้ อมในส่วนของบุคลากร เครื่ องจักร และอุปกรณ์ ดังนันหากน ้ ามา ประยุกต์ใช้ กบั การเลือกรูปแบบการจ้ างเหมา ควรคานึงถึงความพร้ อมของภาครัฐเป็ นสาคัญ คือ สานักงาน ทางหลวงชนบทจังหวัดใดมีความพร้ อมในส่วนของเครื่ องจักร อุปกรณ์ตลอดจนบุคลากรสาหรับดาเนินการ บ ารุ ง ปกติค วรด าเนิ น งานเอง ซึ่ง ราคาต่อ หน่ว ยในการด าเนิ น การเองถูก กว่ า ภาคเอกชน แต่ส าหรั บ สานักงานทางหลวงชนบทจังหวัดใดที่ไม่มีความพร้ อม หรื อมีไม่เพียงพอ อาจพิจารณาเลือกดาเนินการโดย การจ้ างเหมาต่อไป
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
4-17
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
บทที่ 5 พัฒนาแนวทางการปรับปรุงรูปแบบการจ้างสาหรับใช้จ้างเอกชน ในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท 5.1 พัฒนาแนวทางการปรั บปรุ งรู ปแบบการจ้ างสาหรั บใช้ จ้างเอกชนในงานบารุ งปกติของกรม ทางหลวงชนบท จากการศึกษาบทที่ 4 ที่ผา่ นมาพบว่าปั ญหาของการจ้ างเหมาบารุงปกติประกอบไปด้ วย ปั ญหาเกิด จากภาครั ฐดาเนินการจ้ างเหมาจากระเบียบส านักนายกรั ฐ มนตรี ปั ญหาจากการใช้ ง บประมาณและ ลักษณะของสัญ ญา และปั ญ หาเกิ ดจากภาคเอกชน ส าหรั บ แนวทางในการแก้ ปั ญหาสามารถน ามา ปรับปรุ ง และพัฒนาแนวทางการปรับปรุ งรู ปแบบการจ้ างสาหรับใช้ จ้างเอกชนในงานบารุ งปกติโดยสรุ ป ดังต่อไปนี ้ แนวทางในการเลือกรู ปแบบสัญญาการจ้ างเหมา ควรศึกษาถึงความพร้ อมของภาครัฐ เป็ นหลัก เนื่องจากสานักงานทางหลวงชนบทจังหวัด (ทชจ.) มีความแตกต่างกัน ดังนันควรศึ ้ กษาถึงความพร้ อมของ อุปกรณ์ เครื่ องจักร และบุคลากร ของ ทชจ. ซึ่ง จากการศึกษาที่ ผ่านมาพบว่า ภาครั ฐ ที่ มี ความพร้ อม สามารถดาเนินการด้ วยตนเอง มี ต้นทุนราคาต่อหน่วยถูกกว่าการให้ ภาคเอกชนดาเนินการ แต่ส าหรั บ ภาครัฐที่ไม่มีความพร้ อม ต้ นทุนการจ้ างภาคเอกชนมีแนวโน้ มถูกกว่าการที่ภาครัฐดาเนินการเอง ในกรณีที่ ภาครัฐให้ ภาคเอกชนดาเนินการควรศึกษาถึง รู ปแบบสัญญา องค์ประกอบของแต่ละสายทาง และการใช้ งานที่แตกต่างกัน โดยรูปแบบการดาเนินงานมีลกั ษณะตามลักษณะงานดังตารางที่ 1 และรายละเอียดดังนี ้ ตารางที่ 5.1 ลักษณะการดาเนินการในแต่ละประเภทกิจกรรม ประเภทกิจกรรม บารุงปกติผวิ ทาง
ลักษณะของสัญญา เหมารวม (Lump – Sum) ราคาต่ อหน่ วย (Unit Cost) -
ซ่อมบารุงอุปกรณ์จราจรสงเคราะห์
-
ตัดหญ้ า
-
ดูแลระบบระบายน ้า
-
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กิจกรรมบารุ งปกติผิวทาง เนื่องจากปริ มาณความเสียหายมีโอกาสเพิ่มขึ ้นตลอดเวลา ทาให้ ใน ความเป็ นจริ ง ไม่สามารถระบุปริ มาณงานที่เกิดขึน้ ได้ อย่างชัดเจน ดังนัน้ ควรใช้ การจ่ายค่าตอบแทนใน ลักษณะราคาต่อหน่วย (Unit cost contract) เพื่อสามารถคลอบคลุมปริ มาณความเสียหายที่เกิดขึน้ ภายหลังได้ โดยอาจมีการกาหนดปริ มาณงาน และงบประมาณเริ่ มต้ น และให้ ผ้ ูรับเหมาสารวจความ เสียหาย และขออนุมัติซ่อมบารุ ง จนกว่างบประมาณที่กาหนดไว้ จะหมด การตรวจรับงานได้ มีการจัดตัง้ คณะกรรมการส าหรั บ ตรวจรั บ งานเช่ น เดี ย วกั น กั บ กิ จ กรรมซ่ อ มบ ารุ ง ประเภทอื่ น โดยขั น้ ตอน คณะกรรมการตรวจรับงานตรวจรับงานเฉพาะบริ เวณที่ได้ ซ่อมบารุงแล้ ว เท่านัน้ และระยะเวลารับประกัน ผลงาน จากการศึกษาหนังสือสานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ว ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 และ หนังสือสานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร 1204/ 11843 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2536 จากการพิจารณาหนังสือ ดั ง ก ล่ า ว ค ณ ะ ที่ ป รึ ก ษ า มี ค ว า ม เ ห็ น ว่ า ก า ร ป ร ะ กั น ค ว า ม ช า รุ ด บ ก พ ร่ อ ง เ ป็ น เ ว ล า 2 ปี ดังกล่าวนันจ ้ ากัดเฉพาะงานก่อสร้ างเท่านัน้ หากมิได้ เป็ นงานก่อสร้ าง แต่เป็ นงานซ่อมบารุงโดยเฉพาะ อย่างยิ่ง งานบารุ ง ปกติ กรมทางหลวงชนบทสามารถดาเนินการปรั บระยะเวลารั บประกันความช ารุ ด บกพร่ อ ง หรื อ ก าหนดระยะเวลารั บ ประกัน ความช ารุ ด บกพร่ อ งตามประเภทกิ จ กรรมได้ โดยอาจใช้ ระยะเวลารับประกันความชารุ ดบกพร่ องของกรมทางหลวงเป็ นตัวอย่างในการกาหนดระยะเวลาประกัน ความชารุดบกพร่อง โดยระยะเวลารับประกันความชารุดบกพร่อง อาจนาระยะเวลารับประกันผลงานของ กรมทางหลวงมาเป็ นแนวทาง และประยุกต์ใช้ ให้ เหมาะกับกรมทางหลวงชนบท โดยการรับประกันผลงาน เฉพาะบริ เ วณที่ ซ่ อ มบ ารุ ง เท่ า นัน้ ส าหรั บ งานบ ารุ ง ปกติ ผิ ว ทางมี แ นวทางในการปฏิ บัติ ง านจัด จ้ า ง ดาเนินการเช่นเดียวกับการจัดจ้ างในประเภทอื่น สาหรับแนวทางในการดาเนินงานมีแนวทางดังต่อไปนี ้ 1. กาหนดปริมาณงาน และงบประมาณเริ่มต้ น เพื่อเป็ นแนวทางในการกาหนดขอบเขตงาน โดย ปริ มาณงานที่กาหนดไว้ อาจกาหนดจากปริ มาณงานที่ดาเนินการในอดีต หรื อจากแบบจาลองประมาณ ปริมาณงาน และคานวณงบประมาณสาหรับการดาเนินการ 2. ร่างกาหนดขอบเขตของงาน (Term of Reference: TOR) โดยอ้ างอิงระเบียบพัสดุ พ.ศ. 2535 และส่วนแก้ ไ ขเพิ่ม เติม ตัวอย่า งร่ างขอบเขตงานสามารถศึกษารายละเอี ย ดเพิ่ ม เติม ดัง ภาคผนวก ฉ รายละเอียดของร่างกาหนดขอบเขตงานดังนี ้ ความเป็ นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา แบบรูปรายการ หรื อคุณลักษณะเฉพาะ ระยะเวลาดาเนินการ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
งบประมาณในการดาเนินงาน รายละเอียดหนังสือค ้าประกันซอง 3. ร่างเอกสารประกวดราคาจ้ าง โดยมีรายละเอียดดังนี ้ รายการการดาเนินงาน เช่น สถานที่ตงโครงการ ั้ ลักษณะการดาเนินงาน แบบสัญญาราคาต่อหน่วย (Unit price) ใบแจ้ งปริมาณงาน และราคา แบบใบยืนยันราคา แบบหนังสือค ้าประกันราคา เงื่ อนไขการซ่อมบารุ ง เช่น ผู้รับเหมาเป็ นผู้ดาเนินการสารวจความเสียหาย และยื่นขอ อนุมตั ซิ อ่ มบารุงกับทางหลวงชนบท รายละเอียดการจ่ายเงิน รายละเอียดการตรวจสอบผลงาน และตรวจรับงาน 4. ดาเนินการประกวดราคา 5. ลงนามสัญญาเพื่อจัดจ้ าง และแต่งตังคณะกรรมตรวจการจ้ ้ าง และผู้ควบคุมงาน รายละเอียด สัญญาดังภาคผนวก ฉ 6. ตรวจสอบสภาพความเสียหาย ซึ่งอาจจะเป็ นทาง ทชจ. ดาเนินการเอง หรื อทางผู้รับจ้ าง ดาเนินการเอง ซึง่ ขึ ้นอยูก่ บั เงื่อนไขการซ่อมบารุงซึง่ ระบุในส่วนของร่างเอกสารประกวดราคาจ้ าง 7. ขออนุมตั ิเพื่อดาเนินการซ่อมบารุง โดยต้ องมีรายละเอียดได้ แก่ ตาแหน่งที่ซ่อมบารุง รูปถ่าย ก่อนการดาเนินการซ่อมบารุง โดยต้ องได้ รับความเห็นชอบจากผู้ควบคุมงานที่ได้ รับการแต่งตัง้ 8. ดาเนินการซ่อมบารุง 9. ผู้รับจ้ างยื่นหนังสือเพื่อตรวจสอบและส่งมอบงาน 10. ดาเนินการตรวจรับงาน ควรมีการตรวจสอบงานของผู้ควบคุมงานตังแต่ ้ ก่อนการดาเนินงาน ระหว่างการดาเนินงาน และภายหลังดาเนินการเสร็ จ โดยการซ่อมบารุงต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานการซ่อม บารุง และคูม่ ือการบารุงรักษาที่กรมทางหลวงชนบทได้ กาหนดขึ ้น โดยมีแนวทางในการตรวจการจ้ างดังนี ้ ปริมาณงานถูกต้ องตามเอกสารขออนุมตั ิดาเนินงาน ความกว้ าง และความยาวเป็ นไปตามแบบซ่อมบารุงซึง่ ขออนุมตั ดิ าเนินงาน รอยปะซ่อมต้ องมีความเรี ยบร้ อย และมีความแน่นของการบดอัดเป็ นไปตามมาตรฐาน กรมทางหลวงชนบท และรอยปะซ่อมสม่าเสมอเป็ นระดับเดียวกันกับผิวทางเดิม รายงานการติดตามการดาเนินการซึง่ จัดทาโดยผู้ควบคุมงาน สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
และเมื่อดาเนินการผ่าน ก็ดาเนินการจ่ายเงิน และในกรณีดาเนินการไม่ผ่านการตรวจรับงาน ก็ต้องดาเนินการใหม่เพื่อให้ ผา่ นการดาเนินงาน 11. การจ่ายเงินให้ ตามจานวนจริ งซึ่งผู้รับจ้ างได้ ยื่นตรวจสอบ และส่งมอบงาน แต่ในกรณีที่มี ปริ มาณงานบารุ งปกติผิวทางมีปริ มาณงานน้ อยกว่า หรื อมากกว่าที่ระบุไว้ ในสัญญาให้ ดาเนินการตาม ระเบียบพัสดุ สานักนายกรัฐมนตรี คือ - เมื่อปริ มาณงานที่ทาเสร็ จจริ งในส่วนที่เกินกว่าร้ อยละ 125 แต่ไม่เกิน ร้ อยละ 150 ของ ปริ มาณงานที่กาหนดไว้ ในสัญญาหรื อใบแจ้ งปริ มาณงานและราคา จะจ่ายให้ ในอัตรา ร้ อยละ 90 ของราคาต่อหน่วยตามสัญญา - เมื่อปริ มาณงานที่ทาเสร็ จจริ งในส่วนที่เกินกว่าร้ อยละ 150 ของปริ มาณงานที่กาหนดไว้ ในสัญญาหรื อใบแจ้ งปริ มาณงานและราคา จะจ่ายให้ ในอัตราร้ อยละ 83 ของราคาต่อ หน่วยตามสัญญา - เมื่อปริ มาณงานที่ทาเสร็ จจริ งน้ อยกว่าร้ อยละ75 ของปริ มาณงานที่กาหนดไว้ ในสัญญา หรื อใบแจ้ งปริ มาณงานและราคา จะจ่ายให้ ตามราคาต่อหน่วยในสัญญา และจะจ่าย เพิ่มชดเชยเป็ นค่า Overheadและ mobilization สาหรับงานในรายการนัน้ ในอัตราร้ อย ละ 17 ของผลต่างระหว่างปริ มาณงานทัง้ หมดของรายการนันตามสั ้ ญญากับปริ มาณ งานที่ทาเสร็ จจริงคูณด้ วยราคาต่อหน่วยตามสัญญา - ผู้ว่าจ้ าง จะจ่ายเงินที่เพิ่มขึ ้น หรื อหักลดเงิน ในแต่ละกรณี ดังกล่าวข้ างต้ น ในงวด สุดท้ าย ของการจ่ายเงิน หรื อก่อนงวดสุดท้ าย ของการจ่ายเงิน ตามที่ผ้ วู ่าจ้ าง จะ พิจารณาเห็นสมควร 12. ตรวจสอบงบประมาณคงเหลือที่กาหนดไว้ ในสัญญา หากยังมีงบประมาณคงเหลือ ให้ ผ้ รู ับ จ้ างดาเนินการสารวจความเสียหายเพื่อขออนุมตั ิซ่อมบารุงต่อไป แต่หากงบประมาณคงเหลือหมดลงก็ยตุ ิ สัญญาการดาเนินการ 13. รับมอบคืนสายทางสูค่ วามรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท 14. เริ่มนับระยะเวลาค ้าประกันผลงาน โดยนับเฉพาะบริ เวณที่ผ้ รู ับเหมาดาเนินการซ่อมบารุงไว้ เท่านัน้ ซึ่งระยะเวลาค ้าประกันผลงานให้ เริ่ มต้ นนับภายหลังการสิ ้นสุดลงของสัญญา สามารถใช้ ตวั อย่าง การค ้าประกันของกรมทางหลวงดังภาคผนวก ง รายละเอียดการดาเนินงานแสดงดังรูปที่ 5.1
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กิจกรรมจราจรสงเคราะห์ กิจกรรมตัดหญ้ า และกิจกรรมดูแลระบบระบายน ้า สามารถใช้ สญ ั ญา ลักษณะเหมารวมได้ เช่นเดิม เนื่องจากสามารถระบุปริมาณงานได้ อย่างชัดเจน สาหรับแนวทางในการดาเนินงานมีแนวทางดังต่อไปนี ้ 1. สารวจความเสียหายเพื่อกาหนดปริมาณงาน และงบประมาณดาเนินการที่ชดั เจน 2. ร่างกาหนดขอบเขตของงาน (Term of Reference: TOR) โดยอ้ างอิงระเบียบพัสดุ พ.ศ. 2535 และส่ว นแก้ ไ ขเพิ่ ม เติม ตัว อย่า งร่ า งขอบเขตงานสามารถศึกษารายละเอี ยดเพิ่ม เติม ดัง ภาคผนวก จ รายละเอียดของร่างกาหนดขอบเขตงานดังนี ้ความเป็ นมาของโครงการ วัตถุประสงค์ คุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา แบบรูปรายการ หรื อคุณลักษณะเฉพาะ ระยะเวลาดาเนินการ งบประมาณในการดาเนินงาน รายละเอียดหนังสือค ้าประกันซอง 3. ร่างเอกสารประกวดราคาจ้ าง โดยมีรายละเอียดดังนี ้
รายการการดาเนินงาน เช่น สถานที่ตงโครงการ ั้ ลักษณะการดาเนินงาน แบบสัญญาจ้ างเหมารวม (Lump sum) ใบแจ้ งปริมาณงาน และราคา แบบใบยืนยันราคา แบบหนังสือค ้าประกันราคา
รายละเอียดการจ่ายเงิน รายละเอียดการตรวจสอบผลงาน และตรวจรับงาน 4. ดาเนินการประกวดราคา 5. ลงนามสัญญาเพื่อจัดจ้ าง และแต่งตังคณะกรรมตรวจการจ้ ้ าง และผู้ควบคุมงาน รายละเอียด สัญญาดังภาคผนวก จ 6. ขออนุมตั เิ พื่อดาเนินการซ่อมบารุง 7. ดาเนินการซ่อมบารุง 8. ผู้รับจ้ างยื่นหนังสือเพื่อตรวจสอบและส่งมอบงาน 9. ดาเนินการเพื่อตรวจรับงาน การตรวจรับต้ องมีการตรวจสอบงานของผู้ควบคุมตังแต่ ้ ก่อนการ ดาเนิ นงาน ระหว่า งการดาเนินงาน และภายหลัง ดาเนินการเสร็ จ โดยการซ่อมบ ารุ ง ต้ องเป็ นไปตาม สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
มาตรฐานงานซ่อมบารุงของกรมทางหลวงชนบท และดาเนินงานตามคูม่ ือการบารุงรักษาที่กรมทางหลวง ชนบทได้ กาหนดขึ ้น โดยรายละเอียดการตรวจการจ้ างดังต่อไปนี ้
ปริมาณงานถูกต้ องตามเอกสารขออนุมตั ิดาเนินงาน การดาเนินงานซ่อมบารุงต้ องเป็ นไปตามมาตรฐานกรมทางหลวงชนบท รายงานการติดตามการดาเนินการซึง่ จัดทาโดยผู้ควบคุมงาน กิจกรรมตัดหญ้ าให้ ดาเนินการตรวจสอบดังต่อไปนี ้ ระยะที่ตดั หญ้ านับจากผิวทางเป็ นไปตามที่แบบกาหนด ความยาวของหญ้ าต้ องมีความสันสม ้ ่าเสมอ ทังนี ้ ้ต้ องขึ ้นอยู่กับพื ้นที่ และวิจารญาณ ของผู้ควบคุมงาน และเมื่อดาเนินการผ่าน ก็ดาเนินการจ่ายเงิน และในกรณีดาเนินการไม่ผ่านการตรวจรับงานก็ ต้ องดาเนินการใหม่เพื่อให้ ผา่ นการดาเนินงานห 10. จ่ายเงินตามที่ระบุไว้ ในสัญญา 11. เริ่มนับระยะเวลาค ้าประกันผลงาน โดยนับเฉพาะบริ เวณที่ผ้ รู ับเหมาดาเนินการซ่อมบารุงไว้ เท่านัน้ ซึง่ ระยะเวลาค ้าประกันผลงานให้ เริ่มต้ นนับภายหลังการสิ ้นสุดลงของสัญญา รายละเอียดการดาเนินงานแสดงดังรูปที่ 5.2
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กาหนดปริมาณงาน และงบประมาณ
ร่างกาหนดขอบเขตงาน (TOR)
ร่างเอกสารประกวดราคาจ้ าง
ลงนามสัญญาจ้ าง และตังกรรมตรวจการจ้ ้ าง
ดาเนินการประกวดราคาจ้ าง
สารวจสภาพความเสียหาย ขออนุมตั ิดาเนินการซ่อมบารุง
ดาเนินการซ่อมบารุง
ผู้รับจ้ างยื่นตรวจสอบ และส่งมอบงาน
ไม่ผ่าน
ผ่าน
ตรวจสอบผลงาน
จ่ายเงินตามปริมาณงานจริง
ไม่ใช่
งบประมาณ
ใช่
คงเหลือ = 0 รับมอบคืนสายทาง
เริ่มต้ นค ้าประกันผลงาน
รูปที่ 5.1 รายละเอียดการดาเนินงานบารุงปกติสญ ั ญาลักษณะราคาต่อหน่วย
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-7
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
สารวจสภาพความเสียหาย
ร่างกาหนดขอบเขตงาน (TOR)
ร่างเอกสารประกวดราคาจ้ าง
ลงนามสัญญาจ้ าง และแต่งตังคณะกรรมตรวจการจ้ ้ าง
ดาเนินการประกวดราคาจ้ าง
ขออนุมตั ิดาเนินการซ่อมบารุง ดาเนินการซ่อมบารุง ผู้รับจ้ างยื่นตรวจสอบ และส่งมอบงาน
ไม่ผ่าน
ตรวจสอบผลงาน
ผ่าน เบิกจ่ายเงิน เริ่มต้ นค ้าประกันผลงาน
รูปที่ 5.2 รายละเอียดการดาเนินงานบารุงปกติสญ ั ญาลักษณะเหมารวม สาหรับแนวทางในการพัฒนาการจ้ างเหมาสามารถดาเนินการได้ ดงั ต่อไปนี ้ 1. ขึ ้นทะเบียนผู้รับเหมางานบารุ งปกติ เพื่อเป็ นการคัดเลือกผู้รับจ้ างเบื ้องต้ นที่มีคณ ุ สมบัติหรื อ ขีดความสามารถตรงตามความต้ องการมาทาสัญญาจ้ างเพื่อดาเนินการในภารกิจบารุงปกติดงั กล่าวต่อไป พร้ อมทังมี ้ การกาหนดคุณสมบัตขิ องเอกชนที่เข้ ามาดาเนินงานในภารกิจต่าง เพื่อเป็ นหลักประกันให้ งาน ที่ออกมามีคณ ุ ภาพตามต้ องการ 2. คัดเลือกกลุม่ สายทางสาหรับเป็ นสายทางนาร่องในการจ้ างเหมาบารุงปกติ โดยอาจพิจารณา กลุม่ สายทางที่อยูใ่ นบริเวณพื ้นที่เดียวกัน และอยูใ่ นจังหวัดใหญ่ หรื อ ทชจ.ที่มีพื ้นที่ในความรับผิดชอบมาก หรื อสายทางที่มีความสาคัญ ซึง่ มีแนวทางในการคัดเลือกสายทางดังต่อไปนี ้ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-8
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
- กลุ่ม ของสายทางมี ร ะยะทางไกลจากส านักงานทางหลวงชนบทตัง้ อยู่ เนื่ องจากต้ อ ง สูญเสียเวลากับการเดินทางไปกลับระหว่างสานักงาน และที่ตงของสายทาง ั้ ซึ่งการจ้ าง เหมาผู้รับเหมาในท้ องที่ทาให้ การดาเนินงานเกิดประสิทธิภาพ และสามารถสารวจความ เสียหาย และดาเนินการซ่อมบารุงได้ อย่างรวดเร็ ว - กลุ่มของสายทางควรเป็ นพื ้นที่เดียวกัน หรื อตังอยู ้ ่ใกล้ เคียงกัน เพื่อให้ ผ้ รู ับเหมาเกิดความ คล่องตัวในการดาเนินงาน เช่นการสารวจความเสียหาย และสามารถเข้ าซ่อมบารุงได้ ทนั ที ในกรณีที่เกิดความเสียหาย - กลุม่ ของสายทางควรมีความเสียหายคละกันระหว่างความเสียหายเบา และความเสียหาย หนัก เพื่อไม่เป็ นการเอาเปรี ยบผู้รับเหมา และสามารถเปรี ยบเทียบการดาเนินงานกับการที่ กรมทางหลวงชนบทดาเนินการเองได้ เพื่อนาไปใช้ ในการประเมินผลต่อไป 3. ดาเนินการจัดจ้ างภาคเอกชน โดยแบ่งแยกตามลักษณะของกิจกรรมตามที่คณะที่ปรึ กษาได้ แนะนาข้ างต้ น เช่น การบารุงรักษาผิวทางให้ จ้างเหมาในลักษณะราคาต่อหน่วย ซึ่งให้ ผ้ รู ับเหมาดาเนินการ ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กรมทางหลวงชนบทได้ กาหนดไว้ เป็ นต้ น สาหรับสัดส่วนงบประมาณการจ้ างเหมา ควรอยูร่ ะหว่างร้ อยละ 15 – 30 ของงบประมาณบารุงปกติทงหมดที ั้ ่ได้ รับ 4. ขณะด าเนิ น การจ้ า งเหมาควรมี ก ารติด ตามผลการด าเนิ น งาน ทัง้ ในเรื่ อ งคุณ ภาพ และ ระยะเวลาการดาเนินงาน ตลอดจนวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณงานและต้ นทุนในการดาเนินงาน จริง 5. ในกรณี ที่มี ปริ มาณงานบารุ ง ปกติผิวทางมี ปริ ม าณงานน้ อยกว่า หรื อมากกว่าที่ ระบุไ ว้ ใน สัญญาให้ ดาเนินการตามระเบียบพัสดุ สานักนายกรัฐมนตรี ตามรู ปแบบที่กาหนดไว้ ในสัญญาราคาต่อ หน่วย 6. สรุปผลการดาเนินการจ้ างเหมาบารุงปกติในสายทางนาร่องเพื่อสรุปถึงปั ญญา อุปสรรค และ แนวทางการดาเนินงานในอนาคต และเป็ นการแสดงให้ เห็นภาพของการจ้ างเหมาบารุงปกติที่ชดั เจนยิ่งขึ ้น เพื่อที่จะนาไปปรับปรุงและขยายผลในพื ้นที่อื่น ต่อไป
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
5-9
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ภาคผนวก
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-1
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ภาคผนวก ก ระเบียบวิธีการจ้ างเหมา ภาครัฐได้ ปรับเปลี่ยนบทบาทจากเดิมที่เป็ นผู้ควบคุมและปฏิบตั ิการเอง มาเป็ นผู้กํากับดูแล ส่งเสริ ม และสนับสนุนให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศมากขึ ้น โดยมีนโยบายที่เกี่ยวข้ อง คือ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2540-2544) ได้ กําหนดให้ ปรับปรุ ง บทบาทการบริหารจัดการของส่วนราชการด้ วยการลดบทบาทในการดําเนินกิจกรรมของภาครัฐเพื่อส่งเสริ ม ให้ ประชาชนและภาคเอกชนเข้ ามามีบทบาทมากขึ ้น ลดขนาดโครงสร้ างและกําลังคนของระบบราชการ และสนับสนุนให้ ภาคเอกชนมีบทบาทเพิ่มขึ ้นในการลงทุนด้ านการบริ หารการศึกษา ด้ านสาธารณสุข และ ด้ านบริการโครงสร้ างพื ้นฐานอย่างเต็มศักยภาพ นโยบายของรัฐบาลที่ชดั เจนในการปรับเปลี่ยนบทบาทให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดําเนินงานบางอย่าง แทนส่วนราชการ โดยคณะรัฐมนตรี ได้ มีมติที่เกี่ยวกับเรื่ องนี ้ ได้ แก่ 1) คณะรัฐมนตรี ได้ มีมติเมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2541 เห็นชอบกับมาตรการปรับขนาดกําลังคน ภาครัฐ ลูกจ้ างประจํา ซึ่งมีสาระสําคัญให้ ยบุ เลิกตําแหน่งลูกจ้ างประจําหมวดแรงงานที่ว่าง ลง และให้ ส่วนราชการเร่ งจ้ างเหมาบริ การในงานรักษาความสะอาด งานรักษาความ ปลอดภัย และงานดูแลรักษาต้ นไม้ สนามหญ้ า สวนหย่อม ของทางราชการ 2) คณะรัฐมนตรี ได้ มีมติเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม 2541 เห็นชอบให้ จดั กลุ่มภารกิจของรัฐ ออกเป็ น 6 กลุ่มคือ ภารกิจที่เป็ นของส่วนราชการ ภารกิจที่เป็ นของรัฐวิสาหกิจ ภารกิจที่ควรให้ ภาคเอกชนดําเนินการ ภารกิจที่เป็ นของท้ องถิ่น ภารกิจที่เป็ นขององค์กรประชาชน และ ภารกิจที่ควรจัดตังเป็ ้ นองค์การมหาชน ซึ่งภารกิจที่ควรให้ เอกชนดําเนินการ ในขณะนี ้หน่วยงานที่เกี่ยวข้ อง คือ กระทรวงการคลัง สํานัก งบประมาณ และสํานักงาน ก.พ. ได้ เร่งผลักดันให้ ส่วนราชการต่าง ๆ ปรับลดบทบาทและภารกิจลง และ ถ่ายโอนงานบางอย่างให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดําเนินการแทน 1. กฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ อง กฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้ องกับการจ้ างเหมาบริการ มีดงั นี ้ พระราชบัญญัติวิธีงบประมาณ พ.ศ. 2502 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม และระเบียบว่าด้ วยการ บริหาร งบประมาณ พ.ศ. 2525 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้ จา่ ยในการจ้ างเหมาบริการของกระทรวงการคลัง 1) หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0514/ว 80 ลงวันที่ 20 มิถนุ ายน 2533
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-2
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
2) 3) 4) 5) 6) 7)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สดุ ที่ กค 0526.7/ว 62 ลงวันที่ 14 พฤษภาคม 2539 หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สดุ ที่ กค 0526.7/ว 129 ลงวันที่ 14 ตุลาคม 2539 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0526.7/ว 6700 ลงวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2540 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0502/ว 101 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2533 หนังสือกระทรวงการคลัง ที่ 0526.5/ว 28596 ลงวันที่ 5 สิงหาคม 2540 หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สดุ ที่ กค 0526.5/ว 131 ลงวันที่ 28 ธันวาคม 2543
ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม 2. คําจัดความ “การจ้ างเหมา” การจ้ างเหมาบริการ เป็ นการที่รัฐซื ้อบริการจากภาคเอกชนเพื่อให้ ปฏิบตั ิงานบางอย่างที่รัฐไม่มี ผู้ ปฏิบตั หิ รื อมีผ้ ปู ฏิบตั ไิ ม่เพียงพอ การจ้ างเหมาบริการเป็ นการจ้ างบุคคลธรรมดาหรื อนิติบคุ คลให้ ปฏิบตั ิงานของรัฐ โดยดําเนินการ จ้ างหรื อดําเนินการจ้ างที่ปรึกษาตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไข เพิ่มเติม การจ้ างเหมาบริการจึงมีความหมายแตกต่างจากการถ่ายโอนงานให้ เอกชนดําเนินการแทนรัฐใน ประเด็นที่วา่ การจ้ างเหมาบริ การจะถือว่างานยังเป็ นของรัฐอยู่ โดยรัฐจะต้ องตังงบประมาณเพื ้ ่อซื ้อบริ การ จากผู้รับจ้ างแทนการให้ ข้าราชการหรื อลูกจ้ างเป็ นผู้ทํางานนัน้ ส่วนการถ่ายโอนงานให้ เอกชนดําเนินการ คือ การที่ทางราชการเลิกทํางานบางอย่างและส่งเสริมให้ ภาคเอกชนทําแทน 3. ประเภทของงานที่จ้างเหมา การจ้ างเหมาบริ การอาจทําได้ กบั งานเกือบทุกประเภท หากงานนันไม่ ้ มีผ้ ปู ฏิบตั ิหรื อมีไม่เพียง พอที่จะทํางานได้ เสร็จในเวลาที่กําหนด ลักษณะงานที่สามารถจ้ างเหมาบริการได้ มีทงงานที ั้ ่ใช้ แรงงาน งาน ที่ใช้ ทกั ษะฝี มือและงานทางวิชาการ เช่น งานรักษาความปลอดภัย งานทําความสะอาด งานดูแลต้ นไม้ สนามหญ้ า และสวนหย่อม งานยานพาหนะ งานศึกษาวิจยั งานติดตามประเมินผล งานจัดทําคําแปล งาน ผลิตและพิมพ์เอกสาร งานผลิตสื่อการประชาสัมพันธ์ งานสถิติข้อมูลสารสนเทศ งานพัฒนาระบบข้ อมูล สารสนเทศ งานบันทึกข้ อมูล งานสํารวจออกแบบและควบคุมการก่อสร้ าง งานซ่อมบํารุงยานพาหนะ งาน พัฒนาบุคคล งานตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน และงานเทคนิคต่าง ๆ ที่เอกชนมีความชํานาญมากกว่า เป็ นต้ น 4. การเบิกจ่ายเงินค่าจ้ างเหมา ให้ ส่วนราชการเบิกจ่ายค่าจ้ างเหมาบริ การจากเงินงบประมาณในแต่ละประเภทรายการตาม หลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังได้ เวียนแจ้ งให้ ส่วนราชการถือปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบและหลักเกณฑ์ ข้ อ 2.1 – 2.4 กรณีเบิกจ่ายค่าจ้ างเหมาบริ การรายการอื่น ๆ ที่กระทรวงการคลังมิได้ กําหนดหลักเกณฑ์ไว้ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-3
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ให้ หวั หน้ าส่วนราชการเจ้ าของงบประมาณใช้ ดลุ พินิจในเบิ กจ่ายค่าจ้ างเหมาบริ การรายการนัน้ ๆ ได้ เท่าที่ จ่ายจริ งตามความจําเป็ น เหมาะสมและประหยัด โดยคํานึงถึงประโยชน์ในการปฏิบตั ิงานในหน้ าที่ของ หน่วยงานนันตามหนั ้ งสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0502/ว 101 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2533 กรณี มีเงินงบประมาณไม่เพียงพอ ให้ ส่วนราชการพิ จารณาใช้ เงินนอกงบประมาณเพื่อเป็ น ค่าใช้ จา่ ยได้ เท่าที่ไม่ขดั กับระเบียบเงินนอกงบประมาณแต่ละประเภท 5. ผู้มีสว่ นเกี่ยวข้ องกับการจ้ างเหมาะ หัวหน้ าส่วนราชการ หมายถึง อธิบดี ผู้ว่าราชการจังหวัด หรื อหัวหน้ าส่วนราชการที่มีฐานะเป็ น นิตบิ คุ คล แล้ วแต่กรณี หัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ หมายถึง หัวหน้ าหน่วยงานระดับกองหรื อแผนกที่ปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการ พัสดุ หรื อข้ าราชการซึง่ ได้ รับแต่งตังจากหั ้ วหน้ าส่วนราชการให้ มีหน้ าที่หรื อปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการพัสดุตาม ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยการพัสดุ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุ หมายถึง เจ้ าหน้ าที่ซึ่งดํารงตําแหน่งที่มีหน้ าที่เกี่ยวกับการพัสดุหรื อผู้ได้ รับแต่งตัง้ จากหัวหน้ าส่วนราชการให้ มีหน้ าที่หรื อปฏิบตั ิงานเกี่ยวกับการพัสดุตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่า ด้ วยการพัสดุ เจ้ าหน้ าที่การเงินและบัญชี หมายถึง เจ้ าหน้ าที่ซึ่งดํารงตําแหน่งที่มีหน้ าที่เกี่ยวกับการเงินและบัญชี หรื อผู้ได้ รับแต่งตังจากหั ้ วหน้ าส่วนราชการให้ มีหน้ าที่หรื อปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับการเงินและบัญชี 6. ขันตอนการดํ ้ าเนินงานจ้ างเหมา การจ้ างเหมาบริการจะเริ่มต้ นจากการที่สว่ นราชการมีความเป็ นต้ องปฏิบตั ิงานอย่างหนึ่งอย่างใด ไม่วา่ จะเป็ นงานในลักษณะที่ทําได้ เป็ นรายชิ ้นหรื องานในลักษณะที่ต้องทําอย่างสมํ่าเสมอและต่อเนื่องกันก็ ตาม แต่ไม่มีผ้ ปู ฏิบตั ิหรื อมีแต่ไม่สามารถปฏิบตั ิงานนันได้ ้ ทนั ในเวลาที่กําหนดหรื อมีผ้ ปู ฏิบตั ิไม่เพียงพอ และเห็นว่าอาจจ้ างภาคเอกชนที่เป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิติบคุ คลมาดําเนินงานนันได้ ้ โดยดําเนินการตาม ขันตอน ้ ดังนี ้ ขัน้ ตอนที่ 1: ตรวจสอบงบประมาณ 1. กรณีที่ได้ รับจัดสรรงบประมาณเป็ นค่าจ้ างเหมาบริ การแล้ ว ให้ ดําเนินการขันต่ ้ อไปได้ หาก ไม่ได้ รับจัดสรรงบประมาณให้ ตรวจสอบว่ามีงบประมาณหมวดค่าตอบแทนใช้ สอยและวัสดุ ในแผนงาน เดียวกัน หรื อหมวดอื่น ๆ ที่เบิกจ่ายในลักษณะค่าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ เหลือจ่ายเพียงพอหรื อไม่ ถ้ ามี เหลือจ่ายเพียงพอก็ให้ ดําเนินการต่อไปได้ 2. กรณีไม่ได้ รับจัดสรรงบประมาณเป็ นค่าจ้ างเหมาบริ การ และไม่มีงบประมาณหมวดค่าตอบแทน ใช้ สอยและวัสดุ ในแผนงานเดียวกันเหลื อจ่ายเพียงพอ ให้ ขอความตกลงกับสํานักงบประมาณเพื่ อโอน งบประมาณจากแผนงาน งาน/โครงการอื่นที่เหลือจ่ายแล้ วจึงดําเนินการขันต่ ้ อไป สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-4
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
3. สําหรับส่วนราชการที่มีเงินนอกงบประมาณ จะนําเงินนอกงบประมาณมาใช้ สําหรับการจ้ าง เหมาบริการก็ได้ โดยไม่ขดั กับระเบียบของเงินนอกงบประมาณแต่ละประเภท ขัน้ ตอนที่ 2: ตรวจสอบประเภทงาน พิจารณาดูว่างานที่จะจ้ างเหมาบริ การนัน้ เป็ นงานที่อยู่ในหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังมอบ อํานาจให้ หวั หน้ าส่วนราชการเจ้ าของงบประมาณใช้ ดลุ พินิจเบิกจ่ายค่าจ้ างเหมาบริการได้ เองหรื อไม่ ถ้ าใช่ ดําเนินการในขันตอนต่ ้ อไปได้ เลย ถ้ าไม่ใช่ ให้ ดําเนินการตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0502/ว 101 ลงวันที่ 10 กรกฎาคม 2533 กรณีที่ส่วนราชการยังมีผ้ ปู ฏิบตั ิงานนันอยู ้ ่บางส่วน จะจ้ างเหมาบริ การได้ เฉพาะงานส่วนที่ไม่มี ผู้ปฏิบตั งิ าน ขัน้ ตอนที่ 3: ประมาณราคา การประมาณราคานี ้จะต้ องพิจารณาดูวา่ มีการกําหนดราคาไว้ แล้ วหรื อไม่ ลักษณะงานบางอย่าง กระทรวงการคลังอาจกําหนดราคากลางไว้ แล้ ว หากไม่มีการกําหนดราคากลางไว้ จะต้ องประมาณราคา เพื่อกําหนดวิธีการจัดการจัดจ้ างต่อไป การประมาณราคา อาจพิจารณาจาก 1. หลักเกณฑ์ราคากลางหรื อผลการจัดจ้ างเดิมที่เคยกําหนดไว้ 2. อัตราตลาด คือ อัตราค่าจ้ างปกติทวั่ ไปที่เป็ นที่ยอมรับว่าเหมาะสมกับ การจ้ างงานนัน้ โดยให้ คํานึง ถึง อัตราค่าจ้ างขัน้ ตํ่าและค่าใช้ จ่ายอื่ นๆ ที่ จํ าเป็ นตามที่ กฎหมายว่าด้ วยการแรงงานและการ ประกันสังคมกําหนดไว้ ด้วย ขัน้ ตอนที่ 4: กําหนดวิธีการจัดจ้ าง การกําหนดวิธีการจัดจ้ าง ให้ ดจู ากระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ ที่ แก้ ไขเพิ่มเติม ซึง่ ตามระเบียบนี ้ ใช้ วงเงินจัดจ้ างแต่ละครัง้ เป็ นหลักในการกําหนดวิธีการจัดจ้ าง กล่าวคือ
การจ้ างที่มีราคาไม่เกิน 100,000 บาท ให้ ใช้ วิธีการตกลงราคา การจ้ างที่มีราคาเกิน 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท ให้ ใช้ วิธีสอบราคา การจ้ างที่มีราคาเกิน 2,000,000 บาท ให้ ใช้ วิธีประกวดราคา วิธีพิเศษ ใช้ สําหรับการจ้ างครัง้ หนึ่งซึ่งมีราคาเกิน 100,000 บาท และเป็ นงานกรณีใดกรณี หนึง่ คือ 1) เป็ นงานที่ต้องจ้ างผู้มีฝีมือโดยเฉพาะหรื อผู้มีความชํานาญเป็ นพิเศษ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-5
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
2) เป็ นงานจ้ างซ่อมพัสดุที่จําเป็ นต้ องถอดตรวจให้ ทราบความชํารุ ดเสียหายก่อน จึงจะ ประมาณ ค่าซ่อมได้ เช่น งานจ้ างซ่อมเครื่ องจักรเครื่ องมือกล เครื่ องยนต์ เครื่ องไฟฟ้า หรื อ เครื่ องอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้ น 3) เป็ นงานที่ต้องกระทําโดยเร่งด่วน หากล่าช้ าอาจจะเสียหายแก่ราชการ 4) เป็ นงานที่ต้องปกปิ ดเป็ นความลับของทางราชการ 5) เป็ นงานที่จําเป็ นต้ องจ้ างเพิ่มในสถานการณ์ที่จําเป็ นหรื อเร่งด่วน หรื อเพื่อประโยชน์ของ ส่วนราชการ และจําเป็ นต้ องจ้ างเพิ่ม (Repeat Order) 6) เป็ นงานที่ได้ ดําเนินการจ้ างโดยวิธีอื่นแล้ วไม่ได้ ผลดี สําหรับส่วนราชการในต่างประเทศหรื อมีกิจกรรมที่ต้องปฏิบตั ิในต่างประเทศจะจ้ างโดยวิธีพิเศษ ก็ได้ โดยให้ ตดิ ต่อจ้ างกับผู้มีอาชีพรับจ้ างทํางานโดยตรง ขัน้ ตอนที่ 5: ขอความเห็นชอบ เมื่อดําเนินการผ่านขันตอนที ้ ่ 4 คือ กําหนดว่าจะใช้ วิธีใดในการจัดจ้ างแล้ วขันตอนต่ ้ อไปคือ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุต้องจัดทํารายงานเสนอหัวหน้ าส่วนราชการเห็นชอบ ซึ่งในรายงานจะต้ องมีรายละเอียด เกี่ยวกับเรื่ องต่างๆ ดังนี ้ เหตุผลความจําเป็ นที่ต้องจ้ าง รายละเอียดของงานที่จะจ้ าง ราคามาตรฐานหรื อราคากลางของทางราชการ (ถ้ ามีการกําหนดไว้ ) หรื อราคาที่เคยจ้ างครัง้ หลังสุดภายในระยะเวลา 2 ปี งบประมาณ วงเงินที่จะจ้ างในครัง้ นี ้ กําหนดเวลาที่ต้องการให้ งานนันเสร็ ้ จ วิธีที่จะจ้ างและเหตุผลที่ต้องจ้ างโดยวิธีนนั ้ ข้ อเสนออื่น ๆ เช่น การขออนุมตั ิแต่งตังคณะกรรมการต่ ้ าง ๆ ที่จําเป็ นในการจ้ าง การออก ประกาศสอบราคา หรื อประกาศประกวดราคา เมื่อหัวหน้ าส่วนราชการให้ ความเห็นชอบตามรายงานที่เสนอแล้ วให้ ดําเนินการตามวิธีการ จ้ างต่อไปได้ ขัน้ ตอนที่ 6: ตังคณะกรรมการ ้ หัวหน้ าส่วนราชการจะเป็ นผู้แต่งตังคณะกรรมการต่ ้ าง ๆ ตามความจําเป็ นแล้ วแต่กรณี คือ คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา คณะกรรมการรับและเปิ ดซองสอบราคา สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-6
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการจัดจ้ างโดยวิธีการพิเศษ คณะกรรมการตรวจการจ้ าง โดยคณะกรรมการแต่ละคณะจะต้ องรายงานผลการดําเนินการตามหน้ าที่ตอ่ หัวหน้ าส่วนราชการ คณะกรรมการแต่ละคณะประกอบด้ วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอย่างน้ อย 2 คน โดยปกติจะแต่งตังจากข้ ้ าราชการระดับ 3 หรื อเท่าเทียบขึ ้นไป แต่ในกรณีจําเป็ นหรื อเพื่อประโยชน์ของทาง ราชการ จะแต่งตังบุ ้ คคลที่มิใช่ข้าราชการร่วมเป็ นกรรมการด้ วยก็ได้ ในการจ้ างแต่ละครัง้ ห้ ามแต่งตังผู ้ ้ ที่เป็ นกรรมการในคณะหนึ่งเป็ นกรรมการในอีกคณะหนึ่งซึ่งมี ผลต่อการพิจารณาการจ้ าง เช่น เป็ นกรรมการรับเปิ ดซองประกวดราคาพร้ อมกับเป็ นกรรมการพิจารณาผล การประกวดราคาด้ วย เป็ นต้ น นอกจากนี ้ควรแต่งตังผู ้ ้ ชํานาญการหรื อผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับงานจ้ างนันๆ ้ เข้ าร่ วมเป็ นกรรมการด้ วย และเพื่อความสะดวกคล่องตัวในการจัดจ้ าง การจ้ างในวงเงินไม่เกิน 10,000 บาท จะแต่งตังข้ ้ าราชการหรื อลูกจ้ างประจําคนหนึง่ ซึง่ มิใช่ผ้ จู ดั จ้ างเป็ นผู้ตรวจรับงานจ้ างก็ได้ ขัน้ ตอนที่ 7: ดําเนินการจ้ าง สําหรับขันตอนจะมี ้ แนวทางปฏิบตั ทิ ี่แตกต่างกันไปตามแต่ละวิธี ดังนี ้ วิธีตกลงราคา กรณีปกติ ให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุติดต่อตกลงราคากับผู้รับจ้ างโดยตรง และให้ หวั หน้ าเจ้ าหน้ าที่ พัสดุจดั จ้ างภายในวงเงินที่ได้ รับความเห็นชอบจากหัวหน้ าส่วนราชการ กรณี จํ าเป็ นเร่ ง ด่วนไม่อาจดําเนิน การตามปกติไ ด้ ทัน ให้ เจ้ าหน้ าที่ พัสดุหรื อเจ้ าหน้ า ที่ ผู้รับผิดชอบดําเนินการไปก่อน แล้ วรี บรายงานขอความเห็นชอบต่อหัวหน้ าส่วนราชการและเมื่อได้ รับความ เห็นชอบแล้ ว ให้ ถือว่ารายงานดังกล่าวเป็ นหลักฐานการตรวจรับโดยอนุโลม วิธีการสอบราคา 1) ให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุจดั ทําเอกสารสอบราคา โดยอย่างน้ อยให้ แสดงรายการ ดังต่อไปนี ้ - คุณลักษณะเฉพาะหรื อแบบรูปรายการละเอียดและปริมาณงานที่ต้องการจ้ างในกรณี ที่จําเป็ นต้ องดูสถานที่หรื อชี ้แจงรายละเอียดเพิ่มเติมประกอบ ให้ กําหนดสถานที่วนั เวลาที่นดั หมายไว้ ด้วย - คุณสมบัตขิ องผู้เข้ าเสนอราคาซึง่ จะต้ องมีอาชีพรับจ้ างงานนัน้ ๆ โดยให้ ผ้ เู สนอราคา แสดงหลักฐานดังกล่าวด้ วย - ข้ อกําหนดให้ ผ้ เู ข้ าเสนอราคาเสนอราคารวมทังสิ ้ ้นและราคาต่อหน่วยหรื อต่อรายการ (ถ้ าทําได้ ) พร้ อมทังระบุ ้ หลักเกณฑ์โดยชัดเจนว่า จะพิจารณาราคารวมหรื อราคาต่อหน่วยหรื อต่อรายการ ในกรณีไม่ได้ กําหนดไว้ ในเอกสารสอบราคา ให้ พิจารณาราคารวม สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-7
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
- แบบใบเสนอราคา โดยกําหนดไว้ ด้วยว่าในการเสนอราคาให้ ลงราคารวมทังสิ ้ ้นเป็ น ตัวเลข และต้ องมีตวั หนังสือกํากับ ถ้ าตัวเลขและตัวหนังสือไม่ตรงกัน ให้ ถือตัวหนังสือเป็ นสําคัญ - กําหนดระยะเวลายืนราคาเท่าที่จําเป็ นต่อทางราชการ และมีเงื่อนไขด้ วยว่าซองเสนอราคาที่ ยื่นต่อทางราชการและลงทะเบียนรับซองแล้ วจะถอนคืนมิได้ - กําหนดวันที่จะเริ่มงาน และวันแล้ วเสร็จโดยประมาณ - กําหนดสถานที่ วัน เวลา เปิ ดซองสอบราคา - ข้ อกําหนดให้ ผ้ เู สนอราคาผนึกซองราคาให้ เรี ยบร้ อย ก่อนยื่นต่อทางราชการ (จ่าหน้ าถึง ประธานกรรมการเปิ ดซองสอบราคาการจ้ างครัง้ นัน) ้ และส่งถึงส่วนราชการก่อนวันเปิ ดซอง โดยให้ สง่ เอกสาร หลักฐานต่าง ๆ พร้ อมจัดทําบัญชีรายการเอกสารเสนอไปพร้ อมกับซองราคาด้ วย สําหรับกรณีที่จะให้ มีการยื่น ซองทางไปรษณีย์ได้ ให้ กําหนดวิธีการปฏิบตั ไิ ว้ ให้ ชดั เจนด้ วย - กําหนดเงื่อนไขในการสงวนสิทธิ์ที่จะถือว่าผู้ที่ไม่ไปทําสัญญาหรื อข้ อตกลงกับทาง ราชการเป็ นผู้ทิ ้งงาน - ข้ อกําหนดว่า ผู้เข้ าเสนอราคาที่ได้ รับการคัดเลือกให้ ไปทําสัญญาจะต้ องวางหลักประกัน สัญญาตามชนิดและอัตราที่กําหนดตามระเบียบตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี วา่ ด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และที่แก้ ไขเพิม่ เติม - ร่างสัญญา รวมทังการแบ่ ้ งงวดงาน การจ่ายเงินเงื่อนไขการจ่ายเงินล่วงหน้ า (ถ้ ามี) และ อัตราค่าปรับ - ข้ อสงวนสิทธิ์วา่ ส่วนราชการจะไม่พิจารณาผู้เสนอราคาที่เป็ นผู้ทิ ้งงานของทางราชการ และส่วนราชการทรงไว้ ซงึ่ สิทธิที่จะงด หรื อเลือกจ้ างโดยไม่จําต้ องจ้ างจากผู้เสนอราคาตํ่าสุดเสมอไป รวมทังจะ ้ พิจารณายกเลิกการสอบราคาและลงโทษผู้เสนอราคาเสมือนเป็ นผู้ทิ ้งงานหากมีเหตุที่เชื่อ ได้ วา่ การเสนอราคากระทําไปโดยไม่สจุ ริตหรื อมีการสมยอมกันในการเสนอราคา 2) เผยแพร่การสอบราคาและรับซองเสนอราคาโดยให้ ดําเนินการดังนี ้ - ก่อนวันเปิ ดซองสอบราคาไม่น้อยกว่า 10 วัน สําหรับการสอบราคาในประเทศ หรื อไม่ น้ อยกว่า 45 วัน สําหรับการสอบราคานานาชาติ ให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุส่งประกาศเผยแพร่การสอบราคา และ เอกสารสอบราคาไปยังผู้มีอาชีพรับจ้ างทํางานนันโดยตรง ้ หรื อโดยทางไปรษณีย์ลงทะเบียนให้ มากที่สุด เท่าที่จะทําได้ กับให้ ปิดประกาศเผยแพร่การสอบราคาไว้ โดยเปิ ดเผย ณ ที่ทําการส่วนราชการนัน้
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-8
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
- ในการยื่นซองสอบราคา ผู้เสนอราคาจะต้ องผนึกซองจ่าหน้ าถึงประธานคณะกรรมการ เปิ ดซองสอบราคาการจ้ างครัง้ นัน้ และส่งถึงส่วนราชการผู้ดําเนินการสอบราคาก่อนวันเปิ ดซองสอบราคา โดยยื่นโดยตรงต่อส่วนราชการ หรื อส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียนในกรณีที่สว่ นราชการกําหนดให้ กระทําได้ - ให้ เจ้ าหน้ าที่ลงรับโดยไม่เปิ ดซองพร้ อมระบุวนั และเวลาที่รับซองในกรณีที่ผ้ เู สนอราคา มายื่นซองโดยตรง ให้ ออกใบรับให้ แก่ผ้ ยู ื่นซอง สําหรับกรณีที่เป็ นการยื่นซองทางไปรษณีย์ ให้ ถือวันและ เวลาที่ส่วนราชการนันลงรั ้ บจากไปรษณีย์เป็ นเวลารับซองและให้ ส่งมอบซองให้ แก่หวั หน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ ทันที - ให้ หวั หน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุเก็บรักษาซองเสนอราคาทุกราย โดยไม่เปิ ดซองและเมื่อถึง กํ า หนดเวลาเปิ ดซองสอบราคาแล้ ว ให้ ส่ง มอบซองเสนอราคาพร้ อมทัง้ รายงานผลการรั บ ซองต่อ คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคา เพื่อดําเนินการต่อไป 3) เปิ ดซองสอบราคา คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคามีหน้ าที่ดงั นี ้ - เปิ ดซองใบเสนอราคา และอ่านแจ้ งราคาพร้ อมบัญชีรายการเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของ ผู้เสนอราคาทุกราย โดยเปิ ดเผยตามวันเวลา และสถานที่ที่กําหนดและตรวจสอบรายการเอกสารตาม บัญชีของผู้เสนอราคาทุกราย แล้ วให้ กรรมการทุกคนลงลายมือชื่อกํากับไว้ ในใบเสนอราคาทุกแผ่น - ตรวจสอบราคาคุณสมบัตขิ องผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา แคตตาล็อกหรื อแบบรูป และ รายการละเอียด แล้ วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ถกู ต้ องตามเงื่อนไขในเอกสารสอบราคา - พิจ ารณาคัดเลื อกงานจ้ างของผู้เสนอราคาที่ถูกต้ องตาม 3.2 ที่มี คุณภาพและ คุณสมบัตเิ ป็ นประโยชน์ตอ่ ทางราชการ และเสนอจ้ างจากรายการที่คดั เลือกไว้ แล้ ว ซึง่ เสนอราคาตํ่าสุด ในกรณีที่ผ้ เู สนอราคาตํ่าสุดดังกล่าวไม่ยอมเข้ าทําสัญญา หรื อข้ อตกลงกับส่วนราชการใน เวลาที่กําหนดตามเอกสารสอบราคา ให้ คณะกรรมการพิจารณาจากผู้เสนอราคาตํ่าสุดรายถัดไปตามลําดับ ถ้ ามีผ้ เู สนอราคาเท่ากันหลายราย ให้ เรี ยกผู้เสนอราคาดังกล่าวมาขอให้ เสนอราคาใหม่ พร้ อมกัน ด้ วยวิธียื่นซองเสนอราคา ถ้ าปรากฏว่าราคาของผู้เสนอราคารายที่คณะกรรมการเห็นสมควรจ้ างสูงกว่าวงเงินที่จะ จ้ าง ให้ คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคาดําเนินการตามวิธีการต่อไป - ในกรณีที่มีผ้ เู สนอราคาถูกต้ องตรงตามรายละเอียด และเงื่อนไขที่กําหนดไว้ ในเอกสาร สอบราคาเพียงอย่างเดียว ให้ คณะกรรมการดําเนินการตาม 3.3 โดยอนุโลม - ให้ คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้ อมด้ วยเอกสารที่ได้ รับไว้ ทังหมดต่ ้ อหัวหน้ าส่วนราชการเพื่อสัง่ การ โดยเสนอผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-9
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
การจ้ า งโดยวิ ธี ส อบราคาที่ ป รากฏว่า ราคาของผู้เ สนอราคารายที่ ค ณะกรรมการ เห็นสมควรจ้ างยังสูงกว่าวงเงินที่จะจ้ าง ให้ คณะกรรมการเปิ ดซองสอบราคาดําเนินการตามลําดับ ดังนี ้ 1) เรี ยกผู้เสนอราคารายนันมาต่ ้ อรองราคาให้ ตํ่าสุดเท่าที่จะทําได้ หากผู้เสนอราคารายนัน้ ยอมลดราคาแล้ วราคาที่เสนอใหม่ไม่สงู กว่าวงเงินที่จะจ้ างหรื อสูงกว่าแต่ส่วนที่สงู กว่านันไม่ ้ เกินร้ อยละสิบ ของ วงเงินที่จะจ้ างหรื อต่อรองแล้ วไม่ยอมลดราคาลงอีก แต่ส่วนที่สงู กว่าวงเงินที่จะจ้ างนันไม่ ้ เกินร้ อยละ สิบของ วงเงินที่จะจ้ าง ถ้ าเห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสมก็ให้ เสนอจ้ างผู้เสนอราคารายนัน้ 2) ถ้ าดําเนินการตาม 1) แล้ วไม่ได้ ผลให้ เรี ยกผู้เสนอราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควรจ้ าง ทุกรายมาต่อรองราคาใหม่พร้ อมกัน ด้ วยวิธียื่นซองเสนอราคาภายในกําหนดระยะเวลาอันสมควร หากราย ใดไม่มายื่นซองให้ ถือว่ารายนันยื ้ นราคาตามที่เสนอไว้ เดิม หากผู้เสนอราคาตํ่าสุดในการต่อรองราคาครัง้ นี ้ เสนอราคา ไม่สงู กว่าวงเงินที่จะจ้ างหรื อสูงกว่า แต่ส่วนที่สงู กว่านันไม่ ้ เกินร้ อยละสิบของวงเงินที่จะจ้ าง ถ้ า เห็นว่าราคาดังกล่าวเป็ นราคาที่เหมาะสมแล้ วก็ให้ เสนอจ้ างจากผู้เสนอราคารายนัน้ 3) ถ้ าดําเนินการตาม 2) แล้ วไม่ได้ ผลให้ เสนอความเห็นต่อหัวหน้ าส่วนราชการเพื่อ ประกอบการใช้ ดลุ พินิจว่าจะสมควรลดรายการ ลดจํานวน หรื อลดเนื ้องาน หรื อขอเงินเพิ่มเติม หรื อยกเลิก การสอบราคาเพื่อดําเนินการสอบราคาใหม่ วิธีประกวดราคา 1) ให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุจดั ทําเอกสารประกวดราคาตามตัวอย่างที่คณะกรรมการว่าด้ วยการพัสดุ (กวพ.) กําหนดหรื อตามแบบที่ผ่านการตรวจพิจารณาของสํานักงานอัยการสูงสุด โดยมีสาระสําคัญตามที่ กําหนดไว้ ในตัวอย่างหรื อแบบดังกล่าว และไม่ทําให้ ทางราชการเสียเปรี ยบก็ให้ กระทําได้ เว้ นแต่หวั หน้ า ส่วนราชการเห็นว่าจะมี ปัญหาในทางเสียเปรี ยบหรื อไม่รัดกุมพอ ก็ให้ ส่งร่ างเอกสารประกวดราคาไปให้ สํานักงานอัยการสูงสุดตรวจพิจารณาก่อน 2) เผยแพร่เอกสารประกวดราคา โดยให้ จดั ทําเป็ นประกาศ และมีสาระสําคัญ ดังนี ้ - รายการงานที่ต้องการจ้ าง - คุณสมบัตขิ องผู้มีสิทธิ์เข้ าประกวดราคา - กําหนดวัน เวลา รับซอง และเปิ ดซองประกวดราคา - สถานที่และระยะเวลาในการขอรับหรื อขอซื ้อเอกสารการประกวดราคาและราคาของ เอกสาร - แหล่งเงินกู้และประเทศผู้มีสิทธิ์เข้ าประกวดราคาในกรณีประกวดราคานานาชาติ การจ้ างโดยวิธีประกวดราคา ให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุปิดประกาศประกวดราคาโดยเปิ ดเผย ณ ที่ทํา การของส่วนราชการนัน้ และส่งไปประกาศทางวิทยุกระจายเสียงและ/หรื อประกาศในหนังสือพิมพ์ ส่งให้ กรมประชาสัมพันธ์ องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ศูนย์รวมข่าวประกวดราคา และสํานักงานการ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-10
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตรวจเงินแผ่นดินหรื อสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาคแล้ วแต่กรณี เพื่อเผยแพร่ และหากเห็นควรจะ ส่งประกาศไปยังผู้มีอาชีพรับจ้ างทํางานนันโดยตรง ้ หรื อโฆษณาโดยวิธีอื่นอีกด้ วยก็ได้ การส่งประกวดราคาให้ ศนู ย์รวมข่าวประกวดราคา และสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินหรื อ สํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินภูมิภาค ให้ ส่งเอกสารประกวดราคาไปพร้ อมกันด้ วย หากการจัดส่งทาง ไปรษณีย์ให้ จดั ส่งโดยใช้ บริ การไปรษณีย์ดว่ นพิเศษ (EMS) เว้ นแต่ท้องที่ใดที่ไม่มีบริ การไปรษณีย์เร่งด่วน (EMS) จึงให้ ส่งทางไปรษณีย์ลงทะเบียน ทังนี ้ ้ การดําเนินการดังกล่าวต้ องกระทําก่อนการให้ หรื อขาย เอกสารประกาศราคา ไม่น้อยกว่า 7 วัน สําหรับการจ้ างโดยวิธีประกวดราคานานาชาติ ให้ ส่วนราชการถือปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์ของ แหล่งเงินกู้หรื อแหล่งให้ เงินช่วยเหลือการให้ หรื อขายเอกสารประกวดราคาในการประกวดราคา ซึ่งรวมทัง้ คุณลักษณะหรื อรายละเอียด ให้ กระทํา ณ สถานที่ที่สามารถติดต่อได้ โดยสะดวกและไม่เป็ นเขตหวงห้ าม กับจะต้ องเตรี ยมไว้ ให้ มากพอสําหรับ ความต้ องการของผู้มาขอรับหรื อขอซือ้ ที่มีอาชีพรับจ้ างทํางานนัน้ อย่างน้ อยรายละ 1 ชุด โดยไม่มีเงื่อนไขอื่นในการให้ หรื อขาย ทังนี ้ ้ ให้ เผื่อเวลาไว้ สําหรับการคํานวณราคา ของผู้ประสงค์จะเข้ ามาเสนอราคา โดยจะต้ องเริ่ มดําเนินการให้ หรื อขายก่อนวันรับซองประกวดราคาไม่ น้ อยกว่า 7 วัน และให้ มีชว่ งเวลาในการให้ หรื อขายไม่น้อยกว่า 7 วัน ด้ วย กรณีที่มีการขาย ให้ กําหนดราคาพอสมควรกับค่าใช้ จ่ายที่ทางราชการจะต้ องเสียไปในการ จัดทําสําเนาเอกสารประกวดราคานัน้ ถ้ ามีการยกเลิกการประกวดราคาครัง้ นัน้ และมีการประกวดราคาใหม่ ให้ ผ้ รู ับหรื อซื ้อเอกสาร ประกวดราคาครัง้ ก่อนมีสิทธิใช้ เอกสารประกวดราคานัน้ หรื อได้ รับเอกสารประกวดราคาใหม่โดยไม่ต้อง เสียค่าซื ้อเอกสารประกวดราคาอีก กรณีที่การจ้ างใดมีรายละเอียดที่มีความซับซ้ อน หรื อมีความจําเป็ นโดยสภาพของการซื ้อหรื อ การจ้ างที่จะต้ องมีการชี ้แจงรายละเอียดหรื อการชี ้สถานที่ ให้ ส่วนราชการกําหนดวัน เวลา และสถานที่ใน การ ชี ้แจงรายละเอียดหรื อการชี ้สถานที่ในประกาศประกวดราคา ก่อนวันปิ ดรับซองประกวดราคา หากส่วนราชการเห็นว่ามีความจําเป็ นที่จะต้ องกํ าหนด รายละเอี ยดเพิ่มเติม หรื อมี การชีส้ ถานที่ อันเป็ นการแก้ ไ ขคุณลักษณะเฉพาะที่ เป็ นสาระสํ าคัญซึ่ง มิ ไ ด้ กําหนดไว้ ในเอกสารประกวดราคาตังแต่ ้ ต้น ให้ ส่วนราชการจัดทําเอกสารประกวดราคาเพิ่มเติมและให้ ระบุ วัน เวลา และสถานที่ในการชี ้แจงรายละเอียดหรื อการชี ้สถานที่ไว้ ด้วย และให้ ดําเนินการเผยแพร่และปิ ด ประกาศ รวมทังให้ ้ แจ้ งเป็ นหนังสือให้ ผ้ ทู ี่ได้ รับหรื อได้ ซื ้อเอกสารประกวดราคาไปแล้ วทุกรายทราบโดยมิ ชักช้ า การชี แ้ จงรายละเอียดหรื อการชี ส้ ถานที่ ให้ เจ้ าหน้ าที่ ผ้ ูรับผิดชอบจัดทํ าบันทึกการชีแ้ จง รายละเอียด หรื อการชี ้สถานที่ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรไว้ เป็ นหลักฐานทุกครัง้ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-11
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ถ้ ามีการกํ าหนดรายละเอียดเพิ่มเติมหรื อมีการแก้ ไขคุณลักษณะเฉพาะที่เป็ นสาระสําคัญ ดังกล่าว ข้ างต้ น ให้ ส่วนราชการพิจารณาเลื่อนวัน เวลา รับซอง การปิ ดการรับซอง และการเปิ ดซอง ประกวดราคาตามความจําเป็ นแก่กรณีด้วย นอกจากกรณีที่กําหนดไว้ นี ้แล้ ว เมื่อถึงกําหนดวันรับซองประกวดราคา ห้ ามมิให้ ร่นหรื อเลื่อน หรื อเปลี่ยนแปลงกําหนดเวลารับซอง และเปิ ดซองประกวดราคา การรับซองทางไปรษณีย์จะกระทํามิได้ เว้ นแต่การประกวดราคานานาชาติ ซึ่งกําหนดให้ มีการ ยื่นซองทางไปรษณีย์ได้ 3) การรับและเปิ ดซองประกวดราคา คณะกรรมการรับและเปิ ดซองประกวดราคา มีหน้ าที่ ดังนี ้ - รับซองประกวดราคา ลงทะเบียนรับซองไว้ หลักฐาน ลงชื่อกํากับซองกับบันทึกไว้ ที่หน้ า ซองว่าเป็ นของผู้ใด - ตรวจสอบหลักประกันซองร่วมกับเจ้ าหน้ าที่การเงินและให้ เจ้ าหน้ าที่การเงินออกใบรับ ให้ แก่ผ้ ยู ื่นซองไว้ เป็ นหลักฐาน หากไม่ถูกต้ อง ให้ หมายเหตุในใบรับและบันทึกใน รายงานด้ วย กรณีหลักประกันซองเป็ นหนังสือคํ ้าประกัน ให้ ส่งสําเนาหนังสือคํ ้าประกัน ให้ ธ นาคาร หรื อ บริ ษั ท เงิ น ทุน ผู้อ อกหนัง สื อ คํ า้ ประกัน ทราบโดยทางไปรษณี ย์ ลงทะเบียนตอบรับด้ วย - รับเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ตามบัญชีรายการเอกสารของผู้เสนอราคาพร้ อมทัง้ พัสดุ ตัวอย่าง แคตตาล็อก หรื อแบบรูป และรายการละเอียด (ถ้ ามี) หากไม่ถกู ต้ องให้ บนั ทึก รายงานไว้ ด้วย - เมื่อพ้ นกําหนดเวลารับซองแล้ ว ห้ ามรับซองประกวดราคา หรื อเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ตามเงื่อนไขที่กําหนดในเอกสารประกวดราคาอีก - เปิ ดซองใบเสนอราคาและอ่านแจ้ งราคาพร้ อมบัญชีรายการเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ของ ผู้เสนอราคาทุกราย โดยเปิ ดเผยตามเวลาและสถานที่ที่กําหนด และให้ กรรมการ ทุกคนลงลายมือชื่อกํากับไว้ ในใบเสนอราคา และเอกสารประกอบใบเสนอราคาทุก แผ่น กรณีที่มีการยื่นซองข้ อเสนอทางเทคนิคและข้ อเสนออื่นๆ แยกจากซองข้ อเสนอด้ านราคา ซึ่งต้ องพิจารณาทางเทคนิคและอื่น ๆ ก่อนตามเงื่อนไขที่ได้ กําหนดไว้ คณะกรรมการรับและเปิ ดซอง ประกวดราคาไม่ต้องปฏิบัติหน้ าที่ตามวรรคหนึ่งโดยให้ เป็ นหน้ าที่คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวด ราคาที่จะต้ องดําเนินการต่อไป
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-12
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
- ส่งมอบใบเสนอราคาทังหมดและเอกสารหลั ้ กฐานต่างๆ พร้ อมด้ วยบันทึกรายงานการ ดําเนินการต่อคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาทันทีในวันเดียวกัน 4) พิจารณาผลการประกวดราคา คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา มีหน้ าที่ดงั นี ้ - ตรวจสอบคุณสมบัติของผู้เสนอราคา ใบเสนอราคา เอกสารหลักฐานต่าง ๆ พัสดุ ตัวอย่าง แคตตาล็อก หรื อแบบรู ป และรายการละเอียด แล้ วคัดเลือกผู้เสนอราคาที่ ถูกต้ องตามเงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา กรณีที่ผ้ ูเสนอราคารายใดเสนอรายละเอี ยดแตกต่างไปจากเงื่ อนไขที่กําหนดในเอกสาร ประกวดราคาในส่วนที่มิใช่สาระสําคัญ และความแตกต่างนันไม่ ้ มีผลทําให้ เกิดการได้ เปรี ยบเสียเปรี ยบต่อ ผู้เสนอราคารายอื่น หรื อเป็ นการผิดพลาดเล็กน้ อย ให้ พิจารณาผ่อนปรนให้ ผ้ เู ข้ าประกวดราคา โดยไม่ตดั ผู้ เข้ าประกวดราคารายนันออก ้ - ในการพิจารณา คณะกรรมการอาจสอบถามข้ อเท็จจริ งจากผู้เสนอราคารายใดก็ได้ แต่จะ ให้ ผู้เสนอราคารายใดเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญที่เสนอไว้ แล้ วมิได้ - พิจารณาคัดเลือกงานจ้ าง หรื อคุณสมบัติของผู้เสนอราคาที่ตรวจสอบแล้ วตาม 4.1 ซึ่ง มี คุณภาพและคุณสมบัตเิ ป็ นประโยชน์ตอ่ ทางราชการ แล้ วเสนอให้ จ้างจากผู้เสนอราย ที่คดั เลือกไว้ แล้ ว ซึง่ เสนอราคาตํ่าสุด กรณีที่ผ้ เู สนอราคาตํ่าสุดดังกล่าวไม่ยอมเข้ าทําสัญญา หรื อข้ อตกลงกับส่วนราชการใน เวลาที่ กําหนดตามเอกสารประกวดราคา ให้ คณะกรรมการพิจ ารณาจากผู้เสนอราคาตํ่ารายถัดไป ตามลําดับ ถ้ าผู้เสนอราคาเท่ากันหลายราย ให้ เรี ยกผู้เสนอราคาดังกล่าวมาขอให้ เสนอราคาใหม่ พร้ อมกัน ด้ วยวิธียื่นซองเสนอราคา ถ้ าปรากฏว่าราคาของผู้เสนอราคารายที่คณะกรรมการเห็นสมควรจ้ างสูงกว่าวงเงินที่จะ จ้ าง ให้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาดําเนินการต่อรองเช่นเดียวกับการต่อรองในวิธีสอบ ราคาโดยอนุโลม - ให้ คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณา และความเห็นพร้ อมด้ วยเอกสารที่ได้ รับไว้ ทังหมดต่ ้ อหัวหน้ าส่วนราชการโดยเสนอผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ เมื่อคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาได้ พิจารณาแล้ วปรากฏว่า มีผ้ เู สนอ ราคารายเดียวหรื อมีผ้ เู สนอราคาหลายราย แต่ถกู ต้ องตามรายการละเอียดและเงื่อนไขที่กําหนดในเอกสาร ประกวดราคาเพียงรายเดียว โดยปกติให้ เสนอหัวหน้ าส่วนราชการยกเลิกการประกวดราคาครัง้ นัน้ แต่ถ้า คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาเห็นว่ามีเหตุผลสมควรที่จะดําเนินการต่อไปโดยไม่ต้องยกเลิก การประกวดราคาก็ให้ ดําเนินการตาม 4.2 โดยอนุโลม สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-13
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กรณีไม่มีผ้ เู สนอราคา หรื อมีแต่ไม่ถกู ต้ องตามรายการละเอียดและเงื่อนไขที่กําหนด ให้ เสนอหัวหน้ าส่วนราชการยกเลิกการประกวดราคาครัง้ นัน้ เพื่อดําเนินการประกวดราคาใหม่ หากหัวหน้ า ส่วนราชการเห็นว่า การประกวดราคาใหม่จะไม่ได้ ผลดี จะสัง่ ให้ ดําเนินการจ้ างโดยวิธีพิเศษก็ได้ หลังจากประกวดราคาแล้ ว แต่ยงั ไม่ได้ ทําสัญญา หรื อตกลงจ้ างกับผู้เสนอราคารายใด ถ้ ามีความจําเป็ นเพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็ นเหตุให้ ต้องเปลี่ยนแปลงสาระสําคัญในรายการละเอียด หรื อเงื่อนไขที่กําหนดไว้ ในเอกสารประกวดราคา ซึ่งทําให้ เกิดการได้ เปรี ยบเสียเปรี ยบระหว่างผู้เข้ าเสนอ ราคาด้ วยกัน ให้ หวั หน้ าส่วนราชการพิจารณายกเลิกการประกวดราคาครัง้ นัน้ การจ้ างที่ มี ลักษณะจํ าเป็ นจะต้ องคํานึง ถึ ง เทคโนโลยี ของพัส ดุและหรื อข้ อกํ าหนด คุณสมบัติของผู้เข้ าเสนอราคา ซึ่งอาจจะมีข้อเสนอที่ไม่อยู่ในฐานเดียวกันเป็ นเหตุให้ มีปัญหาในการ พิจารณาตัดสิน และเพื่อขจัดปั ญหาดังกล่าว จําเป็ นต้ องให้ มีการปรับปรังข้ อเสนอให้ ครบถ้ วน และเป็ นไป ตามความต้ องการก่อนพิจารณาด้ านราคา หรื อการจ้ างแบบเหมารวม (Lump Sum Turnkey) ตามที่ คณะรัฐมนตรี ได้ อนุมตั ิให้ ดําเนินการได้ ให้ ถือปฏิบตั ิเช่นเดียวกับการประกวดราคาทัว่ ไป เว้ นแต่กําหนดให้ ผู้เข้ าเสนอราคายื่นซองประกวดราคาโดยแยกเป็ น - ซองข้ อเสนอราคาด้ านเทคนิคและข้ อเสนออื่น ๆ - ซองข้ อเสนอด้ านราคา - ซองข้ อเสนอทางการเงิน (ถ้ ามี) ทังนี ้ ้ ให้ กําหนดวิธีการ ขันตอน ้ และหลักเกณฑ์การพิจารณาไว้ เป็ นเงื่อนไขในเอกสาร ประกวดราคาด้ วย โดยให้ คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาพิจารณาทําหน้ าที่เปิ ดซองเทคนิค ของผู้เสนอราคาแทนคณะกรรมการรับและเปิ ดซองและพิจารณาผลการประกวดราคา โดยถือปฏิบตั ิใน ส่วนที่ไม่ขดั กับการดําเนินการดังต่อไปนี ้ - พิจารณาข้ อเสนอทางเทคนิค และข้ อเสนออื่ นของผู้เข้ าเสนอราคาทุกรายและ คัดเลือกเฉพาะรายที่เสนอได้ ตรงหรื อใกล้ เคียงตามมาตรฐานความต้ องการของส่วนราชการมากที่สดุ กรณี จําเป็ นสามารถเรี ยกผู้เสนอราคามาชี ้แจงในรายละเอียดข้ อเสนอเป็ นการเพิ่มเติมข้ อหนึง่ ข้ อใดก็ได้ - เปิ ดซองราคาเฉพาะรายที่ได้ ผ่านการพิจารณาคัดเลือกทางเทคนิคแล้ ว สําหรับราย ที่ไม่ผา่ นการพิจารณา ให้ สง่ คืนซองข้ อเสนอด้ านราคาและซองข้ อเสนอทางการเงิน (ถ้ ามี) โดยไม่เปิ ดซอง ในการพิจารณาข้ อเสนอด้ านเทคนิค และข้ อเสนอทางการเงิน ในกรณีนี ้ ให้ ส่วนราชการ แต่งตังผู ้ ้ เชี่ยวชาญด้ านเทคนิค และผู้เชี่ยวชาญด้ านการเงินที่เกี่ยวข้ องกับการจ้ างอย่างน้ อยด้ านละ 1 คน เข้ าร่วมเป็ นคณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคาด้ วย การจ้ างที่เปิ ดโอกาสให้ ผ้ เู ข้ าเสนอราคายื่นข้ อเสนอทางการเงินมาด้ วย ให้ กําหนดให้ ผ้ ู เสนอราคายื่นซองข้ อเสนอทางการเงินแยกมาต่างหาก และให้ เปิ ดซองข้ อเสนอทางการเงินพร้ อมกับเปิ ด สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-14
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ซองราคา เพื่อทําการประเมินเปรี ยบเทียบต่อไป ทังนี ้ ้ ให้ กําหนดวิธีการ ขันตอน ้ และหลักเกณฑ์การ พิจารณาไว้ เป็ นเงื่อนไขในเอกสารการประกวดราคาด้ วย วิธีพิเศษ เมื่อต้ องจัดจ้ างโดยวิธีพิเศษ ให้ หวั หน้ าส่วนราชการแต่งตังคณะกรรมการจั ้ ดจ้ าง โดยวิธีพิเศษ ขึ ้นเพื่อดําเนินการดังต่อไปนี ้ 1) ให้ เชิญผู้มีอาชีพรับจ้ างทํางานนันโดยตรงมาเสนอราคา ้ หากเห็นว่าราคาที่เสนอนัน้ ยังสูง กว่าราคาในท้ องถิ่นหรื อราคาที่ประมาณได้ หรื อราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ให้ ตอ่ รองราคาลงเท่าที่จะ ทําได้ 2) การจ้ างโดยวิธีพิเศษสําหรับกรณีเป็ นพัสดุที่ได้ ดําเนินการจ้ างโดยวิธีอื่นแล้ วไม่ได้ ผลดี ให้ สืบ ราคาจากผู้มีอาชีพรับจ้ างทํางานนันโดยตรง ้ และผู้เสนอราคาในการสอบราคาหรื อประกวดราคาซึ่งถูกยกเลิกไป (ถ้ ามี) หากเห็นว่าผู้เสนอราคารายที่เห็นสมควรจ้ างเสนอราคาสูงกว่าราคาในท้ องถิ่น หรื อราคาที่ประมาณได้ หรื อราคาที่คณะกรรมการเห็นสมควร ให้ ตอ่ รองราคาลงเท่าที่จะทําได้ ให้ คณะกรรมการรายงานผลการพิจารณาและความเห็นพร้ อมด้ วยเอกสารที่ได้ รับไว้ ทงหมด ั้ ต่อหัวหน้ าส่วนราชการเพื่อสัง่ การ โดยเสนอผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ การดําเนินการจ้ างโดยวิธีกรณีพิเศษ ให้ หวั หน้ าส่วนราชการสัง่ จ้ างจากผู้รับจ้ างได้ โดยตรง เว้ นแต่การจ้ างครัง้ หนึ่งซึ่งมีราคาไม่เกิน 100,000 บาท ให้ หวั หน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุจดั จ้ างได้ ภายในวงเงินที่ ได้ รับความเห็นชอบจากหัวหน้ าส่วนราชการ ขัน้ ตอนที่ 8: ตรวจรับงานจ้ าง ต้ องมีการตรวจรับงานจ้ าง โดยคณะกรรมการตรวจรับพัสดุ ดังนี ้ ตรวจรับพัสดุ ณ ที่ทําการของผู้ใช้ พสั ดุนนหรื ั ้ อสถานที่ซงึ่ กําหนดไว้ ในสัญญาหรื อข้ อตกลง การตรวจรับพัสดุ ณ สถานที่อื่น ในกรณีไม่มีสญ ั ญาหรื อข้ อตกลง จะต้ องได้ รับอนุมตั ิจาก หัวหน้ าส่วนราชการก่อน ตรวจรับพัสดุให้ ถูกต้ องครบถ้ วนตามหลักฐานที่ตกลงกันไว้ สําหรับกรณีที่มีการทดลองหรื อ ตรวจสอบในทางเทคนิคหรื อทางวิทยาศาสตร์ จะเชิญผู้ชํานาญการหรื อผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ ยวกับพัสดุนนมาให้ ั้ คําปรึกษา หรื อส่งพัสดุนนไปทดลองหรื ั้ อตรวจสอบ ณ สถานที่ของผู้ชํานาญการหรื อผู้ทรงคุณวุฒินนๆ ั ้ ก็ได้ กรณีจําเป็ นที่ไม่สามารถตรวจนับเป็ นจํานวนหน่วยทังหมดได้ ้ ให้ ตรวจรับตามหลักวิชาการ สถิติ โดยปกติให้ ตรวจรับพัสดุในวันที่ผ้ รู ับจ้ างส่งมอบพัสดุและให้ ดําเนินการเสร็จสิ ้น
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-15
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
เมื่อตรวจถูกต้ องครบถ้ วนแล้ ว ให้ รับพัสดุไว้ และถือว่าผู้รับจ้ างได้ ส่งมอบพัสดุถกู ต้ องครบถ้ วน ตังแต่ ้ วนั ที่ผ้ รู ับจ้ างนําพัสดุนนมาส่ ั้ ง แล้ วมอบแก่เจ้ าหน้ าที่พสั ดุพร้ อมกับทําใบตรวจรับโดยลงชื่อไว้ เป็ น หลักฐานอย่างน้ อย 2 ฉบับ มอบแก่ผ้ รู ับจ้ าง 1 ฉบับ และเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ 1 ฉบับ เพื่อดําเนินการเบิกจ่ายเงิน ตามระเบียบว่าด้ วยการเบิกจ่ายเงินจากคลัง และรายงานให้ หวั หน้ าส่วนราชการทราบ กรณีที่เห็นว่าพัสดุที่ส่งมอบ มีรายละเอียดไม่เป็ นไปตามข้ อกําหนดในสัญญาหรื อข้ อตกลง ให้ รายงานหัวหน้ าส่วนราชการผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ เพื่อทราบหรื อสัง่ การแล้ วแต่กรณี กรณี ที่ผ้ ูรับจ้ างส่ง มอบพัสดุถูกต้ องแต่ไ ม่ครบถ้ วน หรื อส่งมอบครบจํานวนแต่ไม่ถูกต้ อง ทังหมด ้ ถ้ าสัญญาหรื อข้ อตกลงมิได้ กําหนดไว้ เป็ นอย่างอื่น ให้ ตรวจรับไว้ เฉพาะจํานวนที่ถกู ต้ อง โดยถือ ปฏิบตั ติ าม 4. และโดยปกติให้ รีบรายงานหัวหน้ าส่วนราชการ เพื่อแจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างทราบภายใน 3 วันทําการ นับแต่ วันตรวจพบ แต่ทงนี ั ้ ้ไม่ตดั สิทธิ์ของส่วนราชการที่จะปรับผู้รับจ้ างในจํานวนที่ส่งมอบไม่ครบถ้ วนหรื อ ไม่ถกู ต้ องนัน้ การตรวจรับพัสดุที่ประกอบกันเป็ นชุดหรื อหน่วย ถ้ าขาดส่วนประกอบอย่างใดอย่างหนึ่งแล้ ว จะไม่สามารถใช้ การได้ โดยสมบูรณ์ ให้ ถือว่าผู้รับจ้ างมิได้ ส่งมอบพัสดุนนั ้ และโดยปกติให้ รีบรายงาน หัวหน้ าส่วนราชการ เพื่อแจ้ งให้ ผ้ รู ับจ้ างทราบภายใน 3 วันทําการ นับแต่วนั ที่ตรวจพบ ถ้ ากรรมการตรวจรับพัสดุบางคนไม่ยอมรับพัสดุโดยทําความเห็นแย้ งไว้ ให้ เสนอหัวหน้ า ส่วน ราชการสัง่ การ ถ้ าหัวหน้ าส่วนราชการสัง่ การให้ รับพัสดุนนไว้ ั ้ จึงดําเนินการตาม 4. หรื อ 5. แล้ วแต่กรณี 7. การจ่ายเงินล่วงหน้ า การจ่ายเงินค่าจ้ างล่วงหน้ าให้ แก่ผ้ รู ับจ้ างจะกระทํามิได้ เว้ นแต่หวั หน้ าส่วนราชการเห็นว่ามีความ จําเป็ นจะต้ องจ่ายและมีการกําหนดเงื่อนไขไว้ ก่อนการทําสัญญาหรื อข้ อตกลง ให้ กระทําได้ เฉพาะกรณีและ ตามหลักเกณฑ์ดงั ต่อไปนี ้ 1) การจ้ างจากส่วนราชการหน่วยงานตามกฎหมายว่าด้ วยระเบียบบริ หารราชการส่วนท้ องถิ่ น หน่วยงานอื่นซึ่งมีกฎหมายบัญญัติให้ มีฐานะเป็ นราชการบริ หารส่วนท้ องถิ่นหรื อรัฐวิสาหกิจ จ่ายได้ ไม่เกินร้ อย ละ 50 ของราคาจ้ าง ซึง่ การจ่ายเงินค่าจ้ างล่วงหน้ ากรณีนี ้ ไม่ต้องเรี ยกหลักประกัน 2) การจ้ างโดยวิธีสอบราคาหรื อประกวดราคา จ่ายได้ ไม่เกินร้ อยละ 15 ของราคาจ้ าง แต่ทงนี ั ้ ้จะต้ อง กําหนดอัตราค่าจ้ างที่จะจ่ายล่วงหน้ าไว้ เป็ นเงื่อนไขในเอกสารสอบราคาหรื อประกวดราคาด้ วย 3) การจ้ างโดยวิธีพิเศษให้ จา่ ยได้ ไม่เกินร้ อยละ 15 ของราคาจ้ าง สําหรับการจ่ายค่าจ้ างล่วงหน้ ากรณีที่ 2. และ 3. ผู้รับจ้ างจะต้ องนําพันธบัตรรัฐบาลไทยหรื อ หนังสือคํ ้าประกันของธนาคารในประเทศมาคํ ้าประกันเงินที่รับล่วงหน้ าไปนัน้
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-16
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ภาคผนวก ข รหัสการดาเนินงาน และประเภทการดาเนินงานของกรมทางหลวง รหัส งาน 0000
ลักษณะงาน งานบริหาร – อานวยการ (ADMINISTRATION)
หน่วย นับ -
0100
เงินเดือนและค่ าแรงในสานักงาน (Clerical Expense) หมายถึง เงินเดื อนและค่าแรงของลูกจ้ างประจํา และลูกจ้ างชั่วคราวเฉพาะในสํา นักทางหลวง แขวงการทาง และ สํานักงานบํารุงทาง ยกเว้ นยาม
บาท
0200
ค่ าใช้ จ่ายสานักงาน (Service Cost Office Expense) หมายถึง ค่าเครื่ องเขียนแบบพิมพ์ ค่าไฟฟ้า ค่าโทรศัพท์ ค่าประปา และค่าซ่อมแซมอุปกรณ์ต่างๆ ในสํานักงาน ของ สํานักทางหลวง แขวงการทาง และสํานักงานบํารุงทาง
บาท
0300
ค่ าใช้ จ่ายการตรวจงาน (Expense for Routine Filed Inspection) หมายถึง ค่าใช้ จา่ ยของรถตรวจการณ์ สํานักทางหลวง แขวงการทาง และสํานักทางหลวง ค่าใช้ จ่ายเจ้ าหน้ าที่ผ่ายช่าง ประจําของสํานักทางหลวง แขวงการทาง และสํานักงานบํารุงทาง ที่ออกตรวจงานตามสายทางต่างๆ ในสังกัด โดยให้ รวมถึงค่าแรงของพนักงานขับรถที่ร่วมออกปฏิบตั ิงานนันๆ ้ ด้ วย
0400
ค่ าใช้ จ่ายโรงงานแขวงการทาง (Expense for Upkeep of District Workshop) หมายถึง ค่าแรงช่างปรับและเจ้ าหน้ าที่ผ้ เู กี่ยวข้ องกับโรงงานปรับซ่อมแขวงการทาง หรื อสํานักงานบํารุงทาง เฉพาะ ตอนที่ไม่มีงานซ่อมเครื่องจักรหรือยานพาหนะ และให้ รวมถึงค่าซ่อมแซมเครื่องมือต่างๆ ประจําโรงงานฯ อีกด้ วย
0500 อาคารสถานที่ (Office and Building) 0510 งานซ่อมแซมต่อเติมหรือรือ้ ถอนอาคาร (Modification and Repair of Office and Building) หมายถึ ง งานซ่อ มบํ า รุ ง รั ก ษา งานรื อ้ ถอนอาคารที่ มี อ ยู่แ ล้ ว ไปปลูก ใหม่โ ดยไม่จํ า กั ด จํ า นวน หรื อ งานต่อ เติ ม เปลี่ยนแปลง เช่น ซ่อมรัว้ ประตู ทาสีบ้านพัก ซ่อมเปลี่ยนหลังคาโรงพัสดุ งานทําความสะอาดภายในบริเวณ เป็ นต้ น อนึ่ง งานก่อสร้ างที่ทําขึ ้นใหม่ เช่น อาคาร รัว้ ประตู เจาะนํ ้าบาดาล หอถังนํ ้า เป็ นต้ น ไม่ถือเป็ นค่าใช้ จา่ ยในรายการนี ้ 1000
งานบารุ งปกติ (ROUTINE MAINTENANCE) หมายถึง งานกํากับดูแล และซ่อมแซมบํารุงรักษา ทํา ความสะอาด เสริ มแต่งทางหลวง ซึ่งเป็ นกิจกรรมที่ต้องทําเป็ น ประจํา โดยมีปริมาณงานไม่มากนัก ทังนี ้ ้ให้ รวมถึงการแก้ ไข ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือต่อเติมได้ บ้างตามความเหมาะสม เพื่อให้ ทางหลวงคงสภาพใช้ งานได้ ดี สามารถอํานวยความสะดวกและความปลอดภัยให้ แก่ผ้ ใู ช้ ทาง
1100 1110 1111
งานบารุ งรักษาผิวทาง (Pavement Maintenance) งานบํารุงรักษาผิวทางแอสฟั ลต์ (Maintenance of Asphalt Pavement) งานอุดรอยแตก (Crack Filling) หมายถึง งานอุด หรือ ปิ ดรอยแตกบนผิวทางแอสฟั ลต์ที่มีลกั ษณะไม่ตอ่ เนื่องกัน กรณีที่รอยแตกกว้ างน้ อยกว่า 3 มม. ให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวอุดหรื อปิ ดรอย
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
บาท
บาท
หลัง/ แห่ง
-
ม.
ผ-17
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน
หน่วย นับ
แตกนัน้ -
1112
1113
1114
1115
1116
1117
กรณีรอยแตกกว้ างกว่า 3 มม. ถ้ ารอยแตกลึกไม่มากนัก ให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวผสมทรายอุดจนเต็มรอยแตกนัน้ ถ้ ารอยแตกลึกมาก ให้ ใช้ ทรายหรือทราบผสมปูนซีเมนต์หรือปูนขาว หรอกจนเกือบเต็ม รอยแตก แล้ วให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวผสมทรายอุดจนเต็มรอยแตกนัน้ หรือจําดําเนินการซ่อม ตามกระบวนการหรือวิธีการที่เหมาะสม งานฉาบผิวทาง (Surface Sealing) หมายถึง งานซ่อมผิวทางเดิมที่มีรอยแตกแบบต่อเนื่องกัน ผิวลื่น ผิวหลุดล่อน หรื อเสื่อมสภาพ โดยที่ระดับผิวทางเดิม ไม่ทรุดตัวเป็ นแอ่ง หรือร่องล้ อ ด้ วยวิธี Fog Seal, Sand Seal, Slurry Seal, Chip Seal ฯลฯ ในกรณีที่ผิวทางมียางเยิ ้ม (Bleeding) ให้ แก้ ไขโดยวิธีสาดทราย หรือหินขณะร้ อน หรือเผายางเยิ ้ม หรือขูดออก ปรับระดับผิวทาง (Surface Leveling) หมายถึง งานปรับระดับผิวทางเดิมที่ขรุ ขระ ทรุด ยุบตัวเป็ นแอ่ง หรื อเป็ นร่อง (Corrugation, Grade Depression, Rutting) โดยที่พื ้นทาง หรือโครงสร้ างทางยังคงความแข็งแรง ให้ ได้ ระดับ เรียบ และกลมกลืนกับผิวทางเดิม โดยทําการทา ยาง (Tack Coat) แล้ วปูทบั ด้ วยวัสดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) อาจฉาบผิวเพื่อป้องกันนํา้ ซึมลงไปด้ วยถ้ า เห็นสมควร หรือจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการ หรือวิธีการที่เหมาะสม ปะซ่อมผิวทาง (Skin Patching) หมายถึง งานซ่อมผิวทางที่แตกต่อเนื่องกันแบบหนังจระเข้ ผิวหลุดร่ อนเป็ นหลุมบ่อ ผิวที่ชํารุดเนื่องจากการเลื่อนตัว และผิวที่เสียหายเนื่องจากอุบตั ิเหตุ ซึง่ ความเสียหายเกิดเฉพาะผิวทาง ซึ่งความเสียหายเกิดเฉพาะผิวทาง ให้ ทําการซ่อม โดยขุดรื อ้ ผิวที่เสียหายออกเป็ นรูปสี่เหลี่ยม ทําความสะอาดแล้ วทายาง (Tack Coat) ให้ ทวั่ ใช้ วสั ดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรือ Hot Mix) ปะซ่อมทําผิวทางใหม่ให้ ได้ ระดับ เรียบและกลมกลืนกับผิวทางเดิม อาจฉาบผิวเพื่อป้องกันนํา้ ซึมลงไป ด้ วยถ้ าเห็นสมควร งานขุดซ่อมผิวทาง (Deep Patching) หมายถึง งานซ่อมชัน้ โครงสร้ างทางที่ มีลักษณะความเสียหายปรากฏบนผิ วทาง และความเสียหายนัน้ เกิด ขึน้ ถึง ระดับชันคั ้ นทาง หรือชันพื ้ ้นทาง หรือชันรองพื ้ ้นทาง ให้ ทําการซ่อมโดยขุดรือ้ เอาวัสดุที่ร่วน หรือเสียหายออกจนถึงระดับชัน้ ที่เห็นว่าจําเป็ น บดอัดก้ นหลุมให้ แน่นและเรี ยบเสมอกัน นําวัสดุที่ได้ มาตรฐานลงไปแทน บดอัดแน่น แล้ วทําการ Prime Coat หรือทายาง (Tack Coat) แล้ วแต่กรณี ทําผิวทางใหม่ตามสภาพผิวทางเดิมหรือดีกว่า โดยรักษาระดับรอยต่อให้ เรี ยบ และกลมกลืนกับผิวทางเดิม อาจฉาบผิวเพื่อป้องกันนํา้ ซึมลงไปตามเห็นสมควร หรื อจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการ หรือวิธีการที่เหมาะสม งานปาดแต่งผิวทางแอสฟั ลต์ (Surface Grinding) หมายถึง งานปาด ตัด แต่ง ผิวทางชนิดแอสฟั ลต์คอนกรีตที่นนู เป็ นสัน หรือเป็ นคลื่น เนื่องจากการเคลื่อนตัวเฉพาะชัน้ ผิวทาง อาจรวมถึงการปรับแต่งให้ ได้ ระดับและกลมกลืนกับผิวทางเดิม ด้ วยวัสดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) ก็ได้ งานทําความสะอาดผิวทาง (Surface Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บนผิวทาง ทังนี ้ ้อาจรวมถึงการล้ างทําความสะอาดผิวทางด้ วยก็ได้
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ผ-18
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน 1120 1121
1122
1123
1124
1125
1130 1131
1132
1133
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน งานบํารุงรักษาผิวทางคอนกรีต (Maintenance Of Concrete Pavement) งานซ่อมวัสดุรอยต่อ (Repair of Joint Sealing) หมายถึง งานซ่อม เปลี่ยน วัสดุรอยต่อเดิมระหว่างแผ่นพื ้นคอนกรี ตที่ชํารุดหรื อเสื่อมสภาพ โดยการเอาวัสดุเดิมออก จนหมด ทําความสะอาดแล้ วหยอดหรือทารอยต่อด้ วย Primer ก่อนทําการอุดด้ วยวัสดุยาแนวใหม่แทน จนมีสภาพรอยต่อ ดีดงั เดิม งานซ่อมผิวคอนกรีต (Concrete Patching) หมายถึง งานเจาะสกัดหรือลอกผิวคอนกรีตส่วนที่ชํารุดเสียหายออกบางส่วน หรือทังแผ่ ้ น รวมถึงการขุดรื อ้ วัสดุรองพื ้น ส่วนที่เสียหายออกจนถึงระดับชันที ้ ่เห็นว่าจําเป็ น บดอัดแน่นแล้ วใช้ วสั ดุที่ได้ มาตรฐานรองแทน บดอัดก่อนเสริ มหรื อทําผิว คอนกรีตใหม่ หรือจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการหรือวิธีการที่เหมาะสม เช่น การทํา Mud Jacking เป็ นต้ น งานอุดเชื่อมรอยแตก (Crack Sealing) หมายถึง งานอุดรอยแตก (Crack) ที่เกิดขึน้ ในแผ่นพื ้นคอนกรี ตโดยทําความสะอาดรอยแตกด้ วยเครื่ องอัดลม แล้ วใช้ แอสฟั ลต์เหลว หรือ Epoxy Resin อุดตามรอยแตกนัน้ หรือจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการหรือวิธีการที่เหมาะสม งานปรับระดับผิวคอนกรีต (Concrete Surface Leveling) หมายถึง งานปรับระดับผิวคอนกรี ตเดิมที่ชํารุด โดยใช้ วสั ดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) ปูทบั ลงบนผิว คอนกรีต หลังจากทายาง (Tack Coat) หรือฉาบวัสดุคนั่ กลาง (Interlayer) แล้ ว งานทําความสะอาดผิวทาง (Surface Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บนผิวทาง ทังนี ้ ้อาจรวมถึงการล้ างทําความสะอาดผิวทางด้ วยก็ได้ งานบํารุงรักษาผิวทางลูกรัง (Maintenance of Unpaved Road) งานซ่อมหลุมบ่อ (Surface Patching) หมายถึง งานขุดเอาวัสดุส่วนที่เสียออก ตกแต่งก้ นหลุมแล้ วเติมวัสดุใหม่ที่ได้ มาตรฐาน บดอัดแน่นจนเสมอผิวเดิม โดยรอบ งานกวาดเกลี่ยผิวทาง (Light Grading) หมายถึง งานกวาดเกลี่ยผิวทางลูกรังเดิมที่เป็ นคลื่นลอน ลูกระนาด ร่องล้ อ ตลอดจนรอยกัดเซาะของนํา้ ให้ เรี ยบโดย ใช้ รถเกลี่ยหรือชุดกวาดเกลี่ย และอาจเติมวัสดุใหม่ได้ ตามความจําเป็ น งานขึ ้นรูปบดทับใหม่ (Heavy Grading) หมายถึง งานไถคราด (Scarifying) ผิวทางลูกรังเดิมที่ชํารุดเสียหายมากจนเปลี่ยนไปจากรูปทรงเดิม เติมวัสดุใหม่ที่ได้ มาตรฐานลงผสม เกลี่ยแต่งและบดอัดแน่นให้ ได้ รูปทรงตามควร ถ้ าวัสดุเดิมเพียงพออาจไม่ต้องเติมวัสดุใหม่ก็ได้
1200
หน่วย นับ ม.
ตร.ม.
ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
งานบารุ งรั กษาไหล่ ทาง ทางเท้ า ทางเชื่อม เกาะแบ่ งถนน และทางจักรยาน (Shoulder, Sidewalk, Connection Road, Median and Bikelane Maintenance) - ไหล่ทาง ให้ หมายถึง ไหล่ทางทุกชนิด ได้ แก่ ไหล่ทางของ Main Road ของทางคูข่ นาน และของทางเชื่อม - ทางเท้ า ให้ หมายถึง ทางเท้ าทุกชนิด เช่น พื ้นคอนกรีต แผ่นพื ้นสําเร็จรูป และพื ้นลาดยาง เป็ นต้ น - ทางเชื่อม ให้ หมายถึง ถนนสาธารณะที่ตอ่ เชื่อมกับทางหลวง ส่วนที่อยูภ่ ายในเขตทางหลวงเท่านัน้ - เกาะแบ่งถนน ให้ หมายถึง พื ้นที่แบ่งช่องหรือทิศทางจราจร ทังใน ้ Main Road และทางคู่ขนาน ชนิดยกเป็ นแท่น (Raised Median) หรือเว้ นเป็ นร่อง (Depressed Median) หรือชนิดกําแพงกัน้ (Barrier) เป็ นต้ น - ทางจักรยาน ให้ หมายถึงทางจักรยานในบริเวณเขตทางหลวง หรือที่สงวนนอกเขตทางหลวง ชนิดที่อยูบ่ นคันทาง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-19
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน 1210 1211
1212
1213
1214
1215
1216
1217
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน หรือสะพานและชนิดที่ก่อสร้ างแยกออกต่างหากจากตัวคันทาง งานบํารุงรักษาไหล่ทางแอสฟั ลต์ (Maintenance of Asphalt Shoulder) งานอุดรอยแตกไหล่ทาง (Crack Filling) หมายถึง งานอุด หรือ ปิ ดรอยแตกบนไหล่แอสฟั ลต์ที่มีลกั ษณะไม่ตอ่ เนื่องกัน กรณีที่รอยแตกกว้ างน้ อยกว่า 3 มม. ให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวอุดหรื อปิ ดรอย แตกนัน้ กรณีรอยแตกกว้ างกว่า 3 มม. ถ้ ารอยแตกลึกไม่มากนัก ให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวผสมทรายอุดจนเต็มรอยแตกนัน้ ถ้ ารอยแตกลึกมาก ให้ ใช้ ทรายหรือทราบผสมปูนซีเมนต์หรือปูนขาว หรอกจนเกือบเต็ม รอยแตก แล้ วให้ ใช้ แอสฟั ลต์เหลวผสมทรายอุดจนเต็มรอยแตกนัน้ หรือจําดําเนินการซ่อม ตามกระบวนการหรือวิธีการที่เหมาะสม งานฉาบผิวไหล่ทาง (Shoulder Sealing) หมายถึง งานซ่อมผิวไหล่ทางเดิมที่มีรอยแตกแบบต่อเนื่องกัน ผิวลื่น ผิวหลุดล่อน หรื อเสื่อมสภาพ โดยที่ระดับผิวทาง เดิมไม่ทรุดตัวเป็ นแอ่ง หรือร่องล้ อ ด้ วยวิธี Fog Seal, Sand Seal, Slurry Seal, Chip Seal ฯลฯ ในกรณีที่ผิวทางมียางเยิ ้ม (Bleeding) ให้ แก้ ไขโดยวิธีสาดทราย หรือหินขณะร้ อน หรือเผายางเยิ ้ม หรือขูดออก ปรับระดับผิวไหล่ทาง (Shoulder Leveling) หมายถึง งานปรับระดับผิวไหล่ทางเดิมที่ขรุขระ ทรุด ยุบตัวเป็ นแอ่ง หรื อเป็ นร่อง (Corrugation, Grade Depression, Rutting) โดยที่พื ้นทาง หรือโครงสร้ างทางยังคงความแข็งแรง ให้ ได้ ระดับ เรียบ และกลมกลืนกับผิวทางเดิม โดยทําการทา ยาง (Tack Coat) แล้ วปูทบั ด้ วยวัสดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) อาจฉาบผิวเพื่อป้องกันนํา้ ซึมลงไปด้ วยถ้ า เห็นสมควร หรือจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการ หรือวิธีการที่เหมาะสม ปะซ่อมผิวไหล่ทาง (Skin Patching) หมายถึง งานซ่อมผิวไหล่ทางที่แตกต่อเนื่องกันแบบหนังจระเข้ ผิวหลุดร่อนเป็ นหลุมบ่อ ผิวที่ชํารุดเนื่องจากการเลื่อน ตัว และผิวที่เสียหายเนื่องจากอุบตั ิเหตุ ซึ่งความเสียหายเกิด เฉพาะผิวทาง ซึ่งความเสียหายเกิดเฉพาะผิวทาง ให้ ทําการ ซ่อมโดยขุดรื อ้ ผิวที่เสียหายออกเป็ นรู ปสี่เหลี่ยม ทําความสะอาดแล้ วทายาง (Tack Coat) ให้ ทวั่ ใช้ วสั ดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) ปะซ่อมทําผิวทางใหม่ให้ ได้ ระดับ เรี ยบและกลมกลืนกับผิวทางเดิม อาจฉาบผิวเพื่ อป้องกัน นํ ้าซึมลงไปด้ วยถ้ าเห็นสมควร งานขุดซ่อมผิวไหล่ทาง (Deep Patching) หมายถึง งานซ่อมชันโครงสร้ ้ างทางที่มีลกั ษณะความเสียหายปรากฏบนผิวไหล่ทาง และความเสียหายนัน้ เกิดขึน้ ถึง ระดับชันคั ้ นทาง หรือชันพื ้ ้นทาง หรือชันรองพื ้ ้นทาง ให้ ทําการซ่อมโดยขุดรือ้ เอาวัส ดุที่ร่วน หรือเสียหายออกจนถึงระดับชัน้ ที่เห็นว่าจําเป็ น บดอัดก้ นหลุมให้ แน่นและเรี ยบเสมอกัน นําวัสดุที่ได้ มาตรฐานลงไปแทน บดอัดแน่น แล้ วทําการ Prime Coat หรือทายาง (Tack Coat) แล้ วแต่กรณี ทําผิวทางใหม่ตามสภาพผิวทางเดิมหรือดีกว่า โดยรักษาระดับรอยต่อให้ เรี ยบ และกลมกลืนกับผิวทางเดิม อาจฉาบผิวเพื่อป้องกันนํา้ ซึมลงไปตามเห็นสมควร หรื อจะดําเนินการซ่อมตามกระบวนการ หรือวิธีการที่เหมาะสม งานปาดแต่งผิวไหล่ทาง (Surface Shoulder Grinding) หมายถึง งานปาด ตัด แต่ง ผิวทางชนิดแอสฟั ลต์คอนกรีตที่นนู เป็ นสัน หรือเป็ นคลื่น เนื่องจากการเคลื่อนตัวเฉพาะชัน้ ผิวทาง อาจรวมถึงการปรับแต่งให้ ได้ ระดับและกลมกลืนกับผิวทางเดิม ด้ วยวัสดุผสมแอสฟั ลต์ (Cold Mix หรื อ Hot Mix) ก็ได้ งานทําความสะอาดไหล่ทาง (Shoulder Cleaning)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
หน่วย นับ ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ผ-20
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน 1220 1221
1222
1223
1224
1230 1231 1232
1240 1241
1242 1243
1244
1245
1250 1251
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บนผิวทาง ทังนี ้ ้อาจรวมถึงการล้ างทําความสะอาดผิวทางด้ วยก็ได้ งานบํารุงรักษาไหล่ทางลูกรัง (Maintenance of Unpaved Shoulder) งานซ่อมหลุมบ่อไหล่ทาง (Shoulder Patching) หมายถึง งานขุดเอาวัสดุส่วนที่เสียออก ตกแต่งก้ นหลุมแล้ วเติมวัสดุใหม่ที่ได้ มาตรฐาน บดอัดแน่นจนเสมอผิวเดิม โดยรอบ งานกวาดเกลี่ยไหล่ทาง (Shoulder Grading) หมายถึง งานกวาดเกลี่ยผิวไหล่ทางลูกรังเดิมที่เป็ นคลื่นลอน ลูกระนาด ร่องล้ อ ตลอดจนรอยกัดเซาะของนํา้ ให้ เรี ยบ โดยใช้ รถเกลี่ยหรือชุดกวาดเกลี่ย และอาจเติมวัสดุใหม่ได้ ตามความจําเป็ น งานขึ ้นรูปบดทับใหม่ของไหล่ทาง (Heavy Grading) หมายถึง งานไถคราด (Scarifying) ผิวไหล่ทางลูกรังเดิมที่ชํารุดเสียหายมากจนเปลี่ยนไปจากรูปทรงเดิม เติมวัสดุใหม่ ที่ได้ มาตรฐานลงผสม เกลี่ยแต่งและบดอัดแน่นให้ ได้ รูปทรงตามควร ถ้ าวัสดุเดิมเพียงพออาจไม่ต้องเติมวัสดุใหม่ก็ได้ งานตัดหญ้ า (Grass Cutting) หมายถึง งานตัดหญ้ าบนไหล่ทาง และไหล่ทางของทางเชื่อม ทังนี ้ ้ไม่รวมถึงงานตัดหญ้ าบริเวณลาดคันทาง งานบํารุงรักษาทางเท้ า และทางเชื่อม (Maintenance of Side Walk and Connection Road) งานซ่อมทางเท้ า และทางเชื่อม (Repair of Sidewalk and Connection Road) หมายถึง งานซ่อม ทางเท้ า และทางเชื่อมที่ชํารุดเสียหายให้ คืนสูส่ ภาพเดิม ทังนี ้ ้ให้ รวมถึงงานซ่อมคันกันแผ่ ้ นทางเท้ าด้ วย งานทําความสะอาด (Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บนทางเท้ าและทางเชื่อม ทังนี ้ ้อาจรวมถึงการล้ างทําความสะอาดด้ วยก็ได้ งานบํารุงรักษาเกาะแบ่งถนน (Maintenance of Median) งานตัดหญ้ า (Grass Cutting) หมายถึง งานตัดหญ้ าบนพืน้ ที่แบ่งช่อง หรื อทิศทางจราจร ทัง้ ใน Main Road และทางคู่ขนาน ชนิดยกเป็ นแท่น (Raised Median) หรือชนิดเว้ นเป็ นร่อง (Depressed Median) งานบํารุงรักษาต้ นไม้ (Pruning and Grassing) หมายถึง งานบํารุงรักษา รดนํ ้า ใส่ป๋ ยุ ตัดแต่งต้ นไม้ ไม้ พมุ่ ไม้ ดอก ไม้ ประดับ ตลอดจนหญ้ า และวัชพืชคลุมดิน งานปลูกต้ นไม้ (Planting) หมายถึง งานปลูก หรืองานปลูกซ่อมต้ นไม้ ไม้ พมุ่ ไม้ ดอก ไม้ ประดับ หญ้ า และวัชพืชคลุมดิน โดยให้ รวมงานปรับปรุง ปรับแต่ง หรือเปลี่ยนดินที่ใช้ ในการปลูกด้ วย งานซ่อมเกาะแบ่งถนน (Maintenance of Median) หมายถึง งานซ่อมเกาะแบ่งถนนที่ชํารุดเสียหายให้ คืนสู่สภาพเดิม ทังนี ้ ใ้ ห้ รวมงานปรับปรุงเพื่อเพิ่มหรื อลดพื ้นที่เกาะ แบ่งถนนได้ ตามความจําเป็ น งานทําความสะอาด (Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บริเวณเกาะแบ่งถนน ทังนี ้ ้ให้ รวมถึงการล้ างทําความสะอาดด้ วยก็ได้
หน่วย นับ ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม. ตร.ม.
ตร.ม. ต้ น ตร.ม. ต้ น ตร.ม. ตร.ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
งานบํารุงรักษาทางจักรยาน (Maintenance of Bicycle Lane) งานซ่อมแซมทางจักรยาน (Repair of Bicycle Lane)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-21
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน 1252
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน หมายถึง งานซ่อมแซมโครงสร้ างทางจักรยานส่วนที่ชํารุด เสียหายให้ คืนสู่สภาพที่เหมาะสม ทังนี ้ อ้ าจรวมถึงงานเสริ ม หรือขยายพื ้นที่ได้ ตามความจําเป็ น งานทําความสะอาด (Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดวัสดุ สิ่งปฏิกลู ฯลฯ บริเวณเกาะแบ่งถนน ทังนี ้ ้ให้ รวมถึงการล้ างทําความสะอาดด้ วยก็ได้
1300 1310 1311 งานระบบระบายนา้ สะพาน และโครงสร้ าง (Drainage System, Bridge and Structure Maintenance) งานบํารุงรักษาระบบระบายนํ ้า (Maintenance of Drainage System) งานทางระบายนํ ้า (Repair of Open Channel) หมายถึง งานทําความสะอาด ขุดลอก ตกแต่ง ต่อเติม หรือซ่อมแซม ทางระบายนํ ้า หรือร่องระบายนํ ้าข้ างทาง (Side Ditch) คันหินรางตื ้น (Curb & Gutter) รางระบายนํ ้าบริเวณลาดข้ างทาง (Chute) รางดักนํ ้า (Intercepting Ditch) 1312 คันกันนํ ้า (Dike) ช่องนํ ้าธรรมชาติ และช่องนํ ้าซึง่ ได้ ทําขึ ้นใหม่ งานท่อระบายนํ ้า (Repair of Culvert) หมายถึง งานทําความสะอาด ขุดลอก ตกแต่ง ต่อเติม หรือซ่อมแซมท่อระบายนํ ้า และส่วนประกอบ ได้ แก่ กําแพงหน้ าท่อ (Headwall) ปากท่อ (Inlet & Outlet) บ่อพัก (Manhole) บ่อดักนํ ้า (Drop Inlet & Catch Basin) ท่อระบายนํ ้าใต้ ดิน (Subdrain) 1320 ฯลฯ 1321 งานบํารุงรักษาสะพานและโครงสร้ าง (Maintenance of Highway Bridge and Structure) งานสะพาน (Maintenance of Bridge Structure) หมายถึง งานดูแลรักษา ทําความสะอาด งานซ่อมแซมส่วนที่ชํารุดเสียหายของสะพาน เช่น งานอุดรอยแตกพื ้นสะพาน 1322 คอนกรี ตด้ วย Epoxy Resin งานซ่อมราวสะพาน งานซ่อมเปลี่ยนพื ้นสะพานไม้ งานซ่อมพื ้นสะพานที่เป็ น Grid Floor รวมทังงานทาสี ้ สะพานทุกชนิด หรืองานทาสะพาคอนกรีตด้ วยนํ ้าปูน ก็ได้ งานลาดคอสะพาน (Repair of Bridge Approach) 1323 หมายถึง งานซ่อมลาดคอสะพานที่ชํารุดเสียหาย เช่นงานปรับปรุงแต่งเรี ยงหินยาแนว (Mortar Riprap) ส่วนที่หลุด ออก หรือลงวัสดุใหม่ แล้ วบดอัดให้ ได้ รูปร่างและเชิงลาดตามความเหมาะสม งานกําแพงกันดิน (Repair of Retaining Structure) 1324 หมายถึง งานซ่อมแซมความเสียหายของกํา แพงกันดิ น ที่โครงสร้ างยังแข็ งแรงสามารถรั บนํ า้ หนักได้ เช่น งานอัด (Grouting) ด้ วยวัสดุผสม Epoxy Resin หรืองานสกัดบริเวณรอยแตกร้ าวแล้ วฉาบทับผิวใหม่ด้วย Cement Mortar 1325 งานสะพานคนข้ ามและทางรอด (Repair of Pedestrian Bridge and Underpass) หมายถึง งานทําความสะอาด ทาสี และซ่อมแซมส่วนที่เสียหายของสะพาน ทางลอด และส่วนประกอยอื่นๆ งานอุโมงค์ทางรถยนต์ (Repair of Tunnels)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
หน่วย นับ ตร.ม.
ตร.ม. ม.
แห่ง
แห่ง/ ม.
ตร.ม.
ตร.ม.
แห่ง แห่ง
ผ-22
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน หมายถึง งานดูแลรักษา ทําความสะอาด ทาสีและซ่อมแซมส่ว นที่เสียหายของอุโมงค์ทางรถยนต์ และส่วนประกอบ ต่างๆ
1400 1410 1411 งานจราจรสงเคราะห์ และสิ่งอานวยความปลอดภัย (Traffic and Safety Device Maintenance) งานป้ายและเครื่องหมายจราจร (Repair of Traffic Signs and Marking) 1412 งานป้ายจราจร (Repair of Traffic Signs) หมายถึง งานทําความสะอาด ปรับแต่ง ทาสีป้ายจราจร และส่วนประกอบ รวมทังการติ ้ ดตังเพิ ้ ่มเติมเป็ นบางส่วน งานตีเส้ น และทําเครื่องหมายจราจร (Traffic Painting and Marking) หมายถึง - งานตีเส้ นแบ่งทิศทางจราจร ช่องจราจร ขอบผิวทาง และทําเกาะแบ่งถนน (Median Strip) - งานทําเครื่องหมายจราจร ตัวอักษร ลูกศร ทางคนเดินข้ าม เส้ นหยุดก่อนถึงทางแยก หรือทางรถไฟ 1420 - งานทาสี ขอบทางเท้ า ขอบเกาะแบ่งถนน เสาไฟฟ้า ฯลฯ 1421 1422 1423 1430 1431
งานสิ่งอํานวยความปลอดภัย (Safety Device Maintenance) หมายถึง งานทาสี ทําความสะอาด ปรับแต่ง ซ่อมแซม ติดตังเพิ ้ ่มเติมบางส่วน ของสิ่งอํานวยความปลอดภัย ดังต่อไปนี ้ หลักนําทาง (Guide Post) หลักกิโลเมตร (Kilometer Post) หลักเขตทาง (R.O.W. Post) และหมุดหลักฐานอื่น ราวกันอันตราย (Guard Rail, Guard Fence, Guard Cable) กําแพงกันอันตราย (Barrier) รัว้ เขตทาง (R.O.W. Fence) แผงกัน (Barricade) ฯลฯ สิ่งอํานวยความปลอดภัยอื่นๆ (Others) เช่น หมุดสะท้ อนแสง เป้าสะท้ อนแสง เป็ นต้ น
หน่วย นับ ตร.ม. ตร.ม.
ต้ น ม. อัน ต้ น ดวง อัน ต้ น ดวง อัน
งานไฟฟ้าแสงสว่าง และไฟสัญญาณจราจร (Maintenance of Road Lighting and Traffic Signal) งานไฟฟ้าแสงสว่าง (Repair of Road Lighting) 1432 หมายถึง งานทําความสะอาด ซ่อมทาสี หรื อเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ ชํารุดเสียหาย ได้ แก่ หลอดไฟ ฟิ วส์ บาลาสท์ โฟโตเซล เซฟตี ้สวิทส์ เสา และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง รวมทังงานรื ้ อ้ ย้ ายหรือติดตังใหม่ ้ ได้ บ้างตามความเหมาะสม งานไฟสัญญาณจราจร (Repair of Traffic Signal) หมายถึง งานทําความสะอาด ซ่อม ทาสี หรื อเปลี่ยนอุปกรณ์ที่ชํารุดเสี ยหาย ได้ แก่ หลอดไฟ ฟิ วส์ ออโตเมติกสวิทส์ 1500 และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้ อง รวมทังงานรื ้ อ้ ย้ ายหรือติดตังใหม่ ้ ได้ บ้างตามความเหมาะสม 1510 ตร.ม. งานบริเวณข้ างทาง และที่พักริมทาง (Roadside and Rest Area Maintenance) ลบ.ม. งานบํารุงรักษาลาดข้ างทาง (Maintenance of Side Slope and Back Slope) หมายถึง งานซ่อมลาดข้ างทางที่เสียหาย ให้ คงสภาพเดิมหรื อดีขึน้ เช่น งานปรับแต่ง ปลูกหญ้ า เรี ยงหินยาแนว ลาด 1520 คอนกรี ต เป็ นต้ น และให้ รวมถึงงานป้องกันหินร่วงโดยใช้ ตาข่ายหรื องานฝั งยึดระหว่างหินด้ วยกันหรื อวิธีอื่นใดที่เห็นว่า ตร.ม. เหมาะสม งานตัดหญ้ าและถางป่ า (Grass Cutting and Clearing) 1530 หมายถึง งานตัดหญ้ าและถางบริเวณ ตังแต่ ้ ขอบไหล่ทาง ลาดคันทาง จนสุดเขตทางหลวง รวมถึงที่ดินสงวนนอกเขต ตร.ม. ทางหลวงด้ วย ต้ น งานบํารุงรักษาต้ นไม้ (Pruning and Grassing) หมายถึง งานบํารุ งรั กษา รดนํา้ ใส่ป๋ ยุ ตัดแต่งต้ น ไม้ ไม้ พุ่ม ไม้ ดอก ไม้ ป ระดับ ตลอดจนหญ้ า และวัชพืชคลุมดิ น
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-23
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) รหัส งาน 1540
1550
1560
1570
1600 1610 1620
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงาน รวมทังต้ ้ นไม้ ที่ขึ ้นเองตามธรรมชาติบริเวณเขตทางหลวง สวนริ มทาง และที่ดินสงวนนอกเขตทางหลวงและให้ รวมถึงงาน จํากัดแมลง และวัชพืชด้ วย งานปลูกต้ นไม้ (Planting) หมายถึง งานปลูก หรื องานปลูกซ่อมต้ นไม้ ไม้ พ่มุ ไม้ ดอก ไม้ ประดับ หญ้ า และวัชพืชคลุมดิน บริ เวณเขตทางหลวง สวนริมทาง และที่ดินสงวนนอกเขตทางหลวง งานที่พกั ผู้โดยสารและผู้เดินทาง (Highway Shelters) หมายถึง งานซ่อมแซม ทาสี อาคารที่พกั ผู้โดยสาร ศาลาทางหลวง และอาคารอื่นๆ บรรดาที่ได้ จดั ทําขึน้ ไว้ ในเขตทาง หลวง ที่พกั ริมทาง หรือที่ดินสงวนนอกเขตทางหลวง ทังนี ้ ้ให้ รวมถึงงานซ่อมหรือปรับปรุงที่จอดรถประจําทางได้ ตามความ จําเป็ น งานปรับแต่งพื ้นที่ (Land Scaping) หมายถึง งานซ่อมแซม เกลี่ยแต่ง ปรับพื ้นที่ภายในเขตทางหลวง สวนริมทาง ที่ดินสงวนนอกเขตทางหลวง บริ เวณที่ถกู นํ ้ากัดเซาะ หรือบริเวณที่ต้องการปรับปรุงตกแต่ง เพื่อความสวยงามและรักษาสภาพสิ่งแวดล้ อม งานทําความสะอาด (Cleaning) หมายถึง งานเก็บกวาดกําจัดขยะ เศษวัสดุ กิ่งไม้ ฯลฯ ภายในบริ เวณเขตทางหลวงและสวนริ มทาง โดยให้ รวมถึงการ จัดทําถังขยะ และที่จํากัดขยะด้ วย งานบริการเครื่องจักรบารุ งทาง (Equipment Service Maintenance) ค่าเช่าเครื่องจักรและยานพาหนะ (Equipment Rental) หมายถึง ค่าเช่าเครื่องจักรและยานพาหนะที่เช่าจากสํานักงานบริหารเครื่องจักรกล เพื่อปฏิบตั ิงานบํารุงปกติ ค่านํ ้ามันเชื ้อเพลิง (Fuel Cost) หมายถึง ค่านํ ้ามันเชื ้อเพลิงสําหรับเครื่ องจักรและยานพาหนะที่ใช้ ปฏิบตั ิงานบํารุงปกติ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
หน่วย นับ ตร.ม. ต้ น แห่ง
ตร.ม.
ตร.ม.
บาท
บาท
ผ-24
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ภาคผนวก ค การขึน้ ทะเบียนผู้รับเหมาของกรมทางหลวง ในการให้ เอกชนเข้ ามาร่ วมดําเนินงานในภารกิจต่างๆที่ภาครัฐรับผิดชอบอยู่ สิ่งหนึ่งที่ควรคํานึงถึง ได้ แก่ ขีดความสามารถของภาคเอกชนที่เข้ ามารับงานดังกล่าว ดังนันหน่ ้ วยงานภาครัฐบางส่วนจึงได้ มีการ ขึ ้นทะเบียนรายชื่อบริษัทเอกชนผู้รับจ้ างงานพร้ อมทังมี ้ การกําหนดคุณสมบัตขิ องเอกชนที่เข้ ามาดําเนินงาน ในภารกิจต่างๆ เพื่อเป็ นหลักประกันให้ งานที่ออกมามีคณ ุ ภาพตามต้ องการ โดยในการให้ เอกชนเข้ าร่วม ดําเนินการในงานบํารุ งปกติของกรมทางหลวงนัน้ ได้ มีการกํ าหนดให้ เอกชนผู้ที่สนใจเข้ ามาดําเนินงาน ดังกล่าวต้ องขึน้ ทะเบียนรายชื่อบริ ษัทของตนไว้ กับกรมทางหลวง เพื่อที่ภาครัฐสามารถที่จะคัดเลือกผู้ รับจ้ างที่มีคณ ุ สมบัตหิ รื อขีดความสามารถตรงตามความต้ องการมาทําสัญญาจ้ างเพื่อดําเนินการในภารกิจ บํารุงปกติดงั กล่าวต่อไป ซึ่งกรมทางหลวงได้ มีการกําหนดให้ มีการขึ ้นทะเบียนผู้รับจ้ างงานบํารุ งปกติแยก ออกจากทะเบียนของผู้รับจ้ างงานก่อสร้ างทัว่ ไป การขึ น้ ทะเบี ย นผู้รั บ จ้ า งเพื่ อ ให้ ก ารจดทะเบี ย นผู้รั บ เหมาของกรมทางหลวง ได้ ผ้ ูรั บ เหมาที่ ดี มีคณ ุ ภาพ มีประสบการณ์ และมีความพร้ อมในด้ านต่างๆมาปฏิบตั ิงาน จึงได้ มีการทบทวนการคัดเลือกผู้มี คุณ สมบัติเ บือ้ งต้ นในการจ้ าง โดยกํ าหนดหลักเกณฑ์ และวิธี การคัดเลื อกใหม่ให้ เหมาะสมมากยิ่ง ขึน้ ทัง้ นี ้ เพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็ นสําคัญ ซึ่ง การคัดเลือกคุณสมบัติเบื ้องต้ นในการจ้ าง ระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรีว่าด้ วยการพัสดุฯ ได้ กําหนดไว้ ดงั นี ้ ข้ อ 30 ส่วนราชการใดประสงค์จะคัดเลือกผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นในการซื ้อและการจ้ างให้ กระทําได้ ในกรณีที่จําเป็ นต้ องจํากัดเฉพาะผู้ที่มีความสามารถ โดยกําหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกประกาศให้ ผู้ที่สนใจทราบโดยเปิ ดเผย พร้ อมทังส่ ้ งให้ คณะกรรมการว่าด้ วยการพัสดุด้วย ในการดําเนิน การคัดเลื อก ให้ ส่วนราชการเจ้ าของเรื่ องจัดทํารายงานเสนอขออนุมัติหัวหน้ าส่วน ราชการผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ พร้ อมด้ วยเอกสารคัดเลือกคุณสมบัติเบื ้องต้ น โดยมีรายละเอียดอย่าง น้ อยดังต่อไปนี ้ 1. เหตุผลและความจําเป็ นที่จะต้ องทําการคัดเลือกผู้มีคณ ุ สมบัตเิ บื ้องต้ น 2. ประเภท วงเงิน และรายละเอียดของพัสดุหรื องานที่จะต้ องซื ้อหรื อจ้ าง 3. คุณสมบัติของผู้มีสิทธิเข้ ารับการคัดเลือก ซึ่ งเป็ นเกณฑ์ความต้ องการขันตํ ้ ่า เช่น ประสบการณ์ และผลงานที่ผ่านมา สมรรถภาพในส่ วนที่เกี่ยวข้ องกับเจ้ าหน้ าที่ เครื่ องมือ และโรงงาน ฐานะ การเงิน เป็ นต้ น
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-25
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
4. หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือก ข้ อ 31 เมื่อหัวหน้ าส่วนราชการสัง่ อนุมตั ิในข้ อ 30 แล้ วให้ เจ้ าหน้ าที่พสั ดุจดั ทําประกาศเชิญชวนเพื่อ คัดเลือกคุณสมบัตเิ บื ้องต้ น ประกาศเชิญชวน อย่างน้ อยให้ แสดงรายการดังต่อไปนี ้ 1. รายละเอียดเฉพาะของที่ต้องการซื ้อหรื องานที่ต้องการจ้ าง 2. ประสบการณ์และผลงานของผู้เสนอที่มีลกั ษณะและประเภทเดียวกัน 3. สมรรถภาพในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับเจ้ าหน้ าที่ เครื่ องมือและโรงงาน 4. ฐานะการเงิน 5. หลักเกณฑ์ทวั่ ไปในการพิจารณาคัดเลือก 6. สถานที่ในการขอรับหรื อขอซื ้อเอกสารคุณสมบัตเิ บื ้องต้ น ในประกาศครัง้ แรก ให้ กําหนดสถานที่ วัน เวลารับข้ อ เสนอ ปิ ดการรับข้ อเสนอ และเปิ ดซองข้ อเสนอ พร้ อมทัง้ ประกาศโฆษณาและแจ้ ง ลัก ษณะโดยย่อ ของพัส ดุที่ ต้ อ งการซื อ้ หรื อ งานที่ ต้ อ งการจ้ า งและ กําหนดเวลาให้ พอเพียงเพื่อเปิ ดโอกาสให้ แก่ผ้ ทู ี่สนใจจัดเตรี ยมข้ อเสนอ ทังนี ้ ้จะต้ องกระทําก่อนวันรับซอง ข้ อ เสนอไม่น้ อ ยกว่า 30 วัน โดยประกาศทางวิ ท ยุก ระจายเสี ย งและลงประกาศในหนัง สื อ พิ ม พ์ หาก เห็นสมควรจะส่งประกาศเชิญชวนไปยังผู้มีอาชีพขายหรื อรับจ้ างทํางานนันโดยตรงหรื ้ อโฆษณาด้ วยวิธีอื่น อีกก็ได้ สําหรับการคัดเลือกผู้มีคณ ุ สมบัตเิ บื ้องต้ นในการประกวดราคานานาชาติ ให้ ประกาศโฆษณาก่อนวัน รับซองข้ อเสนอไม่น้อยกว่า 60 วัน และดําเนินการตามหลักเกณฑ์ของแหล่งเงินกู้หรื อเงินช่วยเหลืออีกด้ วย ข้ อ 32 ให้ หัว หน้ า ส่ว นราชการแต่ง ตัง้ คณะกรรมการพิ จ ารณาคัด เลื อ กผู้มี คุณ สมบัติ เ บื อ้ งต้ น ประกอบด้ วย ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอย่างน้ อย 4 คน โดยให้ แต่งตังจากข้ ้ าราชการระดับ 5 หรื อเทียบเท่าขึ ้นไป และจะต้ องมีผ้ ชู ํานาญการหรื อผู้ทรงคุณวุฒิอย่างน้ อย 1 คน คณะกรรมการพิจ ารณาคัดเลือกผู้มี คุณสมบัติเบื ้องต้ นมีหน้ าที่พิจ ารณาคุณสมบัติเบื ้องต้ นตาม หลักเกณฑ์และภายในระยะเวลาที่หวั หน้ าส่วนราชการกําหนด ให้ คณะกรรมการรายงานผลการพิจ ารณาและความเห็นพร้ อมด้ วยเอกสารที่ ได้ รับไว้ ทัง้ หมดต่อ หัวหน้ าส่วนราชการผ่านหัวหน้ าเจ้ าหน้ าที่พสั ดุ เพื่อพิจารณาประกาศรายชื่อผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นในการ ซื ้อหรื อจ้ างต่อไป ข้ อ 33 ให้ ส่ ว นราชการพิ จ ารณาทบทวนหลั ก เกณฑ์ ก ารคั ด เลื อ กผู้ มี คุ ณ สมบั ติ เ บื อ้ งต้ น ในการซื ้อหรื อการจ้ าง และตรวจสอบบัญชีรายชื่ อผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ น ที่ได้ ประกาศไปแล้ วอย่างน้ อยทุก รอบ 3 ปี โดยปกติให้ กระทําภายในเดือนแรกของปี งบประมาณ และเมื่อได้ ทบทวนแล้ ว ให้ ส่วนราชการนัน้
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-26
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
แจ้ งการทบทวนพร้ อมทังส่ ้ งหลักเกณฑ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ให้ คณะกรรมว่าด้ วยพัสดุทราบโดยเร็ ว แต่ ต้ องไม่นานเกินกว่า 30 วัน นับแต่วนั ที่ได้ มีการเปลี่ยนแปลงหลักเกณฑ์ดงั กล่าว ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีการขึ ้นบัญชีผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นสําหรับการซื ้อหรื อการจ้ างไว้ เป็ นการ ประจํา ให้ สว่ นราชการนันเปิ ้ ดโอกาสให้ ผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นที่ได้ ขึ ้นบัญชีไว้ แล้ วและประสงค์ที่จะขอเลื่อน ชัน้ หรื อให้ บคุ คลที่ประสงค์จะเข้ ารับการพิจารณาคัดเลือกเพื่อขึ ้นบัญชีเป็ นผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ น มีสิทธิยื่น คําขอเลื่อนชันหรื ้ อคําขอเข้ ารับการพิจารณาคัดเลือกได้ ตลอดเวลา โดยให้ ดําเนินการตามหลักเกณฑ์วิธีการ คัดเลือกตามที่กําหนดไว้ ในข้ อ 31 และข้ อ 32 และโดยปกติจะต้ องพิ จารณาให้ แล้ วเสร็ จภายใน 90 วัน นับ แต่วนั ที่ได้ รับคําขอและเอกสารหลักฐานต่าง ๆ ครบถ้ วนแล้ ว ถ้ าไม่สามารถดําเนินการให้ แล้ วเสร็ จภายใน กําหนดเวลาดังกล่าวจะต้ องชี ้แจงเหตุผลและระยะเวลาที่ต้องใช้ ตามความจําเป็ นให้ ผ้ ยู ื่นคําขอทราบด้ วย ในระหว่างการยื่นคําขอและตรวจพิจารณาคําขอ ผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นที่ยื่นคําขอเลื่อนชันหรื ้ อผู้ยื่น คําขอเข้ ารับการพิจารณาคัดเลือกเพื่อขึ ้นบัญชีเป็ นผู้มีคณ ุ สมบัตเิ บื ้องต้ นจะใช้ สิทธิจากการที่ตนได้ ยื่นคําขอ เลื่อนชันหรื ้ อคําขอเข้ ารับการพิจารณาคัดเลือกดังกล่าวในการซื ้อหรื อการจ้ างที่มีขึ ้นก่อนหรื อในระหว่างที่ ตนยื่นคําขอเลื่อนชัน้ หรื อคําขอเข้ ารับการพิจารณาคัดเลือกนันไม่ ้ ได้ ในกรณี ที่ส่วนราชการเห็นสมควรยกเลิกบัญชีรายชื่อผู้มีคุณสมบัติเบื ้องต้ นในการซือ้ หรื อการจ้ าง เพื่อดําเนินการคัดเลือกผู้มีคณ ุ สมบัตเิ บื ้องต้ น ตามหลักเกณฑ์ที่ได้ มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ตามวรรคหนึ่ง ให้ ส่วนราชการแจ้ งให้ ผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นที่อยู่ในบัญชีรายชื่อทราบหลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกผู้มี คุณสมบัตเิ บื ้องต้ นที่ได้ มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ลว่ งหน้ าไม่น้อยกว่า 120 วัน ข้ อ 33 ทวิในการซื ้อหรื อการจ้ างแต่ละครัง้ ให้ ส่วนราชการพิจารณาถึงความสามารถในการรับงาน ของผู้ขายหรื อผู้รับจ้ างประกอบการพิจารณาคัดเลือกของส่วนราชการด้ วย ในกรณีที่ส่วนราชการใดมีการขึ ้นบัญชีผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นสําหรับการซื ้อ หรื อการจ้ างไว้ แล้ ว ให้ ส่วนราชการนันแจ้ ้ งให้ ผ้ ขู ายหรื อผู้รับจ้ างที่อยู่ในบัญชีผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นดังกล่าว แสดงหลักฐานถึงขีด ความสามารถและความพร้ อมที่ตนมีอยู่ในวันเสนอราคาตามหลักเกณฑ์ที่ทางราชการกําหนดทังในด้ ้ าน บุคลากร เครื่ องมือ โรงงาน และฐานะทางการเงินของตนต่อส่วนราชการ ในส่วนของประเภทของการแบ่ง ประเภทของการจดทะเบียนเป็ นผู้รับเหมางานบํารุ งทางไว้ ตาม ลักษณะงานออกเป็ น 16 ประเภท โดยประเภทที่ 10 – 16 เป็ นประเภทของผู้รับเหมาในการดําเนินงาน กิจกรรมบํารุงปกติงานทาง โดยรายละเอียดทัง้ 16 ประเภทดังนี ้ ประเภทที่ 1 งานฉาบผิวทางแบบ Chip Seal ประเภทที่ 2 งานฉาบผิวทางแบบ Slurry Seal สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-27
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
ประเภทที่ 3 ประเภทที่ 4 ประเภทที่ 5 ประเภทที่ 6 ประเภทที่ 7 ประเภทที่ 8 ประเภทที่ 9 ประเภทที่ 10
ประเภทที่ 11
ประเภทที่ 12
ประเภทที่ 13 ประเภทที่ 14
ประเภทที่ 15 ประเภทที่ 16
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
งานเสริมผิวทางแบบ Cold Mixed Asphalt งานเสริมผิวทางแบบ Hot Mixed Asphalt งานบํารุงทางแบบ Hot Mix In-Place Recycling งานบูรณะทางแบบ Pavement In-Place Recycling งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรบนผิวทางด้ วยวัสดุเทอร์ โมพลาสติก งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรบนผิวทางด้ วยสีจราจร (Traffic Paint) งานก่อสร้ างสะพานลอยคนเดินข้ าม งานบํารุงปกติ 10.1 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 1 10.2 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 2 10.3 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 1 10.4 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 2 งานขุดขนวัสดุ หิน กรวด ทราย ลูกรัง และงานดิน 11.1 งานขุดขนวัสดุฯ ประเภทที่ 1 11.2 งานขุดขนวัสดุฯ ประเภทที่ 2 งานไฟฟ้าแสงสว่าง 12.1 งานไฟฟ้าแสงสว่าง ชัน้ 1 12.2 งานไฟฟ้าแสงสว่าง ชัน้ 2 งานไฟสัญญาณจราจร งานราวกันอันตราย 14.1 งานราวกันอันตราย ชัน้ 1 14.2 งานราวกันอันตราย ชัน้ 2 งานป้ายจราจร งานเครื่ องหมายนําทาง
ในการขึน้ ทะเบียนผู้รับจ้ าง ผู้รับจ้ างงานบํารุ ง รักษาในงานบํารุ ง ปกติของกรมทางหลวงต้ องขึน้ ทะเบียนกับเขตหรื อแขวงการทางในท้ องที่นนั ้ โดยมี การแบ่งชัน้ ของผู้รับจ้ างออกเป็ นสองประเภทหลัก ได้ แก่ ประเภท ก และ ข โดยมีรายละเอียดดังนี ้ 1. ผู้รับจ้ างประเภท ก : มีสิทธิ์เข้ าประกวดราคาได้ ในงานบํารุ งรักษาผิวทาง ไหล่ทางทางเท้ า ทาง เชื่อม เกาะแบ่งถนน ทางจักรยาน งานระบบระบายนํ ้า สะพาน และโครงสร้ างต่างๆ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-28
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
2. ผู้รับจ้ างประเภท ข : มีสิทธิ์ เข้ าประกวดราคาได้ ในงานจราจรสงเคราะห์ และสิ่งอํานวยความ ปลอดภัย งานตัดหญ้ า งานปลูกและบํารุงรักษาต้ นไม้ รวมทังงานบริ ้ เวณข้ างทางและที่พกั ริมทาง นอกจากนี ้ผู้รับจ้ างในแต่ละประเภททัง้ ก และ ข ยังสามารถแบ่งออกได้ อีกเป็ น ผู้รับจ้ างชัน้ 1 และ 2 ซึ่งจะมีสิทธิ ในการรับงานได้ ในแต่ละสัญญาในวงเงินที่แตกต่างกัน โดยการพิจารณาแบ่งประเภทของผู้ รับจ้ างนันจะพิ ้ จารณาจากฐานะทางการเงินของบริ ษัท เครื่ องมือเครื่ องจักรที่มีใช้ ในการดําเนินงาน และ บุคลากรสําหรับผู้รับเหมาที่ขึ ้นบัญชีจดทะเบียนงานบํารุงทาง ในประเภทที่ 10 -16 มีสิทธิในการประกวด ราคา และสอบราคา ดังตารางที่ ก-1 ตารางที่ ก-1 สิทธิในการประกวดราคา และสอบราคาผู้รับเหมาที่ขึ ้นทะเบียนประเภทที่ 10 -16 ประเภท ที่ 10.1
10.2
10.3
10.4
ลักษณะงานที่มีสิทธิในการประกวดราคา งานจ้ างเหมาบํารุงปกติ 1.งานบํารุงรักษาผิวทาง 2.งานบํารุงรักษาไหล่ทาง ทางเท้ า ทางเชื่อม และทาง จักรยาน (ยกเว้ น งานตัดหญ้ า งานบํารุงรักษาต้ นไม้ งาน ปลูกต้ นไม้ ) 3.งานระบบระบายนํ ้า สะพาน และโครงสร้ าง งานจ้ างเหมาบํารุงปกติ 1.งานบํารุงรักษาผิวทาง 2.งานบํารุงรักษาไหล่ทาง ทางเท้ า ทางเชื่อม และทาง จักรยาน (ยกเว้ นงานตัดหญ้ า งานบํารุงรักษาต้ นไม้ งาน ปลูกต้ นไม้ ) 3.งานระบบระบายนํ ้า สะพาน และโครงสร้ าง งานจ้ างเหมาบํารุงปกติ 1.งานจราจรสงเคราะห์และสิง่ อํานวยความปลอดภัย 2.งานบํารุงรักษาไหล่ทาง ทางเท้ า ทางเชื่อม และทาง จักรยาน (เฉพาะงานตัดหญ้ า งานบํารุงรักษาต้ นไม้ งาน ปลูกต้ นไม้ ) 3.งานบริ เวณข้ างทาง และที่พกั ริมทาง งานจ้ างเหมาบํารุงปกติ 1.งานจราจรสงเคราะห์และสิง่ อํานวยความปลอดภัย 2.งานบํารุงรักษาไหล่ทาง ทางเท้ า ทางเชื่อม และทาง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
หน่ วยงาน ผู้ว่าจ้ าง ทุกสํานักทางหลวง แขวงการทาง และสํานักงานบํารุงทาง
วงเงินว่ าจ้ าง ต่ อสัญญาไม่ เกิน 30,000,000
เฉพาะพื ้นที่สาํ นักทางหลวง และหน่วยงานในสังกัด (ที่เป็ นสถานทีต่ งสํ ั ้ านักงาน ใหญ่ ของผู้จดทะเบียนรายนัน) ้
2,000,000
ทุกสํานักทางหลวง แขวงการทาง และสํานักงานบํารุงทาง
30,000,000
เฉพาะพื ้นที่สาํ นักทางหลวง และหน่วยงานในสังกัด (ที่เป็ นสถานทีต่ งสํ ั ้ านักงาน
2,000,000
ผ-29
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
ประเภท ที่
11.1
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงานที่มีสิทธิในการประกวดราคา จักรยาน (เฉพาะงานตัดหญ้ า งานบํารุงรักษาต้ นไม้ งาน ปลูกต้ นไม้ ) 3.งานบริ เวณข้ างทาง และที่พกั ริมทาง งานจ้ างเหมาขุดขนวัสดุ หิน กรวด ทราย ลูกรัง และงานดิน
11.2
งานจ้ างเหมาขุดขนวัสดุ หิน กรวด ทราย ลูกรัง และงานดิน
12.1
งานไฟฟ้ าแสงสว่าง ชัน้ 1
12.2
งานไฟฟ้ าแสงสว่าง ชัน้ 2
13
งานไฟสัญญาณจราจร
14.1
งานราวกันอันตราย ชัน้ 1
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
หน่ วยงาน ผู้ว่าจ้ าง
วงเงินว่ าจ้ าง ต่ อสัญญาไม่ เกิน
ใหญ่ ของผู้จดทะเบียนรายนัน) ้ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ สํานักทางหลวงไม่เกิน 3 แห่ง รวมถึงศูนย์สร้ างทาง ศูนย์ สะพาน และโครงการฯ ที่ตงอยู ั ้ ใ่ นเขต พื ้นที่ควบคุมของสํานักทาง หลวงด้ วย ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุ งทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง
30,000,000
2,000,000
ไม่จํากัด วงเงิน
3,000,000
ไม่จํากัด วงเงิน
ไม่จํากัด วงเงิน ผ-30
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
ประเภท ที่
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ลักษณะงานที่มีสิทธิในการประกวดราคา
14.2
งานราวกันอันตราย ชัน้ 2
15
งานป้ายจราจร
16
งานเครื่ องหมายนําทาง
หน่ วยงาน ผู้ว่าจ้ าง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ ทุกสํานักทางหลวง แขวงการ ทาง สํานักงานบํารุงทาง ศูนย์สร้ าง ทาง ศูนย์ฯสะพาน และโครงการฯ
วงเงินว่ าจ้ าง ต่ อสัญญาไม่ เกิน
3,000,000
ไม่จํากัด วงเงิน
ไม่จํากัด วงเงิน
ด้ วยในการกํ าหนดหลักเกณฑ์และวิธีการคัดเลือกการขอจดทะเบียนเป็ นผู้รับเหมางานบํารุ งทาง กรมทาง หลวง ดํ า เนิ น การตามระเบี ย บสํ า นั ก นายกรั ฐมนตรี ว่ า ด้ วยการพั ส ดุ ฯ ข้ อ 30-33 โดยเกณฑ์ในการคัดเลือกตามระเบียบฯข้ อ 30(3) กําหนดไว้ ว่า “คุณสมบัติของผู้มีสิทธิได้ รับการคัดเลือก ซึง่ เป็ นเกณฑ์ความต้ องการขันตํ ้ ่า เช่น ประสบการณ์และผลงานที่ผ่านมา สมรรถภาพในส่วนที่เกี่ยวข้ องกับ เจ้ าหน้ าที่ เครื่ องมือ และโรงงาน ฐานะการเงิน เป็ นต้ น” และข้ อ 33 ทวิ กําหนดไว้ ว่า “ในการซื ้อหรื อการจ้ าง แต่ละครัง้ ให้ ส่วนราชการพิจารณาถึงความสามารถในการรั บงานของผู้ขายหรื อผู้รับจ้ างประกอบการ พิจารณาคัดเลือกของส่วนราชการด้ วย ในกรณีที่สว่ นราชการใดมีการขึ ้นบัญชีผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นสําหรับ การซื ้อหรื อการจ้ างไว้ แล้ ว ให้ ส่วนราชการนันแจ้ ้ งให้ ผ้ ขู ายหรื อผู้รับจ้ างที่อยู่ในบัญชีผ้ มู ีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ น ดังกล่าวแสดงหลักฐานถึงขีดความสามารถและความพร้ อมที่ตนมีอยูใ่ นวันเสนอราคาตามหลักเกณฑ์ที่ทาง ราชการกําหนดทังในด้ ้ านบุคลากร เครื่ องมือ โรงงาน และฐานะทางการเงินของตนต่อส่วนราชการ”
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-31
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
เนื่องจากเกณฑ์ในการขอจดทะเบียนผู้รับเหมาฯ ที่ได้ กําหนดไว้ เป็ นเกณฑ์ความต้ องการขันตํ ้ ่าดังนัน้ เพื่อความเหมาะสม และประโยชน์ของทางราชการ กรมทางหลวงจึงกํ าหนดเงื่ อนไขและสิทธิ์ ในการออก ประกาศประกวดราคา และสิทธิ์ในการประกวดราคาและเสนอราคา ของผู้ได้ รับการขึ ้นทะเบียนผู้รับเหมา ดังนี ้: 1. ในการออกประกวดราคา กรมทางหลวงขอสงวนสิทธิ์ ที่จะกํ าหนดให้ ผ้ รู ับเหมาประเภทใดก็ได้ มี สิทธิ์ประกวดราคา โดยคํานึงถึงความยากง่าย ความจําเป็ นเร่ งด่วนของงานแต่ละโครงการ ทังนี ้ ้ เพื่อประโยชน์ของทางราชการเป็ นสําคัญ 2. ในการออกประกวดราคา กรมทางหลวงขอสงวนสิทธิ์ ที่จะกํ าหนดให้ ผ้ ูเสนอราคา แสดงความ พร้ อมในด้ านต่างๆตามหลักเกณฑ์ ที่กํา หนด ทัง้ ด้ านบุคลากร เครื่ อ งมื อ โรงงาน และฐานะ ทางการเงิน ในวันเสนอราคาก็ได้ 3. กรมทางหลวงสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาคุณสมบัติประกวดราคาตามรายละเอียด ข้ อ10 และ ข้ อ 11 4. เงื่อนไขตาม (1) - (3) ผู้ขอจดทะเบียนทุกรายรับทราบและยอมรับโดยไม่มีเงื่อนไข และจะนํามา กล่าวอ้ างเพื่อเรี ยกร้ องสิทธิใดๆในภายหลังมิได้ ดังนันกรมทางหลวงได้ ้ ดําเนินการกําหนดคุณสมบัติเบื ้องต้ นขอจดทะเบียนงานบํารุ งทางโดยแบ่ง ออกเป็ น 2 คุณสมบัตคิ ือ คุณสมบัตทิ วั่ ไป และคุณสมบัตเิ ฉพาะ รายละเอียดดังนี ้ 1. คุณสมบัตทิ ่ วั ไป ผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียนงานบํารุงทางประเภทที่ 1 – 9, 10.1, 10.2 และ12-16 ต้ องเป็ นนิตบิ คุ คล เท่านัน้ แต่สําหรับการขอจดทะเบียนฯ ประเภทที่ 10.3, 10.4, 11.1 และ 11.2 จะเป็ นนิติ บุคคล หรื อบุคคลธรรมดาสัญชาติไทยก็ได้ โดยต้ องมีคณ ุ สมบัตทิ วั่ ไป ดังนี ้ 1.1 กรณีนิตบิ คุ คล 1. ผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียน ต้ องเป็ นห้ างหุ้นส่วน บริ ษัท หรื อบริ ษัทมหาชน จํากัด ที่จดทะเบียนถูกต้ องตามกฎหมาย และมีสํานักงานตังอยู ้ ใ่ นประเทศไทย 2. ในกรณีที่เป็ นห้ างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ผู้เป็ นหุ้นส่วนทังหมดต้ ้ องมีสญ ั ชาติไทย 3. ในกรณีที่เป็ นห้ างหุ้นส่วนจํากัด ผู้เป็ นหุ้นส่วนประเภทไม่จํากัดความรับผิดชอบทังหมด ้ ต้ องมีสญ ั ชาติไทย และทุนของห้ างหุ้นส่วนจํากัดนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละห้ าสิบเอ็ด ต้ องเป็ นของผู้เป็ นหุ้นส่วน ซึง่ เป็ นบุคคลธรรมดา และมีสญ ั ชาติไทย
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-32
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
4. ในกรณีที่เป็ นบริ ษัทจํากัด กรรมการบริ ษัทจํานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ต้ องมีสญ ั ชาติไทย และทุนของบริ ษัทจํากัดนันไม่ ้ น้อยกว่าร้ อยละห้ าสิบเอ็ด ต้ องเป็ นของผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็ นบุคคลธรรมดา และมี สัญชาติไทย หรื อต้ องเป็ นของห้ างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้ างหุ้นส่วนจํากัด หรื อบริ ษัทจํากัด หรื อต้ อง เป็ นของกระทรวง ทบวง กรม กรุงเทพมหานคร องค์การบริ หารส่วนจังหวัด เทศบาล เมืองพัทยา องค์การ บริหารส่วนตําบล รัฐวิสาหกิจ ตามกฎหมายว่าด้ วยวิธีการงบประมาณ หรื อองค์การของรัฐตามกฎหมายว่า ด้ วยการนันๆ ้ และบริษัทจํากัดนันต้ ้ องไม่มีข้อบังคับอนุญาตให้ มีการออกหุ้นชนิดออกให้ แก่ผ้ ถู ือหุ้น 5. ในกรณีที่เป็ นบริ ษัทมหาชนจํากัด กรรมการบริ หารบริ ษัทจํานวนไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่ง ต้ อง มีสญ ั ชาติไทย และทุนของบริ ษัทมหาชนจํากัดนัน้ ไม่น้อยกว่าร้ อยละห้ าสิบของจํานวนหุ้นที่จําหน่ายให้ ทังหมดต้ ้ องเป็ นของผู้ถือหุ้น ซึง่ เป็ นบุคคลธรรมดาและมีสญ ั ชาติไทย 6. ในกรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นบริษัทจํากัดหรื อบริษัทมหาชนจํากัด เป็ นห้ างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ห้ างหุ้นส่วนจํากัด บริ ษัทจํากัด หรื อบริ ษัทมหาชนจํากัด ผู้ถือหุ้นดังกล่าวจะต้ องมีลกั ษณะตาม (1) (2) (3) และ (4) แล้ วแต่กรณี 7. ในกรณีที่ผ้ ถู ือหุ้นเป็ นคนต่างด้ าว ต้ องไม่เป็ นคนต่างด้ าวตาม พ.ร.บ.ว่าด้ วยการประกอบ ธุรกิจของคนต่างด้ าว พ.ศ. 2542 8. ต้ องมีวตั ถุประสงค์ เพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับงานทาง 9. ไม่มีรายชื่ออยูใ่ นบัญชีผ้ ทู ิ ้งงานของทางราชการและได้ แจ้ งเวียนชื่อแล้ ว 1.2 กรณีบคุ คลธรรมดา ต้ องเป็ นบุคคลสัญชาติไทย 2. คุณสมบัตเิ ฉพาะ 2.1 กรณีบคุ คลธรรมดา ก. หลักเกณฑ์การพิจารณาฐานะการเงิ น ฐานะการเงิน ของผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียน แบ่งเป็ น 2 ส่วน คือ 1. ทุนจดทะเบียน กรณีนิติบุคคล พิจารณาจากเงินทุนจดทะเบียนที่ ชําระมูลค่าหุ้นแล้ ว ณ วันที่ยื่น คําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียน กรณีบคุ คลธรรมดาพิจารณาจากหลักฐานอย่างใดอย่างหนึ่งที่ปลอดจากภาระติด พัน เช่น บัญชีเงินฝากประจําในธนาคารหรื อสถาบันการเงินอื่น (แสดงบัญชีฝาก
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-33
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประจําย้ อนหลังอย่างน้ อย 6 เดือน, พันธบัตรรัฐบาลไทย หรื ออสังหาริ มทรัพย์ พร้ อมทังหนั ้ งสือรับรองราคาจากหน่วยงานของรัฐ ที่เกี่ยวข้ อง 2. วงเงินสินเชื่อ หรื อ เครดิตธนาคาร กรณี นิ ติ บุ ค คล พิ จ ารณาจากวงเงิ น สิ น เชื่ อ ที่ ธ นาคาร หรื อ บรรษั ท เงิ น ทุ น อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรื อบริ ษัทเงินทุน หรื อบริ ษัทเงิ นทุนหลักทรัพย์ที่ ได้ รับอนุญาตให้ ประกอบกิจ การเงิ นทุนเพื่ อการพาณิ ชย์ และประกอบธุ รกิ จคํา้ ประกันตามประกาศของธนาคารแห่ง ประเทศไทย ตามรายชื่ อบริ ษัทเงิ นทุนที่ ธนาคารแห่ง ประเทศไทย (สํ า นัก งานใหญ่ ) แจ้ ง เวี ย น ออกให้ แ ก่ ผ้ ูยื่ น ขอจด ทะเบียนนับถึงวันยื่นเอกสารไม่เกิน 90 วัน กรณีบุคคลธรรมดา พิจารณาจากหนังสือรับรองเครดิตการให้ เบิกเงินเกินบัญชี โดยไม่มีเงื่อนไข จากธนาคารภายในประเทศ ถ้ าธนาคารที่ออกหนังสือรับรองเป็ น ธนาคารสาขา ต้ องให้ ธนาคารสํานักงานใหญ่ให้ คํารับรองอีกครัง้ หนึง่ ด้ วย ข. ฐานะการเงิ นขัน้ ต่า ผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียน ต้ องมีฐานะการเงินขันตํ ้ ่า ตามตารางที่ ก-2 3. เครื่องมือเครื่องจักร ก. หลักเกณฑ์การพิจารณาเครื ่องมื อเครื ่องจักร กรมทางหลวง จะพิจารณาเครื่ องมือเครื่ องจักรของผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียน ตามเอกสารหลักฐาน ดังต่อไปนี ้ 1. รายการเครื่ องมือเครื่ องจักร ตามงบดุลปี สุดท้ าย (ภงด.5 หรื อ ภงด.50) 2. หลักฐานแสดงการเป็ นเจ้ าของกรรมสิทธิ์หรื อผู้มีสิทธิครอบครอง เช่น ใบเสร็ จรับเงิน (ต้ อง ระบุเลขประจําตัวผู้เสียภาษีและมีรายละเอียดต่าง ๆ ที่เชื่อถือได้ ) สัญญาซื ้อขายหรื อสัญญาเช่าซื ้อ 3. กรณีที่เครื่ องจักรหรื อยานพาหนะประเภทใดที่กฎหมายกํา หนดให้ มีการจดทะเบียน ต้ อง แสดงคูม่ ือทะเบียนเครื่ องจักร หรื อยานพาหนะ ที่ชําระภาษี ประจําปี เรี ยบร้ อยแล้ ว 4. เครื่ องมืออุปกรณ์ และเครื่ องจักรที่จดทะเบียน หากมีกรรมสิทธิ์ หรื อสิทธิ ครอบครองน้ อย กว่า 90 วันนับถึงวันที่ยื่นขอจดทะเบียนจะต้ องเป็ นเครื่ องมือเครื่ องจักรที่จั ดซื ้อหรื อเช่าซื ้อจากผู้ผลิตหรื อ ผู้แทนจําหน่ายโดยตรงและต้ องแสดงหลักฐานการซื ้อขายด้ วยในกรณีไม่ได้ จดั ซื ้อหรื อเช่าซื ้อจากผู้ผลิต หรื อ ผู้แทนจําหน่ายโดยตรง จะต้ องซื ้อหรื อเช่าซื ้อมาไม่น้อยกว่า 90 วันโดยต้ องจดทะเบียนเป็ นผู้ครอบครองใน ฐานะผู้เช่าซื ้อและชําระภาษีประจําปี เรี ยบร้ อยแล้ ว สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-34
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ตารางที่ ก – 2 ฐานะการเงินขันตํ ้ ่า ประเภท ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10.1 10.2 10.3 10.4 11.1 11.2 12.1 12.2 13 14.1 14.2 15 16
ลักษณะงานบารุ งทาง
งานฉาบผิวทางแบบ Chip Seal งานฉาบผิวทางแบบ Slurry Seal งานเสริ มผิวทางแบบ Cold Mixed Asphalt งานเสริ มผิวทางแบบ Hot Mixed Asphalt งานบํารุงทางแบบ Hot Mix In-Place Recycling งานบูรณะทางแบบ Pavement In-Place Recycling งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรบนผิวทาง ด้ วยวัสดุเทอร์ โมพลาสติก งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรบนผิวทาง ด้ วยสีจราจร (Traffic Paint) งานก่อสร้ างสะพานลอยคนเดินข้ าม งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 1 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 2 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 1 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 2 งานขุดขนวัสดุ หิน กรวด ทราย ลูกรัง และงานดินประเภทที่ 1 งานขุดขนวัสดุ หิน กรวด ทราย ลูกรัง และงานดินประเภทที่ 2 งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 1 งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 2 งานไฟสัญญาณจราจร งานราวกันอันตรายชัน้ 1 งานราวกันอันตรายชัน้ 2 งานป้ายจราจร งานเครื่ องหมายนําทาง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ทุนจด ทะเบียน ที่ชาระมูลค่ า หุ้น (บาท) 2,500,000 2,500,000 2,500,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 1,000,000 500,000 1,000,000 1,000,000 500,000 500,000 200,000 1,000,000 500,000 10,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 1,000,000 500,000 200,000
วงเงินสินเชื่อจาก สถาบันการเงิน (บาท) 2,500,000 2,500,000 2,500,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 1,000,000 500,000 1,000,000 1,000,000 500,000 500,000 200,000 1,000,000 500,000 10,000,000 3,000,000 1,000,000 5,000,000 1,000,000 500,000 200,000
ผ-35
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
5. ผู้ยื่นคําขอเข้ ารับการคัดเลือกจดทะเบียนต้ องแนบภาพถ่ายของเครื่ องมือเครื่ องจักร ที่ แสดงให้ เห็นลักษณะของเครื่ องมือเครื่ องจักรและหมายเลขทะเบียนชัดเจน 6. เครื่ องมือเครื่ องจักร ต้ องมีสภาพดี สามารถใช้ งานได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มีคณ ุ ลักษณะ และคุณสมบัตถิ กู ต้ อง เป็ นไปตามข้ อกําหนดในมาตรฐานทางหลวงของงานลักษณะนันๆ ้ โดยต้ องผ่านการ ตรวจสภาพจากกรมทางหลวงก่อน และกรมทางหลวงพิจารณาเห็นว่ามีประสิทธิภาพในการทํางานจริ ง ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กําหนด ข. ชนิ ดและจานวน เครื ่องมื อเครื ่องจักรที ่ตอ้ งมี ใช้งานขัน้ ต่า กรมทางหลวงจะพิจารณาชนิดและจํานวนเครื่ องมือเครื่ องจักรขันตํ ้ ่า ที่ผ้ ยู ื่นคําขอเข้ ารับการ คัดเลื อกจดทะเบียน ต้ องเป็ นเจ้ าของกรรมสิ ทธิ์ หรื อผู้มีสิ ทธิ ครอบครอง เพื่ อใช้ ใ นการทํ างานในแต่ล ะ ลักษณะงาน โดยได้ กําหนดชนิดและจํานวนเครื่ องมือเครื่ องจักรขันตํ ้ ่าแสดงไว้ ในตารางที่ ก – 3 และ ส่วนประกอบต่างๆของเครื่ องมือเครื่ องจักรแต่ละประเภท ให้ เป็ นไปตามข้ อกําหนด ตามสรุปรายละเอียด แสดงดังตารางที่ ก – 4 และต้ องผ่านการตรวจสภาพจากกรมทางหลวง ตารางที่ ก – 3 ชนิดและจํานวนเครื่ องมือเครื่ องจักรขันตํ ้ ่า ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง 1
งานฉาบผิวทางแบบ Chip Seal
2
งานฉาบผิวทางแบบ Slurry Seal งานเสริ มผิวทางแบบ Cold Mixed Asphalt
3
4
งานเสริ มผิวทางแบบ Hot Mixed Asphalt
5
งานบํารุงทางแบบ Hot Mix In-Place Recycling
เครื่องมือ เครื่องจักร 1. เครื่ องพ่นแอสฟั ลต์ (Asphalt Distributor) 2. เครื่ องโรยหิน (Aggregate Spreader) 3. เครื่ องร่อนกําจัดฝุ่ นและเคลือบหิน (Screening out and Precoating Aggregate) 1. เครื่ อง Slurry Seal Machine 1. เครื่ อง Cold Mixed Asphalt ชนิด Mix Paver Travel Plant 2. เครื่ องร่อนกําจัดฝุ่ นและล้ างหิน (Screening out Dust and Washing Aggregate) 1. โรงงานผสมแอสฟั ลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete Plant) ขนาดกําลังผลิตอย่างน้ อย 60 ตัน/ชัว่ โมง 2. เครื่ องปูแอสฟั ลต์คอนกรี ต (Paver หรื อ Finisher) 1. เครื่ องขุดตัดและผสมผิวทางเดิม (Remixer) 2. เครื่ องให้ ความร้ อนผิวทางเดิม (Preheater)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
จานวน 1 ชุด 1 ชุด 1 ชุด 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1 ชุด 1 โรงงาน 1 เครื่ อง 1 ชุด 1 ชุด ผ-36
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท เครื่องมือ เครื่องจักร
3. โรงงานผสมแอสฟั ลต์คอนกรีต (Asphalt Concrete Plant) ขนาดกําลังผลิตอย่างน้ อย 60 ตัน/ชัว่ โมง 6 งานบูรณะทางแบบ 1. เครื่ องขุดตัดผสมชันโครงสร้ ้ างทาง (Milling Machine and Pavement In-Place Remixer) พร้ อมอุปกรณ์จ่ายวัสดุผสมเพิ่ม(ซีเมนต์นํ ้า) Recycling 2. รถบดล้ อเหล็กสัน่ สะเทือน ขนาดไม่น้อยกว่า 17.5 ตัน (Operating Weight) 7 งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรฯ 1. เครื่ องตีเส้ นสีเทอร์ โมพร้ อมอุปกรณ์ ด้ วยวัสดุเทอร์ โมพลาสติก 2. หม้ อต้ มกวนวัสดุเทอร์ โมพลาสติกหลักแบบไม่เป็ นชนิดให้ (Thermoplastic) ความร้ อนโดยตรง 3. เครื่ องลบเครื่ องหมายจราจรบนผิวทาง 4. เครื่ องวัดแฟกเตอร์ การสะท้ อนแสงในเวลากลางวัน (Reflectometer)* 5. เครื่ องวัดการสะท้ อนแสงในเวลากลางคืน (Retroreflectometer)* 6. รถบรรทุกหม้ อต้ มกวนวัสดุเทอร์ โมพลาสติก 7. เครื่ องฉีดนํ ้ายาหรื อกาว 8 งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรฯ 1. รถติดตังเครื ้ ่ องตีเส้ นจราจรแบบขับเคลือ่ นด้ วยตัวเอง พร้ อม ด้ วยสีจราจร (Traffic Paint) ติดตังเครื ้ ่ องมือและอุปกรณ์ตีเส้ นจราจรอัตโนมัติ 2. เครื่ องตีเส้ นจราจรพร้ อมอุปกรณ์ 3. ถังบรรจุสี ต้ องมีเครื่ องกวนอัตโนมัติ 4. เครื่ องลบเครื่ องหมายจราจรบนผิวทาง 5. เครื่ องวัดแฟกเตอร์ การสะท้ อนแสงในเวลากลางวัน (Reflectometer)* 6. เครื่ องวัดการสะท้ อนแสงในเวลากลางคืน (Retroreflectometer)* 9 งานก่อสร้ างสะพานลอยคน 1. เครื่ องผสมคอนกรี ต เดินข้ าม 2. รถยนต์บรรทุก ขนาดไม่น้อยกว่า 1 ตัน 3. เครื่ องเขย่าคอนกรี ต 10.1 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 1 1. เตาต้ มยางพร้ อม Hand Spray หรื อรถลาดยาง 2. เครื่ องผสมคอนกรี ต 3. เครื่ องอัดลม พร้ อมอุปกรณ์ขดุ เจาะ หรื อเครื่ องตัดผิวทาง 4. รถบรรทุกกระบะ หรื อรถกระบะเท
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
จานวน 1 โรงงาน 1 ชุด 1 คัน 1 ชุด 2 ชุด 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1เครื่ อง 1 คัน 1 เครื่ อง
1 คัน 1 เครื่ อง 2 ชุด 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง
1 เครื่ อง 1 คัน 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง/คัน 1 เครื่ อง 1 เครื่ อง 2 คัน
ผ-37
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท เครื่องมือ เครื่องจักร
(ชนิดใดชนิดหนึง่ หรื อทังสองชนิ ้ ดรวมกัน) 5. รถบดล้ อเหล็กสัน่ สะเทือนขับเคลือ่ นเอง หรื อรถบดล้ อยาง ขับเคลือ่ นเอง 10.2 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 2 เหมือนที่กําหนดในประเภทที่ 10.1 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 1 10.3 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 1 1. รถติดเครื่ องตัดหญ้ า หรื อ เครื่ องตัดหญ้ าแบบคนเข็น หรื อ แบบสะพาย (ชนิดใดชนิดหนึง่ หรื อทังสองชนิ ้ ดรวมกัน) หรื อ รถกระเช้ าไฟฟ้ า หรื อ รถยก 2. รถบรรทุก ไม่ตํ่ากว่าปิ กอัพ 10.4 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 2 1. รถติดเครื่ องตัดหญ้ า หรื อ เครื่ องตัดหญ้ าแบบคนเข็น หรื อ แบบสะพาย (ชนิดใดชนิดหนึง่ หรื อทังสองชนิ ้ ดรวมกัน) 2. รถบรรทุก ไม่ตํ่ากว่าปิ กอัพ 11.1 งานขุดขนวัสดุฯ ประเภทที่ 1 1. รถยนต์บรรทุกขนาด Wheel Base ไม่ตํ่ากว่า 150 นิ ้ว หรื อ 2. รถยนต์บรรทุกขนาด Wheel Base ไม่ตํ่ากว่า 150 นิ ้ว และรถตัก หรื อรถขุด (Loader หรื อ Back Hoe) ซึง่ มีบ้ งุ กี๋ ขนาดจุได้ ไม่น้อยกว่า ¾ ลูกบาศก์หลา หรื อ 3. รถยนต์บรรทุกขนาด Wheel Base ไม่ตํ่ากว่า 150 นิ ้ว และรถแทรกเตอร์ ขนาดตังแต่ ้ 75 แรงม้ าขึ ้นไป 11.2 งานขุดขนวัสดุฯ ประเภทที่ 2 1. รถยนต์บรรทุกขนาด Wheel Base ไม่ตํ่ากว่า 150 นิ ้ว 12.1 งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 1 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครนแบบมีกระเช้ าไฟฟ้ าหรื อ รถ กระเช้ าไฟฟ้ า 2. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครนแบบมีกระเช้ า 3. รถบรรทุกปิ กอัพไม่น้อยกว่า 1 ตัน 4. เครื่ องวัดค่าความเข้ มส่องสว่าง 5. โรงงานผลิตเสาไฟฟ้ าหรื อโรงงานผลิตโคมไฟฟ้ า ที่ได้ รับการรับรองคุณภาพ ISO 9001 หรื อ ที่ดีกว่า และ ผลิตภัณฑ์เสาไฟฟ้ าหรื อโคมไฟต้ องได้ รับมาตรฐาน อุตสาหกรรม 12.2 งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 2 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครนแบบมีกระเช้ า 2. รถบรรทุกปิ กอัพไม่น้อยกว่า 1 ตัน 3. เครื่ องวัดค่าความเข้ มส่องสว่าง 13 งานไฟสัญญาณจราจร 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครนแบบมีกระเช้ า
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
จานวน 1 คัน
1 คัน หรื อ 20 เครื่ อง หรื อ 1 คัน 1 คัน 1 คัน หรื อ 20 เครื่ อง 1 คัน 6 คัน 3 คัน 1 คัน 3 คัน 1 คัน 3 คัน 1 คัน 3 คัน 4 คัน 1 เครื่ อง 1 โรงงาน
2 คัน 2 คัน 1 เครื่ อง 1 คัน
ผ-38
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง
เครื่องมือ เครื่องจักร
จานวน
14.1 งานราวกันอันตรายชัน้ 1
1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน 2 คัน 2. โรงงานผลิตการ์ ดเรลที่ได้ รับรองคุณภาพ ISO 9001 หรื อ 1 โรงงาน ที่ดีกว่าและผลิตภัณฑ์การ์ ดเรลต้ องได้ รับมาตรฐาน อุตสาหกรรม 14.2 งานราวกันอันตรายชัน้ 2 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน 1 คัน 15 งานป้ายจราจร 1. รถบรรทุกปิ กอัพ 1 คัน 16 งานเครื่ องหมายนําทาง 1. รถบรรทุกปิ กอัพ 1 คัน 2. เครื่ องเจาะ 3 เครื่ อง 3. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า ขนาดกําลังผลิตไฟฟ้ า 50 kva ขึ ้นไป 1 เครื่ อง หมายเหตุ : * อาจเป็ นเครื ่ อ งมื อ อุป กรณ์ ที่ ร วมอยู่ เ ป็ นชุ ด เดี ย วกัน ซึ่ ง สามารถด าเนิ น การวัด การสะท้ อ นแสง ได้ทงั้ 2 แบบ (วัดแฟกเตอร์ การสะท้อนในเวลากลางวันและวัดการสะท้อนในเวลากลางคืน)
ตารางที่ ก – 4 สรุปรายละเอียดรายการเครื่ องมือเครื่ องจักรขันตํ ้ ่า ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง 1 งานฉาบผิวทางแบบ Chip Seal ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 406/2531
1. เครื่ อ งพ่นแอสฟั ลต์ (Asphalt Distributor) ต้ อง เป็ นชนิ ด เคลื่ อ นที่ ไ ด้ ด้ วย ตัว เอง มี ถัง บรรจุแ อสฟั ล ต์ ติ ด ตัง้ บนรถบรรทุ ก หรื อ รถ เทรลเลอร์
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น 1. ไม้ วดั (Dipstick)หรื อเครื่ องวัดปริ มาณแอสฟั ลต์ 2. หัวเผาให้ ความร้ อนแอสฟั ลต์ (Burner) 3. เทอร์ โมมิเตอร์ วดั อุณหภูมิแอสฟั ลต์ (Thermometer) 4. ปั๊ มแอสฟั ลต์ (Asphalt Pump) 5. เครื่ องต้ นกําลังหรื อเครื่ องท้ าย (Power Unit) 6. ท่อพ่นแอสฟั ลต์ (Spray Bar) พร้ อมหัวฉีด (Nozzle) 7. ท่อพ่นแอสฟั ลต์แบบมือถือ (Hand Spray) 8. อุปกรณ์วดั ปริ มาณการพ่นแอสฟั ลต์ (Bitumeter) 9. ถังบรรจุแอสฟั ลต์บนรถ (Asphalt Tank)
2 . เ ค รื่ อ ง โ ร ย หิ น 1. เครื่ องยนต์ขบั เคลือ่ น สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-39
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
(Aggregate Spreader) 2. กระบะบรรจุหิน ต้ องเป็ นแบบขับเคลื่อนด้ วย 3. สายพานลําเลียงหิน ตัวเอง 4. เครื่ องขับเคลือ่ นสายพานลําเลียงหิน 5 ยุ้งโรยหิน (Spread Hopper) 3. เครื่ องร่ อนกําจัดฝุ่ นและ 1. อุปกรณ์สาํ หรับป้อนหิน เคลือบหิน (Screening out 2. ตะแกรงสําหรับร่ อนหินที่สามารถคัดขนาดหินที่ใหญ่ Dust and Precoating หรื อเล็กเกินต้ องการและฝุ่ นออกได้ Aggregate) 3. หัวฉีดสําหรับพ่นสารที่ใช้ เคลือบผิวหิน 4. ถังกวนให้ หินย่อยคลุกเคล้ ากับสารเคลือบผิวหินทัว่ ถึง 5. สายพานลําเลียงหินและอุปกรณ์อื่นๆที่จําเป็ น 2 งานฉาบผิวทางแบบ Slurry Seal ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 405/2531
3 งานเสริมผิวทางแบบ Cold Mixed Asphalt ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 407/2531
4 งานเสริมผิวทางแบบ Hot Mixed Asphalt
1. เครื่ องจักร Slurry Seal Machine ต้ อ ง เ ป็ น ช นิ ด เคลือ่ นที่ได้ ด้วยตัวเอง ติดตัง้ บนรถบรรทุก
1. ถังใส่มวลรวม (Aggregate bin) 2. ถังใส่วสั ดุผสมแทรก (Filler bin) 3. ถังใส่นํ ้าและยางแอสฟั ลต์อิมลั ชัน 4. ถังใส่สารผสมเพิ่ม 5. สายพานลําเลียงมวลรวม และสารผสมแทรกไปยัง เครื่ องผสม 6. เครื่ องปั๊ มแอสฟั ลต์อิมลั ชันและนํ ้า 7. เครื่ องผสม 8. เครื่ องฉาบ
2. เครื่ องผสม 3. เครื่ องฉาบ (Spreader) 1. เครื่ องจักรต้ องเป็ นชนิด 1. Hopper สําหรับรับหินที่เทลงมาจากรถ Dump Mix-Paver Travel Plant 2. สายพานลําเลียง (Conveyer) 3. ถังผสม (Mixer) 2. เครื่ องร่ อนกําจัดฝุ่ นและ 1. อุปกรณ์สาํ หรับป้อนหิน ล้ า งหิ น (Screening out 2. ตะแกรงสําหรับร่ อนหินที่สามารถคัดขนาดหินที่ใหญ่ Dust and Washing หรื อเล็กเกินต้ องการและฝุ่ นออกได้ Aggregate) 3. หัวฉีดสําหรับล้ างทําความสะอาดหิน 4. สายพานลําเลียงหินและอุปกรณ์อื่นๆที่จําเป็ น 1. โรงงานผสมแอสฟั ล ต์ 1. อุปกรณ์สําหรับการเตรี ยมแอสฟั ลต์ (Equipment for ค อ น ก รี ต ( Asphalt Preparation of Asphalt)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-40
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 408/2532
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
Concrete Mixing Plant) ต้ องมี ส ภาพใช้ งานได้ ดี มี กําลังการผลิตไม่น้อยกว่า 60 ตัน ต่อชัว่ โมง
2.
เครื่ อ งปู (Paver
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
2. ยุ้งหิน (Cold Bin) 3. หม้ อเผา (Dryer) 4. ชุดตะแกรงร่อน (Screening Unit) 5. ยุ้งหินร้ อน (Hot Bin) 6. ยุ้งเก็บวัสดุผสมแทรก (Mineral Filler Storage Bin) 7. เครื่ องเก็บฝุ่ น (Dust Collector) 8. เครื่ องวัดอุณหภูมิ (Thermometric Equipment) 9. ชุ ด อุป กรณ์ ค วบคุม ปริ ม าณแอสฟั ล ต์ (Asphalt Control Unit) 10. ข้ อกําหนดพิเศษสําหรับโรงงานผสมแบบชุด ถังชัง่ มวลรวม (Weight Box or Hooper) ห้ องผสม (Pug mill Mixer) เครื่ องชัง่ (Plant Scale) การควบคุมปริ มาณมวลรวม และแอสฟั ลต์ ที่ใ ช้ ผสมในแต่ละชุด ต้ องเป็ น แบบอัตโนมัติ 11. ข้ อกําหนดพิเศษสําหรับโรงงานผสมแบบต่อเนื่อง ชุดอุปกรณ์ ค วบคุมมวลรวม (Gradation Control Unit) จั ง ห ว ะ สั ม พั น ธ์ ข อ ง ก า ร ควบคุ ม การป้ อนมวลรวมและแอสฟั ลต์ (Synchronization of Aggregate and Asphalt Feed) ชุดห้ องผสม (Fug mill Mixer Unit) ยุ้งพักส่วนผสม (Discharge Hopper) สัญ ญาณแจ้ ง ปริ ม าณในยุ้ง หินร้ อน or 1. ส่วนขับเคลือ่ น (Tractor Unit) ผ-41
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง 5 งานเสริมผิวทางแบบ Hot Mixed In – place Recycling ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 410/2542
6 งานบูรณะทางแบบ Pavement In – place Recycling ปฏิบตั ิตามมาตรฐานที่ ทล.-ม 213/2543
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
Finisher) 2. ส่วนเตารี ด (Automatic Screed Controls) 1. เครื่ องจักรแบบ Central 1. เครื่ องจักรรื อ้ ผิวทางเดิม อาจจะใช้ แบบใดแบบหนึ่ง Plant recycling ดังต่อไปนี ้ เครื่ องจักรรื อ้ ผิวทางเดิมโดย ใช้ วิธีคราด (Ripping) เครื่ องจักรตัดผิวทางแบบตัด ร้ อน (Heater Planer) เครื่ องตัดผิวทางแบบตัดเย็บ (Cold Planer) 2. Batch Plant ที่ออกแบบหรื อปรับปรุงสําหรับผสมวัสดุ Recycling โดยเฉพาะ 3. Drum-Mix Plant ที่ออกแบบสําหรั บผสมวัสดุ Recycling โดยเฉพาะ 2. เครื่ องจักรแบบ In-Place 1. เครื่ อง Preheater แบบ Gas-Fired หรื อInfra-Red recycling Heater สําหรับให้ ความร้ อนผิวทางเดิมจนได้ อุณหภูมิ ประมาณ 110-130 องศาเซลเซียส 2. เครื่ อง Remixer 3. โรงงานผสมแอสฟั ลต์คอนกรี ต ตามมาตรฐานที่ ทล.ม. 408/2532 1. ชุดเครื่ องจักรผสมวัสดุใน 1. เพลาขุดตัด (Milling Drum) สามารถทําการขุดตัดได้ ที่ ความลึกไม่น้อยกว่า 200 มิลลิเมตร 2. ระบบการผสมวัสดุผสมเพิ่ม ต้ องสามารถผสมวัสดุ ผสมเพิ่ม เช่น ซีเมนต์ แอสฟั ลต์ หรื อวัสดุผสมอื่นใดเข้ าสู่ การผสมอั ต ราส่ ว นที่ กํ า หนดได้ พร้ อมๆกั น โดยมี Microprocessor ควบคุมการทํางานในการจ่ายวัสดุ อย่างมีระบบ สามารถควบคุมอัตราการจ่ายวัสดุตาม อัตราส่วนที่ต้องการได้ อย่างถูกต้ อง 3. เครื่ องปูและรี ด (Paver and Screed Unit) ต้ อง สามารถปูและรี ดแบบสัน่ สะเทือนให้ ได้ ระดับ และความ ลาดชันตามแบบหรื อที่กําหนด 2. รถบดล้ อเหล็กสัน่ สะเทือน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-42
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
ขนาดไม่น้อยกว่า 17.5 ตัน (Operating Weight ตาม Spec.เครื่ องจักร) 7 งานจัดทาเครื่องหมาย 1. รถบรรทุกติดตังหม้ ้ อต้ ม จราจรบนผิวทาง ด้ วย กวนวัส ดุ เ ทอร์ โ มพลาสติ ก วัสดุเทอร์ โมพลาสติก ขนาด 6 ล้ อ หรื อ 10 ล้ อ ปฏิบตั ิตามรายการ 2. เครื่ องตีเส้ นจราจรพร้ อม ละเอียดและข้ อ อุปกรณ์ กําหนดการจัดทํา 3. หม้ อต้ มกวนวัสดุเทอร์ โม เครื่ องหมายจราจรบนผิว พลาสติ ก หลัก แบบไม่ เ ป็ น ทาง (การตีเส้ น ลูกศร ชนิดให้ ความร้ อนโดยตรง ขีดเขียนข้ อความ) 4. เครื่ องจักรกลสําหรับลบ Specifications for เครื่ อ งหมายจราจรบนผิ ว Road Marking ฉบับ ทาง เดือนตุลาคม 2545 5. เครื่ องฉีดนํา้ ยาหรื อกาว แบบอั ด ลมด้ วยมื อ หรื อ ใช้ เครื่ องยนต์ 6. เครื่ องวัดแฟกเตอร์ การ สะท้ อนแสงเครื่ องหมาย จราจรบนผิ ว ทางในเวลา กลางวัน (Reflectometer) 7. เครื่ องวัดการสะท้ อนแสง เครื่ อ งหมายจราจรบนผิ ว ท า ง ใ น เ ว ล า ก ล า ง คื น (Retroreflectometer)
8 งานจัดทาเครื่องหมาย 1. รถตี เ ส้ นจราจรแบบ จราจรบนผิวทาง ด้ วย ขับเคลื่อนด้ วยตัวเอง ติดตัง้ สีจราจร (Traffic Paint) เครื่ องมือและอุปกรณ์ ตีเส้ น สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-43
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง ปฏิบตั ิตามรายการ ละเอียดและข้ อ กําหนดการจัดทํา เครื่ องหมายจราจรบนผิว ทาง (การตีเส้ น ลูกศร ขีดเขียนข้ อความ) Specifications for Road Marking ฉบับ เดือนตุลาคม 2545
12 งานไฟฟ้าแสงสว่ าง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
จ ร า จ ร แ บ บ อั ต โ น มั ติ (สามารถปรับตังระยะการตี ้ เส้ นจราจรได้ ) 2. เครื่ องตีเส้ นจราจรพร้ อม อุปกรณ์ 3. ถัง บรรจุสี ต้ องมีเครื่ อ ง กวนอัตโนมัติ 4. เครื่ องจักรกลสําหรับลบ เครื่ อ งหมายจราจรบนผิ ว ทาง 5. เครื่ องวัดแฟกเตอร์ การ สะท้ อนแสงเครื่ องหมาย จราจรบนผิ ว ทางในเวลา กลางวัน (Reflectometer) 6. เครื่ องวัดการสะท้ อนแสง เครื่ อ งหมายจราจรบนผิ ว ท า ง ใ น เ ว ล า ก ล า ง คื น (Retroreflectometer) 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน 1. เป็ นยานพาหนะที่ใช้ ในการซ่อมบํารุ งระบบไฟฟ้ า แบบมี ก ระเช้ า ไฟฟ้ าหรื อ รถ ติดตังเสาไฟฟ้ ้ า สามารถใช้ ยกของขึ ้นลงจากรถโดยชุด กระเช้ าไฟฟ้ า กระเช้ าติดตังอยู ้ บ่ นคัซซีส์ 2. ตัวกระเช้ าสามารถกันกระแสไฟฟ้ าแรงสูงได้ โดย ปลอดภัยในรัศมีการทํางาน 3. มีขาคํ ้ายันสองคู่ หน้ าและหลัง ทํางานด้ วยระบบไฮ ดรอลิค โดยมีชุดควบคุมการทํ างานของขาคํ า้ ยัน ตาม มาตรฐานผู้ผลิต 4. ติ ด ตั ง้ อุ ป กรณ์ นิ ร ภั ย สํ า หรั บ ล็ อ คอุ ป กรณ์ ต่าง ๆ ที่ใช้ ไฮดรอลิค ให้ อยู่ในตําแหน่งคงที่ ในกรณีเกิด การขัดข้ องหรื อเสียหายเกี่ยวกับระบบไฮดรอลิค 5. ชุดควบคุมการทํางานของกระเช้ ามีสองชุด คือ อยู่ที่ Platform และกระเช้ า
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-44
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
6. มีแท่นรองรั บและที่ยึดเก็ บคันบูมอย่างมั่นคงขณะ เดินทาง ส่วนที่สงู ที่สดุ ของชุดคันบูมและ กระเช้ าจะสูง จากพื ้นดินไม่เกิน 3.5 เมตร 7. สามารถยกกระเช้ าได้ สงู สุดจากพื ้นผิวถนนที่รถจอด ทํ า ง า น ถึ ง ก้ น ก ร ะ เ ช้ า ไ ด้ ไ ม่ ตํ่ า ก ว่ า 9 เมตร 8. ผลิตภัณฑ์และส่วนประกอบถูกต้ องครบถ้ ว น เป็ นไป ตาม พ.ร.บ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 2. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน 1. เป็ นรถบรรทุก 6 ล้ อใช้ ในการซ่อมบํารุ งระบบไฟฟ้ า แบบมีกระเช้ า ติดตังเสาไฟฟ้ ้ า สามารถใช้ ยกของขึ ้นลงจากรถโดยชุด กระเช้ าติดตังอยู ้ บ่ นคัซซีส์ 2. ตัวกระเช้ าสามารถกันกระแสไฟฟ้ าแรงสูงได้ โดย ปลอดภัยในรัศมีการทํางาน 3. มีขาคํ ้ายันไม่น้อยกว่า 1 คู่ ทํางานด้ วยระบบไฮดรอ ลิ ค โดยมี ชุ ด ควบคุ ม การทํ า งานของขาคํ า้ ยั น ตาม มาตรฐานผู้ผลิต 4. ติดตัง้ อุปกรณ์ นิรภัย สําหรั บล็อคอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ ใช้ ไฮดรอลิ ค ให้ อ ยู่ใ นตํ า แหน่ ง คงที่ ในกรณี เ กิ ด การ ขัดข้ องหรื อเสียหายเกี่ยวกับระบบไฮดรอลิค 5. ชุดควบคุมการทํางานของกระเช้ ามีอย่างน้ อย 1 ชุด ที่ Platform 6. มีแท่นรองรั บและที่ยึดเก็ บคันบูมอย่างมั่นคงขณะ เดินทาง ส่วนที่สงู ที่สดุ ของชุดคันบูมและ กระเช้ าจะสูง จากพื ้นดินไม่เกิน 3.5 เมตร 7. สามารถยกกระเช้ าได้ สงู สุดจากพื ้นผิวถนนที่รถจอด ทํ า ง า น ถึ ง ป า ก ก ร ะ เ ช้ า ไ ด้ ไ ม่ ตํ่ า ก ว่ า 9 เมตร 8. ผลิตภัณฑ์และส่วนประกอบถูกต้ องครบถ้ วน เป็ นไป ตาม พ.ร.บ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 3. รถบรรทุกปิ กอัพ ขนาดไม่ เป็ นยานพาหนะที่ ก ฎหมายกํ า หนดให้ เ ป็ นรถบรรทุก น้ อยกว่า 1 ตัน ปิ กอัพโดยมีนํ ้าหนักบรรทุกที่ระบุในใบคู่มือจดทะเบียน ไม่น้อยกว่า 1,000 กิโลกรัม สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-45
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
4. เครื่ องวัดค่าความเข้ มส่อง สว่าง 5. โรงงานผลิต เสาไฟฟ้ า หรื อโรงงานผลิตโคมไฟฟ้ า
เป็ นอุป กรณ์ ที่ ผลิต ขึน้ เพื่ อ ใช้ ใ นการวัด ความเข้ ม ส่อ ง สว่างของไฟฟ้าแสงสว่าง เป็ นโรงงานที่ได้ รับการอนุญาตให้ ประกอบกิจการตาม กฎหมายและได้ รับการรับรองจากสํานักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม 13 งานไฟสัญญาณจราจร 1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน 1. เป็ นรถบรรทุก 6 ล้ อ ใช้ ในการซ่ อ มบํ า รุ ง ระบบ แบบมีกระเช้ า ไฟสั ญ ญาณจราจร ติ ด ตั ง้ เสาไฟสั ญ ญาณจราจร สามารถใช้ ยกของขึ ้นลงจากรถโดยชุดกระเช้ าติดตังอยู ้ ่ บนคัซซีส์ 2. ตัวกระเช้ าสามารถกันกระแสไฟฟ้ าแรงสูงได้ โดย ปลอดภัยในรัศมีการทํางาน 3. มีขาคํ ้ายันไม่น้อยกว่า 1 คู่ ทํางานด้ วยระบบไฮดรอ ลิ ค โดยมี ชุ ด ควบคุ ม การทํ า งานของขาคํ า้ ยั น ตาม มาตรฐานผู้ผลิต 4. ติดตัง้ อุปกรณ์ นิรภัย สําหรั บล็อคอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ ใช้ ไฮดรอลิ ค ให้ อ ยู่ใ นตํ า แหน่ ง คงที่ ในกรณี เ กิ ด การ ขัดข้ องหรื อเสียหายเกี่ยวกับระบบไฮดรอลิค 5. ชุดควบคุมการทํางานของกระเช้ ามีอย่างน้ อย 1 ชุด ที่ Platform 6. มีแท่นรองรั บและที่ยึดเก็ บคันบูมอย่างมั่นคงขณะ เดินทาง ส่วนที่สงู ที่สดุ ของชุดคันบูมและ กระเช้ าจะสูง จากพื ้นดินไม่เกิน 3.5 เมตร สามารถยกกระเช้ า ได้ สูง สุด จากพื น้ ผิ ว ถนนที่ ร ถจอด ทํางานถึงปากกระเช้ าได้ ไม่ตํ่ากว่า 9 เมตร 7. ผลิตภัณฑ์และส่วนประกอบถูกต้ องครบถ้ วน เป็ นไป ตาม พ.ร.บ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง
14 ราวกันอันตราย
1. รถบรรทุก 6 ล้ อติดเครน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
1. เป็ นรถบรรทุก 6 ล้ อใช้ ในการติดตังและซ่ ้ อมบํารุ งราว กันอันตราย สามารถใช้ ยกของขึ ้นลงจากรถโดยอุปกรณ์ การยกติดตังอยู ้ ่บนคัซซีส์ 2. มีขาคํ ้ายันไม่น้อยกว่า 1 คู่ ทํางานด้ วยระบบไฮดรอ ผ-46
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง
15 งานป้ายจราจร 16 งานเครื่องหมายนา ทาง
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น
ลิ ค โดยมี ชุ ด ควบคุ ม การทํ า งานของขาคํ า้ ยั น ตาม มาตรฐานผู้ผลิต 3. ติดตัง้ อุปกรณ์ นิรภัย สําหรั บล็อคอุปกรณ์ ต่าง ๆ ที่ ใช้ ไฮดรอลิ ค ให้ อ ยู่ใ นตํ า แหน่ง คงที่ ในกรณี เ กิ ด การ ขัดข้ องหรื อเสียหายเกี่ยวกับระบบไฮดรอลิค 4. ชุดควบคุมการทํางานของอุปกรณ์การยกมีอย่างน้ อย 1 ชุด ที่ Platform 5. มีแท่นรองรั บและที่ยึดเก็ บคันบูมอย่างมั่นคงขณะ เดินทาง ส่วนที่สงู ที่สดุ ของชุดคันบูมและ กระเช้ าจะสูง จากพื ้นดินไม่เกิน 3.5 เมตร 6. ผลิตภัณฑ์และส่วนประกอบถูกต้ องครบถ้ วน เป็ นไป ตาม พ.ร.บ. และกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง 2. โรงงานผลิตการ์ ดเรล เป็ นโรงงานที่ได้ รับการอนุญาตให้ ประกอบกิจการตาม กฎหมายและได้ รับการรับรองจากสํานักงานมาตรฐาน อุตสาหกรรม รถบรรทุกปิ กอัพ เป็ นยานพาหนะที่ ก ฎหมายกํ า หนดให้ เ ป็ นรถบรรทุก ปิ กอัพ 1. รถบรรทุกปิ กอัพ ขนาดไม่ เป็ นยานพาหนะที่ ก ฎหมายกํ า หนดให้ เ ป็ นรถบรรทุก น้ อยกว่า 1 ตัน ปิ กอัพ 2. เครื่ องเจาะ 1. เป็ นเครื่ อ งเจาะที่ ผลิ ต ขึ น้ เพื่ อ ใช้ ในการเจาะฝั ง เครื่ อ งหมายนํ าทางตามมาตรฐาน ทํา งานด้ วยระบบ ไฟฟ้ า หรื อ ระบบลม หรื อ ระบบไฮดรอลิ ก หรื อ เครื่ องยนต์ต้นกําลัง 2. ในกรณีทํางานด้ วยระบบไฟฟ้ าจะต้ องมีมอเตอร์ ขนาด ไม่น้อยกว่า 1,000 W 3. ในกรณีทํางานด้ วยระบบลมหรื อไฮดรอลิกจะต้ องมี อัตราการไหลไม่น้อยกว่า 15 CFM 4. ในกรณีทํางานด้ วยเครื่ องยนต์ต้นกําลังจะต้ องมีกําลัง เครื่ องยนต์ไม่น้อยกว่า 3.5 HP 5. ทังนี ้ ้ สามารถมีเครื่ องเจาะอย่างใดอย่างหนึ่งรวมกั น จํานวน 3 เครื่ อง หรื อ มีเครื่ องเจาะทุกประเภทรวมกัน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-47
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ ง เครื่องมือ เครื่องจักรหลัก ทาง 3. เครื่ องกําเนิดไฟฟ้ า
อุปกรณ์ ท่ จี าเป็ น จํานวน 3 เครื่ อง เป็ นเครื่ อ งกํ า เนิ ด ไฟฟ้ าที่ ใ ช้ เ ครื่ อ งยนต์ เ ป็ นต้ น กํ า ลัง สามารถผลิตกระแสไฟฟ้ าได้ ไม่น้อยกว่า 50KVA
4. บุคลากร ก. หลักเกณฑ์การพิจารณา กรมทางหลวง จะพิจ ารณาคุณสมบัติด้านบุค ลากรของผู้ยื่นคําขอเข้ ารั บการคัดเลื อกจด ทะเบียน จากบุคลากรที่ปฏิบตั งิ านประจํา พร้ อมแสดงหลักฐาน ต่อไปนี ้ 1. หลักฐานการว่าจ้ าง 2. หลักฐานการรับ-จ่ายเงินเดือน อย่างน้ อย 6 เดือน นับจากวันยื่นขอจดทะเบียน 3. หลักฐานการชําระภาษีเงินได้ อย่างน้ อย 6 เดือน นับจากวันยื่นขอจดทะเบียน 4. ใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม สาขาวิศวกรรมโยธา 5. หลัก ฐานการรั บ รองคุณ วุฒิ ก ารศึก ษา เช่ น ปริ ญ ญาบัต ร ประกาศนี ย บัต ร ระเบี ย น แสดงผลการเรี ยน (Transcript) ยกเว้ นผู้ที่มีใบอนุญาตเป็ นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ข. จานวนบุคลากรประจาขัน้ ต่า ผู้ยื่นคําขอเข้ ารั บการคัดเลือกจดทะเบียน ต้ องมีบุคลากรที่ปฏิบตั ิงานประจําซึ่งมีคณ ุ สมบัติ และจํานวนขันตํ ้ ่า แยกตามประเภทของงานบํารุงทาง ตามที่กําหนดไว้ ในตารางที่ ก – 5 ดังต่อไปนี ้ ตารางที่ ก – 5 บุคลากรประจําขันตํ ้ ่า ประเภท ที่ 1 2 3 4 5 6
ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง งานฉาบผิวทางแบบ Chip Seal งานฉาบผิวทางแบบ Slurry Seal งานเสริ มผิวทางแบบ Cold Mixed Asphalt งานเสริ มผิวทางแบบ Hot Mixed Asphalt งานบํารุงทางแบบ Hot Mix In-Place Recycling งานบูรณะทางแบบ Pavement In-Place Recycling
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
คุณสมบัตขิ องบุคลากรประจา วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.) วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.) วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.) วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.) วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.) วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกร (ภย.)
จานวน 1 1 1 1 1 1
ผ-48
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report) ประเภท ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง ที่ 7 งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรฯ ด้ วยวัสดุเทอร์ โมพลาสติก 8 งานจัดทําเครื่ องหมายจราจรฯด้ วยสีจราจร (Traffic Paint) 9 งานก่อสร้ างสะพานลอยคนเดินข้ าม 10.1 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 1 10.2 งานบํารุงปกติ ประเภท ก. ชัน้ 2 10.3 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 1 10.4 งานบํารุงปกติ ประเภท ข. ชัน้ 2 11.1 งานขุดขนวัสดุ ฯประเภทที่ 1 11.2 งานขุดขนวัสดุ ฯ ประเภทที่ 2 12.1 งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 1
12.2
งานไฟฟ้ าแสงสว่างชัน้ 2
13
งานไฟสัญญาณจราจร
14.1 14.2 15
งานราวกันอันตรายชัน้ 1 งานราวกันอันตรายชัน้ 2 งานป้ายจราจร
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
คุณสมบัตขิ องบุคลากรประจา
จานวน
วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกรพิเศษตาม 2 (13)* วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกรพิเศษตาม 2 (13)* วิศวกรโยธา ระดับสามัญวิศวกร (สย.)** วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกรพิเศษตาม 2 (13)* วิศวกรโยธา ระดับภาคีวศิ วกรพิเศษตาม 2 (13)* ไม่กําหนด ไม่กําหนด ไม่กําหนด ไม่กําหนด 1. วิศวกรไฟฟ้ า ระดับ สามัญวิศวกร (สฟก.)** 2. วิศวกรโยธา ระดับสามัญวิศวกร (สย.)** 3. วิศวกรไฟฟ้ า ระดับภาคีวิศวกร (ภฟก.)** 4. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ งสาขา ช่าง ไฟฟ้ า 1. วิศวกรไฟฟ้ า ระดับ สามัญวิศวกร (สฟก.)** 2. วิศวกรโยธา ระดับสามัญวิศวกร (สย.)** 3. วิศวกรไฟฟ้ า ระดับภาคีวิศวกร (ภฟก.)** 4. ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ ง สาขา ช่าง ไฟฟ้ า 1. วิศวกรไฟฟ้ า ระดับ สามัญวิศวกร (สฟก.)** 2. วิศวกรโยธา ระดับภาคีวิศวกรพิเศษ ตาม 2 (13)*
1
วิศวกรโยธา ระดับ ภาคีวิศวกร (ภย.)** วิศวกรโยธา ระดับ ภาคีวิศวกร(ภย.)** วิศวกรโยธา ระดับ ภาคีวิศวกรพิเศษตาม 2 (13)*
1 1 1
1 1 1 1 2 1 2 2
1 1 1 2
1 1
ผ-49
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ประเภท ประเภทผู้รับเหมางานบารุ งทาง คุณสมบัตขิ องบุคลากรประจา จานวน ที่ 16 งานเครื่ องหมายนําทาง ประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสู ้ ง สาขา ก่อสร้ าง 1 หมายเหตุ: * จากกฎกระทรวง ออกตามความในพระราชบัญญัติวิชาชีพวิ ศวกรรม พ.ศ. 2505 ตาม 2 (13) หมายถึง งาน ควบคุมการก่ อสร้าง ในสาขาวิ ศวกรรมโยธา ประเภท (13) ทางประเภท ทางหลวงแผ่นดิ น ทางหลวง จังหวัด ทางหลวงเทศบาล และทางหลวงสัมปทาน ตามกฎหมายทางหลวง ** เป็ นไปตาม พระราชบัญญัติวิศวกร พ.ศ. 2542
ในกรณีการตัดสิทธิ์ในการเข้ าเสนอราคา และประกวดราคา ให้ เป็ นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ คัดเลือกผู้มีคณ ุ สมบัติเบื ้องต้ นที่กรมทางหลวงกํ าหนด โดยคํานึงถึงความสามารถและความพร้ อมของผู้ เสนอราคา ตามนัยระเบียนสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ.2535 และที่แก้ ไขเพิ่มเติม ข้ อ 15 ทวิ และข้ อ 33 ทวิ และเพื่ อให้ การปฏิ บตั ิง านเป็ นไปอย่างมีประสิทธิ ภ าพ และเกิ ดประโยชน์สูง สุดกับทาง ราชการ จึงให้ ทุกหน่วยงานถื อปฏิบตั ิตามหลักเกณฑ์การพิจารณาคุณสมบัติผ้ มู ีสิทธิ์เสนอราคางานบํารุ ง ทางดังนี ้ 1. ผู้เสนอราคาที่ได้ รับการคัดเลือกให้ ทําสัญญากับกรมทางหลวงไม่มาลงนามในสัญญา ภายใน ระยะเวลา 30 วัน นับตังแต่ ้ วนั ที่หน่วยงานเจ้ าของงานมีหนังสือแจ้ งให้ ทราบ 2. ในกรณี ที่ผ้ รู ับจ้ างไม่เข้ าดําเนินการภายในระยะเวลาที่หน่วยงานเจ้ าของงานกํ าหนด แต่ไม่ เกิน30 วัน นับตังแต่ ้ วนั เริ่มต้ นตามสัญญา โดยมิได้ เป็ นความผิดของหน่วยงานเจ้ าของงาน 3. ผู้รับจ้ างกําลังทํางานอยู่และงานนันหมดสั ้ ญญาแล้ วแต่ยงั ไม่แล้ วเสร็ จโดยไม่มีเหตุอนั สมควร จะไม่มีสิทธิ์ เสนอราคา ยกเว้ นเมื่ องานที่เหลื อนันคาดว่ ้ าจะแล้ วเสร็ จตามสัญญาในเวลาอัน ใกล้ และผลงานที่แล้ วเสร็จในขณะนันต้ ้ องไม่น้อยกว่า 90% ของงานที่คาดว่าจะทําจริง 4. ภายในระยะเวลารับประกันผลงาน ผู้รับจ้ างไม่เข้ าดําเนินการซ่อมแซมสิ่ง ก่อสร้ างที่ชํารุ ด บกพร่ อ งของงานภายในระยะเวลาที่ ผ้ ู ว่ า จ้ างกํ า หนด โดยเป็ นความผิ ด ของผู้ รั บ จ้ าง (ให้ ปฏิบตั ิตามแนวทาง ตามหนังสือกรมฯอนุมัติ เลขที่ สมท.1 / 532 ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2549 เรื่ อง แนวทางปฏิบตั ิในการซ่อมแซมสิ่งก่อสร้ างที่ชํารุ ดบกพร่ องของงานก่อสร้ างและ บํารุงทาง ภายในระยะเวลารับประกันผลงานตามที่กําหนดในสัญญา) 5. กรณี ผ้ ูรับจ้ างผิ ดเงื่ อนไขสัญ ญาว่าจ้ างโดยผู้รับจ้ างไม่คืนเงินค่า K หรื อเงินที่ เกิ ดจากการ เปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ ภายในระยะเวลา 15 วัน นับจากวันที่ ได้ รับแจ้ ง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-50
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
6. ผู้รับจ้ างที่กรมทางหลวงได้ บอกเลิกสัญญา หรื อ อยู่ในระหว่างที่หน่วยงานเจ้ าของงานขอ อนุมตั บิ อกเลิกสัญญา โดยเป็ นความผิดของผู้รับจ้ าง จะไม่มีสิทธิ์เสนอราคา สําหรับผู้รับจ้ างที่ถูกพิจารณาเป็ นผู้ขาดคุณสมบัติเสนอราคางานบํารุงทางประเภทใดถือว่าขาด คุณสมบัตเิ สนอราคาเฉพาะงานบํารุ งทางประเภทนันและไม่ ้ มีสิทธิ์ในการเสนอราคางานบํารุ งทางประเภท นันสํ ้ าหรับงานจัดจ้ างของทุกหน่วยงานของกรมทางหลวง
ภาคผนวก ง การคา้ ประกันผลงานของกรมทางหลวง
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-51
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
การรับประกันความชํารุ ดบกพร่ องของผลงาน กรมทางหลวงได้ กําหนดระยะเวลารับประกันความ บกพร่ องในงานจ้ างเหมาบํารุ งปกติตามความเหมาะสมของแต่ละลักษณะงาน โดยมีรายละเอียดสรุ ปได้ ดังนี ้ 1. ผิวทางแอสฟั ลต์ การซ่อมบํารุงในส่วนที่เป็ นผิวทางซึ่งไม่เกี่ยวข้ องกับ โครงสร้ าง และความแข็งแรงของพื ้นทาง เช่น การทําความสะอาดผิวทาง กําหนดให้ ไม่มีระยะเวลารับประกันความชํารุดบกพร่องผลงาน การซ่ อ มบํ า รุ ง ในส่ ว นผิ ว ทาง ซึ่ ง ไม่ เ กี่ ย วข้ อ งกับ โครงสร้ างทาง เช่น การปะซ่ อ มผิ ว ทาง ให้ กําหนดระยะเวลารับประกันความชํารุดบกพร่อง 6 เดือน การซ่อมบํ ารุ ง ที่ เ กี่ ย วข้ องกับความเสี ยหายในชัน้ โครงสร้ างทาง เช่น การขุดซ่อ มผิ วทาง ให้ กําหนดระยะเวลารับประกันความชํารุดบกพร่อง 1 ปี 2. ผิวทางคอนกรี ต การซ่อมผิวทางให้ กําหนดระยะเวลาประกันความชํารุดบกพร่อง 1 ปี การปรับระดับผิวทางด้ วยแอสฟั ลต์คอนกรี ต ให้ กําหนดระยะเวลาประกันความชํารุดบกพร่อง 6 เดือน โดยมีรายละเอียดดังตารางที่ ข – 1 ตารางที่ ข – 1 ระยะเวลาคํ ้าประกันงานบํารุงปกติตามลักษณะงาน ลักษณะงาน งานบารุ งรักษาผิวทางแอสฟั ลต์ งานอุดรอยแตก งานฉาบผิวทาง งานปรับระดับผิวทาง งานปะซ่อมผิวทาง งานขุดซ่อมผิวทาง งานปาดแต่งผิวทาง งานทําความสะอาดผิวทาง งานบารุ งรักษาผิวทางคอนกรีต งานซ่อมวัสดุรอยต่อ งานซ่อมผิวคอนกรี ต
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ระยะเวลาประกันความชารุ ดบกพร่ อง (เดือน) ไม่ต้องคํ ้าประกัน 6 6 6 12 ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน 12 12
ผ-52
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท ลักษณะงาน
ระยะเวลาประกันความชารุ ดบกพร่ อง (เดือน)
งานอุดเชื่อมรอยแตก งานปรับระดับผิวคอนกรี ต งานทําความสะอาดผิวทาง งานบารุ งรักษาผิวทางลูกรัง
12 6 ไม่ต้องคํ ้าประกัน
งานซ่อมหลุมบ่อ งานกวาดเกลีย่ ผิวทาง งานขึ ้นรูปบดทับใหม่ งานบารุ งรักษาไหล่ ทางแอสฟั ลต์ งานอุดรอยแตกไหล่ทาง งานฉาบผิวไหล่ทาง งานปรับระดับผิวไหล่ทาง งานปะซ่อมผิวไหล่ทาง งานขุดซ่อมผิวไหล่ทาง งานปาดแต่งผิวไหล่ทาง งานทําความสะอาดไหล่ทาง งานบารุ งรักษาไหล่ ทางลูกรัง งานซ่อมหลุมบ่อไหล่ทาง งานกวาดเกลีย่ ไหล่ทาง งานขึ ้นรูปบดทับใหม่ไหล่ทาง งานตัดหญ้ า งานบารุ งรักษาทางเท้ าและทางเชื่อม งานซ่อมทางเท้ าและทางเชื่อม งานทําความสะอาด งานบารุ งรักษาเกาะแบ่ งถนน งานตัดหญ้ า งานบํารุงรักษาต้ นไม้ งานปลูกต้ นไม้ งานซ่อมแซมเกาะแบ่งถนน งานทําความสะอาด งานบารุ งรักษาทางจักรยาน งานซ่อมแซมทางจักรยาน งานทําความสะอาด
ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ไม่ต้องคํ ้าประกัน 6 6 6 12 ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน 6 ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน ไม่ต้องคํ ้าประกัน 12 6 ไม่ต้องคํ ้าประกัน 6 ไม่ต้องคํ ้าประกัน ผ-53
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท ลักษณะงาน
ระยะเวลาประกันความชารุ ดบกพร่ อง (เดือน)
งานป้ายและเครื่องหมายจราจร งานป้ายจราจร งานตีเส้ นแลละทําเครื่ องหมายจราจร งานสิ่งอานวยความปลอดภัย หลักนําทาง หลักกิโลเมตร หลักเขตทาง และหมุดหลักฐาน ต่างๆ ราวกันอันตราย กําแพงกันอันตราย รัว้ เขตทางแผงกัน้ งานไฟฟ้าแสงสว่ างและไฟสัญญาณจราจร งานไฟฟ้ าแสงสว่าง งานไฟสัญญาณจราจร งานโครงสร้ างและสะพาน งานสะพาน งานลาดคอสะพาน งานกําแพงกันดิน งานสะพานคนข้ ามและทางลอด งานอุโมงค์ทางรถยนต์
12 6 12 12 12 12 12 12 12 12 12
สําหรับกรณีของการคํ ้าประกันผลงานในการตีเส้ นจราจรพบว่า การคํ ้าประกันผลงานของการตีเส้ น จราจรแบ่งออกเป็ น 2 ส่วนคือ 1. กรณีโครงการตีเส้ นจราจร เช่น การจัดจ้ างตีเส้ นจราจรตลอดทังสายทาง ้ ในกรณีนี ้การคํ ้าประกัน ผลงานจะเป็ นไปตามที่กําหนดคือ คํ ้าประกัน 2 ปี และมีการตรวจสอบการสะท้ อนของแสงเป็ น ระยะคือ 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี และ 2 ปี ตามลําดับ โดยการสะท้ อนของแสงเป็ นไปตามมาตรฐาน ที่กําหนดไว้ 2. กรณีการซ่อมแซมเส้ นจราจรที่มีการขาดหายเป็ นบางช่วง กรณีนี ้การคํ ้าประกันผลงานคือ 6 เดือน โดยการตรวจสอบการสะท้ อนของแสงเป็ นไปตามมาตรฐานที่กําหนดไว้ โดยตรวจสอบเฉพาะการ ตรวจรับงานเท่านัน้ ภาคผนวก จ ระเบียบการจัดจ้ าง ข้ อบังคับ และแนวทางในการปฏิบัติ สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-54
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
จากการศึก ษางานวิ จัย ที่ ผ่ า นมา การสัม มนากลุ่ ม ย่ อ ย ตลอดจนการสัม ภาษณ์ ผ้ ูที่ เ กี่ ย วข้ อ ง และผู้เชี่ยวชาญในกิจกรรมบํารุงปกติพบว่า อุปสรรคและปั ญหาที่อาจจะเกิดขึ ้นในกรณีที่ภาครัฐเปิ ดโอกาส ให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในกิจกรรมบํารุงปกติงานทางที่เกี่ยวข้ องมีอยู่ 2 องค์ประกอบด้ วยกันคือ การนํางบประมาณบํารุงปกติซงึ่ ได้ รับการจัดสรรมาใช้ ในกิจกรรมการจ้ างเหมาบํารุงปกติสามารถ ดําเนินการได้ หรื อไม่ และมีเงื่อนไขหรื อแนวทางในการปฏิบตั อิ ย่างไร การรั บประกันการชํ ารุ ดบกพร่ องของผลงาน ซึ่ง มี การระบุไ ว้ ว่าการซ่อมบํารุ ง รั กษาสายทาง ผู้รับเหมาต้ องรับประกันการชํารุดบกพร่องของผลงาน 2 ปี ซึ่งหากมีการนํามาปรับใช้ กบั กิจกรรม งานบํารุงปกติอาจจะไม่สอดคล้ องกับการการดําเนินงานซ่อมบํารุ งปกติ ในทางปฏิบตั ิสามารถ ลดหย่อนหรื อปรับปรุ งระยะเวลารับประกันการชํารุ ดบกพร่ องให้ สนลงเพื ั้ ่อให้ เหมาะสมกับการ ดําเนินงานกิจกรรมบํารุงปกติ ดัง นัน้ คณะที่ ปรึ กษาได้ ดําเนินงานสัม ภาษณ์ เชิ งลึ กและสอบถามความคิดเห็นเกี่ ยวกับปั ญหาที่ อาจจะเกิ ด ขึน้ ในกรณี ที่ ภ าครั ฐ เปิ ดโอกาสให้ ภ าคเอกชนเข้ ามามี ส่วนร่ ว มในกิ จ กรรมบํา รุ ง ปกติ โดย หน่วยงานที่เกี่ยวข้ องกับกรณีดงั กล่าวประกอบไปด้ วย สํานักงบประมาณกลาง สํานักนายกรัฐมนตรี และ กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง รายละเอียดดังต่อไปนี ้ สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี คณะที่ ป รึ กษาได้ เชิ ญ ผู้ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญซึ่ ง เกี่ ยวข้ องกั บ การจั ด ทํ า งบประมาณ กรมทางหลวงชนบท เมื่อวันที่ 1 มิ ถุนายน พ.ศ. 2553 ณ สํานักจัดทํางบประมาณด้ านเศรษฐกิจ 4 สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี เพื่อขอความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ ภาคเอกชนเข้ ามีส่วนร่ วมกับ ภาครัฐในกิจกรรมบํารุงปกติงานโดยความคิดเห็นประกอบไปด้ วย 1. สํานักงบประมาณมีความเห็นด้ วยกับแนวคิดให้ การให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่วมในภารกิจ ซ่อมบํารุงปกติของทางกรมทางหลวงชนบท 2. กรมทางหลวงชนบทสามารถดําเนินงานนํางบประมาณบํารุงปกติซึ่งได้ รับการจัดสรรดังกล่าว ไปดําเนินการจ้ างเหมาได้ 3. การให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีสว่ นร่วมในภารกิจบํารุงปกติของภาครัฐ กรมทางหลวงชนบทควรมี การคัดเลือกสายทางสําหรับการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดําเนินการ เช่นสายทางในจังหวัดใหญ่ๆ หรื อสายทางที่มีความสําคัญได้ แก่ สายทางที่มีสถานที่ทอ่ งเที่ยว เป็ นต้ น
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-55
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
4. กรมทางหลวงชนบทควรมีการจัดทําสายทางนําร่ องในการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามีส่วนร่ วมใน ภารกิจบํารุ งปกติของกรมทางหลวงชนบท เพื่อให้ เห็นภาพของการดําเนินการจ้ างเหมาะที่ ชัดเจนมากยิ่งขึ ้น 5. สัญญาที่ทําขึ ้นระหว่างกรมทางหลวงชนบทและภาคเอกชนที่เข้ ามาดําเนินงานจ้ างเหมาบํารุง ปกตินนควรเป็ ั้ นลักษณะ Unit Cost โดยมีลกั ษณะของการให้ ภาคเอกชนเข้ ามาดําเนินงาน บํารุ ง ปกติทัง้ หมดตลอดทัง้ ช่วงกิ โลเมตร ซึ่ง มี ลักษณะการจ้ างเป็ นบาทต่อกิ โ ลเมตร เช่น 20,000 บาทต่อกิโลเมตร โดยคณะที่ปรึกษาได้ เสนอความคิดเห็นเพิ่มเติมว่า แต่ละสายทาง ซึ่งมีองค์ประกอบ และการใช้ งานที่ แตกต่างกัน ฉะนันจํ ้ านวนเงินที่ได้ รับสําหรับนําไปใช้ จ้าง เหมาภาคเอกชนควรแตกต่างกันด้ วย โดยบรรยากาศในการสัมภาษณ์และเสนอข้ อคิดเห็นดังรูปที่ ข – 1
รูปที่ ข – 1 บรรยากาศในการสัมภาษณ์และเสนอข้ อคิดเห็น ณ สํานักงบประมาณ สํานักนายกรัฐมนตรี กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง คณะที่ ป รึ กษาได้ เชิ ญ ผู้ ที่ มี ค วามเชี่ ย วชาญซึ่ ง เกี่ ยวข้ องกั บ การจั ด ทํ า งบประมาณ กรมทางหลวงชนบท เมื่ อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553 ณ สํานักมาตรฐานการจัดจ้ างจัดซือ้ ภาครั ฐ
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-56
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง เพื่อขอความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ ภาคเอกชนเข้ ามีส่วนร่ ว มกับภาครัฐ ในกิจกรรมบํารุงปกติงานทาง โดยความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญสํานักงบประมาณกลางประกอบไปด้ วย 1. การรับประกันการชํารุ ดบกพร่องให้ ดําเนินการภายใต้ มติคณะรัฐมนตรี โดยมติคณะรัฐมนตรี ซึ่งเกี่ ยวข้ องกับการประกันการชํารุ ดบกพร่ องในงานก่อสร้ างประกอบไปด้ วย 2 มติคณะรัฐมนตรี อัน ประกอบไปด้ วย หนังสือสํานักเลขาธิ การคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ว ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี ้ เพื่อให้ เจตนารมณ์ที่ต้องการให้ ผ้ รู ับจ้ างใช้ วสั ดุที่มีคณ ุ ภาพและใช้ แรงงานที่มีฝีมือโดยการ กํ า หนดระยะเวลาที่ ผ้ ู รั บ จ้ างต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบต่อ ความชํ า รุ ด บกพร่ อ งเป็ นเวลา 2 ปี บรรลุผ ล ให้ สํานักงานงบประมาณและส่วนราชการที่เกี่ยวข้ องร่วมมือกันกํากับดูแลติดตามให้ มีการดําเนินการตาม มาตรการดังกล่าวอย่างเคร่งครัดหากมีกรณีมีการชํารุดบกพร่องเกิดขึ ้นก่อนครบระยะเวลา 2 ปี ควรมีการ พิจารณาหาตัวผู้ต้องรับผิดชอบ อนึ่งหน่วยงานผู้มีหน้ าที่ ตรวจสอบและผู้มีอํานาจในการอนุมัติควรพิจารณาด้ วยว่างาน ก่อสร้ างของทางราชการใดซึ่งโดยสภาพและวัตถุประสงค์ควรมีความคงทนเกินกว่า 2 ปี อันจะทําให้ สามารถปฏิบตั ิตามมาตรการดังกล่าวข้ างต้ นได้ แต่ผ้ ูออกแบบหลีกเลี่ยงโดยออกแบบในลักษณะที่ทําให้ สภาพหรื องานก่อสร้ างนันเปลี ้ ่ยนเป็ นงานก่อสร้ างที่โดยสภาพไม่สามารถประกันความชํารุดบกพร่องได้ 2 ปี ก็ไม่ควรอนุมตั ิแบบหรื ออนุมตั ิให้ ดําเนินการก่อสร้ างทังนี ้ ้เพื่อเป็ นการประหยัดงบประมาณที่จะต้ องใช้ ใน การก่อสร้ างก่อนเวลาอันสมควร หนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร1204/ 11843 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2536 โดยมี รายละเอียดดังต่อไปนี ้ คณะกรรมการฯเห็นสมควรให้ กําหนดระยะเวลาการรับประกันความชํารุ ดบกพร่ องของ งานจ้ างก่อสร้ างไม่น้อยกว่า 2 ปี เว้ นแต่งานก่อสร้ างที่โดยสภาพสมควรยกเว้ นให้ ผ้ รู ับจ้ างไม่ต้อรับผิดชอบ ในความชํารุดบกพร่องเป็ นระยะเวลา 2 ปี ได้ แก่ 1. ถนนลูกรังถนนดิน 2. งานขุดหรื อขุดลอกคูคลองสระหรื อหนองซึง่ เป็ นงานดินที่ไม่มีการดาดคอนกรี ต จากการพิจารณาหนังสือสํานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0202/ ว ลงวันที่ 3 มกราคม 2537 และหนังสือสํานักนายกรัฐมนตรี ที่ นร1204/ 11843 ลงวันที่ 20 ธันวาคม 2536 คณะที่ปรึกษามี สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-57
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ความเห็นว่า การประกันความชํารุ ดบกพร่ องเป็ นเวลา 2 ปี ดังกล่าวนัน้ จํากัดเฉพาะงานก่อสร้ างเท่านัน้ หากมิได้ เป็ นงานก่อสร้ าง แต่เป็ นงานซ่อมบํารุ งโดยเฉพาะอย่างยิ่งงานบํารุ งปกติ กรมทางหลวงชนบท สามารถดําเนินการปรับระยะเวลารับประกันความชํารุ ดบกพร่ อง หรื อกําหนดระยะเวลารับประกันความ ชํารุ ดบกพร่ องตามประเภทกิจกรรมได้ โดยอาจใช้ ระยะเวลารับประกันความชํารุ ดบกพร่ องของกรมทาง หลวงเป็ นตัวอย่างในการกําหนดระยะเวลาประกันความชํารุดบกพร่อง โดยระยะเวลารับประกันความชํารุด บกพร่องดังกล่าว คณะที่ปรึกษาได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น 2. การดําเนินการให้ ภาคเอกชนเข้ ามามี ส่วนร่ วมกับภาครั ฐในภารกิ จ บํารุ งปกติง านทาง ให้ ยึดถือผลประโยชน์ของภาครัฐเป็ นสําคัญ โดยบรรยากาศในการสัมภาษณ์และเสนอข้ อคิดเห็นดังรูปที่ ข – 3
รูปที่ ข – 3 บรรยากาศในการสัมภาษณ์และเสนอข้ อคิดเห็น ณ สํานักมาตรฐานการจัดซื ้อจัดจ้ าง กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง สําหรับประเด็นกรณี Factor F จากการสัมภาษณ์พบว่า งานบํารุงรักษาและงานก่อสร้ างทาง ให้ คํานวณค่าเหมือนกัน และไม่สามารถตัดองค์ประกอบใดองค์ประกอบหนึ่งทิ ้งไปได้ โดยองค์ประกอบของ Factor F ประกอบไปด้ วยค่าอํานวยการ ดอกเบี ้ย กําไร และภาษี โดยรายละเอียดเกี่ ยวกับ Factor F ดังต่อไปนี ้
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-58
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-59
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-60
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-61
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-62
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-63
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-64
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-65
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-66
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-67
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-68
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-69
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-70
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-71
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-72
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-73
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-74
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-75
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-76
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-77
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-78
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ผ-79
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
สานักงานการตรวจเงินแผ่ นดิน คณะที่ปรึ กษาได้ เชิญผู้ที่มีความเชี่ยวชาญซึ่งเกี่ ยวข้ องกับการรับจ่าย และการใช้ จ่ายเงินของ ภาครั ฐ ซึ่ ง ได้ สัม ภาษณ์ สํ า นัก งานตรวจสอบการเงิ น ที่ 2 กลุ่ ม ที่ 5 สํ า นัก งานการตรวจเงิ น แผ่ น ดิ น โดยบทบาทหน้ าที่ในการดําเนินงานดังนี ้ 1. ดําเนินการตรวจสอบการรับจ่าย การเก็บรักษา และการใช้ จ่ายเงินและทรัพย์สินอื่นของหน่วย รั บตรวจ หรื อที่ อยู่ใ นความรั บผิ ดชอบของหน่วยรั บตรวจ และแสดงความเห็นว่า เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี หรื อไม่ ในกรณีหน่วยรับตรวจเป็ นรัฐวิสาหกิจหรื อหน่วยงานอื่นของ รัฐ ให้ แสดงความเห็นตามมาตรฐานการตรวจเงินแผ่นดินและมาตรฐานการสอบบัญชีที่รับรองทัว่ ไป และ ในกรณีที่หน่วยรับตรวจเป็ นหน่วยงานที่ได้ รับเงินอุดหนุน หรื อกิจการที่ได้ รับเงินหรื อทรัพย์สินลงทุนจาก หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรื อหน่วยงานอื่นของรัฐ การตรวจสอบการเงินแผ่นดินให้ ตรวจสอบว่าการรับ จ่ายและการใช้ เงินอุดหนุน หรื อเงินหรื อทรัพย์สินลงทุนเป็ นไปอย่างถูกต้ อง และเป็ นไปตามวัตถุประสงค์ หรื อไม่ 2. ดําเนินการตรวจสอบบัญชีและรายงานการรับจ่ายเงินประจําปี งบประมาณและงบแสดงฐานะ การเงินแผ่นดินประจําปี งบประมาณ บัญชีทุนสํารองเงินตราประจําปี และแสดงความเห็นว่าเป็ นไปตาม กฎหมายและตามความเป็ นจริงหรื อไม่ 3. ดําเนินการตรวจสอบเกี่ยวกับการจัดเก็บภาษี อากร ค่าธรรมเนียมและรายได้ อื่นของหน่วยรับ ตรวจ และแสดงความเห็นว่าเป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้ อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรี หรื อไม่ แ ละ ตรวจสอบการประเมินภาษีอากร การจัดเก็บค่าธรรมเนียมและรายได้ อื่นที่หน่วยรับตรวจจัดเก็บ 4. ดําเนินการตรวจสอบการใช้ จ่ายเงินราชการลับ หรื อเงินที่มีลกั ษณะคล้ ายเงินราชการลับของ หน่วยรับตรวจ 5. ดําเนินการตรวจสอบการปฏิ บัติตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงิ น แผ่นดินว่าด้ วยการ กําหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน และการปฏิบตั หิ น้ าที่ของผู้ตรวจสอบภายใน 6. ปฏิบตั ิงานร่ วมกับหรื อสนับสนุนการปฏิบตั ิงานของส่วนราชการภายในอื่นที่เกี่ ยวข้ องหรื อที่ ได้ รับมอบหมาย
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-80
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ซึ่งทางสํานักงานการตรวจเงินแผ่นดินได้ รับฟั ง ความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้ ภาคเอกชนเข้ ามีส่วน ร่ วมกับภาครั ฐในกิ จกรรมบํารุ งปกติง านทาง โดยความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญสํานัก งานการตรวจเงิ น แผ่นดินประกอบไปด้ วย 1. ดําเนินงานตามระเบียบการระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้ วยการพัสดุ พ.ศ. 2535 และ แก้ ไขเพิ่มเติม 2. ไม่ควรจัดจ้ างกิจกรรมเดียวกันหลายครัง้ ในสายทางเดียวกัน หรื อแบ่งจ้ างเป็ นช่ วงๆ เนื่องจาก อาจเข้ าข่ายการแบ่ง ซื อ้ แบ่ง จ้ างได้ เช่น ควรดําเนินการจัดจ้ างตลอดทัง้ สายทาง แต่ในกรณี ที่เกิ ดเหตุ สุดวิสยั อาจดําเนินการได้ หากมีเหตุผลที่เหมาะสมเพียงพอ 3. ควรจัดทําบัญชี การเบิกจ่ายอย่างรัดกุมในกรณี ที่มีการจ้ างเหมาแบบสัญญาราคาต่อหน่วย (Unit Price Contract)
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-81
รายงานฉบับสมบูรณ์ (Final Report)
โครงการศึกษารู ปแบบการจ้างเหมาภาคเอกชนในงานบารุงปกติ ของกรมทางหลวงชนบท
ภาคผนวก ฉ รายละเอียดเอกสารที่เกี่ยวข้ อง และตัวอย่ างเอกสาร
สถาบันการขนส่งจุฬาลงกรณ์มหาวิ ทยาลัย
ผ-82