หลักธรรมาภิบาลกับการดำรงอยู่ของอุตสาหกรรมข้าวไทย

Page 1

รายงานผลการศึกษารายวิชาปัญหาพิเศษ หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยู่ของอุตสาหกรรมข้ าวไทย ทีส่ ่ งผลต่ อความเชื่ อมั่นของรายงาน ทางการเงิน กรณีศึกษาบริษัท ข้ าวไทย จากัด Good governance principles with the existence of the Thai rice industry that affect the confidence of the financial report. Case study rice Thai co.,Ltd.

โดย

นางสาว กนกพร นางสาว พนิดา นางสาว วิราภรณ์ นางสาว สุ รีย ์

พงษ์พลู ผูกพัน เอี่ยมสกุล อิทธิบารุ ง

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555



ปัญหาพิเศษ โดย นางสาว กนกพร นางสาว พนิดา นางสาว วิราภรณ์ นางสาว สุ รีย ์

พงษ์พลู ผูกพัน เอี่ยมสกุล อิทธิบารุ ง

เรื่ อง หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยูข่ องอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความเชื่อมัน่ ของรายงาน ทางการเงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั ข้าวไทย จากัด

Good governance principles with the existence of the Thai rice industry that affect the confidence of the financial report. Case study rice Thai co., Ltd.

ได้รับการตรวจสอบและอนุ มตั ิ ให้เป็ นส่ วนหนึ่งชองการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร เมื่อ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2556

อาจารย์ที่ปรึ กษาปัญหาพิเศษ

อาจารย์ผปู้ ระสานงานรายวิชา


หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยูข่ องอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความเชื่อมัน่ ของรายงาน ทางการเงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั ข้าวไทย จากัด

Good governance principles with the existence of the Thai rice industry that affect the confidence of the financial report. Case study rice Thai co., Ltd.

โดย

นางสาว กนกพร นางสาว พนิดา นางสาว วิราภรณ์ นางสาว สุ รีย ์

พงษ์พลู ผูกพัน เอี่ยมสกุล อิทธิบารุ ง

5230110023 5230110589 5230110805 5230110970

รายงานผลการศึกษานี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสู ตร บริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาเกษตรศาสตร์ ปี การศึกษา 2555


(1) กนกพร พงษ์พลู และคณะ 2556: หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยูข่ องอุตสาหกรรม ข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความเชื่ อมัน่ ของรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั ข้าวไทย จากัด ปริ ญญาบริ หารธุ รกิจบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีบริ หาร อาจารย์ที่ปรึ กษาวิชาปัญหาพิเศษ: อาจารย์ธิญาดา พิชญาศุภกุล การศึกษาปั ญหาพิเศษครั้งนี้ มีวตั ถุ ประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดหลักธรรมาภิบาลและความ รับผิดชอบต่อสังคมในธุ รกิจอุตสาหกรรมข้าว ศึกษาความเสี่ ยงจากการตรวจสอบในอุตสาหกรรม ข้าว และศึกษาระบบการควบคุมภายในของอุตสาหกรรมข้าว ตามแนวคิดหลักธรรมาภิบาลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม ระบบการควบคุ มภายใน ประกอบด้วยนโยบายและวิธีปฏิบตั ิงานที่กาหนดขึ้นในองค์กร เพื่อให้ความมัน่ ใจอย่างสมเหตุสมผลว่ากิจการจะบรรลุวตั ถุประสงค์และเป้ าหมาย ในเรื่ องต่อไปนี้ ด้านการดาเนิ นงาน ด้านการรายงานทางการเงิ น ด้านการปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามกฎ ระเบียบ และ นโยบาย ดัง นั้น การควบคุ ม ภายในตามแนวทางของ COSO ประกอบด้ว ยองค์ป ระกอบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ สภาพแวดล้อมของการควบคุ ม การประเมินความเสี่ ยง กิจกรรมการควบคุ ม ข้อมูลสารสนเทศและการสื่ อสาร และการติดตามและประเมินผลจะทาการประเมินถึงความเสี่ ยง ต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับบริ ษทั โดยความเสี่ ยงต่าง ๆ เหล่านั้นอาจเป็ นไปได้ท้ งั ความเสี่ ยงที่เกิดขึ้น เองภายในบริ ษทั หรื อความเสี่ ยงที่เกิดขึ้นภายนอกบริ ษทั การศึกษาปั ญหาพิเศษครั้งนี้ คณะผูจ้ ดั ทาได้เลือกศึกษา เรื่ องหลักธรรมาภิบาลกับการดารง อยูข่ องอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความเชื่อมัน่ ของรายงานทางการเงิน กรณี ศึกษาบริ ษทั ข้าว ไทย จากัด ผลการศึกษาพบว่า การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริ หาร การบริ หารงานใน รู ปแบบของธรรมาภิบาลนั้นจะเน้นที่การเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่ องมัน่ คงไม่ลม้ ละลาย ไม่เสี่ ยงต่อ ความเสี ยหาย พนักงานมีความมัน่ ใจในองค์กรว่าสามารถปฏิบตั ิงานในองค์กรได้ในระยะยาว การ นาธรรมมาภิบาลมาใช้ในการบริ หารนั้น เพื่อให้องค์กรมีความน่าเชื่ อถื อและได้รับการยอมรับจาก สังคม ส่ วนการบริ หารความเสี่ ยงองค์หากองค์กรมีการบริ หารความเสี่ ยงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จะ ส่ งผลให้สามารถบรรลุ วตั ถุ ประสงค์องค์กร ทั้งในเชิ งประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของงานการ บริ หารความเสี่ ยงตามมาตรฐาน COSO


(2)

กิตติกรรมประกาศ ในการศึกษาค้นคว้าปั ญหาพิเศษ เรื่ อง หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยูข่ องอุตสาหกรรม ข้าวไทย ที่ ส่งผลต่อความเชื่ อมัน่ ของรายงานทางการเงิ น กรณี ศึกษาบริ ษทั ข้าวไทย จากัด ครั้งนี้ สามารถประสบความสาเร็ จลุล่วงไปได้ดว้ ยดี เนื่องจากได้รับความอนุเคราะห์ ความกรุ ณา และการ สนับสนุ นเป็ นอย่างดีจาก อาจารย์ ธิ ญาดา พิชญาศุภกุล ที่ได้ให้คาแนะนาที่เป็ นประโยชน์ใน การศึกษา ตลอดทั้งให้ความเมตตาและเสี ยสละเวลาแก่คณะผูจ้ ดั ทามาโดยตลอด จนทาให้การศึกษา ค้นคว้าปั ญหาพิเศษสาเร็ จลุล่วงด้วยดี ขอขอบพระคุณสาหรับผูท้ ี่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกท่าน รวมทั้งแหล่งที่ศึกษาค้นคว้าข้อมูลต่าง ๆ อาทิเช่น หนังสื อ วารสาร บทความ วิทยานิพนธ์ และสื่ อทางอินเตอร์ เน็ตที่ให้คณะผูจ้ ดั ทาได้ใช้เป็ น แนวทางในการศึกษาและจัดงานสัมมนาครั้งนี้ ข้ ึน ตลอดจนเพื่อนร่ วมกลุ่ม เพื่อนร่ วมรุ่ น ความ ช่วยเหลือในทุก ๆ เรื่ อง อีกทั้งคอยเป็ นกาลังใจให้ทางคณะผูจ้ ดั ทาตลอดมา สุ ดท้ายนี้ ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณและระลึกอยูเ่ สมอว่าจะไม่มีความสาเร็ จใด ๆใน ชีวติ ของคณะผูจ้ ดั ทา หากปราศจากความรัก ความเข้าใจ และกาลังใจจากบุคคลที่มีพระคุณที่คอยให้ การสนับ สนุ นการศึ ก ษาของคณะผูจ้ ดั ท ามาโดยตลอด ขอขอบคุ ณคณาจารย์ทุ ก ท่ า น และ สถาบันการศึกษาอันทรงเกียรติที่มอบโอกาสในการศึกษาหาความรู ้แก่คณะผูจ้ ดั ทา ที มผูจ้ ดั ท าหวังว่า ปั ญหาพิ เศษเล่ ม นี้ คงมี ประโยชน์ เป็ นอย่า งมากส าหรั บหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้อง ตลอดจนผูท้ ี่สนใจ เพื่อสามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างถูกต้องและมีประสิ ทธิ ภาพ

คณะผูจ้ ดั ทา กุมภาพันธ์ 2555


(3)

สารบัญ บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญภาพ บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ

หน้ า (1) (2) (3) (5) 1

วัตถุประสงค์

2

วิธีการศึกษา

3

ขอบเขตการศึกษา

3

นิยามศัพท์

3

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง แนวคิดเกี่ยวกับบรรษัทธรรมาภิบาล

4

ความหมายของบรรษัทธรรมาภิบาล

4

หลักการกากับดูแลกิจการ

8

แนวคิดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ

17

ความหมายของจริ ยธรรมทางธุ รกิจ

17

ระดับของจริ ยธรรมทางธุ รกิจ

22

ประโยชน์ของจริ ยธรรมทางธุ รกิจ

24

แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม

27

ความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคม

27

ขอบเขตของความรับผิดชอบต่อสังคม

31

แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน

44


(4)

สารบัญ(ต่ อ) หน้ า ความหมายของการควบคุม

44

ความสาคัญของการควบคุม

46

ประเภทของการควบคุม

51

การควบคุมภายใน

56

วัตถุประสงค์ของการควบคุมภายใน

59

องค์ประกอบของการควบคุมภายใน

64

งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง

77

บทที่ 3 กรณีศึกษา บริษัทข้ าวไทยจากัด ประวัติความเป็ นมา

79

วิสัยทัศน์

81

พันธกิจ

81

ข้อมูลผลิตภัณฑ์

82

กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับข้าว

87

ตัวอย่างแบบสอบถามการควบคุมภายใน

98

ด้านการบริ หาร

98

ด้านการเงิน

108

ด้านการผลิต

121

ด้านอื่นๆ

126

บทที่ 4 สรุ ปผลการศึกษาและข้ อเสนอแนะ

143

บทที่ 5 สรุ ปผลการศึกษา

162

บรรณานุกรม

166


(5)

สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 1 เครื่ องไซโล

82

ภาพที่ 2 เครื่ องทาความสะอาด

83

ภาพที่ 3 เครื่ องแยกหิน

83

ภาพที่ 4 เครื่ องขัดข้าว

84

ภาพที่ 5 ตะแกรงเหลี่ยมและตะแกรงกลม

85

ภาพที่ 6 เครื่ องแยกสี

85

ภาพที่ 7 เครื่ องบรรจุหีบห่อ

86

ภาพที่ 8 การตรวจสอบคุณภาพข้าว

87


บทที่ 1 บทนำ ทีม่ ำและควำมสำคัญ ในขณะที่ทวั่ โลกกำลังประสบปั ญหำรำคำน้ ำมันที่แพงขึ้นและทวีควำมรุ นแรงอย่ำงต่อเนื่ อง วัตถุ ดิบที่ใช้ในกำรผลิ ตอำหำรสำหรับคนและสัตว์มีรำคำพุ่งสู งขึ้นโดยมิได้คำดกำรณ์ มำก่อนและ นำไปสู่ กำรเกิด“วิกฤตกำรณ์อำหำรโลก”(World Food Crisis) ขึ้นก่อให้เกิดกระแสควำมตึงเครี ยด ไปทัว่ โลกเนื่องจำกประชำคมโลกล้มตำยด้วยควำมอดอยำกและหิ วโหยจะเห็นว่ำไม่มีสงครำมใดใน โลกนี้ จะทำให้ประชำชนต้องเสี ยชี วิตทุก ๆนำทีและทุก ๆวันได้มำกเท่ำนี้ จำกรำคำอำหำรที่สูงขึ้น เป็ นประวัติกำรณ์ทำให้บำงประเทศเริ่ มขำดแคลนอำหำรหลัก (Food-deficit) ต้องนำเข้ำอำหำรและ โภคภัณฑ์เป็ นจำนวนมำกขณะเดี ยวกันหลำยๆประเทศถึ งกับต้องวำงมำตรกำรห้ำมส่ งออกและมี กำรเรี ยกเก็บภำษีส่งออกทั้งข้ำวและอำหำรดังนั้นจึงเป็ นเหตุให้องค์กรระหว่ำงประเทศต่ำงหันมำให้ ควำมสำคัญกับปั ญหำดังกล่ำวโดยต่ำงเห็นพ้องต้องกันว่ำประเทศต่ำงๆทัว่ โลกต้องเร่ งหำมำตรกำรที่ เหมำะสมมำแก้ไขปั ญหำดังกล่ำว วิกฤตกำรณ์ อำหำรในวันนี้ มำจำกปั ญหำภำคกำรเกษตรที่ถูกปรับเปลี่ยนจำกกำรเพำะปลูก เพื่อกำรส่ งออกมำแทนกำรเพำะปลูกเพื่อกำรบริ โภคภำยในประเทศกำรเปลี่ยนมำเป็ นอุตสำหกรรม กำรเกษตรขนำดใหญ่ที่ปลูกพืชเชิ งเดี่ ยวต้องสิ้ นเปลื องปุ๋ ยยำฆ่ำแมลงและแหล่งน้ ำ เบียดเบียนวิถี เกษตรเพื่อชุมชนสู่ ภำค “ธุ รกิจกำรเกษตร” อย่ำงไร้เหตุผล นอกจำกจะไม่บรรเทำควำมอดอยำกแล้ว ยังทำให้ประชำชนหลำยล้ำนคนในประเทศที่ส่งออกอำหำรต้องอดมื้อกินมื้อ สำหรับประเทศไทยซึ่ งเป็ นที่รับรู ้ของประชำคมโลกว่ำอุดมสมบูรณ์ดว้ ยพืชพันธุ์ธญ ั ญำหำร เพรำะเรำเป็ นผูผ้ ลิ ตและผูส้ ่ งออกสิ นค้ำภำคเกษตรรำยใหญ่ของโลกย่อมหนี ไม่พน้ กับผลกระทบ ด้ำนรำคำอำหำรแพงผูท้ ี่ ได้รับผลกระทบมำกที่ สุดคงไม่พน้ ประชำชนผูย้ ำกจนรวมไปถึ งชนชั้น กลำงซึ่ งถือว่ำเป็ นควำมจำเป็ นอย่ำงยิง่ ที่รัฐบำลต้องกำหนดมำตรกำรเพื่อวำงนโยบำยและดำเนิ นกำร อย่ำงถูกต้องเพื่อป้ องกันควำมเดื อดร้ อนจำกรำคำอำหำรที่แพงสู งขึ้ นแต่ไม่สอดรับกับรำยได้ของ ประชำชนโดยเฉพำะนโยบำยเศรษฐกิ จในระดับรำกหญ้ำขณะนี้ คงต้องเน้นที่ควำมสำคัญของกำร


2

บริ หำรจัดกำรเพื่อปรั บปรุ งประสิ ทธิ ภำพและรักษำไว้ซ่ ึ งควำมมัน่ คงทำงอำหำร (Food Security) ของประเทศเพื่อส่ งเสริ มผูท้ ี่เป็ นเกษตรกรและผูผ้ ลิตให้คงได้รับผลประโยชน์จำกภำคกำรตลำดส่ วน ประชำชนผูบ้ ริ โภคทั้งหลำยก็ตอ้ งเข้ำถึงอำหำรทั้งโอกำสและกำรกระจำยรำยได้ที่เพิ่มขึ้นเช่นกัน กำรศึกษำกำรจัดกำรกับควำมเสี่ ยงจึงเป็ นเรื่ องที่สำคัญ ครอบคลุ มกำรจัดกำรปั จจัยต่ำงๆ ภำยในระบบ ประกอบด้วย กำรจัดกำรนโยบำย กระบวนกำรผลิต กำรวิเครำะห์ กำรประเมินผล กำร รับมือกับควำมเสี่ ยง และกำรควบคุมควำมเสี่ ยง กำรทรำบโครงสร้ำงของปั ญหำและประยุกต์ใช้กบั สถำนกำรณ์ที่เกี่ยวข้อง จะช่วยในกำรวิเครำะห์ทำงเลื อกที่เป็ นไปได้ ทำให้เกษตรกรสำมำรถเลือก ทำงเลือกที่ดีและเหมำะสมได้ ซึ่ งจะเป็ นประโยชน์ต่อผูท้ ี่เกี่ยวข้องทั้งหมดในระบบ วัตถุประสงค์ ของกำรศึกษำ 1. เพื่อศึกษำแนวคิดหลักธรรมำภิบำลและควำมรับผิดชอบต่อสังคมในธุ รกิจอุตสำหกรรมข้ำว 2. เพื่อศึกษำควำมเสี่ ยงจำกกำรตรวจสอบในอุตสำหกรรมข้ำว 3. เพื่อศึกษำระบบกำรควบคุมภำยในของอุตสำหกรรมข้ำว ตำมแนวคิดหลักธรรมำภิบำลและ ควำมรับผิดชอบต่อสังคม ประโยชน์ ทคี่ ำดว่ำได้ รับจำกกำรศึกษำ 1. เพื่อทรำบถึ งแนวคิดหลักธรรมำภิบำลและควำมรับผิดชอบต่อสังคม ในกำรดำเนิ นธุ รกิ จ อุตสำหกรรมข้ำว 2. เพื่อทรำบถึงควำมเสี่ ยงจำกกำรตรวจสอบ กำรมีหลักธรรมำภิบำลควำมรับผิดชอบต่อสังคม ของธุ รกิ จที่ ตรวจสอบเพื่อกำหนดแนวทำงตรวจสอบที่ เหมำะสม ซึ่ งจะส่ ง ผลต่อควำม เชื่อมัน่ ของหลักฐำนและข้อมูลในกำรตรวจสอบของผูส้ อบบัญชี


3

วิธีกำรศึกษำ กำรศึกษำเรื่ องหลักธรรมำภิบำลกับกำรดำรงอยูข่ องอุตสำหกรรมข้ำวไทย ที่ส่งผลต่อควำม เชื่อมัน่ ของรำยงำนทำงกำรเงิน กรณี ศึกษำ บริ ษทั ในประเทศไทยได้ทำกำรศึกษำโดยใช้ขอ้ มูลทุติย ภูมิในกำรศึกษำ โดยศึกษำค้นคว้ำจำกเอกสำร หนังสื อ วำรสำร ทฤษฎี แนวควำมคิด ผลกำรวิจยั และวิทยำนิพนธ์ เป็ นต้น ขอบเขตของกำรศึกษำ ในกำรศึกษำครั้งนี้ จะทำกำรศึกษำเรื่ อง หลักธรรมำภิบำลกับกำรดำรงอยูข่ องอุตสำหกรรม ข้ำวไทย ที่ส่งผลต่อควำมเชื่อมัน่ ของรำยงำนทำงกำรเงิน กรณี ศึกษำ บริ ษทั ในประเทศไทย ที่มุ่งเน้น ศึ ก ษำเกี่ ย วกับ ควำมเสี่ ย งในกระบวนกำรผลิ ตข้ำ วว่ำ มี ค วำมเสี่ ย งหรื อควำมน่ ำ จะเป็ นใดที่ อำจ ก่อให้เกิดผลกระทบต่อกำรดำเนิ นงำนของกระบวนกำรผลิตข้ำวทีไม่เป็ นไปตำมวัตถุประสงค์ที่ได้ กำหนดไว้โดยมีขอบเขตในกำรศึกษำภำยในพื้นที่ประเทศไทย นิยำมศัพท์ ควำมเสี่ ยง หมำยถึง โอกำสที่จะเกิดควำมผิดพลำด ควำมเสี ยหำย กำรรั่วไหล ควำมสู ญ เปล่ำ หรื อเหตุกำรณ์ ซึ่ งไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งำนไม่ประสบควำมสำเร็ จตำมวัตถุ ประสงค์และ เป้ ำหมำยที่กำหนด กำรประเมินควำมเสี่ ยง หมำยถึง กระบวนกำรที่ใช้ในกำรระบุและวิเครำะห์ควำมเสี่ ยงที่มี ผลกระทบต่อกำรบรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรรวมทั้งกำรกำหนดแนวทำงที่จำเป็ นต้องใช้ในกำร ควบคุมควำมเสี่ ยง หรื อกำรบริ หำรควำมเสี่ ยง อุ ต สำหกรรมข้ำ ว คื อ กระบวนกำรแปรรู ปข้ำว หรื อ กระบวนกำรผลิ ตเพื่ อ ให้ไ ด้เ ป็ น ผลผลิตข้ำวเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ตำมวัตถุประสงค์ โดยกำรใช้เครื่ องจักรหรื อแรงคน เพื่อให้ผลิต ข้ำวจนสำมำรถนำไปขำยเป็ นสิ นค้ำได้


บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรมและสารสนเทศทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาถึ งหลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยู่ของอุตสาหกรรมข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความ เชื่ อมัน่ ของรายงานทางการเงิ น กรณี ศึกษา บริ ษทั ข้าวไทย จากัด เนื่ องจากหลักธรรมาภิบาลและ ความถู กต้องของรายงานทางการเงิ นเป็ นสิ่ งที่สาคัญมาก ดังนั้นงานปั ญหาพิเศษนี้ จึงได้ทบทวน วรรณกรรมที่ เกี่ ยวข้อง เพื่อเป็ นแนวทางในการพิจารณาถึ งหลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยู่ของ อุตสาหกรรมข้าวไทย ที่ส่งผลต่อความเชื่อมัน่ ของรายงานทางการเงิน คือ 1. แนวคิดเกี่ยวกับบรรษัทภิบาล 2. แนวคิดเกี่ยวกับจริ ยธรรมทางธุ รกิจ 3. แนวคิดเกี่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม 4. แนวคิดเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 5. งานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง แนวคิดเกีย่ วกับบรรษัทภิบาล ความหมายบรรษัทภิบาล วิทยา ด่านธารง (2546: 103) อ้างถึง สังเวียน อินทรวิชยั กล่าวว่าให้ความหมายไว้วา่ เป็ น ความสัมพันธ์อย่างหนึ่งระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร ผูถ้ ือหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นใน การกาหนดทิศทางและสอดส่ องดูแลผลปฏิ บตั ิงานของบริ ษทั ซึ่ งนิ ยามดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึ ง


5

กรอบของบรรษัท ภิ บ าลที่ จ ะท าหน้ า ที่ ก ากับ ให้ เ กิ ด การตรวจสอบและถ่ ว งดุ ล ในระหว่ า ง คณะกรรมการบริ ษทั ที่ทาหน้าที่เป็ นตัวแทนของผูถ้ ื อหุ ้น คณะผูบ้ ริ หารที่ดาเนิ นงานอันเป็ นปกติ ขององค์การ กับกลุ่มผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆ เพื่อหวังว่ากรอบดังกล่ าวจะนามาซึ่ งความรั บผิดชอบที่ องค์การจะมีต่อกลุ่มต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง (สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย,2553: 10 อ้างถึง องค์กรเพื่อความร่ วมมือทาง เศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization For Economic Co-operation and Development - OECD)) ที่ว่า ความหมายของการกากับดูแลกิ จการ หมายถึ ง ระบบการกากับและควบคุ มกิ จการโดยการ แบ่ งแยกสิ ทธิ และหน้า ที่ ข องผูม้ ี ส่ วนเกี่ ย วข้องต่ างๆ ไม่ว่า จะเป็ นคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ื อ ห้นหรื อผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆ ที่กาหนดเป็ นหลักเกณฑ์และวิธีปฏิบตั ิ เพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในกรณี ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกิจการโดยยึดวัตถุประสงค์ของกิจการเป็ นสาคัญ (สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย 2553: 10 อ้างถึง สถาบันผูต้ รวจสอบภายใน สากล (The Institute of Internal Auditor-LLA)) ได้ให้คานิ ยามของกระบวนการกากับดูแล (Governance Process)) ไว้ กระบวนการกากับดูแล หมายถึง ขั้นตอนวิธีปฏิบตั ิที่ใช้โดยตัวแทนของ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยขององค์กรเพื่อให้ดูแลความเสี่ ยงและกระบวนการควบคุมที่บริ หารจัดการโดยฝ่ าย บริ หาร สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2553: 9-10) อ้างถึง เซอร์ เอเดรี ยน แคดเบอรี่ ได้ให้ความหมายของการกากับดูแลกิ จการ คือ ระบบชึ่ งกิ จการใช้ช้ ี ช่องทางหรื อสั่งการ (Direct) และควบคุม (Control) กิ จกรรมต่างๆกระบวนการกากับดูแลอาจรวมถึง ความรับผิดชอบในการ ทางาน (Responsibility) ความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิงานตามหน้าที่ (Accountability) และการ ตรวจสอบและถ่วงดุล (Chack and Balance) สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2553: 10) อ้างถึ ง ตลาดหลักทรั พย์แห่ ง ประเทศไทย (2543) ได้ใ ห้ ค วามหมายของ การก ากับ ดู แ ลกิ จ การ หมายถึ ง ระบบที่ จ ัด ให้ มี โครงสร้างและกระบวนการของความสัมพันธ์ระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และผูถ้ ือหุ ้น เพื่อ สร้ างความสามารถในการแข่งขัน นาไปสู่ ความเจริ ญเติบโต และเพิ่มมูลค่าให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นในระยะ ยาวโดยคานึงถึงผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นประกอบ


6

สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่งประเทศไทย (2553: 10) อ้างถึง คณะกรรมการบรรษัทภิบาล แห่งชาติ ได้ให้ความหมายของ การกากับดูแลกิจการ มีความหลากหลายแล้วแต่มุมมอง ดังนี้ 1. เป็ นความสัมพันธ์อย่างหนึ่ งระหว่างคณะกรรมการ ฝ่ ายจัดการ และผูถ้ ือหุ ้น และผูม้ ี ส่ วนได้เสี ยอื่นในการกาหนดทิศทาง และสอดส่ องดูแลผลการปฏิบตั ิงานของบริ ษทั 2. เป็ นโครงสร้างและกระบวนการภายในที่จดั ขึ้น เพื่อให้ความมัน่ ใจว่าคณะกรรมการ สามารถประเมินผลงานของฝ่ านจัดการของบริ ษทั อย่างตรงไปตรงมา และมีประสิ ทธิ ผล 3. ระบบที่จดั ให้มีกระบวนการโครงสร้ างขอภาวะผูน้ า และการควบคุมของกิจการให้มี ความรั บผิดชอบตามหน้า ที่ ด้วยความโปร่ งใส และสร้ า งความสามารถในการแข่ งขันเพื่ อรั กษา เงิ นทุนเพิ่มคุณค่าให้กบั ผูถ้ ือหุ ้นระยะยาว ภายในกรอบการมีจริ ยธรรมที่ดี โดยคานึ งถึ งผูม้ ีส่วนได้ เสี ยอื่นและสังคมโดยรวมประกอบ (เจริ ญ เจษฏาวัลย์,2545: 96) กล่าวว่า ธรรมาภิบาล (Good Governance) หมายความถึง การ มีรัฐบาลที่ดีที่มีการจัดการปกครองที่มีกติกาการกากับดูแลผลประโยชน์ของราษฎรโดยทัว่ ถึ งกัน โดยคานึ งถึงผลประโยชน์ของประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศมากกว่าผลประโยชน์ของคนกลุ่ม น้อย เกียรติศกั ดิ์ จีรเธียรนาถ (2542: 23-26) อ้างถึง อาเธอร์ ลีวทิ ให้ความหมาย บรรษัทภิบาล ว่า หมายถึงสิ่ งต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. ความบริ บูรณ์ของความประพฤติ (lntegrity ofcharacter) 2. ความบริ บูรณ์ของสารสนเทศ (lntegity of lnformation) 3. ความบริ บูรณ์ของการตรวจสอบและการปฏิบตั ิตามกฎ (lntegrity of Auditing and compliance systems) 4. ความบริ บูรณ์ของพันธกิจ (lntegrity of Mission)


7

เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (2542: 23) อ้างถึง The Business Roundtable ให้ความหมายของ บรรษัทภิบาลในฐานะที่เป็ นรวมของประธานเจ้าหน้าที่บริ หาร (CEO) ของบริ ษชั ้ นั นาในสหรัฐอเมริ กาไว้ว่า บรรษัทภิบาล ไม่ใช่ เป้ าหมายที่เป็ นนามธรรม หากแต่เป็ นสิ่ งที่นาไปสู่ วตั ถุ ประสงค์ ขององค์กรโดยการกาหนดโครงสร้ างภายใน องค์กรที่ผถู ้ ื อหุ ้น กรรมการ และฝ่ ายบริ หารสามารถ มุ่งไปสู่ วตั ถุประสงค์ขององค์กรอย่างมีประสิ ทธิ ผลสู งสุ ด (Shleifer and Vishny,1997 อ้างใน เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ,2542: 23) ให้คาจากัดความ บรรษัทภิบาล บรรษัทภิบาล หมายถึง ความมัน่ ใจว่ากรรมการ และฝ่ ายจัดการ ได้กระทาอย่างเต็มที่ เพื่อผลประโยชน์สูงสุ ดของผูล้ งทุนภายนอก เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (2542: 24) อ้างถึง Peter s Committee แห่ งประเทศเนเธอร์ แลนด์ ให้ความหมายบรรษัทภิบาลไว้ว่า หมายถึ ง การจัดการและอานาจ ภาระหน้าที่ (Responsibility) อิทธิ พล (lnfluence) ความรับผิดชอบ (Accountability) เเละการกากับ (supervision) ที่มีความ บริ บูรณ์ (lntegrity) และความโปร่ งใสเป็ นปั จจัยหลัก เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (2542: 24) อ้างถึง CalPERS ให้ความหมายของบรรษัทภิบาลว่า ความสัมพันธ์ระหว่างผูเ้ กี่ ยวข้องหลายฝ่ ายในการกาหนดทิศทางและผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั กลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้องได้แก่ ผูถ้ ือหุ น้ ฝ่ ายจัดการ (นาโดย CEO) คณะกรรมการบริ ษทั เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (2542: 24) อ้างถึง King Committee แห่ งประเทศแอฟริ กาใต้ให้ ความหมายของบรรษัทภิบาลไว้วา่ คือ ระบบที่ช้ ีนาและควบคุมองค์กร (เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ,2542: 25 อ้างถึง The Toronto Stock Exchange Committee) ให้ ความหมายของบรรษัทภิบาลไว้วา่ หมายถึง กระบวนการและโครงสร้างที่ช้ ีนาและจัดการธุ รกิจและ กิจกรรมต่างๆขององค์เพื่อเพิ่มคุณค่าของผูถ้ ือหุ ้น ซึ่ งรวมถึงการสร้างความมัน่ ใจถึงความเป็ นไปได้ ในทางธุ รกิจ (ปรี ดิยาธร เทวกุล, ม.ร.ว. และ คณะ,2545: 7) ให้ความหมายว่า ธรรมาภิบาลในภาคเอกชน หรื อบรรษัทภิ บาลหมายถึ งหลักการแห่ งการดารงอยู่และปฏิ บตั ิ ตนที่ จะผลักดันให้มีการบริ หาร


8

จัดการที่ดี มีคุณธรรม มีการพัฒนาเพิ่มประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลในการทางานของระบบงาน เพื่อให้เจริ ญก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืนตลอดไป จรัส สุ วรรณเวลา (2546:41) กล่าวว่า ธรรมาภิบาลหรื อการบริ หารจัดการที่ดี เป็ นหลักการ และวิธีการที่ใช้ได้กบั ประเทศ ชุ มชน และองค์การ ในโครงสร้ างของธรรมาภิบาลมีผูบ้ ริ หาร กับ องค์คณะบุคคล ที่เรี ยกว่า บอร์ ด คณะกรรมการ หรื อสภา หรื อชื่ ออื่น ๆ ที่ทางานประสานกัน โดยมี การแบ่งอานาจและบทบาทหน้าที่ ทั้งในสภาพถ่วงดุล สอดคล้อง และเสริ มกันเป็ นระบบ สุ รัสวดี ราชกุลชัย (2546 : 562) ให้ความหมายของบรรษัทภิบาล (Corporate Governance) หมายถึ ง การบริ หารรู ป แบบหนึ่ ง ซึ่ งมี หลัก การนาไปสู่ วตั ถุ ป ระสงค์ข ององค์ก าร โดยก าหนด โครงสร้างการจัดการ อานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ และการตรวจสอบควบคุมที่ชดั เจน มีการกากับ ดูแลที่บริ บูรณ์โปร่ งใส และชี้นาให้องค์การเกิดสมรรถนะในการแข่งขันเพื่อไปสู่ เป้ าหมายที่กาหนด ไว้ จากการที่คาบัญญัติศพั ท์ที่ชดั เจนยังไม่มี บางครั้งจึงมีการเรี ยกชื่ อต่าง ๆ กัน เช่ น บริ ษทั ภิบาล การจัดการที่ดี หรื อบรรษัทภิบาล เป็ นต้น จากความหมายของบรรษัท ภิ บ าลข้า งต้น คณะผูจ้ ัด ท า สามารถสรุ ป ความหมายของ บรรษัทภิบาลได้ดงั นี้ บรรษัทภิบาล หมายถึง ระบบการกากับและควบคุ มกิ จการโดยการแบ่งแยก สิ ทธิ และหน้าที่ของผูม้ ีส่วนเกี่ ยวข้องต่างๆ ไม่ว่าจะเป็ นคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร ผูถ้ ื อห้นหรื อผูม้ ี ส่ วนได้เสี ยอื่ นๆ ที่ กาหนดเป็ นหลักเกณฑ์และวิธีปฏิ บตั ิ เพื่อใช้ในการตัดสิ นใจในกรณี ต่างๆ ที่ เกิดขึ้นในกิจการโดยยึดวัตถุประสงค์ของกิจการเป็ นสาคัญ หลักการการกากับดูแลกิจการ สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2553: 16-19)อ้างถึ งตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ประเทศไทย ได้อธิ บายว่า หลักการการกากับดูแลกิจการที่ดีมี 15 ข้อดังนี้ 1. นโยบายบกี่ยวกับการกากับดูแลกิจการ คณะกรรมการบริ ษทั ควรจัดทารายงานเป็ นลายลักษณ์อกั ษรเกี่ยวกับนโยบายหลักการกากับ ดูแลกิ จการของบริ ษทั ซึ่ งควรมีเนื้ อหาครอบคลุ มหลักการต่างๆ อาทิ สิ ทธิ และความเท่าเทียมกัน


9

ของผูถ้ ื อหุ ้นและผูม้ ีส่วนได้เสี ย คณะกรรมการ โครงสร้ างบทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ และ ความเป็ นอิสระ การเปิ ดข้อมูลและความโปร่ งใส การควบคุมและบริ หารความเสี่ ยง จริ ยธรรมธุ รกิจ เป็ นต้น พร้อมทั้งเปิ ดเผยข้อมูลในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี และรายงานประจาปี ให้ผถู ้ ือหุ ้น และผูท้ ี่เกี่ยวข้องทุกฝ่ ายได้ทราบโดยทัว่ กัน 2. ผูถ้ ือหุน้ : สิ ทธิ และความเท่าเทียมกัน คณะกรรมการบริ ษทั ควรปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุ ้นทุกรายอย่างเท่าเทียมกันและละเว้นการกระทา ใด ๆที่เป็ นการจากัดโอการสการเข้าถึงการศึกษาสารสนเทศของบริ ษทั และการเข้าประชุ มของผูถ้ ือ หุน้ 3. สิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่าง ๆ คณะกรรมการบริ ษทั ควรรับรู ้ถึงสิ ทธิ ของผูม้ ีส่วนได้เสี ยกลุ่มต่าง ได้แก่ ลูกค้า ลูกจ้าง คู่คา้ ผูถ้ ือหุ น้ คู่แข่ง เจ้าหนี้ ภาครัฐ และชุมชน เป็ นต้น ตามที่กฎหมายกาหนดและดูแลให้มนั่ ใจว่าทุกฝ่ าย ได้รับการคุม้ ครองและปฏิบตั ิดว้ ยดี 4. การประชุมผูถ้ ือหุน้ ประธานที่ประชุ มควรจัดสรรเวลาให้อย่างเหมาะสมและส่ งเสริ มให้ผถู ้ ือหุ ้นมีโอกาสโดย เท่าเทียมกัน ในการแสดงความคิดเห็นและตั้งคาถามใดๆ ต่อที่ประชุ มตามระเบียบวาระการประขุม และเรื่ องที่เสนอ 5. ภาวะผูน้ าและวิสัยทัศน์ คณะกรรมการบริ ษทั ควรมีภาวะผูน้ า วิสัยทัศน์ และมีความเป็ นอิสระในการตัดสิ นใจ เพื่อ ประโยชน์ สู ง สุ ด ของบริ ษ ัท และผูถ้ ื อ หุ ้น โดยรวมคณะกรรมการบริ ษ ัท และฝ่ ายจัด การมี ค วาม รับผิดชอบตามหน้าที่ต่อผูถ้ ือหุ น้ จึงควรมีระบบการแบ่งแยกบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบระหว่าง คณะกรรมการกับฝ่ ายจัดการและระหว่างคณะกรรมการบริ ษทั กับผูถ้ ือหุ น้ ไว้อย่างชัดเจน


10

6. ความขัดแย้งของผลประโยชน์ คณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายจัดการ และผูถ้ ือหุ ้นควรพิจารณาขจัดปั ญหาความขัดแย้งของผล ประโยชน์ อ ย่า งรอบคอบ ด้ว ยความซื่ อสั ตย์สุ จ ริ ต อย่า งมี เหตุ มี ผ ลและเป็ นอิ ส ระภายใต้ก รอบ จริ ยธรรมทีดีตลอดจนมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างครบถ้วน เพื่อผลประโยชน์ของบริ ษทั โดยรวมเป็ น สาคัญ 7. จริ ยธรรมธุ รกิจ คณะกรรมการบริ ษทั ควรส่ งเสริ มให้มีการจัดทาแนวทางเกี่ ยวกับจริ ยธรรม หรื อจรรยาบรรณของธุ รกิจ (Code of Ethics or sStatement of Business Conduct) เพื่อให้กรรมการและลูกจ้าง ทุกคนได้ทราบและเข้าใจถึงมาตรฐานการปฏิบตั ิตนตามที่บริ ษทั และผูถ้ ือหุน้ คาดหวัง 8. การถ่วงดุลของกรรมการบริ ษทั ที่ไม่เป็ นผูบ้ ริ หาร คณะกรรมการบริ ษทั ควรประกอบด้วยกรรมการที่เป็ นอิสระหนึ่ งในสามของกรรมการทั้ง คณะ และอย่างน้อย 3 คน และจานวนกรรมการควรเป็ นไปตามสัดส่ วนที่เป็ นธรรมตามเงินลงทุน ของผูถ้ ือหุน้ ในบริ ษทั 9. การรวมหรื อแยกตาแหน่ง คณะกรรมการบริ ษทั และผูถ้ ื อหุ ้นอาจรวมบทบาทของประธานกรรมการกับของผูจ้ ดั การ ใหญ่ให้อยูใ่ นตาแหน่งเดียวกัน หรื อแยกกันโดยอาจให้กรรมการที่ไม่เป็ น ผูบ้ ริ หารที่เป็ นอิสระเป็ น ประธานกรรมการก็ได้ และควรมีการแยกอานาจ น้าที่ระหว่างกันให้ซัดเจน โดยไม่ให้คนใดคน หนึ่งมีอานาจโดยไม่จากัด 10. ค่าตอบแทนของกรรมการบริ ษทั และผูบ้ ริ หาร ระดับและองค์ประกอบค่าตอบแทนแก่ กรรมการบริ ษทั ควรเพียงพอที่ จะจูงใจและรั กษา กรรมการที่มีคุณภาพตามที่ตอ้ งการ แต่ควรหลีกเลี่ยงการจ่ายที่เกินสมควร กรรมการบริ ษทั ที่ได้รับ


11

มอบหมายให้มี หน้า ที่ และความรั บผิดชอบเพิ่ ม ขึ้ นเช่ น เป็ นสมาชิ ก ของอนุ ก รรมการควรได้รับ ค่าตอบแทนเพิ่มที่เหมาะสมด้วย เป็ นต้น กรรมการบริ ษทั ที่เป็ นผูบ้ ริ หารควรได้รับค่าตอบแทนที่ เชื่อมโยงกับผลการดาเนินงานของบริ ษทั และผลการปฏิบตั ิงานของกรรมการแต่ละคน ค่าตอบ แทน ของผูจ้ ดั การใหญ่ และผูบ้ ริ หารระดับ สู ง ควรกาหนดตามหลัก การและนโยบายที่ คณะกรรมการ กาหนด การกาหนดค่าตอบแทนควรได้รับอนุ มตั ิจากผูถ้ ือหุ ้น ในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี และรายงานประจ าปี คณะกรรมการบริ ษ ัท ควรเปิ ดเผยถึ ง นโยบายค่ า ตอบแทนและจ านวน ค่าตอบแทนของกรรมการ และผูบ้ ริ หารระดับสู งตามข้อกาหนดในประกาศคณะกรรมการกากับ หลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 11. การประชุมคณะกรรมการบรษัท ควรกาหนดการประชุ มไว้ล่วงหน้าเป็ นประจา กรรมการบริ ษทั มีหน้าที่ตอ้ งเข้าประชุ มทุก ครั้ งยกเว้นกรณี ที่ มีเหตุ ผ ลพิ เศษจริ ง ๆ และควรเปิ ดเผยจานวนครั้ ง ที่ กรรมการแต่ ล ะคนเข้าร่ วม ประชุมคณะกรรมการในแบบแสดงรายการข้อมูลประจาปี และรายงานประจาปี ด้วย 12. คณะอนุกรรมการ บริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ควรจัดให้มีคณะอนุ กรรมการชุ ดต่างๆ เพื่อช่ วยศึกษาในรายละเอียด และกลัน่ กรองงานตามความจาเป็ นของสถานการณ์ โดยเฉพาะคณะอนุ กรรมการตรวจสอบ และ คณะ อนุ กรรมการกาหนดค่าตอบแทน สมาชิ กทุ กคนหรื อส่ วนโหญ่ควรเป็ นกรรมการที่ ไม่เป็ น ผูบ้ ริ หารและประธานอนุกรรมการควรเป็ นกรรมการอิสระ

13. ระบบการควบคุมและตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริ ษทั ควรจัดทา รักษาไว้ และทบทวนระบบการควบคุมทั้งการควบคุมทาง การเงินการดาเนินงาน และการปฏิบตั ิตามกฏระเบียบ (Compliance Controls) ตลอดจนการจัดการ ความเสี่ ยงและควรจัดให้มีงานตรวจสอบภายในแยกเป็ นหน่วยงานหนึ่งของบริ ษทั


12

14. รายงานของคณะกรรมการบริ ษทั คณะกรรมการบริ ษทั ควรจัดทารายงานอธิ บายถึ งความรับผิดชอบของตนในการจัดทา รายงานทางการเงินไว้ในรายงานประจาปี โดยแสดงควบคู่กนั ไปกับรายงานของผูส้ อบบัญชี 15. ความสัมพันธ์กบั ผูล้ งทุน คณะกรรมการบริ ษทั ควรมีการเปิ ดเผยข้อมูลสารสนเทศที่สาคัญอย่างถูกต้องทันเวลา และ โปร่ งใส โดยควรจัดให้มีหน่ วยงาน หรื อผูร้ ับผิดชอบงานเกี่ ยวกับ “ผูล้ งทุนสัมพันธ์ ” (Investor Relations) เพื่ อเป็ นตัวเเทนในการนาเสนอสารสนเทศและการติ ดต่ อสื่ อสารกับ ผูล้ งทุ นที่ เป็ น สถาบัน ผูถ้ ือหุ น้ นักวิเคราะห์ทวั่ ไปและภาครัฐที่เกี่ยวข้อง สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2553: 12-13) อ้างถึง องค์กรเพื่อความร่ วมมือ ทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (2547) อธิ บายหลักการกากับดูแลกิจการว่า มี 6 หัวข้อหลัก ได้แก่ 1. โครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ จ ะสนับ สนุ น ให้ ร ะบบการก ากับ ดู แ ลกิ จ การเป็ นไปอย่ า งมี ประสิ ทธิผล 2. สิ ทธิ ของผูถ้ ือหุ น้ และระบบการเข้าครอบครองกิจการ 3. การปฏิบตั ิที่เท่าเทียมกันต่อผูถ้ ือหุ น้ ควรให้ความมัน่ ใจว่า องค์กรจะปฏิบตั ิการต่อผูถ้ ือ หุ น้ อย่างเท่าเทียม รวมทั้งผูถ้ ือหุ น้ ส่ วนน้อยและผูถ้ ือหุ น้ ต่างประเทศ 4. บทบาทของผูม้ ีส่วนได้เสี ยในการกากับดูแลกิจการ ผูม้ ีส่วนได้เสี ยควรได้รับการดูแล ตามสิ ทธิ ที่มีตามกฎหมายหรื อตามข้อตกลงร่ วมกัน คณะกรรมการควรพิจารณาให้มีกระบวนการ ส่ งเสริ มให้เกิ ดความร่ วมมือระหว่างบริ ษทั กับผูม้ ี ส่วนได้เสี ยในการสร้ างความมัง่ คัง่ ความมัน่ คง ทางการเงิน และความยัง่ ยืนของกิจการ 5. การเปิ ดเผยข้อ มู ล และความโปร่ ง ควรให้ค วามมัน่ ใจว่า มี ก ารเปิ ดเผยข้อมู ล อย่า ง ถูกต้องและทันกาลในทุกเรื่ องของกิ จการ รวมทั้งสถานภาพทางการเงิ น ผลการดาเนิ นงาน ความ เป็ นเจ้าของและการกากับดูแลกิจการ


13

เดือนเด่นนิ คมบริ รักษ์ (2542) อ้างใน ทองทิพภา วิริยะพันธุ์ (2545: 20-21) ให้ความหมาย ว่าหลักการธรรมาภิบาลภาคเอกชน หมายถึง การมีบรรษัทภิบาล(Corporate Governance)ที่ดี คือ มี การบริ หารจัดการธุ รกิ จที่เป็ นธรรมและโปร่ งใส โดยผูม้ ี อานาจบริ หารจัดการธุ รกิ จนั้นๆมีความ รับผิดชอบต่อหน้าที่และผลการกระทาของตนต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยกับบริ ษทั (stakeholders) ทุกราย รวมถึงผูถ้ ือหุ ้น เจ้าหน้าที่พนักงาน รัฐ ลูกค้าตลอดจนประชาชนทัว่ ไป คณะกรรมการ (Board) มี หน้าที่ตรวจตรา (Monitor) การบริ หารงานของผูบ้ ริ หาร (Management) ไห้สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์และนโยบายของบริ ษทั ในขณะที่ผบู ้ ริ หารงานมีหน้าทั้งนี้ การบริ หาร ธุ รกิ จเพื่อที่จะ สร้ างผลกาไรให้แก่ ผูถ้ ื อหุ ้นทุ กรายโดยไม่เลื อกปฏิ บตั ิ ระหว่างผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญู่ และรายย่อย ทั้ง กรรมการและผู ้บ ริ หารมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบร่ ว มกัน ที่ จ ะชดใช้ ห นี้ ให้ แ ก่ เ จ้า หนี้ ครบถ้ ว นตาม กาหนดเวลา จ่ายภาษีให้แก่รัฐ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบในการประกอบธุ รกิจต่างๆ ของรัฐ นอกจากนี้ แล้วยังมีความรับผิดชอบต่อพนักงานให้มีความเป็ นอยูท่ ี่ดี ต่อลูกค้าให้ได้รับสิ นค้าที่มีคุณภาพ หรื อ มีบริ การที่ดี ตลอดจนประชาชนให้ได้อยูใ่ นสิ่ งแวดล้อมที่ดีอีกด้วย ทองทิพภา วิริยะพันธุ์ (2545: 21-22) กล่าวว่าธรรมาภิบาลเอกชนที่ดี มีรากฐานตั้งอยูบ่ น หลักการสาคัญ 3 ประการได้แก่ 1. ความรับผิดชอบ (Accountability) ซึ่ งได้แก่ ความรั บผิดชอบของกรรมการและ ผูบ้ ริ หารต่อผูถ้ ือหุ ้น และผูม้ ีส่วนได้เสี ยอื่นๆ ด้วย เช่น รัฐ เจ้าหนี้ พนักงานและสังคม โดยผูบ้ ริ หาร จะต้องรับผิดชอบต่อผลการดาเนิ นงานของบริ ษทั ในขณะที่กรรมการในฐานะตัวแทนผูถ้ ื อหุ ้น จะ เป็ นผูต้ รวจสอบการทางานของผูบ้ ริ หาร (Monitor) และความถูกต้องของระบบบัญชี (Auditing) 2. ความโปร่ งใส (Transparency) ซึ่ งได้แก่ ความโปร่ งใสในการบริ หารธุ รกิจเพื่อให้ผถู้ ือ หุ ้นมัน่ ใจได้ว่า การดาเนิ นธุ รกิ จนั้นเป็ นไปในแนวทางที่ก่อให้เกิ ดผลประโยชน์สูงสุ ดแก่ผถู ้ ื อหุ ้น โดยผูบ้ ริ หารหรื อผูถ้ ื อหุ ้นรายใหญ่ไม่ได้มีการแสวงหาผลกาไรส่ วนตัว ทั้งนี้ รู ปแบบการดาเนิ น ธุ รกิจที่โปร่ งใสควรมีลกั ษณะสาคัญบางประการ ดังนี้ 1.1 โครงสร้างของกรรมการต้องเป็ นอิสระจากผูบ้ ริ หาร 1.2 เปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับฐานะทางการเงิน รายละเอียดเกี่ยวกับธุ รกรรมที่ผบู ้ ริ หาร หรื อกรรมการมีส่วนได้เสี ยกับบริ ษทั ตลอดจนข้อกาหนดว่าด้วยธรรมาภิบาลของบริ ษทั


14

1.3 มีระบบบัญชี ที่ห้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง ชัดเจน ทันการณ์ แก่ผลู ้ งทุน(ผูถ้ ือหุ ้น) และมี การตรวจสอบบัญชีที่ได้มาตรฐาน (Audit committee) 1.4 มีการวางข้อกาหนดพฤติกรรมของกรรมการและผูบ้ ริ หาร(code-of-conduct) 1.1. หลีกเลี่ยงการถือหุ ้นไขว้ (cross หรื อ lnterlocking share-holding) เพื่อป้ องกัน ให้มีการแสวงหาผลประโยชน์ อันจะทาให้เป้ าหมายของการบริ หารงานไม่เป็ นไปเพื่อการแสวงหา ประโยชน์สูงสุ ดให้แก่ผถู ้ ือหุ น้ ของบริ ษทั 3. ความเสมอภาคซึ่ งได้แก่ผถู ้ ือหุ น้ รายย่อยจะมีสิทธิ ได้รับผลประโยชน์จากการประกอบ ธุ ร กิ จ เท่ า เที ย มกับ ผู ้ถื อ หุ ้ น รายใหญ่ แต่ ผู ้ถื อ หุ ้ น รายย่ อ ยจะต้อ งมี ค วามสามารถที่ จ ะพิ ท ัก ษ์ ผลประโยชน์ของตนเองได้ (Minonwy shareholder's right) เพื่อจะได้ปกป้ องผลประโยชน์ของ ตนเองโดยผูถ้ ื อหุ ้นรายย่อยจะต้องเข้าร่ วมประชุ มผูถ้ ื อหุ ้น หรื อใช้สิ ทธิ นการออกเสี ยงเลื อกตั้ง กรรมการ เปลี่ ยนหรื อปลดกรรมการ ตลอดจนการมี ส่วนร่ วมในการกาหนดนโยบายสาคัญของ ธุ รกิจตามที่กาหนดไว้ในกฎหมายมหาชน รวมไปถึงสิ ทธิ ในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ต่างๆ ของบริ ษทั (Access to lnformation) สุ รัสวดี ราชกุลชัย (2546: 563) โดยหลักการสาคัญการสร้างบรรษัทภิบาลในองค์การถือ เป็ นโอกาสที่ดีของแต่ละองค์การ ไม่ใช่ภาระ แต่เป็ นสิ่ งที่จาเป็ นเพื่อประโยชน์ต่อองค์การและสังคม โดยรวม บางครั้งมีคากล่าวว่า บรรษัทภิบาลที่ ดีคือวิธีการทาธุ รกิ จที่ดี (เกี ยรติศกั ดิ์ จี รเธี ยรนาถ , บรรษัทภิบาล: วิถีแห่ งการนาองค์กรสู่ ความรุ่ งเรื อง,2542, หน้า 27 เพราะปั จจัยที่จะทาให้ธุรกิ จ ประสบความสาเร็ จส่ วนใหญ่ประกอบด้วยหลายปั จจัย เช่ น การบริ หารจัดการมีประสิ ทธิ ภาพและ ประสิ ทธิผล, มีภาวะความเป็ นผูน้ า, ผูบ้ ริ หารมีวสิ ัยทัศน์และประสบการณ์ ใน พ.ศ.2542 ระเบียบนายกรั ฐมนตรี ว่าด้วยการบริ หารจัดการบ้านเมือง และสังคมที่ดี (อ้างใน เสน่ ห์ จุ ย้ โต,2545:161-163) อธิ บายถึ ง หลักการพื้นฐานของการบริ หารจัดการที่ ดีมี 6 ประการ ได้แก่


15

1. หลักนิ ติธรรม ได้แก่ การตรากฎหมาย กฎ ข้อบังคับต่าง ๆ ให้ทนั สมัยและเป็ นธรรม เป็ นที่ยอมรับของสังคมและสังคมยินยอมพร้อมใจปฏิบตั ิตามกฎหมาย กฎ ข้อบังคับเหล่านั้นโดยถือ ว่าเป็ นการปกครองภายใต้กฎหมาย มิใช่ตามอาเภอใจ หรื ออานาจของตัวกฎหมาย 2. หลักคุ ณธรรม ได้แก่ การยึดมัน่ ในความถูกต้องดี งามโดยรณรงค์ให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ยึดถือหลักนี้ในการปฏิบตั ิหน้าที่ให้เป็ นตัวอย่างที่ดีแก่สังคม และส่ งเสริ มสนับสนุ นให้ประชาชน พัฒนาตนเองไปพร้ อมกัน เพี่ อ ให้ ค นไทยมี ค วามซื่ อ สั ตย์ จริ ง ใจ ขยัน อดทน มี ระเบี ย บวินัย ประกอบอาชีพสุ จริ ต เป็ นนิสัย ประจาชาติ 3. หลักความโปร่ งใส ได้แก่ การสร้างความไว้วางใจซึ่ งกันและกันของคนในชาติ โดย ปรับปรุ งกลไกการทางานขององค์การทุกวงการให้มีความโปรงใสมีการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารที่เป็ น ประโยชน์อย่างตรงไปตรงมาด้วยภาษาที่เข้าใจง่ายประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้สะดวก และมี กระบวน การให้ประชาชนตรวจสอบความถูกต้องชัดเจนได้ 4. หลักการมี ส่ วนร่ วม ได้แก่ การเปิ ดโอกาสให้ป ระชาชนมี ส่วนร่ วมรั บรู ้ และเสนอ ความคิดเห็ นในการตัดสิ นใจปั ญหาสาคัญของประเทศไม่ว่าด้วยการแสดงความเห็ นเป็ น การไต่ สวนสาธารณะ การประชาพิจารณ์การแสดงประชามติหรื ออื่น ๆ 5. หลัก ความรั บ ผิ ด ชอบ ได้ แ ก่ การตระหนัก ในสิ ท ธิ ห น้ า ที่ ค วามส านึ ก ในความ รั บผิดชอบต่ อสัง คมการใส่ ใจปั ญหาสาธารณะของบ้า นเมื องและกระตื อรื อร้ นในการแก้ปั ญหา ตลอดจนการเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง และความกล้าที่จะยอมรับผลจากการกระทาของตน 6. หลัก ความคุ ้ม ค่ า ได้แ ก่ การบริ ห ารจัด การและใช้ท รั พ ยากรที่ มี จ ากัด เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์สูงสุ ดแก่ส่วนรวม โดยรณรงค์ให้คนไทยมีความประหยัดใช้ของอย่างมีคุม้ ค่าสร้างสรรค์ สิ นค้าและบริ การที่มีคุณภาพสามารถแข่งขันได้ในเวทีโลกและรักษาพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติให้ สมบูรณ์ข้ ึน จรัส สุ วรรณเวลา (2546:41) กล่าวว่า หลักการของการปกครองที่ดีององค์การที่เป็ นอิสระ นั้น แยกกล่าวได้ดงั นี้


16

1. องค์การมีสัมฤทธิ ผลตามพันธกิ จเป็ นการสนองวัตถุ ประสงค์ของการจัดตั้งหรื อการ คงไว้ขององค์การนั้น นับเป็ นหลักการที่สาคัญ 2. องค์การมีประสิ ทธิ ภาพในการดาเนิ นงานในกิ จการใดๆก็ตาม ทรัพยากรที่มีอยู่จะมี ขีดจากัดเสมอ การระดมทุนและทรัพยากรก็มีขอ้ จากัด ดังนั้น องค์การจะต้องหาวีธีที่จะดาเนิ นงาน ให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ ไม่วา่ เงิน คน หรื ออุปกรณ์สิ่งประกอบต่าง ๆ ได้เกิ ดผลสู งสุ ด โดยประหยัด ที่สุดหรื อให้เกิดสัมฤทธิ์ ผลขององค์การ แม้วา่ จะต้องใช้ทรัพยากรด้านต่าง ๆ เท่านี้มีอยู่ 3. องค์ก ารมี ก ารดาเนิ นงานอย่างสมเหตุ ส มผล ในการตัดสิ นใจในกิ จการต่ างๆ ของ องค์การ ผูม้ ีอานาจตัดสิ นใจต้องกระทาด้วยความรับผิดชอบซึ่ งหมายความว่า มีเหตุผลสนับสนุ น การตัดสิ นใจ โดยมีขอ้ มูลที่เชื่อถือได้เป็ นฐาน 4. องค์การมี การดาเนิ นงานอย่างโปร่ ง ใส องค์ก ารที่ เป็ นของสาธารณะ ควรให้สังคม โดยทัว่ ไปทราบถึงการดาเนิ นงาน การตัดสิ นใจ และข้อมูลในการใช้นโยบายหรื อการกระทาต่างๆ ตลอดจนผลการดาเนินงานและทรัพยากรที่ใช้ 5. องค์การมีการดาเนิ นงานด้วยความซื่ อสัตย์สุจริ ต องค์การทุกประเภทจะได้รับความ เชื่ อถื อไว้วางใจได้ ต่อเมื่อมีความซื่ อสัตย์สุจริ ต แม้แต่องค์กรที่มุ่งหากาไรจะมีความเจริ ญอย่างยืน ถาวรได้ ต้องมีความซื่ อสัตย์สุจริ ตต่อลูกค้า 6. องค์การมีการกระจายอานาจ การแบ่งบทบาทหน้าที่อย่างชัดเจน ในองค์การที่มีขนาด ใหญ่ ที่ มี หน่ วยงานย่อยหลายหน่ วย และมี บุคคลผูป้ ฏิ บ ตั ิ งานจานวนมากนั้น การมี ระบบงานที่ กระจายอานาจและมอบหมายหน้าที่จะช่วยให้ผบู ้ ริ หารสู งสุ ดทางานที่จาเป็ นได้มากขึ้น การกระจาย งานยังทาให้มีการตัดสิ นใจและปรับปรุ งคุณภาพของงานในทุกระดับ เป็ นการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของ องค์การ 7. การมี ส่วนร่ วมของประชาคมในองค์ก าร องค์ก ารจะดาเนิ นงานเป็ นผลสาเร็ จ ต้อง อาศัยบุคคลากรต่างๆ ในองค์การนั้น ดังนั้นการที่บุคคลในองค์การจะมีความรู ้ สึกเป็ นเจ้าของ รั ก องค์การ และมุ่งที่จะให้องค์การเจริ ญเป็ นสิ่ งสาคัญ การปกครององค์การที่ดีตอ้ งพยายามให้บุคคล ในองค์การได้มีส่วนร่ วมในกิ จการต่างๆ โดยสามารถให้ขอ้ มูลและความคิดเห็นในการดาเนิ นงาน


17

ขององค์ก าร โดยเฉพาะอย่า งยิ่ ง ส าหรั บ เรื่ อ งส าคัญที่ มี ผ ลกระทบต่ อ องค์ก ารและต่ อบุ ค คลใน องค์การนั้นหากการตัดสิ นใจที่ สาคัญได้กระทาโดยที่ บุคลากรในองค์การมี ส่วนรั บรู ้ ก็จะเป็ นที่ ยอมรั บได้ดียิ่งขึ้ น ความคิ ดเห็ นของบุคคลในองค์การ อาจเป็ นมุมมองในเชิ งปฏิ บตั ิ ที่ช่วยให้การ ตัดสิ นใจดียงิ่ ขึ้น ขวัญและกาลังใจของบุคลากรเป็ นปั จจัยสาคัญในการเพิ่มผลผลิต ดังนั้น การดูแล ผลประโยชน์ของคนในองค์การจึงเป็ นส่ วนสาคัญในการบริ หารจัดการ แต่ตอ้ งไม่ขดั ผลประ- โยชน์ ขององค์การเอง ผูบ้ ริ หารและการปกครองที่ดีจะต้องตระหนักในเรื่ องนี้ ปรี ดิยาธร เทวกุล และ คณะ, ม.ร.ว. (2545: 7) อธิ บายว่าหลักการธรรมาภิบาลที่องค์กร ธุ รกิจจะต้องนาไปปฏิบตั ิเพื่อให้เกิดความก้าวหน้าอย่างยัง่ ยืน ได้แก่ 1. การรู้ภาระหน้าที่ 2. การมีความรับผิดชอบ 3. การปฏิบตั ิกิจด้วยความโปร่ งใส 4. การปฏิบตั ิต่อทุกฝ่ ายด้วยความเสมอภาค 5. การมุ่งสู่ ความเป็ นเลิศ 6. การมุ่งสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผูถ้ ือหุ น้ และคุณค่าแก่ผมู ้ ีผลประโยชน์ร่วมทั้งมวล

แนวคิดเกีย่ วกับจริ ยธรรมทางธุรกิจ ความหมายจริยธรรมทางธุรกิจ อัญญาขันธวิทย์,ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร และ เดือนเพ็ญ จันทร์ ศิริศรี , ( 2552: 252) อธิ บาย ความหมายจริ ยธรรมธุ รกิจว่า หมายถึง มาตรฐานทางศีลธรรม คุณธรรม ที่ใช้กบั องค์กรทางธุ รกิจ ซึ่ งมีหน้าที่ผลิต กระจายสิ นค้าและบริ การ รวมถึงพฤติกรรมของแต่ละบุคคลที่ทางานสังกัดภายใน


18

องค์กรทางธุ รกิจนั้น ซึ่ งสอดคล้องกับ พรนพ พุกกะพันธุ์ (2546: 130) อธิ บายความหมายจริ ยธรรม ทางธุ รกิจว่า หมายถึง มาตรฐานการผลิตสิ นค้า และ/หรื อ บริ การเพื่อผลตอบแทนตามคุณค่าของการ ลงทุน โดยเป็ นธรรมกับทุกฝ่ าย สุ ภ าพร พิ ศ าลบุ ต ร (2549: 62) อธิ บ ายความหมายจริ ย ธรรมทางธุ ร กิ จ ว่า หมายถึ ง มาตรฐานการผลิ ตสิ นค้าและ/หรื อการให้บริ การเพื่อตอบแทนตามคุ ณค่าของการลงทุ นโดยเป็ น ธรรมต่อทุกฝ่ าย ทั้งเจ้าของกิจการ ผูบ้ ริ หาร ผูร้ ่ วมงาน ผูบ้ ริ โภค ผูร้ ับบริ การ รัฐบาล และสังคม ซึ่ งมี ความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจร่ วมกัน (stakeholders) นภาพร ขันธนภา และ ศานิ ต ด่านศมสถิต (2547: 1-2) อธิ บายความหมายจริ ยธรรมทางธุ รกิจ (Business Ethics)ว่า ประกอบด้วยหลักการ และมาตรฐานที่กาหนดแนวทางในการดาเนิ นธุ รกิ จ ของโลก ซึ่ งจะผิดหรื อถูก มีจริ ยธรรมหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยู่กบั การพิจารณาของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) ซึ่ งได้แก่ นักลงทุน ลูกค้า กลุ่มผูส้ นใจ พนักงาน ระบบทางกฎหมาย และชุมชน (บรรยงค์ โตจินดา, 2545: 4 อ้างถึงWiess, Joseph W 1994: 15) อธิ บายความหมายจริ ยธรรม ทางธุ รกิจว่า หมายถึ ง การใช้ศิลปะและกฎเกณฑ์ต่างๆ ทางจริ ยธรรม เพื่อตรวจสอบและแก้ปัญหา ทางศีลธรรมในการประกอบธุ รกรรมว่า สิ่ งใดถูก สิ่ งใดผิด สิ่ งใดดีและสิ่ งใดไม่ดี ชาญชัย อาจินสมาจาร (2552: 6) อธิ บายความหมาย จริ ยธรรมทางธุ รกิจว่า คือ การศึกษา และปรัชญาของพฤติกรรมมนุษย์ที่เน้นหลักการประพฤติที่ถูกต้องใน สุ ภาพร พิศาลบุตร (2549: 61) อ้างถึง Nash,nd.) ได้ให้ความหมายของจริ ยธรรมทางธุ รกิจ ว่า เป็ นการศึ ก ษาถึ ง บรรทัดฐานทางจริ ย ธรรม ส่ วนตัวที่ ไ ด้นาไปประยุก ต์ใ ช้ก ับ กิ จ กรรมและ เป้ าหมายขององค์กรการค้า ทั้ง นี้ ไ ม่ ใช่ ม าตรฐานทางจริ ย ธรรมที่ แยกออกไป แต่เป็ นการศึ ก ษา เกี่ยวกับบุคคลที่มีจริ ยธรรมและแสดงตนเป็ นตัวแทนของระบบในทางธุ รกิจจะก่อให้เกิดปั ญหาอัน เป็ นเอกลักษณ์ได้อย่างไร พิพฒั น์ นนทนาธรณ์ , ม.ป.ป. : 62) อธิ บายความหมายจริ ยธรรมธุ รกิ จ คือหลักการและ มาตรฐานที่เป็ นแนวทางพฤติกรรมของบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลในโลกธุ รกิจ จริ ยธรรมธุ รกิจสัมพันธ์ กับ ประเด็ น ทางศี ล ธรรมและทางเลื อ กของบุ ค คลในสิ่ ง ที่ ดี เ ลว ผิ ด ถู ก ในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ


19

ความสัมพันธ์ระหว่างจริ ยธรรมกับธุ รกิจเป็ นสิ่ งที่ซบั ซ้อน เนื่ องจากความเชื่ อ วัฒนธรรม ค่านิ ยม ที่ หลากหลายในแง่ของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย หรื อในสังคมหรื อวงการต่างๆ นภาพร ขันธนภา และ ศานิ ต ด่านศมสถิ ต (2547: 61) ได้กล่าวว่า จริ ยธรรมทางธุ รกิ จ (Business Ethics) หมายถึงหลักการและมาตรฐานที่เป็ นตัวชี้ นาพฤติกรรมในโลกธุ รกิจ พฤติกรรม มักจะประเมินในรู ปของการตัดสิ นใจของบุคคลและกลุ่ม การกระทาจะมีการพิจารณาว่าถูกหรื อผิด มีหรื อไม่มีจริ ยธรรม โดยคนอื่นที่เป็ นคนในหรื อคนนอกองค์การ ถึงแม้วา่ การประเมินพฤติกรรมที่ มีจริ ยธรรมมาจาเป็ นว่าจะถูกต้องเสมอไปก็ตาม แต่การตัดสิ นใจเหล่านี้ ก็มีผลต่อการยอมรับ หรื อ ต่อต้านของสังคมที่มีต่อกิจกรรมของบุคคลหรื อกลุ่มภาพในสิ่ งแวดล้อมทางธุ รกิจ (บรรยงค์ โตจินดา, 2545: 4 1992: 2 อ้างถึง Frederick, William C, et al,nd.) อธิ บาย ความหมายจริ ยธรรมทางธุ รกิ จว่า หมายถึง การประยุกต์ความคิดในเรื่ องจริ ยธรรมทัว่ ไปให้เข้ากับ พฤติกรรม พิภพ วชังเงิน (2549: 9) อธิ บายความหมายจริ ยธรรมทางธุ รกิจว่า หมายถึง กลไกทุกส่ วนที่ ให้ความชอบธรรมเพื่อประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ดของธุ รกิจ (สุ ภาพร พิศาลบุตร , 2544: 3 อ้างถึง Moore and Underwood, 1976 : 4)กล่าวว่า จริ ยธรรม จะต้องมีความหมายมากกว่าสังคม เพราะถ้าจริ ยธรรมเป็ นเพียงการลงโทษตนเอง จะไม่สามารถให้ เหตุผลในการที่ละทิ้งกฎเกณฑ์ ที่ได้มาจากบิดามารดา หรื อขนบธรรมเนี ยมประเพณี และตั้งกฎของ ตนเองขึ้ น ซึ่ ง เป็ นการนาตนเองให้ดารงไว้ซ่ ึ ง มโนทัศ น์ของตนเอง พร้ อมทั้งประยุก ต์ให้เข้ากับ ประสบการณ์ใหม่ ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ (2545: 98) อธิ บายความหมายจริ ยธรรมในการบริ หารจัดการ (Ethics in management) ว่าเป็ นหลักการปฏิบตั ิที่ใช้ในการตัดสิ นใจและพฤติกรรมของแต่ละบุคคล หรื อแต่ละกลุ่ม โดยอ้างใน Rue and Byars.( 2000 : 444) ได้กล่ าวว่า เป็ นการศึกษาเกี่ ยวกับ มาตรฐานของการปฏิ บตั ิและศีลธรรม ตลอดจนมาตรฐานการปฏิ บตั ิที่ถูกต้อง (Standard right conduct) และอ้างใน Dessler. (1998 : 6) ได้กล่าวว่า เป็ นการศึกษาการตัดสิ นใจในโครงร่ างงานของ ระบบมาตรฐานด้านศีลธรรมและด้านจริ ยธรรม


20

(สุ ภาพร พิศาลบุตร 2549: 62 อ้างถึ ง เกียรติศกั ดิ์ จีระเธี ยรนาค,ม.ป.ป.) ให้ความหมาย ของ จริ ยธรรมทางธุ รกิจ ไว้ดงั นี้ จริ ยธรรมทางธุ รกิจ คือ ความตั้งใจของแต่ละฝ่ ายที่เกี่ยวข้องในการ ทาธุ รกิจควรปฏิ บตั ิต่อกันอย่างมีเหตุผลและไว้วางใจซึ่ งกันและกัน แม้วา่ วัตถุประสงค์ของการทา ธุ รกิจก็เพื่อการสร้างความมัน่ คัง่ แต่ผเู ้ ป็ นเจ้าของหรื อตัวแทนเจ้าของต้องรักษามาตรฐานการปฏิบตั ิ ที่ดีต่อลูกจ้าง ลูกค้า คู่คา้ หรื อเจ้าหนี้ แม้วา่ จะไม่มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัวแต่ความพยายามอันต่อเนื่ องใน การปฏิบตั ิต่อกันด้วยความซื่ อสัตย์ และไว้วางใจในทุกกรณี เป็ นสิ่ งที่ควรยึดถือ เนตร์ พณั ณา ยาวิราช (2551: 40) อธิ บายความหมาย จริ ยธรรมทางธุ รกิจว่า คือ มาตรฐาน การกระทาที่ผบู ้ ริ หารควรปฏิบตั ิในทางธุ รกิจ จินตนา บุญบงการ (2550: 26) อธิ บายความหมายจริ ยธรรมทางธุ รกิจว่า คือ การผสมผสาน ระหว่างเศรษฐกิ จและจริ ยธรรม โดยมีเป้ าหมายเพื่อส่ งเสริ มนโยบายและการปฏิ บตั ิของภาคธุ รกิ จ ในการสร้างความสาเร็ จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยัง่ ยืน มีผลในระยะยาว วิเชียร วิทยอุดม (2554: 3-1) กล่าวว่า จริ ยธรรมคือ กฎที่อธิ บายว่าอะไรคืออะไรไม่ดีและ การกาหนดหลักเกณฑ์และนิ ยามของพื้นฐานทางพฤติ กรรม จริ ยธรรมทางธุ รกิ จนี้ พนักงานและ ผูจ้ ดั การจะต้องนาไปใช้ในการกระทาหรื อปฏิบตั ิตามและใช้ในการตัดสิ นใจในการดาเนินงานทาง ธุ รกิจ การที่มีจริ ยธรรมจะทาให้เกิดความไม่สอดคล้องกับศีลธรรม และไม่คานึ งถึงว่าสิ่ งที่ตนเองทา นั้นจะมีความถูกต้องตามหลักจริ ยธรรมหรื อไม่ วิทยา ด่านธารง (2546: 90) กล่าวว่า จริ ยธรรม หมายถึงมาตรฐานหรื อหลักการที่เป็ นเครื่ อง แยกแยะระหว่างความถูกและความผิค ความดีและความชัว่ ของการกระทาและการตัดสิ นใจต่างๆ ของคนเรา ดังนั้นจริ ยธรรมทางการบริ หาร (Managerial Ethics) จึงหมายถึงมาตรฐาน หรื อหลักการ ในลัก ษณะดัง กล่ า วที่ ผูบ้ ริ ห ารจะใช้ใ นการด าเนิ นกิ จ การขององค์ก าร ซึ่ ง จะเป็ นเครื่ อ งบ่ ง ชี้ ว่า ผูบ้ ริ ห ารจะประพฤติ ห รื อ ตัด สิ น ใจอย่า งไรภายใต้ส ถานการณ์ ที่ อ าจส่ ง ผลทั้ง ถู ก และผิ ด เป็ น คุณลักษณะเป็ นโทษกับบุคคลอื่น อนิ วชั แก้วจานงค์ (2552 : 269) อ้างถึง Samuel and Trevis, (2006: 66) กล่าวว่า จริ ยธรรม ทางธุ รกิ จเป็ นการนาเอาผลสะท้อนของค่านิ ยมที่ได้รับการยอมรับมาใช้ในกระบวนการตัดสิ นใจ


21

โดยสามารถกาหนดได้ว่าค่านิ ยมและการตัดสิ นใจกระทาใดลงไปจะส่ งผลกระทบต่อผูท้ ี่มีส่วน เกี่ยวข้องกับธุ รกิจ อย่างไร สมคิด บางโม (2551: 13)กล่าวว่าจริ ยธรรมทางธุ รกิจ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า Business Ethics เป็ นการนาจริ ยธรรมมาใช้ในการประกอบธุ รกิ จ เพื่อให้ธุรกิ จเจริ ญรุ่ งเรื อง ยัง่ ยืน เป็ นที่ ยอมรับของสังคมตลอดไป อนิ วชั แก้วจานงค์ (2552 : 269) อ้างถึง Carroll and Buchholtz, (2003: 170) ได้กล่าวถึง จริ ยธรรมธุ รกิจว่าเป็ นการยอมรับโดยสามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนินธุ รกิจได้วา่ สิ่ งใดดี สิ่ งใดไม่ ดี สิ่ งใดถูกและสิ่ งใดผิดโดยสามารถนาไปปฏิบตั ิในการดาเนินธุ รกิจได้ อนิ วชั แก้วจานงค์ (2552 : 269) กล่าวว่าจริ ยธรรมทางธุ รกิจ (Business Ethics) เป็ นการ นาเอาหลักจริ ยธรรมไปใช้ในการทาธุ รกิจโดยมีการตรววจสอบวินิจฉัยและแก้ไขสถานการณ์เพื่อ เลือกกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ งที่เหมาะสมและสอดคล้องกับความต้องการของสังคม แม้วา่ ในการ ดาเนินการอาจมีทางเลือกมากกว่าหนึ่ งทางเลือกหรื ออาจไม่มีทางเลือกใดส่ งผลให้การดาเนิ นธุ รกิจ มีความยากลาบากโดยเฉพาะในการจัดการ จึงเป็ นเหตุผลทาให้ผบู้ ริ หารต้องนาหลักจริ ยธรรมไปใช้ ในการจัดการ อนิ วชั แก้วจานงค์ (2552 : 270) อ้างถึง ชัยเสฎฐ์ พรหมศรี (2549: 179) กล่าวถึงจริ ยธรรม ในการจัดการธุ รกิจ หมายถึงมาตรฐานของกฎเกณฑ์หรื อการตัดสิ นใจอย่างมีศีลธรรมที่ผบู ้ ริ หารใช้ ในการดาเนิ นธุ รกิ จซึ่ งมาตรฐานมาจากบรรทัดฐานและค่ า นิ ย มของสั งคมหรื อจากภู มิ ห ลังทาง ครอบครั ว ศาสนาการศึ ก ษา ของแต่ ละคนท าให้จริ ยธรรมในการจัดการธุ รกิ จของแต่ล ะบุ ค คล แตกต่างกัน ประภัสสร บุญมี (2550: 245) กล่าวว่าจริ ยธรรมและจรรยาบรรณของผูป้ ระกอบธุ รกิ จ หมายถึง มาตรฐานการผลิตสิ นค้า และการให้บริ การเพื่อผลตอบแทนตามคุณค่าของการลงทุนโดย ให้เกิ ดความเป็ นธรรมต่ อทุ กฝ่ ายหรื อผูท้ ี่ เดิ ม พันทางธุ รกิ จซึ่ งได้แก่ เจ้าของกิ จการหรื อผูถ้ ื อหุ ้น ผูบ้ ริ หาร พนักงาน ผูบ้ ริ โภค ผูร้ ับบริ การ ซึ่ งมีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจร่ วมกัน


22

ศูนย์บริ การวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย และ บริ ษทั เธิ ร์ดเวฟ คอมมิวนิ เคชัน่ จากัด (2537 : 1) ให้ความหมายของจริ ยธรรมทางธุ รกิจว่าหมายถึง ข้อควรประพฤติปฏิบตั ิในการทาธุ รกิจ หรื อจิตสานึกในการทาธุ รกิจอย่าสร้างสรรค์ จากความหมายของจริ ยธรรมทางธุ รกิ จข้างต้น คณะผูจ้ ดั ทา สามารถสรุ ปความหมายของ จริ ยธรรมทางธุ รกิจได้ดงั นี้ จริ ยธรรมทางธุ รกิจ หมายถึง มาตรฐานทางศีลธรรม คุณธรรม ที่ใช้กบั องค์กรทางธุ รกิ จ ซึ่ งมีหน้าที่ผลิต กระจายสิ นค้าและบริ การ รวมถึ งพฤติกรรมของแต่ละบุคคลที่ ทางานสังกัดภายในองค์กรทางธุ รกิจนั้น ซึ่ งจริ ยธรรมจะผิดหรื อถูก มีจริ ยธรรมหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยู่ กับการพิจารณาของผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ย (Stakeholders) ซึ่ งได้แก่ นักลงทุ น ลู กค้า กลุ่ มผูส้ นใจ พนักงาน ระบบทางกฎหมาย และชุมชน เพื่อตรวจสอบและแก้ปัญหาทางศีลธรรมในการประกอบ ธุ รกรรมให้ถูกต้อง โดยมีเป้ าหมายเพื่อส่ งเสริ มนโยบายและการปฏิ บตั ิของภาคธุ รกิ จ ในการสร้าง ความสาเร็ จในการประกอบการอย่างมีความรับผิดชอบ มีความยัง่ ยืน มีผลในระยะยาว ระดับของจริยธรรมธุรกิจ สุ ภาพร พิศาลบุตร (2546: 11) ได้กล่าวว่า ระดับของจริ ยธรรม จริ ยธรรมที่มีอยูใ่ นมนุ ษย์ นั้นมี 2 ระดับ ระดับแรกคือจริ ยธรรมในชี วิตประจาวัน หมายถึ งจริ ยธรรมที่มีอยู่ในตัวบุคคล เป็ นตัวตนที่แท้จริ งของบุคคลและจริ ยธรรมที่สังคมเห็นว่าดีงาม อีกระดับหนึ่งคือ จริ ยธรรมในการ ทางาน เป็ นจริ ยธรรมที่ ยงั ไม่หลุ ดออกไปจากจริ ยธรรมในชี วิตประจาวัน แต่บุคคลต้องนาทั้ง 2 ส่ วนคือจริ ยธรรมส่ วนบุคคลและจริ ยธรรมสังคมมาประกอบกันเพื่อความสาเร็ จในอาชีพ 1. จริ ยธรรมในชี วิตประจาวัน จริ ยธรรมสามารถแบ่งออกเป็ น 2 ระดับ คือ จริ ยธรรม ระดับบุคคล เป็ นเรื่ องจริ ยธรรมสาหรับทุกคนที่ยึ ดถือประจาใจและเป็ นแนวปฏิบตั ิของตน และ จริ ยธรรมระดับสังคม เป็ นจริ ยธรรมของกลุ่มคนส่ วนรวมที่จะสะท้อนให้เกิ ดเป็ นจริ ยธรรมส่ วน บุคคล ทาให้บุคคลในสังคมเดียวกันมีจริ ยธรรมไปในทิศทางที่คล้อยตามกัน 2. จริ ยธรรมในการทางาน เป็ นการกล่าวถึงความประพฤติ หรื อ การปฏิบตั ิของบุคคล เพื่อความสาเร็ จในงาน ได้แบ่งระดับจริ ยธรรมในการทางานเป็ น 3 ระดับ ดังนี้


23

2.1 การจัดการอย่างไม่เป็ นจริ ยธรรม (Immoral Management or Unethical Management) หมายถึ งการบริ หารอย่างไม่มีจริ ยธรรม เป็ นการกระทาที่มุ่งหวังผลประโยชน์ต่อ ตนเองโดยไม่ได้คานึ งถึ งผูอ้ ื่น มองกฎหมายและระเบียบต่างๆ ว่าเป็ นอุปสรรคต่อการปฏิบตั ิงาน และสามารถกระทาสิ่ งที่ไม่ถูกต้องได้เพื่อประโยชน์ของตนเอง 2.2 การจัดการอย่างมีจริ ยธรรม (Moral Management or Ethical Management) หมายถึ งการจัดการที่เปี่ ยมไปด้วยคุณธรรมและจริ ยธรรม บริ หารงานโดยคานึ งถึงความยุติธรรม และความถูกต้อง 2.3 การจัดการอย่างไม่สนใจเรื่ องของศีลธรรม (Amoral Management) หมายถึง การบริ หารที่แม้จะไม่ให้ความสนใจเรื่ องของพฤติกรรมหรื อความถูกต้อง แต่ก็ไม่ได้ต้ งั ใจทาผิด จริ ยธรรม การกระทาที่ไม่ถูกต้องอาจเกิดขึ้นโดยความตั้งใจหรื อการเข้าใจในเรื่ องจริ ยธรรมอย่างไม่ ถูกต้อง เนตร์พณั ณา ยาวิราช (2551: 7) ได้กล่าวไว้วา่ ระดับของจริ ยธรรม แบ่งเป็ น 3 ขั้น คือ 1. จริ ยธรรมขั้นพื้นฐาน หมายถึ ง หลักศี ลธรรมอันเป็ นศี ลระดับต้น ได้แก่ ศี ลห้าหรื อ ธรรมมะ 5 ประการ ศี ลห้า ประกอบด้วย การละเว้นจากความชัว่ หรื อข้อห้าม ได้แก่ เว้นจากการ ทาลายชีวติ เว้นจากการเอาสิ่ งของที่เข้าไม่ได้ให้ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม เว้นจากการพูดเท็จ เว้นจากการดื่มสุ ราสิ่ งของมึนเมาจนขาดสิ ติ ธรรมะ 5 คือ การประพฤติดีหรื อทาตามคาแนะนาสั่ง สอน ได้แก่ความมีเมตตากรุ ณา การประกอบสัมมาอาชีวะ กามสังวร มีสัจจะ มีสติสัมปชัญญะ 2. จริ ยธรรมขั้นกลาง หมายถึ ง หลักศีลธรรมอันเป็ นแม่แบบจริ ยธรรมระดับกลางที่สูง ขึ้นมา ได้แก่ กุศลกรรมบท10 ได้แก่ทางแห่ งกรรมดี 10 ประการคือ กายกรรม หมายถึง การกระทา ทางกายได้แก่ศีลข้อ 1-3 เว้นจากการทาลายชี วิต เว้นจากการถือเอาของที่เขามิได้ให้ เว้นจากการ ประพฤติผดิ ในกาม วจีกรรม หมายถึง การกระทาด้วยวาจา เว้นจากศีลข้อ 4 เว้นจากการพูดเท็จ เว้น จากการพูดส่ อเสี ยด เว้นจากการพูดหยาบคาย เว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ และมโนกรรม หมายถึ ง การ กระท าทางใจ ได้แก่ ค วามไม่ โ ลภไม่ อ ยากได้ข องผูอ้ ื่ น ไม่ คิ ด ร้ า ยเบี ย ดเบี ย นผูอ้ ื่ น และมี ค วาม เห็นชอบตามทานองคลองธรรม


24

3. จริ ยธรรมขั้นสู ง หมายถึง หลักศีลธรรมระดับสู ง เป็ นแนวทางปฏิบตั ิเพื่อให้ถึงทางดับ ทุกข์ เรี ยกว่า อริ ยธรรม คือมรรค 8 มีองค์ 8 ประการ เรี ยกว่า มัชฌิมาปฏิปทา เปรี ยบเสมือนทางสาย กลางในการดาเนิ นชี วิต เพื่อให้พน้ ทุกข์ที่เกิดจากการเกิ ด แก่ เจ็บ ตาย สภาพของชี วิตมนุ ษย์ ความ เศร้าโศก คร่ าครวญ ความทุกข์ทางกาย ความทุกข์ทางใจ การต้องประสบกับสิ่ งที่ตนไม่รักไม่ชอบ ไม่ปรารถนาแต่ตอ้ งจายอม การพลัดพรากจากสิ่ งที่รัก การปรารถนาสิ่ งใดไม่ได้สิ่งนั้น สิ่ งเหล่านี้ ก่ อให้เกิ ดทุ ก ข์ ได้แก่ ความรั ก ความโลภ ความโกรธ ความหลง ต้องอาศัย ความมี ส ติ พิ จารณา ไตร่ ตรองด้วยปั ญญาที่เข้าถึงหนทางดับทุกข์ พิพฒั น์ นนทนาธรณ์ (2553: 63) กล่าวว่าปั ญหาทางด้านจริ ยธรรมไม่ได้เป็ นเรื่ องส่ วนตัว ของใครคนใดคนหนึ่ง การมองและแยกแยะระดับของจริ ยธรรมธุ รกิจจะทาให้เห็นความแตกต่างใน แต่ ละระดับซึ่ งสามารถเปลี่ ย นแปลงไปสู่ ระดับ อื่ นๆ โดยจะมี ผูม้ ี ส่วนได้ส่วนเสี ย ที่ แตกต่ างกัน ประเด็นทางด้านจริ ยธรรมหรื อศีลธรรมสามารถมองแยกได้เป็ น 5 ระดับ คือ ระดับปั จเจกบุคคล (Individual Level) องค์กร (Organizational Level) สมาคม (Association Level) สังคม (Societal Level) และระหว่างประเทศ (International Level) ประโยชน์ ของจริยธรรมธุรกิจ อัญญาขันธวิทย์, ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร, และเดือนเพ็ญ จันทร์ ศิริศรี (2552: 256) การจัด ประเภทประเด็นทางจริ ยธรรมธุ รกิจช่วยทาให้ผบู ้ ริ หารกิจการเข้าใจได้ดียิ่งขึ้นว่าพฤติกรรมใดเป็ น พฤติกรรมที่ พึงประสงค์หรื อพฤติกรรมใดเป็ นพฤติกรรมที่ ไม่พึงประสงค์ การแบ่งประเด็นด้าน จริ ยธรรมในเบื้องต้นอาจพิจารณาว่าเป็ นประเด็นในระดับดังต่อไปนี้ 1. ประเด็นจริ ยธรรมเชิ งระบบ เป็ นเรื่ องที่เกี่ ยวกับระบบระบอบทางสังคมหรื อสถาบัน ซึ่ งธุ รกิจดาเนิ นงานอยู่ เช่น วัฒนธรรมหน่ วยงานบางแห่ งที่ยงั อาจมีการติดสิ นบนหรื อฉ้อราษฎร์ บังหลวงกันอย่างแพร่ หลาย เป็ นต้น ในสภาพการณ์ เช่นนี้ อาจเป็ นการยากที่ผบู ้ ริ หารจะหลี กเลี่ยง พฤติกรรมไม่พึงประสงค์เหมือนสุ ภาษิตที่ว่า เข้าเมืองตาหลิ่ วให้หลิ่ วตาตาม สาหรับบริ ษทั ที่ทา ธุ รกิ จระหว่า งประเทศและบริ ษทั ข้ามชาติ ม กั ประสบปั ญหาเรื่ องวัฒนธรรมแต่ ล ะประเทศที่ ไ ม่ เหมือนกันทาให้บรรทัดฐานด้านจริ ยธรรมแตกต่างกันออกไป


25

2. ประเด็นจริ ยธรรมเชิ งองค์กรธุ รกิ จ เป็ นเรื่ องที่ เกี่ ยวกับองค์กรธุ รกิ จใดองค์กรหนึ่ ง โดยตรง เช่ น บริ ษ ทั ที่ ท าลายเอกสารหลัก ฐานทางการบัญชี เ พื่ อปกปิ ดความผิด หรื อ ขัดขวาง กระบวนการยุติธรรมถือเป็ นการกระทาที่ไม่มีจริ ยธรรม เป็ นต้น 3. ประเด็นจริ ยธรรมเชิ งปั จเจกบุคคล เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับส่ วนบุคคลเป็ นการเฉพาะ ใน ส่ วนของพนักงานแต่ละบุคคล การมีจริ ยธรรมคือการปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่ อสัตย์สุจริ ต ศึกษา ระเบียบข้อบังคับ ทาความเข้าใจ และปฏิบตั ิตามนโยบายจริ ยธรรมธุ รกิจของบริ ษทั ไม่ใช้อานาจ หน้าที่ในตาแหน่งตักตวงหาผลประโยชน์ส่วนตน ไม่เบียดบังเวลางานไปทาธุ ระส่ วนตน ป้ องกัน ดูแลทรัพย์สินขององค์กรไม่ให้สูญหายหรื อเสื่ อมค่า การให้ความเคารพและไม่ละเมิ ดสิ ทธิ ส่วน บุคคลของเพื่อนพนักงาน เป็ นต้น เนตร์พณั ณา ยาวิราช (2551: 49) กล่าวว่าประโยชน์ของจริ ยธรรมต่อธุ รกิจ ได้แก่ 1. จริ ยธรรมก่อให้เกิดความเชื่อถือ 2. จริ ยธรรมก่อให้เกิดการทุ่มเท นามาซึ่ งประสิ ทธิ ภาพอันทรงคุณภาพ 3. จริ ยธรรมก่อให้เกิ ดภาพลักษณ์ ที่ดี มีผลดี ต่อตาแหน่ งทางการค้า สร้ างความภักดี ต่อ ตราสิ นค้า มีผลต่อการกาหนดราคา และมีผลต่อยอดขาย 4. จริ ยธรรมก่อให้การลดหย่อนทางกฎหมาย 5. จริ ยธรรมก่อให้เกิดการทางานอย่างมีความสุ ขทั้งผูบ้ ริ หารและพนักงาน การก าหนดจริ ย ธรรมสามารถท าได้หลายรู ป แบบ ในแต่ ล ะองค์ก รจะมี ข ้อบัญญัติท าง จริ ยธรรม ต่างกัน อย่างไรก็ตาม สามารถจัดกลุ่มจริ ยธรรมได้เป็ น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ กลุ่มที่หนึ่ ง เน้น ที่การป้ องกันพฤติกรรมที่ไม่ดี กล่าวถึงการควบคุม การป้ องกันพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย โดยเพิ่มการควบคุ มและการลงโทษ ส่ วนกลุ่มที่สองเน้นที่ ความซื่ อสัตย์ เช่ น การกาหนดค่านิ ยม การสร้ างบรรยากาศของการส่ ง เสริ ม การมี พฤติ ก รรมที่ ดี เน้นที่ การร่ วมกันรั บ ผิดชอบต่ อความ ถูกต้องชอบธรรม


26

พรนพ พุกกะพันธุ์ (2545: 135) คุณค่าแห่ งจริ ยธรรมธุ รกิจนั้น เป็ นสิ่ งที่ประมาณค่าไม่ได้ ในขณะที่ ค วามพร้ อมทางด้า นบุ คลากรทรั พ ยากร เทคโนโลยี และอื่ นๆ เป็ นองค์ป ระกอบแห่ ง ความสาเร็ จ จริ ยธรรม ก็คือหนทางแห่ งความสาเร็ จนัน่ เอง หากธุ รกิจใดปราศจากซึ่ งจริ ยธรรมแล้ว ผูป้ ระกอบการจะพบว่ากิจการของตนเต็มไปด้วยปั ญหา และมีแนวโน้มที่จะประสบความหายนะใน ที่สุด ตัวอย่างเช่ น พ่อค้าที่ชอบโกหกมดเท็จ หลอกลวง กระล่ อน โกง ใครที่ทราบความจริ งข้อนี้ ย่อมปฏิเสธที่จะคบค้าสมาคมด้วยกับเขา หากธุ รกิจใดกอปรด้วยจริ ยธรรมย่อมเป็ นที่ยอมรับ เชื่ อถื อ ได้รับโอกาส มีความได้เปรี ยบ ในเชิ งธุ รกิ จและมีแนวโน้มที่จะรุ่ งโรจน์ ตัวอย่างเช่ น พ่อค้าที่มีมนุ ษยสัมพันธ์ที่ดี มีความซื่ อตรง และเป็ นธรรม ใครๆก็อยากที่จะคบค้าสมาคมด้วย เขาย่อมได้รับโอกาสทางด้านการค้ามากมาย ดั้ง นั้น จริ ยธรรมต่อองค์การธุ รกิจแล้ว สามารถที่จะจาแนกออกได้ดงั ต่อไปนี้ 1. จริ ยธรรมก่ อให้เกิ ดความเชื่ อถื อได้ โดยธรรมชาติ ความเชื่ อถื อนั้นเกิ ดจากความซื้ อ สัตย์ ดังนั้นคนที่มีจริ ยธรรมดี กอปรด้วยความซื่ อสัตย์เสมอ ย่อมได้รับความเชื่อถือ และความเชื่ อถือ คือที่มาของเครดิตทางการค้า ซึ่ งเป็ นปั จจัยที่ได้เปรี ยบในเชิ งการแข่งขัน ทั้งในด้านการลงทุนและ การตลาด 2. จริ ยธรรมก่ อให้เกิ ดการทุ่ มเท ของคนท างาน อันจะนามาซึ่ งประสิ ทธิ ภาพอันทรง คุ ณภาพ ต่อการผลิ ตที่ เต็มกาลัง หากบริ ษทั กอปรด้วยความมีจริ ยธรรม ปฏิ บตั ิต่อพนักงานทุกคน อย่างมีมนุษยธรรม และมีพฒั นาการย่อมต่อเนื่อง ย่อมเป็ นที่รัก ที่ผกู พันของพนักงาน พนักงานย่อม ทุ่มเทความสามารถต่อการผลิต หรื อการบริ การอย่างเต็มกาลังความสามารถ อันนามาซึ่ งผลการผลิต หรื อการบริ การที่ดี 3. จริ ยธรรมก่อให้เกิ ดภาพลักษณ์ที่ดี ซึ่ งภาพลักษณ์ ที่ดีมีผลต่อตาแหน่ งทางการค้าของ บริ ษทั และมีผลต่อความภักดีที่ผบู ้ ริ โภคมีต่อสิ นค้าและบริ การของบริ ษทั เละภาพลักษณ์ทางการค้า ที่ดีมีผลโดยตรงต่อการกาหนดรา และความภักดี ต่อสิ นค้าและบริ การมีผลโดยตรงต่อยอดขาย ซึ่ ง ราคาขายและยอดขายมีผลโดยตรงต่อกาไร ดังนั้น อาจกล่าวได้ว่า จริ ยธรรมทางธุ รกิจคือที่มาแห่ ง ความร่ ารวย


27

4. จริ ยธรรมก่อให้เกิ ดการลดหย่อนทางกฎหมาย บริ ษทั มีประวัติทางจริ ยธรรมที่ดีงาม เมื่อพลาดพลั้งไปมีคดีความกับบุคคลอื่นก็ดี หรื อกับรัฐก็ดี ย่อมได้รับข้อลดหย่อนในบทลงโทษตาม โทษานุโทษที่บญั ญัติไว้ตามกฎหมายของแต่ละสังคม 5. จริ ยธรรมก่อให้เกิดการทางานอย่างมีความสุ ข เมื่อทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้องกับบริ ษทั ไม่วา่ จะ เป็ นผูถ้ ือหุ ้น ผูร้ ่ วมงานในบริ ษทั คู่คา้ ลูกค้า ผูบ้ ริ โภค รัฐบาล และสังคม ค่างก็มีจริ ยธรรมที่ดีต่อกัน ย่อมเป็ นการสร้ างความสัมพันธ์อนั ดีและอบอุ่นขึ้น ทุกฝ่ ายจะปฏิ บตั ิหน้าที่ดว้ ยความสบายใจ และ ไม่มีปัญหาบาดหมางใจกันเกิดขึ้น หรื อหากมีบา้ งโดยอุบตั ิเหตุก็จะแก้ไขได้โดยง่าย การทางานอย่าง มีจริ ยธรรมต่อตนเองและต่อกันและกัน จึงเป็ นชี วิตการทางานที่เป็ นความสุ ข ปราศจากความเครี ยด ใด นอกจากความเครี ยดอันเกิ ดจากภาระเสี่ ยงบ้าง จริ ยธรรมในการปฏิ บตั ิงานก็จะช่ วยผ่อนคลาย และลดความเครี ยดไปได้มากทีเดียว แนวคิดเกีย่ วกับความรับผิดชอบต่ อสั งคม ความหมายความรับผิดชอบต่ อสั งคม โกศล ดีศีลธรรม (2554: 15) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึ งการ ดาเนิ นกิ จกรรมขององค์ก รที่ คานึ งถึ งผลกระทบต่อสัง คมทั้ง ระดับจุ ลภาค เช่ น พนัก งาน ลู ก ค้า ชุ ม ชน และสั ง คมโดยรวม อย่ า งประเด็ น สภาพแวดล้อ ม เรื่ อ งสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนเป็ นกิ จ กรรมที่ สอดคล้องกับพันธกิจและวิสัยทัศน์ขององค์กร โดยส่ งเสริ มให้เกิดนวัตกรรมใหม่จากภายในองค์กร ออกสู่ สั ง คมวงกว้า ง เป็ นไปตามกฎหมายที่ บ ัง คับ ใช้ส อดคล้อ งกับ มาตรฐานสากล และความ ต้องการของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยเป็ นสาคัญ (อัญญาขันธวิทย์, ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร, และ เดือนเพ็ญ จันทร์ ศิริศรี ,2552:90) ที่วา่ ความ รั บ ผิดชอบต่ อสั ง คมของกิ จการ หมายถึ ง การดาเนิ นกิ จกรรมภายในและภายนอกองค์ก ร ที่ คานึ งถึ งผลกระทบต่อสังคมทั้งในระดับใกล้และไกล ด้วยการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กรหรื อ ทรัพยากรจากภายนอกองค์กร ในอันที่จะทาให้เกิดการอยูร่ ่ วมกันในสังคมได้อย่างปกติสุข (กองบรรณาธิ การประชาชาติ ธุรกิจ,2550: 7) อธิ บายความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึ ง การดาเนิ นกิ จกรรม การวางแผน การตัดสิ นใจ การสื่ อสารประชาสัมพันธ์ การบริ หาร


28

จัดการ และการดาเนินงานขององค์กร ที่คานึ งถึงผลกระทบต่อสังคมทั้งในระดับใกล้ ที่หมายถึงผูม้ ี ส่ วนเกี่ยวข้องกับองค์กร ได้แก่ ลูกค้า คู่คา้ พนักงาน ชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ และสังคมระดับไกลหรื อ ผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับองค์กรในทางอ้อม ได้แก่ คู่แข่งทางธุ รกิจ และประชาชนทัว่ ไป (เนตร์พณั ณา ยาวิราช,2551:41) ที่วา่ ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การที่องค์กรตั้งใจ ที่ จะกระทาให้เกิ ดประโยชน์ให้แก่ สังคมอันนอกเหนื อจากที่ กฎหมายกาหนด โดยองค์การอาจ กาหนดไว้เป็ นข้อบัญญัติทางจริ ยธรรมที่ประกอบด้วยความรับผิดชอบต่อบุคคลต่างๆ ได้แก่ ความ รั บ ผิ ดชอบของคณะกรรมการ ความรั บ ผิด ชอบต่ อ ผูถ้ ื อ หุ ้น ความรั บ ผิด ชอบต่ อลู ก ค้า ความ รั บผิดชอบต่อคุ ณภาพของสิ นค้า หรื อบริ ก าร ความรั บผิดชอบต่อพนักงาน ความรั บ ผิดชอบต่ อ สังคมและสิ่ งแวดล้อม บรรยงค์ โตจินดา (2545: 62) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึ ง การ เป็ นเงื่อนไขที่ธุรกิจอุตสาหกรรมพึงปฏิบตั ิต่อสังคม เพื่อธารงรักษาสังคมไว้ และสร้างคุณภาพชี วิต ที่ดีข้ ึนให้แก่คนในสังคมนั้น ๆ นอกเหนือไปจากการดาเนินการให้บรรลุเป้ าหมายขององค์การเพียง อย่างเดียว (บรรยงค์ โตจิ นดา, 2545: 62 อ้างถึ ง วอเรนอาร์ พลังเกตต์ ,ม.ป.ป.) กล่ า วว่า ความ รั บ ผิ ดชอบต่ อ สั ง คม หมายถึ ง เจตนาที่ ไ ม่ เ พี ย งจะสร้ า งผลประโยชน์ ท างธุ ร กิ จของบุ ค คลและ องค์การของตนฝ่ ายเดี ยว แต่ยงั ป้ องกันและสร้ างสรรค์ผลประโยชน์น้ นั ๆ ให้บุคคลอื่นและให้แก่ สังคม รวมถึงความพยายามหลีเลี่ยงไม่กระทาการใด ๆ ให้บุคคลอื่นและสังคมต้องเสี ยหายอีกด้วย (วิเชียร วิทยอุดม, 2554: 3-14) กล่าวว่าความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง แนวความคิด การจัดการที่เน้นเรื่ องของความรับผิดชอบมากกว่าผลกาไรและต้องเป็ นการกระทาด้วยความสมัคร ใจ ซึ่ งให้ผลประโยชน์กบั สังคมได้มากที่ สุด หรื ออาจจะกล่ าวโดยสรุ ปถึ งความหมายของความ รับผิดชอบทางสังคมจะเกี่ยวข้องกับในเรื่ อง 3 อย่างคือภาระหน้าที่ทางสังคม การตอบสนองต่อ สังคม และการมีปฏิกิริยาต่อสังคม อิสรี ย ์ โชว์วิวฒั นา (ม.ป.ป.: 49) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคมของธุ รกิ จ หมายถึ ง การดาเนิ นธุ รกิ จภายใต้หลักจริ ยธรรมและการกากับที่ ดีควบคู่ไปกับการใส่ ใจและดู แล รักษาสังคมและสิ่ งแวดล้อม เพื่อนาไปสู่ การพัฒนาธุ รกิจอย่างยัง่ ยืน


29

(พิพฒั น์ นนทนาธรณ์ , 2553: 11) กล่าวว่าความรับผิดชอบต่อสังคมของธุ รกิ จ หมายถึ ง การดาเนิ นธุ รกิ จควบคู่ไปกับการใส่ ใจ และดูแลรักษาสังคมและสิ่ งแวดล้อมภายใต้หลักจริ ยธรรม การกากับดูแลกิจการที่ดี และการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาบูรณาการ เพื่อนาไปสู่ การดาเนิ น ธุ รกิ จที่ ประสบความสาเร็ จอย่างยัง่ ยืน ทั้งนี้ การปฏิ บตั ิ ตามนิ ยาม ความรั บผิดชอบต่อสังคมของ ธุ รกิจที่สามารถยกระดับตนเองไปสู่ การพัฒนาที่ยงั่ ยืนได้เป็ นผลสาเร็ จโดยไม่ผิดศีลธรรมจรรยา ไม่ เบียดเบียนทุกฝ่ าย ย่อมสร้ างสรรค์ความสุ ขที่แท้จริ งให้กบั ตนเอง ธุ รกิ จ รวมทั้งสังคม วัฒนธรรม และสิ่ งแวดล้อม (พิพฒั น์ นนทนาธรณ์ , 2553: 11 อ้างถึง กรมโรงงานอุตสาหกรรม,ม.ป.ป.) ที่วา่ ความ รั บผิดชอบต่อสัง คม หมายถึ ง ความรั บผิดชอบของผูป้ ระกอบการอุ ตสาหกรรมต่อผลกระทบที่ เกิดขึ้นต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม อันเกิดจากการตัดสิ นใจหรื อกิจกรรม รวมถึงผลิตภัณฑ์และบริ การ ของผูป้ ระกอบการอุตสาหกรรมผ่านประพฤติที่โปร่ งใสและมีจรรยาบรรณ ซึ่ งสอดคล้องกับการ พัฒนาอย่างยัง่ ยืนและสวัสดิ การของสังคม คานึ งถึ งความคาดหวังของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยเป็ นไป ตามกฎหมาย และสอดคล้องกับพฤติกรรมตามมาตรฐานสากลและบูรณาการทัว่ ทั้งองค์กร เสนาะ ติเยาว์ (2546: 36) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง ภาระที่มีอยู่ ต่อสิ่ งใดสิ่ งหนึ่ งหรื อหลายๆ สิ่ ง ความรับผิดชอบของคนก็คือภาระของคนๆ นั้นที่มีต่อสิ่ งที่คนๆ นั้นเกี่ ยวข้องด้วย ความรั บผิดชอบของคนอาจเริ่ มตั้ง แต่แคบที่ สุ ดไปจนถึ งกว้างที่ สุด เช่ น คน จะต้อ งรั บ ผิดชอบตัว เอง ต่ อคนในครอบครั ว ต่ อเพื่ อนบ้า น ต่ อ เพื่ อ นที่ โ รงเรี ย นขณะที่ เรี ย น หนังสื อ ต่อคนในองค์การที่ตวั เองทางานอยู่ ต่อสังคมที่ตวั เองอาศัย ต่อประเทศชาติและต่อโลก เป็ นต้น ขอบเขตของภาระที่ แต่ละคนมี อยู่ต่อคนอื่ นสัง คมหรื อประเทศชาติ จะมากน้อยเพียงใด ย่อมขึ้นอยูก่ บั หน้าที่การงานของคนๆ นั้น และขึ้นอยูก่ บั สานึกของคนๆ นั้นด้วยแม้จะไม่เกี่ยวข้อง โดยตรง เช่ น คนจะต้องรั บผิดชอบต่อการใช้ทรั พยากรโลกที่ มีอยู่อย่างจากัดให้เกิ ดประโยชน์ สู งสุ ด ให้คนอื่นและคนรุ่ นต่อมาได้มีส่วนในการใช้ทรัพยากรโลกด้วย (พัชนี นนทศักดิ์, ปิ ยะพันธ์ ปิ งเมือง, และ สมศรี ศิริไหวประพันธ์ ,2550: 33) ที่วา่ ความ รับผิดชอบต่อสังคมของบริ ษทั หมายถึ ง ภารกิ จในการปกป้ องและพัฒนาสวัสดิ ภาพโดยรวมของ สังคมและผลประโยชน์ขององศ์การ


30

ณัฐยา สิ นตระการผล (2553: 92) อ้างถึง สภาธุ รกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืนของโลก ได้ ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง ความมุ่งมัน่ อย่างต่อเนื่ องของธุ รกิจที่จะประพฤติ ปฏิ บ ตั ิ อย่า งมี จริ ยธรรมแล้วมี ส่ วนช่ วยในการพัฒนาเศรษฐกิ จ และในขณะเดี ย วกันก็ มุ่ งพัฒนา คุณภาพชีวติ ิของแรงงานและครอบครัวของพวกเขา รวมไปถึงชุมชนและสังคมส่ วนรวมด้วย สุ พาดา สิ ริกุตตา และคณะ (2545: 10) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคมหมายถึง ธุ รกิ จควรคานึ งถึ งสวัสดิ ภาพของสังคมโดยรวม นอกจากธุ รกิจต้องคานึ งถึ งผูถ้ ื อหุ ้นแล้ว ธุ รกิ จยัง ต้องรั บผิดชอบต่อสวัสดิ ภาพของพนักงาน ลู กค้า และชุ มชน และจะต้องมี ความรั บผิดชอบด้าน จริ ยธรรมเกี่ ยวกับสภาพแวดล้อมในการทางานที่ปลอดภัย หลีกเลี่ยงการสร้างมลภาวะด้านอากาศ หรื อน้ า ตลอดจนผลิ ตภัณฑ์ที่ป ลอดภัย ธุ รกิ จจะต้องมี ค วามรั บ ผิดชอบต่อสั งคมด้วยการไม่ เอา เปรี ยบในเรื่ องการลงทุน โดยธุ รกิจจะคานึงถึงกาไรปกติและอัตราผลตอบแทนจากลงทุนในระดับที่ เหมาะสม (ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ 2548 : 216)ที่วา่ ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึ ง แนวทางที่ ธุรกิจพยายามที่จะทาให้เกิดความสมดุลของข้อตกลงระหว่างกลุมคนและบุคคลภายใต้สิ่งแวดล้อม ทางสังคม โดยที่กลุ่มคนเหรื อบุคคลได้แก่ลูกค้า ธุ รกิจอื่น ลูกจ้าง และนักลงทุน อนิ วชั แก้วจานงค์(2552: 291) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การ แสดงออกถึงการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งขององค์การต่อ บุคคลหรื อสังคมเพื่อให้เกิดความสงบสุ ข และความอยูด่ ี กนั ดี ของบุคคลและ ทาให้สังคมมีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ีน ลดความวุ่นวายและปั ญหาใน ส่ วนที่เกี่ยวข้องกับองค์การ ปั จจุบนั พบว่าองค์การได้นาการแสดงความรับผิดชอบสังคมไปใช้เป็ น กลยุทธ์ในการจัดการและการตลาด เจริ ญ เจษฏาวัลย์ (2545 : 155) ได้ให้ความหมาย ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึงการ ยอมตามผลที่ดีหรื อไม่ดีในกิจการที่ได้กระทาไป วิรัช สงวนวงศ์วาน (2546: 70) อ้างถึง Milton Friedman,nd ได้ให้ความหมาย ความ รับผิดชอบต่อสังคม หมายถึ ง ความพยายามในการสร้ างผลประโยชน์ให้กบั เจ้าของให้มากที่ สุด เท่าที่จะสามารถทาได้


31

จากความหมายของความรับผิดชอบต่อสังคมข้างต้น คณะผูจ้ ดั ทา สามารถสรุ ปความหมาย ของความรับผิดชอบต่อสังคมได้ดงั นี้ ความรับผิดชอบต่อสังคม หมายถึง การดาเนิ นกิ จกรรมของ องค์กรที่คานึงถึงผลกระทบต่อสังคม รวมถึงการดาเนินธุ รกิจภายใต้หลักจริ ยธรรมและการกากับที่ดี ควบคู่ไปกับการใส่ ใจและดูแลรักษาสังคมและสิ่ งแวดล้อม

ขอบเขตของความรับผิดชอบต่ อสั งคม เสนาะ ติเยาว์ (2546: 37) กล่าวว่าความรับผิดชอบต่อสังคมของบริ ษทั ที่มีต่อสังคมสามารถ แบ่งเป็ น 4 ประเภทดังนี้ 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ (economic responsibility) ได้แก่ การที่ธุรกิจจะต้อง ผลิตสิ นค้าและบริ การสอดคล้องกับความต้องการของสังคมในราคาที่เหมาะสมและทาให้ธุรกิจได้ กาไรที่สร้างความพอใจให้กบั ผูล้ งทุน เป็ นความรับผิดชอบขั้นพื้นฐานที่ทาให้ทุกฝ่ ายอยูร่ ่ วมกันได้ อย่างปกติสุข 2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย (legal responsibility) ได้แก่ การที่ธุรกิจจะต้องปฏิบตั ิ ตามกฎหมายของรั ฐ ข้อก าหนดของรั ฐบาล หรื อองค์ก ารของรั ฐ และตามกฎหมายระหว่า ง ประเทศซึ่ งเท่ากับเป็ นกฎและกติกาของสังคมที่กาหนดว่าสิ่ งใดผิดสิ่ งใดถูกตามสภาพของสังคม 3. ความรับผิดชอบทางจรรยาบรรณ (ethical responsibility) ได้แก่ การที่ธุรกิจจะต้อง ดาเนิ นการให้สอดคล้องกับความคาดหวังของสังคมซึ่ งไม่ได้เขี ยนไว้ในกฎหมาย เป็ นภาระของ องค์การธุ รกิจที่จะต้องกระทาในสิ่ งที่ถูกต้อง ยุติธรรม และไม่เป็ นอันตรายต่อสังคม 4. ความรับผิดชอบตามความสมัครใจ (voluntary responsibility) ได้แก่ การที่ธุรกิ จ จะต้องดาเนิ นการอย่างอื่นนอกเหนื อไปจากข้างต้น เพื่อสร้ างคุ ณค่าให้เกิ ดขึ้นทางสังคมและตาม ความประสงค์ของสังคมด้วยการมีส่วนร่ วมในสังคมและเพิ่มคุณภาพชี วิตให้แก่สังคม เช่น การทา ตัวเป็ นพลเมืองที่ดี การสนับสนุนกิจกรรมของสังคมและการให้เงินบริ จาค เป็ นต้น


32

สมคิด บางโม (2551: 17-18) กล่าวว่า ความรับผิดชอบต่อสังคมมีขอบเขตกว้างขวาง การ ประกอบธุ รกิจจะต้องดาเนิ นไปตามกฎหมายและจริ ยธรรม โดยคานึ งถึงผลประโยชน์ของผูม้ ีส่วน ได้เสี ยและความเดือดร้อนของผูเ้ กี่ยวข้องทั้งหลายความรับผิดชอบต่อสังคมอาจจาแนก ออกได้เป็ น 5 ด้าน ดังนี้ 1. ความรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจ ธุ กิจเป็ นปั จจัยสาคัญที่จะทาให้สังคมหรื อประเทศชาติ มีความมัน่ คงหรื อล่มสลายทางเศรษฐกิจ หรื อทาให้สังคมเดือดร้อนได้มาก ดังจะเห็นได้จากประเทศ เทยล่มสลายทางเศรษฐกิ จในปี 2540 ซึ่ งเกิ ดจากธุ รกิ จเก็งกาไรกันมากเกิ นไป มีการกู้เงิ นจาก ต่างประเทศมาก มีการคอร์ รัปชัน่ กัน์ในสถาบันการเงิ น มีการปั่ นหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์นกั ธรุ กิจ ส่ วนใหญ่แสวงหากาไรโดยไม่คานึ งถึงความเดือดร้อนของผูอ้ ื่น ความรับผิดชอบทางด้านเศรษฐกิจ คือ ควรจะประกอบธุ รกิ จอย่างมี จริ ยธรรม เช่ น นาเงิ นมาลงทุนผลิ ตสิ นค้า แทนที่จะเก็งกาไรใน ที่ดินหรื อหุ ้นมากเกิ นไป ผลิ ตสิ นค้าให้มีคุณภาพราคายุติธรรม ไม่คอร์ รัปชั่น ติดสิ นบน ภายใน องค์กรธรกิจของตนเอง ไม่ติดสิ นบนข้าราชการ ไม่ฮ้ วั ประมูล เป็ นต้น 2. ความรับผิดชอบด้านกฎหมาย กฎหมายเป็ นจริ ยธรรมขั้นต่าของมนุ ษย์ปฏิ บตั ิตามไม่ ยาก กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้องกับ ธุ รกิ จมี ม ากมาย เช่ น กฎหมายแพ่ง และพาณิ ช ย์ กฎหมายธนาคาร กฎหมายตลาดหลักทรัพย์ กฎหมายภาษีอากร กฏหมายแรงงาน ฯลฯ ความรับผิดชอบด้านกฎหมาย ทาได้โดยปฏิบตั ิตามกฏหมาย ไม่หลีกเลี่ยงกฎหมาย 3. ความรับผิดชอบด้านชุ มชน หมายถึ ง ชุ มชนในบริ เวณใกล้เคียงกับองค์กรธุ รกิจ และ ระดับ ประเทศ แล้วแต่ขนาดของธุ รกิจว่าทาธุ รกิจกว้างขวางเพียงไร ธุ รกิจเป็ นส่ วนหนึ่ งของชุ มชน ต้องรับผิดชอบต่อชุ มชนด้วย เคยทากิ จกรรมต่างๆ เช่น ไม่ประกอบธุ รกิ จที่ทาให้สังคมเสื่ อม เช่ น อบายมุ ข ต่ า งๆ การพนัน ยาเสพติ ด บริ ก ารทางเพศ) บริ จาคเงิ นช่ วยเหลื อสาธารณะกุ ศ ล ให้ ทุนการศึกษาวิจยั สนับสนุนโครงการกีฬาหรื อต่อต้านยาเสพติค ไม่กกั ตุนสิ นค้า เป็ นต้น 4. ความรับผิดชอบด้านสิ่ งแวดล้อม การประกอบธุ รกิจมีส่วนกระทบต่อสิ่ งแวดล้อมได้ มากโดยเฉพาะธุ รกิอุตสาหกรรมทาให้เกิดมลภาวะต่อแหล่งน้ า พื้นดินนเละอากาศได้ง่าย ความรับ ผิคชอบในด้านสิ่ งแวดล้อม อาจทากิ จกรรมต่า งๆ เช่ น อนุ รัก ษ์ท รั พยากร ส่ งเสริ มการประหยัด ทรัพยากร ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด ผลิตสิ นค้าที่มีบรรจุภณ ั ฑ์ย่อยสลายได้ง่าย ไม่ปล่อยสารพิษ


33

หรื อน้ าเสี ยลงแม่น้ า ลาคลอง อากาศ พื้นดิน ไม่ทิ้งขยะเป็ นพิษ เช่น ทิ้งถังใส่ สารพิษในที่สาธารณะ สนับสนุนโครงการปลูกป่ า อนุรักษ์สัตว์ป่า ไม่ตดั ไม้ทาลายป่ า เป็ นต้น 5. ความรั บ ผิดด้า นความมัน่ คงหมายถึ ง ความมัน่ คงของสั ง คมและประเทศชาติ เมื่ อ ประเทศมัน่ คง ปราศจากสงครามและผูก้ ่ อการร้ าย ธุ รกิ จก็จะมัน่ คงยัง่ ยืนสามารถดาเนิ นกิ จการ ต่อไปได้ ควรดาเนิ น กิ จกรรมต่างๆ เช่ น สนับสนุ นกองทัพด้านการเงิ น หรื อต่อต้านยาเสพติดไม่ ขายอาวุธ ให้ผูก้ ่ อการร้ ายส่ งเสริ มพรรคการเมื อง ให้ความร่ วมมื อการเลื อกตั้งผูแ้ ทนราษฎรและ ผูแ้ ทนระดับท้องถิ่ น บริ จาคเครื่ องมือเครื่ องใช้หรื อรถยนต์ให้แก่ หน่ วยตารวจหรื อทหาราชกการ หรื อโรงพยาบาล ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2548 : 216-218) กล่าวว่าการดาเนิ นงานของธุ รกิ จจะไม่สามารถ แยกเป็ นอิสระออกจากระบบสังคม ธุ รกิ จจะสร้ างสิ นค้าและบริ การเพื่อตอบสนองความต้องการ ของสังคม ขณะเดียวกันสังคมจะเป็ นแหล่งทรัพยากรและรายได้ของธุ รกิจ โดยทั้งสองฝ่ ายต่างดารง อยูแ่ ละได้ประโยชน์ร่วมกัน ซึ่ งธุ รกิจสามารถแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมใน 4 ด้านดังต่อไปนี้ 1. ความรับผิดชอบต่อสิ่ งแวดล้อม (Responsibility Toward the Environment) ปั จจุบนั รัฐบาลและธุ รกิ จต่างตื่นตัวและให้ความสนใจกับสภาพแวดล้อม การควบคุมมลพิษ หรื อสิ่ งที่เป็ น อันตรายต่อสิ่ งแวดล้อม เช่ น มลพิพางอากาศ น้ า ดิน และสารเคมีที่เป็ นพิษ เป็ นต้น หลายธุ รกิจเข้า ร่ วมกับภาครัฐในการแก้ปัญหาหรื อรณรงค์ให้ประชาชนตื่นตัวถึงการรักษาสภาพแวดล้อมการผลิต สิ นค้าที่ไม่ทาลายสิ่ งแวดล้อม การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) ได้รับการสนับสนุ นทั้งในระดับ ครัวเรื อน และอุตสาหกรรมที่นาวัตถุ ดิบหรื อสิ นค้าใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่ เพื่อประหยัดทรัพยากร และพลังงาน นอกจากนี้ หลายธุ รกิจยังทาการตลาดเพื่อสิ่ งแวดล้อมหรื อที่เรี ยกว่า การตลาดสี เขียว (Green Marketing) 2. ความรับผิดชอบต่อลูกค้า (Responsibility Toward customers) นอกจากรัฐบาลจะเป็ น ผูค้ วบคุมว่ากิจกรรมอะไรที่ธุรกิจสามารถทาหรื อไม่สามารถทาได้แล้ว ธุ รกิจที่ปฏิบตั ิต่อลูกค้าอย่าง ไม่มีความรับผิดชอบและไร้จริ ยธรรมจะถูกรัฐบาลลงโทษ ถูกปรับ และอาจถูกฟ้ องร้ องค่าเสี ยหาย จานวนมาก


34

3. ความรับผิดชอบต่อพนักงาน (Responsibility Toward Employees) ปั จจุบนั หลาย บริ ษ ทั ให้โอกาสแค่ ลู ก จ้า งได้ก้า วหน้า และได้รับ รางวัล ที่ เท่ า เที ย มกันตามหลัก คุ ณธรรม โดย พิจารณาจากความรู้ ความสามารถ และผลการปฏิบตั ิงานของบุคคล โดยไม่คานึ งถึ งเชื้ อชาติ เพศ และปั จจัยอื่น ถ้าธุ รกิจละเลยในเรื่ องนี้ อาจจะทาให้สูญเสี ยทรัพยากรมนุ ษย์ที่มีค่าไป นอกเหนื อจาก ความรับผิดชอบต่อพนักงานในฐานะที่เป็ นทรัพยากรขององค์การ ธุ รกิจยังได้รับผลประโยชน์ตอบ แทนเนื่ องจากพนักงานได้รับความพอใจในการทางาน ทาให้พ นักงานทุ่มเทให้กบั ธุ รกิจ ส่ งผลให้ บริ ษทั มีผลผลิตสู งขึ้น ปั จจุบนั กฎหมายของสหรัฐอเมริ กาได้ให้ความคุม้ ครองแก่ลูกจ้างที่ตรวจพบแล้วพยายามที่ จะเปิ ดเผยพฤติกรรมที่ไร้ จรรยาบรรณ ผิดกฎหมาย และ/หรื อไม่มีความรั บผิดชอบต่อสังคมของ องค์การหรื อที่เรี ยกว่า ผูเ้ ปิ ดโปง (whistle Blowers) ซึ่ งเปรี ยบเสมีอนผูเ้ ป่ านกหวีดส่ งสัญญาณเตือน ต่อผูร้ ักษากฎหมายและสังคม เพื่อปกป้ องบุคคลที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม เนื่ องจากผูท้ ี่แสดง ความรั บผิดต่อสังคมหรื อเปิ ดเผยการกระทาที่ไร้ จริ ยธรรมของผูบ้ ริ หารหรื อของธุ รกิ จอาจถู กลด ตาแหน่ง ถูกไล่ออก หรื อถูกคุกคามจากผูม้ ีอิทธิพล 1. ความรับผิดชอบต่อนักลงทุน (Responsibility Toward Investors) ปกติบริ ษทั สมควร ต้องมีความรับผิดชอบต่อนักลงทุน (lnvestor) หรื อผูถ้ ือหุ ้น (shareholder) เนื่องจากผูถ้ ือหุ ้นเป็ น เสมือนเจ้าของบริ ษทั แต่เนื่ องจากระบบซื้ อขายหุ ้นในตลาดหลักทรัพย์ ทาให้ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์การกับผูล้ งทุนห่ างกัน จึงมีหลายกรณี ที่ผบู ้ ริ หารของธุ รกิจแสดงความรับผิดชอบต่อนักลงทุน เช่น การใช้ทรัพยากรทางการเงิ นของบริ ษทั ในทางที่ผิด หรื อการปกปิ ดข้อมูลทางการเงินและการ ดาเนินงาน ซึ่ งจะก่อให้เกิดความสู ญเสี ยแก่องค์การและผูถ้ ือหุ น้ บรรยงค์ โตจินดา (ม.ป.ป.: 63-65) อ้างถึง ทฤษฎีปิรามิดของคาร์ รอล (carroll’s pyramid) ความรับผิดชอบต่อสังคมมี 4 ประเภทประกอบด้วย 1. ความรั บ ผิด ชอบในด้า นมนุ ษ ยธรรมหรื อความรั ก ในมนุ ษ ยชาติ ระวังรั ก ษาสิ ท ธิ มนุ ษยชน ให้ความเอื้ออาทรห่ วงใยและยกระดับความเป็ นมนุ ษย์ไม่ใช่ เพื่อมุ่งผลกาไรเพียงอย่าง เดี ยวจนเห็ นคนเป็ นเครื่ องมือ เครื่ องจักร เป็ นทาสน้ าเงิ น ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะนี้ องค์ก ารควรแสดงให้ป ระจักษ์ชัดเจนเป็ นนโยบายบริ ษ ทั เป็ นวัฒนธรรมขององค์ก ารหรื อเป็ น จรรยาบรรณและข้อกาหนดที่ ทุกระดับต้องถื อปฏิ บตั ิ โดยไม่ตอ้ งรอให้กฎระเบียบ กฎหมายของ


35

บ้านเมืองมาบังคับให้ทาตาม โดยที่องค์การควรมีส่วนส่ งเสริ มสนับสนุ นทางการเงิ นหรื อรู ้ จกั คืน กาไรให้แก่ สังคม ในรู ปบริ จาคเพื่อการกุศล การศึ กษา การสาธารณสุ ข และเมื่อเกิ ดอุ บตั ิ ภยั ทาง ธรรมชาติ นอกจากนี้ ควรมี ส่วนสนับสนุ นส่ งเสริ มและพัฒนาทรั พยากรมนุ ษย์ให้แก่ ชุมชนและ สังคมเพื่อปรับปรุ งคุ ณภาพชี วิต สวัสดิ ภาพและสวัสดิ การของคนในสังคม เพื่อเราจะได้เป็ นนิ ติ บุคคลพลเมืองดี สามารถสร้างสรรค์มาตรฐานการครองชีพของสังคมให้สูงขึ้นเพื่อส่ วนรวม 2. ความรับผิดชอบด้านจริ ยธรรม เป็ นความสานึ กของบริ ษทั ที่จะพิจารณาและปฏิบตั ิสิ่ง ที่ถูกต้องดีงามเหมาะสม ยุติธรรมต่อสังคม และสนับสนุน เชื่อฟัง ปฏิบตั ิตามกฎหมายมีขอ้ สังเกตว่า บริ ษทั ใดเชื่อว่าจริ ยธรรมเป็ นเรื่ องยากยิง่ ที่จะนามาปฏิบตั ิและถือว่าเป็ นเรื่ องส่ วนตัว เฉพาะตัวที่ควร จะพูดกันที่บา้ นหรื อวัด บริ ษทั ที่คิดเช่นนี้ มักจะเมินความรับผิดชอบต่อสังคม ควรนาจริ ยธรรมทาง ธุ รกิจเข้าไปร่ วมกาหนดแผนกลยุทธ์ของบริ ษทั และสร้างจริ ยธรรมขึ้นภายในบริ ษทั จนเป็ นภารกิ จ ประจาวันอย่า งหนึ่ ง ซึ่ ง ผูบ้ ริ หารระดับ สู งของบริ ษทั ควรเป็ นผูน้ าด้า นจริ ยธรรมและเป็ น “role model” วัฒนธรรมขององค์การไม่ควรผัดผ่อน ดูดาย ละเลยหลักการจริ ยธรรม จึงควรดาเนิ นการให้ บรรลุ เป้ าหมายขององค์การในฐานะนิ ติบุคคลพลเมื องดี จะทาอะไรให้อยู่ในแนวทางจริ ยธรรม ต่อไป 3. ความรั บ ผิ ด ชอบด้า นกฎหมาย ธุ รกิ จ อุ ต สาหกรรมควรรู ้ แ ละปฏิ บ ัติต ามกฎหมาย เช่นเดียวกับหน้าที่พลเมืองดีทวั่ ไปที่จะปฏิเสธว่าไม่รู้แล้วไม่ทาตามกฎหมายไม่ได้ เพราะกฎหมาย เป็ น กรอบของสังคม ให้ทุกคนในสังคมปฏิบตั ิตนและปฏิบตั ิต่อกันอย่างถูกต้อง โดยที่กฎหมายเป็ น ปทัสถานทางสังคมที่บ่งบอกไว้ชดั เจนว่า ทาอย่างไรถูกและทาอย่างไรผิด ตามกติกาประชาคม ถ้า ทาผิดหรื อไม่ทาตาละเลย ไม่ปฏิบตั ิตามก็จะมีบทลงโทษ ซึ่ งเป็ นไปตามระบบของกฎหมายและการ บังคับใช้กฎหมาย เป็ นที่ ยอมรั บ ของสัง คม ซึ่ ง สัง คมมักจะมุ่ งมองว่า หรื อโทษไว้ก่อนว่า ธุ รกิ จ อุตสาหกรรมเป็ นผูส้ ร้างปั ญหาแล้วกฎหมายจึงออกมาป้ องกัน 4. ความรั บผิดชอบด้านเศรษฐกิ จ เป็ นรากฐานของความรับผิดชอบต่อสังคม เพราะทุ ก กิ จกรรมทางธุ รกิ จเป็ นบทบาทขยองหน่ วยธุ รกิ จในระบบเศรษฐกิ จนั้นถื อเป็ นพื้ นฐานส าคัญที่ สามารถหากาไรได้จากสังคม ในลักษณะการให้และการรับที่ยุติธรรมดาเนิ นธุ รกิจที่ไม่ให้ท้ งั ผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภคและระบบเศรษฐกิจโดยรวม ต้องเสี ยหาย โดยเฉพาะการเลื อกนาเทคโนโลยีมาใช้ในการ ผลิตอย่างเหมาะสมอย่างระมัดระวัง ต้องไม่ให้สังคมต้องเดือดร้ อน เช่ น วัตถุมีพิษ ความเสี่ ยงของ รังสี อากาศเป็ นพิษ นาเสี ย พื้นดินเสี ยและสู ญประโยชน์เป็ นต้น


36

อัญญาขันธวิทย์ และคณะ (2552: 97-98) (อ้างถึง Kotler and Lee, 2005) ได้จาแนกรู ปแบบ ของกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมไว้เป็ น 6 ประเภท ได้แก่ 1. การส่ งเสริ มที่สาเหตุ เป็ นการจัดหาเงินทุน วัสดุสิ่งของ หรื อทรัพยากรอื่นขององค์กร เพื่อขยายการรับรู ้และความห่วงใยต่อเหตุทางสังคมนั้น ตลอดจนสนับสนุนการระดมทุน การมีส่วน ร่ วม หรื อการเฟ้ นหาอาสาสมัครเพื่อการดังกล่าว องค์กรธุ รกิจอาจริ เริ่ มและบริ หารส่ งเสริ มนั้นด้วย ตนเอง หรื อร่ วมมือกับองค์กรหนึ่งองค์กรใด หรื อกับหลายๆองค์กร 2. การตลาดที่เกี่ ยวเนื่ องกับสาเหตุ เป็ นการอุดหนุ นหรื อการบริ จาครายได้ส่วนหนึ่ งจาก การขายผลิ ตภัณฑ์แก่ ส าเหตุ จาเพาะหนึ่ งๆ ซึ่ งมัก มี ช่ วงเวลาที่ จากัดแน่ นอน ดาเนิ นการจาเพาะ ผลิตภัณฑ์ หรื อให้แก่การกุศลที่ระบุไว้เท่านั้น สาหรับกิ จกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมรู ปแบบนี้ องค์กรธุ รกิจมักร่ วมมือกับองค์กรที่ไม่มีวตั ถุประสงค์หากาไร เพื่อสร้างสัมพันธภาพในประโยชน์ ร่ วมกันด้วยวิธีการเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์ เพื่อนาเงินรายได้ไปสนับสนุ นกิจกรรมการกุศลนั้นๆ ใน ขณะเดียวกันองค์กรยังใช้กิจกรรมเพื่อเปิ ดโอกาสให้แก่ผบู ้ ริ โภคได้มีส่วนร่ วมในการช่วยเหลือการ กุศลผ่านทางการซื้ อผลิตภัณฑ์โดยไม่ตอ้ งเสี ยค่าใช้จ่ายอื่นใดเพิ่มเติม 3. การตลาดเพื่ อสั ง คม เป็ นการสนับ สนุ น การพัฒ นาหรื อ การท าให้ เกิ ด ผลจากการ รณรงค์เพื่อเปลี่ ยนแปลงพฤติกรรมในด้านสาธารณสุ ข ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่ งแวดล้อม หรื อ ด้านสุ ขภาวะ ความแตกต่างสาคัญระหว่างการตลาดเพื่อสังคมกับการส่ งเสริ มที่สาเหตุ คือ การตลาด เพื่อสังคมจะเน้นที่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็ นหลัก ในขณะที่การส่ งเสริ มที่สาเหตุจะเน้นที่การ สร้างความตระหนัก รวมถึงการสนับสนุนทรัพยากร ด้านทุนและอาสาสมัครเพื่อสาเหตุดา้ นสังคม หรื อสิ่ งแวดล้อม 4. การบริ จาคเพื่อการกุศล เป็ นการช่ วยเหลื อการกุศลหรื อที่สาเหตุ โดยตรง ในรู ปของ การบริ จาคเงินหรื อวัตถุ สิ่งของ กิจกรรมการบริ จาคเป็ นกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมที่มกั พบ เห็ นในแทบทุ กองค์กรธุ รกิ จ และมักจะเป็ นไปตามกระแสความต้องการจากภายนอกหรื อมี ผูอ้ ยู่ ภายนอกองค์กรได้นาเสนอให้ทา มากกว่าจะเกิดจากการวางแผนหรื อออกแบบกิจกรรมจากภายใน องค์กรเอง กิจกรรมดังกล่าวจึงมักไม่เกิดการเชื่อมโยงเข้ากับเป้ าหมายหรื อพันธกิจขององค์กรเท่าใด นัก


37

5. การอาสาสมัครเพื่อชุ มชน เป็ นการสนับสนุ นหรื อจูงใจให้พนักงานหรื อคู่คา้ ให้ร่วม สละเวลาและแรงงานในการท างานให้แก่ ชุมชนที่ องค์กรตั้งอยู่ และเพื่อตอบสนองต่อสาเหตุ ที่ องค์กรให้ความสนใจหรื อห่วงใย องค์กรธุ รกิจอาจเป็ นผูก้ าหนดกิจกรรมอาสาสมัครดังกล่าวนั้นเอง หรื อให้พนักงานเป็ นผูค้ ดั เลือกกิจกรรมแล้วนาเสนอต่อองค์กร เพื่อพิจารณาให้การสนับสนุ น โดยที่ พนักงานสามารถได้รับการชดเชยในรู ปของวันหยุดหรื อวันลาเพิ่มเติม 6. การประกอบธุ รกิ จอย่างรับผิดชอบต่อสังคม เป็ นการดาเนิ นกิ จกรรมทางธุ รกิ จอย่าง พินิจพิเคราะห์ในอันที่จะสนับสนุ นสาเหตุทางสังคม เพื่อเป็ นการยกระดับสุ ขภาวะของชุมชนและ การพิทกั ษ์สิ่งแวดล้อม โดยที่องค์กรธุ รกิจสามารถดาเนินการเอง หรื อเลือกที่จะร่ วมมือกับพันธมิตร ภายนอก กิ่งกาญจน์วรนิ ทศั น์ และคณะ (2552: 47) การรับผิดชอบต่อสังคม องค์การขนาดใหญ่ไม่ เพียงแต่เข้าร่ วมรั บความรั บผิดชอบต่อสังคม แต่ยงั พยายามหาวิธีการที่ ทาให้สังคมดี ข้ ึ นด้วย ซึ่ ง องค์ก ารเหล่ า นี้ ใ ห้ค วามส าคัญในการท าเพื่ อ สั ง คมเช่ นเดี ย วกับ การสร้ า งผลก าไรให้ ก ับ บริ ษ ัท เนื่ องจากองค์ก ารเหล่ า นี้ ไ ด้ส ร้ า งปั ญ หาต่ า งๆ ขึ้ นมากมาย เช่ น ปั ญหาสิ่ ง แวดล้อม หรื อปั ญหา มลภาวะ เป็ นต้น องค์การต่างๆ จึงต้องช่วยกันแก้ปัญหาดังกล่าว ดังนั้น การรับผิดชอบต่อสังคมจะ เปิ ดโอกาสให้บริ ษทั สร้ างภาพพจน์ที่ดีต่อสาธารชน และช่วยต่อรองในการกาหนดกฎเกณฑ์ต่างๆ ของรัฐบาล แนวความคิดด้านการรับผิดชอบต่อสังคมนั้น มีการจัดระดับจาก “ไม่ทาเลย” ถึง “ทาทุก อย่าง” หรื ออาจจะเป็ น “ผูต้ ่อต้าน” จนถึง “ผูร้ ิ เริ่ ม” ดังนั้น ลักษณะความรับผิดชอบต่อสังคม แบ่ง ออกเป็ น 4 ประเภท ดังนี้ 1. ผูจ้ ดั การแบบต่อต้าน (The Obstructionist Manager) ซึ่ งไม่เพียงแต่จะเป็ นผูท้ ี่ไม่ทา อะไรที่ เกี่ ย วข้องกับ ความรั บ ผิดชอบต่ อสั ง คมแล้ว แต่ จะท าทุ ก วิถี ทางเพื่ อละเมิ ดศี ล ธรรมและ จริ ยธรรมจนอาจถึงขั้นผิดกฎหมายเพื่อให้ได้มาซึ่ งผลกาไรเป็ นหลัก 2. ผูจ้ ดั การแบบการป้ องกันตัว (The Defensive Manager) คือ การแสดงความรับผิดชอบ ต่อสังคมในระดับต่าโดยจะไม่การกระทาการอันใดที่ละเมิดต่อกฎหมายเท่านั้น แต่จะไม่มีการแสดง ความรับผิดชอบใดๆ นอกเหนือจากนี้


38

3. ผูจ้ ดั การแบบปรองดอง (The AccommodativeManager) คื อผูท้ ี่ ก ระท ามากกว่า ที่ กฎหมายกาหนด และมีการแสดงถึงความรับผิดชอบต่อสังคมระดับปานกลางถ้าหากมีความจาเป็ น ด้วยการทาตามกฎหมาย ในขณะเดี ยวกันก็รักษาผลประโยชน์ให้กบั ผูท้ ี่ถือหุ ้นและความรู ้ สึกของ บุคคลต่างๆ ในสังคมที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยด้วย 4. ผูจ้ ดั การแบบมีการเตรี ยมการ (The Proactive Manager) คือ ผูร้ ิ เริ่ มในการรับผิดชอบ ต่อสังคมด้วย การศึกษาถึงความต้องการของแต่ละกลุ่มและใช้ทรัพยากรที่มีอยูจ่ ากองค์การเพื่อการ ค้นหาและแก้ไขปั ญหาสังคม จินตนา บุญบงการ (2552: 48-50) ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุ รกิ จการ ตัดสิ นใจและการกระทาต่างๆ ทางด้านการจัดการ ได้เพิ่มการพิจารณาทางด้านสังคมเข้าไปด้วย ผูบ้ ริ หารทั้งหลายได้มีการโต้แย้งกันถึ งความสัมพันธ์ระหว่างองค์การและสังคม โดยถื อว่าความ รับผิดชอบต่อสังคมของธุ รกิจเป็ นการแสดงออกของการบริ หารที่มีจริ ยธรรม ดังนั้นสิ่ งที่สาคัญ คือ การพิ จารณาว่า องค์ก ารควรมี ค วามรั บ ผิ ดชอบต่ อสั ง คมอย่า งไร และพิ จ ารณาต่ อไปว่า ควรจะ รับผิดชอบต่อสังคมและแก้ปัญหาของสังคมมากน้อยเพียงใด อย่างไรก็ตามก็ตอ้ งไม่ลืมว่าองค์การ ต้องมีรายได้และผลกาไรอันจะทาให้กิจการดาเนินการต่อไปได้ หลัก การเหล่ า นี้ ส ามารถจัดแบ่ ง ความรั บ ผิดชอบที่ ผูบ้ ริ หารควรจะมี ต่อสั ง คมได้เป็ น 4 ระดับคือ 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ เพื่อผลิตสิ นค้าและบริ การตามที่ประชาชนต้องการและ นามาขายเพื่อให้เกิดกาไรแก่เจ้าของกิจการ (ในกรณี ที่เป็ นองค์การทาเพื่อกาไร) นับได้วา่ เป็ นความ รั บผิดชอบหลักและความรั บผิดชอบดั้งเดิ มของการดาเนิ นการจนอาจกล่ าวได้ว่านอกจากความ รับผิดชอบด้านเศรษฐกิจแล้ว ผูบ้ ริ หารในอดีตบางคนไม่เคยคานึงถึงความรับผิดชอบในด้านอื่นเลย 2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย เพื่อดาเนิ นกิจการไปตามครรลองของกฎหมายและกฎ ข้อบังคับต่างๆอย่างไรก็ตามกฎหมายและกฎข้อบังคับไม่สามารถจะครอบคลุมการกระทาทุกอย่าง ที่องค์การกระทาได้ การกระทาบางอย่างไม่ผิดกฎหมายแต่องค์การควรจะกระทาหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยู่ กับความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารองค์การนั้นๆ


39

3. ความรั บ ผิดชอบทางจริ ย ธรรม การกระท าบางอย่า งไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ ก ฎหมายบัง คับ ถ้า องค์ก ารไม่ ท าก็ ไ ม่ ผิดกฎหมาย แต่ องค์ก ารเลื อกกระท าเพราะเห็ นว่า เป็ นความรั บ ผิดชอบทาง จริ ยธรรม เช่น การให้สวัสดิ การด้านเสื้ อผ้า ที่อยู่อาศัย เงิ นกูย้ ืม อาหารกลางวัน รถรับส่ งพนักงาน การจัดนาเที่ยว เป็ นต้น 4. ความรับผิดชอบในการใช้ดุลยพินิจ ความรับผิดชอบในระดับนี้ เป็ นความสมัครใจของ ผูบ้ ริ หารองค์ก ารโดยตรง และขึ้ นอยู่ก ับ การตัดสิ นใจเลื อกกระท าของผูบ้ ริ หารแต่ล ะคน ความ รับผิดชอบนี้ ไม่ได้บงั คับไว้เป็ นกฎหมายหรื อเป็ นสิ่ งที่พนักงานคิดว่าควรได้รับตามหลักจริ ยธรรม เช่น ผูบ้ ริ หารไม่สนับสนุนให้พนักงานทางานล่วงเวลาแต่กลับจ้างพนักงานเพิ่ม เพิ่มเครื่ องจักร เพิ่ม เงินเดือน ทั้งนี้เพราะผูบ้ ริ หารพินิจพิเคราะห์อย่างสุ ขุมแล้วว่า การทางานล่วงเวลาทาให้สุขภาพของ พนักงานเสื่ อมโทรม และเป็ นการบัน่ ทอนคุณภาพชีวติ นภาพร ขันธนภา และ ศานิ ต ด่ านศมสถิ ต (ม.ป.ป.: 61-62) องค์ประกอบของความ รับผิดชอบต่อสังคมมี 4 ระดับ ได้แก่ 1. ความรับผิดชอบในแง่กฎหมาย การทาตามกฎหมายจะเป็ นพฤติกรรมที่สังคมยอมรับ องค์การไม่อาจอยูร่ อดได้หากไม่ดาเนินงานภายในกรอบของกฎหมาย 2. ความรั บผิดชอบในแง่ จริ ยธรรม ในระดับนี้ บริ ษทั จะต้องพิจารณาว่าอะไรถูก อะไร ยุติธรรม เกินไปกว่าที่สังคมได้กาหนดไว้เป็ นกฎหมาย 3. ความรับผิดชอบในแง่ เศรษฐศาสตร์ องค์การต้องรั บผิดชอบต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยในแง่ ทางเศรษฐกิจด้วย โดยต้องสร้างความมัง่ คัง่ และคุม้ ค่าให้มากที่สุด 4. การคื นก าไรสู่ สัง คม บริ ษ ทั จะต้องแบ่ งปั นความมัง่ คัง่ และทรั พยากรบุ คคล ให้แก่ ชุ มชนและสังคม เพื่อปรั บปรุ งคุ ณภาพชี วิต ความรั บผิดชอบในแง่ เศรษฐกิ จ และการคื นกาไรสู่ สังคมมีส่วนสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด เนื่องจาก บริ ษทั ยิ่งสามารถทากาไรได้มากเท่าใดก็จะ สามารถลงทุนในเรื่ องการคืนกาไรให้สังคมได้มากขึ้นเท่านั้น


40

นภดล อินนา (2548: 28) ระดับความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุ รกิจ ความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ก รและสัง คม สิ่ งที่ สาคัญคื อการพิจารณาว่าองค์ก รควรมี ค วามรั บผิดชอบต่อสังคม อย่างไร และควรจะรับผิดชอบต่อสังคมและแก้ปัญหาของสังคมมากน้อยเพียงใด ซึ่ งสามารถจัดแบ่ง ความรับผิดชอบที่ควรจะมีต่อสังคมได้เป็ น 4 ระดับ คือ 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ 2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย 3. ความรับผิดชอบทางจริ ยธรรม 4. ความรับผิดชอบอย่างพินิจพิเคราะห์ ศิริวรรณ เสรี รัตน์ และคณะ (2545: 91-92) ความรั บผิดชอบต่อสังคมขององค์การมี 4 ระดับมีรายละเอียดดังนี้ 1. ความรับผิดชอบด้านเศรษฐกิจ เป็ นการพิจารณาว่า องค์การจะต้องมีความรับผิดชอบ ต่อสังคมนอกเหนื อจากการแสวงหากาไร และการจัดหาผลิ ตภัณฑ์ ซึ่ งองค์การเสนอขายโดยมุ่ง กาไรที่เหมาะสม 2. ความรั บ ผิ ด ชอบด้ า นกฎหมาย เป็ นกิ จ กรรมที่ จ ะต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามกฎหมายและ ข้อกาหนดทั้งหมด 3. ความรับผิดชอบด้านจริ ยธรรม เป็ นความรับผิดชอบขององค์การเกี่ยวกับหลักศีลธรรม และค่านิยม ซึ่ งควบคุมการทางานและการตัดสิ นใจขององค์การ 4. ความรับผิดชอบในการใช้ดุลยพินิจ ความรับผิดชอบด้านนี้ ข้ ึนอยูก่ บั วิจารณญาณและ ทางเลือกส่ วนตัว โดยคิดว่าเป็ นสิ่ งที่บริ ษทั ควรมี ซึ่ งไม่ได้เกี่ยวข้องกับกฎหมายเมื่อองค์การให้ความ สนใจต่อกลุ่มผูถ้ ือหุ ้น ผูบ้ ริ หารอาจจะต้องละเลยด้านกฎหมาย จริ ยธรรมและความรับผิดชอบจาก การใช้ดุลยพินิจสาหรับกลุ่มอื่น


41

สาคร สุ ขศรี วงศ์ (2554: 79-82) ระดับของความรับผิดชอบต่อสังคม การแสดงออกซึ่ ง ความรั บ ผิ ด ชอบว่า จะท าถึ ง เพี ย งใดจึ ง จัด ได้ว่า มี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สั ง คมนั้น เป็ นประเด็ น ที่ ละเอี ยดอ่ อนซึ่ ง มี ค วามแตกต่ า งกันออกไป ผูบ้ ริ หารองค์ก รธุ รกิ จไทยทัว่ ไปย่อมจะต้องมี ความ รับผิดชอบในการสร้างผลตอบแทนที่เหมาะสมแก่เจ้าของและผูท้ ี่เกี่ยวข้อง การทาหน้าที่ในด้านนี้ จัดได้ว่าเป็ นการแสดงความรั บ ผิดชอบทางเศรษฐกิ จ อย่า งไรก็ ตามการค านึ งถึ งประโยชน์ ด้า น เศรษฐกิจเพียงอย่างเดียวอาจนาไปสู่ การกระทาและการแสวงหาผลตอบแทนที่มิชอบด้วยกฎหมาย ดังนั้น ผูบ้ ริ หารจึงจาเป็ นต้องมีความรับผิดชอบทางกฎหมายเป็ นลาดับถัดไป ในปั จจุบนั ระดับความ รับผิดชอบที่สังคมให้ความสนใจเพิม่ ขึ้นเป็ นอย่างยิง่ คือ ความรับผิดชอบระดับจริ ยธรรมและความ รับผิดชอบโดยความสมัครใจ ซึ่ งเป็ นระดับความรับผิดชอบที่มีความละเอียดสู งขึ้น และบ่อยครั้งที่ ไม่มีขอ้ กาหนดที่ ชดั เจน หากแต่ผบู ้ ริ หารจาเป็ นต้องใช้ดุลยพินิจของตนในการตัดสิ นใจถึ งความ เหมาะสมในการแสดงความรับผิดชอบในระดับดังกล่าว 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิ จ ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจเป็ นความรับผิดชอบขั้น พื้นฐานที่สุดที่ผบู ้ ริ หารทุกระดับในองค์กรธุ รกิ จโดยทัว่ ไปต้องคานึ งถึ งเป็ นหลัก คือ ผูบ้ ริ หารมี หน้า ที่ แสวงหาผลตอบแทนทางธุ รกิ จและจัด สรรผลตอบแทนต่างๆ ให้แก่ ผูท้ ี่ เกี่ ยวข้อง ความ รับผิดชอบทางเศรษฐกิจในปั จจุบนั ไม่จากัดขอบเขตเพียงแค่การสร้างกาไรเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ ผูถ้ ือหุ ้นเท่านั้น แต่ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจควรจัดสรรแก่ผทู ้ ี่เกี่ยวข้องในระดับที่เหมาะสมและ เป็ นธรรม เช่น พนักงานควรได้รับค่าจ้างและเงินเดือนที่เหมาะสมกับหน้าที่ความรับผิดชอบ การ จัดสรรผลประโยชน์ใดๆ ในองค์กรควรเป็ นไปด้วยความเป็ นธรรม เป็ นต้น ผูบ้ ริ หารควรมีความ รับผิดชอบทางเศรษฐกิจต่อสังคมภายนอกองค์กรด้วย เช่นผูบ้ ริ โภคหรื อลูกค้าควรได้รับสิ นค้าหรื อ บริ การที่มีคุณภาพในราคาที่เป็ นธรรม จึงถื อว่าเป็ นการกระจายผลตอบแทนทางเศรษฐกิ จแก่ผูท้ ี่ เกี่ยวข้องทั้งหมดอย่างเป็ นธรรม 2. ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ กฎหมาย ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ กฎหมายเป็ นหน้ า ที่ พ ลเมื อ งที่ ประชาชนจาเป็ นต้องมีต่อรัฐหรื อต่อประเทศชาติของตน เพื่อให้สังคมสามารถดารงอยูไ่ ด้อย่างสงบ สุ ขและเท่าเทียมกัน ความรั บผิดชอบต่อกฎหมายนี้ รวมถึ งการปฏิ บตั ิตามกฎระเบียบ ประกาศ หรื อคาสั่ งใดๆ ซึ่ งมี ผลบังคับใช้ต่อองค์กรหรื อผูบ้ ริ หารที่ เกี่ ยวข้องในเรื่ องนั้นๆ ผูบ้ ริ หารหรื อ องค์กรที่มุ่งสร้ างผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสู งสุ ดจะต้องมีความรับผิดชอบต่อกฎหมายโดยการไม่ ฝ่ าฝื นหรื อแสวงหาประโยชน์จากการเลี่ ยงกฎหมายก็ตาม แต่ผูฝ้ ่ าฝื นกฎหมายย่อมต้องได้รับการ


42

ลงโทษตามที่กฎหมายบัญญัติ ความรับผิดชอบต่อกฎหมายจึงเป็ นประเด็นที่สาคัญของพนักงานไป จนถึงผูบ้ ริ หารระดับสู งที่จะต้องดาเนินแนวทางปฏิบตั ิให้เป็ นไปตามที่กฎหมายกาหนดตัวอย่างการ แสดงความรับผิดชอบต่อกฎหมาย อาทิ การที่ประชาชนและองค์กรต่างๆ เสี ยภาษีอย่างถูกต้อง ตามความเป็ นจริ งโดยไม่หลบเลี่ยง การที่ผลู ้ งทุนในตลาดหลักทรัพย์ไม่ปล่อยข่าวลือเพื่อสร้างราคา อันเป็ นเท็จ การที่ พนักงานไม่ เปิ ดเผยข้อมูลภายในองค์กรให้กบั บุ คคลอื่ น หรื อขายข้อมูลให้คู่ แข่งขันและการที่ ผูบ้ ริ หารของบริ ษทั จดทะเบี ย นในตลาดหลักทรั พ ย์ไม่ใช้ขอ้ มูล ภายในที่ ยงั ไม่ เปิ ดเผยในการสร้างผลประโยชน์แก่ตนเอง เป็ นต้นอย่างไรก็ตาม ความรับผิดชอบต่อกฎหมายอาจ ไม่ เ พี ย งพออี ก ต่ อไปส าหรั บ การบริ หารจัด การ เนื่ อ งจากกฎหมายนั้นเป็ นข้อบัง คับ ที่ ผูม้ ี ส่ ว น เกี่ยวข้องกาหนดขึ้น หากกฎหมายหรื อข้อบังคับนั้นเป็ นโทษหรื ออุปสรรคสาหรับผูป้ ฏิบตั ิท้ งั ๆ ที่ เป็ นผลดี ต่ อ องค์ก ร เมื่ อ ผูป้ ฏิ บ ัติ มี อ านาจที่ จ ะสามารถเปลี่ ย นแปลงข้อ ก าหนดนั้น ๆ ได้ ก็ มี แนวโน้มที่บุคคลนั้นจะเปลี่ยนแปลงกฎหมายเพื่อสร้างความชอบธรรมให้กบั ตัวเองได้ แต่จะนามา ซึ่งความเสี ยหายต่อองค์กรในที่สุด 3. ความรับผิดชอบระดับจริ ยธรรม เป็ นความรับผิดชอบที่มีคุณค่าและประโยชน์สูงกว่า ผลตอบแทนที่เป็ นรู ปธรรม และเป็ นไปเพื่อความดี งามเหมาะสม มีคุณธรรม และถูกต้องตาม ศีลธรรม อย่างไรก็ตามเมื่อพิจารณาโดยภาพรวมแล้วจะเห็ นว่าจริ ยธรรมกับความรั บผิดชอบต่อ สังคมมีความใกล้ชิดกันจนแยกไม่ออก ความรับผิดชอบต่อสังคมแสดงถึ งความมีจริ ยธรรม และ ความมี จริ ย ธรรมแสดงออกได้ด้วยการมี ค วามรั บ ผิดชอบต่ อสั ง คม บุ ค ลากรภายในองค์ก รทั้ง พนักงานไปจนถึงผูบ้ ริ หารจึงควรตระหนักถึงความรับผิดชอบทางจริ ยธรรมเป็ นสาคัญ 4. ความรับผิดชอบโดยสมัครใจ ความรับผิดชอบโดยสมัครใจมีความละเอียดลึกซึ้ งและ มีอุดมคติสูงกว่าความรับผิดชอบระดับจริ ยธรรม กล่าวคือ ขณะที่ความรับผิดชอบระดับจริ ยธรรม มุ่งเน้นข้อประพฤติที่ดีงามเหมาะสมมีคุณธรรมและถูกต้องตามศีลธรรม ซึ่ งเป็ นคุ ณค่าตามสังคม หากไม่ปฏิ บตั ิย่อมได้รับบทลงโทษทางสังคมตามระดับความประพฤติ แต่ความรั บผิดชอบโดย สมัครใจเป็ นสิ่ งที่ผบู ้ ริ หารแสดงความรับผิดชอบโดยสมัครใจเอง และถึงแม้จะไม่แสดงก็จะไม่เกิด โทษทั้งทางกฎหมายและไม่เกิ ดโทษทางสังคม การแสดงความรับผิดชอบโดยสมัครใจทาได้โดย การใช้ดุลพินิจและวิจารณญาณของตนเองอย่างรอบคอบสุ ขุมในการประพฤติปฏิบตั ิและตัดสิ นใจ ซึ่ งสู ง กว่าที่ จริ ย ธรรมครอบคลุ ม ถึ ง เช่ น เมื่ อเกิ ดอุ ทกภัยขึ้ นในประเทศ ผูบ้ ริ หารอาจสมัครใจ บริ จาคเงินและระดมเงินจากบุคลากรต่างๆ เพื่อช่วยเหลือผูป้ ระสบภัย ผูบ้ ริ หารบางคนอาจสมัคร ใจเข้าไปทาหน้าที่อาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยเพื่อช่ วยเหลื อผูป้ ระสบภัยด้วยตนเอง เป็ นต้น


43

การปฏิบตั ิดงั กล่าวถือเป็ นความรับผิดชอบโดยสมัครใจที่เกิดขึ้นโดยผูบ้ ริ หารและพนักงานร่ วมกัน ผลที่ได้ยอ่ มเป็ นที่สรรเสริ ญชื่นชมต่อผูพ้ บเห็น และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กบั องค์กร เป็ นต้น สุ ภาพร พิศาลบุตร (2549: 124) อ้างถึงBovee (1993) ระบุวา่ ผูบ้ ริ หารหรื อนักธุ รกิจมีความ รับผิดชอบต่อสังคมใน 4 ระดับ คือ 1. ความรับผิดชอบทางเศรษฐกิจ ในระดับนี้ ผูบ้ ริ หารหรื อนักธุ รกิจจะต้องรับผิดชอบใน การผลิตสิ นค้า และบริ การเพื่อตอบสนองความต้องการของผูอ้ ุปโภคบริ โภค และมีกาไรพอสมควร เพื่อตอบสนองแก่เจ้าของและผูถ้ ือหุ น้ 2. ความรั บ ผิ ด ชอบต่ อ กฎหมาย ในระดับ นี้ นัก ธุ ร กิ จ จะต้อ งปฏิ บ ัติ ห รื อ ท าธุ ร กิ จ ให้ สอดคล้องกับกฎหมายระเบียบข้อบังคับ พระราชบัญญัติอย่างครบถ้วน 3. ความรับผิดชอบอย่างมีจริ ยธรรม ในระดับนี้ ธุรกิ จจะต้องปฏิ บตั ิหรื อทาธุ รกิจอย่างมี จริ ยธรรม มี ค วามสอดคล้องกับความคาดหวังในสังคมนั้นๆอย่างมี ศีลธรรมนอกเหนื อจากสิ่ ง ที่ กาหนดไว้ในกฎหมาย 4. ความรับผิดชอบจากจิตสานึ กหรื อความรับผิดชอบด้านมนุ ษยธรรม ในระดับนี้ ธุรกิ จ จะต้องปฏิบตั ิหรื อทาธุ รกิจอย่างมีความรับผิดชอบสู งสุ ด เช่น การสนองตอบต่อสังคม โดยประกอบ กิจกรรมที่คืนกาไรให้แก่สังคมเพื่อให้เกิดคุณภาพชี วิตและความผาสุ ขแก่สังคม เป็ นการปฏิบตั ิโดย สมัครใจ จินตนา บุญบงการ และ ณัฎฐพันธ์ เขจรนันทน์ (2545: 255) ความรับผิดชอบที่ผบู้ ริ หาร ควรจะมีต่อสังคมได้เป็ น 4 ระดับคือ 1. ความรั บผิดชอบทางเศรษฐกิ จ เพื่ อผลิ ตสิ นค้า และบริ การตามที่ ประชาชนต้องการ นามาขายและก่อให้เกิ ดกาไรสาหรับเจ้าของกิ จการ(ในกรณี ที่เป็ นองค์การทาเพื่อกาไร) นับได้ว่า เป็ นความรั บ ผิดชอบหลัก และความรั บ ผิดชอบดั้ง เดิ ม ของการด าเนิ นกิ จการจนอาจกล่ า วได้ว่า ผูบ้ ริ หารในอดีตบางคนไม่เคยคานึ งถึงความรับผิดชอบในด้านอื่นเลยนอกจากความรับผิดชอบด้าน เศรษฐกิจ


44

2. ความรับผิดชอบทางกฎหมาย เพื่อดาเนิ นกิจการไปตามครรลองของกฎหมายและกฎ ข้อบังคับต่างๆ อย่างไรก็ตาม กฎหมายและกฎข้อบังคับไม่สามารถจะครอบคลุ มการกระทาทุ ก อย่างที่องค์การกระทาได้ การกระทาบางอย่างไม่ผิดกฎหมาย แต่องค์การควรจะกระทาหรื อไม่น้ นั ขึ้นอยูก่ บั ความรับผิดชอบของผูบ้ ริ หารองค์การนั้นๆ 3. ความรั บ ผิดชอบทางจริ ย ธรรม การกระท าบางอย่า งไม่ ใช่ สิ่ งที่ กฎหมายบัง คับ ถ้า องค์ก ารไม่ท าก็ ไ ม่ ผิดกฎหมาย แต่ องค์ก ารเลื อกกระท าเพราะเห็ นว่า เป็ นความรั บผิดชอบทาง จริ ย ธรรม เช่ น การให้ส วัส ดิ ก ารด้า นเสื้ อผ้า ที่ อยู่อาศัย เงิ นกู้ยืม อาหารกลางวัน รถรั บ ส่ ง พนักงาน หรื อการจัดนาเที่ยว เป็ นต้น 4. ความรับผิดชอบอย่างพินิจพิเคราะห์ ความรับผิดชอบในระดับนี้ เป็ นความสมัครใจ ของผูบ้ ริ หารองค์การโดยตรง และขึ้นอยูก่ บั การตัดสิ นใจเลือกกระทาของผูบ้ ริ หารแต่ละคน ความ รับผิดชอบนี้ ไม่ได้บงั คับไว้ตามกฎหมายหรื อเป็ นสิ่ งที่พนักงานคิดว่าควรได้รับตามหลักจริ ยธรรม เช่ น ผูบ้ ริ หารไม่สนับสนุ นให้พนักงานทางานล่วงเวลาแต่กลับจ้างพนักงานเพิ่ม เพิ่มเครื่ องจักร หรื อเพิ่มเงินเดือน แนวคิดเกีย่ วกับการควบคุมภายใน ความหมายของการควบคุม สมคิด บางโม (2553: 196) อ้างถึ ง George Terry (n.d.) ให้คานิ ยามว่า การควบคุ ม หมายถึงการประเมินผลการปฏิ บตั ิงานและการแก้ไขข้อผิดพลาดเกี่ ยวกับการปฏิบตั ิงานในกรณี ที่ จาเป็ น เพื่อให้งานดาเนินไปตามแผนที่วางไว้อย่างถูกต้องจนบรรลุเป้ าหมาย (บรรยงค์ โตจินดา,2542: 204 อ้างถึง Tan ChweeHuat, 1994: 223) การควบคุมเพื่อให้เกิด ความมั่น ใจได้ว่า ทุ ก กิ จ กรรมขององค์ก ารเป็ นไปตามเป้ าหมายขององค์ก าร สามารถบ่ ง บอก ความก้าวหน้าหรื อให้ขอ้ มูลป้ อนกลับได้วา่ ได้ผลประการใดจะได้ปรับปรุ งแก้ไขได้ถูกต้อง


45

(เอกวิทย์ มณี ธร,2552: 162 อ้างถึง Koontz and O’Donnell, 1977: 582) ให้ความหมายว่า การควบคุม คือ กระบวนการตรวจสอบสภาพ และแก้ไขการปฏิบตั ิงานของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาเพื่อให้ เป็ นไปตามแผนหรื อเป้ าหมายที่กาหนด บรรยงค์ โตจินดา (2542: 204) อ้างถึง Rosenberg, Jerry M. (1987: 104) อธิบายความหมาย การควบคุมคือ การเผชิ ญสถานการณ์แล้วสามารถจะจัดการกับสถานการณ์น้ นั ได้อย่างดี ทั้งใจและ กาย ทั้งยังดาเนินการได้อย่างเป็ นขั้นตอนตามแผนและนโยบายที่กาหนดไว้ สมคิด บางโม (2553: 196) ให้คาอธิ บายความหมายว่า การควบคุมหมายถึงการตรวจสอบ การปฏิบตั ิงานว่าเป็ นไปตามแผนที่วางไว้และได้มาตรฐานที่กาหนดไว้หรื อไม่ แล้วแนะนาปรับปรุ ง การปฏิ บตั ิงานให้เป็ นไปตามแผนและมาตรฐานที่กาหนดไว้ซ่ ึ งเกี่ยวข้องกับ 1. การตรวจสอบการ ทางาน 2. มาตรฐานในการทางาน 3. การปรับปรุ งแก้ไขให้เป็ นไปตามแผน วิลาวรรณ รพีพิศาล (2550: 151) อ้างถึง Douglas S. Sherwin (nd.) ให้ความหมายว่า การ ควบคุมคือ การตรวจสอบดูวา่ งานต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ได้ดาเนิ นการตามแผน มีความก้าวหน้าไปใน แนวทางที่จะบรรลุ วตั ถุ ประสงค์ที่วางไว้หรื อไม่เพียงใด และดาเนิ นการเท่าที่จาเป็ นที่จะแก้ไขหา ความเบี่ยงเบนใด ๆ จากวัตถุประสงค์ มัลลิกา ต้นสอน (2544: 215) ให้คาอธิ บายความหมายการควบคุม (Controlling) ว่าเป็ น กระบวนการก าหนดเกณฑ์ แ ละมาตรฐานส าหรั บ ก ากับ การท างานขององค์ก าร เพื่ อ ให้บ รรลุ วัตถุ ประสงค์ที่ตอ้ งการ แล้วทาการติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการดาเนิ นงาน ตลอดจน วิเคราะห์ ปัญหาแก้ไข และปรั บปรุ งให้ดาเนิ นงานเข้าสู่ เป้ าหมาย และสอดคล้องกับข้อจากัดของ สถานการณ์ วรนารถ แสงมณี (2544: 8-2) ให้คาอธิ บายความหมายการควบคุม ว่าคือการใช้ศิลปะการ บริ หารเพื่อตรวจตราดูวา่ การดาเนินงานเป็ นไปโดยถูกต้องตามวิธีการหรื อไม่ และผลของปฏิบตั ิงาน กระทาได้ถึงมาตรฐานเพียงใดหรื อไม่ บรรยงค์ โตจินดา (2542: 204) ให้ความหมาย การควบคุมงาน (Controlling) ว่าเป็ นหน้าที่ ของผูบ้ ริ หารและเป็ นขั้นตอนสาคัญของกระบวนการบริ หารงาน


46

สมคิด บางโม (2553: 196) อ้างถึง Henri Fayol (nd.) ให้ความหมายว่า การควบคุมคือการ ตรวจสอบว่ า ทุ ก อย่ า งด าเนิ น ไปสอดคล้ อ งกับ แผนค าสั่ ง และหลัก การที่ ก าหนดไว้ห รื อไม่ วัตถุประสงค์ของการควบคุมก็เพื่อหาข้อบกพร่ อง เพื่อแก้ไขและป้ องกันมิให้ผลงานคลาดเคลื่อนไป จากวัตถุประสงค์ หน้าที่ของการควบคุ มนั้นเกี่ ยวข้องกับทุกด้านไม่ว่าจะเป็ นคน เงิ น สิ่ งของ และ การดาเนินการ ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี (2551: 120) ให้คาอธิบายความหมายการควบคุม หมายถึง กระบวนการ ที่ ผูบ้ ริ ห ารดาเนิ นการเพื่ อที่ จ ะท าให้ บ างสิ่ ง เกิ ดขึ้ น ตามที่ ไ ด้วางแผนว่า จะให้เกิ ดขึ้ น เป็ นความ พยายามที่ เป็ นระบบเพื่อเปรี ยบเที ยบการปฏิ บตั ิ งาน กับมาตรฐาน แผน หรื อวัตถุ ประสงค์ ที่ ไ ด้ ก าหนดไว้เ บื้ อ งต้น เพื่ อ ตัด สิ น ว่ า การปฏิ บ ัติ ง านใดที่ ด าเนิ น ไปตามทิ ศ ทางที่ ว างไว้ หรื อ การ ปฏิบตั ิการใดที่ตอ้ งการการแก้ไข วิภาดา คุ ปตานนท์ (2551: 127) การควบคุ มเป็ นกระบวนการในการกาหนดและกากับ กิจกรรมต่างๆ เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และมาตรฐานที่กาหนดไว้ หน้าที่การควบคุมเกี่ยวข้องกับ การกาหนด ริ เริ่ ม และออกกฎเกณฑ์เกี่ยวกับมาตรฐานการทางาน เพื่อใช้เปรี ยบเทียบกับผลงานที่ เกิดขึ้นจริ ง จากความหมายของการควบคุ ม ข้างต้น คณะผูจ้ ดั ท า สามารถสรุ ปความหมายของการ ควบคุมได้ดงั นี้ การควบคุ มคือ การตรวจสอบดูวา่ งานต่าง ๆ ที่กาหนดไว้ได้ดาเนิ นการตามแผน มี ความก้าวหน้าไปในแนวทางที่ จะบรรลุ วตั ถุ ประสงค์ที่วางไว้แล้วทาการติ ดตาม ตรวจสอบและ ประเมิ น ผลการด าเนิ น งาน ตลอดจนวิ เ คราะห์ ปั ญ หาแก้ไ ข และปรั บ ปรุ ง ให้ ด าเนิ น งานเข้า สู่ เป้ าหมาย ความสาคัญของการควบคุม อนิ วชั แก้วจานงค์ (2550: 226-227) กล่าวว่า การควบคุมในองค์การไม่ได้มีความสัมพันธ์ หรื อเกี่ ยวข้องเฉพาะแต่การวางแผนเท่านั้น แต่ยงั มีความเกี่ ยวพันกับหน้าที่หลักในเชิ งการจัดการ ครบทุกหน้าที่ ดังต่อไปนี้


47

1. การจัดองค์การ องค์การจาเป็ นต้องทาการออกแบบโครงสร้างองค์การและควบคุมให้ มีการดาเนินงานตามโครงสร้างองค์การที่มีการออกแบบไว้แล้วเป็ นอย่างดี 2. การจัดคนเข้าทางาน องค์การจะต้องจัดหาบุคคลที่ความเหมาะสมและควบคุมบุคคล เหล่านั้นให้ทางานให้บรรลุผลสาเร็ จหรื อต้องควบคุมให้มีความพร้อมในการทางาน เป็ นต้น 3. การนา องค์ก ารจะท าหน้า ที่ ใ นการนาเพื่ อให้บุ คคลสามารถท างานได้โคยการให้ คาแนะนาและตรวจสอบว่าบุคคลเหล่านั้นได้ดาเนินการตามคาเเนะนาหรื อไม่ อย่างไร จากความสัมพันธ์ของหน้าที่การควบคุมกับหน้าที่หลักอื่นๆ ในเชิ งการจัดการให้วิเคราะห์ ว่าในสายตาของผูบ้ ริ หารทุกระดับมองว่าเห็นความสาคัญของการควบคุมดังนี้ (อนิ วชั แก้วจานง ,2550: 226-227) 1. เปรี ยบเสมือนเครื่ องมือของผูบ้ ริ หาร (Tools) โดยหลังจากที่ผบู้ ริ หารได้มีการวางแผน ไว้เป็ นอย่างดีแล้วจะรู ้ได้อย่างไรว่าเมื่อนาแผนไปใช้แล้วจะประสบผลสาเร็ จ ในเรื่ องนี้ การควบคุ ม จึงเปรี ยบเสมือนเครื่ องมือของผูบ้ ริ หารนาไปใช้ในการวินิจฉัย ตรวจสอบและปรับเปลี่ยนเป้ าหมาย การทางานเพื่อให้ ผูป้ ฏิบตั ิสามารถดาเนินการได้จนเป็ นผลสาเร็ จ 2. องค์การสามารถดาเนิ นกิจกรรมให้สอดคล้องและประสานกันได้ (Coordination) ใน การทางานหากปราศจากการควบคุมของผูบ้ ริ หารแล้วย่อมนามาซึ่ งความขัดแย้งหรื อปั ญหาส่ งผลให้ ระบบงานไม่เป็ นไปตามแผนที่กาหนดไว้ กระบวนการในการการควบคุ มของผูบ้ ริ หารจึงมีส่วน ช่วยให้เกิคการประสานานของแต่ละหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องและเป็ นไปในทิศทางที่ไค้ กาหนดไว้อย่าง มี ประสิ ทธิ ภาพ 3. ด้านประสิ ทธิ ภาพของผูบ้ ริ หาร (Efficiency) เนื่ องจากการควบคุมที่ดีบ่งบอกให้รู้วา่ ผูบ้ ริ หารขององค์การนั้นมีประสิ ทธิ ภาพและความสามารถมากน้อยเพียงใด จึงอาจกล่าวไว้ได้วา่ การ ควบคุ มเป็ น เครื่ องชี้ ให้เห็นสิ่ งที่เป็ นไปต่างๆนาๆ ในองค์การเพื่อให้ผบู ้ ริ หารในลาดับชั้นที่สูงกว่า ได้รับ ทราบการ ดาเนิ นกิ จกรรมต่ า ง ๆ ภายในองค์ก ารและพฤติ ก รรมของผูใ้ ต้บ งั คับ บัญชาได้ ตลอดเวลา


48

วิลาวรรณ รพีพิศาล(2550: 153) การดาเนิ นงานใดๆก็ตามจะต้องยอมรับในเบื้องต้นว่า แผนที่กาหนดไว้อาจจะไม่ประสบผลสาเร็ จตามที่คาดหมายทั้งหมด ทั้งนี้ อาจจะมาจากหลายสาเหตุ ด้วยกัน ที่ส่งผลให้องค์การจาเป็ นต้องจัดระบบการควบคุมให้มีประสิ ทธิ ภาพ คือ 1. เกิดเหตุการณ์ที่นอกเหนื อความสามารถในการควบคุมโดยเฉพาะเหตุการณ์ ที่เป็ นผล มาจากปั จจัย ภายนอกองค์ก าร เช่ น การเปลี่ ย นแปลงของสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมือง เทคโนโลยีและวิทยาการต่างๆ ซึ่ งปั จจัยเหล่านี้ มีผลกระทบทางการบริ หารโดยตรง ด้วย เหตุน้ ีเององค์การจึงต้องมีการวางแผนจัดระบบการควบคุมให้มีประสิ ทธิ ภาพสามารถเอื้ออานวยต่อ สภาพการณ์ดงั กล่าวได้มากที่สุด เพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบที่ร้ายแรงต่อการปฏิบตั ิงานในระยะยาว 2. ผูร้ ับผิดชอบในการควบคุม หมายถึ งการที่ผมู ้ ีหน้าที่ควบคุ มการปฏิบตั ิงานไม่มีความ รับผิดชอบและดาเนิ นการต่างๆ ให้เป็ นไปตามแผนที่ กาหนดไว้ จึ งทาให้งานเกิ ดความผิดพลาด หรื ออีกประเด็นหนึ่งองค์การไม่ได้จดั เตรี ยมเครื่ องมืออุปกรณ์เพื่อตรวจสอบดูวา่ การดาเนิ นงานของ องค์การในแต่ละช่ วงเวลามีความคืบหน้าไปถึ งไหน และมีปัญหาอุปสรรคอะไรบ้างที่จาเป็ นต้อง แก้ไ ข ที่ ส าคัญระบบของการควบคุ ม การปฏิ บ ตั ิ ง านที่ ยอมรั บและนามาใช้ก ัน คื อ ระบบข้อมู ล ย้อนกลับ (Feedback) ซึ่ งถือว่าเป็ นเครื่ องแสดงให้ทราบถึงผลของงานว่ามีความคืบหน้าถึงไหน เป็ น อย่างไร การดาเนิ นการในแต่ละขั้นตอนมีปัญหาและอุปสรรคอะไรเกิ ดขึ้นบ้าง และควรจะแก้ไข อะไรบ้าง เพื่อให้งานบรรลุเป้ าหมายมากยิง่ ขึ้น มัลลิกา ต้นสอน(2544: 219) กล่าวว่าหน้าที่ของการควบคุมมีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับ หน้าที่การวางแผน โดยงานทั้งสองต้องดาเนินงานอย่างสอดรับกัน เพื่อเตรี ยมการปฏิบตั ิให้สามารถ บรรลุ เป้ าหมายขององค์การ โดยการวางแผนจะกาหนดปฏิ บตั ิการให้สามารถบรรลุเป้ าหมายของ องค์การ โดยการวางแผนจะกาหนดเป้ าหมายและแนวทางปฏิบตั ิ ซึ่ งจะกระทาผ่านการจัดระบบงาน การสั่ ง การ และการบริ ห ารงาน ขณะที่ ก ารควบคุ ม จะเป็ นกระบวนการต่ อ เนื่ อ งที่ ใ ช้ติ ด ตาม ตรวจสอบ และประเมินว่าการดาเนินงานสามารถบรรลุเป้ าหมายของแผนหรื อไม่ โดยที่การควบคุม มีเป้ าหมายสาคัญ 4 ประการ ได้แก่ 1. ปรับตัวเข้ากับเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม 2. จากัดข้อผิดพลาดที่เกิดจากการดาเนินงาน


49

3. ช่วยให้การดาเนินงานที่ซบั ซ้อนขององค์การมีความชัดเจน 4. ควบคุมต้นทุนให้ต่าที่สุด และใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด การควบคุ ม เป็ นเครื่ องมือช่ วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถวัดผลการดาเนิ นงานว่า สามารถบรรลุ เป้ าหมายที่ตอ้ งการหรื อไม่ การควบคุมจะช่ วยให้ผบู ้ ริ หารมีการปรับปรุ งแผน และช่วยให้องค์การ สามารถเผชิ ญหน้า ที่ ก ับ สภาพแวดล้อมที่ เปลี่ ย นไป โดยไม่ เกิ ดความสู ญเสี ย เนื่ องจากขาดการ เตรี ยมการ นอกจากนี้ สถานการณ์ ปัจจุบนั ที่องค์การธุ รกิจต่างได้ให้ความสาคัญกับการตอบสนอง ความต้องการของลู กค้าและผูบ้ ริ โภค โดยที่ การควบคุ มจะช่ วยให้องค์ก ารสามารถปรับปรุ งให้ สามารถตอบสนองความต้องการของลู ก ค้า ทั้งด้า นผลิ ตภัณฑ์ ราคา การจัดจาหน่ า ย และความ เชื่ อถื อในสิ นค้าและการส่ งมอบแก่ผบู ้ ริ โภค ซึ่ งจะช่ วยส่ งเสริ มให้องค์การมีความสามารถในการ แข่ ง ขัน ที่ สู ง ขึ้ น ขณะที่ การควบคุ ม การปฏิ บ ัติ ง านในองค์ ก ารจะช่ ว ยลดต้ น ทุ น และเพิ่ ม ประสิ ทธิ ภาพการทางาน ซึ่ งจะช่วยให้องค์การห่ างจากวงจรของความถดถอย ในทางตรงกันข้าม องค์การที่ขาดระบบการควบคุมที่มีประสิ ทธิ ภาพ ก็จะทาให้องค์การเข้าสู่ สภาวะการเสื่ อมถอย ระบบควบคุมที่ขาดประสิ ทธิ ภาพอาจจะไม่แสดงผลแบบทันทีทนั ใด แต่จะค่อยๆก่อปั ญหา ให้กบั องค์การจนยากต่อการแก้ไข ดังนั้นผูบ้ ริ หารต้องจัดระบบควบคุ มที่รอบคอบและรัดกุม โดย หน้าที่การควบคุมจะช่วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถที่จะปรับปรุ งแผน และช่วยให้องค์การเผชิ ญกับความ จริ ง ในสภาพแวดล้อมที่ เปลี่ ย นไปได้อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ถ้า ปราศจากข้อมู ล ย้อนกับ จากการ ควบคุ ม ที่ ร ะบุ ถึ ง แนวโน้ม ของปั ญ หาที่ เริ่ ม ก่ อ ตัว ก็ จ ะท าให้ อ งค์ก ารไม่ ส ามารถตอบสนองต่ อ สภาพแวดล้อม การป้ อนกลับข้อมูลอย่างสม่าเสมอจะช่วยให้ผบู ้ ริ หารสามารถตอบสนองปั ญหาได้ ในขณะที่ปัญหายังมีขนาดเล็กและยังไม่ขยายตัว ซึ่ งจะช่วยป้ องกันไม่ให้เกิดปั ญหาขึ้นในอนาคต วิภาดา คุปตานนท์ (2551: 128) การควบคุมเป็ นกระบวนการที่มีความเชื่อมโยงสัมพันธ์ กับการวางแผนในขณะที่การวางแผนเป็ นกระบวนการของการจัดเตรี ยมกิจกรรมต่างๆ เพื่อให้เกิด การทางานบรรลุ เป้ าหมายที่กาหนดไว้ การควบคุ มนับเป็ นกระบวนการต่อเนื่ องจากการวางแผน ซึ่งเป็ นกระบวนการกากับและติดตามว่ากิจกรรมที่กาหนดไว้ในแผนบรรลุเป้ าหมายหรื อไม่อย่างไร การกากับการดาเนิ นงานดังกล่ าวทาให้ผูบ้ ริ หารได้รับข้อมูลย้อนกลับ ซึ่ งเป็ นประโยชน์ต่อการ พัฒนาการดาเนิ นการ ตลอดจนปรั บปรุ งแผนงานได้และยัง ช่ วยให้องค์การสามารถดาเนิ นงาน ภายใต้การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมต่างๆ ได้


50

การควบคุ มทาให้ผูบ้ ริ หารทราบถึ งข้อบกพร่ องในการดาเนิ นงาน รวมถึ งทาให้ผบู ้ ริ หาร ทราบความคืบหน้าของการดาเนิ นงาน และมีขอ้ มูลย้อนกลับ การมีขอ้ มูลย้อนกลับนี้ เองเป็ นหัวใจ สาคัญของการควบคุ ม หากปราศจากข้อมูลย้อนกลับผูบ้ ริ หารจะไม่สามารถปรับปรุ งการทางาน และไม่สามารถตอบสนองต่อการดาเนินงานหรื อเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นได้ โดยกระบวนการควบคุม เองนั้น ไม่ได้เป็ นการกากับกิจกรรมที่เกิดขึ้นในองค์การแต่กระบวนการควบคุ ม ทาให้ผบู ้ ริ หารมี ข้อมูลเพื่อการตัดสิ นใจ เพื่อการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการทางานให้ ดีข้ ึน ดังนั้น การใช้ขอ้ มูลที่ เกิดจากการควบคุม จึงเป็ นสาระสาคัญที่ทาให้ผบู ้ ริ หารสามารถดาเนินงานได้ดียงิ่ ขึ้น การควบคุ ม ช่ ว ยให้ อ งค์ ก ารสามารถพัฒ นาคุ ณ ภาพของการท างานและคุ ณ ภาพของ ผลิตภัณฑ์เพื่อสนองความต้องการของลูกค้า ทาให้องค์การสามารถแข่งขันกับคู่แข่งขันได้ คุณภาพ เป็ นหัวใจของธุ รกิ จ เป็ นที่ ทราบกันว่า “คุณภาพระดับโลก” เกิ ดจากมิติสาคัญสองด้าน คือการ สนับสนุนและให้ความสาคัญจากผูบ้ ริ หารระดับสู งและการมีกระบวนการพัฒนาอย่างต่อเนื่ อง การควบคุมเป็ นกระบวนการที่สาคัญ ซึ่ งทาให้องค์การสามารถดาเนินงานและพัฒนาและ แข่งขันกับคู่แข่งขัน ตลอดจนสามารถพัฒนาคุ ณภาพมาตรฐานในระดับโลกและสามารถทาให้ องค์การดารงอยูภ่ ายใต้สภาพแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอยูต่ ลอดเวลาได้ เอกวิทย์ มณี ธร (2552: 163-164) อ้างถึง ธงชัย สันติวงษ์ (2541: 147) กล่าวว่าผูบ้ ริ หารทุก คนที่สามารถทาการวางแผนได้ดี สามารถจัดองค์การได้ดี และสังการได้ราบรื่ นนั้น ผลที่สุดสิ่ งที่ สาคัญที่สุดที่ตอ้ งทาให้ได้ก็คือ ผลสาเร็ จของงานที่จะต้องทาได้ตามที่คาดคิดเอาไว้ ซึ่ งจะเห็นได้ชดั แจ้งว่า การควบคุ มนี้ เองเป็ นเครื่ องนี้ ให้เห็ นสิ่ งที่เป็ นไปต่าง ๆ เพื่อให้ผบู ้ ริ หารทราบได้ตลอดเวลา สาเหตุ อีกประการหนึ่ งที่ ทาให้การวางแผนมีความสาคัญยิ่งก็คือ การควบคุ มนี้ จะเป็ นหน้าที่ งาน ประการสุ ดท้ายของกระบวนการจัดการ ซึ่ งเชื่ อมโยงกับขั้นตอนแรกของกระบวนการจัดการรอบ ใหม่ (คือ การวางแผน) อีกครั้งหนึ่ ง และการดาเนิ นงานปรับแก้สิ่งที่ผิดปกติจากเเผนนี้ เอง ที่ทาให้ การควบคุ มเกี่ ยวข้องสัมพันธ์กบั หน้าที่ทางการจัดการประการอื่นๆด้วย โดยผูบ้ ริ หารอาจปรับแก้ ด้วยวิธีการทบทวนแผนงานหรื อปรั บเข้าผลงานต่างๆ เสี ยใหม่ เพื่อให้การทางานในรอบใหม่มี ประสิ ทธิ ภาพดียงิ่ ขึ้นด้วย วิเชี ยร วิทยอุดม(2550: 250) กล่าวว่าการควบคุมเป็ นกระบวนการในการเฝ้ าตรวจสอบ กิจกรรม เพื่อให้แน่ใจว่าได้บรรลุ ตามแผนการที่กาหนด และมีการกากับแก้ไขจุดที่มีการเบี่ยงเบน ไปจากเป้ าหมายที่ ไ ด้ต้ ัง ไว้ใ ห้ มี ค วามถู ก ต้อ งผู ้จ ัด การทุ ก ๆคนในองค์ก ารควรที่ จ ะต้อ งเข้า ไป


51

เกี่ยวข้องกับหน้าที่ของการควบคุม แม้วา่ องค์การของพวกเขานั้นมีการดาเนิ นการตามแผนที่ได้วาง ไว้แลัวก็ ตาม ผูจ้ ดั การก็ย งั ไม่ส ามารถที่ จะรู ้ ว่า องค์ก ารของพวกเขามี ก ารทางานอย่า งเหมาะสม ถูกต้อง จนกว่าพวกเขาได้จดั ให้มีการประเมินผลในกิ จกรรมนั้นๆขึ้นมา และได้มีการเปรี ยบเทียบ ประสิ ทธิ ภาพการทางานจริ งกับมาตรฐานที่ตอ้ งการ ระบบการควบคุมที่มีประสิ ทธิ ผลได้น้ นั ก็ตอ้ ง เป็ นสิ่ งที่ แน่ ใจ ได้จากกิ จกรรมนั้นถู กทาขึ้ นมาอย่างสมบูรณ์ เพื่อนาไปสู่ การบรรลุ เป้ าหมายของ องค์การ เกณฑ์มาตรฐานที่ ใช้สาหรั บการวัดประสิ ทธิ ผลของระบบการควบคุ มจะเป็ นตัวที่ ช่วย อานวยความสะดวกเพื่อที่จะทาให้ไปสู่ ยงั เป้ าหมายได้ง่ายขึ้น นอกจากนี้ มนั ยังสามารถช่วยผูจ้ ดั การ ให้สามารถปฏิบตั ิงานให้บรรลุตามเป้ าหมายขององค์การได้ ถ้ามีระบบควบคุมที่ดี ธงชัย สันติวงษ์ (2533: 147) กล่าวว่า ผูบ้ ริ หารทุกคนที่สามารถทาการวางแผนงานได้ดี สามารถจัดองค์การได้ดี สามารถจัดองค์การได้ดี และสั่งการได้ราบรื่ นนั้น ผลที่สุดสิ่ งที่สาคัญที่สุด ที่ตอ้ งทาให้ได้ก็คือ ผลสาเร็ จของงานที่จะต้องทาได้ตามที่ได้คาดคิดเอาไว้ ซึ่ งจะเห็นได้ชดั แจ้งว่า การควบคุมนี้เองที่เป็ นเครื่ องชี้ให้เห็นสิ่ งที่เป็ นไปต่างๆเพื่อให้ผบู ้ ริ หารทราบได้ตลอดเวลา สาเหตุอีกประการหนึ่งที่ทาให้การวางแผนมีความสาคัญยิ่งก็คือ การควบคุมนี้ จะเป็ นหน้าที่ งานประการสุ ดท้ายของกระบวนการจัดการที่ซ่ ึ งเชื่ อมโยงกับขั้นตอนแรกของกระบวนการจัดการ รอบใหม่ (คือ การวางแผน) อีกครั้งหนึ่ง และการดาเนิ นการปรับแก้สิ่งที่ผิดปกติจากแผนนี้ เอง ที่ทา ให้ก ารควบคุ ม เกี่ ย วข้องสั ม พันธ์ ก ับ หน้า ที่ ท างการจัดการประการอื่ น ๆ ด้วย โดยผูบ้ ริ ห ารอาจ ปรับแก้ดว้ ยวิธีการทบทวนแผนงานหรื อปรั บเป้ าผลงานต่างๆเสี ยใหม่ เพื่อให้การทางานในรอบ ใหม่มีประสิ ทธิ ภาพดียงิ่ ขึ้นด้วย ประเภทของการควบคุม ภาพร (ศิริอร) ขันธหัตถ์ (2549: 167-168) กล่าวว่าประเภทของการควบคุมงานแบ่งได้เป็ น 4 ประเภท คือ 1. การควบคุมด้านปริ มาณงาน (Quantity of Work) เป็ นการควบคุมผลผลิตและการ จาหน่ายหรื อบริ การเชิงปริ มาณว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายหรื อไม่


52

2. การควบคุมด้านคุณภาพ (Quanlity of Work) เป็ นการควบคุมผลผลิตและการจาหน่าย หรื อบริ การเชิงคุณภาพว่าเป็ นไปตามเป้ าหมายหรื อไม่ 3. การควบคุมด้านเวลา (Time of Complete Work) เป็ นการควบคุมการผลิตและการ จาหน่ายหรื อบริ การ ตลอดจนการปฏิบตั ิงานของบุคลากรในองค์การหรื อหน่วยงานด้วย 4. การควบคุมด้านค่าใช้จ่าย (Cost of Work) เป็ นการควบคุมค่าใช้จ่ายต่างๆขององค์การ หรื อหน่วยงาน เอกวิทย์ มณี ธร (2552: 166) อ้างถึง สุ พจน์ บุญวิเศษ (2542: 245) กล่าวว่าการควบคุมงาน มีวธิ ี การต่างๆหลายวิธี เพราะแต่ละองค์การย่อมใช้วิธีการที่แตกต่างกันโดยทัว่ ไประบบการควบคุม ที่เป็ นพื้นฐานมี 3 ระบบ ดังนี้ 1. ระบบการควบคุ ม ที่ ใ ช้ พ ยากรณ์ ข ้ อ มู ล ล่ ว งหน้ า หรื อก่ อ นเกิ ด เหตุ ก ารณ์ จ ริ ง (Feedforward Control System) เป็ นระบบที่ทานายการเบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน และดาเนินการ แก้ไขก่อนที่จะเกิดการเบี่ยงเบนไป หรื อก่อนเกิดการผิดพลาดขึ้นจริ งๆ 2. ระบบการควบคุ มที่ใช้ขอ้ มูลย้อ นกลับภายหลังจากเหตุ การณ์ เกิ ดขึ้ นแล้ว (Feedback Control System) ระบบการควบคุ มแบบนี้ จะใช้ขอ้ ผิดพลาดหรื อการเบี่ยงเบนที่เกิดขึ้นจริ งๆเป็ น พื้นฐานในการแก้ไข 3. ระบบการควบคุมที่ตอ้ งผ่านการตรวจสอบก่อน (Yes-No Control System) ระบบนี้ จะ มีการตรวจสอบการดาเนิ นการเป็ นช่ วงๆ ซึ่ งหากมิ ได้ดาเนิ นการการตามแผนที่ กาหนดหรื อตาม เป้ าหมายที่กาหนดไว้จะต้องแก้ไขก่อนที่จะดาเนิ นการขั้นต่อไป และการดาเนิ นการใดๆจะต้องขอ อนุญาตก่อนทุกครั้ง อนิ วชั แก้วจานง (2550: 232) อ้างถึง Schermerhorn (1996: 472-473) กล่าวว่ารู ปแบบการ ควบคุมใน 3 รู ปแบบ ดังนี้


53

1. การควบคุมก่อนการดาเนิ นงาน (Feedforward Controlling) เป็ นการควบคุมที่เกิดขึ้น ก่อนการดาเนินงานหรื อเกิดขึ้นในระยะแรกก่อนที่จะเริ่ มการทางาน ทั้งนี้อาจกระทาโดยการกาหนด ทิศทางหรื อแนวทางในการดาเนิ นงานที่ถูกต้องและเหมาะสมที่สุดเพื่อป้ องกันความผิดพลาดที่อาจ เกิดขึ้นได้ในระหว่างการทางาน การควบคุมก่อนการดาเนิ นงานจึงเป็ นการหาแนวทางเพื่อป้ องกัน ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นได้ในระหว่างการทางาน การควบคุ มก่อนการดาเนินงานจึงเป็ นการหา แนวทางเพื่อป้ องกันความผิดพลาดหรื อข้อบกพร่ องที่อาจเกิ ดขึ้นได้ในขณะดาเนิ นการตามแผน ทั้งนี้ พบว่าการควบคุมประเภทนี้ กระทาโดยการกาหนดนโยบาย กระบวนการ หรื อกฎระเบียบเพื่อ ใช้ในการควบคุ มเป็ นการเฉพาะเพื่อให้มนั่ ใจได้ว่าเมื่อทาการควบคุ มด้วยสิ่ งเหล่ านี้ แล้วจะได้รับ ผลลัพธ์ตามแผนที่วางไว้ การควบคุมก่อนการดาเนิ นงาน ผูค้ วบคุมต้องทาการวินิจฉัย และวิเคราะห์ขอ้ มูลหรื อ เหตุการณ์ ไว้เป็ นการล่ วงหน้าโดยต้องปฏิ บตั ิ งานในเชิ งรุ กมากกว่าการตั้งรั บ ทั้งนี้ เพราะต้องการ คุณภาพหรื อผลลัพธ์ของงานให้ได้ตามแผนงาน จึงเห็นได้วา่ การควบคุมก่อนการดาเนิ นงานจะต้อง มีความละเอียดรอบคอบและต้องมัน่ ใจว่าเมื่อดาเนิ นการจริ ง ๆ แล้วจะได้ผลลัพธ์เป็ นไปตามที่ได้ วางแผนไว้ สิ่ ง ส าคัญู ใ นการควบคุ ม ก่ อนการดาเนิ นงานคื อการมี ขอ้ มู ล ประกอบการควบคุ ม ผู ้ ควบคุมจะต้องเสาะหาข้อมูลประกอบเพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการควบคุมให้มากที่สุด 2. การควบคุมระหว่างการดาเนิ นงาน (Concurrent Control) การควบคุมในลักษณะนี้ จะ ดาเนิ น การในขณะที่ ง านนั้น ก าลัง ดาเนิ นไปหรื อ อาจด าเนิ น การได้ใ นระดับ หนึ่ ง จึ ง ต้อ งมี ก าร ตรวจสอบสิ่ งผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นในระหว่างการดาเนิ นงานเพื่อให้มนั่ ใจได้วา่ ไม่มีเหตุร้ายหรื อสิ่ ง ผิดปกติที่อาจกระทบหรื อเป็ นอุปสรรคขัดขวางให้งานนั้นสาเร็ จล่าช้าออกไป หากพบสิ่ งผิดปกติผู ้ ควบคุ มสามารถดาเนิ นการปรับเปลี่ ยนให้เป็ นไปในแนวทางที่ถูกต้องเหมาะสมต่อการดาเนิ นงาน ได้ทนั ที อย่างไรก็ตามผูค้ วบคุมต้องใช้ดุลยพินิจในการตัดสิ นใจว่าจะทาการควบคุมโดยปรับเปลี่ยน แก้ไขหรื อจะปล่ อยให้การดาเนิ นงานเป็ นไปตามปกติ เพราะหากปรับเปลี่ ยนแก้ไขอาจทาให้เกิ ด ความล่าช้าต่อการส่ งมอบงานได้เช่นกัน 3. การควบคุมหลังการดาเนินงาน (Feedback Controlling หรื อ Postaction Controls) เป็ น การควบคุ มหลังจากการปฏิ บตั ิงานนั้นเสร็ จสิ้ นหรื อได้ผลสาเร็ จของงานเป็ นที่เรี ยบร้อยแล้วการ ควบคุมหลังการดาเนินงานจะเน้นที่ผลลัพธ์สุดท้ายที่องค์การได้รับ โดยหลังจากดาเนินกิจกรรมของ องค์การแล้วผูค้ วบคุ มต้องเก็บข้อมูลเพื่อนาไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อค้นหาปั ญหา อุปสรรคใดใน


54

ระหว่างการดาเนิ นงาน รวมถึ งการดาเนิ นงานเป็ นไปและเกิ ดผลสาเร็ จตามแผนที่ได้วางไว้หรื อไม่ อย่างไร โดยอาจอธิ บายถึงวิธีการปรับเปลี่ยนแก้ไขและผลที่ได้วา่ เป็ นอย่างไร วิเชียร วิทยอุดม (2550: 250-251) อ้างถึง William Ouchi (n.d.) ให้ทศั นะไว้วา่ ผูบ้ ริ หาร สามารถที่จะประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์ กว้างๆได้ 3 รู ปแบบ เพื่ อให้สามารถควบคุ มองค์การได้มี รายละเอียดดังต่อไปนี้ 1. การควบคุมแบบตลาด (Market Control) เป็ นวิธีการใช้สาหรับการควบคุม เพื่อที่จะ เน้นให้ความสาคัญกับการใช้กลไกลด้านการตลาด เช่น ราคาและส่ วนแบ่งการตลาด เพื่อใช้ควบคุม กิ จกรรมในการดาเนิ นงานของหน่ วยเศรษฐกิ จและสามารถใช้สร้างเป็ นมาตรฐานในการควบคุ ม ระบบได้ ผูบ้ ริ หารที่ดาเนิ นการกับหน่ วยเศรษฐกิ จเหล่านี้ อาจถูกประเมินได้จากพื้นฐานด้านกาไร และขาดทุน 2. การควบคุ มแบบระบบราชการ (Bureaucratic Control) ส่ วนใหญ่เป็ นระบบการ ควบคุมของหน่วยงานราชการ คือ การใช้กฎ ระเบียบแบบแผน ข้อกาหนดกฎเกณฑ์ และนโยบายที่ ค่อนข้างมีความชัดเจน ซึ่ งการควบคุมระบบนี้จะขึ้นอยูก่ บั มาตรฐานขององค์การ ลักษณะของงานที่ ชัดเจน และกลไกที่ เกี่ ยวกับการบริ หารหรื อการปกครองอื่ นๆ เช่ น งบประมาณ รายงานทางสถิ ติ การประเมิ น การท างานและอื่ น ๆ เพื่ อ ให้ มี ค วามมั่นใจว่า พนัก งานสามารถแสดงพฤติ ก รรมที่ เหมาะสมและสอดคล้องกับพื้นฐานของการดาเนินงานในองค์กร 3. การควบคุมกลุ่มชน (Clan Control) คือ การที่พนักงานจะถูกควบคุมโดย วัฒนธรรม ขององค์การ กฎเกณฑ์ ประเพณี ความเชื่ อ ซึ่ งจะมีความยืดหยุน่ ไปตามกลุ่มงานและข้อกาหนดของ กิจกรรมองค์การนั้นเป็ นสาคัญ การควบคุ มกลุ่มชนนี้ จะมีความเกี่ ยวพันกับการสร้างสัมพันธภาพ บนความเคารพซึ่ งกันและกัน และการมีส่วนร่ วมของพนักงานมีการกระตุน้ ซึ่ งกันและกันให้มีความ รับผิดชอบต่อการแก้ไขปั ญหาและมีความรับผิดชอบต่อการกระทาของตนเอง วิเชียร วิทยอุดม (2550: 252-253) กล่าวว่า วิธีการควบคุมในการปฏิบตั ิงานที่ใช้ในองค์การ นั้น โดยเฉพาะแนวทางการควบคุมแบบราชการ ที่นิยมใช้กนั ส่ วนใหญ่มีดว้ ยกัน 3 รู ปแบบ


55

1. การควบคุ มก่อนการปฏิ บตั ิงาน (Feedforward Control) บางครั้งเรี ยกว่า การควบคุ ม เบื้องต้น (Preliminary Control) เป็ นการควบคุมที่เกิดก่อนการปฏิบตั ิงานจะได้เริ่ มขึ้น โดยเป้ าหมาย อยูต่ รงที่เพื่อให้มีการป้ องกันในปั ญหาก่อนที่มนั จะเกิดขึ้น ยังหมายรวมไปถึง นโยบายกระบวนการ และกฎระเบี ยบที่ มีไว้เพื่อให้มีความมัน่ ใจว่ากิ จกรรมที่ ได้วางแผนไว้แล้วนั้น จะนาไปปฏิ บตั ิ ได้ อย่างถูกต้องหรื อไม่ ผูบ้ ริ หารจึงสามารถที่จะควบคุมโดยการจากัดกิจกรรมดังกล่าวล่วงหน้าได้ 2. การควบคุมขณะปฏิบตั ิงาน (Concurrent Control) การควบคุมขณะปฏิบตั ิงาน เกิดขึ้น ขณะที่ แผนการกาลังดาเนิ นการอยู่ รวมถึ งมี การสั่งการ การควบคุ ม และปรั บเปลี่ ยนกิ จกรรมใน ขณะที่ ก าลัง ท างานอยู่เพื่ อจะได้ม นั่ ใจว่า ได้ท างานอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและมี ป ระสิ ท ธิ ภาพและ หลี กเลี่ ยงความเสี ยหายใดๆอีกด้วย ในขั้นนี้ ถือได้วา่ เป็ นหัวใจของระบบการควบคุ ม เพราะในขั้น ของการผลิ ตนั้นความพยายามทั้งหมดอยู่ในการที่ มุ่งมัน่ ไปที่ การผลิ ตเพื่อให้ได้ปริ มาณที่ถูกต้อง และคุณภาพของสิ นค้าเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ 3. การควบคุมหลังการปฏิบตั ิงาน (Feedback Control) การควบคุมหลังการปฏิบตั ิงาน หมายถึงว่า ข้อมูลการปฏิบตั ิงานได้มีการรวบรวมและวิเคราะห์ไว้แล้วและให้ผลย้อนกลับมายังบาง คนหรื อบางสิ่ งในกระบวนการนั้นเพื่อจะได้แก้ไขให้ถูกต้องต่อไป การควบคุมแบบนี้ ช่วยชี้ ให้เห็ น และปรั บปรุ งการปฏิ บตั ิ ที่บกพร่ องอยู่หรื อปรับค่าเบี่ยงเบนให้ถูกต้องตามมาตรฐานที่ ยอมรับได้ หลังจากเกิดขึ้นแล้ว วิลาวรรณ รพีพิศาล (2550: 154-155) กล่าวว่าระบบการควบคุมที่นามาใช้เป็ นพื้นฐานใน การปฏิบตั ิงานโดยทัว่ ไปมีอยู่ 3 ประเภท คือ 1. ระบบการควบคุมที่ใช้ในการพยากรณ์ขอ้ มูลล่วงหน้า การควบคุมด้วยวิธีน้ ี จะอาศัยกา พยากรณ์ขอ้ มูลพื้นฐานไว้ล่วงหน้าก่อนที่จะเกิดเหตุการณ์จริ ง คือเป็ นลักษณะของการทานายความ คลาดเคลื่ อนของข้อมูลต่างๆ จากมาตรฐานที่ กาหนดไว้ ซึ่ งอาจจะเกิ ดจากการเปลี่ ยนแปลงทาง เศรษฐกิจ นโยบายทางการค้า หรื อภาษีอากร เป็ นต้น และที่สาคัญเมื่อทราบสาเหตุในเบื้องต้นแล้ว จะมีการดาเนิ นแก้ไขข้อผิดพลาดเหล่านั้นก่อนเกิ ดข้อผิดพลาคจริ ง ๆ ซึ่ งถือว่าเป็ นลักษณะของการ เตรี ยมความพร้ อมหรื อป้ องกันไม่ให้เกิ ดความผิดพลาด หรื อถ้าไม่สามารถหลี กเลี่ ยงได้ก็ควรให้ เกิดขึ้นน้อยที่สุด


56

2. ระบบการควบคุ มที่ใช้ขอ้ มูลย้อนกลับ การควบคุ มด้วยระบบนี้ จะอาศัยข้อมูลที่ เป็ น ข้อ ผิ ด พลาดที่ เ กิ ด ขึ้ นจริ งมาเป็ นพื้ น ฐานในการแก้ ไ ขโดยการวัด ความเบี่ ย งเบนหรื อความ คลาดเคลื่อนจากผลที่ออกมาแล้วนาไปเปรี ยบเทียบกับมาตรฐานที่ได้กาหนดไว้ เพื่อตรวจสอบดูวา่ ผลที่ออกมานั้นเป็ นไปตามมาตรฐานที่กาหนดไว้หรื อไม่ ถ้าพบความเบี่ยงเบนหรื อคลาดเคลื่ อนก็ อาจจะต้องมีการปรับแผนการดาเนิ นการใหม่ หรื อไม่ก็เพิ่มเติมเปลี่ ยนเเปลงในบางส่ วนของแผน นั้น ๆ เพื่อไม่ให้เกิ ดข้อผิดพลาดขึ้นอีก ซึ่ งเเนวทางแก้ไขในแต่ละจุดนั้นจาเป็ นต้องอาศัยข้อมูลต่าง ๆ มาช่วยในการพิจารณาตัดสิ นใจ โดยจะสังเกตพบว่าระบบนี้ จะมีการแก้ไขได้ก็ต่อเมื่อเกิ ดความ เบี่ยงเบนหรื อความคลาดเคลื่อนของข้อมูลขึ้นแล้ว ซึ่ งการควบคุมด้วยระบบนี้ นิยมนามาใช้ในการ ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของบุคลากรเพื่อเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการพิจารณาความดีความชอบและ การกาหนดค่าตอบแทน 3. ระบบควบคุมที่ตอ้ งผ่านกระบวนการตรวจสอบ สาหรับการควบคุมโดยวิธีน้ ี จะใช้การ ตรวจสอบงานเป็ นเรื่ องๆ มากกว่าจะดูภาพรวมของงาน และจะมีการจัดทาเป็ นช่วงๆ คือถ้าหากงาน ไม่ได้ปฏิบตั ิไปตามเป้ าหมายที่กาหนดไว้ก็จะต้องมีการแก้ไขหาความถูกต้อง และได้รับการอนุญาต ก่ อ นที่ จะนาไปดาเนิ นการในขั้น ต่ อ ไป ซึ่ งระบบการควบคุ ม วิ ธี น้ ี นิ ย มน ามาใช้ใ นการควบคุ ม ตรวจสอบคุณภาพของสิ นค้า การกาหนดมาตรฐานคุณภาพงาน การจัดซื้ อวัสดุ-อุปกรณ์ การกาหนด ค่าตอบแทน และที่สาคัญคือเป็ นที่นิยมใช้และยอมรับกันมา เพราะในทางปฏิบตั ิน้ นั สามารถสร้าง ความเข้าใจและความมัน่ ใจให้กบั ผูบ้ ริ หารได้มาก ทั้งนี้ เป็ นเพราะว่าได้ผา่ นกระบวนการตรวจสอบ ซึ่ งทาให้ผบู ้ ริ หารทราบข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการดาเนิ นงาน การควบคุมภายใน นิ มิ ต จิ วะสันติ การ (ม.ป.ป.: 71) อ้างถึ ง สมาคมผูส้ อบบัญู ชีรับอนุ ญาตแห่ ง ประเทศ สหรัฐอเมริ กา (American Institute of Certified Public Accountant - AICPA) ให้คาจากัดความว่า การควบคุมภายใน ประกอบด้วยแผนการจัดองค์การ และวิธีการประสานงานตลอดจนการวัดมูลค่า ทั้งหลายที่กิจการใช้ เพื่อป้ องกันทรัพย์สิน ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลทางบัญูชี ส่ งเสริ มการ ดาเนินงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และสนับสนุนการดาเนินงานตามนโยบายของฝ่ ายบริ หาร วัธนี พรรณเชษฐ์ และ เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (ม.ป.ป.: 116) กล่าวว่า การควบคุมภายใน คือ วิธีการที่ผบู้ ริ หารนามาใช้เพื่อควบคุ มให้การปฏิบตั ิ งานขององค์การเป็ นไปตามวัตถุประสงค์


57

และขั้นตอนการดาเนิ นงานที่กาหนดไว้ หรื ออาจจะพูดให้ละเอี ยดขึ้นได้อีกว่า ระบบการควบคุ ม ภายในหมายถึงวิธีการต่างๆ ที่ฝ่ายบริ หารนามาใช้เพื่อควบคุ มรักษาทรัพย์สินขององค์การ โดยจัด วางระบบงานให้ป้องกันการผิดพลาดในการปฏิบตั ิงานและการสู ญเปล่าที่ ไม่จาเป็ นต้องเกิดขึ้น ใน ขณะเดียวกันก็เบ็่นแนวทางที่ช่วยให้เจ้าหน้าที่พนักงานของธุ รกิจได้ปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และตรงตามเป้ าหมายที่องค์การได้กาหนดไว้ อย่างไรก็ตามเเม้องค์การจะมีระบบการควบคุมภายใน ที่ดีแล้ว แต่ก็ยงั อาจเกิ ดข้อบกพร่ องและการสู ญเปล่าต่าง ๆ ได้ ทั้งนี้ เพราะการควบคุ มภายในเป็ น เพียงระบบงานเพื่อป้ องกันในขั้นต้นเท่านั้น หากปฏิ บตั ิ งานละเลยไม่ปฎิ บตั ิ ตาม ก็อาจเกิ ดความ เสี ยหายขึ้นได้ ดังนั้นอาจกล่าวได้วา่ องค์การใดมีระบบการควบคุมภายในที่ดี ก็เท่ากับมีสิ่งที่พอจะ ใช้เบ็่นหลักประกันความมัน่ ใจในขั้นต้นว่าองก์การนั้นได้มีการควบ คุมดูแลอย่างดี เพื่อให้สามารถ ดาเนินงานตรงเป้ าหมายเท่านั้น (กัล ยาภรณ์ ปานมะเริ ง เบอร์ ค ,2546: 99) กล่ า วว่า การควบคุ ม ภายใน คื อ วิ ธี ก าร ปฏิบตั ิงานภายในองค์กรภายใต้การควบคุมของฝ่ ายบริ หารในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับปั จจัยภายในต่าง ๆ ขององค์กร เช่น สิ นทรัพย์ของกิจการ บุคลากร และวิธีปฏิบตั ิงานของบุคลากรทุกหน่วยงาน เป็ นต้น ทั้งนี้เพื่อสามารถบรรลุเป้ าหมายของระบบบัญชีขององค์กรตามที่ได้กาหนดไว้ (กัลยาภรณ์ ปานมะเริ ง เบอร์ ค,2546: 100 อ้างถึ ง การควบคุมภายในตามรายงานของ Commttee of Sponsonng Organizations of the Treadway Commiss - COSO) ได้ให้คานิ ยามว่า การ ควบคุ มภายใน หมายถึ งกระบวนการปฎิ บตั ิงานหรื อวิธีการปฎิ บตั ิ งานที่ถูกกาหนดร่ วมกัน โดย คณะกรรมการบริ หาร ผูบ้ ริ หาร ตลอดจนเจ้าหน้าที่พนักงานขององค์กรทุกระดับชั้น เพื่อก่อให้เกิ ด ความมัน่ ใจอย่างมีเหตุมีผลว่าหากทุกคนได้ปฏิบตั ิงานร่ วมกันแล้วจะทาให้บรรลุวตั ถุประสงค์ ปรี เปรม นนทลีรักษ์ และ คณะ (2551: 7) กล่าวว่า การควบคุมภายใน (lntemal Control) คือกระบวนการที่จะสร้างความเชื่อมัน่ ว่าองค์กรจะจัดทารายงานทางการเงินที่เชื่ อถือได้ ปฏิบตั ิตาม กฎหมายและหลัก เกณฑ์ ที่ เ กี่ ย วข้อ ง และด าเนิ น งานอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ลและประสิ ท ธิ ภ าพ คณะกรรมการบริ ษทั ฝ่ ายบริ หาร และบุคลากรอื่นๆ มีส่วนร่ วมที่จะต้องสร้ างและติดตามดูแลการ ควบคุมภายใน ดุษฎี สงวนชาติ และ คณะ (2546: 3) ให้ความหมายว่าการควบคุมภายในเป็ นกระบวนการ ที่เกี่ยวข้องกับวิธีการและการป้ องกันการทุจริ ตเกี่ยวกับสิ นทรัพย์ซี่งครอบคลุมถึง


58

1. การป้ องกันสิ นทรั พย์ของกิ จการเองจากการทุ จริ ตของพนักงาน การที่ พนักงานนา สิ นทรัพย์ของกิจการไปใช้ส่วนตัวและการอนุมตั ิเกินอานาจของพนักงาน 2. เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ความถู ก ต้อ งและน่ า เชื่ อ ถื อ ได้ ของการบัน ทึ ก บัญ ชี โ ดยช่ ว ยลด ข้อผิดพลาดที่ไม่ได้ต้ งั ใจและความผิดที่เกิดจากการไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบหรื อการตีความผิดใน กระบวนการทางการรบัญชี เสนาะ ติเยาว์ และ กึ่ งกนก พิทยานุ คุณ (2519: 294) กล่าวไว้วา่ การควบคุมภายในเป็ น วิธีการต่างๆ นามาใช้ในหน่วยงานเพื่อป้ องกันทรัพย์สินตรวจสอบความถูกต้อง และความเชื่ อถือได้ ของข้อมูลทางบัญชี เพื่อส่ งเสริ มให้มีการทางานอย่างมีสมรรถภาพและเป็ นไปตามนโยบายที่ฝ่าย บริ หารวางไว้ ความ สาคัญของควบคุมภายในอยูท่ ี่การส่ งเสริ มให้มีการทางานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยฝ่ ายบริ หารจะใช้การควบคุ มเป็ นส่ วนหนึ่ งของการตัดสิ นใจเพื่อให้การดาเนิ นงานได้ผลตาม วัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ (เจริ ญ เจษฏาวัลย์,2545: 170) กล่าวว่า การควบคุมภายใน เป็ นกระบวนการทางการบริ หาร ที่ดาเนินการภายใต้นโยบายและความเห็นชอบของคณะผูบ้ ริ หารสู งสุ ดขององค์การ (สุ รีย ์ วงศ์วณิ ช,2550: 14-15 อ้างถึง สภาวิชาชีพบัญชี 2544) ได้ให้คานิยามของระบบการ ควบคุมภายใน ไว้สรุ ปว่า ระบบการควบคุมภายใน หมายถึง นโยบายและวิธีการปฏิบตั ิ ซึ่ งผูบ้ ริ หาร กาหนดขึ้น จากความหมายของการควบคุ มภายในข้างต้น คณะผูจ้ ดั ทา สามารถสรุ ปความหมายของ การควบคุ ม ภายในได้ดังนี้ การควบคุ มภายใน หมายถึ ง วิธี การต่ างๆ ที่ ฝ่ ายบริ หารนามาใช้เพื่ อ ควบคุมรักษาทรัพย์สินขององค์การ โดยจัดวางระบบงานให้ป้องกันการผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน และการสู ญเปล่ าที่ ไม่จาเป็ นต้องเกิ ดขึ้น รวมถึ งการตรวจสอบความถู กต้องของข้อมูลทางบัญูชี ส่ งเสริ มการดาเนิ นงานอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ และสนับสนุ นการดาเนิ นงานตามนโยบายของฝ่ าย บริ หาร


59

วัตถุประสงค์ ของระบบการควบคุมภายใน นิมิต จิวะสันติการ (ม.ป.ป.: 71) กล่าวว่า จุดประสงค์ของระบบการควบคุมภายในที่ดี มี ดังต่อไปนี้ 1. เพื่อจัดหาข้อมูลที่เชื่อถือได้ ฝ่ ายบริ หารจาเป็ นต้องมีขอ้ มูลที่ถูกต้อง เพื่อใช้ในการดาเนิ นงานข้อมูลดังกล่าว อาจใช้ใน การตัด สิ น ใจของธุ ร กิ จ เช่ น การก าหนดราคาสิ น ค้า ขึ้ น อยู่ก ับ ข้อ มู ล ต้น ทุ น ของสิ น ค้า การให้ ค่าตอบแทนพนักงานขายขึ้นอยูก่ บั จานวนหน่วย และจานวนเงินที่พนักงานขายได้ 2. เพื่อป้ องกันทรัพย์สิน และข้อมูลที่เก็บบันทึก ทรัพย์สินของบริ ษทั อาจถูกขโมยนาไปใช้ในทางที่ผิดหรื อถูกทาลาย โดยไม่ต้ งั ใจได้ ถ้าไม่ มีการควบคุมอย่างเพียงพอ เช่นเดียวกับทรัพย์สินที่ไม่มีตวั ตนเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับลูกหนี้ เอกสารสา คัญู (เช่ น สัญญาต่าง ๆ ) และบันทึกทางการบัญชี เช่น สมุดรายวันและบัญชี แยกประเภท การ ป้ องกันทรัพย์สินตลอดจนเอกสารบางชนิด ทวีความสาคัญมากขึ้น ตั้งแต่มีการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ ข้อมูลจานวนมากมายที่เก็บไว้ใน จานแม่เหล็ก หรื อ แผ่นจาน อาจถูกทาลายได้ง่ายถ้าไม่ระมัดระวัง ในการป้ องกันให้ถูกวิธี 3. เพื่อเสริ มสร้างการดาเนินงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ การควบคุมภายในองค์การกระทาเพื่อป้ องกันการทางานซ้ าซ้อน ตลอดจนลดความสู ญเสี ย จากการดาเนินงาน และนอกจากนี้ยงั ทาให้การดาเนินงานเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 4. เพื่อสนับสนุ นการดาเนิ นงานตามนโยบายที่กาหนดไว้ กฎระเบียบ รวมข้อบังคับของ บริ ษทั วัธนี พรรณเชษฐ์ และ เกียรติศกั ดิ์ จีรเธี ยรนาถ (ม.ป.ป.: 117-118) กล่าวว่า การควบคุ ม ภายในนั้นเป็ นหน้า ที่ ง านของฝ่ ายบริ ห ารซึ่ งรวมถึ ง การควบคุ ม ในด้า นต่ า ง ๆ อย่า งกว้า งขวาง


60

กล่าวคือไม่เพียงแต่ควบคุมด้านการบัญชี เท่านั้น แต่ยงั คลุมไปถึงด้านการบริ หารอีกด้วย และพอจะ สรุ ปวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในออกได้เป็ น 4 อย่างดังนี้ คือ 1. เพื่อควบคุมดูแลรักษาทรัพย์สินของกิจการ 2. เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของข้อมูลทางการบัญชี 3. เพื่อส่ งเสริ มให้มีการปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เเละ 4. เพื่อส่ งเสริ มให้บริ หารงานตามนโยบายของกิจการที่ได้วางไว้ โดยวัตถุประสงค์ 2 ข้อแรก คือการดูแลรักษาทรัพย์สิน และการตรวจสอบความถูกต้อง และเชื่ อถื อได้ของข้อมูลทางการบัญชี เป็ นวัตถุ ประสงค์ของการควบคุ มทางบัญชี (Accounting Control Objective) ส่ วนวัตถุ ประสงค์ 2 ข้อหลัง คือ การส่ งเสริ มให้มีการปฏิ บตั ิงานอย่างมี ประสิ ท ธิ ภ าพ และการส่ ง เสริ ม ให้ บ ริ ห ารงานไปตามนโยบายที่ ไ ด้ก าหนดไว้น้ ัน จัด ว่ า เป็ น วัตถุประสงค์ของการควบคุมการบริ หาร (Administrative Control Objective) กัลยาภรณ์ ปานมะเริ ง เบอร์ ค (2546: 99-100) การควบคุมภายในมีวตั ถุประสงค์ที่สาคัญ ดังนี้คือ 1. เพื่อป้ องกันสิ นทรัพย์ของกิจการให้นาไปใช้ในการปฏิบตั ิงานของกิจการเท่านั้น 2. เพื่อทาให้ขอ้ มูลทางการบัญชี และรายงานทางการเงิ นของกิ จการมีความถูกต้องและ เป็ นที่เชื่อถือได้ 3. เพื่อให้การปฏิบตั ิงานของพนักงานเป็ นไปตามนโยบาย กฎระเบียบ และข้อบังคับของ กิจการและถูกต้องตาม กัลยาภรณ์ ปานมะเริ ง เบอร์ ค (2546: 99-100) อ้างถึง สมาคมผูส้ อบบัญูชีรับอนุ ญาตแห่ ง ประเทศสหรัฐอเมริ กา (American Institute of Certified Public Accountant-AICPA) ได้กาหนด


61

วัตถุ ประสงค์ของการควบคุ มภายในว่าเป็ นการสร้ างความมัน่ ใจในความถูกต้องของระบบบัญชี กล่าวคือกิจการได้มมีระบบการป้ องกันทรัพย์สินมิให้เกิดการทุจริ ตได้ง่าย นอกจากนี้ การปฏิบตั ิงาน ภายในองค์กรได้มีการปฏิบตั ิตามนโยบายและกฎหมาย รวมถึงมีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานของ ทุกหน่ วยงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ซึ่ งส่ งผลทาให้รายงานทางการเงินและข้อมูลทางบัญชีที่ได้เป็ น ข้อมูลที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ เสนาะ ติเยาว์ และ กิ่ งกนก พิทยานุ คุณ (2519: ควบคุมภายในที่ดี ประกอบด้วย

294-295) วัตถุประสงค์ของระบบการ

1. ควบคุมสภาพของทรัพย์สิน ในกรณี ที่ทรัพย์สินอาจเคลื่อนย้ายได้ง่ายจะต้องมีการเก็บ รักษาและป้ องกันในที่เก็บที่แข็งแรง เช่น มีห้องเก็บที่มนั่ คง มีกุญแจรวมทั้งห้ามผูท้ ี่ไม่เกี่ยวข้องเข้า ไปยุง่ ในที่เก็บรักษา ทรัพย์สินที่อาจเสื่ อมค่าหรื อเสี ยหายเนื่ องจากสภาพ ก็จะต้องจัดควบคุมในด้าน อุณหภูมิ แสงสว่างหรื อความชื้น ทรัพย์สินที่มีราคาประเภทหลักทรัพย์ เงินสดหรื อสิ นค้าควรฝากไว้ ธนาคารหรื อคลังสิ นค้าที่ปลอดภัย นอกจากนี้ ควรมีประกันภัย และเจ้าหน้าที่ทางานในเรื่ องนี้ ควรมี หลักประกัน 2. มี การบันทึ ก หมายถึ งการบันทึ ก บัญชี เพื่ อแสดงว่าบริ ษทั มี ทรั พย์สิ นอะไรประเภท ใดบ้า ง เพื่ อจะได้รักษาไม่ใ ห้สูญหาย หากไม่มีการบันทึ กก็ไม่ ทรายว่ามี การใช้จ่ายทรั พย์สินไป อย่างไร นอกจากนั้นถ้าพนักงานร็ วา่ ไม่มีการบันทึกรายการทรัพย์สินหรื อมีการบันทึกที่ไม่รัดกุมก็ จะถือโอกาสยักยอกทรัพย์สินนั้นไปเป็ นของตนเอง 3. การมีพนักงานหรื อผูป้ ฏิ บตั ิงานที่มีความสามารถ ถ้าพนักงานไม่มีความรู ้ความเข้าใจ ในเรื่ องระบบการควบคุ มหรื อไม่เห็ นความสาคัญของวิธีการควบคุ ม พนักงานก็จะละเลยและไม่ ปฏิ บตั ิงานไปตามระบบที่กาหนดไว้ ผลที่จะพึงได้รับจากระบบงานก็ไม่เต็มที่ ดังนั้นก่อนที่จะนา ระบบงานมาใช้ควรจะต้องมีการฝึ กอบรมพนักงานให้มีความรู้ความเข้าใจและเห็นความสาคัญของ ระบบการควบคุมภายในด้วย นอกจากนี้ ความซื่ อสัตย์ของพนักงานเป็ นสิ่ งสาคัญ ระบบงานแม้จะดี เพียงใดถ้าขาดคนที่ไว้วางใจได้ระบบงานนั้นก็ลม้ เหลว


62

4. แยกงานบันทึกกับงานเก็บรักษาทรัพย์สินไว้คนละคน หรื อไม่ควรให้คนคนเดี ยวกัน ลงบัญชีดว้ ยและเก็บรักษาทรัพย์สินด้วย เพราะการรวม 2 หน้าที่ไว้ที่บุคคลเดียวกันจะเปิ ดโอกาสให้ มีการยักยอกทรัพย์สินได้ง่าย มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช (2538: 343) อ้างถึง แถลงการณ์มาตรฐานการสอบบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูส้ อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทยฉบับที่ 18 เรื่ อง การประเมิ น ประสิ ทธิ ภาพการควบคุ มภายใน ได้ก ล่ าวถึ งระบบการควบคุ มภายในที่ฝ่ายจัดการได้จดั ให้มีข้ ึ น ภายในกิจการว่ามีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ 1. การดาเนินธุ รกิจเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย 2. การปฏิบตั ิงานยึดมัน่ ตามนโยบายของฝ่ ายจัดการ 3. มีการดูแลรักษาทรัพย์สิน 4. มีการป้ องกันและค้นพบการทุจริ ตหรื อข้อผิดพลาด 5. การบันทึกรายการบัญชีต่าง ๆ ถูกต้องและสมบูรณ์ 6. งบการเงินที่จดั ทาขึ้นเชื่อถือได้และทันเวลา เจริ ญ เจษฏาวัลย์ (2545: 170-171) กล่าวถึ ง วัตถุ ประสงค์หลักของการควบคุ มภายใน มี ดังนี้ 1. เพื่อใช้ในการป้ องกันความผิดพลาดในการปฏิบตั ิงาน 2. เพื่อใช้ในการป้ องกันการทุจริ ตองค์การ 3. เพื่อใช้ในการเพิ่มประสิ ทธิ ภาพในการปฏิบตั ิงาน


63

4. เพื่อใช้ในการส่ งเสริ มให้นโยบายขององค์การเกิดประสิ ทธิ ผล 5. เพื่อใช้ในการกากับดูแลให้มีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย สุ รีย ์ วงศ์วณิ ช (2550: 15-16) อ้างถึง แนวคิดของ Commttee of Sponsonng Organizations of the Treadway Commiss - COSO อธิ บายไว้วา่ การที่ฝ่ายบริ หารจะควบคุ มการดาเนิ นงานให้ เป็ นไปตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ต้องอาศัยการควบคุมภายในที่ตี ซึ่ งประกอบด้วยเเผนการจัด องค์กร วิธีการและมาตรการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริ หารกาหนดขึ้ น โดยมีวตั ถุ ประสงค์เพื่อให้เกิ ดความ มัน่ ใจในเรื่ องต่าง ๆ สรุ ปดังต่อไปนี้ 1. ด้านการปฏิบตั ิงาน (Operations) มุ่งหมายให้ธุรกิ จมีการปฏิบตั ิงานให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ด้วยการกากับการ ใช้ทรัพยากรทุกประเภทขององค์กร ทั้งคน เงิน เวลา ทรัพย์สิน วัสดุ เครื่ องมือ เครื่ องใช้ ให้เป็ นไป อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพประหยัดลดค่ า ใช้จ่า ยและมี ก ารใช้ท รั พ ยากรอย่า งคุ ้ม ค่ า บรรลุ เป้ าหมายที่ ผูบ้ ริ หารขององค์กรกาหนดไว้ 2. ด้านการรายงานทางการเงิน (Financial Reportings) รายงานหรื องบการเงิ น ทั้งที่ ใช้ภายในและภายนอกองค์กรจะต้องมี ความเชื่ อถื อได้และ ทันเวลา มีการนาเสนอข้อมู ลที่มี คุณภาพเหมาะสมส าหรั บการนาไปใช้เป็ นข้อมูลประกอบการ พิจารณาและการตัดสิ นใจทางธุ รกิจของนักบริ หาร เจ้าหนี้ ผูถ้ ือหุ น้ แดะนักลงทุนโดยทัว่ ไป 3. ด้านการปฏิ บตั ิให้สอดคล้องกับกฎหมาย และระเบียบต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง(Compliance with Applicable Laws and Regulations) ให้ มี ก ารปฏิ บ ั ติ ต ามกฎหมาย ระเบี ย บและข้ อ บัง คับ หรื อแผนงาน และมติ ข อง คณะกรรมการบริ ษทั ผูบ้ ริ หาร หรื อองค์กรบริ หารอื่น ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบตั ิงาน หรื อเกี่ยวข้องกับ การดาเนิ นธุ รกิ จ เพื่ อป้ องกันมิ ใ ห้เกิ ดผลเสี ย หายใดๆ จากการละเว้นการปฏิ บตั ิ ใ ห้เป็ นไปตาม กฎระเบียบต่างๆเหล่านั้น


64

องค์ ประกอบของการควบคุมภายใน นิมิต จิวะสันติการ (ม.ป.ป.: 73) กล่าวว่าองค์ประกอบของการควบคุมภายในที่สาคัญมี 7 ข้อ ดังต่อไปนี้ 1. บุคลากรที่มีความสามารถ วางใจได้ และมีการแบ่งแยกอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ ชัดเจน 2. การแบ่งแยกหน้าที่อย่างเพียงพอ 3. มีวธิ ี การให้อานาจอย่างถูกต้อง 4. มีเอกสารและบันทึกอย่างเพียงพอ 5. มีวธิ ี การจดบันทึกข้อมูลอย่างถูกต้อง 6. มีการควบคุมทรัพย์สินและข้อมูล 7. มีการตรวจสอบผลักดาเนินงานโดยอิสระ กัลยาภรณ์ ปานมะเริ ง เบอร์ ค (2546: 102-105) กล่าวว่า ในการจัดให้มีระบบการควบคุม ภายในสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น องค์ประกอบของการควบคุมภายใน จะประกอยด้วยรายการต่อไปนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (ControI Environment) เป็ นองค์ประกอบที่สาคัญอย่างหนึ่ งที่จะก่อให้เกิดการมีระบบการควบคุมภายในที่ดีและมี ประสิ ทธิ ภาพในองค์กรหรื อไม่ สภาพแวดล้อมของการควบคุมในรายงานของ COSO ถือว่าเป็ น องค์ประกอบที่สาคัญและมีอิทธิ พลต่อการควบคุ มภายในขององค์กร ทั้งนี้ จะก่อให้เกิ ดการสร้ าง


65

จิตสานึกที่ดีในการปฏิบตั ิงานของพนักงานในองค์กร และสร้างบรรยากาศการควบคุมภายใน เพื่อ ช่วยให้การปฏิบตั ิงานสามารถบรรลุเป้ าหมายที่กิจการได้กาหนดไว้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ 2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ความเสี่ ย ง หมายถึ ง ภาวการณ์ ที่ ไ ม่ พึ ง ประสงค์ ที่ ท าให้ ง านไม่ ป ระสบผลส าเร็ จ ตาม วัตถุ ประสงค์และเป้ าหมายที่ได้กาหนดไว้ ในการประกอบธุ รกิ จ กิ จการส่ วนมากมักจะต้องเผชิ ญ กับความเสี่ ยง ซึ่ งฝ่ ายบริ หารควรที่จะดาเนิ นการอย่างใดอย่างหนึ่ งเพื่อจัดการกับความเสี่ ยงที่อาจจะ เกิดขื้นให้อยูใ่ นระดับที่สามารถยอมรับได้ กิจการที่ให้ความสาคัญกับการประเมินความเสี่ ยงอย่าง สม่ า เสมอ ฝ่ ายบริ ห ารควรท าการจ าแนกประเภทของความเสี่ ย งที่ อาจจะเกิ ดขึ้ น เพื่ อ สามารถ วิเคราะห์และประเมินถึงความมีนยั สาคัญของความเสี่ ยงและสามารถดาเนิ นการตัดสิ นใจที่จะแก้ไข เพื่อลดความเสี่ ยงดังกล่าวได้อย่างเหมาะสม ซึ่ งถือว่าเป็ นการสร้างบรรยากาศการควบคุมภายในให้ เกิดขึ้น 3. วิธีการควบคุม (Control Procedures) กิจการควรมีการกาหนดวิธีการควบคุมขึ้น เพื่อเป็ นการสร้าง ให้เกิดความมัน่ ใจว่ากิจการจะ สามารถดาเนิ นการควบคุม เพื่อให้บรรลุผลตามได้ตามที่กาหนดไว้ นอกจากนี้ กิจการยังสามารถที่ จะป้ องกันการทุจริ ตที่อาจจะเกิดขึ้นได้อีกด้วยวิธีการที่ใช้ในการควบคุม 3.1 ความสามารถของบุคลากร การหมุนเวียนหน้าที่งาน และการกาหนดวันหยุด พักผ่อน (CompetentPersonnel, Rotating Duties, and Mandatory Vacations) ระบบบัญชีที่สามารถ นามาใช้ปฏิบตั ิงานได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพและมีประสิ ทธิ ผลนั้น จะต้องสร้างให้เกิดความมัน่ ใจได้ ว่าผูป้ ฏิ บตั ิ ง านจะสามารถปฏิ บตั ิ หน้าที่ ที่ตนได้รับมอบหมายได้สาเร็ จ ดังนั้นกิ จการจึ งจาเป็ นที่ จะต้องทาการฝึ กอบรมพนักงานก่อนเข้ารับหน้าที่จริ งและจัดให้มีหวั หน้าที่จะทาหน้าที่ดูแลพร้อม ให้คาแนะนาแก่พนักงานที่ปฏิบตั ิหน้าที่ใหม่ นอกจากนี้ กิจการควรที่จะจัดให้มีนโยบายที่จะทาการ หมุ นเวียนหน้าที่ งานของพนักงานและออกระเบี ยบที่ ให้พนักงานต้องหยุดพักผ่อนประจาปี ตาม ระเบี ย บที่ ก าหนดไว้ การจัดให้มี นโยบายดัง กล่ า วท าให้พ นัก งานมี ก ารจัดท าวิธี ก ารปฏิ บ ตั ิ ง าน เพื่อให้ผอู้ ื่นสามารถเข้ามาเรี ยนรู้งานในหน้าที่ที่ ตนปฏิ บตั ิได้ทนั ที และยังเป็ นการช่ วยป้ องกันการ ทุจริ ตได้อีกด้วย


66

3.2 การแยกความรั บ ผิ ด ชอบในการปฏิ บ ัติ ง านที่ สั ม พัน ธ์ ก ัน (Separating Responsibilities for Related Operations) เพื่อเป็ นการลดการปฏิบตั ิงานที่ไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ความ ผิดพลาด และการกระทาการทุ จริ ต ในการผู้ปฏิ บตั ิ งานที่ มีความสัมพันธ์ กนั กิ จการควรจัดให้มี ผูร้ ับผิดชอบในการปฏิบตั ิงานดังกล่าวมากกวาหนึ่งคนขึ้นไป 3.3 การแยกหน้า ที่ ก ารดู แ ลสิ น ทรั พ ย์แ ละการบัญ ชี อ อกจากกัน (Separating Operations, Custody of Assets, and Accounting) นโยบายในการควบคุ ม ของกิ จ การควรที่ จ ะ กาหนดความรับผิดชอบ โดยแยกตามกิจกรรมต่าง ๆ ทั้งนี้ เพื่อช่วยลดความผิดพลาดและการกระทา การทุ จริ ตที่ อาจจะเกิ ดขึ้ น เช่ น ผูท้ ี่ ทาหน้า ที่ ในการดู แลสิ นทรั พย์ของกิ จการควรจะไม่ ใช่ บุคคล เดียวกันกับผูท้ าหน้าที่บนั ทึกบัญชี เป็ นต้น 3.4 การพิสู จน์และมาตรการการรักษาความปลอดภัย (Proofs and Security Measures) กิจการควรกาหนดให้มีการพิสูจน์และมาตรการการรักษาความปลอดภัย เพื่อป้ องกัน สิ นทรัพย์ของกิ จการสู ญหาย นอกจากนี้ ยังมีผลทาให้กิจการได้ขอ้ มูลที่สามารถเชื่ อถื อได้อีกด้วย วิธีการที่กิจการได้นามาใช้กนั ได้แก่ การมอบอานาจหน้าที่ (Authority) การอนุมตั ิ (Approval) และ การพิสูจน์ยอด (Reconciliation) เช่น พนักงานที่จะต้องเดินทางไปตรวจงานในสาขาต่างจังหวัด ซึ่ ง ก่อนที่พนักงานดังกล่าวออกเดินทาง จาเป็ นต้องได้รับอนุ มตั ิจากหัวหน้างานก่อนออกเดินทางเป็ น ต้น 4. การประเมินติดตามผล (Monitoring) การจัดให้มีการประเมินติดตามผลในระบบการควบคุมภายในจะทาให้สามารถทราบถึ ง จุ ดอ่ อนและจุ ดแข็งของกิ จการ ซึ่ ง ทาให้กิจการสามารถท าการปรั บปรุ งการดาเนิ นงานและการ ควบคุ มให้มีประสิ ทธิ ภาพดี ยิ่งขึ้น การประเมินติดตามผลระบบการควบคุ มภายในนั้น ฝ่ ายบริ หาร สามารถดาเนิ นการได้ โดยการสังเกตการปฏิ บตั ิ งานของพนักงานหรื ออาจแยกทาการประเมิ น ต่างหาก ซึ่ งการประเมินติดตามผลระหว่างปฏิ บตั ิงานนั้น จะทาให้ฝ่ายบริ หารได้ทราบข้อมูลที่ได้ จากการสังเกตพฤติกรรมหรื อจากสัญญาณของระบบบัญชี


67

5. ข้อมูลและการสื่ อสาร (lnformation and Communication) ข้อมูลและการสื่ อสารนับได้วา่ เป็ นองค์ประกอบที่มีความสาคัญอย่างหนึ่ งของการควบคุ ม ภายใน ทั้งนี้ เพราะข้อมูลเกี่ ยวกับสภาพแวดล้อมของการควบคุ มการประเมิ นความเสี่ ยง วิธีการ ควบคุ ม และการประเมิ นติ ด ตามผล จะเป็ นข้อ มู ล ที่ จ าเป็ นส าหรั บ ฝ่ ายบริ หารที่ จ ะใช้ก าหนด แนวทางในการดาเนิ นงาน นอกจากนี้ ฝ่ายบริ หารยัง มี ความต้องการใช้ขอ้ มู ล ภายนอก เพื่อการ ประเมิ นสถานการณ์ และช่ วยในการตัดสิ นใจ อย่างไรก็ตามการที่ กิจการจะให้ขอ้ มูลข่าวสารที่ ดี หรื อไม่น้ นั ขึ้นอยูก่ บั การให้ความสาคัญกับระบบการจัดหาข้อมูลข่าวสารของกิจการนั้น ๆ ด้วย ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทย และสมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2548: 28-31) กล่าวว่า องค์ประกอบของการควบคุมภายในมี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม (control Environment) สภาพแวดล้อมของการควบคุ ม หมายถึ ง ปั จจัย ต่า ง ๆ ซึ่ งร่ วมกันส่ ง ผลให้เกิ ดที ท่า ของ องค์กรที่มีต่อการควบคุมภายใน หรื อทาให้บุคลากรในองค์กรให้ความสาคัญต่อการควบคุมมากขึ้น สภาพแวดล้อมของการควบคุม เป็ นรากฐานที่มีผลต่อองค์ประกอบอื่น ๆของการควบคุมภายในให้ อยู่ได้อย่างมัน่ คง ทาให้เกิ ดระเบี ยบวินัยซึ่ งบุ คคลต้องยอมรับและนาไปปฏิ บตั ิ รวมทั้งก่ อให้เกิ ด โครงสร้ า งของการควบคุ ม ที่ จะตามมา ส าหรั บเรื่ องสภาพแวดล้อมของการควบคุ มจะได้มีก าร อธิ บายอย่างละเอี ยดมากขึ้ นภายใต้หัวข้อที่ จะตามมา ในเรื่ อง การสร้ างสภาพแวดล้อมของการ ควบคุม เพื่อทาความเข้าใจก่อนที่จะไปสู่ รายละเอียดในเรื่ องการควบคุมภายใน 2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ทุกองค์การย่อมต้องเผชิ ญกับความเสี่ ยงในหลากหลายรู ปแบบ ความเสี่ ยงเหล่านั้นมีปัจจัย มาจากภายในและภายนอกจึงมีความจาเป็ นที่ทุกองค์การจะต้องมีกระบวนการประเมินความเสี่ ยง เพื่ อที่ จะทราบได้ว่า ในองค์ก รมี ค วามเสี่ ย งอยู่หรื อไม่ มี ค วามเสี่ ย งในหน่ วยงานกิ จ กรรม หรื อ ขั้นตอนใดของงาน หรื อในประเด็ นใดบ้า ง ความเสี่ ย งที่ มี น้ ันอยู่ใ นระดับ ใด ทั้ง นี้ เพื่ อก าหนด มาตรการ หรื อวิธีการควบคุมที่เหมาะสมและมีประสิ ทธิ ผล เพื่อจัดการความเสี่ ยงในเหล่านั้น


68

3. กิจกรรมการควบคุม (control Activities) กิจกรรมการควบคุ ม หมายถึ ง นโยบาย มาตรการ และวิธีการต่าง ๆ ที่ฝ่ายบริ หารนามาใช้ เพื่อก่ อให้เกิ ดความเชื่ อมัน่ ได้ว่า คาสั่งหรื อวิธีการปฏิ บตั ิต่าง ๆ ที่ ฝ่ายบริ หารกาหนดขึ้ นได้มีการ ปฏิ บ ตั ิ ตาม และมี การดาเนิ นมาตรการต่ า ง ๆ ที่ จาเป็ นในการที่ จะจัดการกับ ความเสี่ ย งได้อย่า ง เหมาะสม เพื่อให้สามารถบรรลุวตั ถุ ประสงค์ ขององค์กรได้ กิ จกรรมการควบคุ มต้องมีอยู่ในทุ ก หน้าที่และทุกระดับภายในองค์กร กิ จกรรมการควบคุ มประกอบไปด้วยกิ จกรรมต่างๆ อันได้แก่ การอนุ มตั ิ การมอบอานาจ การตรวจทาน การกระทบยอด การสอบทานผลการดาเนิ นงาน การ ป้ องกันและดูแลรักษาทรัพย์สิน และการแบ่งแยกอานาจและหน้าที่ 4. สารสนเทศและการสื่ อสาร (lnformation and communication) สารสนเทศมี ค วามส าคัญ ต่ อ การปฏิ บ ัติ ง านของบุ ค ลากรไม่ ว่ า จะเป็ นผู ้บ ริ ห าร หรื อ ผูป้ ฏิบตั ิงานในทุกระดับ องค์กรจะต้องระบุสารสนเทศที่จาเป็ นต้องใช้ และสื่ อสารในรู ปแบบและ ในช่วงเวลาที่เหมาะสมที่จะทาให้บุคลากรต่าง ๆ สามารถปฏิบตั ิงานสาเร็ จลุล่วงได้ 5. การเฝ้ าติดตามประเมิน (Monitoring) ระบบการควบคุมจาเป็ นต้องมี การเฝ้ าติดตามประเมิน ซึ่ งเป็ นกระบวนการประเมินระบบ การควบคุมภายในในช่วงเวลาหนึ่ง ๆ ซึ่ งอาจกระทาโดยการประเมินกิจกรรมอย่างต่อเนื่ องหรื อแยก ประเมินเป็ นครั้งคราว หรื ออาจรวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกัน การประเมิ นอย่า งต่ อเนื่ องจะเกิ ด ในช่ วงของการปฏิ บ ตั ิ ง าน ซึ่ ง ได้แก่ การควบคุ ม การ ปฏิ บตั ิ งานโดยผูบ้ งั คับบัญชาและกิ จกรรมใดๆที่ บุคลากรต้องกระทาในขณะปฏิ บตั ิ งาน รวมถึ ง กิ จกรรมในทางการบริ หารและการกากับดู แลโดยผูบ้ ริ หารด้วย ส่ วนขอบเขตและความถี่ ในการ ประเมินแบบแยกประเมิ นนั้น ขึ้ นอยู่กบั การประเมินความเสี่ ยงและประสิ ทธิ ผลของการประเมิ น แบบต่อเนื่ อง จากการประเมินดังกล่าว ควรจะต้องมีการรายงานจุดบกพร่ องของระบบควบคุ มให้ ผูบ้ งั คับบัญชาทราบและถ้าเป็ นประเด็นที่ร้ายแรงก็ตอ้ งรายงานให้ผบู ้ ริ หารระดับสู งและคณะกรรมการขององค์กรทราบโดยด่วน


69

สมาคมผูต้ รวจสอบภายในแห่ งประเทศไทย (2553: 70-78) อ้างถึง แนวคิดของ Commttee of Sponsonng Organizations of the Treadway Commiss-COSO การควบคุมภายในประกอบด้วย องค์บระกอบที่สาคัญ 5 บระการที่มีความเกี่ ยวเนื่ องสัมพันธ์กนั องค์ประกอบเหล่านี้ ได้มาจาก แนวทางที่ ผู ้บ ริ หารด าเนิ น ธุ ร กิ จ และมี ก ารเชื่ อ มโยงเข้ า กั บ กระบวน การทางการบริ หาร องค์ประกอบของการควบคมภายในทั้ง 5 ประการ มีดงั นี้ 1. สภาพแวดล้อมการควบคุม (Control Environment) สภาพแวดล้อมการควบคุม เป็ นองค์ประกอบพื้นฐานซึ่ งอาศัยบุคลากรเป็ นรากฐานสาคัญ ในการขับ เคลื่ อนการด าเนิ นธุ รกิ จ และส่ ง ผลให้เกิ ดองค์ป ระกอบของการควบคุ ม ภายในอื่ น ๆ ตามมา สภาพแวดล้อมการควบคุม ให้แก่ ความซื่ อสัตย์ คุณค่าทางจริ ยธรรมและความสามารถของ บุคลากรในองค์กร ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงทัศนคติแ ละการรับรู้ถึงความสาคัญของการควบคุมภายใน ของบุคลากรในทุกระดับขององค์กร โดยเฉพาะอย่างยิ่งคณะกรรมการและผูบ้ ริ หารระดับสู งจะเป็ น ผูท้ ี่มีบทบาทสาคัญที่จะเอื้ออานวยให้เกิดบรรยากาศโนการกาหนดโครงสร้างของระบบการควบคุม ภายในที่ดีให้มีข้ ึนในองค์กร เพื่อให้บุคลากรทุกคนเกิ ดความเข้าใจและมีจิตสานึ กที่ดีต่อระบบการ ควบคุมภายในตามหน้าที่ความรับผิดชอบร่ วมกัน สภาพแวดล้อมการควบคุม มีองค์ประกอบย่อย ต่างๆ ดังต่อไปนี้ 1.1 ความซื่ อสัตย์และคุ ณค่าทางจริ ยธรรม (lntegriv and Ethical values)ความ ซื่ อสัตย์และคุ ณค่า ทางจริ ย ธรรมของคณะกรรมการ ผูบ้ ริ หาร และบุ คลากรทุ กระดับในองค์ก ร สะท้อนให้เห็ นถึ งทัศนคติและค่านิ ยมของบุคลากรในองค์กรที่ มุ่งเน้นการกระทาใดๆ ก็ตาม อัน ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรโดยรวม โดยคานึ งถึงผลกระทบที่สาคัญต่อผูม้ ีส่วนได้เสี ยที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ ายและไม่มีความขัดแย้งทางผลประโยชน์อนั เป็ นพื้นฐานสาคัญของการดาเนิ นธุ รกิ จซึ่ งมีส่วน ช่วยเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล ในการดาเนิ นงาน ช่วยให้องค์กรประสบความสาเร็ จ อย่างยัง่ ยืนและเป็ นที่ยอมรับของสาธารณชน 1.2 ความสามารถในหน้าที่ของบุคลากร (Commitment to Competence) ฝ่ าย บริ หารจะต้องกาหนดระดับความรู้ ความสามารถ ความชานาญ ทักษะประสบการณ์ ที่จาเป็ น และ เหมาะสมกับการปฏิ บตั ิ งานแต่ล ะงาน เพื่อทาให้องค์กรบรรลุ วตั ถุ ประสงค์ที่กาหนดไว้ องค์ก ร จ าเป็ นต้อ งมี ก ารก าหนดพื้ น ความรู ้ ท างการศึ ก ษา ทัก ษะที่ จ าเป็ น รวมทั้ง ความช านาญและ


70

ประสบการณ์ ที่ตอ้ งการ เพื่อได้เป็ นเกณฑ์ในการพิจารณาบรรจุ แต่งตั้งพนักงานโห้เหมาะสมกับ หน้าที่ความรับผิดขอบ รวมถึงมีการกาหนดคาบรรยายลักษณะงาน (Job Descriptions) ที่เหมาะสม กับตาแหน่งงาน 1.3 คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบ (Board of Directors and Audit Committee) คณะกรรมการบริ ษทั และคณะกรรมการตรวจสอบมีบทบาทสาคัญต่อการสร้าง สภาพ แวดล้อมการควบคุมในระดับสู ง คณะกรรมการมีความรับผิดชอบต่อผลการปฏิบตั ิหน้าที่ต่อ ผูถ้ ื อหุ ้นและเป็ นอิ สระจากฝ่ ายจัดการ โดยทาหน้าที่ กากับ ดู แลการปฏิ บตั ิ หน้าที่ ของฝ่ ายบริ หาร เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดต่อองค์กร 1.4 ปรัชญาและรู ปแบบบริ หารงานของผูบ้ ริ หาร (Managements Philosophy and operating style)ปรัชญาและรู ปแบบการบริ หารงานของผูบ้ ริ หารแต่ละคนย่อมไม่เหมือนกันโดยอาจ แตกต่างกันไปตามความรู ้ ทักษะ ประสบการณ์ บุคลิกลักษณะ และทัศนคติ ผูบ้ ริ หารบางคนเป็ นผูท้ ี่ มีความระมัดระวังรอบคอบสู ง บางคนมีความกล้าเสี่ ยงสู ง บางคนชอบการตัดสิ นใจที่ฉบั ไวบางคน ชอบการทางานแบบมี ส่วนร่ วม บางคนชอบการกระจายอานาจ หรื อบางคนชอบรวบอานาจการ ตัดสิ นใจ ความแตกต่างเหล่านี้ ส่งผลต่อแนวความคิดและวิธีการทางานของผูบ้ ริ หารในการบริ หาร จัดการความเสี่ ยงและการจัดวางระบบการควบคุ มภายในที่ แตกต่า งกัน ทั้ง สิ้ นเรื่ องการก าหนด โครงสร้างการทางาน นโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ การรายงานทางการเงินและการบัญชี มาตรการ และวิธีการควบคุมภายในของระบบการปฏิบตั ิงานด้านต่างๆ 1.5 โครงสร้างองค์กร (Organizational Structure) โครงสร้ างองค์กร ได้แก่ การ จัดแบ่ งหน้าที่ ความรั บผิดชอบระหว่า งหน่ วยงานต่า งๆ ในองค์ก ร และการกาหนดหน้าที่ ความ รับผิดชอบของบุคลากรในระดับต่างๆ โดยให้มีการไหลเวียนของระบบสารสนเทศในทุกระดับ อย่างเหมาะสม คานึ งถึ งความรู ้ ความสามารถ และประสบการณ์ ของบุคลากรลักษณะโครงสร้ าง องค์กรที่เหมาะสมสาหรับแต่ละองค์การอาจมีความแตกต่างกัน ทั้งนี้ ขึ้นอยูก่ บั ขนาดและลักษณะ ของกิจกรรมในแต่ละองค์กร แต่หากองค์กรใดมีการจัดวางโครงสร้างองค์กรไว้เป็ นอย่างดียอ่ มเป็ น พื้นฐานสาคัญที่ จะช่ วยให้ผูบ้ ริ หารสามารถวางแผน สั่งการ และควบคุ มการปฏิ บตั ิ งานได้อย่า ง ถูกต้อง รวดเร็ ว และมีประสิ ทธิ ภาพยิง่ ขึ้น


71

1.6 การมอบอานาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ (Assignment of Authority and Responsibility)การมอบอานาจและหน้าที่ความรับผิดชอบ หมายถึง การกาหนดวิธีการกระจาย การ ควบคุมจากส่ วนกลางที่ผบู ้ ริ หารดูแลไปสู่ ผปู ้ ฏิบตั ิงาน โดยมุ่งหมายให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานเกิดความคิดริ เริ่ ม และสามารถปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความเข้าใจอย่างชัดเจนในขอบเขตอานาจหน้าที่ความรับผิดชอบของ ตน รวมทั้ง ของส่ ว นงานอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้อ งและก่ อ ให้ เ กิ ด ความสั ม พัน ธ์ อ ย่ า งเหมาะสมกับ การ บริ หารงานตามวัตถุประสงค์ขององค์กรในแต่ละระดับ 1.7 นโยบายและวิธีปฏิบตั ิดา้ นทรัพยากรบุคคล (Human Resource Policies and procedures) มนุษย์เป็ นทรัพยากรที่มีค่าสู งสุ ดขององค์กร แต่มนุ ษย์อาจเป็ นผูท้ ี่ทาลายคุณค่า ขององค์กรได้มากที่สุดด้วยเช่นกัน เมื่อกล่าวถึงมนุษย์ในแง่ของพฤติกรรม บุคลิกภาพ และลักษณะ นิสัยนั้น ล้วนเป็ นปั จจัยสาคัญที่มีอิทธิ พลอย่างสู งต่อประสิ ทธิ ผลของกระบวนการบริ หารความเสี่ ยง ระบบการควบคุมภายใน และความสาเร็ จของการปฏิบตั ิงานต่างๆ ขององค์กร ดังนั้นฝ่ ายบริ หารจึง ควรตระหนักถึงความสาคัญของความสาเร็ จหรื อผลกระทบที่อาจเกิดจากการกาหนดนโยบายและ วิธีปฏิ บตั ิดา้ นทรัพยากรมนุ ษย์ อันได้แก่ การสรรหา หรื อว่าจ้างการฝึ กอบรมและพัฒนาบุคลากร การประเมินผลการปฏิ บตั ิงาน การเลื่ อนตาแหน่งและการจ่ายค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่นใด การที่องค์กรกาหนดนโยบายและวิธีปฏิ บตั ิด้านทรัพยากรมนุ ษย์โดยยึดถื อหลักความมีจริ ยธรรม โปร่ งใส และเป็ นธรรม ย่อมจะช่วยสร้างขวัญและกาลังใจของบุคลากร สร้างแรงผลักดันและจูงใจ ให้บุคลากรทุกคนร่ วมปฏิ บตั ิงานอย่างเต็มกาลังความสามารถเพื่อให้องค์กรบรรลุวตั ถุประสงค์ท้ งั ยังช่ วยบรรเทาผลกระทบจากข้อบกพร่ องอื่นใดที่ยงั คงมีอยูในสภาพแวดล้อมการควบคุ มภายใน องค์กรได้อีกด้วย

2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ในการประเมิ นความเสี่ ย ง องค์ก รจะต้องรั บ รู ้ และจัดการกับ ความเสี่ ย งที่ ต้องเผขิ ญใน รู ปแบบที่หลากหลาย ทั้งจากภายนอกและภายในองค์กร โดยจะต้องมีการกาหนดวัตถุประสงค์ซ่ ึ ง เชื่ อ มโยงทุ ก ๆ กระบวนการทางธุ รกิ จอย่า งสอดคล้อ งกันทั้ง ระดับ กิ จ กรรม และระดับ องค์ก ร รวมถึงาารกาหนดกลไกที่จะช่วยบ่งชี้ วิเคราะห์ และบริ หารจัดการความเสี่ ยงที่เกี่ยวข้องชึ่ งจะทาให้ องค์กรไม่สามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาหนดไว้ในแต่ละระดับ


72

3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) กิ จกรรมการควบคุ ม หมายถึ ง นโยบาย และวิธี การต่ าง ๆ ที่ ฝ่ ายบริ หารกาหนดขึ้ นและ นามาใช้เพื่อก่อให้เกิดความมัน่ ใจว่ามาตรการต่างๆ ที่จาเป็ นได้มีการนาไปปฏิบตั ิอย่างมีประสิ ทธิ ผลสาหรับการจัดการกับความเสี่ ยง ที่มีผลต่อการบรรลุความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ กิ จกรรมการ ควบคุ ม ประกอบด้วยกิ จกรรมต่างๆ ถึ งองค์กรสามารถนาไปใช้ปฏิ บตั ิ ในระดับต่างๆ ดังนี้ การ กาหนดนโยบาย ระเบียบวิธีปฏิบตั ิ และแผนงาน การสอบทานโดยผูบ้ ริ หารระดับสู ง การสอบทาน โดยผูบ้ ริ หารระดับกลาง การควบคุ มการประมวลผลสารสนเทศ การควบคุ มทางกายภาพ การ แบ่งแยกหน้าที่ การใช้ดชั นีวดั ผลการดาเนินงาน การจัดทาเอกสารหลักฐาน และการอนุ มตั ิรายการ ทางบัญชี และการปฏิบตั ิงาน 4. สารสนเทศและการสื่ อสาร กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศและการสื่ อสารที่มีอยูท่ วั่ ไปในองค์กรเป็ นปั จจัยที่ ทาให้บุคลากรในองค์กรสามารถเข้าถึ งสารสนเทศ และเกิ ดการสื่ อสารแลกเปลี่ ยนสารสนเทศที่ จาเป็ นต่อการบริ หารจัดการและควบคุมการปฏิบตั ิงาน 5. การติดตามประเมินผล กระบวนการดาเนิ นงานทางธุ รกิจทั้งหมด จาเป็ นต้องได้รับการติดตามประเมินผล และมี การปรับปรุ งแก้ไขตามความจาเป็ นอย่างต่อเนื่อง และสอดคล้องกับสภาพการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลง อยู่เสมอ ทั้ง นี้ เพื่ อให้เ กิ ดความมัน่ ใจในประสิ ท ธิ ผ ลของการควบคุ ม ภายในที่ มี อย่า งสม่ า เสมอ องค์กรควรจัดให้มีการประเมินผลองค์ประกอบของการควบคุมตามแนวคิดของ COSO ให้ครบทั้ง 5 องค์ประกอบโดยแบ่งการประเมินผลเป็ น 2 ระดับ คือ การประเมินผลระดับกิจการหรื อระดับ องค์กร (Entity-Wide) ทั้งเป็ นการประเมินสภาพแวดล้อมการควบคุ มโดยภาพรวม มักจะทาการ ประเมินอย่างน้อยปี ละครั้งหรื อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมการควบคุมที่สาคัญ และการ ประเมิ นผลระดับกิ จกรรม (Activity-Level) ซึ่ งสามารถทาการประเมิ นไดับ่อยครั้ งกว่า เพื่อให้ ครอบคลุมทุกกิจกรรมที่สาคัญๆ ซึ่ งอาจหมายถึงกระบวนการปฏิบตั ิงาน หรื อหน่วยงานขององค์กร


73

มหาวิทยาลัยสุ โขทัยธรรมาธิ ราช (2553: 338-339) กล่าวว่า กิ จการแต่ละแห่ งมี ลกั ษณะ แตกต่ า งกัน ท าให้ มี ค วามต้องการระบบการควบคุ ม ภายในแตกต่ า งกัน ไปด้วย อย่า งไรก็ ต าม ส่ วนประกอบของการควบคุมภายในที่ดีโดยทัว่ ไปมีดงั ต่อไปนี้ 1. มีบุคลากรที่มีความสามารถเเละวางใจได้ เป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญที่สุดของการควบคุ มภายในบุคลากรที่ซื่อสัตย์และมีประสิ ทธิ ภาพจะสามารถทางานได้ดี แม้วา่ จะขาดส่ วนประกอบของการควบคุมภายในส่ วนอื่นก็ตาม ในทาง ตรงข้า ม ถ้าขาดบุ ค ลากรที่ ดีแล้ว อาจท าให้ระบบงานเสี ยได้ แม้จะมี ส่ วนประกอบอื่ นของการ ควบคุมภายในครบถ้วนก็ตาม 2. มีการแบ่งแยกหน้าที่อย่างเพียงพอ หน้าที่การเก็บรักษาสิ นทรัพย์และหน้าที่ปฏิบตั ิการต่างๆ ต้องแยกจากหน้าที่ทางบัญชี เพื่อ ป้ องกันการทุจริ ต เช่ น ถ้าพนักงานเงินสดเป็ นผูบ้ นั ทึกบัญชี ดว้ ย อาจเป็ นไปได้ที่จะรับเงิ นแล้วไม่ บันทึกบัญชีดว้ ยจานวนเงินที่นอ้ ยกว่าที่รับจริ ง เป็ นต้น 3. มีวธิ ีการอนุมตั ิที่ถูกต้อง รายการค้า ทุ ก รายการจาเป็ นต้อ งมี ก ารอนุ ม ัติ เพื่ อ ให้ ก ารควบคุ ม ได้ผ ลมิ ใ ช่ ป ล่ อ ยให้ พนักงานนาสิ นทรัพย์ไปใช้หรื อซื้ อสิ นทรัพย์ได้ตามความพอใจ กิจการต้องกาหนดนโยบายไว้ถือ ปฏิบตั ิ เช่น ผูจ้ ดั การฝ่ ายขายเป็ นผูก้ าหนดวงเงินสิ นเชื่อของลูกค้า เป็ นต้น 4. มีเอกสารและบันทึกอย่างเพียงพอ เอกสารและบันทึก อันได้แก่ ใบกากับสิ นค้า ใบสั่งซื้ อ สมุดรายวันบัญชี แยกประเภท บัตร บันทึกเวลา งบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร เป็ นต้น เป็ นแหล่งเก็บข้อมูลที่มีความสาคัญต่อระบบงาน มาก ถ้า มี ไ ม่ เ พี ย งพอแล้ว จะท าให้ เ กิ ดปั ญ หาด้า นการควบคุ ม ได้ เช่ น ถ้า แผนกรั บ ของไม่ ร ะบุ รายละเอียดเมื่อได้รับสิ นค้าที่สั่งซื้ อแล้ว แผนกบัญชี เจ้าหนี้ อาจไม่สามารถตรวจสอบปริ มาณและ รายการตามใบกากับสิ นค้าของผูข้ ายได้วา่ ถูกต้องตรงกับที่ได้รับจริ งหรื อไม่ เป็ นต้น


74

5. มีการควบคุมสิ นทรัพย์และข้อมูล กระทาได้โดยการใช้ตูน้ ิ รภัยในการเก็บรั ก ษาสิ นทรั พย์ที่สาคัญ เช่ น เงิ นสด หลักทรั พ ย์ หรื อใช้หอ้ งเก็บคลังสิ นค้าที่มีการป้ องกันการลักขโมย ผูเ้ ก็บแฟ้ มเอกสารสาคัญ เป็ นต้น เพื่อป้ องกัน การสู ญหายหรื อถูกทาลาย 6. มีการตรวจสอบภายใน เป็ นการสอบทานการปฏิบตั ิงานต่าง ๆ ของพนักงานว่าเป็ นไปตามนโยบายที่กาหนดและมี การปฏิบตั ิตามการควบคุมที่ได้กาหนดไว้หรื อไม่ อย่างไร การตรวจสอบภายในควรเป็ นหน่วยงาน อิสระไม่ข้ ึนกับแผนงานอื่นของกิจการ และให้รายงานตรงต่อผูบ้ ริ หารระดับสู ง ดุษฎี สงวนชาติ และ คณะ (2546: 3-4) กล่าวว่าการควบคุมภายในจะมีการออกแบบระบบ และวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ขึ้นอยู่กบั ขนาดของกิ จการลักษณะการประกอบกิ จการและจิตวิทยาใน การควบคุมของฝ่ ายจัดการ อย่างไรก็ตาม องค์ประกอบของการควบคุมภายในที่ดีประกอบด้วย 1. การกาหนดหน้าที่และความรับผิดชอบ (Establishment of Responsibility) สิ่ ง ส าคัญของการควบคุ ม ภายในคื อ การก าหนดหน้า ที่ แ ละความรั บ ผิด ชอบให้เ ฉพาะ เจาะจง การควบคุมจะมีประสิ ทธิ ผลเมื่อมอบหมายให้บุคคลหนึ่ งเป็ นผูร้ ับผิดชอบการกาหนดหน้าที่ และความรับผิดชอบครอบคลุมถึงการมอบหมายอานาจและการอนุมตั ิรายการทางการเงิน 2. การแบ่งแยกหน้าที่ (Segregation of Duties) หลัก การแบ่ ง แยกหน้า ที่ ได้แก่ กิ จกรรมที่ เกี่ ย วข้องกันควรแบ่ ง แยกให้แต่ ล ะบุ ค คลให้ ชัดเจนและหน้าที่การบันทึกบัญชี และการเก็บรักษาสิ นทรัพย์ตวั จริ งควรจะแยกกันโดยเด็ดขาด ไม่ ควรให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ งรั บผิดชอบทั้งการบันทึกบัญชี และการเก็บรักษาสิ นทรัพย์ตวั จริ ง เมื่ อ บุคคลใดบุคคลหนึ่งรับผิดชอบทาทุกอย่างทั้งหมดจะเปิ ดโอกาสให้เกิดความผิดพลาดและการทุจริ ต


75

นอกจากนี้ ประโยชน์อีก ประการหนึ่ งของการแบ่งแยกหน้าที่ คือช่ วยให้สามารถประเมิ นผลการ ปฏิบตั ิงานของพนักงานได้สะดวก 3. กระบวนการใช้เอกสาร (Documentation Procedures) เอกสารเป็ นหลักฐานที่ใช้ในการบันทึก เอกสารต้องมีการกาหนดเล่มที่ เลขที่ไว้ล่วงหน้า และมีทะเบียนควบคุมเพื่อป้ องกันการบันทึกรายการซ้ า หรื อไม่บนั ทึกเเละควรบันทึกรายการต่างๆ ให้ทนั เวลา ควรใช้เอกสารตามลาดับเลมที่ เลขที่ ถ้ายกเลิกเอกสารฉบับใดให้ประทับตรายกเลิกและ ติดต้นฉบับไว้กบั เล่มด้วย มีการควบคุ มเอกสารเพื่อก่อให้เกิ ดความถูกต้องและความน่ าเชื่ อถื อใน การบันทึกบัญชี การบันทึกบัญชีทุกรายการต้องมีเอกสารอ้างอิงแหล่งที่มาของรายการนั้น 4. การใช้เครื่ องมือ เครื่ องจักรและอุปกรณ์ช่วยในการควบคุม (Physical, Mechanical and Electronic Controls) เครื่ องมื อ เครื่ องจักรและอุ ปกรณ์ เหล่ านี้ มีส่วนช่ วยในการควบคุ มด้วยตัวอย่าง ได้แก่ ตู ้ นิ รภัยของกิ จการเพื่อใส่ เงิ นสด เอกสารทางการเงิ นและเอกสารสาคัญตูน้ ิ รภัยของกิ จการเช่ าไว้ที่ ธนาคารสัญญาณกันขโมยที่บริ ษทั และที่คลังสิ นค้า รั้วรอบกิจการกุญแจล็อกตูเ้ ก็บเอกสารทางบัญชี Password สาหรับเครื่ องคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์วงจรปิ ดที่ติดตั้งไว้ในร้ านป้ าย Sensor ที่ติดไว้ที่ตวั สิ นค้า เมื่อมีผนู ้ าสิ นค้าออกนอกร้ านโดยมิได้ชาระเงิน สัญญาณกันขโมยจะดังขึ้นเครื่ องบันทึกเงิ น สด ตูเ้ ก็บเงินอัตโนมัติเครื่ องบันทึกเวลา และเครื่ องพิมพ์ตวั เลขในเช็ค 5. การสอบทานอย่างอิสระ (Independent Internal Veriflcation) การสอบทานอย่างอิสระเกี่ ยวข้องกับการตรวจสอบ การเปรี ยบเทียบและการกระทบยอด รายการต่างๆ เพื่อให้การสอบทานมีประโยชน์ต่อกิจการมากที่สุด การสอบทานควรจะกระทาทุก งวดบัญชี และไม่ควรจะบอกล่วงหน้า ควรจะสุ่ มตรวจเป็ นระยะๆ การสอบทานควรจะกระทาโดย พนักงานที่มีความเป็ นอิสระหรื ออยูใ่ นหน่วยตรวจสอบภายในของกิจการ 6. การควบคุมอื่น ๆ (Other Controls)


76

บางครั้ งการที่ กิจการจะรับพนักงานการเงิ นหรื อพนักงานเก็บเงิ นเข้ามาทางานในกิ จการ พนักงานผูน้ ้ นั จะต้องมีการวางเงินจานวนหนึ่งค้ าประกันไว้ให้แก่กิจการการหมุนเวียนตาแหน่งงาน ของพนักงานถือเป็ นการควบคุมภายในของกิจการอีกวิธีหนึ่ง วิไล วีระปรี ย และ จงจิตต์ หลีกภัย (2542: 10) ในการจัดวางระบบการควบคุมภายในที่ดี นั้น จาเป็ นจะต้องคานึงถึงหลักสาคัญหรื อส่ วนประกอบเหล่านี้คือ 1. ผังการจัดการองค์การ 2. นโยบายและวิธีปฏิบตั ิงาน 3. มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน 4. การจดบันทึกและรายงาน 5. การตรวจสอบภายใน เจริ ญ เจษฏาวัลย์ (2545: 166) อธิ บายถึ งระบบควบคุ มภายในที่ดี ควรมีองค์ประกอบ ครบถ้วนดังนี้ คือ 1. Preventive Control – การควบคุมโดยการป้ องกันความเสี่ ยง 2. Detective Control – การควบคุมโดยการตรวจสอบค้นหาความเสี่ ยง 3. Corrective Control – การแก้ไขข้อผิดพลาดอินเกิดจากความเสี่ ยงนั้น 4. Directive Control – การจัดให้มีคาแนะนาล่วงหน้าเพื่อป้ องกันความเสี่ ยง


77

งานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้ อง พงษ์พิชยั รัชดานุ วฒั น์ (2554,บทคัดย่อ) แนวทางการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ของอุตสาหกรรมข้าวไทยของด้านต่างๆ ผูเ้ ชี่ ยวชาญให้ระดับความสาคัญอยูใ่ นระดับมากถึ งมาก ที่ สุ ด เกื อ บทุ ก แนวทาง ด้า นการพัฒ นาการผลิ ต สิ่ ง ที่ ค วรปฏิ บ ตั ิ ได้แ ก่ ส่ ง เสริ ม การพัฒ นา กระบวนการเพิ่ ม ผลผลิ ต ต่ อ ไร่ และส่ ง เสริ ม ระบบการผลิ ต และกระจายเมล็ ด พัน ธุ์ ที่ ดี ด้า น เกษตรกรสิ่ งที่ควรปฏิ บตั ิ ได้แก่ ส่ งเสริ มให้เกษตรกรได้ใช้เมล็ดพันธุ์คุณภาพดี ศึกษา วิเคราะห์ ปั ญหาของเกษตรกร และหาแนวทางแก้ไข และพัฒนาเกษตรกรให้ผลิตข้าวอย่างมีคุณภาพ โดยลด ต้นทุน และเพิ่มผลผลิ ต ด้านราคาสิ่ งที่ควรปฏิบตั ิ ได้แก่ จัดหาตลาดรับรองผลิตภัณฑ์ และเพิ่ม ศักยภาพทางการตลาดแก่เกษตรกร ด้านการแปรรู ป และพัฒนาผลิตภัณฑ์ สิ่ งที่ควรปฏิบตั ิ ได้แก่ มีการตรวจสอบคุณภาพข้าวอย่างมีมาตรฐานชัดเจน และส่ งเสริ มการพัฒนาการแปรรู ปข้าว ให้มี ความหลากหลาย และมีมูลค่าสู ง ด้านการส่ งออก สิ่ งที่ควรปฏิบตั ิ ได้แก่ ศึกษากฎระเบียบของแต่ ละประเทศในการนาเข้าสิ นค้า กาหนดชนิ ดข้าว และคุณภาพข้าวในการส่ งออกของแต่ละประเทศ อย่า งชัดเจน ด้า นการจัดการขนส่ ง สิ่ ง ที่ ค วรปฏิ บ ตั ิ ได้แก่ ลดความซ้ า ซ้อนของขั้นตอนการ ส่ งออกข้า ว โดยมี ศู นย์บิการเบ็ดเสร็ จ ด้า นนโยบาย และการสนับสนุ นของภาครั ฐ สิ่ งที่ ควร ปฏิบตั ิ ได้แก่ สนับสนุนงานวิจยั เพื่อเพิ่มมูลค่าข้าว กาหนดนโยบายระยะยาวไม่เปลี่ยนแปลงบ่อย และด้านความร่ วมมือของภาคเอกชน สิ่ งที่ควรปฏิ บตั ิ ได้แก่ ร่ วมมือกันระหว่างภาคเอกชนกับ ภาครั ฐ ในการพัฒ นาผลิ ต ภัณ ฑ์ หาตลาดใหม่ และปรั บ ปรุ ง คุ ณ ภาพ ส่ ง เสริ ม การส่ ง ออก ประชาสัมพันธ์ชนิดข้าวไทยให้ต่างประเทศรู ้จกั นิภาภรณ์ ไสยวงศ์ , ผาณิ ต บูรณ์โภคา และประสพสิ น แม้นทิม (2554 , บทคัดย่อ) ได้ ทาการศึ ก ษาเรื่ อง การวิเคราะห์ ค วามสั ม พันธ์ ระหว่า งการควบคุ ม ภายในด้า นบัญ ชี ก ับ ผลการ ดาเนินงานของสหกรณ์ภาคการเกษตร พบว่า 1. สหกรณ์ภาคการเกษตรมีระดับการควบคุมภายใน ด้านบัญชีโดยรวมอยูใ่ นระดับพอใช้ 2. การควบคุมภายในด้านบัญชีของสหกรณ์ภาคการเกษตรทุก ด้า นล้วนมี ความสั มพันธ์ กบั ผลการดาเนิ นงาน กล่ า วคื อ สหกรณ์ ภาคการเกษตรที่ มี ระดับการ ควบคุมภายในด้านบัญชี ที่ดี จะมีผลการดาเนิ นงานที่ดีดว้ ย ผลการวิจยั นี้ ให้แนวทางการเสนอแนะ


78

แก้ผบู ้ ริ หารว่าควรปรับปรุ ง เรื่ องการจัดทางบการเงินให้ดียิ่งขึ้น โดยการจัดฝึ กอบรมเจ้าหน้าที่ของ สหกรณ์ ภาคการเกษตร ปรับปรุ งการจัดทาบัญชี ของสหกรณ์ ภาคการเกษตรให้สามารถประสบ ความสาเร็ จในการดาเนินธุ รกิจ วรทัย ราวินิจ (2549 , บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง ประสิ ทธิ ผลของการใช้แนวคิ ด ความรับผิดชอบต่อสังคมในการสร้างภาพลักษณ์ ของ บริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด ปรากฏ ว่า ส่ วนที่ หนึ่ งเป็ นการวิจยั เชิ งคุ ณภาพ ผลการวิจยั พบว่า ประชาชนส่ วนใหญ่มีการเปิ ดรั บสื่ อ ประชาสัมพันธ์ ของบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด อยู่ในระดับต่ า และมีการรับรู ้ ภาพลักษณ์ ของบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด อยู่ในเกณฑ์ระดับดี ส่ วนที่ สองเป็ นการวิจยั เชิ งปริ มาณ ผลการวิจยั พบว่า ประชาชนที่มีลกั ษณะทางประชากรแตกต่างกัน มีการเปิ ดรับสื่ อประชาสัมพันธ์ ของบริ ษทั เครื อเจริ ญโภคภัณฑ์ จากัด แตกต่างกัน สิ ทธิ ชยั ธรรมเสน่ห์ (2549 , บทคัดย่อ) ได้ทาการศึกษาเรื่ อง การศึกษาแนวทางพัฒนาการ ประกอบธุ รกิจตามแนวพระราชดาริ ดา้ นสังคมตามหลักบรรษัทภิบาลและธรรมาภิบาล พบว่า เรื่ อง เศรษฐกิจพอเพียงมาพัฒนาและประยุกต์กบั การบริ หารธุ รกิจ เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนในการประกอบ ธุ รกิจ อันได้แก่ การดาเนินการให้เกิดผลประกอบการภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคมสิ่ งแวดล้อม การใช้ทรัพยากรและเทคโนโลยี ซึ่ งเป็ นแนวทางที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ได้พระราชทาน ให้แก่สังคมไทยตลอดมา


บทที่ 3 กรณีศึกษา บริษทั ข้ าวไทย จากัด ประวัติความเป็ นมา บริ ษทั ข้าวไทย จากัด ดาเนิ นกิจการค้าขายข้าวมากว่า 30 ปี ได้จดทะเบียนเป็ นบริ ษทั เมื่อปี พ.ศ. 2531 โดยจัดตั้งโรงงานปรับปรุ งคุณภาพข้าวเพิ่ม ปรับปรุ งข้าวสารให้ได้คุณภาพ โดยทาความ สะอาดข้าว ด้วยกรรมวิธี การคัดแยกสิ่ งปลอมปนอื่นๆโดยเป็ นผูผ้ ลิตข้าวสารบรรจุถุงเพื่อให้สินค้า ที่ไ ด้มี คุณภาพและความสะอาดสู งสุ ด โดยการควบคุ ม และคัดสรรข้าวสารคุ ณภาพที่ ดีจากผูม้ ี ประสบการณ์ และความเชี่ยวชาญในด้านข้าวสารโดยเฉพาะ จึงทาให้ บริ ษทั ข้าวไทย จากัด ได้รับ ความไว้วางใจ จากลูกค้าที่มีอุปการะคุณและมีชื่อเสี ยง เป็ นที่รู้จกั โดยทัว่ ไป เช่น ห้างค้าส่ งห้างค้า ปลีกห้างสรรพสิ นค้าซุ ปเปอร์ มาร์ เก็ต โรงแรม โรงพยาบาลโรงงานอุตสาหกรรมหน่วยงานราชการ รวมถึงร้านโชว์ห่วยและร้านค้าอาหารต่างๆ โรงงานผลิ ตข้าวขนาดใหญ่และทันสมัยที่ สุดในโลก บ้านหลังใหญ่ของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด บนพื้นที่ 270 ไร่ มูลค่า 3,000 ล้านบาท ในเขตอาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ผลิ ต ข้า วด้ว ยเทคโนโลยี ที่ ท ัน สมัย ควบคุ ม ด้ว ยคอมพิ ว เตอร์ ใ นกระบวนการผลิ ต ทั้ง ระบบ ในแบบระบบปิ ดเพื่อควบคุ มการผลิ ตได้ทุกขั้นตอน ผลิ ตข้าวได้สูงถึง 1,080,000 ตันต่อ ปี พัฒนาระบบการขนย้ายสิ นค้าภายในโรงงานเพื่อการใช้พลังงานได้คุม้ ค่าที่สุด การบรรจุ สิ นค้า ที่ ท นั สมัย ที่ สุ ดและรวดเร็ วที่ สุ ดในโลก ไปสู่ ค นไทย ออกสู่ ตลาดโลก ด้วยท่าเรื อขนส่ งสิ นค้าแห่งใหม่ที่ทนั สมัยและสมบูรณ์ที่สุดของประเทศ “โรงงานข้าวไทย” ตั้งอยูบ่ นบนพื้นที่กว่า 270 ไร่ ในเขตอาเภอนครหลวง จังหวัด พระนครศรี อยุธยา เป็ นโรงงานผลิตข้าวขนาดใหญ่และทันสมัยที่สุดในโลก ด้วยงบประมาณ 3,000 ล้านบาทโรงงานข้าวไทยเกิ ดขึ้น เพื่อตอบสนองการเติบโตของธุ รกิ จข้าวของบริ ษทั และประเทศ


80

ไทยในอนาคต ภายใต้การจัดการที่เป็ นระบบที่ทนั สมัยเป็ นที่ยอมรับในระดับสากล ทาให้สามารถ ตรวจสอบคุณภาพของสิ นค้าได้ต้ งั แต่ตน้ ทางการผลิต จนถึงมือผูบ้ ริ โภค เริ่ มตั้งแต่ขา้ วสารทั้งหมดที่เข้าสู่ กระบวนการผลิต จะถูกส่ งมาจากโรงสี ของทางบริ ษทั ข้าว ไทย จากัด ที่ผา่ นการตรวจสอบรับรองคุณภาพมาตรฐาน จานวน 5 โรงและโรงสี เครื อข่ายจานวน 100 โรง ทัว่ ประเทศ นาส่ งข้าวสารด้วยระบบการขนส่ งที่ ครบวงจร ไปยังโรงเก็บวัตถุ ดิบข้าวที่ ค ว บ คุ ม ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ข อ ง โ ร ง ง า น ข้ า ว ไ ท ย เ พื่ อ ร อ ก า ร ผ ลิ ต ใ น ขั้ น ต อ น ต่ อ ไ ป โรงงานข้าวไทยมีโรงเก็บวัตถุดิบข้าวทั้งหมด 8 โรง รองรับข้าวได้ถึง 240,000 ตัน ทาให้ โรงงานข้าวไทยสามารถผลิตข้าวได้สูงถึง 1,080,000 ตันต่อปี เพื่อเพิ่มศักยภาพให้กบั การเก็บและ ขนส่ ง สิ นค้า โรงงานข้าวไทยมี โกดังเก็บ สิ นค้าขนาดใหญ่ ที่สามารถรองรั บปริ มาณสิ นค้า ได้ถึ ง 3,600 ตันต่อวัน โรงงานข้าวไทย ได้นาเทคโนโลยีที่ทนั สมัยเข้ามาใช้ในกระบวนการผลิ ต ทุกขั้นตอนการ ผลิตจะถูกควบคุมด้วยคอมพิวเตอร์ ท้ งั ระบบ และนอกจากนี้ยงั มีการเก็บตัวอย่างข้าวมาตรวจ เพื่อให้ มัน่ ใจได้ว่าข้าวทุกเม็ดที่ ออกจากโรงงานข้าวไทย สะอาด ปลอดภัย ปราศจากสิ่ งปนเปื้ อนที่ เป็ น อันตรายต่อผูบ้ ริ โภค อีกทั้งยังเป็ นข้าวสารบรรจุถุงรายแรกและรายเดี ยวที่กล้ารับประกันคุ ณภาพ ข้าวทุกถุง โดยมีเครื่ องหมายรับประกันความพึงพอใจ พร้อมรับคืนสิ นค้าทันทีหากไม่พึงพอใจ เพื่อ เป็ นการสร้างความมัน่ ใจให้แก่ผบู ้ ริ โภค จากท่าเรื อแห่งใหม่ สู่ ตลาดในประเทศและทัว่ โลก ข้าวไทยพร้อมออกสู่ ตลาดทั้งในประเทศและทัว่ โลก ด้วยความสะดวกและรวดเร็ วในการ ขนถ่ายสิ นค้า ผ่านท่าเรื อขนส่ งสิ นค้าทางน้ าแห่ งใหม่ริมแม่น้ าป่ าสัก ภายใต้ บริ ษทั ท่าเรื ออยุธยา และไอซี ดี จากัด ด้วยความยาว 276 เมตร จอดเรื อพร้อมกันได้ครั้งละ 5 ลา รองรับตูค้ อนเทนเนอร์ ได้ถึง 4 แสนตูต้ ่อปี และที่สาคัญท่าเรื อขนส่ งทางน้ าแห่งนี้ ยังถือเป็ นจุดขนส่ งสิ นค้าทางน้ าแห่ งใหม่ ที่ทนั สมัยและสมบูรณ์ ที่สุดของประเทศไทย การขนส่ งตูค้ อนเทนเนอร์ ทางน้ า จากท่าเรื ออยุธยา และไอซี ดี เชื่ อมต่ อไปยัง ท่ า เรื อกรุ งเทพ ท่ า เรื อแหลมฉบัง และท่ า เรื อเอกชนเลี ยบชายฝั่ งอื่ นๆ ปั จจุ บนั บริ ษ ทั ข้าวไทย จากัด ได้ข ยายกาลัง การผลิ ตให้เพิ่ มขึ้ น ณ ที่ ทาการแห่ ง ใหม่ใ น อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี เพื่อรองรับกับลูกค้า ที่ มีความต้องการสิ นค้าที่ เพิ่มขึ้นด้วยอี กทั้ง ระบบการผลิ ตข้าวสารบรรจุถุงของ บริ ษทั ข้าวไทย จากัด ยังได้รับการรั บรองจากกรมวิชาการ


81

เกษตรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ในหลักปฏิบตั ิที่ดี สาหรับโรงคัดบรรจุหรื อที่รู้จกั กันดีในชื่ อย่อ GMP(Good Manufacturing Practices) วิสัยทัศน์ ข้า วไทย ข้า วที่ ค ดั สรรแต่ คุ ณภาพที่ ดี เยี่ย ม อยู่เคี ย งข้า งทุ ก ครั วเรื อนของไทย และมุ่ ง สู่ ครัวเรื อนทัว่ โลก พันธกิจ 1. ผลิตข้าวที่มีคุณภาพสม่าเสมอ เพื่อคงความอร่ อยให้กบั ทุกจาน 2. ให้ความรู ้แก่ผบู ้ ริ โภค เพื่อให้เห็นความแตกต่างและสามารถเลือกซื้ อข้าวได้รสชาติตรงใจ ทุกเมนู 3. นาเสนอสิ นค้าและบริ การ โดยคานึงถึงความพึงพอใจของผูบ้ ริ โภคเป็ นสาคัญ 4. ไม่หยุดยั้งในการคิดค้น พัฒนา และสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ พร้อมทั้งสร้างมูลค่าเพิ่มให้ กับข้าวอย่างต่อเนื่ อง 5. มีส่วนร่ วมในการยกระดับความรู ้ความสามารถของเกษตรไทย เพื่อการพัฒนาข้าวอย่าง ยัง่ ยืน


82

ข้ อมูลผลิตภัณฑ์

ภาพที่1 เครื่ องไซโล 1. ไซโล นาวัตถุดิบข้าวเข้าสู่ ถงั บรรจุขา้ วขนาดใหญ่หรื อไซโล ที่มีคุณสมบัติการควบคุมอุณหภูมิ สภาพการเก็บรักษาและปลอดภัยจากจุลินทรี ยก์ ่อโรค เชื้ อรา สารพิษ และปลอดภัยจากการ ทาลายของแมลง สัตว์กดั แทะต่างๆ


83

ภาพที่ 2 เครื่ องทาความสะอาด 2. เครื่ องทาความสะอาด การทาความสะอาดข้าวเบื้องต้น ให้ปลอดฝุ่ นและสิ่ งเจือปนต่างๆ ด้วยเครื่ องจักรที่ทนั สมัย และเทคโนโลยีคุณภาพสู งจากยุโรปและประเทศญี่ปุ่น

ภาพที่ 3 เครื่ องแยกหิน


84

3. เครื่ องแยกหิน แยกหิ น กรวดและสิ่ งสกปรกหนักออกจากข้าว ด้วยเครื่ องที่มีความสามารถสู ง สามารถ แยกได้ตามความหนาแน่ นของวัสดุ เนื่ องจากข้าวที่มาจากโรงสี ต่างๆ มักมีเศษหิ น กรวด ทราย ปะปนอยูใ่ นข้าวเสมอ

ภาพที่ 4 เครื่ องขัดข้าว 4. เครื่ องขัดข้าว ขั้นตอนของการขัดข้าวด้วยข้าว และละอองหมอกของน้ า เทคนิ คและคุ ณลักษณะพิเศษ เฉพาะของเครื่ อ งขัด ข้า ว ที่ จ ะไม่ ท าให้ พ้ื น ผิ ว ของข้า วเสี ย หาย ข้า วจะเงางาม สะอาด ปราศจากราข้าวปะปน ซึ่ งจะไม่ทาให้เกิดปั ญหาเกิดมอด แมลงในภายหลัง


85

ภาพที่ 5 ตะแกรงเหลี่ยมและตะแกรงลม 5. ตะแกรงเหลี่ยมและตะแกรงกลม เครื่ องคัดแยกขนาดของข้าวสารที่ผ่านการขัดมาแล้ว ทางานโดยกระบวนการของเครื่ อง เมล็ดข้าวจะเดินทางไปตามตะแกรงในชั้นต่างๆ ตะแกรงเหลี่ยมและตะแกรงกลม(Length Grader) จะคัดแยกขนาดของเมล็ดข้าว ในขนาดต่างๆ กัน คือ ข้าวเต็มเมล็ด ข้าวหักใหญ่ ข้าวหักกลาง ข้าวหักเล็ก ปลายข้าว

ภาพที่ 6 เครื่ องแยกสี


86

6. เครื่ องแยกสี เทคโนโลยีการแยกสี ขาวด้วยเลเซอร์ ที่มีความไวและความละเอียดสู งพร้อมขั้นตอนพิเศษ เครื่ อ งคัดแยกจะท างานอย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ สามารถแยกข้า วสี ค ล้ า มี จุด ด่ า งด า และ สิ่ งเจือปนอื่นๆ ออกไปได้ เพื่อมาตรฐานคุณภาพและความสะอาดของข้าวตราฉัตรก่อนการ บรรจุ

ภาพที่ 7 เครื่ องบรรจุหีบห่อ 7. การบรรจุและหี บห่อ กระบวนการบรรจุ ผ่านเครื่ องจักรที่ ทนั สมัย รวดเร็ ว ทันต่อความต้องการของตลาด และ ด้วยบรรจุ ภณ ั ฑ์ช นิ ดพิเศษให้เหมาะกับผลิ ตภัณฑ์ขา้ วตราฉัตรในแต่ละประเภท เพื่อคง คุณภาพข้าวไปจนถึงมือผูบ้ ริ โภค


87

ภาพที่ 8 การตรวจสอบคุณภาพข้าว 8. การตรวจสอบคุณภาพ มีหอ้ งแล็บทางวิทยาศาสตร์ ขนาดใหญ่ ด้วยเครื่ องมือและเทคโนโลยีที่ทนั สมัย เพื่อการวิจยั เมล็ดพันธุ์ และสภาพข้าว และยังมี ห้องเก็บตัวอย่างข้าวเพื่อการวิเคราะห์ รู ป รส กลิ่ น สี ของข้าว เพื่อการพัฒนาคุ ณภาพข้าวที่ยงั่ ยืน เพื่อคุ ณภาพข้าวตราฉัตร ข้าวไทยเพื่อคนไทย และทัว่ โลก กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้ องกับข้ าว ในหัวข้อเรื่ อง “ข้าว” จะกล่าวถึ งกฎหมายหลักที่มีใช้บงั คับในอดีต และปั จจุบนั พร้ อม เหตุผลความเป็ นมา และสรุ ปสาระสาคัญของกฎหมาย รวมตลอดถึงอนุบญั ญัติที่ออกตามกฎหมาย ที่ใช้บงั คับปั จจุบนั นอกจากนี้ จะได้กล่าวถึงความเชื่ อมโยงของกฎหมายอื่นที่มีความเกี่ ยวข้องกับ กฎหมายหลักที่ควรทราบ สาหรั บในส่ วนที่เกี่ ยวข้องกับผลิ ตผลของเกษตรกร การควบคุ มราคา และอื่ น ๆ เช่ น กฎหมายว่าด้วยกักพื ช กฎหมายว่าด้วยคุ ม้ ครองพันธุ์ พืช กฎหมายว่า ด้วยการ ควบคุมยาง เป็ นต้น โปรดดูในหัวข้อในเรื่ องนั้นโดยตรง


88

กฎหมายหลัก กฎหมายว่า ด้ว ยข้า วที่ ไ ด้ต ราขึ้ น ใช้บ ัง คับ มี ส องฉบับ คื อ พระราชบัญ ญัติก ารค้า ข้า ว พุทธศักราช ๒๔๘๙ และพระราชบัญญัติสารวจและห้ามกักกันข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ปั จจุบนั พระราชบัญ ญัติ ส ารวจและห้ า มกัก กันข้า ว พุ ท ธศัก ราช ๒๔๘๙ ได้ย กเลิ ก แล้ว เนื่ อ งจากไม่ เหมาะสมกับสภาวการณ์ ปัจจุบนั โดยพระราชบัญญัติยกเลิ กกฎมายที่ไม่เหมาะสมกับกาลปั จจุบนั พ.ศ. ๒๕๔๖ และพระราชบัญญัติปรับปรุ งกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ (จัดตั้ง กรมการข้าว) ๓.๑. พระราชบัญญัติการค้ าข้ าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ พระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้แก้ไขเพิ่มเติ มหนึ่ งครั้ งโดยพระราชบัญญัติการค้าข้าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙ โดยได้แก้ไขเพิ่มเติมบทวิเคราะห์ศพั ท์ของคาว่า “ข้ าว” อานาจ หน้าที่คณะกรรมการ หน้าที่ของผูค้ า้ ข้าว หนังสื ออนุ ญาตให้ประกอบการค้าข้าว การสั่งเพิกถอน ใบอนุญาต การควบคุมการสี ขา้ ว และบทกาหนดโทษ ความเป็ นมาและเหตุผล พระราชบัญญัติก ารค้า ข้า ว พุ ทธศัก ราช ๒๔๘๙ ได้ตราขึ้ น ใช้บ ัง คับ ในปี พุ ท ธศัก ราช ๒๔๘๙ โดยได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๒๓ ตอนที่ ๒๙ วันที่๙ พฤษภาคม ๒๔๘๙ มี ผลใช้บงั คับใช้ในวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๔๘๙ โดยเหตุผลในการตรากฎหมายฉบับนี้ ไม่ได้พิมพ์ให้ ปรากฏไว้ในราชกิ จจานุ เบกษา เนื่ องจากมี การเลื่ อนใช้บงั คับกฎหมายบางฉบับ เหตุผลการตรา กฎหมายจึงไม่ปรากฏ แต่เมื่อได้พิจารณาจากเนื้ อหาของกฎหมายทั้งฉบับแล้ว อาจพิจารณาได้ว่า “ข้าว” เป็ นพืชที่เป็ นอาหารหลักของชาวไทยมีความสาคัญต่อชี วิตความเป็ นอยูป่ ระจาวัน ประกอบ กับประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรมโดยปลูกข้าวเป็ นพืชหลัก หากเกิ ดปั ญหาการขาดแคลน ข้าวแล้วประชาชนจะได้รับความเดือดร้อน จึงจาเป็ นต้องมีการตรากฎหมายฉบับนี้ เพื่อจัดระเบียบ การค้าข้าวซึ่ งจะเห็ นได้จากการกาหนดนิ ยามศัพท์คาว่าข้าว อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการ การ อนุ ญ าตประกอบการค้า ข้า ว และการควบคุ ม การสี ข ้า วซึ่ งจะปรากฏต่ อ ไปในค าอธิ บ ายสรุ ป สาระสาคัญ


89

สาระสาคัญของพระราชบัญญัติการค้ าข้ าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ อนุบัญญัติและการปฏิบัติ พระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการค้า ข้าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙ จะอธิ บายเฉพาะเนื้อหาของสาระสาคัญของพระราชบัญญัติ และอนุ บญั ญัติ และมติคณะรัฐมนตรี ที่เกี่ ยวข้องซึ่ งได้ใช้บงั คับปั จจุบนั เฉพาะที่มีความสาคัญและ ควรทราบ สาหรับรายละเอียดจะนารวมไว้ในภาคผนวก สาระสาคัญของพระราชบัญญัติฉบับนี้ เป็ นการกาหนดระเบี ยบการค้าข้าว กาหนดราคา การป้ องกันการขาดแคลน ควบคุ ม การครอบครอง การเคลื่ อนย้าย และการสี ขา้ ว เพื่อให้มีการ กระจายข้า วสู่ ป ระชาชนอย่า งทัว่ ถึ ง และเป็ นธรรม รวมทั้ง การควบคุ ม การค้า ข้า วในเวลาที่ เกิ ด สภาวการณ์ขาดแคลนข้าว อันจะมีผลกระทบต่อการบริ โภคของประชาชน โดยมีสาระสาคัญตามที่ บัญญัติไว้ มีดงั นี้ ๑.

วันใช้บงั คับพระราชบัญญัติ ได้ใช้บงั คับวันที่ ๑๐ พฤษภาคม๒๔๘๙ ซึ่ งเป็ นวัน ถัดจากวันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา (มาตรา ๒)

๒.

ความหมายของคาว่า “ข้าว” และ “ การค้าข้าว” (มาตรา ๓)1

๒.๑ “ข้าว” หมายความว่า ข้าวเปลื อก ข้าวสาร ข้าวเหนี ยว และรวมตลอดถึ ง ปลายข้าว รา และสิ่ งใด ๆ ที่แปรสภาพมาจากข้าว จากความหมายดังกล่าว คาว่า “ข้าว” ในที่น้ ี มี ความหมายพิเศษจากความหมายทัว่ ไป โดยได้จากัดชนิ ดของข้าวที่อยูใ่ นบังคับของกฎหมาย และ ได้ขยายความให้รวมถึงผลิตภัณฑ์อนั เกิดจากข้าวตามความหมายด้วย ๒.๒ “การค้าข้าว” หมายความว่า การซื้ อ ขาย แลกเปลี่ยน หรื อโอนกรรมสิ ทธิ์ ข้าว รวมตลอดถึงการสี ขา้ ว ทั้งนี้ ต้องไม่ใช่การบริ โภคในครอบครัว จากความหมายดังกล่าวจะ เห็นได้วา่ การค้าข้าวได้ให้ความหมายรวมพิเศษจากการขายที่เป็ นความหมายทัว่ ไป ให้รวมถึงการ โอนกรรมสิ ทธิ์ ของข้าวที่มีเกิ ดขึ้นตามกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ นอกจากนี้ ยงั ได้ให้ความรวมถึ ง 1

ความในมาตรา ๓ แก้ ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติการค้ าข้ าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙


90

การสี ขา้ ว อันเป็ นการแปรสภาพของข้าวเปลือกให้เป็ นข้าวสารด้วยวิธีการสี ขา้ วด้วย เพื่อให้การ บังคับใช้ครอบคลุ มถึ งโรงสี ขา้ ว และการสี ขา้ วของบุคคลอันมีลกั ษณะเพื่อเป็ นการขายด้วย ทั้งนี้ ในความหมายนี้ไม่รวมถึงการบริ โภคในครอบครัว ๓. กาหนดให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ งซึ่ งคณะรั ฐมนตรี แต่งตั้งมีประธานหนึ่ งคน และกรรมการอื่ น อี ก ไม่ น้ อ ยกว่ า หกคนเป็ นกรรมการ เพื่ อ ควบคุ ม การปฏิ บ ั ติ ก ารตาม พระราชบัญญัติน้ ี โดยให้มีอานาจแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ มีอานาจเข้าไปในสถานที่คา้ ข้าวเพื่อ ตรวจสอบ สั่งให้บุคคลมาให้ถอ้ ยคา และประกาศกาหนดเขตควบคุมการค้าข้าว ซึ่ งเป็ นมาตรการที่ สาคัญในการจัดระเบียบการค้าข้าวในสภาวการณ์ปกติและสภาวการณ์การขาดแคลนข้าว (มาตรา ๔ มาตรา ๕ มาตรา ๖ มาตรา ๗) อานาจของคณะกรรมการ (มาตรา ๘)2 ๔.๑ ในเขตควบคุมข้าวที่คณะกรรมการประกาศกาหนด ๔.๑.๑ แบ่งแยกประเภทผูป้ ระกอบการค้าข้าวและสั่งให้ผปู ้ ระกอบการค้า ข้าวประเภทใดประเภทหนึ่งหรื อทุกประเภทให้ขออนุญาตประกอบการค้าข้าว ๔.๑.๒ กาหนดราคา และห้ามขายเกินราคา หรื อซื้ อต่ากว่าราคากาหนด ๔.๑.๓ ให้แจ้งปริ มาณและสถานที่เก็บข้าว ๔.

๔.๑.๔ สั่งให้ผูม้ ี ขา้ วขายข้าวให้แก่ บุคคลใดตามราคาที่ คณะกรรมการ กาหนด อานาจของคณะกรรมการดังกล่าวเป็ นอานาจที่กาหนดไว้ครอบคลุ มเกี่ ยวกับการค้าข้าวที่ กว้างขวางตั้งแต่การอนุ ญาตค้าข้าว การกาหนดราคาซื้ อขายทั้งเกิ นราคาและต่ากว่าราคา และการ บังคับให้บุคคลขายข้าวได้ แต่ปัจจุ บนั การควบคุ มราคาข้าว และการก าหนดราคาข้าวไม่ได้ใ ช้ อานาจของคณะกรรมการ แต่ได้ใช้กฎหมายว่าด้วยการกาหนดราคาสิ นค้าและป้ องกันการผูกขาด ทางการค้า การประกันราคาข้าวหรื อการแทรกแซงตลาดการค้าข้าวเพื่อการพยุงราคาข้าวแทน อย่างไรก็ดีอานาจของคณะกรรมการตามมาตรานี้ นับ ว่าเป็ นบทบัญญัติที่สาคัญ อันอาจนามาใช้ บังคับได้ในกรณี ที่เกิดวิกฤติเกี่ยวกับปั ญหาการขาดแคลนข้าวหรื อการค้าข้าวได้ตามความเหมาะสม กับสถานการณ์ 2

ความในมาตรา ๘ แก้ ไขเพิม่ เติมโดยพระราชบัญญัติการค้ าข้ าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙


91

๔.๒

แต่ ง ตั้ง บุ ค คลหรื อพนัก งานเจ้า หน้า ที่ เพื่ อปฏิ บ ตั ิ ก ารแทนกรรมการได้

(มาตรา ๕) ๔.๓ คณะกรรมการหรื อพนัก งานเจ้าหน้าที่ มีอานาจเข้า ไปในสถานที่ หรื อ เคหะสถานของบุคคลเพื่อตรวจข้าว ใบรับในการขาย ฯลฯ ในเวลากลางวัน และสั่งให้บุคคลมาให้ ถ้อยคาเกี่ยวกับการค้าข้าวนั้นได้ (มาตรา ๖) ๕. การค้าข้าวในเขตควบคุมการค้าข้าวที่คณะกรรมการประกาศกาหนดต้องได้รับอนุ ญาต จากคณะกรรมการ โดยต้องปฏิบตั ิตามข้อความและเงื่อนไขในหนังสื ออนุญาต การขออนุญาตต้อง ทาตามแบบที่คณะกรรมการกาหนด (มาตรา ๙)3 ๖. หนังสื ออนุญาตประกอบการค้าข้าวต้องแสดงในที่เปิ ดเผย ณ สถานที่ทาการค้าข้าว (มาตรา ๑๐) ๗. การค้าข้าวที่พระราชบัญญัติน้ ีไม่ใช้บงั คับ (มาตรา ๑๑) ๗.๑ กสิ กรที่ขายหรื อแลกเปลี่ยนข้าวที่ได้ผลิตจากเนื้อที่ที่ตนได้ทา ๗.๒ ผูท้ ี่ขายหรื อแลกเปลี่ยนข้าวครั้งหนึ่งมีปริ มาณ ดังนี้ (ก) ข้า วเปลื อกทุ กชนิ ดไม่เกิ นสองเกวียนซึ่ งปั จจุ บนั เที ย บเป็ นน้ าหนักสองตัน (สองพันกิโลกรัม) (ข) ข้าวอื่น ๆ ไม่เกินหนึ่งร้อยแปดกิโลกรัม จากบทบัญญัติดงั กล่าวจะเห็นได้วา่ การควบคุมการค้าข้าวนี้ จะควบคุมเฉพาะการค้าข้าวที่ เป็ นการค้าที่มีจานวนมากจริ งเท่านั้น จึงได้บญั ญัติยกเว้นการค้าสาหรับการบริ โภคในครอบครัวอัน เป็ นปกติและการค้าจานวนเล็กน้อย ๘. ผูป้ ระกอบการค้า ข้าวต้องท ารายงานการค้าข้าวประจาวันตามแบบที่ คณะกรรมการ กาหนด และคณะกรรมการอาจยกเว้นและเพิกถอนการทารายงานนี้ได้ (มาตรา ๑๒)4 ๙. หนัง สื ออนุ ญ าตให้ป ระกอบการค้า ข้า วมี ก าหนดเวลาตามที่ ค ณะกรรมการก าหนด (มาตรา ๑๓) ๑๐. ผูป้ ระกอบการค้า ข้า วต้องแสดงราคาข้าวประจาวันเป็ นภาษาไทยในที่ เปิ ดเผย ณ สถานที่ทาการค้าข้าว (มาตรา ๑๔)

3

ความในมาตรา ๙ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตกิ ารค้ าข้ าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙ ความในมาตรา ๑๒ ๑๓ และ๑๖ ทวิ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตกิ ารค้ าข้ าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙ 4


92

๑๑. คณะกรรมการหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่มีอานาจสั่งเพิกถอนหนังสื ออนุ ญาต กรณี ผู ้ ได้รับอนุญาตฝ่ าฝื นประกาศหรื อคาสั่งหรื อเงื่อนไขที่กาหนดหรื อฝ่ าฝื นบทบัญญัติพระราชบัญญัติน้ ี (มาตรา ๑๕) ๑๒. หนังสื ออนุ ญาตให้ประกอบการค้าข้าวเป็ นการเฉพาะตัว โอนกันไม่ได้ เมื่อเลิกต้อง แจ้งคณะกรรมการหรื อพนักงานเจ้าหน้าที่ (มาตรา ๑๖) ๑๓. โรงสี ขา้ วหรื อผูป้ ระกอบการค้าข้าว หยุดหรื อแกล้งหยุดสี ขา้ ว ไม่สีขา้ วเต็มกาลัง คณะกรรมการมีอานาจสั่งให้สีขา้ ว สี ขา้ วเต็มกาลัง ภายในเวลากาหนด หรื อกาหนดค่าสี ขา้ วได้ ถ้า ไม่ปฏิ บตั ิคณะกรรมการมีอานาจเข้ายึดดาเนิ นการเองโดยไม่มีสิทธิ เรี ยกค่าทดแทน (มาตรา ๑๖ ทวิ) ๑๔. ผูฝ้ ่ าฝื นบทบัญญัติตามพระราชบัญญัติน้ ี มีความผิดต้องระวางโทษตามที่ กาหนดไว้ (มาตรา ๑๗ มาตรา ๑๘ มาตรา ๑๙ มาตรา ๒๐)5 ๑๕. พนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบตั ิหน้าที่หรื อละเว้นการปฏิบตั ิหน้าที่มีความผิดต้องระวางโทษ ตามที่กาหนด (มาตรา ๒๑) ๑๖. ข้าวและสิ่ งของที่ใช้บรรจุที่เกี่ยวเนื่ องกับความผิดตามพระราชบัญญัติน้ ี ให้ริบ (มาตรา ๒๑ ทวิ) ๑๗. รั ฐมนตรี ว่า การกระทรวงพาณิ ช ย์และรั ฐมนตรี ว่า การกระทรวงมหาดไทยเป็ นผู ้ รักษาการตามพระราชบัญญัติน้ ี มีอานาจออกกฎกระทรวงกาหนดค่าธรรมเนียม และกิจการอื่นเพื่อ ปฏิ บตั ิการตามพระราชบัญญัติ โดยกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับเมื่อได้ประกาศในราชกิ จจานุ เบกษา แล้ว (มาตรา ๒๒) อนุบัญญัติ การปฏิบัติ และมติคณะรัฐมนตรี กฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบซึ่ งได้ออกตามพระราชบัญญัติ นับแต่พระราชบัญญัติ ประกาศใช้บ งั คับ ได้มี การออกกฎกระทรวง และประกาศ เพื่ อกาหนดการปฏิ บ ตั ิ ต่อเนื่ องกัน จานวนมาก นับจนถึ งปั จจุบ นั มีกฎกระทรวงจานวน ๖ ฉบับ และประกาศ จานวน ๑๔๔ ฉบับ ซึ่ งในคาอธิ บายต่อไปกล่าวถึ งเฉพาะกฎกระทรวง ประกาศ และระเบียบที่ใช้บงั คับอยู่ใน ปั จจุบนั โดยย่อ เพื่อให้เข้าใจในการปฏิบตั ิดงั นี้

5

ความในมาตรา ๑๗ ๑๘ และ๒๑ ทวิ แก้ ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตกิ ารค้ าข้ าว (ฉบับที่ ๒) พุทธศักราช ๒๔๘๙


93

กฎกระทรวงมี ก ารตราใช้บงั คับ รวม ๗ ฉบับ กฎกระทรวงฉบับแรกคื อกฎกระทรวง พาณิ ช ย์และกระทรวงมหาดไทย พุทธศักราช ๒๔๘๙ ต่อมาได้มีก ารออกกฎกระทรวงแก้ไ ข เพิ่มเติมกฎกระทรวงโดยยกเลิกฉบับแรกและได้แก้ไขเพิ่มเติมต่อเนื่องมารวม ๖ ฉบับ โดยปั จจุบนั มี กฎกระทรวงใช้บงั คับรวม ๓ ฉบับ ดังนี้ ๑. กฎกระทรวงพาณิ ชย์และกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ. ๒๔๘๙ กาหนดอัตราค่าธรรมเนี ยมคาขออนุ ญาตและคา ขออื่น ๆ ค่าธรรมเนียมหนังสื ออนุญาต ค่าธรรมเนียมอื่น ๆ ๒. กฎกระทรวงพาณิ ชย์และกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ ๓ (พ.ศ. ๒๕๒๓) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ. ๒๔๘๙แก้ไขเพิ่มเติมอัตราค่าธรรมเนี ยมหนังสื ออนุ ญาต ให้เปลี่ยนแปลงสภาพข้าวตามข้อ ๓(๑๑) ของกฎกระทรวง ฯ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๑) ฯ ๓. กฎกระทรวงพาณิ ชย์และกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕) ออกตาม ความในพระราชบัญญัติการค้าข้าว พ.ศ. ๒๔๘๙ แก้ไขเพิ่มเติมอัตราค่าธรรมเนี ยมหนังสื ออนุ ญาต ประกอบการค้าข้าวประเภทค้าส่ งไปจาหน่ายต่างประเทศ ตามข้อ ๓ (๑) ของกฎกระทรวง ฯ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๒๑)ฯ แก้ไขเพิม่ เติมโดยกฎกระทรวง ฯ ฉบับที่ ๖ (พ.ศ. ๒๕๓๑) ฯ

สาระสาคัญของกฎกระทรวง กฎกระทรวงทั้ง ๓ ฉบับเป็ นการกาหนดอัตราค่าธรรมเนี ยม เกี่ยวกับการประกอบกิจการค้าข้าวตามพระราชบัญญัติ มีสาระสาคัญที่สาคัญควรทราบ ดังนี้ ๑. กาหนดค่าธรรมเนี ยมคาขออนุ ญาตประกอบการค้าข้าว ต่ออายุหนังสื ออนุ ญาต ออกใบแทน แจ้งเลิ ก ซื้ อข้าวกรณี อื่นนอกจากเพื่อบริ โภค ขนย้ายข้าว เปลี่ ยนแปลงสภาพข้าว และคาขออนุญาตอื่น ๆ นอกจากเพื่อบริ โภค ฉบับละ ๕ บาท (ข้อ ๓ (๑) ถึง (๘) และ (๑๑))6 ๒. กาหนดค่าธรรมเนียมคาขอซื้ อข้าวตามที่คณะกรรมการกาหนด ฉบับละ ๑๐ บาท (ข้อ ๓ (๙) ) ๓. กาหนดค่าธรรมเนียมหนังสื ออนุญาต(ข้อ ๓) (๑) หนังสื ออนุ ญาตให้ประกอบการค้าประเภทข้าวส่ งไปจาหน่ ายต่างประเทศ ฉบับละ ๒๐,๐๐๐ บาท เว้นแต่การส่ งข้าวไปจาหน่ายประเทศที่มีชายแดนติดต่อกับประเทศไทยมี มูลค่าส่ งออกไม่เกินวันละ ๕๐๐,๐๐๐ บาท ฉบับละ ๒,๐๐๐ บาท7 (๒) ค่าธรรมเนียมหนังสื ออนุญาตอื่น รายละเอียดดูจากภาคผนวก 6

ความในข้ อ ๓(๑๑) แก้ ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๓ พ.ศ. ๒๕๒๓ ฯ ความในข้ อ ๓(๑) แก้ ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวง ฉบับที่ ๗ พ.ศ. ๒๕๓๕ ฯ

7


94

ประกาศ คณะกรรมการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ได้ออกประกาศกาหนดการปฏิ บตั ิตามพระราชบัญญัติมาแล้วจานวน ๑๔๔ ฉบับ เป็ นประกาศ เกี่ยวกับการแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ กาหนดเขตควบคุมข้าว กาหนดการขออนุ ญาตประกอบการ ค้าข้าว กาหนดการควบคุมการเคลื่อนย้ายข้าว ซึ่ งเป็ นการกาหนดการปฏิบตั ิเพื่อให้สอดคล้องกับ สภาวการณ์ ของสภาพการใช้บงั คับตามความเหมาะสมกับสภาวการณ์ในขณะนั้น ๆ โดยได้มีการ แก้ไข ปรับปรุ งและยกเลิกการปฏิบตั ิที่ไม่สอดคล้องกับสภาวการณ์ตลอดมาจนถึงปั จจุบนั โดยใน ปั จจุบนั มีประกาศคณะกรรมการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ใช้บงั คับอยูจ่ านวน ๓ ฉบับ ดังนี้ ๑. ประกาศคณะกรรมการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ฉบับ ที่ ๑๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง ก าหนดเขตควบคุ ม การค้ า ข้ า วและก าหนดประเภท ผูป้ ระกอบการค้าข้าว ๒. ประกาศคณะกรรมการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ฉบับที่ ๑๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง ให้ผปู้ ระกอบการค้าข้าวขออนุ ญาตประกอบการค้าข้าว การ กาหนดเงื่ อนไขในหนังสื ออนุ ญาตให้ป ระกอบการค้า ข้า ว และการสั่ งถอนหนังสื ออนุ ญาตให้ ประกอบการค้าข้าว ๓. ประกาศคณะกรรมการปฏิบตั ิการตามพระราชบัญญัติการค้าข้าว พุทธศักราช ๒๔๘๙ ฉบับที่ ๑๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ สาระสาคัญของประกาศ ประกาศทั้ง สามฉบับ ได้แก้ไ ขเพิ่ม เติ ม ประกาศฉบับ เดิ มและ กาหนดการปฏิบตั ิใหม่ดงั นี้ ๑. ประกาศคณะกรรมการปฏิ บตั ิ การตามพระราชบัญญัติก ารค้าข้าว พุทธศัก ราช ๒๔๘๙ ฉบับที่ ๑๔๒ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง กาหนดเขตควบคุ มการค้าข้าวและกาหนดประเภท ผูป้ ระกอบการค้าข้าว มีสาระสาคัญ ดังนี้ ๑.๑ กาหนดให้เขตของจังหวัดทุกจังหวัดและกรุ งเทพมหานครเป็ นเขตควบคุ ม การค้าข้าว (ข้อ ๓) การกาหนดเขตควบคุมการค้าข้าวนี้ มีผลให้ผทู ้ ี่จะประกอบการค้าข้าวในท้องที่ ต่าง ๆ ทัว่ ประเทศต้องขออนุญาตประกอบการค้าข้าว ต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ ๑.๒ กาหนดประเภทของผูป้ ระกอบการค้าข้าว มี ๘ ประเภท ดังนี้ (๑)ประเภทค้าข้าวส่ งไปจาหน่ายต่างประเทศ ได้แก่


95

ก. ผูส้ ่ ง ออกทัว่ ไป ซึ่ ง เป็ นบริ ษ ทั จากัด บริ ษ ัท มหาชนจากัด รัฐวิสาหกิ จ บริ ษทั ที่ส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิ จมีทุนรวมอยู่ดว้ ย สหกรณ์ หรื อกลุ่มเกษตรกรที่ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นและมีวตั ถุประสงค์ส่งข้าวออกไปจาหน่ายต่างประเทศ ข. ผูส้ ่ งออกข้าวสารที่บรรจุกล่องหรื อหี บห่ อที่เป็ นบริ ษทั จากัด บริ ษทั มหาชนจากัด รัฐวิสาหกิ จ บริ ษทั ที่ส่วนราชการหรื อรัฐวิสาหกิ จมีทุนรวมอยู่ดว้ ย สหกรณ์ หรื อกลุ่มเกษตรกรที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยการนั้นและมีวตั ถุประสงค์ส่งข้าวออกไปจาหน่าย ต่างประเทศ ค. ผูส้ ่ งออกชายแดนซึ่ งเป็ นบุคคลธรรมดาหรื อนิ ติบุคคล ที่ มี ภูมิลาเนาอยู่ในจังหวัดชายแดนที่ติดต่อกับต่างประเทศและมีวตั ถุประสงค์ส่งข้าวออกไปจาหน่ าย ต่างประเทศเฉพาะประเทศที่มีเขตแดนติดต่อกับประเทศไทย (๒) ประเภทสี ขา้ ว ได้แก่ ก. โรงสี ขนาดเล็ก ที่ทาการสี ขา้ วเพื่อการค้าหรื อรับจ้างสี ขา้ วซึ่ ง มีกาลังการผลิตต่ากว่าห้าเมตริ กตันต่อยีส่ ิ บชัว่ โมง ข. โรงสี ขนาดกลาง ที่ทาการสี ขา้ วเพื่อการค้าหรื อรับจ้างสี ขา้ ว ซึ่ งมีกาลังการผลิตไม่ต่ากว่าห้าเมตริ กตันต่อยีส่ ิ บชัว่ โมง แต่ไม่เกินยีส่ ิ บเมตริ กตันต่อยีส่ ิ บชัว่ โมง ค. โรงสี ขนาดใหญ่ ที่ทาการสี ขา้ วเพื่อการค้าหรื อรับจ้างสี ขา้ ว ซึ่ งมีกาลังการผลิตเกินกว่ายีส่ ิ บเมตริ กตันต่อยีส่ ิ บชัว่ โมง (๓) ประเภทซื้ อข้าวโดยมียงุ ้ ฉาง ได้แก่ ผูท้ ี่ทาการค้าข้าวที่มีสถานที่เก็บ ข้าวไม่วา่ จะเป็ นของตนเองหรื อผูอ้ ื่น ซึ่ งบรรจุขา้ วเปลือกได้ไม่นอ้ ยกว่าห้าเมตริ กตัน หรื อข้าวอย่าง อื่นรวมกันไม่นอ้ ยกว่าสองเมตริ กตัน (๔) ประเภทขายส่ ง ได้แก่ ก. ผูท้ าการค้าข้าวให้แก่ผปู ้ ระกอบการค้าข้าวประเภทขายปลีก ข. ผูท้ าการค้า ข้า วเฉลี่ ย ได้ในเดื อนหนึ่ งส าหรั บ ข้าวเปลื อกไม่ น้อยกว่าสี่ สิบเมตริ กตัน หรื อข้าวอย่างอื่นไม่นอ้ ยกว่ายีส่ ิ บห้าเมตริ กตัน ค. ผูท้ าการค้าข้าวโดยมีขา้ วในครอบครอง สาหรับข้าวเปลือก ไม่นอ้ ยกว่าห้าเมตริ กตัน หรื อข้าวอย่างอื่นไม่นอ้ ยกว่าสิ บเมตริ กตันไม่วา่ ข้าวนั้นจะเป็ นของตนเอง หรื อของผูอ้ ื่น (๕) ประเภทขายปลีก ได้แก่ ผูท้ าการขายข้าวให้แก่ประชาชนผูบ้ ริ โภค (๖) ประเภทเรื อข้าว ได้แก่ ผูท้ าการค้าข้าวโดยทางเรื อซึ่ งมีระวางบรรทุก ตั้งแต่สามตันกรอสขึ้นไป


96

(๗) ประเภทค้าเร่ ได้แก่ ผูท้ าการค้าข้าวด้วยวิธีเร่ ไม่ว่าด้วยยานพาหนะ ทางบกใด ๆ ให้รวมถึงการค้าข้าวโดยแผงลอยด้วย (๘) ประเภทท่าข้าว ได้แก่ ผูท้ าการค้าข้าวที่ มีสถานที่จดั ไว้เพื่อการค้า ข้าว และให้รวมถึงตลาดกลางข้าวเปลือกด้วย (ข้อ ๔) ๒. ประกาศคณะกรรมการปฏิ บตั ิ การตามพระราชบัญญัติก ารค้าข้าว พุทธศัก ราช ๒๔๘๙ ฉบับที่ ๑๔๓ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง ให้ผปู้ ระกอบการค้าข้าวขออนุญาตประกอบการค้าข้าว การกาหนดเงื่ อนไขในหนังสื ออนุ ญาตให้ประกอบการค้าข้าว และการสั่งถอนหนังสื ออนุ ญาตให้ ประกอบการค้าข้าว มีสาระสาคัญ ดังนี้ ๒.๑ กาหนดให้ผปู ้ ระกอบการค้าข้าวประเภทค้าข้าวส่ งไปจาหน่ ายต่างประเทศที่ เป็ นผูส้ ่ งออกทัว่ ไป ผูส้ ่ งออกข้าวสารบรรจุกล่องหรื อหี บห่อ ผูส้ ่ งออกชายแดน ประเภทสี ขา้ วที่เป็ น โรงสี ขนาดกลางและโรงสี ขนาดใหญ่ ประเภทขายส่ ง และประเภทท่าข้าว ต้องได้รับหนังสื อ อนุญาตแล้วจึงจะประกอบการค้าข้าวได้ (ข้อ ๓) ๒.๒ กาหนดการยื่นคาขออนุ ญาตของผูค้ า้ ข้าวที่ขออนุ ญาตค้าข้าว และเอกสารที่ ต้องยืน่ ประกอบคาขอ (ข้อ ๖ ) ๒.๓ กาหนดสถานที่ยนื่ คาขออนุญาตประกอบการค้าข้าว โดยผูท้ ี่มีสานักงานแห่ ง ใหญ่ ต้ งั อยู่ใ นกรุ ง เทพมหานครให้ยื่นที่ ก รมการค้า ภายใน ส าหรั บ ผูท้ ี่ มี ส านัก งานใหญ่ ต้ งั อยู่ที่ จังหวัดอื่นให้ยนื่ ที่สานักงานการค้าภายในจังหวัดท้องที่ (ข้อ ๗) ๒.๔ กาหนดขั้นตอนการอนุญาตของพนักงานเจ้าหน้าที่ การขอ ใบแทนหนังสื ออนุญาต การเลิกประกอบการค้าข้าว (ข้อ ๙ ถึงข้อ ๑๗) ๒.๕ กาหนดเงื่อนไขสาหรับการขออนุญาตประกอบการค้าข้าวของผูข้ ออนุญาต ประกอบการค้าข้าวประเภทต่าง ๆ (ข้อ ๑๘ ถึงข้อ ๒๒) ๒.๖ กาหนดการถอนใบอนุ ญาตในความผิดฝ่ าฝื นเงื่ อนไขการอนุ ญาต ครั้งแรก เพิกถอนไม่เกิ นหกเดื อน ครั้งที่สองถอนใบอนุ ญาตไม่เกิ นสองปี และกาหนดการอุ ทธรณ์ คาสั่ง (ข้อ ๒๕ ถึงข้อ ๓๑) ๓. ประกาศคณะกรรมการปฏิ บตั ิ การตามพระราชบัญญัติก ารค้าข้าว พุทธศัก ราช ๒๔๘๙ ฉบับที่ ๑๔๔ พ.ศ. ๒๕๔๘ เรื่ อง แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ มีสาระสาคัญ ดังนี้ ๓.๑ กาหนดให้ผดู ้ ารงตาแหน่งตามที่กาหนดไว้เป็ นพนักงานเจ้าหน้าที่ (ข้อ ๓) ๓.๒ กาหนดให้ผอู ้ านวยการสานักส่ งเสริ มการค้าสิ นค้าเกษตร กรมการค้าภายใน พนักงานเจ้าหน้าที่ สาหรับกรุ งเทพมหานคร และหัวหน้าสานักงานการค้าภายในจังหวัด สาหรับ


97

จังหวัดในเขตท้องที่ มีอานาจรั บคาขอออกหนังสื ออนุ ญาต ต่ออายุหนังสื ออนุ ญาต ภายในเขต ท้องที่รับผิดชอบ (ข้อ ๔) ๓.๓ ก าหนดให้ อ ธิ บดี ก รมการค้ า ภายในพนั ก งานเจ้ า หน้ า ที่ ส าหรั บ กรุ งเทพมหานครผูว้ า่ ราชการจังหวัด สาหรับจังหวัดในเขตท้องที่มีอานาจสั่งถอนหนังสื ออนุ ญาต ประกอบการค้าข้าว และหนังสื ออนุญาตอื่นของพนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตท้องที่ที่รับผิดชอบ(ข้อ ๔ และข้อ ๕) ๓.๔ กาหนดอานาจพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดาเนิ นการ (ข้อ ๖ และข้อ ๗)


98

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ชุดที่ 1 ด้ านการบริหาร ผูท้ ี่จะตอบแบบสอบถามด้านนี้ ได้ดีที่สุด คื อ ผูบ้ ริ หารที่รับผิดชอบด้านการบริ หารของ หน่วยรับตรวจ การสรุ ปคาถามคาตอบในช่อง “คาอธิบาย/คาตอบ” จะนาข้อมูลจากการสังเกตการณ์ การปฏิบตั ิงาน การวิเคราะห์เอกสารหลักฐาน และการสัมภาษณ์ผมู้ ีความรู้ในเรื่ องที่สอบถาม แบบสอบถามด้ านการบริหาร ประกอบด้วยเรื่ องต่าง ๆ ดังนี้ 1. ภารกิจ 1.1 วัตถุประสงค์หลัก 1.2 การวางแผน 1.3 การติดตามผล 2. กระบวนการปฏิบัติงาน 2.1 ประสิ ทธิผล 2.2 ประสิ ทธิภาพ 3. การใช้ ทรัพยากร 3.1 การจัดสรรทรัพยากร 3.2 ประสิ ทธิผลของการใช้ทรัพยากร 4. สภาพแวดล้อมของการดาเนินงาน 4.1 การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับ 4.2 ความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการดาเนินงาน


99

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ด้ านการบริหาร คำถำม 1. ภำรกิจ 1.1 วัตถุประสงค์ หลัก  หน่วยรั บตรวจมีการกาหนดภารกิ จเป็ น ลายลักษณ์อกั ษร  ภารกิจที่กาหนดมีความชัดเจน กะทัดรัด และเข้ าใจง่าย สอดคล้ องกับภารกิจของ องค์ ก รที่ ก ากั บ ดู แ ล (อาทิ กระทรวง ทบวง กรม จังหวัด) เป็ นไปตามกฎหมาย ระเบียบข้ อบังคับที่เกี่ยวข้ องหรื อไม่  มีการประกาศให้ บุคลากรของหน่วยรั บ ตรวจทุ ก คนทราบภารกิ จ ขององค์ ก ร หรื อไม่  ฝ่ ายบริ ห ารมี ก ารก าหนดวัต ถุป ระสงค์ และเป้าหมายการดาเนินงานของหน่วย รับตรวจหรื อไม่  วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ก า ร ดาเนินงานที่กาหนดสอดคล้ องกับภารกิจ และสามารถวัดผลสาเร็ จได้ หรื อไม่  วัต ถุป ระสงค์ ก ารด าเนิ น งานมี ก ารแบ่ ง ออกเป็ นวั ต ถุ ป ระสงค์ ย่ อ ยในระดั บ กิจกรรม หรื อส่วนงานย่อยหรื อไม่  มี ก ารก าหนดวิ ธี ก าร เพื่ อ ให้ บุ ค ลากร เข้ าใจในงานที่ปฏิบตั ิว่าจะช่วยให้ บรรลุ วัต ถุ ป ระสงค์ ข องการด าเนิ น งานของ ส่วนงานย่อย ที่เขาปฏิบตั ิงาน และบรรลุ วั ต ถุ ป ระสงค์ ต ามภารกิ จ ขององค์ ก ร หรื อไม่

มี / ใช่

/ /

/

/

/

/

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


100

คำถำม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

1.2 กำรวำงแผน  ฝ่ ายบริ หารมีการจัดทาแผนเพื่อให้ บรรลุ ตามวั ต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ าหมายการ ดาเนินงานที่กาหนดหรื อไม่  แผนที่ จัดท ามี ก ารก าหนดวัต ถุป ระสงค์ เป้าหมาย วิธีการดาเนินงาน งบประมาณ อัตราก าลังและระยะเวลาด าเนิ นงานไว้ อย่างชัดเจนหรื อไม่  มีการสื่อสารให้ กับบุคลากรที่รับผิดชอบ ปฏิบตั ิตามแผนทราบหรื อไม่  มีการมอบหมายหน้ าที่ความรับผิดชอบ ใ น ก า ร ด า เ นิ น ก า ร ต า ม แ ผ น ใ ห้ แ ก่ เจ้ าหน้ าที่หรื อไม่

/

/

/ /

1.3 กำรติดตำมผล  มีการประเมินความคืบหน้ าของการบรรลุ วัตถุประสงค์ การดาเนินงานขององค์ กร เป็ นครัง้ คราวหรื อไม่ อย่างไร  การประเมินความคืบหน้ าได้ รวมการเปรี ยบ เทียบผลการใช้ จ่ายเงินจริ งกับงบประมาณ และสาเหตุของความแตกต่างของจานวน เงินที่ใช้ จ่ายจริ งกับงบประมาณหรื อไม่  ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม คื บ ห น้ า มี ก า ร ด าเนิ น การในช่ ว งเวลาและความถี่ ที่ เหมาะสมหรื อไม่  มีก ารแจ้ ง ผลการประเมิ น ให้ บุค ลากรที่ รั บผิ ดชอบทราบและแก้ ไขปรั บปรุ ง การ ดาเนินงานหรื อไม่  บุคลากรที่ รับผิ ดชอบได้ ร้ องขอให้ มีการ ทบทวนหรื อ ปรั บ ปรุ ง วัต ถุป ระสงค์ ก าร ด า เ นิ นง า นแ ผ นแ ล ะ ก ร ะ บว นก า ร ดาเนินงานหรื อไม่

/

/

/

/ /


101

คำถำม 2. กระบวนกำรปฏิบัติงำน 2.1 ประสิทธิผล  กระบวนการปฏิ บัติ งานที่สาคัญ ในการ ดาเนินงานตามภารกิจได้ รับการพิจารณา และกาหนดโดยฝ่ ายบริ หารหรื อไม่  ฝ่ ายบริ หารมีการติดตามผลเกี่ยวกับประสิทธิ ผลของกระบวนการปฏิบตั ิงานหรื อไม่  ใ น ช่ ว ง 2 – 3 ปี ที่ ผ่ า น ม า มี ก า ร ประเมิ น ผลการด าเนิ น งานในระดั บ ผ ล ผ ลิ ต ( Output) ห รื อ ผ ล ลั พ ธ์ (Outcome) ขององค์ ก รว่ า บรรลุต าม วัต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ าหมายที่ ก าหนด หรื อไม่  ข้ อเสนอแนะจากมาตรการปรั บ ปรุ ง ประสิทธิ ผลของการดาเนินงานได้ มีการ น าไปปฏิ บัติ แ ละจัด ท าเป็ นเอกสารใน รู ป แบบที่ สามารถแก้ ไขปรั บ ปรุ งได้ ง่ า ย และเป็ นปั จจุบนั หรื อไม่ 2.2 ประสิทธิภำพ  มีการคานวณและเปรี ยบเทียบต้ นทุนของ การดาเนินงานกับผลผลิตหรื อผลลัพธ์ ว่า มีประสิทธิภาพหรื อไม่  มีการเปรี ยบเทียบประสิทธิภาพดังกล่าว กับองค์กรอื่นที่มีลกั ษณะการดาเนินงาน เช่นเดียวกัน หรื อไม่  ข้ อเสนอแนะได้ นามาปรับปรุงแก้ ไขทันต่อ เหตุก ารณ์ แ ละมี ก ารด าเนิ น งานอย่ า ง เหมาะสมหรื อไม่

มี / ใช่

/

/ /

/

/

/

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


102

คำถำม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

3. การใช้ ทรัพยากร

3.1 การจัดสรรทรัพยากร  ทรัพยากรที่มีอยู่ภายในองค์กรได้ รับการ จั ด สรรให้ กั บ กระบวนการด าเนิ น งาน ทังหมดหรื ้ อไม่  ทรัพยากรที่มีการใช้ ประโยชน์ น้อยได้ รับ การแก้ ไขปรับปรุงให้ ดีขึ ้นหรื อไม่  มี ก า ร จั ด ล า ดั บ ค ว า ม ส า คั ญ ข อ ง วัตถุประสงค์การดาเนินงานหรื อไม่  การจัดสรรทรั พยากรได้ ถื อปฏิ บัติอ ย่า ง สม่าเสมอเพื่อให้ องค์กรบรรลุผลที่ดีที่สดุ ในด้ านประสิทธิผลกับประสิทธิภาพหรื อไม่

/

/ / /

3.2 ประสิทธิผลของการใช้ ทรัพยากร  คุณลักษณะเฉพาะตาแหน่ง ของตาแหน่ง ที่ สาคัญ มี ก ารก าหนดหน้ า ที่ ไว้ ชัด เจน และปฏิบตั ิงานตามที่กาหนดหรื อไม่  มี คู่ มื อ แสดงการใช้ อุ ป กรณ์ เครื่ อ งมื อ ระบบสารสนเทศ และการบริ ห ารเงิ น งบประมาณหรื อไม่  มี ก ารก าหนดวิ ธี ป ฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ การ จั ด สรรทรั พ ยากรแต่ ล ะประเภท เพื่ อ สนับสนุนการบรรลุวัตถุประสงค์ ของการ ดาเนินงานหรื อไม่  กรณี ก ารด าเนิ น งานต่ า กว่ า ระดั บ ที่ ก าหนด มี ก ารปฏิ บัติ ที่ เ หมาะสม เพื่ อ ปรับปรุงการดาเนินงานหรื อไม่  บุคลากรยอมรับมาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ที่ก าหนดว่า จะต้ อ งปฏิ บัติ ได้ ใ นระดับ ที่ กาหนดหรื อสูงกว่าหรื อไม่  มี แ ผนการฝึ กอบรมที่ เ พี ย งพอส าหรั บ บุ ค ล า ก ร ใน การ ฝึ กฝ น ทั กษ ะแ ละ

/

/

/

/

/ /


103

คำถำม ความสามารถที่ จ าเป็ นต่ อการปฏิ บัติ งาน หรื อไม่  มีแผนการจูงใจให้บุคลากรพัฒนาทักษะ และความสามารถของตนเองหรื อไม่ 4. สภาพแวดล้ อมของการดาเนินงาน 4.1 การปฏิบัตติ ามกฎ ระเบียบและข้ อบังคับ  มีการระบุกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและ มาตรฐานที่ ส าคั ญ และจ าเป็ นต่ อ การ ดาเนินงานหรื อไม่  มีการกาหนดวิธีการปฏิ บัติตามกฎหมาย ระเบี ยบ ข้ อ บั ง คั บ และมาตรฐานที่ กาหนดหรื อไม่  มี ก ลไกการติ ดตามการปฏิ บั ติ ตาม กฎห มาย ระเ บี ยบ ข้ อ บั ง คั บ และ มาตรฐานหรื อไม่ 4.2 ความสอดคล้ องกั บ สภาพแวดล้ อมการ ดาเนินงาน  มีการระบุปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบที่มี นัยสาคัญต่อการดาเนินงานในอนาคตของ องค์ ก รหรื อไม่ (เช่ น แนวโน้ ม การ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ด้ า น เทคโนโลยี และการออกกฎระเบี ย บ ใหม่ๆ)  มีการติดตามผลและวางแผนป้ องกันหรื อ ลดผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ นจากปั จจั ย ภายนอกหรื อไม่

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

/

/

/

/

/

/


104

การวิเคราะห์ 1. ภารกิจ 1.1 วัตถุประสงค์หลัก วัตถุ ประสงค์หลักของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดวัตถุ ประสงค์หลักได้ อย่างครบถ้วน เหมาะสมแล้ว มีการกาหนดวัตถุประสงค์ ภารกิจ และเป้ าหมายที่ชดั เจน 1.2 การวางแผน การวางแผนของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการจัดทาแผนเพื่อบรรลุ วตั ถุ ประสงค์ที่ ชัดเจน มีการสื่ อสารและมอบหมายให้บุคลากรที่รับผิดชอบปฏิบตั ิตามแผนที่วางไว้ 1.3 การติดตามผล การติ ด ตามผลของบริ ษัท ข้า วไทย จ ากัด มี ก ารประเมิ น ความคื บ หน้ า การ เปรี ยบเทียบผลการใช้จ่ายเงินจริ งกับงบประมาณและระบุสาเหตุความแตกต่างของจานวน เงินที่ใช้จ่ายจริ งกับงบประมาณอยูแ่ ล้ว และยังมีการประเมินความคืบหน้าการดาเนิ นงานใน ช่วงเวลาและความถี่ตามความเหมาะสม สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษัท ควรมี ก ารประเมิ น ความคื บ หน้า ของการบรรลุ ว ัต ถุ ป ระสงค์ก าร ดาเนิ นงานขององค์ก รเป็ นครั้ งคราว เพราะการประเมิ นจะท าให้ทราบถึ ง จุ ด บกพร่ อ งต่ า งๆ ท าให้ ก ารด าเนิ น งานมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้ น และการ ประเมินยังช่วยให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กรได้เร็ วขึ้นอีกด้วย


105

- บริ ษทั ควรมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรที่รับผิดชอบทราบ เพื่อที่จะได้ รู ้ขอ้ ผิดพลาดและสามารถทาการแก้ไขปรับปรุ งได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เพื่อ ทาให้การดาเนินงานบรรลุวตั ถุประสงค์ - บุคลากรที่รับผิดชอบควรร้องขอให้มีการทบทวนหรื อปรับปรุ งวัตถุประสงค์ การดาเนินงานแผนและกระบวนการดาเนินงาน เพื่อให้วตั ถุประสงค์และการ ดาเนินงานมีความสอดคล้องกัน 2. กระบวนการปฏิบตั ิงาน 2.1 ประสิ ทธิผล ประสิ ท ธิ ผ ลของบริ ษทั ข้า วไทย จากัด มี ก ระบวนการปฏิ บ ตั ิ ง านตามภารกิ จที่ ได้รับการพิจารณาและกาหนดโดยฝ่ ายบริ หาร และฝ่ ายบริ หารมี การติ ดตามผลเกี่ ยวกับ ประสิ ทธิ ผลของกระบวนการปฏิ บตั ิงานอยู่แล้ว อีกทั้งยังได้นาข้อเสนอแนะจากมาตรการ ปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ผลของการดาเนิ นงานไปปฏิ บตั ิ และจัดท าเป็ นเอกสารในรู ปแบบที่ สามารถแก้ไขปรับปรุ งได้ง่ายและเป็ นปั จจุบนั 2.2 ประสิ ทธิภาพ ประสิ ท ธิ ผ ลของบริ ษ ัท ข้า วไทย จ ากัด มี ก ารค านวณเปรี ย บเที ย บต้น ทุ น ของการ ด าเนิ น งานกับ ผลผลิ ต และมี ก ารเปรี ย บเที ย บประสิ ท ธิ ภ าพกับ องค์ก รอื่ น ที่ มี ล ัก ษณะการ ดาเนินงานเช่นเดียวกัน อีกทั้งยังได้นาข้อเสนอแนะที่ได้มาปรับปรุ งแก้ไขทันต่อเหตุการณ์และ มีการดาเนินงานอย่างเหมาะสม 3. การใช้ทรัพยากร 3.1 การจัดสรรทรัพยากร


106

การจัดสรรทรัพยากรของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด ทรัพยากรที่มีอยู่ภายในองค์กรได้รับการ จัดสรรให้กบั กระบวนการดาเนินงานทั้งหมดและการจัดสรรได้รับการปฏิบตั ิอย่างสม่าเสมอเพื่อให้ องค์กรบรรลุผลที่ดีที่สุดในด้านประสิ ทธิ ผลกับประสิ ทธิ ภาพ ส่ วนทรัพยากรที่มีการใช้ประโยชน์ น้อยได้รับการแก้ไขปรั บปรุ งให้ดีข้ ึ นและยังได้มีการจัดลาดับความสาคัญของวัตถุ ประสงค์การ ดาเนินงานอีกด้วย 3.2 ประสิ ทธิผลของการใช้ทรัพยากร ประสิ ทธิ ผลของการใช้ทรัพยากรของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดคุณลักษณะ เฉพาะตาแหน่งเอาไว้อย่างชัดเจน และมีการกาหนดวิธีการปฏิบตั ิเกี่ยวกับการจัดสรรทรัพยากรแต่ ละประเภทเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของการดาเนินงาน อีกทั้งยังมีแผนการฝึ กอบรมที่เพียงพอสาหรับ บุคลากรในการฝึ กฝนทักษะและความสามารถที่จาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงาน สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีคู่มือแสดงการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือ ระบบสารสนเทศและการ บริ หารเงินงบประมาณ เพื่อให้ใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือ ระบบสารสนเทศได้อย่าง ถูกต้อง เพื่อให้เกิดประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผล 4. สภาพแวดล้อมของการปฏิบตั ิงาน 4.1 การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับ การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบและข้อบังคับของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการระบุ กฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานที่สาคัญและจาเป็ นต่อการดาเนินงานและมีการ กาหนดวิธีการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐาน อีกทั้งยังมีกลไกการ ติดตามการปฏิบตั ิตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และมาตรฐาน


107

4.2 ความสอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการดาเนินงาน สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีการระบุปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบที่มีนยั สาคัญต่อการ ดาเนินงานในอนาคตขององค์กรเพื่อทาให้สามารถติดตามผลและวางแผน ป้ องกันได้อย่างเหมาะสม - บริ ษทั ควรมีการติดตามผลและวางแผนป้ องกันหรื อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้น จากปัจจัยภายนอกจะได้ปรับเปลี่ยนการดาเนินงานได้อย่างถูกต้อง อีกทั้งยัง สามารถวางแผนการดาเนิ นงานในอนาคตได้อีกด้วย การวางแผนที่ดีจะส่ งผล ให้ลดความผิดพลาดและส่ งเสริ มให้บริ ษทั อยูเ่ หนื อคู่แข่ง


108

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ชุ ดที่ 2 ด้ านการเงิน แบบสอบถามนี้จะช่วยให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับ ความน่าเชื่ อถือของข้อมูลการเงิน และ รายงานการเงิน ผูท้ ี่สามารถตอบแบบสอบถามชุดที่ 2 ได้ดีที่สุด คือ ผูบ้ ริ หารระดับกลาง หรื อกลุ่ม ผูบ้ ริ หารจัดการที่คุน้ เคยกับการดาเนินงานด้านการเงินของหน่วยรับตรวจ แบบสอบถามด้ านการเงิน ประกอบด้วย 1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 1.1 การรับเงิน 1.2 การเบิกจ่ายเงิน 1.3 เงินสดในมือ 1.4 การนาเงินส่ งคลัง 1.5 การบันทึกบัญชี 1.6 เงินทดรอง 2. ทรัพย์สิน 2.1 ความเหมาะสมของการใช้ 2.2 การดูแลรักษาทรัพย์สิน 2.3 การบัญชีทรัพย์สิน 3. รายงานการเงิน 3.1 ข้อมูลการเงิน 3.2 รายงานการเงิน


109

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ด้ านการเงิน คาถาม

มี / ใช่

1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 1.1 การรับเงิน  มี ก ารแบ่ ง แยกหน้า ที่ ด้า นการรั บ เงิ น มิ ใ ห้ บุ ค คลใดบุ ค คลหนึ่ งมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบ มากกว่าหนึ่งลักษณะงานต่อไปนี้ – การอนุมตั ิการรับเงินสด – การเก็บรักษาเงินสด – การบันทึกบัญชีเงินสดและเงินฝากธนาคาร – การกระทบยอดเงินสดและเงินฝากธนาคาร  มี การกาหนดแนวทางปฏิ บัติในการรั บส่ งเงิ น ระหว่างบุ คคลและหน่ วยงานเป็ นลายลักษณ์ อักษรหรื อไม่  การรั บส่ งเงิ นมี เอกสารหลักฐานสนั บสนุ น ครบถ้วนและถูกต้องหรื อไม่  การรับเงิ นโดยการโอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์ มี การยืนยันเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรโดยระบุชื่อผู ้ จ่ายเงินและจานวนเงิน และวัตถุประสงค์การ จ่ายหรื อไม่  มีการกาหนดข้อห้ามมิให้นาเช็คที่รับไปขึ้นเงิน สดหรื อไม่  มีการบันทึ กบัญชี แยกรายการรั บที่ เป็ นเงิ นสด กับรับเป็ นเช็คหรื อไม่  มีการกาหนดให้ผูช้ าระด้วยเช็คธนาคารระบุสั่ง จ่ ายในนามหน่ วยรั บตรวจและขี ดคร่ อมเช็ ค หรื อไม่ อย่างไร  มีการตรวจสอบความถูกต้องและเชื่อถือได้ของ เช็คก่อนรับหรื อไม่  เงิ นสดที่ ได้รั บมี การบันทึ กบัญชี ภายในวันที่ ได้รับเงินนั้นหรื อไม่

/

/

/ /

/ / /

/ /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


110

คาถาม  มีการออกใบเสร็ จรับเงิ นสาหรับการรับเงิ น ทุกครั้งหรื อไม่  ใบเสร็ จรับเงินมีการพิมพ์หมายเลขกากับเล่ม และใบเสร็ จรั บ เงิ น เรี ยงกั น ไปทุ ก ฉบั บ หรื อไม่  มีการจัดทาทะเบียนคุมใบเสร็ จรับเงินหรื อไม่  มีการสรุ ปยอดเงินที่ได้รับทุกวันเมื่อสิ้ นเวลา รับเงินหรื อไม่  มีการตรวจสอบจานวนเงินที่รับกับหลักฐาน การรับและรายการที่ บนั ทึ กไว้ในบัญชี ทุกสิ้ น วันหรื อไม่ 1.2 การเบิกจ่ ายเงิน  มีการแบ่ งแยกหน้าที่ ด้านการเบิ กจ่ายเงิ น มิ ให้บุ คคลใดบุ คคลหนึ่ งมี หน้าที่ รั บผิด ชอบ มากกว่าหนึ่งลักษณะงาน ต่อไปนี้ – การอนุมตั ิการจ่ายเงินสดและเงินฝากธนาคาร – การเก็บรักษาเงินสด – การบันทึกบัญชีเงินสดและเงินฝากธนาคาร – การกระทบยอดเงินสดและเงินฝากธนาคาร  มีการกาหนดระเบียบเกี่ ยวกับการอนุมตั ิเบิ ก จ่ายเงินอย่างชัดเจนหรื อไม่  การเบิ ก จ่ า ยเงิ น มี ใ บส าคัญ หรื อเอกสาร หลักฐานประกอบที่มีการอนุมตั ิอย่างถูกต้อง หรื อไม่  มีการตรวจสอบรายการจ่ายเงินที่บนั ทึกไว้ใน บัญชีกบั หลักฐานการจ่ายทุกสิ้นวันหรื อไม่  มีการกาหนดวงเงินและผูม้ ีอานาจอนุมตั ิการ จ่ายเงินหรื อไม่  มี ม าตรการป้ องกัน และเก็ บ รั ก ษาสมุ ด เช็ ค ธนาคาร ที่ ย งั ไม่ ไ ด้ใ ช้แ ละตรายางชื่ อ ผู ้มี

มี / ใช่ / /

/ / /

/

/ /

/ / /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


111

คาถาม   

อานาจลงนามหรื อไม่ มีการกาหนดให้ผูม้ ี อานาจมากกว่าหนึ่ งคน ร่ วมกันลงนามในเช็คที่สง่ั จ่ายหรื อไม่ มี การตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบการ เบิกจ่ายก่อนการลงนามในเช็คสัง่ จ่ายหรื อไม่ เช็คที่ ลงนามแล้วมีการส่ งให้เจ้าหน้าที่ อื่นที่ มิ ใ ช่ เ ป็ นผู ้จัด เตรี ยมเช็ ค เพื่ อ ช าระให้ แ ก่ เจ้าหนี้หรื อไม่ มีการกาหนดให้การจ่ายเงินโดยการโอนผ่าน ระบบอิ เ ล็กทรอนิ กส์ ต ้อ งได้รั บ อนุ ม ัติ จ าก หัวหน้าส่วนราชการหรื อไม่

 มีการเขียนหรื อประทับตรายางว่า “ชาระเงิน แล้ว” ไว้ในใบสาคัญ จ่ ายและหลักฐานการ จ่ายที่ชาระเงินแล้วหรื อไม่ 1.3 เงินสดในมือ  มี ก ารเก็ บ รั ก ษาเงิ น สดไว้อ ย่ า งปลอดภัย หรื อไม่  มีการนาเงิ นสดที่ได้รับ ฝากธนาคารภายใน วันที่ได้รับเงิน หรื อ วันทาการถัดไปหรื อไม่  การเปิ ดบัญ ชี เ งิ น ฝากธนาคารเป็ นไปตาม ระเบี ย บที่ ก าหนดและได้ รั บ อนุ ม ั ติ จ าก หัวหน้าส่วนราชการหรื อไม่  บัญชี เงิ นฝากธนาคารเปิ ดในนามของหน่ วย รับตรวจหรื อไม่  มีการตรวจรับเงินสดคงเหลือเป็ นครั้งคราวหรื อไม่ 1.4 การนาเงินส่ งคลัง  มี ก ารน าเงิ น ส่ ง คลัง โดยวิธี ก ารที่ ป ลอดภัย และภายในระยะเวลาตามที่กฎหมายกาหนด หรื อไม่  การนาเงินส่ งคลังมีการสอบยันความถูกต้อง

มี / ใช่ / / /

/ /

/ / /

/ / /

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


112

คาถาม ระหว่างผูส้ ่งกับผูร้ ับหรื อไม่ 1.5 การบันทึกบัญชี  มี ก ารบั น ทึ ก เงิ น ที่ ไ ด้ รั บ ในบั ญ ชี เ งิ น สด ภายในวัน ที่ ไ ด้รั บ เงิ น นั้ น หรื อวัน ท าการ ถัดไปหรื อไม่  มีการบันทึกเงินที่นาฝากธนาคารในบัญชีเงิน ฝากธนาคารภายในวันที่นาฝากหรื อไม่  มี ก ารกระทบยอดเงิ น ฝากธนาคารทุ ก สิ้ น เดือนหรื อไม่  มีการบันทึกการจ่ายเงินในบัญชีเงินสด หรื อ มี บัญชี เงิ นฝากธนาคารภายในวันที่ จ่ายเงิ น นั้นหรื อไม่  มี การบันทึ กบัญชี เ งิ นฝากคลัง ทันที ที่ มีการ นาส่งคลังหรื อไม่ 1.6 เงินทดรอง  การเก็บรักษาเงินทดรองคงเหลือเป็ นไปตาม ระเบียบที่กาหนดหรื อไม่  มีการกาหนดวิธีปฏิ บตั ิในการใช้จ่ายเงิ นทด รองไว้อย่างชัดเจนหรื อไม่  การเบิ กชดใช้ เ งิ นทดรองเป็ นไปตาม ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจริ งหรื อไม่  มี การตรวจนับเงิ นทดรองคงเหลื อเป็ นครั้ ง คราวหรื อไม่  มี ก ารกระทบยอดเงิ น ทดรองทุ ก สิ้ น เดื อ น หรื อไม่  มี การติ ด ตามผลเพื่ อ ค้น หาและด าเนิ น การ ยกเลิกเงินทดรองที่ไม่เคลื่อนไหวหรื อไม่

มี / ใช่

/

/ / /

/ / / / / / /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


113

คาถาม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

2. ทรัพย์ สิน 2.1 ความเหมาะสมของการใช้  มีการแบ่งแยกหน้าที่มิให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีหน้าที่รับผิดชอบมากกว่าหนึ่ งลักษณะงาน ต่อไปนี้ – การอนุมตั ิซ้ือ โอน หรื อจาหน่ายทรัพย์สิน – การใช้ทรัพย์สิน – การบันทึกบัญชีทรัพย์สิน – การแก้ไขและกระทบยอดคงเหลื อของ ทรัพย์สิน  การซื้ อและเช่ า ทรั พ ย์ สิ นเป็ นไปตาม ระเบียบที่กาหนดหรื อไม่  มี ก ารก าหนดวัต ถุ ป ระสงค์ ข องการใช้ ทรัพย์สินไว้อย่างชัดเจนหรื อไม่  การใช้ทรัพย์สินที่มีความสาคัญหรื อมูลค่า สู งได้ มี ก ารก าหนดให้ เ ฉพาะผู ้ ไ ด้ รั บ อนุญาตเท่านั้นที่จะใช้ได้  มี ก ารฝึ กอบรมวิธี ก ารใช้ที่ ถู ก ต้อ งให้ แ ก่ ผูใ้ ช้ทรัพย์สินหรื อไม่ 2.2 การดูแลรักษาทรัพย์ สิน  มี การกาหนดมาตรการป้ องกันและรั กษา ทรั พย์สิ นที่ ส าคัญ หรื อมี มู ลค่ าสู งมิ ให้สู ญ หายหรื อเสี ยหายหรื อไม่  มี ก ารติ ด หรื อเขี ย นหมายเลขรหั ส หรื อ หมายเลขครุ ภณ ั ฑ์ไว้ที่ทรัพย์สินทุกรายการ หรื อไม่  มี การมอบหมายผูร้ ั บผิ ดชอบในการดู แ ล รักษาทรัพย์สินหรื อไม่  มีการบารุ งรักษาทรัพย์สินตามระยะเวลาที่ กาหนดหรื อไม่

/

/ / /

/ /

/

/ /


114

คาถาม  มีการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารการประกัน ทรัพย์สินไว้อย่างเหมาะสมหรื อไม่ 2.3 การบัญชีทรัพย์ สิน  บัญชี หรื อทะเบี ยนทรัพย์สินมีรายละเอียด หมายเลข รหัส รายการ สถานที่ ใ ช้ หรื อ สถานที่ เ ก็ บ รั ก ษา และราคาทุ ก สิ้ นปี หรื อไม่  มีการตรวจนับทรัพย์สินประจาปี หรื อไม่  มี ก ารจั ด ท ารายงานผลการตรวจนั บ ทรัพย์สินเปรี ยบเทียบยอดจากการตรวจนับ กับ ทะเบี ย นคุ ม และ/หรื อ บัญ ชี ท รั พ ย์สิ น หรื อไม่

มี / ใช่ /

/

/ /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


115

คาถาม 3. รายงานการเงิน 3.1 ข้ อมูลการเงิน  บัญ ชี แ ยกประเภทมี ก ารบัน ทึ ก รายการ ถูกต้องและครบถ้วนหรื อไม่  สามารถติ ด ตามตรวจสอบรายการจาก เอกสารประกอบรายการ หรื อเอกสาร เบื้องต้นไปยังบัญชีแยกประเภทหรื อไม่  มี ก ารกระทบยอดบัญ ชี ย่ อ ยกับ บัญ ชี คุ ม หรื อ บัญ ชี แ ยกประเภทมี บัญ ชี ย่อ ย หรื อ รายละเอียดประกอบหรื อไม่  นโยบายการบัญชีเป็ นไปตามกฎหมายหรื อ ระเบียบหลักเกณฑ์ที่กาหนดหรื อไม่  มีการสอบทานหรื อตรวจสอบการบันทึ ก บัญชีเป็ นครั้งคราวหรื อไม่  มี การ ฝึ กอ บ ร ม อ ย่ า ง เ พี ย ง พ อ ใ ห้ แ ก่ เจ้าหน้าที่การเงินและการบัญชีหรื อไม่ 3.2 รายงานการเงิน  รายงานทางการเงินจัดทาขึ้นตามระยะเวลา ที่กาหนดหรื อไม่  มี ก ารสอบทานและให้ ค วามเห็ น ชอบ รายงานทางการเงินโดยผูม้ ีอานาจหรื อไม่  มี ก ารประเมิ น ประโยชน์ จ ากรายงาน การเงินเป็ นครั้งคราวหรื อไม่

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

/

/ /

/ / /

/ / /


116

การวิเคราะห์ 1. เงินสดและเงินฝากธนาคาร 1.1 การรับเงิน การรับเงิ นของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการแบ่งแยกหน้าที่ดา้ นการรับเงิ น มิให้บุคคล ใดบุคคลหนึ่ งมีหน้าที่รับผิดชอบมากกว่าหนึ่ งลักษณะงานมีการกาหนดแนวทางปฏิ บตั ิในการรับส่ ง เงิ นระหว่างบุ คคลและหน่ วยงานเป็ นลายลักษณ์ อกั ษรมี การรั บส่ งเงิ นมี เอกสารหลักฐานสนับสนุ น ครบถ้วนและถู กต้อง ส่ วนการรั บเงิ นโดยการโอนผ่านระบบอิ เล็กทรอนิ กส์ มีการยืนยันเป็ นลายลักษณ์ อักษรโดยระบุชื่อผูจ้ ่ายเงินและจานวนเงิน และวัตถุประสงค์การจ่าย มีการกาหนดข้อห้ามมิให้นาเช็คที่ รับไปขึ้นเงิ นสด บริ ษทั มีการบันทึกบัญชี แยกรายการรับที่เป็ นเงิ นสดกับรับเป็ นเช็ค มี การกาหนดให้ผู ้ ชาระด้วยเช็คธนาคารระบุสงั่ จ่ายในนามหน่วยรับตรวจและขีดคร่ อมเช็ค มีการตรวจสอบความถูกต้องและ เชื่ อถื อได้ของเช็ คก่ อนรั บ เงิ นสดที่ ได้รั บมี การบันทึ กบัญชี ภายในวันที่ ได้รั บเงิ นนั้น มี ก ารออก ใบเสร็ จ รั บ เงิ น ส าหรั บ การรั บ เงิ น ทุ ก ครั้ ง ใบเสร็ จ รั บ เงิ น มี ก ารพิ ม พ์ห มายเลขก ากับ เล่ ม และ ใบเสร็ จรับเงินเรี ยงกันไปทุกฉบับ มีการจัดทาทะเบียนคุมใบเสร็ จรับเงิน มีการสรุ ปยอดเงินที่ได้รับ ทุกวันเมื่อสิ้ นเวลารับเงิน มีการตรวจสอบจานวนเงินที่รับกับหลักฐานการรับและรายการที่บนั ทึกไว้ ในบัญชีทุกสิ้ นวัน 1.2 การเบิกจ่ายเงิน การเบิกจ่ายเงินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการแบ่งแยกหน้าที่ดา้ นการเบิกจ่ายเงิน มิ ให้บุค คลใดบุ ค คลหนึ่ ง มี หน้า ที่ รับ ผิดชอบมากกว่า หนึ่ งลักษณะงาน และมี ก ารก าหนดระเบี ย บ เกี่ ยวกับการอนุ มตั ิ เบิ กจ่ายเงิ นอย่างชัดเจน ด้านการเบิ กจ่ายเงิ นมีใบสาคัญหรื อเอกสารหลักฐาน ประกอบที่มีการอนุ มตั ิอย่างถูกต้อง มีการตรวจสอบรายการจ่ายเงินที่บนั ทึกไว้ในบัญชี กบั หลักฐาน การจ่ายทุกสิ้ นวัน บริ ษทั มีการกาหนดวงเงินและผูม้ ีอานาจอนุ มตั ิการจ่ายเงิน มีมาตรการป้ องกันและ เก็บรั กษาสมุ ดเช็คธนาคารที่ ยงั ไม่ได้ใช้และตรายางชื่ อผูม้ ีอานาจลงนามและมีการกาหนดให้ผูม้ ี อานาจมากกว่าหนึ่ งคนร่ วมกันลงนามในเช็คที่สั่งจ่าย มีการตรวจสอบเอกสารหลักฐานประกอบการ เบิกจ่ายก่อนการลงนามในเช็คสั่งจ่าย เช็คที่ลงนามแล้วมีการส่ งให้เจ้าหน้าที่อื่นที่มิใช่เป็ นผูจ้ ดั เตรี ยม เช็ค เพื่อชาระให้แก่เจ้าหนี้ มีการกาหนดให้การจ่ายเงิ นโดยการโอนผ่านระบบอิเล็กทรอนิ กส์ ตอ้ ง


117

ได้รับ อนุ ม ตั ิ จากหัวหน้าส่ วนราชการ มี ก ารเขี ย นหรื อประทับตรายางว่า “ชาระเงิ นแล้ว ” ไว้ใ น ใบสาคัญจ่ายและหลักฐานการจ่ายที่ชาระเงินแล้ว 1.3 เงินสดในมือ เงินสดในมือของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการเก็บรักษาเงินสดไว้อย่างปลอดภัยและนา เงินสดที่ได้รับ ฝากธนาคารภายในวันที่ได้รับเงิน หรื อ วันทาการถัดไป ส่ วนการเปิ ดบัญชี เงินฝาก ธนาคารเป็ นไปตามระเบียบที่กาหนดและได้รับอนุ มตั ิจากหัวหน้าส่ วนราชการ ด้านบัญชี เงิ นฝาก ธนาคารเปิ ดในนามของหน่วยรับตรวจ มีการตรวจรับเงินสดคงเหลือเป็ นครั้งคราว 1.4 การนาเงินส่ งคลัง การนาเงินส่ งคลังของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการนาเงินส่ งคลังโดยวิธีการที่ปลอดภัย และภายในระยะเวลาตามที่ กฎหมายกาหนด และการนาเงิ นส่ งคลังมี ก ารสอบยันความถู กต้อง ระหว่างผูส้ ่ งกับผูร้ ับหรื อไม่ 1.5 การบันทึกบัญชี การบันทึ กบัญชี ข องบริ ษ ทั ข้าวไทย จากัด มี ก ารบันทึ ก เงิ นที่ ได้รับในบัญชี เงิ นสด ภายในวันที่ได้รับเงิ นนั้น หรื อวันทาการถัดไป และมีการบันทึกเงิ นที่นาฝากธนาคารในบัญชี เงิ น ฝากธนาคารภายในวันที่นาฝาก มีการบันทึกการจ่ายเงินในบัญชี เงินสด หรื อมีบญั ชี เงินฝากธนาคาร ภายในวันที่จ่ายเงินนั้น อีกทั้งยังมีการบันทึกบัญชีเงินฝากคลังทันทีที่มีการนาส่ งคลัง สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษัท ควรมี ก ารกระทบยอดเงิ น ฝากธนาคารทุ ก สิ้ น เดื อ น เพื่ อ เป็ นการ ตรวจสอบยอดเงินฝากธนาคารว่ามีการเข้า – ออก ของเงินตามบิลหรื อไม่


118

1.6 เงินทดรอง เงิ นทดรองของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มี การเก็บรั กษาเงิ นทดรองคงเหลื อเป็ นไปตาม ระเบียบที่กาหนดมีการกาหนดวิธีปฏิบตั ิในการใช้จ่ายเงินทดรองไว้อย่างชัดเจน และมีการเบิกชดใช้ เงิ นทดรองเป็ นไปตามค่ า ใช้จ่า ยที่ เกิ ดขึ้ นจริ ง มี ก ารตรวจนับ เงิ นทดรองคงเหลื อเป็ นครั้ งคราว กระทบยอดเงินทดรองทุกสิ้ นเดือน และติดตามผลเพื่อค้นหาและดาเนิ นการยกเลิกเงินทดรองที่ไม่ เคลื่อนไหว 2. ทรัพย์สิน 2.1 ความเหมาะสมของการใช้ ความเหมาะสมของการใช้ของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการแบ่งแยกหน้าที่มิให้บุคคลใด บุ คคลหนึ่ งมี หน้าที่ รับผิดชอบมากกว่าหนึ่ งลักษณะงาน ส่ วนการซื้ อและเช่ าทรั พย์สินเป็ นไปตาม ระเบียบที่กาหนด อีกทั้งยังมีการกาหนดวัตถุประสงค์ของการใช้ทรัพย์สินไว้อย่างชัดเจนและการใช้ ทรัพย์สินที่มีความสาคัญหรื อมูลค่าสู งได้มีการกาหนดให้เฉพาะผูไ้ ด้รับอนุญาตเท่านั้นที่จะใช้ได้ สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีการฝึ กอบรมวิธีการใช้ที่ถูกต้องให้แก่ผใู ้ ช้ทรัพย์สิน เพื่อให้งาน ออกมามีประสิ ทธิ ภาพและใช้ทรัพย์สินได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลมากที่สุด อีกทั้ง ยังยืดอายุการใช้งานของทรัพย์สินนั้นๆอีกด้วย 2.2 การดูแลรักษาทรัพย์สิน การดูแลรักษาทรัพย์สินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดมาตรการป้ องกันและ รักษาทรัพย์สินที่สาคัญ หรื อมีมูลค่าสู งมิให้สูญหายหรื อเสี ยหายและมอบหมายผูร้ ับผิดชอบในการ ดูแลรักษาทรัพย์สิน ส่ วนการบารุ งรักษาทรัพย์สินตามระยะเวลาที่กาหนดและมีการจัดเก็บข้อมูล และเอกสารการประกันทรัพย์สินไว้อย่างเหมาะสม


119

สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษ ัท ควรมี ก ารติ ด หรื อ เขี ย นหมายเลขรหัส หรื อ หมายเลขครุ ภ ัณ ฑ์ ไ ว้ที่ ทรั พ ย์สิ น ทุ ก รายการเพื่ อ ง่ า ยต่ อ การตรวจเช็ ค จ านวน และเพื่ อ ความเป็ น ระเบียบในการยืมและคืนครุ ภณั ฑ์ แต่ละชนิดด้วย 2.3 การบัญชีทรัพย์สิน การบัญชีทรัพย์สินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด บัญชีหรื อทะเบียนทรัพย์สินมีรายละเอียด หมายเลข รหัส รายการ สถานที่ ใ ช้ หรื อ สถานที่ เ ก็ บ รั ก ษา และราคาทุ ก สิ้ น ปี มี ก ารตรวจนับ ทรัพย์สินประจาปี และมีการจัดทารายงานผลการตรวจนับทรัพย์สินเปรี ยบเทียบยอดจากการตรวจ นับกับทะเบียนคุมและ/หรื อบัญชีทรัพย์สิน 3. รายงานการเงิน 3.1 ข้อมูลการเงิน ข้อมูลการเงินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด บัญชี แยกประเภทมีการบันทึกรายการถูกต้อง และครบถ้วน สามารถติดตามตรวจสอบรายการจากเอกสารประกอบรายการ หรื อเอกสารเบื้องต้น ไปยังบัญชี แยกประเภท มีการกระทบยอดบัญชี ย่อยกับบัญชี คุมหรื อบัญชี แยกประเภทมีบญั ชี ย่อย หรื อ รายละเอี ย ดประกอบ ในส่ ว นของนโยบายการบัญ ชี เ ป็ นไปตามกฎหมายหรื อ ระเบี ย บ หลักเกณฑ์ที่กาหนดและมีการสอบทานหรื อตรวจสอบการบันทึกบัญชีเป็ นครั้งคราวอีกด้วย สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีการฝึ กอบรมอย่างเพียงพอให้แก่เจ้าหน้าที่การเงินและการบัญชี เพื่อลดความผิดพลาดในการทางาน และส่ งเสริ มให้การทางานมีความถูกต้อง และน่าเชื่อถือมากขึ้น


120

3.2 รายงานการเงิน รายงานการเงินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด รายงานทางการเงินจัดทาขึ้นตามระยะเวลาที่ กาหนด มีการสอบทานและให้ความเห็นชอบรายงานทางการเงินโดยผูม้ ีอานาจและมีการประเมิน ประโยชน์จากรายงานการเงินเป็ นครั้งคราว


121

ตัวอย่ ำงแบบสอบถำมกำรควบคุมภำยใน ชุดที่ 3 ด้ ำนกำรผลิต แบบสอบถามนี ้จะช่วยให้ ทราบถึงกระบวนการแปรสภาพปั จจัยการผลิตให้ เป็ นสินค้ า มาตรฐานตามที่ ต้ อ งการให้ มี ป ระสิท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให้ ถึ ง มื อลูก ค้ า ด้ ว ยความพึง พอใจสูง สุด ผู้ที่ สามารถตอบแบบสอบถามชุดนี ้ได้ ดีที่สดุ คือ ผู้บริ หารระดับกลาง หรื อผู้บริ หารจัดการเกี่ยวกับการ ผลิตที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการวางแผน การดาเนินการผลิตและการบริหารคลังสินค้ า แบบสอบถำมด้ ำนกำรผลิต ประกอบด้ วย 1. การวางแผนการผลิต 2. การดาเนินการผลิต 3. การบริ หารคลังสินค้ า


122

ตัวอย่ ำงแบบสอบถำมกำรควบคุมภำยใน ด้ ำนกำรผลิต คาถาม 1. การวางแผนการผลิต  มีการวางแผนการผลิตให้สอดคล้องกับแผนการ ขายหรื อไม่  มี ก ารก าหนดมาตรฐานต่ า งๆ ขึ้ นใช้ เช่ น มาตรฐานการปฏิบตั ิงานปริ มาณการใช้วตั ถุดิบ หรื อวัส ดุ สิ้ นเปลื อ งต่ อ หน่ ว ยสิ นค้ า ที่ ผ ลิ ต หรื อไม่  การประมาณการใช้ปัจจัยการผลิตต่างๆ สอดคล้อง กับ แผนการผลิ ต และมาตรฐานที่ ก าหนดไว้ หรื อไม่  การจัดอัตรากาลังสอดคล้องกับแผนการผลิ ต และลักษณะการปฏิบตั ิงาน 2. การดาเนินการผลิต  มีการกาหนดอานาจในการสัง่ ผลิตหรื อไม่  มีการจัดทาใบเบิ กวัสดุซ่ ึ งมีการอนุ มตั ิถูกต้อง และตรงกับรายการผลิตเพื่อเป็ นหลักฐานและ ข้อมูลในการบันทึกต้นทุนการผลิตหรื อไม่  มีการจัดทารายงานผลแตกต่างระหว่างต้นทุน ที่เกิดขึ้นจริ ง กับต้นทุนการผลิตหรื อไม่  มี ก ารก าหนดมาตรฐานของสิ นค้ า และ ตรวจสอบกับ การผลิ ต จริ งอย่ า งสม่ า เสมอ หรื อไม่  มี ก ารตรวจสอบคุ ณ ภาพของสิ นค้ า ตาม มาตรฐานก่อนรับผลผลิตหรื อไม่  มี ก ารจัด ท ารายงานสิ น ค้า ที่ ไ ม่ ไ ด้ม าตรฐาน พร้อมการวิเคราะห์สาเหตุ  มีการบริ หารวัสดุคงคลัง เช่น วัตถุดิบ อะไหล่ และวัส ดุ อื่ น ให้มี ป ริ ม าณพอเหมาะอยู่เสมอ

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

/ /

/ /

/ /

/ / / / /


123

คาถาม

มี / ใช่

ด้วยวิธีการที่เหมาะสม / 3. การบริหารคลังสินค้ า  มีการแบ่งแยกหน้าที่ และความรั บผิดชอบกัน อย่างชัดเจนระหว่างการรับสิ นค้า การส่งสิ นค้า การผลิต และการบันทึกบัญชี  การรั บ จ่ า ยสิ นค้ า เข้ า หรื อออกจากคลั ง มี เอกสารการอนุ ม ัติ โ ดยผู ้มี อ านาจ ทุ ก ครั้ ง หรื อไม่  มีนโยบายการตรวจนับสิ นค้าคงเหลืออยู่เป็ น ประจาและสม่าเสมอ  มีการทารายละเอียดกระทบยอดระหว่างผลที่ ได้จากการตรวจนับกับบัญชี คุมสิ นค้า และมี การอนุมตั ิโดยผูร้ ับผิดชอบการปรับปรุ งบัญชี  มี ม า ต ร ก า ร ใ น ก า ร ต ร ว จ ส อ บ สิ น ค้ า ที่ เคลื่ อ นไหว สิ น ค้า ที่ ล ้า สมัย และสิ น ค้า ขาด บัญชี  มีการจัดทาประกันภัยให้ครอบคลุมมูลค่าของ สิ นค้าที่อยูใ่ นคลัง

/ / /

/ /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


124

การวิเคราะห์ 1. การวางแผนการผลิต การวางแผนการผลิ ตของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มี การวางแผนการผลิ ตให้สอดคล้องกับ แผนการขายและกาหนดมาตรฐานต่างๆ ขึ้นใช้ เช่น มาตรฐานการปฏิบตั ิงาน ปริ มาณการใช้วตั ถุดิบ หรื อวัสดุ สิ้นเปลื องต่อหน่ วยสิ นค้าที่ ผลิ ต ด้านการประมาณการใช้ปัจจัยการผลิ ตต่างๆ สอดคล้องกับ แผนการผลิตและมาตรฐานที่กาหนดไว้และจัดอัตรากาลังสอดคล้องกับแผนการผลิตและลักษณะการ ปฏิบตั ิงาน 2. การดาเนินการผลิต การดาเนิ นงานของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดอานาจในการสั่งผลิตและจัดทาใบ เบิกวัสดุซ่ ึ งมีการอนุมตั ิถู กต้อง และตรงกับรายการผลิ ตเพื่อเป็ นหลักฐานและข้อมูลในการบันทึก ต้นทุ นการผลิ ต มี การกาหนดมาตรฐานของสิ นค้า และตรวจสอบกับการผลิ ตจริ งอย่างสม่ าเสมอ และตรวจสอบคุ ณภาพของสิ นค้าตามมาตรฐานก่ อนรั บผลผลิ ต ส่ วนการบริ หารวัสดุ คงคลัง เช่ น วัตถุดิบ อะไหล่ และวัสดุอื่น ก็มีการบริ หารวัสดุคงคลังให้มีปริ มาณพอเหมาะอยูเ่ สมอด้วยวิธีการที่ เหมาะสม สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีการจัดทารายงานผลแตกต่างระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นจริ งกับต้นทุนการ ผลิ ต เพื่ อ ให้ ท ราบถึ ง ผลการด าเนิ น งานว่า บรรลุ ตามแผนที่ วางไว้ห รื อไม่ จะได้ ปรับปรุ งแก้ไขได้ตรงจุดและทันถ่วงที - บริ ษทั ควรมีการจัดทารายงานสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน พร้อมการวิเคราะห์สาเหตุเพื่อ แก้ไขปั ญหาสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐานให้มีจานวนลดน้อยลงหรื อทาให้สินค้าที่ไม่ได้ มาตรฐานหมดไป


125

3. การบริ หารคลังสิ นค้า การบริ หารคลังสิ นค้าของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบ กันอย่างชัดเจนระหว่างการรับสิ นค้า การส่ งสิ นค้า การผลิ ต และการบันทึกบัญชี ส่ วนการรับจ่าย สิ นค้าเข้าหรื อออกจากคลังมีเอกสารการอนุ มตั ิโดยผูม้ ีอานาจ ทุ กครั้งและมีนโยบายการตรวจนับ สิ นค้าคงเหลืออยูเ่ ป็ นประจาและสม่าเสมอ มีการทารายละเอียดกระทบยอดระหว่างผลที่ได้จากการ ตรวจนับ กับ บัญชี คุ ม สิ น ค้า และมี ก ารอนุ ม ตั ิ โดยผูร้ ั บ ผิ ดชอบการปรั บ ปรุ ง บัญ ชี มี ก ารก าหนด มาตรการในการตรวจสอบสิ น ค้าที่ เคลื่ อ นไหว สิ น ค้า ที่ ล้าสมัย และสิ น ค้า ขาดบัญ ชี แ ละจัด ท า ประกันภัยให้ครอบคลุมมูลค่าของสิ นค้าที่อยูใ่ นคลัง


126

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายใน ชุ ดที่ 4 ด้ านอืน่ ๆ แบบสอบถามนี้ เหมาะส าหรั บผูต้ อบแบบสอบถามที่ เป็ นผูบ้ ริ หารระดับผูจ้ ดั การหรื อกลุ่ ม ผูบ้ ริ หารซึ่ งคุ น้ เคยเกี่ ยวกับการบริ หารบุ คลากร ระบบสารสนเทศและการบริ หารพัสดุ ของหน่ วยรั บตรวจ ข้อสรุ ปคาตอบจะต้องมาจากการสังเกตการณ์ การวิเคราะห์ และการสัมภาษณ์ผมู ้ ีความรู ้ในเรื่ องนี้ แบบสอบถามด้ านอืน่ ๆ ประกอบด้วย 1. การบริหารบุคลากร 1.1 การสรรหา 1.2 ค่าตอบแทน 1.3 หน้าที่ความรับผิดชอบ 1.4 การฝึ กอบรม 1.5 การปฏิบตั ิงานของบุคลากร 1.6 การสื่ อสาร 2. ระบบสารสนเทศ 2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2.2 การป้ องกันดูแลรักษาสารสนเทศ 2.3 ประโยชน์ของสารสนเทศ 3. การบริหารพัสดุ 3.1 เรื่ องทัว่ ไป 3.2 การกาหนดความต้องการ 3.3 การจัดหา


127

3.4 การตรวจรับและการชาระเงิน 3.5 การควบคุมและการแจกจ่าย 3.6 การบารุ งรักษา 3.7 การจาหน่ายพัสดุ


128

ตัวอย่ างแบบสอบถามการควบคุมภายในด้ านอืน่ ๆ คาถาม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

1. การบริหารบุคลากร 1.1 การสรรหา  ฝ่ ายบริ หารมี ก ารก าหนดทั ก ษะและ ความสามารถที่ จ าเป็ นของต าแหน่ ง งาน สาคัญไว้อย่างชัดเจนหรื อไม่  การสอบคัดเลือกบุคลากรเพื่อบรรจุแต่งตั้ง มี ก ารทดสอบทัก ษะและความสามารถ ตามที่ ก าหนดไว้ข องแต่ ล ะต าแหน่ ง งาน หรื อไม่  มีการเผยแพร่ ขอ้ มูลอย่างทั่วถึงในการรั บ สมัครบุคลากรหรื อไม่  มีการกาหนดกระบวนการคัดเลือก เพื่อให้ ได้บุ ค ลากรที่ เ หมาะสมกับ ต าแหน่ ง งาน ที่สุดหรื อไม่ 1.2 ค่ าตอบแทน  มี ก ารจั ด ท าแนวทางการปฏิ บั ติ เ รื่ อง ค่าตอบแทนหรื อไม่  มีการบันทึ กเวลาปฏิ บัติงานของบุ คลากร และมีหวั หน้างานลงนามรับรองใบลงเวลา หรื อไม่  การเลื่อนขั้นเงินเดือนมีการพิจารณาอนุมตั ิ และจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษรหรื อไม่ 1.3 หน้ าทีค่ วามรับผิดชอบ  มี การกาหนดหน้าที่ ความรั บผิดชอบของ บุ ค ลากรแต่ ล ะคนเป็ นลายลัก ษณ์ อ ัก ษร อย่ า งชั ด เจนเพื่ อ ให้ บุ ค ลากรสามารถ ปฏิ บั ติ งานได้ ต ามวั ต ถุ ป ระสงค์ ก าร ดาเนินงานหรื อไม่  การเปลี่ ย นแปลงที่ ส าคั ญ เกี่ ย วกั บ การ มอบหมายงานมี การจัดทาเป็ นลายลักษณ์ อักษรหรื อไม่

/

/

/ /

/ /

/

/

/


129

คาถาม  หน้าที่ ความรั บผิ ดชอบของงานที่ ส าคัญมี การ อนุ มั ติ โ ดยหั ว หน้ า ส่ วนราชการหรื อ ผูบ้ ริ หารสูงสุดหรื อไม่ 1.4 การฝึ กอบรม  มีการพิจารณาความต้องการฝึ กอบรมของ บุคลากรเพื่อพัฒนาทักษะหรื อไม่  มี ก ารจั ด สรรงบประมาณทรั พยากร เครื่ องมื อ และการจั ด ฝึ กอบรมให้ กั บ บุคลากรหรื อไม่ 1.5 การปฏิบัตงิ านของบุคลากร

มี / ใช่ /

/ /

 มี ก ารก าหนดมาตรฐานการปฏิ บัติ ง าน หรื อไม่  มีการประเมินการปฏิบตั ิงานตามมาตรฐาน ที่กาหนดเป็ นครั้งคราว และจัดทาเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษรหรื อไม่  มีการยกย่องหรื อให้รางวัลแก่บุคลากรที่ มี ผลการปฏิ บั ติ ง านสู งกว่ า มาตรฐานที่ กาหนดหรื อไม่  มีการปฏิ บตั ิเพื่อปรับปรุ งการปฏิ บตั ิงานที่ ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนดหรื อไม่ 1.6 การสื่อสาร

/

 มีการสื่ อสารข้อมูลคาสั่งให้บุคลากรระดับ ปฏิบตั ิอย่างต่อเนื่องและสม่าเสมอหรื อไม่  มีการกาหนดวิธีการสื่ อสารเพื่อให้บุคลากร สามารถส่ ง ข้อ เรี ย กร้ อ งหรื อ ข้อ แนะน า ให้กบั ฝ่ ายบริ หารได้หรื อไม่  มีการกาหนดให้ฝ่ายบริ หารติดตามผลและ ตอบข้ อ เรี ยกร้ อ งและข้ อ แนะน าของ บุคลากรหรื อไม่

/

/

/ /

/ /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


130

คาถาม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

2. ระบบสารสนเทศ 2.1 อุปกรณ์ คอมพิวเตอร์  มีการกาหนดนโยบายการนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ในการดาเนินงานหรื อไม่  มีการกาหนดนโยบายของแต่ละส่ วนงาน ย่อยในการดูแลรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ หรื อไม่  ผู ้ไ ด้ รั บ อนุ ม ัติ เ ท่ า นั้ นที่ ส ามารถเข้ า ถึ ง อุปกรณ์คอมพิวเตอร์  มี ข ้อ แนะน าหรื อ ให้การฝึ กอบรมการใช้ อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ กั บ ผู ้ ใ ช้ ค นใหม่ หรื อไม่  เมื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เกิ ดความเสี ยหาย หรื อ ท างานไม่ ไ ด้มี ก ารรายงานให้ท ราบ และมีการแก้ไขได้ทนั ทีหรื อไม่  มีการบารุ งรักษาอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ตาม ระยะเวลาที่กาหนดหรื อไม่  การจั ด ซื้ ออุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ มี ก าร ประสานและวางแผนกับผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อให้ มัน่ ใจว่าในระยะยาวคอมพิวเตอร์ ที่จดั ซื้ อ จะเข้ากันได้กบั คอมพิวเตอร์อื่นหรื อไม่ 2.2 การป้ องกันดูแลรักษาสารสนเทศ  มีการกาหนดคุณสมบัติของผูท้ ี่ รับผิดชอบ ด้านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ  ผู ้ที่ ไ ด้รั บ อนุ ม ัติ เ ท่ า นั้น ที่ ส ามารถเข้า ถึ ง แฟ้ มข้อมูลและโปรแกรม  แฟ้ มข้อ มู ล คอมพิ ว เตอร์ ที่ ส าคั ญ มี ก าร กาหนดให้จดั ทาแฟ้ มสารองและเก็บรักษา หรื อไม่  มี น โยบายควบคุ ม ความเสี่ ย งจากการใช้

/ /

/ /

/

/ /

/ / / /


131

คาถาม

มี / ใช่

อินเตอร์เน็ตหรื อไม่ 2.3 ประโยชน์ ของสารสนเทศ  มีการประเมินประโยชน์ของรายงาน ที่ประมวล จากระบบสารสนเทศเป็ นครั้งคราวหรื อไม่  ผู ้ ใ ช้ มี ก า ร ส า ร ว จ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง สารสนเทศที่ได้รับเป็ นครั้งคราวหรื อไม่  มีการแจ้งให้ผใู ้ ช้ทราบเกี่ยวกับประสิ ทธิ ภาพ ใ ห ม่ ๆ ข อ ง ร ะ บ บ สาร สน เ ท ศ อ ย่ า ง สม่าเสมอหรื อไม่

/ / /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


132

คาถาม 3. การบริหารพัสดุ 3.1 เรื่องทัว่ ไป  มี การแบ่ งแยกหน้าที่ มิให้บุคคลใดบุ คคล หนึ่ งมี ห น้ า ที่ รั บ ผิ ด ชอบมากกว่ า หนึ่ ง ลักษณะงาน ต่อไปนี้ – การขออนุมตั ิจดั ซื้อจัดจ้าง – การจัดซื้อจัดจ้าง – การตรวจรับสิ นค้า/จัดจ้าง – การอนุมตั ิเบิกจ่ายเงิน – การบันทึกบัญชีและทะเบียน  มี ร ะเบี ย บจั ด ซื้ อที่ ค รอบคลุ ม ถึ ง เรื่ อง ต่ อ ไปนี้ (กรณี มิ ไ ด้ ใ ช้ ร ะเบี ย บส านั ก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการพัสดุ) – นโยบายการจัด ซื้ อ เช่ น ซื้ อ จากผู ้ข าย หรื อผูผ้ ลิตโดยตรง – วิธีการคัดเลือก – ขั้นตอนการจัดหา – การทาสัญญา  มีระบบการตรวจสอบเพื่อให้ความมัน่ ใจว่า มี ก ารปฏิ บั ติ ต ามระเบี ยบกฎเกณฑ์ ที่ กาหนด 3.2 การกาหนดความต้ องการ  มี ร ะเบี ย บหรื อวิ ธี ปฏิ บั ติ เ กี่ ยวกั บ การ กาหนดความต้องการพัสดุหรื อไม่  ผูใ้ ช้พสั ดุ เป็ นผูก้ าหนดความต้องการพัสดุ หรื อไม่  การแจ้งความต้องการพัสดุหรื อขอให้จดั หา ได้ระบุรายการหรื อประเภทพัสดุ ปริ มาณ พัส ดุ ก าหนดเวลาต้อ งการอย่า งละเอี ย ด และชัดเจนหรื อไม่

มี / ใช่

/

/

/

/ / /

ไม่ มี / ไม่ ใช่


133

คาถาม  มี ก ารก าหนดระยะเวลา การแจ้ง ความ

มี / ใช่ /

ต้อ งการพัส ดุ ห รื อขอให้ จั ด หาไว้อ ย่ า ง เหมาะสมและเพี ย งพอสาหรั บ การจัด หา เพื่อป้ องกันการจัดหาโดยวิธีพิเศษโดยอ้าง ความเร่ งด่วนหรื อไม่ 3.3 การจัดหา  มีการจัดหาพัสดุตามที่แจ้งความต้องการไว้ หรื อไม่  กาหนดระยะเวลาการดาเนิ นการจัดหาใน

/ /

แต่ ล ะวิ ธี ไ ว้เ หมาะสมและทัน กับ ความ ต้องการหรื อไม่  มี ก ารจัด ท าทะเบี ย นประวัติ ผูข้ ายรวมทั้ง สถิติราคาและปริ มาณไว้หรื อไม่  จัดให้มีการหมุนเวียนเจ้าหน้าที่จดั หาหรื อไม่  จัดทาราคากลางเพื่อใช้เปรี ยบเทียบกับราคา เสนอขายหรื อไม่  มีการเปรี ยบเที ยบราคาซื้ อครั้ งล่าสุ ดและ/ หรื อ ราคาจากผู ้ข ายหลายแห่ ง เพื่ อ ให้ ไ ด้

/ / / /

ราคาที่ดีที่สุดหรื อไม่  การจัด หากระท าโดยหน่ ว ยจัด หา หรื อ พนักงานจัดหา ตามใบแจ้งความต้องการ

/

พัสดุหรื อใบอนุมตั ิจดั หาที่ได้รับอนุมตั ิแล้ว หรื อไม่  กาหนดอานาจอนุมตั ิ โดยพิจารณาจากมูลค่า ของพัสดุหรื อบริ การ เพื่อความคล่องตัวและ

/

รัดกุมในการปฏิบตั ิงานหรื อไม่  มี กา ร จั ด ท าใ บ สั่ ง ซื้ อ แ ล ะ ส าเ น าใ ห้ ผูเ้ กี่ ยวข้อง คือ ผูต้ รวจรับของ ผูแ้ จ้งจัดหา

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


134

คาถาม

มี / ใช่

ไม่ มี / ไม่ ใช่

บัญชี หรื อการเงิน ฯลฯ หรื อไม่  ก าหนดหลัก เกณฑ์ ใ นการจัด ท าสั ญ ญา ชัดเจนและรัดกุมหรื อไม่

/

 ก าหนดรู ป แบบสั ญ ญาที่ เ ป็ นมาตรฐาน หรื อไม่  ใบสัง่ ซื้อจัดทาขึ้นโดยเรี ยงลาดับหมายเลขไว้ ล่วงหน้าและมีการอนุมตั ิการสัง่ ซื้ อหรื อไม่ 3.4 การตรวจรับและการชาระเงิน  มี ก ารก าหนดผู ้มี อ านาจในการตรวจรั บ หรื อไม่  พัส ดุ ที่ ส าคัญ หรื อ มู ล ค่ า สู ง ตรวจรั บ โดย คณะกรรมการตรวจรั บ หรื อพัส ดุ ที่ มี คุ ณ ภาพพิ เ ศษ ตรวจรั บ โดยผูช้ านาญใน เรื่ องนั้นโดยเฉพาะหรื อไม่  ตรวจนับจานวน และชนิดของพัสดุที่ได้รับ กับใบสั่งซื้ อหรื อใบสั่งของ พร้ อมลงนาม ผูต้ รวจรับอย่างน้อย 2 คน ร่ วมกันหรื อไม่  ทดสอบคุณภาพตามข้อกาหนดในใบสัง่ ซื้อ หรื อสัญญาซื้อหรื อไม่  มี การบันทึ กบัญชี อย่างทันกาลและได้รั บ การอนุมตั ิถูกต้องหรื อไม่  มีการติดตามกับผูข้ ายสาหรับสิ นค้าที่ชารุ ด เสี ยหาย และได้รับไม่ครบหรื อไม่  เมื่ อ มี ก ารคื น สิ น ค้า มี เ อกสารลดหนี้ จาก ผูข้ ายหรื อไม่  มีการอนุมตั ิการชาระหนี้หรื อไม่  กาหนดหน่ วยงานที่ ทาหน้าที่ ในการตรวจ จ่ายชาระหนี้หรื อไม่  ใบส าคัญ ที่ จ่ า ยเงิ น แล้ว จะต้อ งมี ก ารท า เครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์เพื่อป้ องกันการ

/ / / /

/

/ / / / / / /


135

คาถาม จ่ายซ้ าหรื อไม่  มีหลักฐานที่แสดงว่าได้มีการตรวจสอบใบส่ ง ของกับใบสั่ งซื้ อในเรื่ องปริ มาณ ราคา ค่ า ขนส่ ง ส่ วนลด (ถ้ามี ) เป็ นไปตามข้อตกลง หรื อไม่ 3.5 การควบคุมและการแจกจ่ าย  มี การจัด ทาบัญ ชี /ทะเบี ย นรั บ - จ่ า ยพัส ดุ แยกเป็ นประเภทและมีหลักฐานประกอบ ทุกรายการหรื อไม่  มี การตรวจสอบความถู กต้อ งของใบเบิ ก และลงบัญ ชี / ทะเบี ย นทุ ก ครั้ งที่ มี การจ่ า ย พัสดุหรื อไม่  การเบิ กจ่ ายพัสดุ ได้รับอนุ มตั ิ จากหัวหน้า หน่วยพัสดุที่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูส้ ่ังจ่าย พัสดุหรื อไม่  มีการเก็บใบเบิ กจ่ ายพัสดุ ไว้เป็ นหลักฐาน เพื่ อ น ามาสอบยัน ความถู กต้อ งของพัส ดุ คงเหลือกับบัญชี/ทะเบียนหรื อไม่  มี ก รรมการ ซึ่ งไม่ ใ ช่ เ จ้ า หน้ า ที่ พั ส ดุ ตรวจสอบการรั บ /จ่ า ยพั ส ดุ ค งเหลื อ ประจาปี ว่าถูกต้องครบถ้วนตรงตามบัญชี / ทะเบียน หรื อไม่  มี การจัดทารายงานผลการตรวจสอบการ รับ - จ่ายพัสดุคงเหลือประจาปี หรื อไม่  กรณี พสั ดุ ชารุ ด เสื่ อมสภาพ สู ญหายหรื อ หมดความจาเป็ นต้องใช้งาน มีการแต่งตั้ง คณะกรรมการสอบหาข้อ เท็ จ จริ ง และ ดาเนินการตามระเบียบหรื อไม่  กรณี พ ัส ดุ สู ญ หายหรื อเสี ย หาย ใช้ ก าร ไม่ได้โดยไม่ทราบสาเหตุ มีการสอบสวน

มี / ใช่ /

/

/

/

/

/

/ /

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


136

คาถาม หาตัวผูร้ ับผิดทางแพ่งและติ ดตามเรี ยกค่า สิ นไหมทดแทนหรื อไม่  มีการให้หมายเลขทะเบียนพัสดุหรื อไม่  สถานที่ จดั เก็บพัสดุ มี การแต่งตั้งเวรยาม รักษาความปลอดภัยหรื อไม่  สถานที่ จั ด เก็ บ พัสดุ มี ก ารประกั น ภัย ไว้ หรื อไม่  มีสถานที่จดั เก็บพัสดุเพียงพอหรื อไม่ 3.6 การบารุงรักษา  มี ก ารจั ด ท าแผนการบ ารุ งรั ก ษาพั ส ดุ หรื อไม่  มี ก ารจั ด ท ารายงานผลการบ ารุ งรั ก ษา เป็ นไปตามแผนหรื อไม่  มี ก า ร จั ด ฝึ ก อ บ ร ม ห รื อ มี คู่ มื อ ก า ร บารุ งรักษาให้แก่ผใู ้ ช้พสั ดุหรื อไม่  มี ก า ร พิ จ า ร ณ า ข้ อ เ ป รี ย บ เ ที ย บ ก า ร บารุ งรักษาระหว่างการดาเนิ นงานเองและ การจ้างหน่วยงานภายนอกหรื อไม่ 3.7 การจาหน่ ายพัสดุ  มีการรายงานพัสดุที่หมดความจาเป็ นหรื อ หากใช้ต่ อ ไปจะสิ้ น เปลื อ งค่ า ใช้จ่ า ยมาก และพั ส ดุ ที่ สู ญหายต่ อ ผู ้ มี อ านาจเพื่ อ พิจารณาให้จาหน่ายพัสดุหรื อไม่  มีการจัดทารายงานการจาหน่ ายพัสดุ ออก จากบัญชีหรื อไม่

มี / ใช่

/ / / / / / / /

/

/

ไม่ มี / ไม่ ใช่


137

การวิเคราะห์ 1. การบริ หารบุคลากร 1.1 การสรรหา

การสรรหาของบริ ษั ท ข้ า วไทย จ ากั ด ฝ่ ายบริ หารมี ก ารก าหนดทั ก ษะและ ความสามารถที่จาเป็ นของตาแหน่งงานสาคัญไว้อย่างชัดเจน มีการเผยแพร่ ขอ้ มูลอย่างทัว่ ถึงในการ รับสมัครบุคลากรและมีการกาหนดกระบวนการคัดเลือก เพื่อให้ได้บุคลากรที่เหมาะสมกับตาแหน่ง งานที่สุด สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง -

บริ ษทั ควรมีการสอบเพื่อคัดเลือกบุคลากร เพื่อทาให้ได้มาซึ่งบุคลากรที่ตรง กับตาแหน่งและมีความรู ้ความสามารถในสายงานนั้นๆ

1.2 ค่าตอบแทน

ค่ า ตอบแทนของบริ ษัท ข้ า วไทย จ ากั ด มี ก ารจัด ท าแนวทางการปฏิ บ ั ติ เ รื่ อง ค่าตอบแทนและมีการบันทึกเวลาปฏิบตั ิงานของบุคลากรและมีหวั หน้างานลงนามรับรองใบลงเวลา ส่ วนการเลื่อนขั้นเงินเดือนมีการพิจารณาอนุมตั ิและจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร 1.3 หน้าที่ความรับผิดชอบ

หน้าที่ความรับผิดชอบของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด การเปลี่ ยนแปลงที่ สาคัญเกี่ ยวกับ การมอบหมายงานมีการจัดทาเป็ นลายลักษณ์ อกั ษร ส่ วนหน้าที่ความรับผิดชอบของงานที่สาคัญมีการ อนุมตั ิโดยหัวหน้าส่ วนราชการหรื อผูบ้ ริ หารสู งสุ ด


138

สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง - บริ ษทั ควรมีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละคนเป็ นลาย ลักษณ์อกั ษร เพื่อบุคลากรจะได้ปฏิ บตั ิงานได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และส่ งผล ให้การดาเนินงานถูกต้องตามวัตถุประสงค์ 1.4 การฝึ กอบรม การฝึ กอบรมของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มี การพิจารณาความต้องการฝึ กอบรมของ บุคลากรเพื่อพัฒนาทักษะและมีการจัดสรรงบประมาณทรัพยากรเครื่ องมือและการจัดฝึ กอบรม ให้กบั บุคลากรหรื อไม่ 1.5 การปฏิบตั ิงานของบุคลากร

การปฏิ บตั ิงานของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดมาตรฐานการปฏิ บตั ิงานและ ประเมินการปฏิบตั ิงานตามมาตรฐานที่กาหนดเป็ นครั้งคราว และจัดทาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร มีการ ยกย่องหรื อให้รางวัลแก่บุคลากรที่มีผลการปฏิ บตั ิงานสู งกว่ามาตรฐานที่กาหนดและมีการปฏิ บตั ิ เพื่อปรับปรุ งการปฏิบตั ิงานที่ต่ากว่ามาตรฐานที่กาหนด 1.6 การสื่ อสาร

การสื่ อสารของบริ ษ ทั ข้า วไทย จากัด มี ก ารสื่ อสารข้อมู ล ค าสั่ ง ให้บุ ค ลากรระดับ ปฏิ บ ตั ิ อย่า งต่ อเนื่ องและสม่ า เสมอ มี ก ารก าหนดวิธี ก ารสื่ อสารเพื่ อ ให้บุ ค ลากรสามารถส่ ง ข้อ เรี ยกร้องหรื อข้อแนะนาให้กบั ฝ่ ายบริ หารได้และให้ฝ่ายบริ หารติดตามผลและ ตอบข้อเรี ยกร้องและ ข้อแนะนาของบุคลากรหรื อไม่ 2. ระบบสารสนเทศ 2.1 อุปกรณ์คอมพิวเตอร์


139

อุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ ข องบริ ษัท ข้า วไทย จ ากัด มี ก ารก าหนดนโยบายการน า คอมพิวเตอร์ มาใช้ในการดาเนิ นงานและนโยบายของแต่ละส่ วนงานย่อยในการดูแลรักษาอุปกรณ์ คอมพิวเตอร์ ผูไ้ ด้รับอนุมตั ิเท่านั้นที่สามารถเข้าถึงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และมีขอ้ แนะนาหรื อให้การ ฝึ กอบรมการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ กบั ผูใ้ ช้คนใหม่ เมื่ออุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เกิดความเสี ยหายหรื อ ท างานไม่ ไ ด้มี ก ารรายงานให้ท ราบและมี ก ารแก้ไ ขได้ท นั ที เนื่ องจากมี ก ารบ ารุ ง รั ก ษาอุ ป กรณ์ คอมพิ วเตอร์ ต ามระยะเวลาที่ ก าหนด ส่ ว นการจัด ซื้ อ อุ ป กรณ์ ค อมพิ วเตอร์ มี ก ารประสานและ วางแผนกับผูเ้ กี่ยวข้อง เพื่อให้มนั่ ใจว่าในระยะยาวคอมพิวเตอร์ ที่จดั ซื้ อจะเข้ากันได้กบั คอมพิวเตอร์ อื่น 2.2 การป้ องกันดูแลรักษาสารสนเทศ

การป้ องกันดูแลรักษาสารสนเทศของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดคุ ณสมบัติ ของผูท้ ี่รับผิดชอบด้านความปลอดภัยของระบบสารสนเทศ ผูท้ ี่ได้รับอนุ มตั ิเท่านั้นที่สามารถเข้าถึง แฟ้ มข้อมูลและโปรแกรม แฟ้ มข้อ มูลคอมพิวเตอร์ ที่สาคัญมีการกาหนดให้จดั ทาแฟ้ มสารองและ เก็บรักษาอย่างดี สิ่ งที่ควรปรับปรุ ง -

บริ ษทั ควรมีนโยบายควบคุมความเสี่ ยงจากการใช้อินเตอร์ เน็ต เพื่อป้ องกัน และควบคุมการทางานของบุคลากร

2.3 ประโยชน์ของสารสนเทศ

ประโยชน์ของสารสนเทศของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการประเมินประโยชน์ของรายงาน ที่ประมวลจากระบบสารสนเทศเป็ นครั้งคราว ด้านผูใ้ ช้ มีการสารวจประโยชน์ของสารสนเทศที่ ได้รับเป็ นครั้งคราวและมี การแจ้งให้ผูใ้ ช้ทราบเกี่ ยวกับประสิ ทธิ ภาพใหม่ๆ ของระบบสารสนเทศ อย่างสม่าเสมอ


140

3. การบริ หารพัสดุ 3.1 เรื่ องทัว่ ไป เรื่ องทัว่ ไปของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการแบ่งแยกหน้าที่มิให้บุคคลใดบุคคลหนึ่ ง มีหน้าที่รับผิดชอบมากกว่าหนึ่งลักษณะงาน มีระเบียบจัดซื้ อที่ครอบคลุมและมีระบบการตรวจสอบ เพื่อให้ความมัน่ ใจว่ามีการปฏิบตั ิตามระเบียบกฎเกณฑ์ที่กาหนด 3.2 การกาหนดความต้องการ การก าหนดความต้อ งการของบริ ษ ัท ข้า วไทย จ ากัด มี ร ะเบี ย บหรื อ วิธี ป ฏิ บ ัติ เกี่ ยวกับการกาหนดความต้องการพัสดุ ส่ วนผูใ้ ช้พสั ดุ เป็ นผูก้ าหนดความต้องการพัสดุ และแจ้ง ความต้องการพัสดุ หรื อขอให้จดั หา ได้ระบุ รายการหรื อประเภทพัสดุ ปริ มาณพัสดุ กาหนดเวลา ต้องการอย่างละเอี ยดและชัดเจน มี การกาหนดระยะเวลา การแจ้งความต้องการพัสดุ หรื อขอให้ จัดหาไว้อย่างเหมาะสมและเพียงพอสาหรับการจัดหา เพื่อป้ องกันการจัดหาโดยวิธีพิเศษโดยอ้าง ความเร่ งด่วน 3.3 การจัดหา การจัดหาของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มี การจัดหาพัสดุ ตามที่แจ้งความต้องการไว้ และกาหนดระยะเวลาการดาเนิ นการจัดหาในแต่ละวิธีไว้เหมาะสมและทันกับความต้องการ มีการ จัดทาทะเบี ยนประวัติผขู ้ ายรวมทั้งสถิ ติราคาและปริ มาณไว้ มีการจัดให้มีการหมุนเวียนเจ้าหน้าที่ จัดหาและจัดทาราคากลางเพื่อใช้เปรี ยบเทียบกับราคาเสนอขาย มีการเปรี ยบเทียบราคาซื้ อครั้งล่าสุ ด และ/หรื อราคาจากผูข้ ายหลายแห่ ง เพื่อให้ได้ราคาที่ดีที่สุด ส่ วนการจัดหากระทาโดยหน่ วยจัดหา หรื อพนักงานจัดหา ตามใบแจ้งความต้องการพัสดุหรื อใบอนุ มตั ิจดั หาที่ได้รับอนุ มตั ิแล้ว กาหนด อานาจอนุมตั ิ โดยพิจารณาจากมูลค่าของพัสดุหรื อบริ การ เพื่อความคล่องตัวและรัดกุมในการปฏิบตั ิงาน มีการจัดทาใบสั่งซื้ อและสาเนาให้ผเู ้ กี่ยวข้อง คือ ผูต้ รวจรับของ ผูแ้ จ้งจัดหา บัญชี หรื อการเงิน ฯลฯ และกาหนดหลักเกณฑ์ในการจัดทาสัญญาชัดเจนและรัดกุม กาหนดรู ปแบบสัญญาที่เป็ นมาตรฐาน ส่ วนใบสั่งซื้ อจัดทาขึ้นโดยเรี ยงลาดับหมายเลขไว้ล่วงหน้าและมีการอนุมตั ิการสั่งซื้ อ


141

3.4 การตรวจรับและการชาระเงิน การตรวจรับและการชาระเงินของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการกาหนดผูม้ ีอานาจใน การตรวจรับพัสดุ ที่สาคัญหรื อมูลค่าสู ง ตรวจรับโดยคณะกรรมการตรวจรับ หรื อพัสดุที่มีคุณภาพ พิเศษ ตรวจรับโดยผูช้ านาญในเรื่ องนั้นโดยเฉพาะและตรวจนับจานวน และชนิ ดของพัสดุที่ได้รับ กับใบสั่งซื้ อหรื อใบสั่งของ พร้อมลงนามผูต้ รวจรับอย่างน้อย 2 คน ร่ วมกัน มีการทดสอบคุณภาพ ตามข้อกาหนดในใบสั่งซื้ อ หรื อสัญญาซื้ อและบันทึกบัญชีอย่างทันกาลและได้รับการอนุ มตั ิถูกต้อง มีการติดตามกับผูข้ ายสาหรับสิ นค้าที่ชารุ ดเสี ยหาย และได้รับไม่ครบ เมื่อมีการคืนสิ นค้า มีเอกสารลด หนี้จากผูข้ าย มีการอนุมตั ิการชาระหนี้ กาหนดหน่วยงานที่ทาหน้าที่ในการตรวจจ่ายชาระหนี้ ส่ วน ใบสาคัญที่จ่ายเงินแล้วจะต้องมีการทาเครื่ องหมายหรื อสัญลักษณ์เพื่อป้ องกันการจ่ายซ้ า มีหลักฐาน ที่แสดงว่าได้มีการตรวจสอบใบส่ งของกับใบสั่งซื้ อในเรื่ องปริ มาณ ราคา ค่าขนส่ ง ส่ วนลด (ถ้ามี) เป็ นไป ตามข้อตกลง 3.5 การควบคุมและการแจกจ่าย การควบคุ มและการแจกจ่ายของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการจัดทาบัญชี /ทะเบียน รับ - จ่ายพัสดุแยกเป็ นประเภทและมีหลักฐานประกอบทุกรายการและตรวจสอบความถูกต้องของ ใบเบิ ก และลงบัญชี /ทะเบี ยนทุ กครั้ งที่ มีก ารจ่า ยพัสดุ การเบิ กจ่ ายพัส ดุ ได้รับอนุ ม ตั ิ จากหัวหน้า หน่วยพัสดุที่ได้รับการแต่งตั้งเป็ นผูส้ ั่งจ่ายพัสดุ มีการเก็บใบเบิกจ่ายพัสดุไว้เป็ นหลักฐานเพื่อนามา สอบยันความถู กต้องของพัสดุ คงเหลื อกับบัญชี /ทะเบี ยนและมีกรรมการ ซึ่ งไม่ใช่ เจ้าหน้าที่พสั ดุ ตรวจสอบการรับ/จ่ายพัสดุคงเหลือประจาปี ว่าถูกต้องครบถ้วนตรงตามบัญชี /ทะเบียน มีการจัดทา รายงานผลการตรวจสอบการรับ – จ่ายพัสดุ คงเหลื อประจาปี กรณี พสั ดุชารุ ด เสื่ อมสภาพ สู ญหาย หรื อหมดความจาเป็ นต้องใช้งาน มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริ ง และดาเนิ นการตาม ระเบียบ กรณี พสั ดุสูญหายหรื อเสี ยหาย ใช้การไม่ได้โดยไม่ทราบสาเหตุ มีการสอบสวนหาตัวผูร้ ับ ผิดทางแพ่งและติดตามเรี ยกค่าสิ นไหมทดแทน มีการให้หมายเลขทะเบียนพัสดุ สถานที่จดั เก็บพัสดุ มีการแต่งตั้งเวรยามรักษาความปลอดภัย สถานที่จดั เก็บพัสดุ มีการประกันภัยไว้ มีสถานที่จดั เก็บพัสดุ เพียงพอ


142

3.6 การบารุ งรักษา การบารุ งรักษาของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการจัดทาแผนการบารุ งรักษาพัสดุและ จัดทารายงานผลการบารุ งรักษาเป็ นไปตามแผน มีการจัดฝึ กอบรมหรื อมีคู่มือการบารุ งรักษาให้แก่ ผูใ้ ช้พ สั ดุ แ ละพิ จ ารณาข้อ เปรี ย บเที ย บการบ ารุ ง รั ก ษาระหว่า งการด าเนิ น งานเองและการจ้า ง หน่วยงานภายนอก 3.7 การจาหน่ายพัสดุ การจาน่ ายพัสดุ ของบริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีการรายงานพัสดุ ที่หมดความจาเป็ น หรื อหากใช้ต่อ ไปจะสิ้ น เปลื อ งค่ า ใช้จ่ า ยมากและพัส ดุ ที่ สู ญ หายต่ อ ผูม้ ี อ านาจเพื่ อ พิ จารณาให้ จาหน่ายพัสดุและจัดทารายงานการจาหน่ายพัสดุออกจากบัญชี


บทที่ 4 สรุปผลการศึกษาข้ อเสนอแนะ เรื่ อง หลักธรรมาภิบาลกับการดารงอยูข่ องอุตสาหกรรมข้ าวไทย ที่สง่ ผลต่อความเชื่อมัน่ ของ รายงานทางการเงิน กรณีศกึ ษาบริ ษัท ข้ าวไทย จากัด หัวข้ อ

ผลการประเมิน / ข้ อสรุป

1. ด้ านการบริหาร

การควบคุม ภายในด้ า นการบริ ห ารของบริ ษั ท ข้ า วไทย จากัด โดยภาพรวมมีการควบคุมภายในด้ านการบริ หารที่ เพียงพอในระดับหนึ่ง สามารถมัน่ ใจได้ ว่า การดาเนินงาน ด้ า นการบริ ห ารเป็ นไปตามภารกิ จ ที่ ก าหนดไว้ และมี กระบวนการปฏิ บัติ ง านและการใช้ ทรั พ ยากรของการ ด าเนิ นง าน ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ า พ และ ประ สิ ท ธิ ผ ล แ ต่ สภาพแวดล้ อมของการดาเนินงาน มีการควบคุมภายใน ด้ านการบริ หารที่ยงั ไม่ดีพอ ควรมีการแก้ ไขปรับปรุงในด้ าน นี ้ เพราะปั จ จั ย ภายนอกอาจมี ผ ลกระทบกั บ บริ ษั ท ใน อนาคต บริษัทควรมีการติดตามผล เพื่อทาการวางแผนการ ทางานในอนาคต

2. ด้ านการเงิน

การควบคุมภายในด้ านการเงินของบริ ษัท ข้ าวไทย จากัด การควบคุม เงิ น สดและเงิ น ฝากธนาคารมี ก ารควบคุม ที่ เพี ย งพอ ท าให้ มั่น ใจได้ ว่ า การรั บ จ่ า ยเงิ น สด เงิ น ฝาก ธนาคารและเงินทดรองเป็ นไปอย่างถูกต้ องตรงตามระเบียบ ที่กาหนดไว้ การบันทึกบัญชีมี ความถูกต้ องและสม่าเสมอ อยูค่ อ่ นข้ างมาก ขาดแต่การกระทบยอดเงินฝากธนาคารทุก สิ ้นเดือน บริ ษัทควรมีการกระทบยอดเงินฝากธนาคารทุก สิ ้นเดือน เพื่อเป็ นการตรวจสอบว่ายอดเงินฝากธนาคารมี


144

หัวข้ อ

ผลการประเมิน / ข้ อสรุป การเคลื่ อนไหวตรงกับบิลหรื อไม่ ส่วนการควบคุมภายใน ด้ านทรัพย์สินมีการควบคุมที่ค่อนข้ างเพีย งพอ สามารถทา ให้ มั่นใจว่าทรั พย์ สินทัง้ หมดมี อยู่ครบถ้ วน และได้ รับการ รักษา รวมทังบั ้ นทึกบัญชีอย่างถูกต้ องและครบถ้ วน แต่ควร มีการปรับปรุ งในเรื่ องของการฝึ กอบรมวิธีการใช้ ที่ถูกต้ อง ให้ แก่ผ้ ใู ช้ ทรัพย์สิน เพื่อการใช้ ทรัพย์สินให้ เกิดประสิทธิผล สูงสุดและช่วยยืดอายุการใช้ งานของทรัพย์สิน อีกทังยั ้ งควร มีการติดหรื อเขียนหมายเลขรหัสไว้ ที่ทรัพย์สินทุกรายการ เพื่ อง่ ายต่อการติดตามทวงถาม ส่วนการควบคุม ภายใน ด้ า นรายงานการเงิ น มี ก ารควบคุม ที่ เ พี ย งพอที่ จ ะสร้ าง ความมั่นใจได้ ว่าข้ อมูลในรายงานการเงินที่จัดทามีความ ถูกต้ อง เชื่ อถื อได้ และมี ประโยชน์ ควรเสริ ม ประสิทธิ การ ควบคุม ภายในด้ านรายงานการเงิน ในส่วนการฝึ กอบรม ให้ แก่เจ้ าหน้ าที่การเงินและบัญชี เพื่อลดข้ อผิดพลาดในการ ทางาน

3. ด้ านการผลิต

การควบคุมภายในด้ านการผลิตของบริ ษัท ข้ าวไทย จากัด มีการควบคุมที่เพียงพอ สามารถทาให้ มนั่ ใจได้ วา่ การผลิตมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพเป็ นไปด้ วยความประหยัด แต่ ควรปรั บ ปรุ ง ในเรื่ อ งของการจัด ท ารายงานผลแตกต่า ง ระหว่างต้ นทุนที่เกิดขึ ้นจริ งกับต้ นทุนการผลิต เพื่อให้ ทราบ ถึงผลการดาเนินงานว่าบรรลุตามแผนที่วางไว้ หรื อไม่ และ ควรปรั บปรุ ง ในเรื่ องของการจัดทารายงานสิ นค้ า ที่ ไ ม่ไ ด้ มาตรฐาน พร้ อมวิ เ คราะห์ ห าสาเหตุ เพื่ อ จะได้ ท าการ วางแผนแก้ ปัญหาดังกล่าว


145

หัวข้ อ 4. ด้ านอื่นๆ

ผลการประเมิน / ข้ อสรุป การควบคุมด้ านอื่นๆของบริ ษัท ข้ าวไทย จากัด ในด้ านการ ควบคุมด้ านการบริ หารบุคลากร มี การควบคุมที่ เพียงพอ สามารถทาให้ มนั่ ใจได้ ว่าบุคลากรจะสามารถปฏิบตั ิงานให้ บรรลุตามวัตถุประสงค์การดาเนินงาน แต่ควรปรับปรุ งใน เรื่ องการสอบคัดเลือกบุคลากร เพื่อทาให้ ได้ มาซึ่งบุคลากรที่ มี ค วามสามารถตรงกับ งานนัน้ ๆ และควรมี ก ารก าหนด หน้ าที่ ค วามรั บ ผิ ด ชอบของบุ ค ลากรแต่ ล ะคนเป็ นลาย ลัก ษณ์ อัก ษร เพื่ อ บุ ค ลากรจะได้ น าไปปฏิ บัติ ไ ด้ อย่ า ง ถูกต้ อง ในด้ านการควบคุมระบบสารสนเทศ มีการควบคุม ที่เพียงพอ ทาให้ มนั่ ใจได้ ว่าระบบสารสนเทศจะช่วยให้ การ ดาเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ ควรมีการปรับปรุ ง อีกเรื่ อง เดียว คือเรื่ องนโยบายการควบคุม ความเสี่ยงจากการใช้ อินเตอร์ เน็ต ควรมีนโยบายการควบคุมความเสี่ยงจากการ ใช้ อิ น เตอร์ เ น็ ต เพื่ อ ป้ องกัน และควบคุม การท างานของ บุ ค ลากร ส่ ว นด้ า นการควบคุม การบริ ห ารพั ส ดุ มี ก าร ควบคุมที่เพียงพอมาก ทาให้ มนั่ ใจได้ อย่างยิ่งว่าการบริ หาร พั ส ดุ เ ป็ นไปอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ผ ล มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ และ ประหยัด เพราะไม่ต้องมีการปรับปรุ งในด้ านใดเลย บริ ษัท ควรรั กษาการควบคุม การบริ หารพัสดุแบบนี เ้ อาไว้ ให้ ไ ด้ ตลอด

จากการศึกษาพบว่า สภาวิชาชีพบัญชีได้ประกาศใช้มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 315 เรื่ อง การระบุและประเมินความเสี่ ยงจากการแสดงข้อมูลที่ขดั ต่อข้อเท็จจริ งอันเป็ นสาระสาคัญ โดยการ ทาความเข้าใจกิจการและสภาพแวดล้อมของกิจการ โดยผูส้ อบบัญชีตอ้ งปฏิบตั ิตามวิธีการประเมิน ความเสี่ ยง และจากการศึ กษาทาความเข้าใจกิ จการและสภาพแวดล้อมกิ จการ และการควบคุ ม ภายในของกิจการ สามารถสรุ ปผลจากการประเมินความเสี่ ยงได้ดงั ต่อไปนี้


146

ความเสี่ ยงสื บเนื่อง ประเด็นที่ 1 ภัยทางธรรมชาติที่ส่งผลต่อการนาข้าว ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กิจการอาจได้รับผลกระทบจากการที่เกิดภัยทางธรรมชาติ เช่น อุทกภัย วาตภัย ก่อ ให้เกิดความเสี ยหายต่อชีวติ และทรัพย์สินของธุ รกิจ โดยที่ราคาข้าวโลกในปี 2556 ไม่น่าจะปรับตัว สู งขึ้นได้มาก หากไม่มีสภาวะความฝื ดเคืองทางอาหารที่ผิดปกติรุนแรง อาทิ ภัยพิบตั ิต่างๆ รวมทั้ง ปริ มาณผลผลิ ตจากประเทศผูผ้ ลิ ตมีแนวโน้มมากขึ้น โดยเฉพาะปริ มาณสตอกข้าวไทย มีอยู่ถึง 15 ล้านตันข้าวสาร และอินเดี ย มีสตอกสารองอย่างน้อย 30 ล้านตัน ทาให้นักวิเคราะห์เชื่ อว่า ไทย จะต้องระบายข้าวไม่ช่วงใดช่ วงหนึ่ ง ทาให้ไทยมี ยอดส่ งออกสู งกว่าปี 55 แต่เชื่ อว่า ราคาจะไม่ ปรับตัวสู งขึ้น แม้รัฐบาล จะตั้งราคารับจานาข้าวเลือกสู งกว่าราคาตลาดค่อนข้างมาก เพื่อดึงราคาใน ประเทศและส่ งออกให้สูงขึ้น แต่ราคาภายในประเทศขณะนี้ ก็ไม่ได้ปรับสู งขึ้นเท่าที่ควร ลักษณะของความเสี่ ยง ทาให้กิจการไม่สามารถดาเนินงานต่อไปได้ แนวทางการแก้ ไข พายุและน้ าท่วมสามารถเกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ ว ควรมีการตื่นตัวเมื่อเกิดพายุฝนตก หนักหรื อหากไม่แน่ ใจ ควรเปิ ดวิทยุหรื อโทรทัศน์เพื่อฟั งพยากรณ์ อากาศและติดตามสถานการณ์ น้ าท่วมฉับพลันสามารถเกิดขึ้นได้ตลอดเวลา ซึ่ งจะมีหน่วยงานสาหรับเตือนภัย เพื่อให้ประชาชนมี เวลารับสถานการณ์ ซึ่ งประชาชนทุกคนควรให้ความร่ วมมือและช่ วยเป็ นหู เป็ นตา หากสัญญาณที่ อาจจะเกิดน้ าท่วมได้ให้ทาการแจ้งหน่วยงานในท้องถิ่น


147

ลักษณะการเตือนภัยมี 4 ประเภท คือ 1. การเฝ้ าระวังน้ าท่วม ( Flood Watch) : มีความเป็ นไปได้ที่จะเกิดน้ าท่วมและ อยูใ่ นระหว่างสังเกตการณ์ 2. การเตือนภัยน้ าท่วม (Flood Warning) : เตือนภัยจะเกิดน้ าท่วม 3. การเตือนภัยน้ าท่วมรุ นแรง (Severe Flood Warning) : เกิดน้ าท่วมอย่างรุ นแรง 4. การกลับสู่ ภาวะปกติ (All Clear) : เหตุการณ์กลับสู่ ภาวะปกติ ภัยธรรมชาติเป็ น สิ่ งเราคาดคะเนได้ยาก ดังนั้นเราต้องเตรี ยมตัวรับมืออยูเ่ สมอ ประเด็นที่ 2 การแข่งขันในด้านการส่ งออกข้าวไทยกับนานาประเทศ ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ กิจการได้รับผลกระทบจากการที่ส่งออกได้น้อยลง เพราะนานาประเทศเลือกรับ ซื้ อข้าวจากประเทศเวียดนามมากกว่า ทาให้กาไรสุ ทธิ ของกิจการลดลง ลักษณะความเสี่ ยง เนื่องจากผูส้ ่ งออกข้าวไทย ต้องเผชิญกับอุปสรรคทั้งจากการแข่งขันที่รุนแรงใน ตลาด ทั้งจากราคาข้าวไทยที่สูงกว่าประเทศคู่แข่ง และปั ญหาสภาวะเศรษฐกิ จโลก รวมทั้งตลาด ยังคงเป็ นของผูซ้ ้ื อ เนื่ องจากประเทศผูผ้ ลิ ตข้าวรายสาคัญ เช่ น เวียดนาม ยังคงส่ งออกต่อเนื่ อง ขณะเดียวกันยังมีการลดราคาแข่งกับประเทศอินเดีย เป็ นปั จจัยฉุ ดราคาข้าวในตลาดโลกให้ลดต่าลง ประกอบกับความต้องการนาเข้าข้าวจากประเทศผูซ้ ้ื อรายใหญ่อย่างจีน อินโดนี เซี ย และฟิ ลิปปิ นส์ ลดลง ทาให้เวียดนามมาชิ งตลาดข้าวไทย อี กทั้งประเทศผูบ้ ริ โภคข้าว หันมาให้ความสาคัญกับ นโยบายพึ่งพาผลผลิตในประเทศ


148

แนวทางการแก้ไข ลดต้นทุนการผลิ ตให้ต่ าลง รวมถึ งการที่ ภาครั ฐที่ เข้ามาแทรกแซงควบคุ มไม่ให้ ราคาข้าวสู งจนเกินไป โครงการประกันราคาข้าวกับรับจานาข้าว การประกันราคาข้าว 1.การประกันราคาข้าวนั้นเป็ นการประกันว่าชาวนาจะขายข้าวได้ไม่ ต่ากว่าหมื่น บ้าน (และจะปรับขึ้นในปี ต่อไป) แม้วา่ ราคาข้าวในท้องตลาดจะเป็ นเท่าไร ทางรัฐจะชดเชยส่ วนที่ ขาดหายไปให้ เช่นถ้าขายได้ 8000 บาท รัฐจะชดเชยให้ 2000 บาท ขายได้ 6000 บาทชดเชยให้ 4000 บาท (ตัวเลขสมมุติ) หมายความว่าชาวนาจะขายข้าวได้หมื่นบาทแน่ นอน (ถ้าข้าวมีความชื้ น 15 เปอร์เซ็นต์) 2.จานวนเกษตรกรจะได้รับประโยชน์จากโครงการนี้มากกว่าตามที่ พรรค ประชาธิ ปัตย์อา้ งแต่ไม่ทราบว่าจริ งหรื อเปล่า 3.ราคาข้าวจะเป็ นไปตามกลไก ตลาดไม่มีการบิดเบือน 4.ปั ญหาทุจริ ตคอรัปชัน่ จากเจ้าหน้าที่รัฐมีนอ้ ยมาก เพราะเงินสู่ มือชาวนาโดยตรง ผ่านธนาคาร 5.แม้เกิดภัยพิบตั ิจากน้าท่วม ศัตรู พืชระบาด ชาวนาก็ได้ส่วนต่างแม้ไม่มีผลผลิต การรับจานาข้าว 1.จากการประกาศจานาราคาข้าวที่ 15,000 บาท ชาวนาจะได้รับเงิน 15,000 เลย (กรณี ขา้ วมีความชื้นที่ 15 เปอร์เซนต์) ซึ่งเป็ นเงินสด 2.ชาวนามีขา้ วจานวนเท่าไรก็ขายได้ตามจานวนผลผลิตที่ได้ ถ้าทาได้ 100 ตันก็ได้ ทั้ง 100 ตัน เป็ นเงิน 1,500,000


149

3.ชาวนาจะได้รับเป็ นเงินสดทันทีเมื่อขายข้าว 4.จะทาให้ราคาข้าวใน ท้องตลาดเพิ่มขึ้น เนื่องจากถ้าพ่อค้าไม่รับซื้ อในราคาสู งก็ ไม่มีขา้ วขายเพราะรัฐจะซื้ อเอง หมด 5.รัฐบาลบอกว่าจะนาข้าวไปขายเองและทาให้ขา้ วราคาสู งขึ้นโดยการเจรจากับ ประเทศที่ผลิตข้าวรายใหญ่ เช่ นเวียดนาม อินเดีย ฯลฯ เพื่อกาหนดราคาข้าวในตลาดโลก (เหมือน กลุ่มโอเปคที่กาหนดราคาน้ ามัน) ถ้ารัฐทาได้จริ งอาจมีกาไรจากการขายข้าวซึ่ งได้กลับมาเป็ นรายได้ ของรัฐ ประเด็นที่ 3 เงินบาทยังมีความผันผวนและมีแนวโน้มยังแข็งค่าต่อเนื่ องตลอดทั้งปี ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ทาให้ราคาข้าวส่ งออกมีราคาสู ง ลักษณะความเสี่ ยง ปั จจัยจากค่าเงินบาทที่มีความผันผวนมากเกินไป เพราะตั้งแต่ตน้ เดือนมกราคม เงินบาทแข็งค่าขึ้นถึงร้อยละ 3 ทาให้เมื่อคานวณตัวเลขการขายข้าวลดลงเฉลี่ยตันละ 30 - 40 เหรี ยญ สหรั ฐต่อตัน และหากแข็งค่าขึ้ นไปอีก จะกระทบต่อยอดการส่ งออกข้าวไทย โดยเฉพาะในเรื่ อง ราคาเป็ นอย่างมาก รวมทั้งอยากให้รัฐบาล เร่ งระบายสตอกข้าว เพราะหากปริ มาณข้าวไทยลดลง จะ ทาให้ระดับราคาดีข้ ึน แนวทางการแก้ไข มาตรการลดผลกระทบค่าเงินบาท 7 มาตรการ ต่อภาครัฐและธนาคารแห่งประเทศ ไทย (ธปท.) ได้แก่ 1.ดูแลค่าเงินบาทไม่ให้มีความผันผวนเร็ วเกินไป


150

2.ดูแลเงินบาทไม่ให้แข็งค่ากว่าคู่แข่งในภูมิภาค โดยเฉพาะอินโดนีเซี ยและ มาเลเซีย 3.ควรมีการผ่อนคลายกฎเกณฑ์การถือครองเงินตราต่างประเทศ 4.การลดวงเงินการทาธุ รกรรมในการป้ องกันความเสี่ ยงและลดค่าใช้จ่ายให้ เหมาะสมกับ สถานการณ์ เพื่อให้ธุรกิ จขนาดกลางและเล็ก (เอสเอ็มอี ) สามารถเข้าถึ งมาตรการ ป้ องกันความเสี่ ยงมากขึ้น 5.ควรมีการแยกบัญชีต่างประเทศระหว่างบัญชีที่เข้ามาลงทุนและบัญชีเก็งกาไร 6.ส่ งเสริ มให้ผปู ้ ระกอบการออกไปลงทุนในต่างประเทศโดยเร่ งแก้ พ.ร.บ.ส่ งเสริ ม การลงทุน 7.ให้ภาครัฐและเอกชนเร่ งลงทุนโครงการโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ความเสี่ ยงควบคุม ประเด็นที่ 1 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ บริ ษทั ไม่มีการประเมินความคืบหน้าของการบรรลุวตั ถุประสงค์การดาเนินงาน ขององค์กรเป็ นครั้งคราว ลักษณะความเสี่ ยง ทาให้การดาเนินงานไม่มีประสิ ทธิ ภาพ และไม่บรรลุวตั ถุประสงค์การดาเนินงาน ที่องค์กรตั้งไว้


151

แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการประเมินความคืบหน้าของการบรรลุวตั ถุประสงค์การดาเนินงาน ขององค์ ก รเป็ นครั้ งคราว เพราะการประเมิ น จะท าให้ ท ราบถึ ง จุ ด บกพร่ อ งต่ า งๆ ท าให้ ก าร ดาเนิ นงานมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นและการประเมินยังช่ วยให้บรรลุ วตั ถุประสงค์ขององค์กรได้เร็ ว ขึ้นอีกด้วย ประเด็นที่ 2 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ บริ ษทั ไม่มีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรที่รับผิดชอบทราบและแก้ไข ปรับปรุ งการดาเนินงาน ลักษณะความเสี่ ยง ทาให้บุคลากรไม่ทราบข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้น แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการแจ้งผลการประเมินให้บุคลากรที่รับผิดชอบทราบ เพื่อที่จะได้รู้ขอ้ ผิดพลาด และสามารถท าการแก้ไ ขปรั บ ปรุ ง ได้อ ย่า งถู ก ต้อ ง เหมาะสม เพื่ อ ท าให้ ก ารดาเนิ นงานบรรลุ วัตถุประสงค์ ประเด็นที่ 3 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ บุคลากรที่รับผิดชอบไม่ได้ร้องขอให้มีการทบทวนหรื อปรับปรุ งวัตถุประสงค์การ ดาเนินงานแผนและกระบวนการดาเนินงาน


152

ลักษณะความเสี่ ยง วัตถุประสงค์และการดาเนินงานไม่มีความสอดคล้องกัน แนวทางการแก้ไข บุคลากรที่รับผิดชอบควรร้องขอให้มีการทบทวนหรื อปรับปรุ งวัตถุประสงค์การ ดาเนิ น งานแผนและกระบวนการด าเนิ น งาน เพื่ อ ให้ว ตั ถุ ป ระสงค์แ ละการด าเนิ นงานมี ค วาม สอดคล้องกัน ประเด็นที่ 4 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีคู่มือแสดงการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือระบบสารสนเทศ และการบริ หารเงิน งบประมาณ ลักษณะความเสี่ ยง มีการใช้เครื่ องมือและอุปกรณ์ไม่ถูกต้อง เครื่ องมือและอุปกรณ์อาจสู ญหายได้ แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีคู่มือแสดงการใช้อุปกรณ์ เครื่ องมือ ระบบสารสนเทศและการบริ หาร เงิ น งบประมาณ เพื่ อ ให้ ใ ช้ อุ ป กรณ์ เครื่ อ งมื อ ระบบสารสนเทศได้อ ย่ า งถู ก ต้อ ง เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล


153

ประเด็นที่ 5 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการระบุปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบที่มีนยั สาคัญต่อการดาเนินงานใน อนาคตขององค์กร ลักษณะความเสี่ ยง ทาให้ไม่มีแผนรับมือกับปั ญหาที่อาจเกิดขึ้น แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการระบุปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบที่มีนยั สาคัญต่อการ ดาเนิ นงานในอนาคตขององค์ก ร เพื่ อท าให้ส ามารถติ ดตามผลและวางแผนป้ องกันได้อย่า ง เหมาะสม ประเด็นที่ 6 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการติดตามผลและวางแผนป้ องกันหรื อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจากปั จจัย ภายนอก ลักษณะความเสี่ ยง ไม่มีแผนรับมือกับผลกระทบที่เกิดจากปั จจัยภายนอก


154

แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการติดตามผลและวางแผนป้ องกันหรื อลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นจาก ปั จจัยภายนอก จะได้ปรั บเปลี่ ยนการดาเนิ นงานได้อย่างถู กต้อง อี กทั้งยังสามารถวางแผนการ ดาเนินงานในอนาคตได้อีกด้วย การวางแผนที่ดีจะส่ งผลให้ลดความผิดพลาดและส่ งเสริ มให้บริ ษทั อยูเ่ หนือคู่แข่ง ประเด็นที่ 7 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการกระทบยอดเงินฝากธนาคารทุกสิ้ นเดือน ลักษณะความเสี่ ยง ยอดเงินฝากธนาคารอาจเข้า-ออกไม่ตรงกับความเป็ นจริ ง แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมี การกระทบยอดเงิ นฝากธนาคารทุ กสิ้ นเดื อน เพื่อเป็ นการตรวจสอบ ยอดเงินฝากธนาคารว่ามีการเข้า – ออก ของเงินตามบิลหรื อไม่ ประเด็นที่ 8 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการฝึ กอบรมวิธีการใช้ที่ถูกต้องให้แก่ผใู ้ ช้ทรัพย์สิน


155

ลักษณะความเสี่ ยง มีการใช้ทรัพย์สินของบริ ษทั ไม่ถูกต้อง อาจก่อให้เกิดความเสี ยหายแก่ทรัพย์สิน ของบริ ษทั ได้ แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการฝึ กอบรมวิธีการใช้ที่ถูกต้องให้แก่ผใู ้ ช้ทรัพย์สิน เพื่อให้งาน ออกมามีประสิ ทธิ ภาพและใช้ทรัพย์สินได้อย่างมีประสิ ทธิ ผลมากที่สุด อีกทั้งยังยืดอายุการใช้งาน ของทรัพย์สินนั้นๆอีกด้วย ประเด็นที่ 9 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่ มี ก ารติ ด หรื อ เขี ย นหมายเลขรหัส หรื อ หมายเลขครุ ภณ ั ฑ์ ไ ว้ที่ ท รั พ ย์สิ น ทุ ก รายการ ลักษณะความเสี่ ยง ทรัพย์สินอาจมีการสู ญหายได้ แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการติดหรื อเขียนหมายเลขรหัสหรื อหมายเลขครุ ภณ ั ฑ์ไว้ที่ทรัพย์สิน ทุกรายการ เพื่อง่ายต่อการตรวจเช็คจานวน และเพื่อความเป็ นระเบียบในการยืมและคืนครุ ภณ ั ฑ์ แต่ ละชนิดด้วย


156

ประเด็นที่ 10 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการฝึ กอบรมอย่างเพียงพอให้แก่เจ้าหน้าที่การเงินและการบัญชี ลักษณะความเสี่ ยง อาจทาให้งานที่ออกมาไม่ถูกต้อง ไม่มีความเชื่อถือ แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการฝึ กอบรมอย่างเพียงพอให้แก่เจ้าหน้าที่การเงินและการบัญชี เพื่อ ลดความผิดพลาดในการทางาน และส่ งเสริ มให้การทางานมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือมากขึ้น ประเด็นที่ 11 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการจัดทารายงานผลแตกต่างระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นจริ งกับต้นทุนการผลิต ลักษณะความเสี่ ยง ทาให้ไม่ทราบต้นทุนที่เกิดจริ ง แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการจัดทารายงานผลแตกต่างระหว่างต้นทุนที่เกิดขึ้นจริ งกับต้นทุน การผลิต เพื่อให้ทราบถึงผลการดาเนินงานว่าบรรลุตามแผนที่วางไว้หรื อไม่ จะได้ปรับปรุ งแก้ไขได้ ตรงจุดและทันถ่วงที


157

ประเด็นที่ 12 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการจัดทารายงานสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐานพร้อมการวิเคราะห์สาเหตุ ลักษณะความเสี่ ยง มีสินค้าที่ไม่ได้มาตรฐานเป็ นจานวนมาก แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการจัดทารายงานสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน พร้อมการวิเคราะห์สาเหตุ เพื่อแก้ไขปั ญหาสิ นค้าที่ไม่ได้มาตรฐานให้มีจานวนลดน้อยลงหรื อทาให้สินค้าที่ไม่ได้มาตรฐาน หมดไป ประเด็นที่ 13 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละคนเป็ นลายลักษณ์อกั ษร อย่างชัดเจน ลักษณะความเสี่ ยง อาจมีหน้าที่ความรับผิดชอบทับซ้อนกัน แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีการกาหนดหน้าที่ความรับผิดชอบของบุคลากรแต่ละคนเป็ นลาย


158

ลักษณ์ อกั ษร เพื่อบุค ลากรจะได้ปฏิ บตั ิงานได้อย่างถู กต้อง ชัดเจน และส่ งผลให้การดาเนิ นงาน ถูกต้องตามวัตถุประสงค์ ประเด็นที่ 14 ผลกระทบทีอ่ าจเกิดขึน้ ไม่มีนโยบายควบคุมความเสี่ ยงจากการใช้อินเตอร์ เน็ต ลักษณะความเสี่ ยง บุคลากรอาจใช้อินเตอร์ เน็ตในทางที่ไม่ถูกต้อง ไม่เกี่ยวกับงาน แนวทางการแก้ไข บริ ษทั ควรมีนโยบายควบคุมความเสี่ ยงจากการใช้อินเตอร์ เน็ต เพื่อป้ องกันและ ควบคุมการทางานของบุคลากร

การประเมินความเสี่ ยงจากการควบคุม สู ง ปานกลาง ต่า ระดับของความเสี่ ยงทีย่ อมรับได้ สู ง ประเมิ น ความ กลาง เสี่ ยงสื บเนื่อง ต่า

ต่ามาก๑ ค่อนข้างต่า๒ กลาง๓

ค่อนข้างต่า๒ กลาง๓ ค่อนข้างสู ง๔

กลาง๓ ค่อนข้างสู ง๔ สู งมาก๕


159

ผลการประเมิน

ความสามารถของผู้ ส อบบั ญชี ที่ ความเสี่ ยงจากการ จะยอมรั บ ความเสี่ ยงจากการ ความเสี่ ยงสื บเนื่อง ตรวจสอบอยู่ใน ควบคุม กลาง

สู ง

ระดับค่อนข้างสู ง๔

จากการประเมิ นความเสี่ ย งสื บ เนื่ องและความเสี่ ย งจากการควบคุ ม ท าให้ผูส้ อบบัญ ชี ยอมรั บระดับความเสี่ ยงที่ ยอมรั บได้ค่อนข้างสู ง และความสามารถของผูส้ อบบัญชี ที่จะยอมรั บ ความเสี่ ยงจากการตรวจสอบอยูใ่ นระดับค่อนข้างสู ง การวิเคราะห์ รายการการเงิน การวิเคราะห์ ตามแนวตั้ง (Common-Size หรือ Vertical analysis) การวิเคราะห์ งบดุ ลตามแนวดิ่ ง จะคานวณว่ารายการแต่ละรายการในงบดุ ลเป็ นร้ อยละ เท่าใดของสิ นทรัพย์รวม หรื อหนี้ สินและทุนรวม เป็ นการศึกษาองค์ประกอบและโครงสร้างของ สิ นทรัพย์และแหล่งเงิ นทุ นที ใช้ ถ้ามีขอ้ มูลหลายๆปี จะแสดงให้เห็ นถึงการเปลี่ ยนแปลงใน ส่ วนประกอบของสิ นทรัพย์และหนี้สิน และส่ วนของผูถ้ ือหุ น้


160

ตัวอย่างการวิเคราะห์ ตามแนวตั้ง (Vertical Analysis) งบกาไรขาดทุน งบการเงินรวม

รายการ รายได้ รายได้หลัก รวมรายได้ ต้ นทุนขาย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ การ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ รวมรายจ่ าย

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

2554

%

2553

%

58,389,146.00 58,755,806.00

72.57 73.02

3,701,883.00 3,777,965.00

7.50 7.65

58,772,128.00 9,132,483.00 3,634,590.00 67,904,612.00

73.05 11.35 4.52 84.40

4,035,954.00 2,027,769.00 551,400.00 6,063,723.00

8.18 4.11 1.12 12.29

สรุ ปได้วา่ บริ ษทั ข้าวไทย จากัด ควรให้ความสาคัญกับรายการ รายได้หลัก และต้นทุน ขาย เนื่องจากมีค่า เปอร์ เซ็นต์ของรายการนั้นสู ง การวิเคราะห์ แนวนอน (Horizontal analysis) เป็ นการวิเคราะห์การเปลี่ ยนแปลงของรายการใดรายการหนึ่ ง โดยการเปรี ยบเทียบรายการ ระหว่าง 2 ปี ทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงของรายการดังกล่าว ทั้งจานวนเงิน และร้อยละโดยใช้ปี แรกเป็ นปี ฐาน


161

ตัวอย่าง การวิเคราะห์ แนวนอน (Horizontal analysis) งบกาไรขาดทุน งบการเงินรวม

ณ วันที่ 31 ธันวาคม

รายการ รายได้ รายได้หลัก รวมรายได้ ต้ นทุนขาย ต้นทุนขาย ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ การ ดอกเบี้ยจ่าย ภาษีเงินได้ รวมรายจ่ าย

2554

2553

การเปลีย่ นแปลง

58,389,146.00 58,755,806.00

3,701,883.00 3,777,965.00

14.77 14.55

58,772,128.00 9,132,483.00 3,634,590.00 67,904,612.00

4,035,954.00 2,027,769.00 551,400.00 6,063,723.00

13.56 3.50 5.59 10.20

สรุ ปได้วา่ บริ ษทั ข้าวไทย จากัด มีรายได้หลักเพิ่มขึ้นจากปี ก่อน แต่ก็มีตน้ ทุนขายเพิ่มขึ้น ด้วยเช่นกัน


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา ปั ญหาความไม่มนั่ คงทางอาหาร 1. ปัญหาความเสื่ อมโทรมของฐานทรัพยากรอาหาร ตลอดการพัฒนาทางเศรษฐกิจหลาย ทศวรรษที่ผ่านมา แม้ประเทศไทยจะมีการเจริ ญเติ บโตทางเศรษฐกิ จจนทาให้ประเทศกลายเป็ น ประเทศที่มีรายได้ระดับกลาง (Medium income country) แต่ก็ตอ้ งแลกกับความเสื่ อมโทรมของฐาน ทรั พยากรธรรมชาติในด้านต่างๆ เช่ น การลดลงของพื้นที่ ป่าไม้ การลดลงของพื้นที่ ป่าไม้ส่งผล กระทบต่ อความอุ ดมสมบูรณ์ ของดิ น การลดลงของความหลากหลายทางชี วภาพ รวมไปจนถึ ง ปั ญหาเกี่ ยวกับความแห้งแล้งด้วย ปั ญหาของทรัพยากรน้ า โดยปั ญหาที่สาคัญที่สุดคือการจัดการ เรื่ องน้ า เพราะแม้วา่ ประเทศไทยมีปริ มาณน้ าท่าเพียงพอต่อความต้องการ แต่มกั จะประสบปั ญหา ขาดแคลนน้ า ในฤดู แ ล้ง และประสบอุ ท กภัย ในฤดู ฝ น และมี โ อกาสมากยิ่ ง ขึ้ นที่ ปั ญ หาการ เปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศที่จะกระทบต่อไทยยิง่ กว่าหลายประเทศในภูมิภาคนี้ การเสื่ อมโทรมของ ดิน ที่ดินเป็ นปั จจัยการผลิ ตที่สาคัญในการผลิตอาหารของประเทศ แต่ที่ผา่ นมามีการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรดิ นอย่างไม่เหมาะสม เกิดปั ญหาชะล้างพังทลายของดินในอัตราสู ง มีการใช้ปุ๋ยเคมี อย่างไม่เหมาะสมและเพิ่มขึ้น พื้นที่ดินของประเทศเกิดปั ญหาความเสื่ อมโทรม เช่น การเกิดดินเค็ม ดินเปรี้ ยว และดินขาดอินทรี ยวัตถุ จนอาจกล่าวได้วา่ ประเทศไทยมีสภาพปั ญหาการเสื่ อมโทรมของ ทรัพยากรดิ นรุ นแรงยิ่งกว่าประเทศเพื่อนบ้านทั้งหมดในภูมิภาคนี้ โดยพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมดของ ประเทศอยูใ่ นสภาวะเสี่ ยงหากไม่มีการจัดการฟื้ นฟูดินอย่างเร่ งด่วน 2. ปั ญหาของระบบการผลิตอาหารที่ไม่ยงั่ ยืน ระบบการผลิตอาหารของไทยซึ่ งในอดีตเป็ น ระบบการผลิ ตแบบผสมผสาน ได้ค่อยๆเปลี่ยนเป็ นการผลิตเชิ งเดี่ ยวที่มีการปลูกพืชหรื อเลี้ ยงสัตว์ อย่า งเดี ยวไม่กี่ ช นิ ดในพื้ นที่ ข นาดใหญ่ หรื อมี ปริ ม าณมากๆ ท าให้เกิ ดปั ญหาต่า งๆตามมาหลาย ประการ เช่น การพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมีการเกษตร เกษตรกรต้องพึ่งพาปุ๋ ยและสารเคมี โลกในยุคโลกาภิ วตั น์กาลังเผชิ ญกับปั ญหาวิกฤตการณ์ อาหารโลกบทบาทของการเป็ น บรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมของกลุ่มบรรษัท และกิ จการธุ รกิจ (Good Corporate


163

and Corporate Social Responsibility) มีความสาคัญมากขึ้นทั้งในแง่ของการเป็ นแนวคิด กลไก และ เครื่ องมือที่สาคัญของการพัฒนาองค์กรธุ รกิ จและการพัฒนาสังคมและสิ่ งแวดล้อมของโลกอย่าง ยัง่ ยืน เช่น การใช้หลักธรรมาภิบาล การผลิตสิ นค้าและบริ การที่ปลอดภัยและเป็ นมิตรต่อผูบ้ ริ โภค และสิ่ งแวดล้อม เป็ นการสร้ างคุณค่าให้กบั องค์กรธุ รกิจนอกจากมูลค่าทางธุ รกิ จที่เกิ ดขึ้นจากการ ประกอบธุ รกิ จแล้วแนวคิดดังกล่ าว ยังสนับสนุ นการเติบโตทางธุ รกิ จควบคู่ไปกับการพัฒนาทาง สังคมที่ เต็มไปด้วยความเก่ ง และความดี ความรั บ ผิดชอบต่อสั งคมของบรรษัท และกิ จการธุ รกิ จ (Corporate Social Responsibility : CSR) มุ่งเน้นให้องค์กรธุ รกิ จดาเนิ นกิ จการทางธุ รกิจที่เป็ น ประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมโดยส่ วนรวมเพื่อชุ มชนที่องค์กรตั้งอยู่ เช่ นการส่ งเสริ มการเรี ยนรู ้ ให้กบั ชุมชน เป็ นต้น โดยคานึงถึงความสอดคล้องกับลักษณะของธุ รกิจที่องค์กรดาเนิ นการและเน้น การมี ส่ วนร่ วมของบุ ค ลากรในองค์ก รเป็ นการดาเนิ นกิ จกรรมภายในและภายนอก ในอันที่ จะ ส่ งเสริ มสร้างความเข้มแข็งและการอยูร่ ่ วมกันในสังคมอย่างปกติสุขการใช้หลักธรรมาภิบาลทาให้ องค์การสามารถเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบริ หารงานได้ อีกทั้งยังเป็ นกลไกในการควบคุมติดตามและ ตรวจสอบโดยมีประชาชนหรื อองค์การภายนอกมี ส่วนร่ วมทั้งนี้ เพื่อป้ องกันไม่ให้เกิดความเสี ยหาย แก่การบริ หารองค์การเพราะการสร้างธรรมาภิบาลให้เกิดขึ้นในองค์การเป็ นการสร้างสานึ กที่ดีใน การบริ หารงาน และการทางานในองค์การและจัดระบบที่สนับสนุ นให้มีการปฏิบตั ิตามสานึ กที่ ดี ไม่ว่าจะเป็ นในเรื่ องของการบริ หารงานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพไม่สิ้นเปลื องการติดตามการทุจริ ต ความโปร่ งใสโดยคานึงถึงผูท้ ี่เกี่ยวข้องที่จะได้รับผลกระทบ การประยุกต์ใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริ หาร การบริ หารงานในรู ปแบบของธรรมาภิบาล นั้นจะเน้นที่การเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่ องมัน่ คงไม่ลม้ ละลาย ไม่เสี่ ยงต่อความเสี ยหาย พนักงานมี ความมัน่ ใจในองค์กรว่าสามารถปฏิบตั ิงานในองค์กรได้ในระยะยาว การนาธรรมมาภิบาลมาใช้ใน การบริ หารนั้น เพื่อให้องค์กรมีความน่าเชื่ อถือและได้รับการยอมรับจากสังคม ส่ วนการบริ หารความเสี่ ยงองค์หากองค์กรมีการบริ หารความเสี่ ยงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ จะ ส่ งผลให้สามารถบรรลุ วตั ถุ ประสงค์องค์กร ทั้งในเชิ งประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลของงานการ บริ หารความเสี่ ยงตามมาตรฐาน COSO


164

1. สภาพแวดล้ อมของการควบคุม (Control Environment) การตรวจสอบภายในถื อเป็ นส่ วนหนึ่ ง ของการควบคุ มภายในและเป็ นเครื่ องมื อทางการ บริ หารที่ทาให้สภาพแวดล้อมของการควบคุมมีคุณภาพ ผูต้ รวจสอบภายในต้องมีความอิสระเพียง พอที่จะรายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลให้แก่ผบู ้ ริ หาร และผูร้ ับผิดชอบการปฏิบตั ิงานที่ ได้รับการตรวจสอบและประเมินผลทั้งนี้ผตู ้ รวจสอบภายในควรได้รับการสนับสนุ นอย่างเหมาะสม จากผูบ้ ริ หาร 2. การประเมินความเสี่ ยง (Risk Assessment) ผูบ้ ริ หารควรกาหนดวิธีการบริ หารความเสี่ ยง และตัดสิ นใจเกี่ยวกับกิจกรรมควบคุมภายในที่ จาเป็ นเพื่อลดหรื อบรรเทาความเสี่ ย งเหล่ านั้นและเพื่อให้บรรลุ ผ ลส าเร็ จตามวัตถุ ป ระสงค์ด้า น ประสิ ท ธิ ภาพ ประสิ ท ธิ ผ ลของการด าเนิ น งาน รายงานทางการเงิ น และการด าเนิ นงานเป็ นที่ น่าเชื่อถือ และการปฏิบตั ิที่เป็ นไปตามกฎหมาย และระเบียบข้อบังคับ ผูบ้ ริ หารระดับส่ วนงาน หรื อ ผู ้ป ระเมิ น ควรจะต้อ งเน้ น การให้ ค วามส าคัญ เกี่ ย วกับ กระบวนการบริ หาร ในการก าหนด วัตถุประสงค์การระบุความเสี่ ยง การวิเคราะห์ความเสี่ ยง และการบริ หารความเสี่ ยงในช่วงของการ เปลี่ยนแปลง และบางเรื่ องมีลกั ษณะเป็ นนามธรรมซึ่ งต้องใช้ดุลยพิ นิจ แต่เรื่ องเหล่านี้ มีความสาคัญ ในการใช้ประเมินความเสี่ ยงว่าเหมาะสมเพียงพอหรื อไม่ 3. กิจกรรมการควบคุม (Control Activities) การกระทาที่สนับสนุ นและส่ งเสริ มการปฏิ บตั ิงานให้เป็ นไปตามนโยบาย วิธีปฏิ บตั ิงาน และคาสั่งต่างๆ ที่ฝ่ายบริ หารกาหนด ซึ่ งจะต้องเป็ นการกระทาที่ถูกต้องและในเวลาที่เหมาะสม จะ เพิ่มความมัน่ ใจในความสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด 4. ข้ อมูลสารสนเทศ และการสื่ อสารในองค์ กร (Information and Communication) ข้ อมูลสารสนเทศเป็ นข้อมูลที่มีความจาเป็ นสาหรับการปฏิบตั ิงานของบุคลากรทั้งผูบ้ ริ หาร และผูป้ ฏิบตั ิงานทุกระดับ โดยผูบ้ ริ หารต้องใช้ขอ้ มูลประกอบการพิจารณาสั่งการ ส่ วนผูป้ ฏิบตั ิงาน มักใช้ขอ้ มูลสารสนเทศเป็ นเครื่ องชี้นาทิศทางการปฏิบตั ิหน้าที่


165

การสื่ อสารระบบการสื่ อสารที่ ดีน้ ัน จะต้องประกอบด้วยทั้ง ระบบการสื่ อสารกันภายใน องค์กรหรื อการสื่ อสารที่เกิดขึ้นภายในองค์กรเดียวกันซึ่ งควรจัดให้เป็ นรู ปแบบการสื่ อสารสองทาง และอีกระบบคือการสื่ อสารภายนอกซึ่ งเป็ นการสื่ อสารกับลูกค้าหรื อบุคคลอื่นๆ นอกองค์กร 5. การติดตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation) การควบคุมภายในขององค์กรจะสมบูรณ์ไม่ได้หากขาดการติดตามและประเมินผล เพราะ เป็ นองค์ป ระกอบส าคัญที่ ท าให้ผูบ้ ริ หารมัน่ ใจได้ว่า มาตรการและระบบการควบคุ มภายในมี ประสิ ทธิ ผลและได้รับการปรับปรุ งให้ทนั สมัยอยูต่ ลอดเวลาการรายงานผลการประเมินและการสั่ง การแก้ไข ต้องจัดท ารายงานผลการประเมิ นที่ สาคัญเสนอผูบ้ ริ หารที่ รับผิดชอบ เช่ น การจัดท า รายงานแสดงผลความคลาดเคลื่อนของการดาเนินงานเป็ นระยะๆ ในฐานะที่บริ ษทั ข้าวไทย จากัด ทาการผลิตข้าว และได้รับผลกระทบจากวิกฤตอาหารโลก ในครั้ งนี้ บริ ษ ทั ควรที่ จะมี ก ารเตรี ย มรั บ มื อ วางแผนปั ญหาที่ อาจจะเกิ ดขึ้ นในอนาคต โดยการ ปรั บปรุ งระบบควบคุ มภายในให้มีประสิ ทธิ ภาพ และดาเนิ นธุ รกิ จตามหลักธรรมาภิ บาล เพื่อให้ บริ ษทั ดาเนิ นกิ จการได้อย่างยัง่ ยืน และการควบคุ มภายในที่ มีป ระสิ ทธิ ภาพจะส่ งผลให้รายงาน การเงิน มีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ


บรรณานุกรม กรณิภา อังคทาภิมณฑ์. 2552. การมีส่วนร่ วมของพนักงานต่ อการดาเนินกิจกรรมด้ าน ความรับผิดชอบต่ อสังคมและสิ่งแวดล้ อมของธนาคารกรุงศรีอยุธยา จากัด (มหาชน). สารนิพนธ์สงั คมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารและนโยบาย สวัสดิการสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทรวงการคลัง. 2544. หลักเกณฑ์ และแนวทางการกากับดูแลที่ดีในรั ฐวิสาหกิจ. ม.ป.ท. กัลยาภรณ์ ปานมะเริง เบอร์ ค. 2546. การบัญชีการเงิน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ท้อป. กองบรรณาธิการประชาชาติธุรกิจ. 2550. CSR: พลังบริหารธุรกิจยุคใหม่ . กรุงเทพมหานคร: มติชน. กิ่งกาญจน์ วรนิทศั น์ และ คณะ. 2552. องค์ การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล. แปลจาก Angelo Kinichi and Brian Williams. 2009. Management 3/e. n.p. เกษรี ณรงค์เดช. 2528. รายงานการเงิน ตามหลักสูตรคณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ การพิมพ์. เกียรติศกั ดิ์ จีรเธียรนาถ. 2543. บรรษัทภิบาลหลักปฏิบัตใิ นโลกแห่ งความจริง. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์ เน็ท. โกศล ดีศีลธรรม. 2554. องค์ กรทาดีเพื่อสังคม. กรุงเทพมหานคร: นาอักษรการพิมพ์. คณะทางานส่งเสริมธรรมาภิบาลของ สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี . ”ธรรมาภิบาล สลค.” [เข้ าถึงได้ จาก]. http://www.socgg.soc.go.th/socClean_index.html (22 ธันวาคม 2555).


168

คณะผู้จดั ทา บริ ษัท เธิร์ดเวฟ คอมมิวนิเคชัน่ . 2537. จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: เธิร์ดเวฟ คอมมิวนิเคชัน่ . คณะผู้จดั ทา สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. 2553. แนวทางการตรวจสอบ ภายในฉบับนักศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จรัส สุวรรณเวลา. 2546. จุดบอดบนทางสู่ธรรมาภิบาล บทบาทของบอร์ ดองค์ การ มหาชน. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิททยาลัย. จอมขวัญ รัชตะวรรณ. 2549. การเปรียบเทียบปั จจัยที่มีผลกระทบต่ อคุณภาพการเปิ ดเผย ข้ อมูลสิ่งแวดล้ อมของบริ ษัทในอุตสาหกรรมการผลิตและอุตสาหกรรมบริการ การวิจัยเชิงประจักษ์ : บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จินตนา บุญบงการ และ ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. 2545. การจัดการเชิงกลยุทธ์ . กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . จินตนา บุญบงการ. 2552. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จินตนา โสมสุดา และคณะ. 2550. การบัญชีการเงิน (Financial Accounting). กรุงเทพมหานคร: ทริปเพิ ้ล เอ็ดดูเคชัน่ . จุฑาภรณ์ เบ้ าทุม. 2550. การเปิ ดเผยข้ อมูลการบัญชีทรั พยากรมนุษย์ ของบริ ษัทที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขา บัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . เจริญ เจษฏาวัลย์. 2545. การวางมาตรฐานธรรมาภิบาล. กรุงเทพมหานคร: พอดี.


169

. ม.ป.ป. การตรวจสอบธรรมาภิบาล ทฤษฎีและภาคปฏิบัต.ิ ม.ป.ท. เฉลิมขวัญ ครุธบุญยงค์. 2554. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. ม.ป.ป. หลักการจัดการ : แนวคิดและสถานการณ์ ธุรกิจปั จจุบัน. 1,000 เล่ม. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. โชติญาณ์ หิตะพงศ์. 2549. ความสัมพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณะของบริษัทกับระดับของ การ เปิ ดเผยข้ อมูลใน”บทรายงานและการวิเคราะห์ ของฝ่ ายบริหาร”ของบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และ ฉัตยาพร เสมอใจ. 2547. การจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. 2548. การบริหารธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . ณัฐวรรณ ศิริธานันท์. 2550. ปั จจัยที่มีผลต่ อระดับการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริษัทที่จด ทะเบียนใน ตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขา บัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ดัสสัน เสมอเชื ้อ. 2550. ปั จจัยที่มีผลต่ อระดับของการเปิ ดเผยข้ อมูล: กรณีศึกษาบริษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, มหาวิทยาลัยบูรพา. ดุษฏี สงวนชาติ และคณะ. 2546. การบัญชีขัน้ กลาง. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.


170

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. 2540. มาตรฐานการบัญชี: แนวทางในการปฏิบัตแิ ละ ตัวอย่ างการเปิ ดเผยข้ อมูล (ตุลาคม 2539). กรุงเทพมหานคร: บุญศิริการพิมพ์. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย และ สมาคมผู้ตรวจสอบภายในแห่งประเทศไทย. 2553. แนว ทางการตรวจสอบภายใน ฉบับนักศึกษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทองทิพภา วิริยะพันธุ์. 2545. ผู้บริหารยุคบรรษัทภิบาล. กรุงเทพมหานคร: อินฟอร์ มีเดีย บุ๊คส์. ธนเกียรติ พรพิพฒ ั น์พงศ์. 2549. ปั จจัยที่มีความสัมพันธ์ กับคุณภาพการเปิ ดเผยความ เสี่ยงของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ บัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธารินี พงศ์สพุ ฒ ั น์. 2552. การบัญชีท่ วั ไป (ปรับปรุงใหม่ ). พิมพ์ครัง้ ที่ 7. ม.ป.ท. ธิตภิ พ ชยธวัช. 2547. ผู้ดีทางธุรกิจ หมายเลข 1. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ ซี.พี. บุ๊ค สแตนดาร์ ด. ธงชัย สันติวงษ์. 2543. องค์ การและการบริหาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 11. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ ไทยวัฒนาพานิช จากัด. นภดล อินนา. 2548. ธุรกิจกับนโยบายสาธารณะในศตวรรษใหม่ . กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์. นภาพร ขันธนภา และ ศานิต ด่านศมสถิต. 2547. จริยธรรมและสภาวะแวดล้ อมทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ท้อป.


171

นภวรรณ เชิดชูวฒ ุ ิกลุ . 2546. การเปิ ดเผยข้ อมูลในรายงานประจาปี ของบริษัทที่จด ทะเบียนใน ตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย : กรณีศึกษาของบริษัทในธุรกิจ พัฒนาอสังหาริมทรั พย์ และอุตสาหกรรมวัสดุก่อสร้ างและเครื่องตกแต่ ง. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นิภา วิริยะพิพฒ ั น์. 2553. “มาตรฐาน ISO 26000 กับการสร้ างแบรนด์องค์กรเพื่อสังคม.” วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย 30 (4): 130. นิมิต จิวะสันติการ. ม.ป.ป. การตรวจสอบและควบคุมภายใน. กรุงเทพมหานคร: แสงจันทร์ การพิมพ์. นุชจรี พิเชฐกุล. 2551. รายงานการเงิน(Financial Reports). พิมพ์ครัง้ ที่ 5. ปทุมธานี: ม.ป.ท. เนตรพัณณา ยาวิราช. 2553. การจัดการสมัยใหม่ . พิมพ์ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพมหานคร: ทริปเพิ ้ล กรุ๊ป. บุญฑริกา ใจกระจ่าง. 2546. ปั จจัยที่มีผลต่ อระดับการเปิ ดเผยข้ อมูลของเครื่ องมือทาง การเงินของธนาคารพาณิชย์ ท่ จี ดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บรรยงค์ โตจินดา. 2545. จริยธรรมทางธุรกิจอุตสาหกรรม. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์. เบญจวรรณ ซื่อสัตย์ และ สราวุธ อนันตชาติ. 2552. “ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรกับ ภาพลักษณ์และชื่อเสียงของตราสินค้ าฮอนด้ า.” วารสารนิเทศศาสตร์ 27 (1): 132. ประภัสสร บุญมี. 2550. ความรู้ เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับการประกอบธุรกิจ. มหาสารคาม: สารคามการพิมพ์.


172

ประภัสสร แสงสีทอง. 2551. ความรู้ และความคิดเห็นของผู้ทาบัญชีต่อมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 56 เรื่องการบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ . วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขา บัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปิ ตพิ ร แหวนทอง. 2549. ความสัมพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณะเฉพาะกับคุณภาพของการ เปิ ดเผยข้ อมูลของสถาบันการเงินที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศ ไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปิ ยนุช ประดับวิทย์. 2551. ปั จจัยที่มีผลต่ อระดับการเปิ ดเผยข้ อมูลของบริษัทที่จด ทะเบียนใน ตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย: กรณีศึกษาธุรกิจพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ และ วัสดุก่อสร้ าง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . ปรี ดิยาธร เทวกุล, ม.ร.ว. และ คณะ. 2545. ธรรมาภิบาลกับความสาเร็จของ SMEs. ม.ป.ท.: เมย์ฟลาวเวอร์ (ประเทศไทย). ปรี เปรม นนทลีรักษ์ และ อัมพร เที่ยงตระกูล และ ขาบธัช ปั ญจมะวัด และคณะ. 2551. การบัญชีการเงิน. พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพมหานคร: แมคกรอ-ฮิล พรนพ พุกกะพันธุ์. 2545. จริยธรรมธุรกิจ ยุคโลกาภิวัตน์ . กรุงเทพมหานคร: จามจุรีโปรดักท์. พัชนี นนทศักดิ์ และ คณะ. 2549. การจัดการสมัยใหม่ . กรุงเทพมหานคร: เพียร์ สนั เอ็ดดูเคชัน่ อินโดไชน่า. แปลจาก Samuel C.Certo. 2005. Modern Management . n.p. พัชรี สาสะกุล. 2554. ความสัมพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณะของบริษัทต่ อการเปิ ดเผยข้ อมูล ความรับผิดชอบต่ อสังคมของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศ ไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาบัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ .


173

พิพฒ ั น์ นนทนาธรณ์. 2553. การจัดการความรับผิดชอบต่ อสังคมขององค์ กร. นนทบุรี: ธิงค์ บียอนด์ กรุ๊ป. พิภพ วชังเงิน. 2549. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: อมรการพิมพ์. พิมพ์ลภัส ชาญสมิง. 2553. การศึกษาปริมาณการเปิ ดเผยข้ อมูลความรั บผิดชอบต่ อสังคม ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. งานนิพนธ์บญ ั ชี มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี, มหาวิทยาลัยบูรพา. ไพศาล มะระพฤกษ์ วรรณ และคณะ. 2539. การจัดการ. กรุงเทพมหานคร: แมคกรอ- ฮิล. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2532. เอกสารการสอนชุดวิชา 32204 การบัญชีขัน้ ต้ น. นนทบุรี: มหาวิทยลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2538. เอกสารการสอนชุดวิชาการบัญชีและกฎหมาย ธุรกิจ. นนทบุรี: มหาวิทยลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มัลลิกา ต้ นสอน. 2544. การจัดการยุคใหม่ (Modern Management). กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์ เน็ท. ยรรยง ธรรมธัชอารี . 2549. อุดรู ร่ ั ว (ในองค์ กร) ก่ อนลื่นล้ ม. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . . 2553. เรี ยนรู้ จากคา ฉบับปรั บปรุ งใหม่ . กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ . วรศักดิ์ ทุมมานนท์. 2547. มิตใิ หม่ ของงบการเงินและการวิเคราะห์ . กรุงเทพมหานคร: ธรรมนิติ เพรส.


174

วัญเพ็ญ วศินารมณ์. 2553. การวิเคราะห์ รายงานทางการเงิน. พิมพ์ครัง้ ที่ 6. ม.ป.ท. วันฤดี สุขสงวน. 2554. การบัญชีขัน้ ต้ น. พิมพ์ครัง้ ที่ 4. กรุงเทพมหานคร: เอ็ม แอนด์ เอ็ม เลเซอร์ พริน้ ต์. วิเชษฐ์ โรจนสุกาญจน และ ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร. 2547. “การบัญชีเพื่อความรับผิดชอบต่อ สังคม.” วารสารบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์ และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 27 (103): 1-12. วิเชียร วิทยอุดม. 2554. การจัดการสมัยใหม่ . กรุงเทพมหานคร: ธนธัช การพิมพ์. วิทยา ด่านธารงกูล. 2546. การบริหาร. กรุงเทพมหานคร: เธิร์ดเวฟ คอมมิวนิเคชัน่ . วิมล จันทร. 2552. ความคิดเห็นของพนักงานต่ อกิจกรรมความรับผิดชอบต่ อสังคม บริษัทแปลน ครีเอชั่นส์ จากัด. วิทยานิพนธ์สงั คมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต สาขา การบริ หารและนโยบายสวัสดิการสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . วิมลฤดี ทัศคร. 2551. ผลกระทบของความรู้ ความสามารถด้ านนวัตกรรมที่มีต่อ ความสาเร็จในการทางานของผู้สอบบัญชีรับอนุญาตในสานักงานบัญชี. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม วิรัช สงวนวงศ์วาน. ม.ป.ป. องค์ การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: แมส พับลิชชิ่ง. วิลาวรรณ รพีพิศาล. 2550. หลักการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์วิจิตร หัตถกร. วิไล วีระปรี ย และ จงจิตต์ หลีกภัย. 2542. พิมพ์ครัง้ ที่16. ระบบบัญชี. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


175

ศิริวรรณ เสรี รัตน์. 2545. องค์ การและการจัดการ ฉบับสมบูรณ์ ปรั บปรุ งใหม่ ล่าสุด. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร. ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร และ นิพนั ธ์ เห็นโชคชัยชนะ. 2551. ทฤษฎีการบัญชี. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. ศิลปพร ศรี จนั่ เพชร และ เมธากุล เกียรติกระจาย. ม.ป.ป. ทฤษฎีการบัญชี. พิมพ์ครัง้ ที่ 10. กรุงเทพมหานคร: ทีพีเอ็น เพรส. ศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้ าไทย และ บริ ษัท เธิร์ดเวฟ คอมมิวนิเคชัน่ จากัด. 2537. จริยธรรมทางธุรกิจ. สยามศิลปการพิมพ์. เสน่ห์ จุ้ยโต. 2545. องค์ การสมัยใหม่ . นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สมคิด บางโม. 2551. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: พัฒนวิทย์การพิมพ์. สมเดช โรชน์ครุ ี เสถียร และ คณะ. 2552. ก้ าวทันกับ 9 มาตรฐานการบัญชีปัญหาภาษีอากร ที่จาเป็ นต่ อธุรกิจ. ม.ป.ท. สาคร สุขศรี วงศ์. ม.ป.ป. การจัดการ: จากมุมมองนักบริหาร. พิมพ์ครัง้ ที่ 7. กรุงเทพมหานคร: จี.พี.ไซเบอร์ พรินท์. สานักส่งเสริมและประมวลชนส่วนส่งเสริมการมีสว่ นร่วม. “วิกฤตการณ์ อาหารโลก.” [เข้ าถึงได้ จาก]. http://intranet.dwr.go.th/bmpc/karkomru/feb%2055.pdf (22 ธันวาคม 2555). สุธี ขวัญเงิน. 2548. หลักการบัญชีการเงิน. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน่ .


176

สุธีรา วิเศษกุล. 2539. ทฤษฎีบัญชี. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ . สุนิสา บุญช่วยชู. 2554. ปั จจัยที่มีผลต่ อการเปิ ดเผยข้ อมูลสิ่งแวดล้ อมของบริ ษัทจด ทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขา บัญชี, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . สุพฒ ั น์ อุปนิกขิต. 2536. กลยุทธ์ การทาบัญชีให้ มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์ธรรมนิติ สุพฒ ั น์ อุปนิกขิต. 2521. เคล็ดลับการจัดทางบการเงินตามหลักสูตรการบัญชีและภาษี อากร. กรุงเทพมหานคร: ดีไลด์. (หนึง่ ในโครงการผลิตหนังสือคุณภาพ จาก ดีไลด์). สุพาดา สิริกตุ ตา และ คณะ. 2545. การเงินธุรกิจ ฉบับปรับปรุงใหม่ . กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร. สุภาพร พิศาลบุตร. 2549. จริยธรรมทางธุรกิจ. พิมพ์ครัง้ ที่ 18. กรุงเทพมหานคร: ม.ป.ท. สุรัสวดี ราชกุลชัย. 2546. การวางแผนและการควบคุมทางการบริหาร. 2,000 เล่ม. พิมพ์ ครัง้ ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: บริษัทธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิ ค จากัด. เสนาะ ติเยาว์ และ กิ่งกนก พิทยานุคณ ุ . 2519. การบัญชีบริหาร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . เสาวลักษณ์ เอี่ยมวชิรกุล. 2549. ความสัมพันธ์ ระหว่ างลักษณะของบริษัทกับระดับการ เปิ ดเผยข้ อมูลทางการเงินจาแนกตามส่ วนงาน ของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาด หลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.


177

โสภณ พรโชคชัย. 2553. CSR ที่แท้ . พิมพ์ครัง้ ที่ 5. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิประเมินค่า ทรัพย์สินแห่งประเทศไทย. อนิวชั แก้ วจานงค์. 2550. ความรู้ เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับธุรกิจ. 500 เล่ม. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ. อดุลเขต ชินะผา. 2554. แนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมความรับผิดชอบต่ อ สังคมของพนักงานต้ อนรั บบนเครื่องบิน บริษัท การบินไทย จากัด (มหาชน). สาร นิพนธ์สงั คมสงเคราะห์ สาขาการบริหารและนโยบายสวัสดิการสังคม, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ . อนิวชั แก้ วจานง. 2552. หลักการจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่ 2. สงขลา: นาศิลป์โฆษณา. อภิรัฐ ตังกระจ่ ้ าง, บัณฑิต ผังนิรันดร์ และ ต่อศักดิ์ ซอแก้ ว. 2546. จริยธรรมทางธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร. อรุษ คงรุ่งโชค และ จันทร์ นิภา สุวรรณพิทกั ษ์. 2551. หลักการบัญชีขัน้ ต้ น. ม.ป.ท. อลิศรา ผลาวรรณ์. 2547. ความสัมพันธ์ ระหว่ างคุณลักษณ์ ของบริษัทกับระดับการ เปิ ดเผยข้ อมูลของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรั พย์ แห่ งประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บญ ั ชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาบัญชี, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อินทรัตน์ ยอดบางเตย, พ.ต. 2547. ธรรมรัฐ. กรุงเทพมหานคร: ดอกหญ้ ากรุ๊ป. อัญญา ขันธวิทย์. 2546. กลไกของการตลาดการเงินในระบบเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพมหานคร: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. อัญญา ขันธวิทย์, ศิลปะพร ศรี จนั่ เพชร และ เดือนเพ็ญ จันทร์ ศริ ิ . 2552. การกากับดูแลเพื่อ สร้ างมูลค่ ากิจการ. กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์ พริน้ ติ ้งแอนด์พบั ลิชชิ่ง.


178

เอก ตังทรั ้ พย์วฒ ั นา. 2548. โลกาภิวัตน์ บริษัทข้ ามชาติ บรรษัทภิบาล และความ รับผิดชอบต่ อสังคมของบรรษัท. กรุงเทพมหานคร: แอคทีฟ พริน้ ท์. เอกวิทย์ มณีธร. 2552. ความรู้ เบือ้ งต้ นเกี่ยวกับการบริหาร/การจัดการ. พิมพ์ครัง้ ที่2. กรุงเทพมหานคร: เอ็ม.ที.เพรส Taro Yamane. 1973. Statistics An Introductory Analysis. 3rd ed. Singapore: Time Printers Sdn. Bhd.




Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.