Report seminar media literacy

Page 1

à ٠Œ à · ‹ Ò · Ñ ¹ Í Ò Ç ¸ Ø ã ¹ Ê Á à À Á Ù Ê Ô Í è × Í Í ¹ ä Å ¹ ¢ Í § à Â Ò Ç ª ¹ ¹ Ó · Õ Á à ٠Œ à · ‹ Ò · Ñ ¹ ¸ Ò Áà ª × é Í Ê ¶ Ò » ¹ È Ô Ã Ô ¹ Ñ ¡ Ç Ô ª Ò ¡ Ò ÃÊ ¶ Ò º Ñ ¹ Ç Ô ª Ò ¡ Ò Ã Ê × è Í Ê Ò ¸ Ò Ã ³Ð ( Ê Ç Ê . ) Á Ò ¹ ¾Í Ô Ê Ê Ð Ã Õ Â · Õ è » Ã Ö ¡ É Ò Í § ¤ ¡ Ò Ã ¾ Ô ¾ Ô ¸ À Ñ ³± Ç Ô · Â Ò È Ò Ê µ à á Ë ‹ § ª Ò µ Ô Á Ò ¹ Ð ª Ñ Âº Ø Þà Í ¡¼ Ù Œ Í Ó ¹ Ç Â ¡ Ò Ã ¡ Å Ø ‹ Á § Ò ¹ Ê Ò Ã Ê ¹ à · È À Ù Á Ô È Ò Ê µ à ì Ô ¨ Ñ ´ ¾ Ô Á ¾ â ´ Â:¤ ³Ð ¹ Ñ ¡ È Ö ¡ É Ò ¹ Ô à · È È Ò Ê µ à Á Ë Ò º Ñ ³± Ô µ Ê Ò ¢ Ò Ç Ô ª Ò ¹ Ô à · È È Ò Ê µ à Á Ë Ò Ç Ô · Â Ò Å Ñ Â Ê Ø â ¢ · Ñ Â ¸ à à Á Ò ¸ Ô Ã Ò ª



สรุปผลการสัมมนาเรื่อง

“การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสอ ื่ ออนไลนของเยาวชน สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช


สรุปผลการสัมมนาเรื่อง “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสอ ื่ ออนไลนของเยาวชน สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

พิมพ์ครั้งแรก

: กุมภาพันธ์ 2558 จํานวน 30 เล่ม

ที่ปรึกษา

: รองศาสตราจารย์ธีรารักษ์ โพธิสุวรรณ, รองศาสตราจารย์ ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน, รองศาสตราจารย์ปิยฉัตร ล้อมชวการ บรรณาธิการ : ณภิญา มุสิกะรักษ์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : ภัชฌามน พูนศรีโชติ รูปเล่มและศิลปกรรม : ณัฐ จันทโรทัย ออกแบบปก : ณัฐ จันทโรทัย พิสูจน์อักษร : บุษยา เหลืองอ่อน ประสานงานการผลิต : อัศม์เดช เตชัสพิสิษฐ์ ประสานชาสัมพันธ์ : พลเชษฐ์ พันธ์พิทักษ์, เพ็ญแข พึ่งเล็ก กองบรรณาธิการ : พระสมชาย บัวแก้ว, ปิติพงษ์ จันทร์เพ็ญสุข, สุดท้าย เข็มกายี, ศรันย์ พยัฆศิริ, กวีสิปปวิชญ์ เมืองจันทร์, อุดมศรี ศิริลักษณาพร, กษราฤตรีย์ กันจันทร์วงค์, รุจิเรข อินทรักษ์, เรณู สุขเจริญ, มนตรี ภูมิภักดิ์, ณัฐพงศ์ ลาภบุญทรัพย์, ปวีณา สุวรรณโณ, วนภรณ์ จักรมานนท์, ชนุตรา เพชรมูล, ภูษณิศา แก้วเขียว, สาธิต จตุพร, อดิศร รัตนรัตน์, ศรีจิต เองเลอร์, แสงเทียน เนียมทรัพย์, ณัฐดิษฐ์ รวีฉัตรพงศ์, สทรัฐ ว่องสุภัคพันธุ์, ซี ศรีวิเศษ, พรนิมิตร ธิราช, มัณฑกร นาเมืองรักษ์, สมปรารถนา จินดารัตนวรกุล, จิราภา ฉิมกุ, มาธวี ไตรกิ่ง, กุลิศรา บุบผา, อุษณี เพิ่มดี, พรอุมา ฉายหิรัญ, สิทธิ โชคกลิ่นแห, อดิสรณ์ อันสงคราม เลขานุการ : พัชราภรณ์ กล้าณรงค์ จัดพิมพ์โดย

โทรศัพท์ พิมพ์ที่

: คณะนักศึกษานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 9/9 หมู่ 9 ต.บางพูด อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 : 0-2504-7777 : ศูนย์การผลิตสิ่งพิมพ์ดิจิตอล มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร เลขที่ 9 ถนนแจ้งวัฒนะ แขวงอนุสาวรีย์ เขตบางเขน กรุงเทพฯ 10220


Ê Ã Ø » ¼ Å ¡ Ò Ã Ê Ñ Á ¹ Ò

Ê Ò Ã º Ñ Þ Ë Å ¡ Ñ ¡ Ò Ã á Å Ð à Ë µ ¼ Ø Å º · ¹ Ò í ¡ Í ‹ ¹ à ¢ Ò Œ Ê ¡ ‹ Ù Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò Ê Ò Ã Ð Ê Ó ¤ Þ¡ Ñ Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò ¨ Ò ¡ ¤ ³¸ Ø Ò Áà ª Í é × Ê ¶ Ò » ¹ È Ã Ô Ô Ê Ò Ã Ð Ê Ó ¤ Þ¡ Ñ Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò ¨ Ò ¡ ¤ ³Á Ø Ò ¹ Ð ª º Ñ Þà Ø Í ¡ Ê Ò Ã Ð Ê Ó ¤ Þ¡ Ñ Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò ¨ Ò ¡ Á Ò ¹ ¾Í Ê Ô Ê Ð Ã Â Õ » Ã Ð à ´ ¹ ç ¤ Ó ¶ Ò Á á Å ¡ à » Å Â è Õ ¹ ¤ Ç Ò Á ¤ ´ Ô Ê Ã » Ø Ê Ò Ã Ð Ê Ó ¤ Þ¨ Ñ Ò ¡ ¡ Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò º · ¤ Ç Ò Á » à Р¡ Í º ¡ Ò Ã Ê Á Ñ Á ¹ Ò Ê Ã » Ø ¼ Å » à Рà Á ¹ Ô â ¤ à § ¡ Ò Ã

1 5 7 1 7 2 7 3 3 3 7 4 1 6 7


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 45

รายงานสรุปผลการสัมมนาเรื่อง “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิโลกออนไลนของเยาวชน

หลักการและเหตุผล


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 1

การพั ฒ นาทางเทคโนโลยี ก ารสื่ อ สาร และสารสนเทศ ทํ า ให้ อุ ต สาหกรรมสื่ อ ถึ ง จุ ด เปลี่ ย นที่ สํ า คั ญ กล่ า วคื อ การหลอมรวมสื่ อ (Media Convergence) ในหลายประเภท ทั้งสื่อ ดั้งเดิม (Traditional Media) เช่น หนังสือ พิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ และสื่อใหม่ (New Media) ที่เพิ่ม ประสิทธิภาพการสื่อสารภาพ เสียง ข้อความ ใน เวลาเดียวกัน จนเกิด การสื่อสาร 2 ทางในเวลา เ ดี ย ว กั น ทั้ ง นี้ ก็ เ พื่ อ ต อ บ ส น อ ง ต่ อ ก า ร เปลี่ ย นแปลงของพฤติ ก รรมการเสพสื่ อ ซึ่ ง ผู้บ ริโ ภค หรือ ผู้ รั บ สารได้ป รั บ เปลี่ย นตามการ ขับเคลื่อนของเทคโนโลยีร่วมกันในหลายช่องทาง ( Convergence Technology Media ) จึงไม่ สามารถแยกประเภทของสื่ อ ออกจากกั น อย่ า ง ชัดเจนเหมือนในอดีต ทําให้ผู้คนจํานวนมากบน โลกใบนี้เข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ทั้งในโลกเสมือนจริง และโลกของความเป็ น จริ ง อย่ า งรวดเร็ว และไร้ พรมแดน ด้วยวิทยาการความก้าวหน้าเหล่านี้ ทํา ให้คนไทยหันมาให้ความสําคัญกับการสื่อสารใน ช่องทางต่าง ๆ มากขึ้น ล่าสุดเมื่อ สํานักงานสถิติ แห่ ง ชาติ ไ ด้ ทํ า การสํ า รวจการใช้ เ ทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สารในครัว เรือ นปี พ.ศ. 2557 ซึ่งมีประชากรทั้งประเทศกว่า 64 ล้านคน พบว่า อันดับที่ 1 มีผู้ใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่มากถึง 48.1 ล้านคน อันดับที่ 2 มีผู้ใช้คอมพิวเตอร์ 23.8 ล้านคน และอันดับที่ 3 มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 21.7 ล้านคน และจากรายงานผลงานวิจัยสถิติภาพรวม การใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต ของประเทศไทย ประจํ า ปี พ.ศ.2554 และพฤติกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ต ภาพรวมและแนวโน้มในการใช้อินเทอร์เน็ต จาก ดร.ปิ ย ะ ตั ณ ฑวิ เ ชี ย ร ประธานเจ้ า หน้ า ที่ ฝ่ า ย เทคนิค บริษัทศูนย์วิจัยนวัตกรรมอินเทอร์เน็ต

ไทย จํากัด พบว่ากลุ่มที่ใช้อินเทอร์เน็ตมากที่สุด คือ เยาวชนที่เป็นนักเรียน - นักศึกษา ช่วงกลุ่ม อายุระหว่าง 12 – 17 ปี ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของวิทยาการ ด้ า นสื่ อ สารมวลชน สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น สื่ อ ที่ ค่อนข้างอันตราย ควบคุมยาก แต่กลับเป็นสื่อที่ เด็กและเยาวชนเข้าถึงได้ง่าย เนื้อหาที่ปรากฏใน สื่อออนไลน์และอินเทอร์เน็ตมีทั้งภาพบวกและ ลบ ในแง่ลบดูจะเป็นปัญหาอย่างยิ่ง ไม่ว่าจะเป็น เรื่องเพศที่มีให้เสพอย่างเกลื่อนกล่น ความรุนแรง ยาเสพติด การพนัน ที่แพร่หลายอย่างมากจนเกิน กําลังที่รัฐจะควบคุมได้อย่างมีประสิทธิภาพ การ กลั่นกรองก่อนออนไลน์นั้นเป็นไปไม่ได้เลย ดังนั้น จึงทําให้เด็กและเยาวชนที่ไม่มีความรู้เท่าทันสื่อ ซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธอันสําคัญในการต่อสู้กับสื่อ ร้ายอยู่ในสภาพที่ต้องซึมซับรับสารไปโดยปริยาย ปัญหานี้จึงเป็นสิ่งท้าทายที่สังคมมวลรวมจะต้อง ตระหนักและร่วมมือกันอย่างแข็งขันที่จะหาทาง ออกและแก้ไขเพื่อเด็กและเยาวชนไทยในปัจจุบัน และอนาคตอย่ างยั่ ง ยืน อันจะก่ อให้ เกิด ปัญ หา ตาม มาจากภาวะขาดภูมิคุ้มกันในการรับสื่อของ เยาวชนไทย ปัญหาดัง กล่าวอาจจําแนกได้เป็ น ปัญ หาด้า นกระบวนการสื่อ สาร ปัญ หาสุข ภาพ จิ ต ปั ญ หาสภาพแวดล้ อ ม ตลอดจนปั ญ หา ครอบครัว ขณะเดียวกันสื่อก็เป็นเครื่องมือในการ เปิดโลกทัศน์ เข้าถึงข้อมูลและให้การรับรู้ถึงสิ่ง ต่าง ๆ ในโลกใบนี้ อิทธิพลของสื่อจึงมีผลกับชีวิต ในระดั บ เซลล์ ส มอง ในระดั บ จิ ต วิ ญ ญาณ แต่ ปรากฏการณ์ที่ผ่านมานั้น เยาวชนส่วนใหญ่เป็น ผู้ใช้ผู้เสพสื่อ สื่อจึงเป็นส่วนหนึ่งของเยาวชน และ เยาวชนเป็นส่วนหนึ่งของสื่อ เมื่อความสัมพันธ์ ระหว่างสื่อกับเยาวชนแน่นแฟ้น อย่างนี้แล้ว พลัง


2

เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ของสื่อย่อมมีอํานาจเหนือกว่าพลังของเยาวชน เป็นแน่

สามารถมองเยาวชนในฐานะ “เหยื่อ” ของสื่อได้ หรือไม่ และมีผลกระทบอย่างไร

ทฤษฎี ท างด้ า นสื่ อ มวลชนที่ อ ธิ บ ายได้ คือ ทฤษฎีกระสุนปืน (Magic Bullet Theory) แนวคิ ด ทั่ ว ไปเกี่ ย วกั บ ทฤษฎี นี้ เ ชื่ อ ว่ า “สื่ อ มี อิทธิพลอย่างมหาศาล” ต่อผู้รับสาร สิ่งใดที่ใส่ไว้ ในสื่อจะสามารถพุ่งเข้าใส่ผู้รับสารได้อย่างได้ผล ทันทีทันใด แล้วยังมีทฤษฎีทางด้านสังคมศาสตร์ ที่หนุนหลังแนวคิด “การโฆษณาชวนเชื่อ” คือ Behaviorism ทฤษฎีนี้มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Stimulus Response Theory ( หรือ S-R Theory) เรื่อ งสิ่ง เร้า -ตอบสนองที่อธิ บ าย พฤติกรรมของสัตว์นั้นสามารถนํามาใช้อธิบายกับ มนุ ษ ย์ ไ ด้ เ ช่ น กั น นั ก ทฤษฎี สื่ อ สาร มวลชนจะ พิจารณาว่า ตัวสื่อนั้นจะทําหน้าที่ประดุจสิ่งเร้า ภายนอก(Stimulus) ที่สามารถกระตุ้นให้ เกิดปฏิกิริยาตอบสนองแบบต่าง ๆ ได้

โดยที่ผ่านมาได้มีความพยายามในการ แก้ไ ขปัญ หาเรื่อ งดัง กล่ าวบ่ อยครั้ง และได้ แนว ทางการแก้ ไขปัญ หาดัง กล่า วหลายวิ ธีก าร เช่ น การออกแบบหลั ก สู ต รสาระวิ ช าเทคโนโลยี สารสนเทศให้ทันสมัย การเสนอแนะแนวทางการ ใช้สื่อออนไลน์ในสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพล ศึกษา การรณรงค์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีความ เกี่ยวข้อง การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับสื่อ และ การให้ความรู้ประชาสัมพันธ์ต่าง ๆ ทว่า ปัญหา ดังกล่าวยังไม่หมดไปและมีความซับซ้อนมากขึ้น

อี ก ทฤษฎี ที่ สํ า คั ญ คื อ Freudianism โดย Freud เชื่อว่า การกระทําต่าง ๆ ของมนุษย์ มีผลมาจากกระบวนการทํางานทางจิตของมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ระบบ คือ Id เป็นตัวแทน ของสัญชาตญาณที่เป็นความต้องการที่ไร้เหตุผล ของมนุษย์ Superego ซึ่งเป็นตัวแทนของ กฎระเบียบทางสังคม และ Ego ซึ่งเป็นผู้ประสาน ความต้องการระหว่าง 2 ฝ่าย จากแนวคิด ดั ง กล่ า วนั ก ทฤษฎี ด้ า นการโฆษณาชวนเชื่ อ ได้ นําเอาทฤษฎี Freudian มาใช้อธิบายผลในทาง ลบที่ เ กิ ด จากอิ ท ธิ พ ลของสื่ อ มวลชน ว่ า งาน โฆษณาชวนเชื่อที่จะใช้ให้ได้ผลก็คือ งานโฆษณา ที่สามารถจะกระตุ้นพลังจาก Id ให้ตื่นตัวขึ้นมา จน Ego ไม่อาจควบคุมได้ พอเห็นเช่นนี้เรา

เมื่อเป็นเช่นนี้แล้วเราจะมีแนวทางการ พั ฒ นาเยาวชนเพื่ อ ให้ รู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ได้ อ ย่ า งไร นั ก ศึ ก ษาหลั ก สู ต รนิ เ ทศศาสตร์ ม หาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช านิ เ ทศศาสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย สุ โ ขทั ย ธรรมาธิราช ในฐานะที่เป็นผู้ศึกษาและผู้ที่มีความ เกี่ยวข้องในสายอาชีพในการปฏิบัติงานด้านการ สื่ อ สาร ซึ่ ง ประกอบด้ ว ยทั้ ง นั ก สื่ อ สาร มวลชน นักวิชาการ นักผลิตและสร้างสรรค์สื่อ ได้เล็งเห็น และตระหนักถึงความสําคัญต่อการรู้เท่าทันสื่อ เท่าทันตนเองของเยาวชน จึงได้จัดทําโครงการ สัมมนา “การรู้เท่าทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อ ออนไลน์ ข องเยาวชนไทยขึ้ น เพื่ อ แสวงหา แนวทางที่ จ ะทํ า ให้ ใ ห้ เ ยาวชนไทยเป็ น ผู้ ที่ มี ภูมิคุ้มกันในการสื่อสารในยุคปัจจุบัน โดยมี “การ รู้เท่าทัน” เป็นเสมือนอาวุธที่จะใช้ป้องกันตนเอง จากการเปิ ด รั บ สื่ อ เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ทั้ ง ต่ อ ต น เ อ ง ต่อ ค ร อ บ ค รัว ต่ อ สั ง คม แ ล ะ ต่ อ ประเทศชาติสืบไป


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 3

วัตถุประสงค์

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ และข้ อ คิ ด เห็ น เกี่ ย วกั บ การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ของ เยาวชน 2. เพื่อวิเคราะห์ปัญหา ความสําเร็จ และสิ่ ง ที่ค วรพั ฒ นาเกี่ ย วกั บแนวทางการแก้ ไ ข ปัญหาการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชน 3. เพื่ อ เสนอแนวทางปฏิ บั ติ ใ นการ เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อให้แก่เยาวชน ในการ แก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบจากการรับสื่อ ของเยาวชนอย่างยั่งยืนให้ครอบคลุมในทุกมิติ

1. เข้าใจถึงปัญหา ความสําเร็จและสิ่ง ที่ควรพัฒนาเกี่ยวกับแนวทางการแก้ไขปัญหาการ เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชน 2. กําหนดนโยบายตลอดจนแนวทางใน การปฏิบัติในการเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อให้แก่ เยาวชน เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากผลกระทบของ สื่ออย่างยั่งยืน ครอบคลุมในทุกมิติ 3. เพื่อนําผลที่ได้จากการสัมมนาไป เผยแพร่ทางอินเทอร์เน็ต สําหรับให้เยาวชนได้ เรียนรู้เป็นเกราะป้องกันตนเองในการเปิดรับสื่อ

วิธีการดําเนินการสัมมนา 1. อภิปรายแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเนื้อหา การรู้เท่าทันสื่อ 2. อภิ ป รายแนวทางการแก้ ไ ขปั ญ หาการ เสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อของเยาวชน ผู้เข้าร่วม การสัมมนาแสดงความคิดเห็น สอบถาม หลังการ อภิปราย 3. เสนอแนวทางปฏิบัติในการเสริมสร้าง การรู้เท่าทันสื่อให้แก่เยาวชน สรุปผลการสัมมนา

ผู้เข้าร่วมสัมมนา 1.คณาจารย์สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหา วิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 2. นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช 3. นักวิชาการด้านนิเทศศาสตร์ 4. สื่อสารมวลชน 5. นักศึกษา สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ จํานวนผู้สัมมนา รวม 38 ท่าน


4

เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ความรู้เท่าทันสื่อจึงซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธที่สําคัญยิ่งในการต่อกรกับสื่อร้าย ที่แอบแฝงอยู่ทั่วทุกพื้นที่ เราจะทําอย่างไรให้เด็กและเยาวชนสามารถรู้เท่าทันสื่อได้ นั้น จึงเป็นเรื่องที่สําคัญยิ่ง

บทนํากอนเขาสูการสัมมนา


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 5

รองศาสตราจารย์ธรี ารักษ์ โพธิสุวรรณ ประธานในพิธเี ปิด : กราบนมั ส การพระคุ ณ เจ้ า เรี ย นท่ า น วิทยากร และท่านผู้มีเกียรติทุกท่านนะคะ ดิฉัน รู้ สึ ก เป็ น เกี ย รติ อ ย่ า งยิ่ ง ที่ ไ ด้ ม ากล่ า วเปิ ด การ สัมมนา “การรู้เท่าทันสื่อ” อาวุธในสมรภูมิโลก ออนไลน์ของเยาวชนในวันนี้ ในยุคที่การสื่อสารมี ความสําคัญยิ่ง ความก้าวหน้าทางด้านการสื่อสาร ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการสื่อสารมวลชน สื่ออินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นสื่อที่ควบคุมได้ยาก แต่ สามารถเข้าถึงได้ง่าย ทุกเพศ ทุกวัย ย่อมแสดงให้ เห็ น ว่ า ในทุ ก วั น นี้ ทุ ก คนล้ ว นเสพสื่ อ ที่ มี ค วาม อันตราย หากเราไม่มีความรู้เท่าทันสื่อโดยเฉพาะ เด็กและเยาวชนไทย ความรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ จึ ง ซึ่ ง เปรี ย บเสมื อ น อาวุธที่สําคัญยิ่งในการต่อกรกับสื่อร้ายที่แอบแฝง อยู่ ทั่ ว ทุ ก พื้ น ที่ เราจะทํ า อย่ า งไรให้ เ ด็ ก และ เยาวชนสามารถรู้เท่าทันสื่อได้นั้น จึงเป็นเรื่องที่ สําคัญยิ่ง ที่ผ่านมาได้มีการพยายามในการแก้ไข เรื่องดังกล่าวอยู่บ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ ของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การบังคับใช้กฎหมาย เกี่ ย วกั บ สื่ อ และการให้ ค วามรู้ ทว่ า ปั ญ หา ดังกล่าวก็ยังไม่หมดไป แต่ก ลับทวีความรุนแรง เพิ่ ม ขึ้ น เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ เราจะมี แ นวทางในการ พัฒนาเยาวชนเพื่อให้รู้เท่าทันสื่อได้อย่างไร ใคร จะเป็นส่วนสําคัญในการเผยแพร่ความรู้เท่าทัน สื่ อ ให้ กั บ เด็ ก และเยาวชนได้ ดี ที่ สุ ด นั่ น จึ ง เป็ น เหตุผลที่เราได้เปิดเวทีในวันนี้ เพื่อเป็นสื่อกลางใน การร่วมกันคิด ร่วมกันแชร์ประสบการณ์ที่เราจะ นํ า ไปใช้ เ ป็ น อาวุ ธ ในสมรภู มิ โ ลกออนไลน์ ข อง เยาวชน

ดิ ฉั น หวั ง เป็ น อย่ า งยิ่ ง ว่ า โครงการใน วันนี้ จะช่วยสนับสนุน และแบ่งปันความคิดเห็น เพื่อเป็นแนวทางในการนําไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกัน ในการสื่อสารในยุคปัจจุบัน โดยมี “การรู้เท่าทัน” เป็นเสมือนอาวุธที่จ ะใช้ป้อ งกันตนเองจากการ เปิ ด รั บ สื่ อ เพื่ อ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ ทั้ ง ตนเอง ครอบครัว สังคมและประเทศชาติต่อไป บัดนี้ได้เวลาอันสมควรแล้ว จึงขอเปิด โครงการสัมมนา “การรู้เท่าทัน” อาวุธในสมรภูมิ โลกออนไลน์ของเยาวชน และขออวยพรให้การ อบรมในครั้งนี้ ประสบความสําเร็จดังที่มุ่งหวังทุก ประการ ขอขอบคุณค่ะ


6

เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

มนุษย์เอาตัวเองไปอยู่ในกรงขังความคิด และเชื่อมั่นอยู่อย่างนั้น... และเด็กยุคนี้มี ความภูมิใจตัวเองต่ํา หลงตัวเองสูง

สาระสําคัญการสัมมนา จากคุณธาม เชือ ้ สถาปนศิริ นักวิชาการ สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 7

ความหมายของ “การรู้เท่าทันสื่อ” : นิยามการรู้เท่าทันสื่อ เอาใกล้ ๆ ตัวคือประเทศไทยเมื่อ 25 ปีที่แล้วนั้น มีนักวิชาการท่านหนึ่ง Mr. John มาบรรยายที่คณะคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แล้วก็มาพูดกับคณะครูนะครับว่า จริง ๆ แล้วคุณครูนั้นจะต้องสอนวิชารู้เท่าทันสื่อให้กับนักเรียน 25 ปีที่แล้ว งงเป็นไก่ตาแตกครับ คําว่า “รู้เท่า ทันสื่อ” นี้คืออะไร คือ คุณครูก็หน้าใส กลับไปศึกษาต่อครับว่า วิชารู้เท่าทันสื่อนั้น คือการสอนให้ครูไป ผลิตสื่อใช้เป็นข้อมูลในการเรียนการสอน หรือว่าใส่เทคโนโลยีในการศึกษานั่นเอง ซึ่งพอผ่านมาซักอีก 10 ปีหลังถึงจะมีความเข้าใจว่าการรู้เท่าทันสื่อ คือ ความสามารถแบบหนึ่ง ที่คุณครูต้องไปฝึกหัดให้เด็ก นักเรียนรู้เท่าทันสื่อ


8

เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

การรูเทาทันสื่อ (Media Literacy) ควรจะบรรจุลงในหลักสูตรการ ศึกษา ซึ่งมีความสําคัญไมนอยไปกวาวิชาการเปนพลเมืองที่ดี ปญหา คื อ เรากํ า ลั ง เอาครู ที่ เ ติ บ โตกั บ ยุ ค ที วี มาสอนเด็ ก ที่ เ ติ บ โตมาในยุ ค ดิจิตอล

ในประเทศอเมริ ก านั้ นมี วิ ชาวิ เคราะห์ รัฐธรรมนูญตั้งแต่อนุบาล ของเราที่ใกล้เคียงในสมัย ผมก็ คื อ วิ ช า หน้ า ที่ ก ารเป็ น พลเมื อ ง ซึ่ ง นํ า เอา กลับมาทําซ้ําอีกครั้งหนึ่งนะครับ เพราะฉะนั้น วิชา Media Literacy ถ้าเป็นที่ยุโรป หรือทวีปอเมริกา เค้าก็เรียนตั้งแต่ระดับอนุบาล แต่ว่าของเมืองไทย เป็ นเรื่ องน่ าเศร้ าเพราะว่ าเราเรี ยนกั นในระดั บ ปริญญาตรีนะครับ ที่ผมสอนเมื่อ 5 ปีที่แล้วเพิ่งมี วิชานี้ นะครับ ผมไปสอนที่แรกคือที่มหาวิทยาลัย บูรพา และก็มีที่ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร (มศว.) และที่มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี แล้วก็ที่จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ซึ่งมีอายุเกือบ 50 ปีแล้ว ซึ่งเรามีวิชา นิเทศเมื่อ 5 ปีที่แล้ว เพราะฉะนั้นเวลาที่เราเรียกว่าวิชารู้เท่า ทันสื่อ รูปแบบหนึ่ง คือ วิชาเรียนในมหาวิทยาลัย อันที่สอง คือ ไม่ต้องพูดว่าเป็นวิชา แต่คือทักษะ ความสามารถในการเรียนรู้ อาจารย์บางคนเลย สงสัยว่ากระทรวงศึกษาธิการไม่จัดวิชานี้ให้อยู่ใน การเรียนการสอนหรือ แล้วก็อยากจะให้ครูสอน อะไร แล้วก็ครูก็สอนวิชาปกติพื้นฐานทั่วไป แต่ว่า จริง ๆ แล้ว ถ้าพูดว่า Media Literacy นะครับ ถ้ า แปลกั น ตรง ๆ ของยู เ นสโก้ เ ค้ า ใช้ คํ า ว่ า Competency ก็คือ ทักษะความสามารถของ บุคคลใดบุคคลหนึ่ง ในการทํา 4 เรื่องนะครับ

อั น ที่ ห นึ่ ง ก็ คื อ ความสามารถในการ เข้าถึงสื่อ เช่น อยากที่จะชมรายการข่าว อยากที่ จะชมรายการละคร อยากที่ จ ะเข้ า ข้ อ มู ล สารสนเทศใด ๆ ก็ ต าม มี ค วามสามารถที่ จ ะ เข้าถึงข้อมูลสารสนเทศนั้น Access Ability ได้ อันที่สองก็คือสามารถที่จะ Analyze ก็ คือว่า พอเข้าถึงแล้ว ดูละคร อ่านข่าว ฟังเพลง อ่านข้อมูลสารสนเทศใด ๆ มีความสามารถที่จะ วิเคราะห์ นะครับ ความสามารถที่สามก็คือ ความสามารถ ในการ Evaluate ก็คือการประเมินคุณนะครับว่า ข้ อ มู ล สารสนเทศนี้ มี ผ ลดี ผ ลร้ า ย มี ข้ อ มู ล สาระประโยชน์ มีคุณค่าอะไรบ้างนะครับ สุดท้ายเนี่ย มากกว่านั้นก็คือ เกิดขึ้นไป ปีหลังยุค 2000 นะครับ ก็คือแนวคิดเรื่องนักข่าว พลเมือง แนวคิดเรื่อง User Generated Content ก็คือ คนรับสื่อก็สามารถที่จะ Produce ก็คือ ผลิตสื่อได้ เพราะฉะนั้ น ยู เ นสโก้ จ ะมี นิ ย ามการ รู้เท่าทันสื่ออยู่ 3 แบบก็คือ เข้าถึงสื่อ วิเคราะห์ สื่อ ประเมินสื่อ และก็ผลิตสื่อเด็ก นะครับ หลาย ๆ ที่ก็จะมี Concept ตั้งต้นมาจากที่นี่ เวลาที่พูด ถึงการรู้เท่าทันสื่อจึงเป็นเรื่องของความสามารถ พิ เ ศษส่ ว นบุ ค คล ซึ่ ง ผมจะบอกตลอดว่ า ทั ก ษะ ความสามารถนี้ ไม่ได้มีผิดหรือถูก ความแตกต่าง ของคนที่มีประสบการณ์ในการสอนวิชานี้ก็คือว่า


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 9

พอไปอยู่ในมหาวิทยาลัยแล้วต้องออกเป็นเกรด อาจารย์ผู้สอนจะตรวจอย่างไรครับกับวิชารู้เท่า ทั น สื่ อ เพราะว่ า มั น เป็ น ทั ก ษะความสามารถ เฉพาะตน เป็ น ทั ก ษะที่ ไ ม่ ไ ด้ เ ป็ น ความผิ ด หรื อ ความถูก เพียงแต่ว่าความคมหรือความเบา ความ นุ่มลึกอะไรพวกนี้ นะครับ แล้วเรามาพูดถึงว่า มันไปเชื่อมโยงกับ ความสัมพันธ์ทุกวันนี้อย่างไร เรามาพูดถึงเรื่อง หน้าที่พลเมือง ซึ่งจริง ๆ แล้ว คณะรัก ษาความ สงบแห่งชาติ (คสช.) กําหนดให้มา แต่ยูเนสโก้ กําหนดว่าหน้าที่พลเมืองนั้น มี 10 ข้อ ข้อ 1 คือ รู้จักสิทธิหน้าที่ ความรับผิด รับชอบของตนเอง รู้จักตนเองและหน้าที่บทบาท ข้อ 2 พลเมืองต้อง มีความรู้เท่าทันข้อมูลสารสนเทศ เท่าทันข้อมูล หรื อ ข่ า วสารที่ เ ปลี่ ย นแปลงไป ข้ อ สุ ด ท้ า ยครั บ พลเมือง ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ผมจําได้แม่นยําตรงข้อ 2 ที่เค้าบอกว่า ถ้าจะเรียนวิชาหน้าที่ความเป็นพลเมือง พลเมือง นั้นต้องรู้เท่าทันสื่อ จะไม่รู้เท่าทันสื่อไม่ได้นะครับ เพราะฉะนั้ น วิ ช ารู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ จึ ง เป็ น ได้ ทั้ ง วิ ช า เป็นได้ทั้งความสามารถ และเป็นได้ทั้งบรรยากาศ ในการเรี ย นรู้ จะอยู่ ที่ บ้ า น หรื อ อยู่ ที่ โ รงเรี ย น อะไรก็ได้ และใช้แนวคิดนี้นะครับ เป็นได้ทั้งคุณ พ่อคุณแม่ เป็นได้ทั้งครู และเป็นได้ทั้งตัวเราเอง ครับ

“ถ า เยาวชนเรายั ง ไม รู เ ท า ทันสื่อ อะไรจะเกิดขึ้น”

จริง ๆ สั้น ๆ ง่าย ๆ ก็ได้นะครับ ว่าทุก วันนี้โลกที่เรารู้จัก ถ้าตามทฤษฎีนิเทศศาสตร์ที่ เราเรียนมานะครับ เราอยู่ใน 2 โลก คือโลกจริง โลกจริงนั้น เช่น ผมกําลังถือกาแฟ ถือน้ํา กําลัง เดิน เห็นหน้าค่าตากัน เรียนรู้จากประสบการณ์ การท่ อ งเที่ย วนะครั บ เด็ ก ๆ พวกนี้เ ค้ า จะเชื่ อ วัฒนธรรม จัสติน บีเบอร์ หรือวัฒนธรรมลวงโลก นะครั บ คือ การเกิด มาใช้ ชีวิ ต ครั้ ง เดีย ว แล้ ว ก็ ออกไปเผชิญโลกรอบกว้าง เคยไปช่ ว งปี ใ หม่ น ะครั บ เห็ น วั ย รุ่ น เยอะแยะมากมาย ท่ า นรู้ จั ก กล้ อ งโกโปร (Go Pro) หรือไม่ครับ เป็นกล้องตัวเล็ก ๆ อ่ะนะครับ แล้วคนก็จะนิยมถ่ายรูปท่องเที่ยวใช่หรือไม่ครับ ก็ จะมีไม้ Selfie การเรียนรู้โลกจริงกับโลกสื่อคือว่า เราอยากจะไปดูสถานที่นั้นนะครับ เราอยากจะ เล่นกีฬา Extreme เราติดกล้องบันทึกแล้วเราก็ ถ่ายรูป Selfie เวลาที่เราไปอยู่สถานที่จริง เรา เรียนรู้จากโลกจริง จากประสบการณ์ สิ่งต่าง ๆ แต่ว่าเวลาที่เราเรียนรู้ผ่านสื่อ ใช้โทรศัพท์มือถือ ใช้แท็บเล็ต ดูรายการข่าวต่าง ๆ เราไม่ได้ไปอยู่ใน สถานที่จริงนั้นนะครับ ความสําคัญของมันจริง ๆ เลย ก็คือ ไม่ต้องว่าเด็กโพสต์ผิดตามมาตรา 112 แล้วติดคุกอ่ะนะครับ ก็คือ เรารู้ได้อย่างไรว่าโลก จริง กับโลกสื่อเนี่ย ความหมายข้อเท็จจริงมันเป็น สิ่งเดียวกัน ผมยกตัวอย่างง่าย ๆ นะครับ ชาวเอสกิโม จะมี คํ า 50 คํ า เรี ย กหิ ม ะ สมมติ ว่ า เป็ น หิ ม ะที่ กําลัง ปลิว หิมะที่กําลังละลาย หิมะที่กําลังแข็ง หิมะที่ยังเกาะอยู่บนกิ่งไม้ หิมะที่ยังอยู่บนต้นไม้ ฯลฯ ถามว่ า รู้ ไ ด้ อ ย่ า งไร เพราะผมดู ส ารคดี Discovery Channel แน่นอนผมยังไม่เคยไปใน ช่ว งเวลาที่ มี หิม ะจริง ๆ ไม่เ คย แต่ ค นไทยรู้ จั ก หิมะแค่คําว่า หิมะ


10 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

และเราทุกคนบนโลกนี้รู้ว่าหิมะมันเย็น แต่ ค นที่ อ ยู่ กั บ หิ ม ะโดยประสบการณ์ ที่ แ ท้ จ ริ ง เท่านั้นที่เค้าจับแล้วรู้ว่ามันเย็น ส่วนอีกคนหนึ่งไม่ เคยไปในช่วงนั้น ไม่เคยจับหิมะแต่รู้ว่ามันเย็น เอา ล่ะ..เรารู้ว่ามันเย็นเหมือนกัน แต่เรารู้จักชีวิตจริง ผ่านสื่อ เพราะฉะนั้นลองเปรียบเทียบสิ่งต่างๆ ดูสิ ครับ ระหว่าง Media World กับ Real World ถามว่าความจริงสองอันนี้มันไม่ตรงกัน เด็กเค้าจะ รู้ได้อย่างไรว่าเค้าเรียนรู้โลกนั้นจริงๆ สมัยนี้คน ติดกล้อง Go Pro กันมาก ออกจากบ้านก็ต้อง บันทึกกล้อง Go Pro ปั่นจักรยานไปซื้อก๋วยเตี๋ยว หน้าหมู่บ้านยังติดกล้อง Go Pro ข้อมูลมันถูก บันทึกตลอด ผมอ่านข่าวนะครับ ICT อีกภายใน 2 ปี เราจะหมดสต็อกของ Hard Drive ในโลกนี้แล้ว นะครับ หมายถึงว่าเรามีข้อมูล 42 เซตตาไบท์ 1 เซตตาไบท์ = 0 ยี่สิบเอ็ดตัว ทุกวันนี้เอะอะก็ HD อะไรก็ HD คือผมอยากจะบอกว่าเราอยู่ในโลก แห่งความสับสน โลกที่มันสับสนผ่านสื่อ ซึ่งอีก 2 ปีเราจะไม่มีข้อมูล Hard Ware เพียงพอที่จะ บันทึกครับ โดยเฉพาะเด็ก ๆ ที่เค้าสร้าง Go Pro ความอั น ตรายของมั น ก็ คื อ ว่ า เด็ ก รุ่ น นี้ เ ป็ น รุ่ น Digital คือเกิดขึ้นมาก็ใช้ชีวิตกับสื่อ Digital เด็ก ที่ เ กิ ด ขึ้ น ม า ใ น ช่ ว ง ปี 2 0 0 0 จ ะ เ ป็ น รุ่ น Generation Y หรือ Generation Millennium ผมนี่เกิด 1979 โตขึ้นมากับทีวี

เพราะฉะนั้น คําถามที่ผมเคยเจอตอน เรี ย นปริ ญ ญาโท อาจารย์ เ ค้ า ถามในวิ ช า IT Society คําถามคือ คุณคิดว่าคนที่เป็นพ่อแม่ที่โต มาในยุ ค เก่ า กั บ คุ ณ ที่ โ ตมาในยุ ค ที่ มี อุ ป กรณ์ เทคโนโลยี ใครรู้ จั ก โลกมากกว่า กั น จงอธิ บ าย ความรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ คื อ อะไรครั บ คุ ณ คิ ด ว่ า อากง อาม่า คนที่เป็นเจ้าของกิจการทางร้านเค้าจบ ป.4 กับเด็กรุ่นใหม่เห็นรูปในโปรไฟล์เรียนจบ MBA แต่เป็นลูกจ้างของเถ้าแก่ที่จบ ป.4 คําถามคือใคร รู้จักโลกมากกว่ากัน นิยามใหม่เลยนะครับ เดี๋ยวนี้ เด็กวัยรุ่นสามารถรู้จักโลกทั้งใบอยู่ในมือถือ แต่ เด็กๆ กลับไม่มั่นใจว่า หนูจะรู้จักโลกทั้งใบได้จริง แต่ว่าถ้ารู้จักได้ดีน่าจะเป็นพ่อแม่นะ เพราะเค้า ผ่านประสบการณ์จริง ผมใช้ตัวเลขนะครับ คนผู้ เฒ่ า ผู้ แก่ เ กื อบ 90% สามารถรู้ จั ก โลกด้ว ยการ Doing by Experience เรียนรู้ประสบการณ์ อย่ า งแท้ จ ริ ง มื อ เค้ า จึ ง หยาบกร้ า น เพราะเค้ า เรียนรู้โลกจริงๆ เด็กสมัยนี้เรียนรู้โลกจาก มุ้งมิ้ง ฟรุ้งฟริ้ง คาเมร่า 360 คาเมร่า 720 ทุกวันนี้เด็ก เรียนรู้ผ่านสื่อเกือบ 90% แล้วครับ แล้วเขา ตระหนักรู้เท่าทันหรือไม่ว่าโลกจริงกับโลกสื่อมัน เป็นความจริงชุดเดียวกัน วั ฒ น ธ ร ร ม ข อ ง เ ด็ ก ยุ ค ใหม ใช ชี วิ ต ผ า นสื่ อ ด ว ยการ บันทึก


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 11

เราอยูในโลก 2 โลก คือระหวางโลกจริงกับโลกเสมือน.. และเยาวชน ปจจุบันเรียนรูผานสื่อมากกวาของจริง และเราเรียนรูไดอยางไรวา สิ่ง ที่เรียนรูผานสื่อ อันไหนจริง จริงแคไหน

เคยอ่ า นข่ า วหนั ง สื อ พิ ม พ์ แต่ เ ราจะรู้ ความจริ ง ได้ อ ย่ า งไรครั บ ว่ า ข่ า วหนั ง สื อ พิ ม พ์ รายงานได้อย่างครบถ้วนเป็นธรรม ผมรู้ดีเพราะ ผมเปิดทีวีประกอบว่า ขณะนี้มีม็อบที่นั่นที่นี่ คุณ จะรู้ความจริงก็ต่อเมื่อคุณเปิดหน้าต่างให้ตัวเอง เพราะฉะนั้น มันมีคําหนึ่งที่ว่าเอาตัวเองไปอยู่ใน กรงขั ง ของความคิ ด แล้ ว ก็ เ ชื่ อ ไปในแบบนั้ น เพราะฉะนั้ น ถ้ า เราไม่ พู ด ว่ า วั ย รุ่ น โพสต์ รู ป โป๊ เปลือยในแบบนั้น นั่นเป็นเรื่องที่ใช้ไม่เท่าทันสื่อ แต่ถ้าพูดมากกว่านั้นคือ เค้าเติบโตมาเป็นผู้ใหญ่ เค้าเรียนรู้จากโลกแบบไหนกัน ผ่าน Application หรือครับ ผ่านติวเตอร์หรือครับ ผ่านกล้องหน้ามุ้ง มิ้ง ฟรุ้งฟริ้งหรือเปล่าครับ ถ้าเค้าเรียนรู้ไม่ทันโลก เค้าเรียนรู้ไม่ทันตัวเอง ผมจะบอกได้ว่าเค้าจะเป็น คนที่มีปัญหา เพราะฉะนั้นวัฒนธรรมโยโล่จึงเป็น วั ฒ น ธ ร ร ม ที่ ต่ อ ต้ า น ก ร ะ แ ส ว่ า ปิ ด ว า ง โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ ลง แล้ ว ออกไปเผชิ ญ โลกกว้ า ง อย่ า งแท้ จ ริ ง แล้ ว คุ ณ จะได้ เ รี ย นรู้ และเข้ า ใจ รายการโทรทั ศ น์ สํ า หรั บ ผมนะครั บ มาจาก อุ ต สาหกรรมที วี แต่ เ ดี๋ ย วนี้ ร ายการโทรทั ศ น์ สําหรับเด็กนะครับ คือต้องเป็นรายการที่ออกไป เรียนรู้สําหรับโลกกว้าง แบกเป้ออกไป เพราะเบื่อ แล้วกับการเรียนรู้โลกผ่านสื่อ

เพราะฉะนั้ น การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ เนี่ ย ก็ หมายถึงว่า เรารู้เท่าทันหรือไม่ ถ้าเป็นตาม Core Concept ของทฤษฏี Media Literacy นะครับ สิ่งที่เราต้องรู้เท่าทันสื่อก็คือ เพื่อที่เราจะบอกได้ ว่า อ๋อ.. มันอาจจะเป็นความจริง แต่คนละชุดก็ได้ นะ ระหว่างที่ผ่านหน้าจอ ผ่านตาดิจิตอล กับผ่าน ตาเนื้อ มันไม่เหมือนกันนะครับ เพราะฉะนั้นเนี่ย การรู้เท่าทันสื่อ พูดในระดับที่ เรียกว่า นิยามเลข ศูนย์ก็คือ เพื่อให้เด็ก ๆ นั้น เรียนรู้ความแตกต่าง เข้าใจความหมายที่แท้จริงของโลกจริงด้วยตาเนื้อ กับโลกผ่านสื่อผ่านตาจอแก้วนะครับ และเค้าจะ ได้ชั่งน้ําหนักว่า ความจริงที่เค้าเรียนรู้มามันไม่ เหมือนกันนะ แล้วประสบการณ์ของแต่ละคนที่ เรียนรู้จากโลกมันไม่เหมือนกันนะครับ เพราะฉะนั้น การที่เราจะไปใช้สื่ออย่างรู้เท่าทัน หรือว่าใช้สื่อ อย่างมีประโยชน์

คุณคิดวา เด็กยุค ICT กับ เ ด็ ก ยุ ค เ ก า ใ ค ร รู จั ก โ ล ก มากกวากัน


12 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ผมพู ด อี ก ครั้ ง นะครั บ ว่ า เราอยู่ ใ นยุ ค Information Overload นะครับ ข้อมูล ICT ผม เห็นข้อมูลของกระทรวง ICT ทําสํารวจว่าเด็กไทย สอบตก ICT นะครับ คือใช้กล้องหน้าฟรุ้งฟริ้ง เป็นนะครับแต่ว่าสอบตก ถามว่าทําไมเค้าสอบตก ครับ เพราะว่าเด็กเวียดนามใช้สื่อเพื่อสร้างการ เรียนรู้ ไปดู Key Word ของเค้าสิครับ Google 10 คํ า ออกประกาศทุ ก ปี แ ล้ ว นะครั บ ของ ประเทศไทยนั้ นมีแต่ คําว่า ดูหนัง ดูซีรีส์ เกาหลี ฟั ง เพลงออนไลน์ แต่ ก่ อ นที่ ส มั ย ผมฮิ ต ๆ นี่ ฟั ง เพลงออนไลน์ แล้วก็แต่งสกิน Hi5 วัน ๆ ไม่ทํา อะไรครับเด็กไทยนั่งแต่งสกินนะฮะ หมกมุ่นกับ Hi5 ทั้งวัน เด็กไทยใช้เวลาส่วนใหญ่ในการปรุง แต่ ง อั ต ลั ก ษณ์ ตั ว ตน เด็ ก ไทยนี่ ต่ า งจากเด็ ก เวี ย ดนามละนะ ใช้ สื่ อ แบบไม่ เ ป็ น ประโยชน์ ค ว า ม รู้ ท่ ว ม หั ว แ ต่ เ อ า ตั ว ไ ม่ ร อ ด ไ ม่ มี ความสามารถที่จะไปเก็บเกี่ยวเอาความรู้นั้นมาใช้ ให้เป็นประโยชน์ได้ เราไม่ต้องพูดเลยครับว่าเค้า ใช้สื่อไม่ถูกต้องแล้วติดคุก แค่เอาสารสนเทศมาใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจําวันนี่เค้ายังทําไม่ได้เลย เด็ ก ๆ แอบตั้ ง ไลน์ ก รุ๊ ป เฟซกลุ่ ม เพื่ อ ลอก การบ้าน อาจารย์รู้เท่าทันหรือไม่ครับ เหตุผลอยู่ ที่ เ ราใช้สื่ อแบบไหนครับในประเทศไทย เพราะฉะนั้นเหตุผลของการรู้เท่าทันสื่อก็คือการที่ ให้เค้าได้ใช้สื่ออย่างเป็นประโยชน์เพื่อตนเอง

ก า ร รั ง แ ก กั น ผ า น โ ล ก อ อ น ไ ล น กํ า ลั ง เ ป น ป ญ ห า สั ง ค ม . . . ส ง ค ร า ม จิ ต วิ ท ย า เกิดขึ้นในนั้น

ยกตัวอย่างการรังแกผ่านโลกออนไลน์ สํ า หรั บ เด็ ก สาววั ย รุ่ น 10 กว่ า คนในประเทศ สหรัฐอเมริกาที่ต้องฆ่าตัวตาย เพราะกลุ่มเพื่อน หรื อ กลุ่ ม คนในสั ง คมออนไลน์ ต อกย้ํ า ปมด้ อ ย ประณามหยามเหยียด เช่น อ้วน น่าเกลียด คน แรกผมจําชื่อได้นะครับชื่อ เมแกน ไมเนอร์ เป็น เด็กสาว 14 ขวบ เล่น Hi5 แล้วเพื่อนที่โรงเรียน อิจ ฉาว่ า เธอเป็ น ดาวโรงเรีย น และพู ด จาเหน็ บ แนมผ่าน Social Network ว่าทําไมเธอไม่หายไป จากโลกนี้เสีย โลกนี้คงดีถ้าไม่มีเธอ ปรากฏว่าเธอ หายไปในห้องน้ํา 3 วัน เพื่อผูกคอตาย โดยที่พ่อ แม่ก็ไม่รู้ ปัญหานี้กําลังเป็นปัญหาสังคมสําหรับ เยาวชนตัวน้อย พลังอันตรายนี้อยู่ปลายเล็บเค้า แค่เค้าด่าเค้าโพสต์ เค้าแชร์นี่เค้ากําลังทําสงคราม กันในนั้น และเด็ก ๆ หลายคนกําลังตกอยู่ภาวะ ซึมเศร้าและเป็นโรคจิต หมกมุ่น หดหู่


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 13

ผมว่ า การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ สิ่ ง เดี ย วที่ เ รา ต้องการนะครับ คือเราได้รู้ ได้ตระหนักว่าเรามี การเสพสื่ อ อย่ า งมี วิ จ ารณญาณ พ่ อ แม่ บ างคน แ บ บ นี้ เ ล ย น ะ ค รั บ สื่ อ มั น มี ปั ญ ห า ม า ก เพราะฉะนั้น Ban สื่อละกัน ไม่ซื้อไอโฟนให้ลูก ไม่ให้เล่นเกมส์ ไม่ให้ดูทีวี Media Black Out คือ เอาผ้ า ดํ า คาดตา ไม่ ใ ห้ เ สพสื่ อ เลยเป็ น วิ ธี ก าร แก้ ปั ญ หา ถ้ า เราอยากจะให้ ป ระชาชนเสพสื่ อ อย่างปลอดภัย ไม่ให้เปิดทีวี ไม่ให้เล่นเกมส์ ไม่ให้ แตะโทรศัพท์ไอโฟน ห้ามทุกอย่าง Cover Ban ไปเลยครับ Ban หมดทุกอย่าง เป็นวิธีการ แก้ปัญหาที่แย่ที่สุด ไม่ได้นะครับ การรู้เท่าทันสื่อ คือการติดภูมิคุ้มกันให้กับเด็กๆ เพราะฉะนั้น พ่อ แม่ยุคใหม่จะพูดว่า ถ้าเด็กรู้เท่าทันสื่อเสียอย่าง ต่อให้เค้าอยู่ไกลหูไกลตาเรา เค้าก็ปลอดภัย นั่น คื อ ความสํ า คั ญ ของการรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ครั บ และ สําคัญไม่ใช่สําหรับเด็กนะครับ ผู้ใหญ่เองก็จําเป็น เช่นกัน เพราะฉะนั้นการรู้เท่าทันสื่อ ไม่ใช่แค่เด็ก ผู้ใหญ่ก็ต้องรู้เช่นกัน ... อาจารย์ธาม กล่าว

การจะอยู ร ว มกั น ให ไ ด ต อ ง มี กา รร วมเค รื อ ข า ยเ ข า ด ว ยกั น แต ทุ ก วั น นี้ เ ด็ ก ว า ยาก เยาวชนไมคอยฟงใคร... เราจะ มี วิ ธี อ ย า งไรให เ ค า เรี ย นรู และ ทันตอโลกออนไลนโดยที่เคาจะ ฟงบาง

เ ด็ ก รุ่ น นี้ เ ป็ น รุ่ น ดิ จิ ต อ ล น ะ ค รั บ พฤติกรรมการเสพสื่อของเค้าไม่เหมือนกับรุ่นเก่า นะครับ พฤติกรรมของเด็กยุคนี้เค้าจะใช้เทคนิค Multi Screen คือใช้งานหลายหน้าจอพร้อมๆ

กั น ลองคิ ด ดู สิ ค รั บ การเสพสื่ อ สั ก 5 อย่ า งใน เวลาเดียวกัน แล้วทุก ๆ กิจกรรมก็เป็นกิจกรรมที่ ทําตลอดเวลา เป็น Hyper Tracking และยังเป็น Multi Tracking ด้วยนะครับ เพราะฉะนั้นจะไป บอกไปเตือนเค้ายากครับ เดี๋ยวนี้เด็ก ๆ จะมีโลก ออนไลน์เป็นสื่อกลางระหว่างคนในครอบครัว เช่น พ่ออยากคุยกับลูก ... อ๋อได้ ... ไปคุยกับผมในไลน์ นะ ... ทักผมมาในเฟซบุ๊กนะ ... โอเค ได้ ๆ แล้ว เฟ ซไหนของลูกล่ะ ... หนูมีหลายไอดีค่ะ ถ้าหนูทํ า อะไรพ่อตาม Follow หนูใน IG แล้วกัน ฯลฯ ผมค้นพบพฤติกรรมแบบนี้หลายปีแล้ว บางครั้งคนในครอบครัวปฏิสัมพันธ์กันผ่านห้อง สนทนา จะเรี ย กได้ ว่ า สั ง คมสมั ย นี้ เ ป็ น สั ง คมขี้ เหงา เป็นยุคของความเหงาร่วมกัน การที่จะบอก จะสอนจะเตือ นนั้ น เป็ น เรื่อ งที่ ย ากมากนะครั บ เพราะฉะนั้ น พ่ อ แม่ ห ลายคนจึ ง ต้ อ งสร้ า ง ตัวตนอัตลักษณ์ออนไลน์ ไปเป็นเพื่อนกับลูกใน Facebook ไม่งั้นเข้าไม่ถึงลูก และเป็นอีกเหตุผล ที่เด็กๆ ต้องไปสร้างตัวตนหลายตัวตนขึ้นมา เพื่อ หลบผู้ปกครอง เด็กรุ่นนี้เป็นรุ่นที่เข้าใจยาก และ พ่ อ แม่ ต้ อ งเท่ า ทั น ผมขอยกตั ว อย่ า งว่ า ทํ า ไม Social Media สําคัญมาก เช่น ว่าเวลาเค้าโพสต์ อะไรลงไปแล้วมีคนมากด Like เกิน 20 ถือว่าไม่ อายใคร ดังนั้น Facebook จึงเป็นการสร้าง ตัวตน ถ้าเป็นรุ่นก่อน ๆ ถ้าเราจะสร้างอัตลักษณ์ ของตนเองคือเราต้องทํากิจกรรมดนตรี กีฬาอะไร ต่าง ๆ ต้องมีตัวตน ต้องมีความสามารถ แต่ว่า เด็กทุกวันนี้ตัวตนที่แท้จริงของเค้าอยู่ใน Social Media เพราะฉะนั้นพ่อแม่ต้องเข้าใจ ว่าทําไม ลูกๆ ถึงต้องอะไรมากมายกับ Social Media เพราะสังคมที่แท้จริงของเค้าอยู่ในนั้น


14 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ภายในปี 2045 อี ก ภายใน 30 ปี Google จะสามารถ Save ชีวิตเราได้ คําว่า Save ชีวิตคือว่า Save จิตวิญญาณของท่านที่ทํา ให้ตัวท่านมีอยู่ อันนี้เป็นวิทยาศาสตร์ที่ Google กําลัง ค้นคว้าอยู่นะครับ สิ่งนี้จะสามารถอัพลง Jump Drive ได้ หากว่าท่านถูกรถชนเสียชีวิต หรือว่าอุบัติเหตุพลัดตกเขามา ท่านสามารถที่จะ เอาจิตวิญญาณของท่านที่ถูก Save ไว้ อัพลง ร่างกายเนื้อได้ใหม่นะครับ คือท่านจะไม่ตายครับ เพราะว่าจิตวิญญาณตามความเชื่อลึก ๆ ของผม ใ น เ ชิ ง วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ ก็ คื อ ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้ า กระแสไฟฟ้ า ก็ คื อ ประจุ บ วกลบทํ า ให้ เ ป็ น ศู น ย์ เลนส์ดิจิตอลได้ เพราะฉะนั้น ในอนาคตอีกสอง สามปีข้างหน้า ระบบปฏิบัติการทั้งหมดใส่ไว้ใน หั ว อั พ โหลดข้ อ มู ล ได้ จากแว่ น ตาอาจจะเป็ น หน้ากาก Google แทน ไม่ว่าคุณจะทําอะไรที่ ไหนก็ตาม Google Drive จะ Scan ใบหน้าและ จ ด จํ า บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ไ ว้ ทั้ ง ห ม ด เ พิ่ ม ค ว า ม สะดวกสบายในการค้นหาตัวตนของคุณ และแว่น ตาก Google Glass สามารถที่จะทําเป็น World Utility Classroom ออนไลน์ได้ ราคาไม่เท่าไหร่ ครับ 30,000 กว่าบาท คุ้มค่ามากครับ เสียบปลั๊ก ไฟฟ้ า เคยดู ห นั ง เรื่ อ งอวตารหรื อ ไม่ ค รั บ ที่ พระเอกอัพโหลดตัวเองผ่าน Cyber Optic คือ รากต้ น ไม้ ประมาณนั้ น ครั บ ปี 2045 สิ่ ง นี้ จ ะ เกิดขึ้น เด็ ก รุ่ น ก่ อ นจะอยู่ ใ นยุ ค ของเว็ บ 2.0 Read and Write คืออ่านและเขียน แต่เด็กรุ่นนี้ เติบโตมาในยุคเว็บ 3.0 Read and Write and Share ครับ แต่ภายใน 3 - 4 ปีนี้ เว็บกําลังจะ ก้าวเข้าสู่ 4.0 ครับ คือ ความเป็นจริงเสมือนตา เนื้อ World Utility Online เอาง่าย ๆ ครับ จํา สิ่งที่ผมพูดตอนต้นได้หรือไม่ครับว่า..... ต่อไปโลก


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 15

คุณจะบอกลูกหลาน คุณอยางไรครับ กับพฤติกรรมเหลานี้ คือมีอะไรจะตอง Tell the World ตลอดเวลา

ออนไลน์กับโลกความจริงจะเป็นสิ่งเดียวกันครับ เพราะฉะนั้นหลักการเท่าทันสื่อนะครับ ทําอย่างไร ให้ เด็ กรู้ เท่ าทั นสื่ อ พู ดเป็ นรู ปธรรมนะครั บ ผม อยากให้มีหลักสูตร ผมเคยให้สัมภาษณ์ “นักวิชาการธาม แนะ คสช. เพิ่มค่านิยมที่ 13 รู้เท่าทันสื่อ” “นักวิชาการเสนอ ค่านิยมที่ 12 ไม่พอ ให้เด็กไทยรู้ค่านิยมที่ 13 คือ รู้เท่าทันสื่อ” พาดหัวข่าวเลยครับให้ผมชงรัฐบาลกันเลย ที เ ดี ย ว จริ ง ๆ แล้ ว คื อ ผมอยากให้ มี วิ ช านี้ เ ป็ น หลักสูตรการเรียนการสอนจริงๆ หนังสือเรื่องการ รู้เท่าทันสื่อเพิ่งจะพิมพ์เมื่อ 3 เดือนที่แล้ว มันช้าไป 40 ปีเท่านั้นเอง เราเพิ่งมีทีวี ดิจิตอล แต่ เด็กทุ ก วันนี้ไม่ดูทีวีแล้วครับ ชีวิตเค้าอยู่ใน Social Media ถ้าผมบอกว่า จิตวิญญาณของเราถูกอัพโหลดลง Jump Drive ได้ขนาดใหญ่ คุณจะเชื่อหรือไม่ ชีวิต ทั้งหมดในตอนนี้เราอยู่เว็บ 4.0 ก็คือกระบวนการ เสพผ่านกายเนื้อไปสู่ Digital ทุกวันนี้เราจะคิดจะ ทําอะไรต้องบอก Social ทุกกิจกรรม ฟุ้งเฟ้อ เวิ่น เว้อ ผ่าน เฟซบุ๊ก คุณจะบอกลูกหลานคุณอย่างไร ครับ กับพฤติกรรมเหล่านี้ คือมีอะไรจะต้อง Tell the World ตลอดเวลา เรื่องนี้เป็นเรื่องยุค U Communication เราสามารถที่จะพูดคุยสื่อสาร ได้ตลอดเวลา เดี๋ยวนี้ตื่นขึ้นมาเราต้องเช็กสเตตัส ก่อนเลย หรือไม่ก็ Selfie ตัวเองยามเช้า และสิ่ง สุดท้ายที่เค้าทําคือไรครับ ก็คือการจับโทรศัพท์ มือ ถือเช่นเดียวกัน เพราะฉะนั้นเด็กๆ ในรุ่นนี้เป็นรุ่นที่ Always Connect คือการติดต่อสื่อสารตลอดเวลา พ่อแม่จะต้องพัฒนาตัวเองมากๆ นะครับในการ รู้เท่าทันสื่อ เพราะเราห้ามอะไรเค้าไม่ได้หรอก ไม่มี ทาง เพราะชีวิตกายเนื้อ กายสมองของเค้าอยู่ใน นั้น เพราะฉะนั้นการที่จะรู้เท่าทันสื่อที่ดีที่สุดในมุม ของผมคือเริ่มต้นที่พ่อแม่สําคัญที่สุด...


16 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

นอกจากเลื อ กบริ โ ภคข่ า วสารจากสื่ อ เป็ น แล้ ว ต้ อ งยั้ ง คิ ด ใช้ วิ จ ารณญาณและ ประสบการณ์ ของตัวเองก่อนจะเชื่อทั้งหมด อย่าเชื่อเพราะเพื่อนเราบอกมา อย่าเชื่อเพราะคน มีชื่อเสียงก็ใช้อยู่ เพราะข้อมูลเหล่านี้สามารถสร้างขึ้นมาได้

สาระสําคัญการสัมมนา จากคุณมานะชัย บุญเอก ผู้อํานวยการกลุ่มงานสารสนเทศภูมิศาสตร์ (ผอ.กสก.) กระทรวง ICT


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 17

คนทั่วไปที่ไม่ได้เรียนเกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อ มันจะเกิดอะไรขึ้น หลักในวันนี้ที่จะคุยในส่วนของผมตรงกัน ก็คือ เรื่องเกี่ยวกับว่ามันมีสื่อเยอะมากนะครับ โจทย์ ของผมก็คือว่า ทําอย่างไรถึงจะให้คนที่เกี่ยวข้องนั้นมีส่วนในการดูแล เฝ้าระวัง และที่สําคัญเราต้องเข้าใจ ถึงภัยอันตรายที่มันเกิดขึ้นในนั้น ว่า หลังจากที่มีการหลอมรวมสื่อที่เรียกว่า Media Convergence นั้น มันเป็นอย่างไร และเราจะปกป้องจะทําอะไรให้ลูกหลานของเรา


18 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ผมจะขอพูดถึง Game Console นะครับ ที่ เราสามารถใช้ ประโยชน์ ได้ ก็ จะเห็ นว่ า มั นมี หลากหลายรู ป แบบ นะครั บ อี ก ตั ว หนึ่ ง ก็ คื อ Music Player อันนี้ก็น่าสนใจว่า เราจะทําอย่างไร Content ดี ๆ มันถึงจะเกิดขึ้นกับลูกหลานของเรา แล้วถ้าเกิดมันจะนําไปสู่กระบวนการผลิตดีๆ นั้น จะต้องมาจากท่านใด จากนักนิเทศศาสตร์ เพราะ ท่านรู้บริบทของความเป็นไทย ความละเมียดละไม และท่ า นต้ อ งการนํ า เสนออะไรเรามาโฟกั ส ให้ ลูกหลานได้อย่างไร ในส่วนกลับกันบ้างนะครับ ไอ้ ตั ว ที่ มั น อั น ตรายสํ า หรั บ เราเรี ย กว่ า Online Predators สิ่งที่ขณะลูกหลานและเยาวชนเรา กําลังทํากันอยู่ ในฐานะที่เป็นผู้ใหญ่ก็ต้องรู้นะครับ ว่ า มั น มี โ จรผู้ ร้ า ยอยู่ ใ นนั้ น เรี ย กว่ า Online Predators มีมาตรการ และมีองค์กรไหนบ้างดูแล นะครับ Key Word นะครับ อยากจะบอกว่า เรา จะต้องรณรงค์ให้ลูกหลานของเรานั้น รู้ว่า อะไรที่ ควรรับ หรือไม่รับ แต่ทั้งหมดทั้งมวลก็ดังเช่นที่อาจารย์ธาม บอกก็คือว่า เราต้องรู้จักการรู้เท่าทันเสียก่อน พอ เข้าถึงแล้วเราต้องรู้ว่ามันเชื่อถือได้หรือเปล่า ใน ส่วนของอาจารย์ธาม ใช้คําว่า Media Literacy ในฝั่งของ U.N. หรือสหประชาชาติใช้คําว่า Information Literacy นะครับ เป็นเรื่องของ หลักการคล้าย ๆ กันครับ ของเราพูดถึงหลักอยู่ ประมาณ 2 - 3 เรื่องก็ คือ หนึ่ ง เข้ า ถึ ง ได้ อยากรู้ เ รื่ อ งจะเข้ า ถึ ง อย่างไร ก็คือผ่านอินเทอร์เน็ต แล้วเข้าถึงตรงไหน แหล่ ง มั น อยู่ ต รงไหน พอได้ ข้ อ มู ล ที่ เ ข้ า ถึ ง แล้ ว เชื่อถือได้หรือเปล่า สุดท้ายก็นําไปใช้ประโยชน์ที่ เกิดประโยชน์กับตัวเองและสังคม จะเห็นได้ว่า สิ่ ง ที่ เ ด็ ก หรื อ เยาวชนส่ ง ผลกระทบ คื อ เราต้ อ ง

เข้าใจ Model ตัวนี้ก่อน พอเข้าใจแล้วมันก็จะ เกิดกรอบ Concept ในการ Design นะครับ แต่ ผ มมาในวั น นี้ ผมจะมาในฝั่ ง ของ เจ้ า หน้ า ที่ รั ฐ ป้ อ งกั น ปราบปรามด้ ว ยซ้ํ า เพราะฉะนั้ น คํ า ถามของผมคื อ ว่ า เราจะมี แนวทางพัฒนาให้เยาวชนรู้เท่าทันสื่อได้อย่างไร ในปี 2000 นี้ เรามี Y2K ขึ้นมานะครับ (ปัญหาปี ค.ศ. 2000 บางครั้งเรียกว่า ปัญหาวายทูเค (Y2K problem) เป็นปัญหาที่เกิดกับระบบเอกสารและ การบันทึกข้อมูล ทั้งในแบบดิจิตอล (เกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์) และระบบแอนะล็อก สืบ เนื่องมาจากการบัน ทึกปีค ริสต์ศัก ราชจํ านวนสี่ หลัก ย่อเหลือเพียงสองหลักท้าย โดยละสองหลัก แรก คือ "19" และ "20" ไว้ในฐานที่เข้าใจปัญหา จะเกิ ด ขึ้ น เมื่ อ อุ ป กรณ์ ต่ า งๆ ใช้ ง านจนถึ ง หลั ง เที่ยงคืนของวันที่ 31 ธันวาคม ค.ศ. 1999 และ เข้าสู่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 2000 แต่ระบบกลับ เข้าใจว่าเป็น ค.ศ. 1900 ทําให้การทํางานของ ระบบผิดเพี้ยน ปัญหานี้ถูกหยิบยกมากล่าวถึงเป็นครั้ง 1 แรกใน หนังสือชื่อ Computers in Crisis เขียน โดย Jerome และ Marilyn Murray ในปี ค.ศ. 1984 และในเครือข่ายยูสเนต ในปี ค.ศ. 1985 สร้างความตื่นตัวในแวดวงธุรกิจ การธนาคาร การแพทย์ และการทหาร ว่าอาจทําให้ระบบ คอมพิ ว เตอร์ ทํ า งานผิ ด พลาด อาจทํ า ให้ ร ะบบ สาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้า โทรศัพท์ ระบบอาณัติ สัญญาณ ถึงขั้นหยุดการทํางาน ซึ่งส่งผลกระทบ ต่อทุกคน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชนไทย มันจะ แทรกไปตามบทบัญญัติหรือกฎหมายที่เค้าถืออยู่ คือยุทธศาสตร์ของแต่ละกระทรวง เพราะฉะนั้นปี 1

อางอิง http://th.wikipedia.org)


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 19

2014 เรามี เ หตุ ก ารณ์ ที่ น่ า สนใจคื อ เรามี ศู น ย์ ปฏิบัติการระดับกรมเรียกว่า DOC แต่สิ่งที่เราจะ ไปในปี 2020 นั้น เราจะเดินไปไหนกัน ใน U.N. จะมีการสร้าง Network สร้างเครือข่าย อะไรต่าง ๆ ระหว่างรัฐ กับเอกชน ตรงนี้ก็จะเป็นบทบาท ของสื่อต่าง ๆ ที่จะเข้ามาร่วมกับเรานะครับ ก็จะ มีเรื่องการสร้าง Network สร้างเครือข่าย สร้าง สารสนเทศ สร้างชุมชน ประมาณนี้นะครับ โ ด ย ห ลั ก แ ล้ ว ผ ม ข อ พู ด เ กี่ ย ว กั บ เทคโนโลยี นิ ด นึ ง ต่ อ ไปท่ า นจะต้ อ งเจอคํ า ว่ า 2 Cloud Computing (Cloud Computing เป็น เทคโนโลยี ที่ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต และเซิ ร์ ฟ เวอร์ (Server) กลางที่เข้าถึงได้จากระยะไกลเพื่อรักษา ข้ อ มู ล และโปรแกรมการใช้ ง าน ต่ อ ไปคํ า ว่ า Cyber World รวมถึง คํานี้ต้องมานะครับ คือ Bring your own Device (3Bring Your Own Device (BYOD) (แปลตามอักษร: "นําอุปกรณ์ ของคุณมาเอง") อธิบายถึงแนวโน้มทางเทคโนโลยี ที่ พ นั ก งานนํ า อุ ป กรณ์ พ กพาของตั ว เองมาที่ ที่ ทํางาน และใช้อุปกรณ์ดังกล่าวเพื่อใช้ทรัพยากรที่ มีการควบคุมการเข้าถึงของบริษัท เช่น อีเมล์ ไฟล์เซิร์ฟเวอร์ และฐานข้อมูล การใช้สารสนเทศ สําหรับทุกคนจะมีอุปกรณ์ส่วนตัวนํามาจากบ้าน หรืออะไรก็แล้วแต่ แต่สามารถทํางานได้ คือคุณ สามารถ Plug in เพื่อทํางานขององค์กรได้ แต่ การจัดเก็บข้อมูลอยู่บน Cloud ครับ ลักษณะจะ เปลี่ ย นไป เพราะฉะนั้ น กระบวนการ Access

2

อางอิง

http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=737 d030f90f26eb3) และ 3 อ้างอิง http://th.wikipedia.org) ใน

ตรงนี้แหละครับ ที่จะเปลี่ยนไปอย่างน่าสนใจแต่ จะโยงเด็กและเยาวชนอย่างไร เด็ ก และเยาวชนเรามี ก ารเล่ น เกมส์ ออนไลน์นะครับ มีการซื้อแสงเลเซอร์ ดาบ ต่อไป ท่านจะทราบว่ามีผลกระทบอย่างไร นะครับ ใน ส่วนของอินเทอร์เน็ต ส่งที่จะระบุว่าใครเป็นอะไร มาจากไหนนั้นเราดูที่ Domain Name ใช่หรือไม่ ครับ อย่างบ้านเราก็จะเป็น .th ถ้าเป็นพวก .com อันนี้จะอยู่ที่อเมริกา เพราะฉะนั้น ท่าน ต้องเข้าใจตรงนี้ก่อนว่า ข้อมูลที่มันวิ่งมาปะทะ ลู ก หลานของเราหรื อ เยาวชนมาจากแหล่ ง ใด ประเทศอะไร สิ่งหนึ่งที่จะต้องพูดก็คือเรื่องของ Social Thought หรือ Social Network นะ ครับ หรือ Social Media ไม่ว่าจะเป็น Facebook ก็เป็นตัว Top List เช่นเดียวกัน ท่านคิดว่าบ้านเราจะต้องทําอะไรต่อ ผมเรียนเลย นะครั บ ว่ า เรื่ อ งสื่ อ เป็ น เรื่ อ งที่ สํ า คั ญ มาก กลไก หลักกลายเป็นว่าสื่อสารมวลชนมีความสําคัญต่อ ทิศทางหลักในการขับเคลื่อนประเทศมาก บวก ลบ อยู่ ที่ ท่ า นเลยนะครั บ ถ้ า เราสื่ อ สารตรงกั น แล้วสื่อมวลชนนําเสนอออกไปนั้น มันจะทําให้ เกิดพลังมหาศาลนะครับ

จะใชประโยชนในขอมูลอยางไร


20 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

หลักๆ ที่เราทํากันอยู่เราพูดถึงพระราช บัญญัติ (พ.ร.บ.) นะครับ ปัจจุบันเรามีเรื่องของ พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ แต่ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นในทุก วันนี้ขออนุญาตเรียนทุกท่านนะครับว่า บางครั้งที่ เจอการกระทําความผิดกับเป็นลูกหลานเยาวชน ของเราเอง เราก็ต้องเชิญผู้ปกครองตักเตือนไป จั บ กุ ม ก็ ไ ม่ ไ ด้ อ่ ะ นะครั บ มั น เป็ น ความผิ ด ทาง อาญา อย่ า งที่ ย กมาทั้ ง หมดก่ อ นหน้ า นี้ มั น เป็ น พ.ร.บ. ทางอาญาทั้งสิ้น แต่สิ่งที่กําลังจะเกิดขึ้นกับประเทศไทยก็ คือ เรากําลังจะมีกฎหมายตัวหนึ่ง ซึ่งผ่านร่างไป เมื่อวันที่ 6 เป็น พ.ร.บ.ว่าด้วยการรัก ษาข้อมูล ส่วนบุคคล แปลว่าต่อไปข้อมูลส่วนตัวของท่าน ถ้าโพสต์ขึ้นบนอินเทอร์เน็ต ไม่ใช่ว่านําไปทําอะไร ก็ ไ ด้ ถ้ า ทํ า ให้ เ ค้ า เสี ย หาย กฎหมายตั ว นี้ จ ะ คุ้ ม ครองข้ อ มู ล ส่ ว นบุ ค คล ไม่ ส ามารถทํ า ความ เสี ย หาย หรื อ ละเมิ ด สิ ท ธิ ส่ ว นบุ ค คลได้ นี่ เ ป็ น ก ฎ ห ม า ย ทั น ส มั ย ม า ก ถื อ ว่ า เ ที ย บ เ ท่ า สหประชาชาติ หรืออเมริกา อังกฤษ แม้แต่ทาง ยุโรปเค้าจะมีกัน เป็นกฎหมายใหม่มาก และฉบับ ที่ 2 ก็คือ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ จะมีการเพิ่มฐาน ความผิดเข้าไป ฐานความผิดที่ว่า เกี่ยวกับการค้า ประเวณี การ Copyright เรื่องสิทธิทางปัญญา อะไรต่าง ๆ อยู่ในนั้นด้วย ฉบับที่ 3 นั้นเป็นอะไร ที่ น่ า สนใจมาก เป็ น เรื่ อ งการทํ า ธุ ร กรรม อิเล็กทรอนิกส์ คือการส่งเสริมการขายผ่านทาง เว็บไซต์ และฉบั บ สุ ด ท้ า ยแรงมาก เป็ น เรื่ อ ง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัยของ Cyber เป็น National นะครับ ซึ่งเป็นปัญหาหนึ่ง นะครั บ ว่ า การที่ ลู ก หลานเรามี Information Literacy ก็แล้วแต่นั้น มันยังเป็นกลไกที่ควบคุม สังคมไม่เพียงพอของการดูแลเด็กและเยาวชนเรา

มั น ต้ อ งมี ก ระบวนการทางกฎหมายเข้ า ไปด้ ว ย เพราะฉะนั้ น สื่ อ มี อ ย่ า งเดี ย วไม่ ไ ด้ ต้ อ งมี ก าร ปราบปราบ เจอกั น แน่ น อนระหว่ า งสื่ อ กั บ กระบวนการทางกฎหมาย เรื่องของ Digital Economy นะครับ กรณีศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในต่างประเทศ ต่าง ๆ เข้ามาดูแลกันอยู่ในการปกป้องเด็กและ เยาวชนเรา ในเรื่องนี้นะครับ ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง การค้ า มนุ ษ ย์ การมี ฐ านข้ อ มู ล ทั้ ง หมดทั้ ง ปวง ตํ า รวจไทยหรื อ เจ้ า หน้ า ที่ ไ ทยในระดั บ ต่ า ง ๆ ทํ า งานร่ ว มกั น ในบ้ า นเราหากว่ า เป็ น เด็ ก โป๊ เปลือย ทํา photography นั้นถือว่าร้ายแรงมาก นะครับ สําหรับกฎหมายในต่างประเทศ และใน บ้านเราเกี่ย วกับ พ.ร.บ.คอมพิ วเตอร์ เกี่ย วกั บ ข้ อ มู ล โป๊ เ ปลื อ ยต่ า ง ๆ เนี่ ย นะครั บ มั น มี ฐ าน ความผิดอยู่นะครับ ถ้าใครส่งต่อกันก็ระวังหน่อย นะครับ ใครที่ชอบ Write ไว้ในเครื่องระวังหน่อย ครับ ผิดมาตรา 45 มาตรา 46 และ มาตรา 20 ครับ เผยแพร่หรือส่งต่อ พฤติกรรมเหล่านี้ไม่ได้ เลยนะครับ เป็นสิ่งที่กฎหมายบัญญัติไว้ แต่เราใน ฐานะประชาชนชาวไทย เราก็บอกว่าขํา ๆ กัน แต่ถ้ามีหลักฐานยืนยันว่าเป็นของท่านและมีการ ส่ ง ต่ อ จริ ง ท่ า นก็ ปุ๊ บ ปั๊ บ รั บ โชคไปนะครั บ เพราะฉะนั้นในส่วนของเด็กและเยาวชนของพวก เรา มั น เป็ น หน้ า ที่ ข องพวกท่ า นนะครั บ ว่ า จะ สร้างสื่อดี ๆ ให้ลูกหลานเข้าไปใช้ ต่อไปนะครับ

ถ า เป น เด็ ก และเยาวชนทํ า ผิ ด ผลที่จะเกิดกับเยาวชนคืออะไร ครับ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 21

ก ร ณี ที่ เ ป็ น เ ย า ว ช น อ ย่ า ง ข อ ง มหาวิทยาลัยค่อนข้างที่จะกระทําการหมิ่นพระ บรมเดชานุ ภ าพ สิ่ ง ที่ เ ราทํ า เนื่ อ งจากเป็ น นั ก ศึ ก ษา ขออนุ ญ าตไม่ เ อ่ ย นามนะครั บ เป็ น นักศึกษาวิศวะ ด้วย รู้เท่าไม่ถึงการณ์เราก็ต้องนํา ตัว มา และก็ จ ะไปบั ง คับ ใช้ ก ฎหมายมัน ก็ ค งจะ เกินไป แต่หลักฐานมันชัดเจน เราก็ต้องเชิญคุย ตั้ ง แต่ อ ธิ ก ารบดี และผู้ ป กครองมาว่ า กล่ า ว ตัก เตื อน ก็ ต้อ งให้โ ทษว่า กระทํ าความผิ ด หรื อ น้องที่เป็นข่าวโด่งดัง ม.5 เอง ใช่ไหมครับ อยู่ใน จังหวัดหนึ่งนะครับ ก็ค่อนข้างที่จะมีพฤติกรรม แต่ทั้งหมดทั้งปวงนะครับ กลับมา Theme อันนี้ เลย เค้ า ถู ก ชั ก นํ า หรื อ ถู ก ให้ ข้ อ มู ล ที่ บิ ด เบื อ น แล้ ว ก็ ก รอกข้ อ มู ล ทํ า ให้ เ ค้ า ไม่ ส ามารถที่ จ ะ ไตร่ ต รองหรื อ มี วิ จ ารณญาณในการคิ ด หรื อ แยกแยะได้ว่าสิ่งไหนถูกต้อง ใช่ ไม่ใช่ ตรงนี้แหล่ะ ครั บ มั น สํ า คั ญ มากเลย เพราะฉะนั้ น ผู้ ใ หญ่ ที่ เลวร้ า ยนั้ น น่ า กลั ว กว่ า เด็ ก และเยาวชนที่ Innocent ซะอีกครับ ก็ขอเรียนเพิ่มเติมว่า ใน บ้ า นเมื อ งเราขั้ น ต้ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ โ หดร้ า ยกั บ เด็ ก และ เยาวชนหรอกครับ อย่างไรก็ต้องดูแลเค้าครับ เค้า เป็นพลังของชาติครับ

เราจะสร า งความรู เ ท า ทั น สื่ อ ใหกับเยาวชนไดอยางไร

ขออนุญาตทุกท่านครับ สิ่งที่จะเกิดขึ้น นะครั บ ผม ขออนุ ญ าตเชิ ญ ทุ ก ท่ า นได้ ม าคิ ด ร่วมกัน ทั้งหมดทังปวงนั้น อาจารย์ทั้งสองท่านได้ พู ด มาแล้ ว นะครั บ สิ่ ง ที่ เ รากํ า ลั ง จะเดิ น หน้ า

ด้วยกัน ประเทศเรา เรียกว่า Digital Economy นะครับ แล้วก็ Thailand Roadmap มาแน่นอน เพราะฉะนั้นเตรียมตัวไว้นะครับ ใครจะเช็กเรื่อง ไหนเตรี ย มตั ว เจอกั น ใน 4ศรช. นะครั บ ท่ า น Feedback ได้เลยนะครับในฐานะเป็นประชาชน อยากเห็นสังคมงดงามอย่างไร เป็นไปอย่างนั้น แ น่ น อ น น ะ ค รั บ สั้ น ๆ น ะ ค รั บ ท่ า น นายกรัฐมนตรีท่านก็บอกว่า ขอเวลาเตรียมพร้อม ประเทศนะครั บ ท่ า นไปพู ด ที่ ป ระเทศจี น รอง นายกรัฐมนตรีท่านก็พูดนะครับว่า เราจะเคลื่อน เรื่อง Theme Digital Economy ใน 5 เสาครับ ท่านพรชัย รุจิประภา ท่านพูดว่า อย่างไรเสียเรื่อง สังคมดิจิตอลต้องมาแน่นอนนะครับ อยู่ที่ว่าเรา จะใช้ประโยชน์ข้อมูลมันอย่างไรนะครับ ผมคิดว่า น่าจะเป็นวาระแห่งชาติเสียด้วยซ้ํานะครับ ว่า เรา จะพลิกโฉมประเทศไทยนะครับ ท่านใช้ Theme เรื่องอย่างนั้น ผมว่าตรงนี้สําคัญมากเลยนะครับ 4

ศรช. ศูนย์เรียนรู้ชุมชน เป็นศูนย์กลาง รวบรวมข้อมูลข่าวสารความรู้ของชุมชนที่จะนําไปสู่ การส่งเสริม กระบวนการเรียนรู้สําหรับประชาชน ใน ชุมชน เป็นแหล่งเสริมสร้างโอกาสในการเรียนรู้ การ ถ่ายทอด การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การสืบทอด ภูมิปัญญา วัฒนธรรม ค่านิยม และเอกลักษณ์ของ ชุมชน อีกทั้งเป็นแหล่งบริการชุมชนด้านต่าง ๆ เช่น การจัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับความต้องการเรียนรู้ ของชุมชน โดยเน้นการกระบวนการเรียนรู้เพื่อวิถี ชีวิตของคนในชุมชน เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ของสังคม ก่อให้เกิดชุมชนแห่ง เรียนรู้ และมุ่งการ พัฒนาแบบพึ่งตนเอง เป็นศูนย์ฯ ของประชาชน ที่ ดําเนินการโดยประชาชน และเพื่อประชาชน ที่จะ ก่อให้เกิดความเข้มแข็งของชุมชนอย่างยั่งยืน อ้างอิง http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=72d 23181f2c55fb7


22 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ขออนุญาตมาดูตรงยุทธศาสตร์สักนิดนึง ตรงนี้แหล่ะครับที่จะตอบโจทย์ที่ว่า เราจะเติม เต็มหรือว่าทําให้สิ่งที่เราคุยกันจะบรรลุได้อย่างไร ยุทธศาสตร์หลัก ๆ ที่เค้าทํากันนะครับ ก็คือ 5 ข้อ เราจะมีการพัฒนาสังคมดิจิตอลเพื่อให้ปรับ คุณภาพชีวิตประชาชน เราจะมีการส่งเสริมการ นําเอา ICT ไปใช้อย่างบูรณาการและยั่งยืนนะ ครับ มีการพัฒนาโครงข่ายนวัตกรรมให้ทุกภาค ส่วนเข้ามาใช้โดยเฉพาะเกษตรกร เยาวชนเองเรา ก็พยายามที่จะดึงกระทรวงศึกษาธิการ ท่านเคย ได้ ยิ น ใช่ ห รื อ ไม่ ค รั บ ที่ อ าจจะโดนโจมตี บ้ า งที่ กระทรวงทําเรื่อง Tablet เราเป็นการสร้าง โอกาสในการเข้าถึงสื่อ ถึง Media บางท่านถ้าไม่ มีตังค์จริง ๆ จะเข้าเล่นเน็ตได้อย่างไร เราพูดถึง องค์รวม ผมเองไม่ใช่ว่าจะเชียร์ โดยหลักแล้วมัน ควรจะเป็นการเท่าเทียมกันในสังคม

เรื่ อ งข้ อ กฎหมายต้ อ งทํ า มี ก ติ ก าของ การอยู่ ร่ ว มกั น นะครั บ มี ก ารพั ฒ นาการส่ ว น ราชการแผ่นดิน เพื่อมาตอบโจทย์ลูกหลานของ เรา สิ่งหนึ่งที่เป็น Key Word ในเรื่องนี้ คือ คําตอบเลยนะครับ เราไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยวนะ ครับ ยุคใหม่มันจะเป็นเรื่องของ Operation Integration ไปแล้ว อาเซียนกําลังจะมา อย่างที่ เรารู้กันนะครับว่า ภาษาอังกฤษมันจะ Feature ไม่ใช่ความสามารถพิเศษ แต่มันจะเป็น Ability ปกติ ลูกหลานเราได้หรือเปล่า เพราะฉะนั้นเรื่อง นี้ต้องตอบโจทย์ว่าเราจะเคลื่อนต่อไปได้อย่างไร ก่อนที่จะออกจากห้องนี้ไป อย่างไรเสียผมต้องมี แนวร่วม 40 คน ในเรื่อง ต้องเข้าใจตรงกับผมนะ ตอนนี้ขออนุญาตนะครับ ท่านจะได้ไปเผยแพร่ให้ ลูกหลานของท่านต่อ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 23

เอาล่ะ.. มันมีอยู่อีก Key Word นึงนะ ครับ มันไม่ใช่เรื่อ Information Literacy แล้ว มั น กลายเป็ น อาชญากรรมทางคอมพิ ว เตอร์ เพราะมันเคลื่อนเคลื่อนจาก Real World ไปเป็น Cyber World แล้วนะครับ ยกตัวอย่างเรื่องของ ไม่ ว่ า จะเป็ น อั น ธพาลเกเร เรื่ อ งทรั พ ย์ สิ น ทาง ปัญ ญา เรื่อ งการหลอกลวงอะไรต่ า งๆ มั น เป็ น อาชญากรรมไปหมด แต่ มั น ยกระดั บ ไปอยู่ บ น Cyber และอยากให้ รู้ จั ก คํ า นี้ Information Literacy มันไหลไปรวมกันที่ Center หมดแล้ว ข้อมูลมันไหลมาเก็บในตู้เย็นหมดแล้ว ที่ท่านใช้ๆ กันอยู่มันเป็น 0101 นะครับ ถ้าให้ยกตัวอย่างนะ ครับ ก. อาจจะเป็น 0 หรือ 1 แปดตัวเรียงกัน ถ้า ท่านเขียนว่า สวัสดีครับ นี่โอ้โห มันดู 8x5 เข้าไป มันมาปรื๊ดเดียว ถ้าเป็นวิดีโอแค่คลิกตรงรูปภาพ มันไหลออกมาปรี๊ดเลย ผ่าน Cyber Optic ครับ ความเร็วแสง

ผมให้ ท่ า นจิ น ตนาการ จะได้ เ ข้ า ใจ ตรงกั น ว่ า ท่ า นนั่ ง เล่ น สมาร์ ท โฟนตรงนี้ ท่ า น กําลังจะทําอะไร ท่านคลิกเลือกเว็บไซต์ที่อเมริกา เข้ า ไป มั น จะวิ่ ง ไปหาผู้ ใ ห้ บ ริ ก ารอิ น เทอร์ เ น็ ต เรี ย กว่ า ISP หลั ง จากนั้ น กระโดดเกาะไปยั ง Internet Gateway หลังจากนั้นกระโดดออกไป ผ่าน Cyber แล้ววิ่งกลับไปที่อเมริกา แล้ววิ่งเอา Message กลับมาอีกครั้ง เอาแค่นี้เร็วมากมั้ยครับ เพราะฉะนั้ น เวลาที่ ลู ก หลานเราเค้ า ไปใช้ ง าน ผิดปกติ เราจะมีวิธีการ Monitor อยู่อย่างหนึ่ง ไม่ใช่เรื่องการละเมิดสิทธิ์นะครับ เป็นกลไกเพื่อ ในการทํางาน เพราะฉะนั้นที่เค้าพูดอยู่ว่าคุณอย่า คิ ด ว่ า คุ ณ อยู่ บ นอิ น เทอร์ เ น็ ต แล้ ว ไม่ มี ใ คร ไม่ มี ตัวตน สิ่งนั้นไม่จริงนะครับ เพียงแต่ว่ากระบวน การสื บ สวนนั้ น ใครจะเร็ ว กว่ า กั น เท่ า นั้ น เอง เพราะฉะนั้นในโลก Device นั้นก็ถูกลงมาเรื่อย ๆ นะครับ


24 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ให้จินตนาการพร้อมกันนะครับ โลกเรา ถูกพันด้วยด้ายสีฟ้า Cyber Optic พัน ๆ อยู่ แล้วท่านเอาอุปกรณ์ปลั๊กอินเข้าไป หลังจากนั้น อุปกรณ์ก็ถูกส่งผ่านทาง Cyber Optic ทุกคนมี IP Address มี Profile ของตนเอง เหมือนกับ ท่านมี ID ประจําตัว เหมือนบัตรประชาชน เพราะฉะนั้นนี่คือโลกของ Cyber World มันเป็น อย่างนั้น เรามาดูกันนะครับว่าเราต้องทําอย่างไร สําหรับผมคิดว่า สิ่งที่จะสําเร็จคือเราต้องมีสังคม ออนไลน์ที่เข็มแข็งนะครับ แล้วต้องโยงไปสู่สังคม โลกด้วย ต้องมี Partner ภายนอกด้วย เพื่อให้ ข้อมูลกัน เหมือนกับ Interflow อย่างเช่นเกิดมี เหตุการณ์ที่บุคคลภายนอกพยายามปีนเข้ามาใน ประเทศไทย ก็จะมีคนส่งข้อมูล เค้าต้อง Focus การกระทําอะไรที่ผิดต่อลูกหลานเยาวชนไทยเรา ก็ต้องจับ เค้าจะมีเครือข่ายสังคมออนไลน์ในเชิง การตลาด การเมืองการปกครอง จิตวิทยาชุมชน แม้กระทั่งชุมชนในระดับหมู่บ้านนะครับ ผมเน้น เลยนะครับว่าชุมชนในพื้นที่นี่แหล่ะครับ

นโยบายใหม เ กี่ ย วกั บ Digital Economy ใหคําสําคัญกับคีย เวิรดคําวา What is Cyber Crime

สิ่งหนึ่งที่ ICT ทํา ที่ท่านเคยได้ยินคือ เรื่องของ ICT ชุมชน ก็คือเราพยายามดึงคนที่มี หลากหลายในช่วงวัย เรียนรู้ ICT เราไม่ปล่อยให้ คุณลุงคุณป้าหลุดพ้นช่วงวัยไปหรอกครับ เราเอา ICT มุดเข้าไปในเชิงการตลาด เพื่อให้เค้าเรียนรู้ คุณยายคนหนึ่งอายุ 80 เล่นอินเทอร์เน็ตคล่อง เลยครับ เหมือนเป็นแกนนําในการชวนทุกคนมา แต่ทําในสิ่งที่ดี ๆ นะครับน่ารักมาก ชวนทําบุญ ชวนทําบริจาค อะไรแบบนี้ น่ารักนะครับ นัยที่ 3 นะครั บ ก็ มี ก ารขั บ เคลื่ อ นสั ง คมออนไลน์ อ ย่ า ง จริง จัง ร่วมกัน โดยเฉพาะกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ต้องมาแน่นอนนะครับ ใน อนาคตต้ อ งเก่ ง เรื่ อ งนี้ แ น่ น อน และไม่ ทิ้ ง ศิลปวัฒนธรรม สัง คมและประเพณีบ้ านเรานะ ครับ อันนี้งดงามมากเลย ผมหวังนะครับว่าสังคมบ้านเราจะดีขึ้น โดยให้พวกผมอยู่ข้างหลังคอยเก็บของเสียให้ แต่ ต้องให้พวกคุณทําในสิ่งที่ต้องทํา งานวัฒนธรรม งานประเพณี ต่อยอดการค้าขาย เราต้องมีจุดแข็ง ของเราอย่างนี้นะครับ ประเพณีวัฒนธรรมอย่าทิ้ง การไหว้ สถาบันพระมหากษัตริย์ วัดวาอาราม นี่ คือจุดแข็งของเรา แต่เราละเลยไป เราไปตามสิ่งที่ มันเป็น Hi Technology เราต้องช่วยกัน ต้อง เปลี่ยนแปลงสังคมนะครับ ลูกหลานเราจะต้องตี กรอบเค้า อั น นี้ ตั ว เลขยื น ยั น ทั้ ง ที่ พี่ ม านพ และที่ อาจารย์ ธ ามพู ด มานั้ น 90% จะเชื่ อ Recommendation จากคนที่เรารู้จัก ขอให้ผม เป็ น เพื่ อ นกั บ คุ ณ เถอะ ส่ ง มาปุ๊ บ ผมเชื่ อ ละ กลับมาที่บอกว่ามีคนเคยบริโภคมาแล้วใช้ไปก่อน 70% แล้ว ถามว่าพวกนี้หลอกได้หรือไม่ หลอกได้ หมดเลย ปลอมตั ว เป็ น คนรู้ จั ก ปลอมตั ว เป็ น ผู้บริโภค ปลอมตัวเป็นเจ้าของเว็บไซต์ ฯลฯ เห็น


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 25

หรือไม่ครับ ท่านต้องมีอีก Layer หนึ่งละ ท่าน ต้อง Trust 3 มิติ และท่านต้องไป Trust ตัวท่าน เองด้วยว่า เทน้ําคนอื่นมาใส่แก้วเราแต่ว่า ต้องมี ตัวเองด้วยครึ่งหนึ่งนะ ต้องผสมผสานนะ นั่นคือ ตัวท่านจะมี Information Literacy สรุป อันนี้คือสิ่งที่ภาพรวมประเทศนะ ครับ การที่จะทําให้ Information Literacy ได้มี องค์ประกอบหลายส่วน แต่กลไกอื่น ๆ ต้องมา ด้วย โดยเริ่มที่ระดับบุคคลนะครับ และขยายไปสู่ สังคมรอบข้าง แต่นโยบายอย่างรัฐนั้น ก็จะปูทาง ให้ท่านเรื่องระเบียบกฎหมาย ต้องเอื้อให้เกิดการ ทํางานร่วมกันทั้งในประเทศและต่างประเทศ มี แนวทางขั้นตอนในการส่งเสริมให้ทุกท่านเข้ามา ใช้อย่างเกิดประโยชน์ มีกฎหมายรองรับ มีเครื่อง ไม้เครื่องมือ มีอะไรดี ๆ ให้กับท่านในการเข้าถึง เช่น ICT ชุมชน ผมฝากไว้เรื่องนึงนะครับสําหรับ Cyber Scout ผมเป็นคณะกรรมการลูกเสือแห่งชาติอยู่ ไปอบรมมาแล้วที่ค่ายวชิราวุธ ก็ถือว่าเป็นส่วน หนึ่งในงานของเรา เคยได้ยินหรือไม่ครับ ลูกเสือ ชาวบ้ า น เนตรนารี ฯลฯ ก็ มี อี ก อั น หนึ่ ง ก็ คื อ Cyber Scout ก็ทําร่วมกันนะครับ ความก้าวหน้า เทคโนโลยีมันก็เป็นสิ่งหนึ่งที่เราต้องเรียนรู้ ผม บอกว่า อายุไม่ใช่สิ่งสําคัญเลย เรารู้โลกแค่ไหนก็ สู้ประสบการณ์ไม่ได้หรอกครับ เพราะว่าหลักการ คิดทั้งหมดทั้งมวลบน Cyber World นั้นมาจาก สมองของพวกเรา เพราะว่าหลักการที่เค้าเรียกว่า อันกอลิทึ่มในเชิงเทคนิคเค้าจะเอาสมองเรามา แตกเซลล์แล้วแปรงเป็น Software ให้เราใช้ เพราะฉะนั้นผมเชื่อมนุษย์มากกว่าเครื่องมือ ใคร ๆ ก็เรีย นรู้ได้ ก็ข ออนุญาตฝากว่าสิ่ง เหล่านี้เ รา เรียนรู้ได้นะครับ

สุดท้ายนะครับการประสานงานร่วมมือ กันระหว่างทุกภาคส่วน โดยเฉพาะมิติของสื่อของ พวกเราจะเกิดความงดงามมากเลยนะครับ ข้อ แรกนะครั บ ก็ มี เ รื่ อ งของ Operation กั บ Management ผมขอ Recommendation นะ ครั บ ถ้ า เราจะทํ า อย่ า งไร จะส่ ง ข้ อ มู ล อย่ า งไร ทั้งหมดคือภาคพื้นดิน Real World และก็ Cyber World ต้องมีเครือข่ายที่เข้มแข็งนะครับ แฝงตัวอยู่ในทุก Cyber World ต้องมีเครื่องมือ กลไกในการตรวจสอบหรื อ วั ด ผลนะครั บ ก็ อยากจะฝากไว้ว่าถ้าท่านมีโอกาส มีลูกหลานอยู่ที่ บ้ า นนะครั บ เป็ น หน้ า ที่ น ะครั บ ไม่ ใ ช่ สิ่ ง ที่ พึ ง กระทํ า จะต้องปฏิบั ติต่อลู กหลานและเยาวชน ต้องรู้ว่าเค้าคุยกับใครทําอะไร ไม่ใช่วิธีละเมิดนะ ครับ แต่เราต้องมีวิธีการที่ดี บางทีเค้า Chat กัน หรือเปลี่ยน Status เราควรทราบ ค่อย ๆ ตาม Follow เค้าไปเรื่อย หน้าที่หนึ่งที่พึงกระทํา ไม่ได้ ปล่อยให้เด็กเป็นอิสระ 100% แต่ก็ต้องไม่ละเมิด สิทธิ์เค้า ขอฝากไว้เท่านี้ครับ ... ขอบคุณครับ


26 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ทุกวันนี้มีวิทยาศาสตร์เทียม (Pseudoscience) เกิดขึ้นมากมาย ทําให้เกิดการ ตระหนกขึ้ น ในสั ง คม คนในแวดลงวิ ท ยาศาสตร์ ก็ ต้ อ งเพิ่ ม การตรวจสอบมากขึ้ น เพราะ สื่อมวลชนเองก็ยังเข้าไม่ถึงข้อมูลเพื่อการตรวจสอบ

สาระสําคัญการสัมมนา จากคุณมานพ อิสสะรีย ที่ปรึกษาองค์การพิพิธภัณฑ์วทิ ยาศาสตร์แห่งชาติ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 27

“จะทําอย่างไรเพื่อจะให้เด็กรู้เท่าทันสื่อ” ที่เกี่ยวกับวันนี้ คือ งานส่วนหนึ่งของทางด้านวิทยาศาสตร์ กําลังให้ความสนใจในเรื่องการ สื่อสารวิทยาศาสตร์ หลายท่านก็คงจะพอนึกออกนะครับว่า เรื่องราววิทยาศาสตร์ทั้งหลายบางทีมันเข้าไม่ ค่อยถึง คําว่า “เข้าไม่ค่อยถึง” คือ บางครั้งมีเรื่องมาหาเรา แต่ฟังดูแล้วก็ไม่เข้าใจมัน ผมเข้าใจว่าป้าเมี้ยน ป้าแม้นทั้งหลายเนี่ย แกคงไม่เข้าใจ ไม่รู้จักโซเดียมคลอไรด์ เพราะเป็นภาษาที่นักวิทยาศาสตร์เรียก แต่ถ้า เมื่อไหร่เอาเกลือไปให้แกนี่แกรู้เลย เพราะฉะนั้นป้าแม้นแกจะไม่เข้าใจเรื่องโซเดียมคลอไรด์ ทั้งที่แกใช้ เกลืออยู่ทุกวันอย่างนี้นะครับ อันนี้ก็เป็นประเด็นอันหนึ่งในแวดวงวิทยาศาสตร์ที่เค้าจะต้องช่วยกันทํา ต่อไป


28 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ในกลุ ม ของผู บ ริ โ ภคข า วสารนั้ น ต อ งมี ค วามรอบคอบในการ ติ ด ตามข อ มู ล และใช สื่ อ ออนไลน นั้ น เรี ย กว า การรู เ ท า ทั น สื่ อ ในโลก ขอมูลขาวสารไมใชแคเด็กเทานั้นที่ตองเทาทัน แตเราซึ่งเปนผูใหญ ตางหากที่ตองมีความรูยิ่งกวา เพื่อเขามาดูแลเด็กได

ทีนี้ในเรื่องของการที่จะต้องรู้ ต้องเข้าใจ ในตั ว สาระหรื อ ว่ า องค์ ค วามรู้ ใ จวิ ท ยาศาสตร์ รวมทั้งกระบวนการที่เกี่ยวข้อง หรือที่เราเข้าใจ กันในเรื่องของวิธีวิทยาศาสตร์ เพื่อที่จะใช้ในการ ตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวกับกิจการสาธารณะ ใน เรื่องที่เกี่ยวกับวัฒนธรรมสังคมอะไรต่าง ๆ ขอพูด ในเชิงปัจจัยหลักว่า ทําอย่างไรถึงจะเข้าใจในเรื่อง พื้ น ๆ ของหลั ก การทางวิ ท ยาศาสตร์ ห รื อ ว่ า ความรู้ที่จําเป็นต้องใช้ในชีวิตประจําวันนะครับ ในการประเมินความรู้ทางวิทยาศาสตร์นะครับ ด้วยคําถาม เช่น เรารู้ ห รื อ เปล่ า ว่ า เชื้ อ อี โ บล่ า เป็ น เชื้ อ ไวรั ส หรื อ ว่ า แบคที เ รี ย ? การรู้ พ วกนี้ มั น มี ผ ล เพราะว่าถ้าเป็นแบคทีเรียมันจะเป็นเรื่องของการ ติดต่อของเชื้อ ซึ่งถ้าเรารู้แล้วมันก็จะได้ป้องกันได้ ถู ก ต้ อ ง ถ้ า เป็ น ตระกู ล แบคที เ รี ย เราจะนึ ก ถึ ง ประเภทท้ อ งเสี ย อะไรง่ า ย ๆ แบบนี้ เ ลยนะฮะ เชื้อมันจะต้องเข้าทางปาก ง่าย ๆ แต่ถ้าเป็นไวรัส อันนี้เป็นความรู้ที่เรียกว่ารู้หรือไม่ แต่ถ้ารู้แล้วเรา ก็สามารถป้องกันไวรัสมันเข้าได้หลายทาง ติดต่อ ง่ายกว่าเหมือนโรคหวัด

นอกจากความรู้ในตัวเนื้อหาสาระแล้ว กระบวนการหรื อวิธีก าร วิ ธีคิด ที่เ ราเรีย กว่าวิ ธี ทางวิทยาศาสตร์นี่แหล่ะ รู้จักสังเกตข้อมูล รู้จัก การสังเคราะห์ เปรียบเทียบหาข้อสรุป แล้วก็เอา ไปใช้ประโยชน์ ซึ่งการรู้อย่างที่ว่าก็คงจะหนีไม่ พ้น Destination ที่ ทั้ง 2 ท่ านว่ า ก็คื อ รู้ วิ ท ยาศาสตร์ ก็ คื อ ต้ อ งรู้ เ นื้ อ มั น รู้ วิ ธี ข องมั น รู้ ประโยชน์ใช้ให้คุ้มค่า อันนี้คือผมเข้าใจว่าสุดท้าย แล้วมันไปในทางเดียวกัน ในเชิงของนิยามแล้วไป ในทางเดียวกัน ในเรื่องของเทคโนโลยี ทุกวันนี้ Media ทั้งหลายมันผ่านพวกเทคโนโลยี ซึ่งก็เป็น เรื่องที่จะต้องรู้ หลาย ๆ ครั้งเราใช้เทคโนโลยีกัน แบบไม่คุ้มค่า หลายท่านเห็น I Phone 6 ออกมาก็ อ ยากที่ จ ะเอามาใช้ อยากจะมี ใ ช้ แต่ ความสามารถในการใช้ของตัวเองผมเชื่อว่าบาง ท่านอาจจะใช้ Function ของตัวเองที่ซื้อมา หลาย ๆ หมื่นบาทเนี่ย อาจจะไม่ถึงหมื่นด้วยซ้ํา นะครับ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 29

หลายคนหากิ น กับ ความคาดหวั ง ของผูค น ซึ่ง ทุ กคนพรอ มจะ เชื่อคําโฆษณา... การสื่อสารในทางวิทยาศาสตร คือใหเกิดวิธิคิดแบบวิทยาศาสตร คิดแบบหลักพื้นฐาน ใหรูจักตั้งสมมติฐาน ทดลองหาคําตอบกอนจะเชื่อ

ตัวอย่างที่ผมเคยยกสมัยโบราณเลยนะ ครับ เมื่อก่อนเราซื้อเครื่องอัดวิดีโอ เปรียบเทียบ คล้าย ๆ กันกับเครื่องอัดวิดีโอสมัยก่อนนอกากใช้ กดเดินหน้าหรือถอยหลัง แล้ว Function ที่มัน หรู ห รามากไปกว่ า นั้ น ก็ คื อ ประเภทตั้ ง อั ด ล่วงหน้า 3 วัน 7 วัน 1 เดือน อะไรก็แล้วแต่นะ ครับ เค้าเรียกว่า 108 จริง ๆ แล้วเวลานํามาใช้ เราก็ใช้แค่ Play หรือกลับหน้า กลับหลังแค่นั้น ก็ เทียบเคียงกับเครื่องโทรศัพท์ จริง ๆ แล้วก็คือ การรู้ที่จะใช้เทคโนโลยีให้คุ้มค่ากับสตางค์ที่เรามี นั่นเองนะครับ นี่ก็เป็นเรื่องของรู้เท่าทันก็คงอัน เดียวกันนี่แหล่ะ ที่ ต้ อ งพู ด ในเรื่ อ งของตั ว วิ ท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี พ วกนี้ บ้ า ง ก็ เ พราะว่ า ท่ า นก็ เ ห็ น ว่ า เรื่ อ งราวที่ มั น ผ่ า นสื่ อ ทั้ ง หลาย แล้ ว ก็ ม าสร้ า ง ความบิดเบือนต่าง ๆ ในแวดวงทางวิทยาศาสตร์ เราห่ ว งอยู่ บ้ า ง คื อ ในเรื่ อ งของ “วิ ท ยาศาสตร์ เที ย ม” ผมเคยได้ ยิ น มาว่ า ปี 2012 วั น ที่ 31 ธ.ค. เป็นวันสิ้นโลก ฮือฮากันไปพักหนึ่งนะครับ เมื่ อ ธั น วาที่ ผ่ า นมานี่ มี ข่ า วบอกว่ า โลกดั บ แล้ ว มาถึ ง วั น นี้ เ ราก็ ฉ ลองต้ อ นรั บ ปี ใ หม่ 2558 กั น อย่างสนุกสนานนะครับ

ทุกวันนี้ผมก็ใช้โทรศัพท์อยู่พอสมควรนะ จะเห็นว่าหลายคนก็หากินกับความคาดหวังของ ผู้คน ว่าด้วยเรื่องสวย เรื่องขาว เรื่องของส่งมา ขายไม่ขาดมือเลย ผมก็ไม่รู้เหมือนกันว่าผมนี่เป็น อะไรอยู่หรือเปล่า เห็นมีส่งมาขายอยู่ประจํา ผม ว่าเป็นเวลา 2 ปีแล้ว มีสาวรัสเซียส่งมาขอเป็น เพื่อนกับผมตลอด แต่ผมก็ไม่กล้าตอบโต้อะไรเค้า เลยนะครั บ และก็ ไ ม่ รู้ ว่ า ผลมั น เป็ น อย่ า งไรนะ ครับ แต่ก็เชื่อว่าผลเหล่านี้มันมาถึงท่านทั้งหลาย ด้วยเหมือนกัน ก็เรียกว่าเป็นข่าวสารที่มาถึงเรา ผมก็ยังถือว่าอยู่ในกลุ่มวิทยาศาสตร์เทียม เพราะ จากคําโฆษณาต่าง ๆ เหล่านี้ แล้วเราไม่รู้เลยว่า มันผ่านกระบวนการถูกต้องตาม อย. หรือเปล่า การโฆษณาเครื่องสําอาง อาหารเสริมเต็มไปหมด


30 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ที่ยกเรื่องพวกนี้มาพูดก็คือเป็นเพราะว่า มันเป็น Content ที่ผ่านสื่อมาทั้งหมด จะ ออนไลน์ไม่ออนไลน์ก็แล้วแต่ บางครั้งเราเองไม่ รอบคอบ ผมต้องเอา อาจารย์ธามมาเป็นที่ตั้งว่า ไม่ต้องห่วงเยาวชน ตัวเราเองต่างหากที่จะต้อง เป็นห่วงด้วย เพราะเราเองก็ต้องดูแลตัวเอง ดูแล ลูกหลานเราด้วยเหมือนกัน ความรอบคอบของ แหล่งการผลิตข้อมูลที่ถูกต้องสมเหตุสมผลก็เป็น เรื่องที่เราต้องให้ความสนใจกับมัน ก็ต้องยกเรื่อง พวกนี้ขึ้นมาเป็นตัวอย่าง ที่น่าตกใจคือข่าวบางข่าวผู้ให้ข้อมูลเป็น นักวิชาการ แต่พอความจริงพอตรวจสอบเรื่อง เหล่านั้นมันก็ไม่มี ผมยอมรับว่าคนไทยบางทีเรา ต้องรับฟังเพื่อการเตรียมพร้อมที่จะรับ แต่ว่าการ รับรู้หรือเท่าทันของเราเองนี่แหล่ะครับจะต้องมี การตรวจสอบเพื่ อ จะไม่ ใ ห้ เ ราเองหลงซะ จนเกินไป ก็ต้องเรียนว่าการตอบโต้หรือการให้ ข้ อ มู ล เชิ ง บวกหรื อ การให้ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น จริ ง บางอย่างมันไม่ค่อยมีใครตาม และเรื่องบางอย่าง ค่ อ นข้ า งติ ด ตามยาก ทํ า ให้ สื่ อ มวลชนยั ง ไม่ สามารถเข้าถึงเรื่องดังกล่าวได้ อย่างที่ผมเรียนเบื้องต้นนะครับ ก็ต้อง เรียนว่า ความพยายามในการที่สร้างสาระที่เป็น เชิงบวก แล้วก็เผยแพร่สู่สาธารณะเพื่อสร้างความ ตระหนั ก การรั บ รู้ การเตื อ นภั ย หรื อ อะไรก็ แล้ ว แต่ ก็ เ ป็ น นโยบายที่ เ ป็ น ภาระของหลาย หน่วยงาน ของนักวิชาการ ของผู้เชี่ยวชาญ พวก เราในฐานะที่ทํางานทางด้านนิเทศ ทางด้านสื่อ ผมก็ควรจะต้องเข้าใจ คือนอกจากตัว Media ที่ เรารับผิ ด ชอบอยู่นั้น พอพูดถึง ตัวผู้ผลิ ตเนื้อ หา สาระ ผมคิดว่า มันต้องตามหาเหมือนกันว่าแหล่ง ผู้ผลิตนั้นเชื่อถือได้ แหล่งที่เราจะไปหยิบจับสาร ตัวนั้น มาเพื่อที่จ ะสู่ผู้ รับมีความถูก ต้อ ง มี ความ

เชื่อถือได้ มีเหตุมีผลอะไรเพียงพอหรือไม่ ผมคิด ว่าทั้งหมดเราต้องมีความเข้าใจด้วยกันทั้งหมดนะ ครับว่า Message ตัวไหนเหมาะที่จะส่งผ่านสื่อ อะไร ช่ อ งทางไหน ไปสู่ ผู้ รั บ ในระดั บ ไหน เพื่อที่จะก่อให้เกิดความเข้าใจที่ถูกต้องนะครับ…

แนวคิดที่จะใหเยาวชนคิดไปใน ทางบวก

จะเห็นว่าหลัง ๆ แหล่งเรียนรู้ ไม่ว่าจะ พิพิธภัณฑ์ หรือศูนย์ข้อมูลข่าวสารที่จะช่วยเติม เป็นทางเลือกที่จะหนีออกไปจากการอยู่กับโลก เสมือนก็มีมากขึ้น แม้แต่เอกชนเองก็พยายามเติม สาระที่ เ ค้ า ทํ า เรื่อ งบั น เทิ ง เริ ง รมย์ ท้ั ง หลาย ชุ ด กิจกรรมนิทรรศการอะไรทั้งหลาย ที่ให้ความรู้ พวกนี้เพิ่มขึ้น ยกตัวอย่างงานของเรา เครื่องมือ ส่ ว นหนึ่ ง ที่ เ รามี ใ ช้ ก็ คื อ เป็ น ตั ว พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติวิทยา เรื่องราวหลาย ๆ ส่วนที่มันเป็น Content เค้าก็พยายามหา ช่ อ งทางที่ จ ะนํ า เสนอในรู ป แบบอื่ น โดยเฉพาะ ผ่านสื่อออนไลน์ทั้งหลาย กระทรวงวิทยาศาสตร์ ก็จะมีที่เราเรียกว่า SVKC เป็นสื่อออนไลน์ที่ให้ องค์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี เยอะ ไปหมดนะครับ คราวหลังก็มีเพิ่มทั้ง Instargram ทั้งอะไรต่าง ๆ แต่ก็ต้องเรียนเบื้องต้นนะครับว่า ช่อง ทางการเข้ า ถึง ที่เ ปิด หลากหลายมากขึ้ น ก็เ ป็ น ทางเลือกให้กับเด็ก ๆ เค้า เพียงแต่ว่าการใช้ก็ยัง น้อยอยู่ ซึ่งถ้าฟังกรณีที่อาจารย์ธามพูด ผมเห็นว่า มันยังน้อยอยู่มาก มันเป็นเชิงบวกอะไรทั้งหลาย นะครับ แต่โดยภาระหน้าที่ผมว่าแม้แต่กระทรวง


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 31

ICT เอง จะเน้นในเรื่องของการเตรียมช่องทางสื่อ แต่ตัว Content นั้น ผมว่าทุกหน่วยงานที่ทํา หน้าที่ เพราะฉะนั้นการให้ความรู้ให้อะไรกับเด็ก และเยาวชนในสั ง คมนั้ น ก็ พ ยายามทํ า อยู่ เพียงแต่ว่ามันไม่โดดเด่น มันไม่กระตุ้น มันไม่เชิญ ชวน มันไม่น่าสนใจหรืออะไร อันนี้ผมว่ามันน่าจะ เป็นโอกาสหนึ่งเหมือนกันที่แวดวงวิชาการส่วน หนึ่งได้มานําเสนอให้เห็นว่า ทําอย่างไรเราถึงจะ ผสมผสานเรื่องพวกนี้เข้าไปด้วยกันว่า การเอา เกลือ เอาน้ําตาลไปให้ป้าเมี้ยน ป้าแม้น หรือใคร ต่อใครได้เข้าใจได้มากขึ้น อันนี้ก็ขอฝากไว้ตรงนี้ ด้วยนะครับ ... คุณมานพ กล่าว

วิ ธี ท างที่ จ ะทํ า ให เ ยาวชนรู เ ท า ทันสื่อไดอยางไร

จริ ง ๆ ต้ อ งเรี ย นตรงไปตรงมาว่ า เป็ น เรื่ อ งยากเหมื อ นที่ อ าจารย์ ธ ามว่ า นะครั บ เพราะว่าความแตกต่างกันของเทคโนโลยี เป็น เรื่องที่ตามกันไม่ทันจริง ๆ แต่ว่า ผมเข้าใจว่าพวก เราที่ อ ยู่ ใ นแวดวงในด้ า นการศึ ก ษาบ้ า ง ด้ า น วิทยาศาสตร์บ้าง รวมทั้ง ICT บ้าง สิ่งที่กําลังทํา อยู่ว่า ทําอย่างไรถึงจะช่วยกันปูพื้นในเรื่องของ การรู้ใช้เทคโนโลยี เรื่องของ ICT ทั้งหลายให้มัน กว้างขวางขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มผู้ใหญ่โดยเฉพาะที่ เป็นผู้ปกครองของลูกหลานเรานี่แหละ นะฮะ ตั ว อย่ า งที่ ทํ า กั น อยู่ คื อ เราต้ อ งมี โปรแกรมอบรมเจ้าหน้าที่ อบต. ทั้งหลาย ซึ่งเป็น กลุ่ ม หนึ่ง ที่โ ดยหน้ าที่ แล้ ว เค้า ควรจะรู้ จะเข้ าใจ ก่อนเด็กและเยาวชน กลุ่มถัดมาเราก็เริ่มที่ครู ซึ่ง ส่วนหนึ่งที่มีอาชีพต้องใช้ ICT ทั้งเป็นสื่อ เป็น

เครื่องมือในการเรียนการสอนเนื่องจากที่เรามีจุด Sector เล็ก ๆ ของเราอยู่ที่รั้วจามจุรี เราก็เปิด โอกาสให้ได้เรียนรู้ และได้รับการให้ความสนใจ อยู่พอสมควร ในเรื่องของการใช้ ในเรื่องของการ สร้างเว็บเพจ ในเรื่องของการเลือกใช้และเลือกดู ข้อมูลข่าวสาร หรือการตรวจสอบข้อมูลข่าวสาร ถ้ามองอย่างนี้จะเห็นได้ว่ากิจกรรมที่ทํามันคงจะ ไม่ทําให้เหมือนกับกลุ่มลูกหลานเราที่ห่างไกลกัน อยู่เยอะ แต่ก็เป็นความพยายามที่ต้องช่วยกันทํา นอกจากการช่วยในเรื่องเหล่านี้แล้ว ทํา อย่างไรเราจะช่วยกันกรองในเชิงรุกถึงการเตือน หรือการส่ง Message ที่ถูกต้องควรมีทางเลือก ให้กับกลุ่มวัยรุ่นบ้าง คือให้ข้อมูลในทางบวกให้ เค้ า มี ก ารเลื อ กใช้ ไ ด้ ม ากขึ้ น บางครั้ ง ในกลไก ทั้งหลายที่อาจจะต้องเชิญชวนให้เค้าไปสัมผัสกับ สถานที่ จ ริ ง คื อ ทุ ก ภาคส่ ว นต้ อ งช่ ว ยกั น ทํ า ใน ทิศทางเดียวกัน ผมดูว่าจริงแล้วบ้านเรามีแหล่ง รองรับสื่อที่สามารถเติมสาระเชิงบวกได้อย่างไร ผมเชื่อว่าหลายส่วนเค้าก็ทําไปแล้ว และส่วนของ ผู้ส่งสารทั้งหลายก็ควรจะต้องเตรียมสาระที่เป็น ประโยชน์ ใ ห้ ม ากขึ้ น และผู้ ป กครองหรื อ ผู้เกี่ยวข้องทําอย่างไรจะเติมทางเลือกให้เค้า เติม เต็มให้เค้า และต้องเรียนรู้ร่วมกันอยู่ใกล้ชิดกับ เค้า เรื่องของการรณรงค์ก็จําเป็น ทุกภาคส่วน ของสังคมต้องช่วยกัน ต้องเสริมกัน บางครั้งบาง คราวการตอบโต้ข่าวจริง ข่า วข้อมู ลที่ถูก ต้อ งก็ เป็นเรื่องจําเป็นที่ต้องทํา คือต้องวางระบบให้มัน เป็ น เรื่ อ งราวที่ ชั ด เจนขึ้น ส่ ง เสริ มกั น ให้ ไ ด้ เ ป็ น อย่างดี จะเริ่มกันได้เมื่อไหร่ในอนาคตเท่านั้นเอง ครับ ... ขอบคุณครับ


32 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

มองกว้างอย่างเปิดใจ ทําให้เข้าใจกันมากขึ้น

ประเด็นคําถาม แลกเปลีย ่ นความคิดเห็น


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 33

ประเด็ น คํ า ถามแลกเปลี่ ย นความเห็ น กั บ วิทยากร

ผู้ร่วมสัมมนา : กวีสิปปวิชญ์ เมืองจันทร์ “สวัสดีครับผมกวีสิปปวิชญ์ เมืองจันทร์ นักศึกษานิเทศศาสตร์นะครับ... ผมอยากจะเชิญ วิทยากรคิดขํา ๆ นะครับว่า ปรากฎการณ์เหนียว ไก่นี่นะฮะ เป็นโอกาสหรือเป็นปัญหาในลักษณะ ของหัวข้อในวันนี้ครับ”

อาจารย์ธาม เชื้อสถาปนศิริ : สภาพของ Social Media คือ คุณเป็นคนอย่างไร คุณก็จะ Follow ข่าวสารประเภทนั้น พู ด ว่ า เป็ น ปรากฏการณ์ ไ ด้ เ ลยครั บ เพราะว่ า มั น ทํ า ให้ สิ่ ง ที่ ผ มมองเห็ น แว่ บ แรกนั้ น มันเป็นข่าวสารที่ทุกคนเล่นแชร์กันอย่างมากมาย สร้างคลิปเลียนแบบอะไรต่าง ๆ มองในมุมที่ไม่มี ดีเนี่ย มันทําให้มองว่าสังคมไทยฉาบฉวย เรื่องที่ ไร้ ส าระค่ อ นข้ า งมาก ทุ ก วั น นี้ ผ มต้ อ งมานั่ ง Unfollow ข่าวสารไร้สาระต่าง ๆ มากมาย แต่ ถ้า มองอี กมุ ม หนึ่ ง ก็ คือ ว่า มั น สะท้อ นให้เ ห็น ว่ า สังคมไทยให้ความสนใจกับเรื่องที่มันเร้าอารมณ์ ขําขัน สนุกสนาน เค้าบอกว่าสภาพของ Social Media คือ คุณเป็นคนอย่างไร คุณก็จะ Follow ข่าวสารประเภทนั้น เพราะฉะนั้นทันทีที่เจอน้องหล้า แล้วมา เจอซับปุย มาอีกทําให้ผมรู้ว่าเดี๋ยวนี้ข่าวสารมัน เป็นแบบนี้นะครับ เจอคนหล่อบอกด้วย เจอแม่ ค้า ขายหมู ปิ้ ง สาวสวย บอกด้ ว ย ..รู้ยั ง รู้ ยั ง (ที่ กําลังฮิต) จากเหตุการณ์น้องหล้ามันทําให้ค้นพบ ว่ า คนเราในปั จ จุ บั น ไม่ ไ ด้ ม องเห็ น คุ ณ ค่ า ของ ความรู้ อี ก ต่ อ ไปละ ความรู้ ก ลายเป็ น สิ น ค้ า ฟุ่ม เฟื อ ยในโลกศตวรรษที่ 21 คื อ มั น จะเข้ า ถึ ง เมื่อไหร่ก็ได้ แต่ก่อนในยุคปี 1800 ความรู้เป็น ยุคสหบูรณาการ ยุครู้แจ้งแห่งปัญญา วิทยาศาสตร์ สังคม จิตวิทยา ศิลปะ เกิดขึ้นในยุคนั้น แต่ยุคนี้ มันอยู่ใน Media มันมีอยู่ตลอดเวลา ผมว่าโลกมันกําลังเปลี่ยนแล้วครับ เชื่อ หรื อ ไม่ ค รั บ ทุ ก ครั้ ง ที่ ล ะครตบจู บ แรงเงา เรยา สามีตี ต รา สิ่ง เหล่า นี้ก็ มี แง่ มุม ที่ดี เพราะฉะนั้ น เวลาเสพสื่ อ อย่ า มองมุ ม ด้ า นเดี ย ว บางที เ รา สามารถพลิ ก มั น เป็ น แง่ มุ ม ที่ มี ป ระโยชน์ ไ ด้


34 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

อย่างเช่น The Voice ผมสามารถเขียนออกมาใน มุมมองเชิงการตลาดของสังคมได้ เพราะว่าการ รู้เท่าทันสื่อนั้นจะทําให้เรามีสายตาหลายมุมมอง แล้ ว มั น ทํ า ให้ เ ราเหมื อ นกั บ ละครไทยมี คํ า หนึ่ ง ที่ว่า ดูละคร แล้วให้ย้อนดูตัว ก็เหมือนเหนียวไก่ นี้ก็เช่นกัน เราสามารถมองได้หลายมุมมองครับ

คุณมานะชัย บุญเอก : ในเรื่อ งแรกนะครั บสํ าหรั บการพั ฒนา ด้านการเกษตรและสร้ างศักยภาพในชุมชนนั้ น คือสิ่งที่เราต้องการเห็นคือภาคสังคมเกษตรของ เราอยู่กั บวิ ถีเ หมือนเดิ ม วั ฒ นธรรมเหมือนเดิ ม แต่เรา Adapt เข้ามา เหมือนกับว่าผมอยากให้มี การต่ อ ยอดเชิ ง เศรษฐกิ จ ด้ ว ย การส่ ง เสริ ม คุณภาพชีวิตด้วย เกิดต่อไปในอนาคตคาดว่ามัน จะมี สาธารณู ป โภคเกี่ ย วกั บอิ น เทอร์เ น็ ตปั ก อยู่ หน้าบ้านของท่านเหมือนมิเตอร์น้ําไฟ และเราจะ มี ศู น ย์ อ งค์ ก รชุ ม ชนเราอยู่ ต รงนั้ น จะเรี ย กว่ า ปราชญ์ชาวบ้านก็ว่าได้ โดยส่วนราชการหลักจะ เข้าไปร่วมกับท่าน เพราะฉะนั้นมันจะแฝงเข้าไป โดยไม่ละเลยเรื่องเศรษฐกิจ และมีการส่งเสริม และขายผ่าน E- Commerce ถ้าเกิดการแนบ แน่นกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชน และวิธีชีวิตของ เราก็จะต่อยอดเป็น 5Digital Economy และสิ่ง ที่สําคั ญคือเราต้อ งมีทัศนคติใ นเชิง บวกด้ ว ยนะ ครับ

ผู้ร่วมสัมมนา : แสงเทียน เนียมทรัพย์

“ขออนุ ญ าตถามคุ ณ มานะชั ย นะคะ เป็ น นั ก ศึ ก ษาปริ ญ ญาโท แต่ ก็ ทํ า งานทางด้ า น สื่อสารมวลชนด้วย ของวิทยุสื่อสารที่เชียงใหม่ มี ข้ อ นึ ง ที่ พู ด ถึ ง ยุ ท ธศาสตร์ ท างด้ า นการนํ า สื่ อ ออนไลน์เพิ่มคุณภาพชีวิตประชาชน โดยเฉพาะ กลุ่มผู้ฟังของเราคือภาคการเกษตร และได้พูดถึง ก า ร ใ ห้ บ ริ ก า ร ใ น ชุ ม ช น จึ ง อ ย า ก ท ร า บ รายละเอียดสักนิดว่าเป็นอย่างไรบ้าง ... ขอบคุณ ค่ะ”

5

Digital Economy คือ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศ โดยการนําเอาเทคโนโลยีดิจิตอลเข้ามา ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ ผลผลิตมวลรวมของประเทศให้ทันกับโลกในยุค ปัจจุบัน ตั้งแต่ Knowledge Economy หรือ เศรษฐกิจบนพื้นฐานของความรู้ และ Creative Economy ที่วางเป้าหมายในการเพิ่มมูลค่าทาง เศรษฐกิจ ให้กับสินค้าและการบริการผ่านทาง นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ อ้างอิง http://www.most.go.th/main/index


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 35


36 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

สรุปสาระสําคัญจากการสัมมนา


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 37

การรู้เท่าทัน" อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลน์ ของเยาวชน ภัชฌามน พูนศรีโชติ

ปัจจุบัน "สื่อ" นับว่าเป็นกระจกสะท้อนภาพของสังคม เปรียบเสมือนเครื่องมือ ที่มีบทบาทสําคัญต่อการสร้างค่านิยม เจตคติ การรับรู้ของประชาชนในสังคม และยังมี ผลต่อการสร้างเอกลักษณ์ของชาติ สื่อนําเสนอข้อมูลข่าวสารออกมาในลักษณะใด สภาพ สังคมย่อมแสดงออกมาในลักษณะนั้นเช่นกัน หากประเทศไทยมีการใช้สื่อเป็นเครื่องมือ ในการถ่ า ยทอดวั ฒ นธรรมอั น ดี ง าม โดยการนํ า เสนอแง่ มุ ม เชิ ง บวกผ่ า นครอบครั ว มิตรภาพ คุณธรรม ก็จะนําไปสู่การสร้างภาพลักษณ์ที่ดีของประเทศในสายตาของคน ต่างชาติ สะท้อนให้ผู้ชมรับรู้ถึงความอ่อนโยนของวัฒนธรรมของเรา หรือนําเสนอใน แง่ มุ ม เชิ ง ลบ ก็ จ ะนํ า ไปสู่ ก ารสร้ า งภาพลั ก ษณ์ ใ นแง่ ที่ ไ ม่ ดี ซึ่ ง ไม่ ส ามารถควบคุ ม ได้ ทั้งหมด เมื่อสื่อแพร่หลายมากมายขนาดนี้ การกลั่นกรองก่อนออนไลน์นั้นเป็นไปไม่ได้เลย จึงทําให้เด็กและเยาวชนที่ไม่มีความรู้เท่าทันสื่อซึ่งเปรียบเสมือนอาวุธอันสําคัญในการต่อสู้ กับสื่อร้ายอยู่ในสภาพที่ต้องซึมซับรับสารไปโดยปริยาย นี่คือสิ่งที่ต้องตระหนักและร่วมมือ กันในการหาทางออกและแก้ไขเพื่อเด็กและเยาวชน อาจก่อเกิดปัญหาตามมาจากภาวะขาด ภู มิ คุ้ ม กั น ในการรั บ สื่ อ ของเยาวชน ส่ ง ผลให้ เ ป็ น ปั ญ หาในอนาคต ทั้ ง ปั ญ หาด้ า น กระบวนการสื่อสาร ปัญหาสุขภาพจิต ปัญหาสภาพแวดล้อม และปัญหาครอบครัว การ รู้เท่าทันสื่อจึงมีความสําคัญ เพราะจะเป็นทางเลือกในการบริโภคและการใช้ชีวิตประจําวัน เพราะรู้ว่าจะจัดการกับสื่อที่ถาโถมเข้ามาอย่างไม่หยุดยั้งนี้อย่างไร ซึ่งเยาวชนจะสามารถ ต่อรองกับด้านลบของสื่อ และนําเอาด้านบวกจากสื่อมาใช้ได้


38 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ธาม เชื้อสถาปนศิริ จาก สํานักข่าวอิส รา ได้ให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์เกี่ยวกับการรู้เท่าทัน สื่อว่า "การรู้เท่าทันสื่อในยุคสื่อเก่า มักพูดถึงการ รู้เท่าทันสื่อในแบบ เท่าทันผลกระทบ จิตวิทยา การ ถูกครอบงํา และการตั้งคําถามว่าสื่อนั้นต้องการอะไร จากเรา ทว่ า การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ใหม่ ใ นยุ ค คอนเวอร์ เจ๊นซ์นั้น "แตกต่างกัน" เพราะสื่อใหม่ก้าวเข้าสู่ความ เป็น "โลกของผู้ใช้สื่อ" (user generated content) ซึ่งหมายความว่า เราเป็นทั้งผู้ชม ผู้อ่าน ผู้ฟัง และ กลายเป็นผู้ คิด เขียน บอกเล่า แชร์ ส่ง ต่อ ออกไป ด้วย ดังนั้นการรู้เท่าทันสื่อในยุคปัจจุบัน จึงควร พูดถึงการรู้เท่าทัน "ตัวเราเอง" มากกว่า ผมขอ อนุญาตแบ่งการรู้เท่าทันสื่อ ในยุคสื่อใหม่ ที่เรา ควรจะเท่าทัน ดังนี้ 1. มิติพื้นที่ (space) : เราใช้มันบนพื้นที่ แบบไหน? 2. มิติเวลา (time) : เราใช้มันมากน้อย เพียงใด? 3. มิติตัวตน (self) : เราใช้ มอง สร้าง ปฏิบัติ และวางกรอบตัวตนเราอย่างไร? 4. มิติความเป็นจริง (reality) : แน่ใจหรือ ว่าที่คุณรับรู้นั้นคือ ข้อเท็จจริง หรือความเป็นจริง? 5. มิติสังคม (social) : เรารู้หรือไม่ว่าเรามี ส่วนสร้างและส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างไรบ้าง?

เยาวชนสามารถตั้ ง คํ า ถามเหล่ า นี้ ต่ อ ตนเอง เมื่ อ เราได้ ใ ช้ สื่ อ ในภาวะที่ เ รา ต้ อ งใช้ ชีวิตประจําวันอยู่ในสังคมบริโภคนิยมข้อมูลข่าวสาร เกี่ยวกับการศึกษาหาความรู้ ค้นคว้าหาข้อมูลสินค้า ผลิตภัณฑ์ บริการต่างๆ ตลอดจนความเชื่อค่านิยม อีกทั้งด้านการบ้านการเมืองไหลบ่าถาโถมเข้าใส่เรา จนตั้งตัวไม่ติด มีความจําเป็นอย่างยิ่งที่เราจะต้องมี "สติและปัญญา" ในการเลือกรับข่าวสาร ไตร่ตรอง และใช้ข้อมูล เหล่านั้นให้เกิดประโยชน์ ยิ่งไปกว่านั้น การรู้เท่าทันสื่อยังเป็นการเพิ่มพลังและอํานาจให้แก่ ตัวเอง ในการควบคุมความเชื่อและพฤติกรรมส่วนตัว ของเราได้ เช่ น ไม่ เ ชื่ อ ตามโฆษณา ว่ า คุ ณ ค่ า หรื อ ความงามอยู่ที่ผิวขาวหรือผมสวย จึงไม่จําเป็นต้องซื้อ สิ น ค้ า ด้ ว ยเหตุ ผ ลนั้ น แต่ ดู คุ ณ ภาพและประโยชน์ จริงๆ ของสินค้า เป็นต้น การรู้เท่าทันสื่อ ยังนําไปสู่การตระหนักใน สิทธิการสื่อสารของประชาชนและทําให้เราสามารถ สื่อสารได้อย่างสร้างสรรค์ ซึ่งเท่ากับ เป็นการสร้า ง ความเข้ ม แข็ ง ให้ กั บ โครงสร้ า งประชาธิ ป ไตยของ สังคมอีกด้วย


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 39

จากการศึ ก ษา "รู้ เ ท่ า ทั น " จึ ง หมายถึ ง ทักษะ หรือความสามารถในการ "ใช้สื่ออย่างรู้ตัว" และ "ใช้สื่ออย่างตื่นตัว" คําว่า "การใช้สื่ออย่างรู้ตัว" สามารถอธิบายหรือขยายความได้ว่า สามารถตีความ วิ เ คราะห์ แยกแยะเนื้ อ หาสาระของสื่ อ สามารถ โต้ตอบกับมันได้อย่างมีสติและรู้ตัวสามารถตั้งคําถาม ว่า สื่อ ถูกสร้างขึ้นได้อย่างไร เช่น ใครเป็นเจ้าของสื่อ ใครผลิต และผลิตภายใต้ข้อจํากัดใด ควรเชื่อหรือไม่ หรือมีค่านิยมความเชื่ออะไรที่แฝงมากับสื่อนั้น พวก ที่ผลิตสื่อหวังผลอะไรจากเรา คําว่า "การใช้สื่ออย่าง ตื่นตัว" สามารถอธิบายหรือขยายความได้ว่า แทนที่เราจะเป็นฝ่ายตั้งรับอย่างเดียว เรา ก็จะต้องเปลี่ยนมาเป็นฝ่ายรุกบ้าง โดยการแสวงหา ข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสาร เข้ า ถึ ง สื่ อ ที่ หลากหลายและมี คุ ณ ภาพสามารถใช้ ส่ื อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์มีส่วนร่วมที่พัฒนาสื่อต่างๆ ให้ดีขึ้น เช่น ท้ ว งติ ง หรื อ ร้ อ งเรี ย นเมื่ อ พบสื่ อ ที่ ไ ม่ เ หมาะสม เรียกร้องสิทธิในฐานะเป็นผู้บริโภคสื่อ

ยุท ธศาสตร์ ที่จ ะตอบโจทย์ก ารรู้เท่ าทั น สมรภู มิ โ ลกออนไลน์ ข องเยาวชนนั้ น เราควร ร่วมกันเติมเต็ม ใน 5 ข้อ คือ มีการพัฒนาสังคม ดิจิตอลเพื่อให้ปรับคุณภาพชีวิตประชาชน มีการ ส่งเสริมการนําเอา ICT ไปใช้อย่างบูรณาการและ ยั่งยืน มีการพัฒนาโครงข่ายนวัตกรรมให้ทุกภาค ส่ ว นเข้ า มาใช้ โ ดยเฉพาะเกษตรกร มี ก าร พัฒนาการส่วนราชการแผ่นดิน และเยาวชนเอง ต้ อ งมี ค วาม "ตื่ น รู้ " ตื่ น รู้ ใ นการรั บ ผิ ด ชอบต่ อ สังคม และรับผิดชอบต่อตนเองด้วย


40 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

บทความประกอบการสัมมนา


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 41

เปิด 5 แนวคิดรู้เท่าทันสื่อ - รู้ทันตัวเอง ก่อนโพสต์ ไลค์ แชร์ ธาม เชื้อสถาปนศิริ สํานักข่าวอิสรา วันอาทิตย์ที่ 02 มีนาคม 2557

การรู้เท่าทันสื่อในยุคสื่อเก่า มักพูดถึงการรู้เท่าทันสื่อในแบบ "เท่าทันผลกระทบ จิตวิทยา การ ถูกครอบครอง ครอบงํา" และการตั้งคําถามว่าสื่อนั้นต้องการอะไรจากเรา ทว่าการรู้เท่าทันสื่อใหม่ในยุค คอนเวอร์ เ จ๊ น ซ์ นั้ น "แตกต่ า งกั น " เพราะสื่ อ ใหม่ นั้ น ก้ า วเข้ า สู่ ค วามเป็ น "โลกของผู้ ใ ช้ สื่ อ " (user generated content) ซึ่งหมายความว่าเราเป็นทั้งผู้ชม ผู้อ่าน ผู้ฟัง และกลายเป็นผู้คิดเขียนบอกเล่า แชร์ส่งต่อออกไปด้วยดังนั้นการรู้เท่าทันสื่อในยุคปัจจุบัน จึงควรพูดถึงการรู้เท่าทัน "ตัวเราเอง" มากกก ว่า ผมขออนุญาตแบ่งการรู้เท่าทันสื่อ ในยุคสื่อใหม่ ที่เราควรจะเท่าทัน ดังนี้


42 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

1. มิติพื้นที่ (space) : เราใช้มันบน พื้นที่แบบไหน? คือความตระหนักว่าพื้นที่ของสื่อใหม่นั้น มิใช่พื้นที่ส่วนตัวหรือสาธารณะอย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ มั น คื อ "พื้ น ที่ ส่ ว นตั ว บนพื้ น ที่ ส าธารณะ" เหมือนเรานั่งร้านกาแฟในห้างสรรพสินค้า หรือ ทานอาหารในร้านอาหาร สถานที่แห่งนั้น "เราแค่ มีความรู้สึกว่าเป็นส่วนตัวของเรา" ทว่าที่จริงแล้ว ไม่ใช่ พื้นที่นั้นมีคนสร้างขึ้นมาให้เราใช้ต่างหาก เราเพียงแค่รู้สึกเป็นเจ้าของเท่านั้น เพราะฉะนั้น ทุ ก ๆ อย่ า งที่ เ ราคิ ด โพสต์ ขึ้ น ไป จึ ง ไม่ ใ ช่ ใ น ขอบเขตพื้นที่ส่วนตัว แต่เป็นพื้นที่สาธารณะ มาร์ ค ซั ก เคอร์ เ บิ ร์ ก เจ้ า ของเฟซบุ๊ ก เคยเขียนไว้ว่า "ตอนที่ผมสร้างเฟซบุ๊กขึ้นใหม่ ๆ ก็คิดว่าใครจะมาพูดเรื่องส่วนตัวบนเฟซบุ๊ก แต่ใน ภายหลั ง ก็ เ ข้ า ใจได้ ว่ า ผู้ ค นต้ อ งการพู ด เรื่ อ ง ส่วนตัวนั้น ๆ ให้คนทั้งโลก หรืออย่างน้อยก็เพื่อน ๆ ในสังคมเขาได้ยินกัน มิเช่นนั้น เขาก็คงไม่เขียน และโพสต์มันหรอก"

ความสํ า คั ญ ของกิ จ กรรมอื่ น ๆ ในชี วิ ต ไปมาก ไม่ ใ ช่ แ ค่ นั้ น แต่ เ รายั ง ต้ อ งรู้ เ ท่ า ทั น "มิ ติ เ ชิ ง เวลา" ของมันด้วย เพราะสื่อใหม่ได้เข้ามากําหนด ความเร็ว และการแข่งขันให้ผู้คน "ตกหลุมพราง ความเร็ ว / ช้ า " เช่ น รี บ กดแชร์ กดไลค์ ห รื อ ปล่อยข่าวลือไปเร็ว เพราะต้องการแข่งกับสื่ออื่น ๆ หรือ เพราะเราอยากจะเป็นส่วนหนึ่งของการ ส่งต่อข่าวที่เราเชื่อว่ามันจริง บางครั้ ง ผู้ ค นก็ ช้า ที่ รั บ รู้ข่ า วสารหนึ่ ง ที่ เกิดขึ้นมานานแล้ว, ยุคสมัยปัจจุบัน จึงเป็นยุค ที่ "เวลากลายเป็นปัจจุบัน" (now) ที่เวลาของ ผู้คนไม่เท่ากัน และเป็นปัจจุบันกันทั้งหมด เราจึงควรรู้เท่าทันว่า เส้นแบ่งเวลาและ กับดักความเร็วนั้น เหล่านี้มากําหนดปัจจัยสําคัญ ของความถูกต้องของข่าวสาร และความเร่งรีบ กลั ว ตกข่ า วของเราให้ เ รากระวนกระวายใจ เหมือนที่เขาเรียกว่าเป็น โรค "FOMO" ที่แปลว่า "Fear Of Missing Out" หรือ "โรคกลัวตกข่าว/ พลาดข่าว"

2. มิติเวลา (time) : เราใช้มันมากน้อย

3. มิติตัวตน (self) : เราใช้ มอง สร้าง ปฏิบัติ และวางกรอบตัวตนเราอย่างไร? อันนี้ หมายความว่า: (1) เรารู้สึกว่าตัวตนที่แท้จริงของเรานั้น คื อ ตั ว ไหน? ระหว่ า งในโลกออนไลน์ ในเกม ออนไลน์ ในเฟซบุ๊ ก หรื อ ตั ว เราที่ เ ป็ น ตั ว เนื้ อ ร่างกายที่แท้จริง อันนี้หมายถึง "ตัวตน กายเนื้อ กายจิ ต " เราวางตํ า แหน่ ง แห่ ง ที่ มั น ไว้ ต รงไหน อย่างไร? (2) เรามี ตั ว ตนเดี ย ว หรื อ หลาย ๆ ตั ว ตน? วั ย รุ่ น สมั ย นี้ หรื อ ผู้ ใ หญ่ บ างคนรู้ สึ ก ว่ า ตนเองสามารถสร้างตัวตนจําลอง ร่างอวตารได้ หลาย ๆ ตัว นั่นอาจเป็นข้อดีและข้อแย่ เพราะ คนในปั จ จุ บันจะมี อั ต ลัก ษณ์ บุค คลหลากหลาย

เพียงใด? มนุษย์ในยุคสังคมสารสนเทศใช้เวลากับ สื่ อ ม า ก ขึ้ น ทั้ ง ใ น พ ฤ ติ ก ร ร ร ม ก า ร ใ ช้ สื่ อ หลากหลายช่ อ งทางในเวลาเดี ย วกั น และทํ า กิ จ กรรมหลายอย่ า งพร้ อ ม ๆ กั น (multiplatform & multi-tasking) ดังนั้น การรู้เท่าทัน สื่อใหม่จึงหมายความว่า "คุณรู้ว่าใช้เวลากับมัน มากเกินไป หรือ ควรรู้ว่าเวลาใดควรใช้หรือควร ใส่ใจกับกิจกรรมอื่น ๆ บ้าง" ผู้คนในโลกสื่อใหม่หลายล้านคนเป็นโรค เสพติด อิ น เทอร์ เ น็ต ติ ด เกมส์ ติดแชท และติ ด เ ค รื อ ข่ า ย สั ง ค ม พ ว ก เ ข า "ใ ช้ เ ว ล า ม า ก เกินไป" และ "ใช้มันอย่างพร่ําเพรื่อ" จนลดทอน


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 43

มากขึ้น ซึ่งมันแย่แน่ ๆ ถ้าคุณเริ่มที่จะ "สับสน" กับการสร้างอัตลักษณ์ของคุณในเฟซบุ๊ก ถ้ามัน แตกต่างกันมาก มันก็ย่อมส่งผลเชิงจิตวิทยาอัต ลักษณ์ตัวตนของคุณ (3) เรามี ค วามสั บ สนเรื่ อ งอั ต ลั ก ษณ์ ตัว ตนหรื อ ไม่ ระหว่ างตั ว ตนที่ เ ราอยากจะเป็ น ตัวตนที่คนอื่นมองเราจริง ๆ ตัวตนที่เราอยากให้ คนอื่นมองและตัวตนที่เราเป็นจริง ๆ ผู้ ค นในโลกปั จ จุ บั น ให้ ค วามสํ า คั ญ ว่ า "การสร้ า งอั ต ลั ก ษณ์ และการสร้ า งชื่ อ เสี ย ง และสถานะ" นั้ น กลายเป็ น เรื่ อ งเดี ย วกั น อันตรายจึงอยู่ที่ว่า "ตัวตนและชื่อเสียง สถานะ ทางสังคมในโลกสื่อใหม่นั้น อาจกร่อนทําลายอัต ลั ก ษณ์ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของความเป็ น คุ ณ " คนที่ ไ ม่ ระมัดระวังเพียงพอ จะถูก "ผู้คนในโลกสื่อใหม่/ สื่อสังคมครอบงํา" และคุณอาจจะพยายามทําทุก อย่างเพื่อให้ "คนอื่นๆ ที่คุณไม่รู้จักชื่นชอบ" น่า เสียดายที่ตัวคุณจะโดนครอบงําจากคนอื่น คนที่ พวกเขาเหล่านั้นก็พยายามสร้างตัวตนหลอก ๆ จําลองขึ้นมาเหมือนกัน ปั ญ ห า นี้ ยั ง มี เ รื่ อ ง ง่ า ย ๆ เ ช่ น ผู้คน "ใช้อัตลัก ษณ์บุคคลเทียม / นิรนาม" เพื่อ หวังผลก่อการร้าย ล่อลวง และอาชญากรรมอื่น ๆ ซึ่งเป็นสิ่งที่คุณควรจะรู้ว่า "เห็นหน้าไม่รู้จักชื่อ เจอกั น ไม่ รู้ จั ก ใจ" ไว้ ใ จใคร ๆ ก็ ลํ า บากในโลก ออนไลน์!

ข้อเท็จจริงบางส่วนที่ประกอบสร้างความเป็นจริง ขึ้น มากล่ อ มเกลาคุณ ให้ ห ลงเชื่อ เช่น ข่ า วหรื อ โฆษณาต่าง ๆ นั่นเอง แต่ในโลกของสื่อใหม่ผม ต้องบอกว่า "มันยากยิ่ง ขึ้นไปอีก" เพราะความ จริงในโลกคอมพิวเตอร์ คือ ความจริงเสมือนแบบ หนึ่ง (virtuality) เช่น ภาพกราฟิกจําลอง คอมพิวเตอร์ หรือเกมส์โลกออนไลน์ต่าง ๆ ที่พา คุณเข้าไปสู่จินตนาการเหลือเชื่อ หรือมากไปกว่าเราก็จะอยู่ในโลก "ความ จริงเพิ่มขยาย" (augmented reality) เช่น แว่นตากูเกิ้ล หรือกล้องโทรศัพท์มือถือที่เพิ่มเติม ข้อมูลจากภาพหน้าจอเข้าทับซ้อนกับโลกจริง ๆ เข้าด้วยกัน และมากไปกว่านั้น ลองนึกถึงโลกของ ความจริงเหนือจริง (surrealism) เช่น เราเป็น "นีโอ" ในหนังเดอะเมทริกซ์ ที่เราอาจจะตายจริง ๆ ถ้ า เราตายในเกมส์ ห รื อ โลกภาพยนตร์ "inception" ที่เราเข้าไปสู่โลกแห่งความฝัน ผจญ ภัย ล้วงลึกก่อความรักและอาชญากรรมกระทั่ง สร้างความฝัน ปมขัดแย้งในชีวิตสู่โลกของตัวคุณ จริง ๆ สื่ อ ใหม่ ไ ด้ ทํ า ให้ ค วามจริ ง มี ห ลายชั้ น ซั บ ซ้ อ นและเป็ น ความจริ ง เสมื อ นจริ ง ทั บ กั น วุ่นวายไปหมด ปัญหาก็คือ คุณเสพติดความจริง แบบไหน ระดับใดอยู่ และที่มากกว่านั้น คุณกลับ อาจคิดว่าความเป็นจริงในโลกออนไลน์ คือ ความ จริงที่คุณมีชีวิตอยู่ด้วยซ้ําไป

4. มิติความเป็นจริง (reality) : คุณรู้ แน่ ใ จหรื อ ว่ า ที่ คุ ณ รั บ รู้ นั้ น คื อ ข้ อ เท็ จ จริ ง หรื อ ความเป็นจริง? ในโลกของสื่อเก่า 3 คําข้างต้นคือสิ่งที่ นักรู้เท่าทันสื่อต้องเร่งเรียนรู้เท่าทัน เพราะสื่อเก่า นั้นมีอํานาจประกอบสร้างความจริงได้อย่างร้าย กาจ สิ่ ง ที่ คุ ณ รู้ นั้ น อาจไม่ ใ ช่ ค วามจริ ง แต่ เ ป็ น

5. มิติสังคม (social) : เรารู้หรือไม่ว่า เรามีส่วนสร้างและส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างไร บ้าง? ในโลกยุคอิทธิพลอํานาจสื่อเก่า สื่อนั้นมี ผลส่งผลกระทบมากมายต่อชีวิต ทัศนคติ ความรู้ พฤติกรรมและจิตวิญญาณของเรา, เรากลายเป็น ผู้ตั้งรับรอกระบวนการกล่อมเกลาประกอบสร้าง


44 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

แต่ในสื่อใหม่ผู้คนมีอํานาจที่จะสื่อสารกับโลก, ทุก คนหันมาพูดเรื่องตัวเองมากขึ้น ไม่มีใครใส่ใจจะฟัง เรื่องของคนอื่น ๆ ทั้งความโกรธ อวดเก่ง ขี้อิจฉา ความรุนแรง อคติ ความเกลียดชัง ต่างถูกโยนทิ้งลง มาที่เครือข่ายสังคมออนไลน์ แน่ว่ามีพลังทั้งด้าน บวกด้านลบ มีพลังสร้างสรรค์และทําลาย เราทุ ก คนเป็ น ผู้ ที่ ส ามารถสร้ า งผล กระทบต่อสังคมได้ทั้งหมด ด้วยเนื้อหา เวลาและ สถานการณ์แวดล้อมที่เอื้ออํานวย คําด่า คําชม ข่ า วลื อ ข่ า วจริ ง ความรั ก ความชั ง สั น ติ แ ละ สงคราม เกิดขึ้นได้ด้วยการใช้สื่อของเราทุก ๆ คน โดยรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม, นี่คือโลกที่ผู้คนทุก ๆ คน เริ่มที่จะมีส่วนร่วมสร้างพร้อม ๆ กันไม่มีใครเป็นผู้ มีอํานาจกําหนดความรู้ ความจริง และผูกขาด อํ า นาจอี ก ต่ อ ไปเราทุ ก คนได้ ก ลายมาเป็ น นั ก ปฏิวัติ และ นักโฆษณาชวนเชื่อไปพร้อม ๆ กัน การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ในแง่ นี้ จึ ง หมายถึ ง ว่ า คุณ แคร์ ใส่ ใ จคนรอบข้ า ง เพื่ อ นคุ ณ สั ง คมคุ ณ เพียงพอหรือเปล่า คุณเข้าใจกฎเกณฑ์ กติกาการ อยู่ร่วมกันในโลกออนไลน์หรือไม่ ถ้าสื่อใหม่เป็นที่ ๆ ทุกคนเอาระเบิดมาวางใส่ โลกก็จะไม่น่าอยู่ แต่ ถ้ า ทุ ก คนเอาสติ เอาปั ญ ญาความรู้ ความจริ ง และเจตนาดี หวังดีต่อกัน โลกก็จะน่าอยู่มากขึ้น

ทั้งหมดทั้งปวงนี้ เป็นสิ่งที่ผมคิดว่า "เรา ทุกคน" ในฐานะเป็นผู้ใช้สื่อสังคมข้อมูลข่าวสาร ควรที่ จะ "รู้เ ท่ าทั นอํ า นาจของตัว เอง" ผมชอบ ประโยคที่ โทนี่ ปาร์คเกอร์ (สไปเดอร์แมน) พูด ว่ า "อํ า นาจอั น ยิ่ ง ใหญ่ มาพร้ อ มกั บ ความ รับผิดชอบอันยิ่งใหญ่" และสําหรับการรู้เท่าทัน สื่อในยุคปัจจุบัน โลกสื่อใหม่ ผมว่าถ้าเรารู้เท่าทัน ตัวเราเองเราก็จะใช้สื่อและอยู่ร่วมกับสื่ออย่างมี ความสุข! รู้เท่าทันสื่อใหม่ จึงเท่ากับ รู้เท่าทันตัว เราเอง คิดทุกครั้ง ก่อนโพสต์ ก่อนไลค์ ก่อนแชร์!

ธาม เชื้อสถาปนศิริ นักวิชาการ สถาบันวิชาการสื่อสาธารณะ (สวส.)


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 45

“เสพติดอินเทอร์เน็ต” แก้ไขได้จากภายในครอบครัว ณภิญา มุสิกะรักษ์

อิ น เทอร์ เ น็ ต กลายเป็ น เครื่ อ งมื อ การ สื่ อ สารของคนในยุ ค นี้ ที่ แ ทบขาดเสี ย ไม่ ไ ด้ ใ น ชี วิ ต ประจํ า วั น 6จากการสํ า รวจจํ า นวนผู้ ใ ช้ อินเทอร์เน็ต ณ เดือนมิถุนายน 2553 พบว่าทั่ว โลกมีผู้ใช้อิน เทอร์เน็ตมากกว่า 1,900 ล้านคน เมื่อเปรียบเทียบกับทวีปต่างๆ พบว่า ทวีปเอเชีย มีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตจํานวนมากที่สุด 825 ล้านคน และประเทศที่ มี ผู้ ใ ช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต มากที่ สุ ด คื อ ประเทศจีน คิ ด เป็น จํ า นวน 384 ล้ า นคน ส่ ว น ประเทศไทยมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ต 16.1 ล้านคน ด้วยความสะดวกสบายในการเชื่อมต่อ ข้ อ มู ล ข่ า วสารอย่ า งไร้ ข้ อ จํ า กั ด แบบทุ ก ที่ ทุ ก เวลา จึ ง มี ก ารนํ า มาเป็ น เครื่ อ งมื อ ใช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์ในหลาย ๆ ด้าน เช่น ในด้านการแพทย์ ในพื้นที่ชนบทใช้บริการด้านการรักษาพยาบาล ทางไกล (Tele Medicine Consultation 3.0.1.1) ซึ่ ง เป็ น การนํ า เอาเทคโนโลยี ความก้ า วหน้ า ทางด้ า นสื่ อ สารโทรคมนาคมมา ประยุ ก ต์ ใ ช้ แ ก้ ปั ญ หาการขาดแคลนแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญ และคัดกรองผู้ป่วยในท้องถิ่น เพื่อลด ภาระของโรงพยาบาลขนาดใหญ่ที่ประชาชนแห่ เข้ารับการรักษา

6

Internet Usage Statistics, 2010

ส่วนในด้านการศึกษานั้น อินเทอร์เน็ตมี บทบาทเปรียบดั่ง ห้องสมุดดิจิตอลขนาดใหญ่ที่ สามารถใช้เ ป็ น แหล่ ง ค้ นคว้ า หาข้ อ มูล ไม่ว่ า จะ เป็ น ข้ อ มู ล ทางวิ ช าการ ข้ อ มู ล ด้ า นการบั น เทิ ง ด้านการแพทย์ และอื่นๆ ที่น่าสนใจ ทั้งที่ข้อมูลที่ เป็น ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวต่าง ๆ เป็น ต้น อย่างไรก็ตาม การใช้อินเตอร์เน็ตนั้นแม้ จะถู ก รองรั บ ด้ ว ย พระราชบั ญ ญั ติ ว่ า ด้ ว ยการ กระทําความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเลือกใช้อย่างเสรีตามความพึง พอใจ และวุฒิภาวะของผู้ใช้เป็นหลัก ซึ่งในกลุ่ม ของเด็กและเยาวชนนั้น กลับนาเป็นห่วงว่ามีการ ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต อย่ า งไม่ รู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ (Media literacy) ซึ่ ง เป็ น ความสามารถในการเข้ า ใจ วิธีการทํางานของสื่อสารมวลชน ว่ามีความหมาย อย่างไร บริหารจัดการอย่างไร และจะใช้สื่อให้ ฉลาดอย่างไร ดังนั้น คนที่รู้เท่าทันสื่อจะสามารถ อธิบายถึงบทบาทที่สื่อมีต่อชีวิตของพวกเขาได้ และเข้าใจธรรมเนียมปฏิบัติของสื่อหลากหลาย ประเภท และจะเพลิดเพลินกับการใช้สื่อชนิดต่าง ๆ อย่างตั้งใจ


46 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ทั้งนี้ ผู้เขียนขอเจาะจงปัญหาการรู้เท่า ทัน สื่ อ ในประเด็ น การติ ดอิ น เทอร์ เน็ ต ของเด็ ก และเยาวชน ซึ่ ง เห็ น ว่ า ไม่ ไ ด้ เ กิ ด ขึ้ น ในเฉพาะ ประเทศไทยเท่านั้น แต่ทั่วโลกต้องเผชิญปัญหา เดียวกัน และได้รับผลกระทบจากพฤติกรรมการ ใช้เสพติดอินเตอร์เน็ตอย่างไม่รู้ตัว แล้วเราจะรู้ได้ อย่ า งไรว่ า เข้ า ข่ า ยเสพติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต หรื อ ไม่ Young (1996) นักจิตวิทยาจากคณะแพทย์ มหาวิทยาลัยพิทส์เบิร์ก ได้ศึกษาลักษณะของการ เสพติ ด อิ น เท อร์ เ น็ตซึ่ ง มี ลักษณะพื้ น ฐาน เหมือนกับการติดการพนัน และได้พัฒนาคําถาม เพื่อใช้วัดพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต หาก บุคคลในที่ตอบว่า “ใช่” 5 ข้อขึ้นไป จะถูกจัดว่า เข้าข่ายมีพฤติกรรมการเสพติดอินเทอร์เน็ต โดยมี ข้อคําถามดังนี้ 1. รู้ สึ ก ถู ก รอบงํ า โดยอิ น เทอร์ เ น็ ต หรือไม่ (มีการคํานึงถึงเรื่องที่ผ่านมาในกิจกรรม ในอิ น เทอร์ เ น็ ต และคาดการณ์ สิ่ ง ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ต่อไปจากอินเทอร์เน็ต) 2. รู้สึกต้องการใช้อินเทอร์เน็ตในเวลา มากขึ้น เพื่อตอบสนองความพอใจหรือไม่ 3. ไม่สามารถควบคุมพฤติกรรมการใช้ หรือหยุดการใช้อินเทอร์เน็ตได้บ่อยครั้งหรือไม่ 4. รู้ สึ ก หมดหวั ง โมโห รู้ สึ ก กดดั น กระสั บ กระส่ า ยเมื่ อ ต้ อ งหยุ ด ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต หรือไม่ 5. ใช้ เ วลาในอิ น เทอร์ เ น็ ต มากกว่ า ที่ ตั้งใจเอาไว้หรือไม่ 6. สู ญ เสี ย ความสั ม พั น ธ์ ท างสั ง คม หน้ า ที่ ก ารงาน การเรี ย น หรื อ โอกาสต่ า ง ๆ เพราะการใช้อินเทอร์เน็ตหรือไม่

7. โกหกหรื อ ปกปิ ด ครอบครั ว เพื่ อ น หรื อ บุ ค คลรอบข้ า งเกี่ ย วกั บ พฤติ ก รรมการใช้ อินเทอร์เน็ตหรือไม่ 8. ใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อเป็นหนทางหลีก หนี ปั ญ หา หรื อ บรรเทาผ่ อ นคลายอารมณ์ ความรู้สึกกดดัน หมดหวังหรือไม่ 7

สํ า หรั บ ในกลุ่ ม เด็ ก และเยาวชนนั้ น มี การสํารวจครูจํานวนกว่า 2,000 ในสหรัฐ อเมริกา โดยสถาบันวิจัย Pew ในรายงานที่ชื่อว่า “โครงการพิวอินเทอร์เน็ต” (Pew Internet Project) พบว่า ครูที่ตอบแบบ สอบถามกล่าวว่า นั ก เรี ย นชั้ น มั ธ ยมต้ น และมั ธ ยมปลาย ได้ รั บ ประโยชน์จากโลกออนไลน์ด้ านพฤติก รรมและ ทักษะในการค้นหาข้อมูล อ ย่ า ง ไ ร ก็ ต า ม ใ น ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น อินเทอร์ เน็ต ก็ ทําให้นั กเรียนขาดทัก ษะในการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยครูให้ความเห็นว่านักเรียนยัง ขาดความรู้ เ ท่ า ทั น ของข้ อ มู ล ทางอิ น เทอร์ เ น็ ต และร้อยละ 87 ของครูผู้เข้ารับการสํารวจ เห็นว่า เทคโนโลยีใหม่ ๆ ทําให้สมาธินักเรียนสั้นลง นอกจากนี้ครูร้อยละ 64 กล่าวว่า เทคโนโลยีเหล่านี้ดึงความสนใจนักเรียนไปเรื่อง อื่นมากกว่าเรื่องเรียนหนังสือ ครูยังกังวลอีกด้วย ว่าการที่นักเรียนสามารถหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว จากอินเทอร์เน็ต อาจทําให้นักเรียนไม่พยายามที่ จะแสวงหาข้อมูลจากแหล่งอื่น ซึ่งอาจให้ความรู้ เชิ ง กว้ า งและลึ ก กว่ า อาทิ จากหนั ง สื อ และ ห้องสมุด

7

มติชนออนไลน เปดโพลครูมะกัน ชี้จุดดีและจุด ดอยของอินเตอรเน็ต, วันที่ 28 มกราคม 2556


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 47

สอดคล้องกับ8ผลงานวิจัยของคณะครุ ศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย ได้ ศึ ก ษาถึ ง ปัญหาอาการติดเน็ท-เกม ตั้งแต่ปี 2540 - 2550 โดยพบว่าอัตราผู้เสพติดอินเตอร์เน็ตและเกมใน ประเทศไทยปัจจุบันมีสูงถึง 1.5 ล้านคน โดยส่วน ใหญ่มีอายุระหว่าง 5 - 18 ปี มีร้อยละ 58.6 เล่น ติดต่อนาน 3-5 ชั่วโมง ร้อยละ 35.1 เล่นติดต่อ นาน 1-2 ชั่วโมง และร้อยละ 6.3 เล่นติดต่อนาน กว่า 8 ชั่วโมง มีเพียงร้อยละ 20 ที่ใช้เพื่อหา ความรู้ และร้อยละ 80ใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่นๆ เช่ น เล่ น เกมประเภทต่ อ สู้ แ ละใช้ ค วามรุ น แรง สนทนากั บ เพื่ อ นผ่ า นระบบออนไลน์ (Chat room) ดูหนัง ฟังเพลง และภาพลามกอนาจาร เป็นต้น 9

ส่ ว นในประเทศจี น ก็ ป ระสบปั ญ หา เดียวกันนี้ไม่น้อยไปกว่ากัน โดยจากการ สํารวจ มี ป ระชากรประเทศจี น ใช้ อิ น เทอร์ เ น็ ต มาก ถึ ง 137 ล้ า นคน เป็ น ผู้ เ สพติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต ประมาณ 2.3 ล้านคน ส่วนใหญ่เป็นเด็กและ เยาวชนอายุไม่เกิน 18 ปี ในจํานวนนี้ มีถึงร้อย ละ 40 ที่ติดเกมออนไลน์ขั้นรุนแรง เด็กและเยา ชนกลุ่มนี้จะมีพฤติกรรมที่ก้าวร้าวรุนแรง และมี แนวโน้มก่ออาชญากรรม และฆ่าตัวตายสูง ทั้ งนี้ ผลกระทบของเด็ กและเยาวชนที่ เสพติดอินเทอร์เน็ตอย่างไม่รู้เท่าทันนั้น จะทําให้มี ผลกระทบโดยตรงด้านร่างกายที่ขาดการพักผ่อน อย่างเพียงพอ เกิดปัญหาด้านสายตาจากการจ้อง มองจอคอมพิวเตอร์ติดต่อเป็นเวลานาน กล้ามเนื้อ 8

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศศักดิ์, เด็กติดเน็ต-ติดเกม แกได 9 อรวรรณ วงศแกวโพธิ์ทอง, การเสพติด อินเทอรเน็ตของชุมชนชาวออนไลน

อ่อนล้าจากการนั่งท่าเดิมเป็นเวลานาน เสียความ สมดุ ลทางอารมณ์ ปั ญหาด้ านความสั มพั นธ์ กั บ บุคคลอื่น ๆ ตั้งแต่สังคมย่อยในระดับครอบครั ว จนถึงในขนาดใหญ่ขึ้น ผู้นําประเทศจีน ได้ตระหนักถึง ปัญหา ดังกล่าว จึงได้หาแนวทางแก้ไขอย่างเร่งด่วน โดย ได้กําหนดเป็นวาระแห่งชาติ ใช้กระบวน การทาง ทหารเข้ามา เพื่อต้องการฝึกวินัยในการใช้ชีวิต ไม่ ใช้หมกมุ่นกับการเล่นอินเทอร์เน็ต และเกมมาก เกิ น ไป และจั ด ผู้ ติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต อยู่ ใ นกลุ่ ม เดียวกับผู้มีติดยาเสพติด มีการจัดตั้งศูนย์บําบัด อิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ เ มื อ งต้ น ชิ่ ง กรุ ง ปั ก กิ่ ง ซึ่ ง ได้ นํ า มาตรการทางทหารเข้ า มาช่ ว ยบํ า บั ด เป็ น เวลา 1 เดือน นอกจากนี้ ยังได้จัดคลินิกบําบัดผู้ เสพติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต กระจายตามหั ว เมื อ งใหญ่ โดยมีจิตแพทย์เตรียมไว้ให้คําปรึกษา ขณะเดียวกัน ประเทศเกาหลีใต้ที่ใช้บ รอดแบนด์อินเทอร์เน็ตสูงที่สุดในโลก โดยพบว่า ร้อยละ 70 ของประชากรเกาหลีทั้งสิ้นสามารถ เข้าถึงอินเทอร์เน็ต แต่พบว่ากว่าร้อยละ 60 เป็น การเล่ น เกม โดยเฉพาะเด็ ก และเยาวชนต่ า ง ประสบปั ญ หาอาการติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต และเกม อย่างหนัก การแก้ ปั ญ หาเด็ ก และเยาวชนติ ด อิ น เทอร์ เ น็ ต และเกมของเกาหลี จะเน้ น การ แก้ปัญหาที่ตัวเด็ก โดยครูจะสั่งการบ้าน ให้เด็ก ไปกําหนดเวลาเล่นอินเทอร์เน็ต และจัดทําแบบ ประเมินผลการใช้อินเทอร์เน็ตด้วยตัวเอง ซึ่งครู และผู้ปกครองจะร่วมมือกันในการสอดส่องดูแล พฤติกรรม พร้อมกับตรวจผลการประเมินของเด็ก และมี ก ารให้ ร างวั ล ทุ ก ครั้ ง เมื่ อ เด็ ก สามารถ ควบคุมตนเองได้


48 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

จากปัญหาที่กล่าวมาข้างต้น ผู้เขียนเห็นว่านอกจากจะให้เด็กและเยาวชนรู้เท่าทันสื่อด้วยตัวเองจาก สังคมภายนอกแล้ว บทบาทของพ่อแม่และสถาบันครอบครัวก็เป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งที่จะจูงใจให้เด็กและ เยาวชนเหล่านี้ หันมาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมท่ามกลางกําลังใจของคนรอบข้าง ด้วยแนวทาง ดังนี้ 1. พ่อแม่ต้องกําหนดอายุของลูกในการใช้อินเทอร์เน็ต 2. พ่อแม่ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในใช้อินเทอร์เน็ตอย่างเหมาะสม โดยเฉพาะโทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่ สามารถใช้อินเทอร์เน็ตได้ เช่น ไม่ใช้อินเทอร์เน็ตในระหว่างรับประทานอาหาร หรือระหว่างกําลังพูดคุยกับ ลูก เพื่อให้เป็นว่ากิจกรรมที่ทําในขณะนั้นมีความสําคัญและน่าสนใจยิ่งกว่าการใช้อินเทอร์เน็ต 3. พ่อแม่ควรมีส่วนสําคัญในการตารางเวลาทํากิจกรรมของลูก โดยให้ทํากิจกรรมที่มีความสําคัญ ก่อนใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิง 4. กําหนดกติกาการใช้อินเทอร์เน็ตกับลูกร่วมกันภายในเวลาที่เหมาะสม เช่นใช้อินเทอร์เน็ตได้ไม่ เกิน 21.00 น. เพื่อไม่ให้กระทบกับวิถีชีวิตประจําวัน 5. พ่อแม่ต้องติดตั้งโปรแกรมป้องกันใช้เว็บไซต์ที่ไม่เหมาะสมสําหรับเด็กและเยาวชน โดยเฉพาะใน ด้านสื่อลามก อนาจาร และความรุนแรง 6. กําหนดพื้นที่สาธารณะที่มองเห็นได้ง่ายของบ้านสําหรับใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อคอยสอดส่อง ดูแลพฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ต 7. พ่อแม่ต้องเป็นครูที่ดีของบ้านในการให้คําแนะนําการใช้อินเทอร์เน็ตของลูกอย่างปลอดภัย เช่น การปกปิดข้อมูลส่วนตัวสําหรับโลกออนไลน์ 8. พ่อแม่ควรมีส่วนร่วมและบทบาทในการให้คําแนะนํา ระหว่างการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความเทิง ของลูก 9. พ่อแม่ต้องมีส่วนร่วมหรือสนับสนุนการทํากิจกรรมอื่น ๆ ภายในครอบครัว เพื่อเบี่ยงเบนความ สนใจจากการใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อความบันเทิงและคลายเหงาเพียงอย่างเดียว 10. พ่อแม่ต้องรู้จักปฏิเสธ “ไม่” หากลูกไม่ปฏิบัติตามกฎและกติกาที่ทําร่วมกัน แต่หากลูกมีวินัยใน การใช้อินเทอร์เน็ตก็ควรให้กําลังใจ คําชมเชย หรือรางวัล เพื่อจูงใจให้ปฏิบัติต่อไป จะเห็ น ได้ ว่ า การใช้อิ น เทอร์ เ น็ ตก็ เ ปรี ย บเสมื อ นดาบสองคม ขึ้ น อยู่กั บ ว่ า จะเลื อ กใช้ ใ นด้ า นใด เช่นเดียวกับพ่อแม่ซึ่งเป็นบุคคลที่ใกล้ชิดลูกมากที่สุดก็ต้อง หากปล่อยให้มีการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างพร่ําเพรื่อ จนเสพติดก็ไม่ต่างกับการติดการพนัน ดังนั้น พ่อแม่จึงควรสอดส่องดูแลตั้งแต่เนิ่น ๆ และเป็นตัวอย่างที่ดี ให้กับลูก เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาตามมา

อ้างอิง เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ,์ เด็กติดเน็ต-ติดเกม แก้ได้, สืบค้นจาhttp://www.kriengsak.com/node/69 มติชนออนไลน์ , เปิดโพล “ครูมะกัน” ชี้จุดดีและจุดด้อยของอินเตอร์เน็ต สืบค้นจาก http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1359362252& ระบบให้บริการด้านการรักษาพยาบาลทางไกล (Tele Medicine Consultation 3.0.1.1) สืบค้นจาก http://www.softsofts.net/documents/telemedicine.pdf อรวรรณ วงศ์แก้วโพธิท์ อง, การเสพติดอินเทอร์เน็ตของชุมชนชาวออนไลน์


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 49

รู้เท่าทันตัวตน บนโลกเสมือน ณัฐ จันทโรทัย

ยังจําได้ไหมกับการได้พบกับคลิป “ครูอังคณา” เป็นครั้งแรก ที่เริ่มจากเด็กคนหนึ่งที่อยู่ดีๆ ก็ โพสต์คลิปนี้อย่างไม่มีปี่มีขลุ่ยบนเฟซบุ๊กของตัวเอง แม้ตอนนั้นจะไม่รู้ว่าครูอังคณาเป็นใคร เกิดเหตุ อะไรขึ้นกับเด็กคนนั้นถึงดูใบหน้าเครียดมาก มีดราม่าไปพร้อมๆ กับเรื่องโดนไล่ออกจากกลุ่มห้อง 1/9 โดยไม่ได้ตระหนักเลยว่าจะเป็นเรื่องเป็นราวจนได้ออกรายการ เรื่องเล่าเช้านี้ และบรรดา มวลชนทั้งประเทศก็พึงใจ ข่าวแพร่กระจายไฟลามทุ่งไปทุกสื่อทุกสํานัก โดยเฉพาะในโลกออนไลน์ สักระยะครูอังคณาก็หายไปจากสารบบอย่างรวดเร็ว จนมาถึง น้องล่าหาเหนียวไก่ ที่ดังเพีย ง ข้ามคืน เราก็จะคุ้นเคยกับปรากฏการณ์ต่าง ๆ เหล่านี้ สักพักก็มีปรากฏการณ์ใหม่ ๆ เกิดขึ้น เดือนต่อเดือน วันต่อวัน ชั่วโมงต่อชั่วโมง สิ่งไหนมีคุณค่า สิ่งไหนมีความน่าเชื่อถือ หรือสิ่งไหน ดีกว่า จากสิ่งที่วูบขึ้นมาจากเทคโนโลยี หลายคนอธิบายภาพข่าวเหล่านี้ว่า Thailand Only ! ซึ่งถือเป็นการอธิบายแบบ Stereotype (ภาพเหมารวม) และ Racism (การเหยียดเชื้อชาติ) ได้เช่นกัน แต่คําถามคืออะไรล่ะ ที่ทําให้คน ไทยแห่ไปสนใจปรากฏการณ์เหล่านั้น คําตอบที่ได้ก็คือ “มุมมองที่เรามีต่อโลกรอบตัว” เกิด คําถามต่อมา แล้วอะไรล่ะ ที่เป็นตัวกําหนดมุมมองที่เรามีต่อโลกรอบตัว หากพิจารณาเค้นหา คําตอบนั้น จะเห็นว่าคําตอบนั้นใกล้ตัวอย่างไม่น่าเชื่อ นั่นคือ “เทคโนโลยี”

เทคโนโลยี กําหนดตัวตน คําว่าเทคโนโลยี ในที่นี้ไม่ได้หมายเพียงว่า เป็นแค่เทคโนโลยีใหม่ๆ อย่างสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต หรือ 4G เท่านั้น แต่ยังหมายรวมถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์คิดค้นขึ้นมาเพื่อใช้เป็นเครื่องมือ ตัว อย่าเห็นได้ชัดเจนจากฉากหนึ่งในหนังเรื่อง 2001 : A Space Odyssey (1968) ของสแตนลีย์ คูบริก ฉากนั้นเสนอภาพลิงตัวแรกที่เป็นบรรพบุรุษของมนุษย์เริ่มรู้จักหยิบท่อนกระดูกสัตว์ขึ้นมา เป็นอาวุธ จนสามารถชนะลิงตัวอื่นได้ แล้วมันก็ขว้างท่อนกระดูกขึ้นไปบนฟ้า ภาพเปลี่ยนสลับ อย่างรวดเร็วหลายภาพต่อกัน และตัดไปเป็นภาพยานอวกาศที่กําลังล่องลอยเคว้งคว้าง


50 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ฉากนี้เป็นฉากที่รวมเอาเทคโนโลยีทุกสิ่ง ทุกอย่างทุกยุคทุกสมัยของมนุษย์มาเสนอไว้เพียง พริบตาเดียว ตั้งแต่หิน เหล็ก ไฟ ล้อ กระดาษ หู ก ทอผ้ า แท่ น พิ ม พ์ เครื่ อ งจั ก รไอน้ํ า รถไฟ รถยนต์ ฯลฯ เรื่อยมาจนถึงไมโครชิป คอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต หรือแม้กระทั่งค้อน "ถ้าคุณมีเพียงแค่ค้อน ทุกสิ่งทุกอย่างก็ดู เหมื อ นว่ า เป็ น ตะปู สํ า หรั บ คุ ณ " คํ า กล่ า วของ อับลาฮัม มาสโลว์ นักจิตวิทยาชื่อดัง สะท้อนให้ เห็นว่าเทคโนโลยีหรือเครื่องมือที่เราใช้ เป็นสิ่งที่ กําหนดมุมมองของเราเอง พระไพศาล วิสาโล เขียนบทความไว้ใน หนังสือเรื่อง “สถานะและชะตากรรมของมนุษย์ ในยุคคอมพิวเตอร์” ว่าเทคโนโลยีทั้งหมดทั้งมวล ล้วนไม่เป็นกลาง หลายคนหลงคิดว่าเทคโนโลยี เ ป็ น เ พี ย ง วั ต ถุ ที่ เ ร า นํ า ม า เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ เครื่องใช้ เราจึงเป็นผู้กําหนดเครื่องมือนั้นๆ ได้ จนมีหลายคนชอบพูดว่าเทคโนโลยีนั้นขึ้นอยู่กับ ตัวผู้ใช้งานว่าจะนํามาใช้งานอย่างไร ใช้ในทางดี หรือในทางร้าย แต่แท้จริงแล้ว เทคโนโลยีไม่ได้วางอยู่บน โลกของเราแบบไร้เดียงสาเช่นนั้น มันเกิดมาพร้อม วัตถุประสงค์และพร้อมกับระบุวิธีการใช้งาน นั่น หมายความว่ามนุษย์ผู้สร้างได้ใส่คุณค่าและมุมมอง ของตนเองเข้าไปในเทคโนโลยีนั้นแล้ว เมื่อตกมาอยู่ ในมือของมนุษย์ผู้ใช้ การที่เราจะใช้งานมันได้ เรา ต้องยอมสมาทาน รับเอาคุณค่าและมุมมองนั้นมา ใส่ ตั ว เสี ย ก่ อ นด้ ว ย และเมื่ อ ใช้ ไ ปนานๆ เข้ า เทคโนโลยีก็ค่อยๆ เปลี่ยนแปลงและกําหนดตัวผู้ใช้ นั้นโดยที่เขาอาจจะไม่ทันรู้เนื้อรู้ตัว ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมาเด็กและเยาวชน แม้กระทั่งตัวตนของเรา ถูกห้อมล้อมไปด้วยสาม จอ คือ จอทีวี จอคอมพิวเตอร์ และจอโทรศัพท์

มือถือ(ทั้งสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต) ซึ่งไม่เพียงแต่ เปิดรับสื่อสื่อพร้อมๆกันจากทั้งสามจอเท่านั้น แต่ ยังมีโลกดําเนินคู่กันไปทั้งสามจอนั้นด้วย เช่น เรา เปิ ด ดู ถ่ า ยทอดสดฟุ ต บอลไทย แล้ ว เราก็ โ พสต์ ข้อความในเว็บบอร์ดห้องฟุตบอลพันทิพวิเคราะห์ รูปเกมส์ ขณะเดียวกันเราก็ติดตามอารมณ์ร่วม ของเพื่อนๆ บนหน้าวอลล์เฟซบุ๊คหรือทวีตเตอร์ ตัวตนของเรา นอกจากจะนั่งดูทีวี ณ ตรง จุดนี้แล้วยังไปปรากฏอยู่ในอีกหลายๆ หน้าจอได้ใน เวลาเดี ยวกั น เทคโนโลยี การสื่ อสารสร้ างความ เปลี่ยนแปลง Space and Time ขึ้นมาใหม่ เรา สามารถมีตัวตนใหม่ได้เท่าที่ต้องการ โดยรีจีสเตอร์ สมัครแอคเคานต์ หรือสมัครโซเชียลมีเดียแห่งใหม่ ไปเรื่อยๆ เราจึงมีตัวตนมากมายแตกกระจายไปสู่ โลกอื่นๆ ในเวลาเดียวกันมีทั้งบิดเบือน และเสมือน จริง ตัวตนเทียม ในโลกเทียม ในยุคของโลกออนไลน์ อะไร ๆ ก็ดูจะ รวดเร็ ว ทั น ใจฉั บ ไวไปเสี ย ทุ ก อย่ า ง เฉกเช่ น เดียวกับ ครูอังคณาน้องล่าหาเหนียวไก่ หรือคน สวยคนหล่อหน้าตาดีๆ ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ก็ สามารถกลายเป็นคนดังได้ภายในข้ามคืน บางคน ก็มีดีที่หน้าตาสวยสดใส ดูแล้วรู้สึกอิ่มเอิบชุ่มชื้น หัวใจ บางคนก็มีดีที่หุ่นเซ็กซี่ดูแล้วขยี้ใจเป็นที่สุด สามารถสร้างตัวตนจนเป็นเน็ตไอดอล ธาม เชื้ อ สถาปนศิ ริ อธิ บ ายปรากฏการณ์นี้ว่า เป็นเพราะโซเชียลมีเดียเข้ามาเปลี่ยน พ ฤ ติ ก ร ร ม ม นุ ษ ย์ โ ด ย เ ฉ พ า ะ เ ด็ ก รุ่ น ใ ห ม่ ค่อนข้างมาก อะไรๆ ก็แสดงออกได้ง่ายขึ้น เช่น สโลแกนของยู ทู ป ก็ คื อ broadcast yourself ชวนให้ทุกคนมาถ่ายทอดชีวิตของตัวเอง หากเป็น ทวิตเตอร์ก็คือ what are you doing now?


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 51

ชวนให้ แ ชร์ กิ จ กรรมที่ กํ า ลั ง ทํ า อยู่ หรื อ ถ้ า เป็ น เฟสบุ๊คก็คือ what's on your mind ชวนให้แชร์ ความรู้ สึ ก เขาบอกอี ก ว่ า เด็ ก วั ย รุ่ น ยุ ค นี้ ใ ช้ โซเชียลมีเดียไม่เหมือนรุ่นพ่อแม่ คือใช้ในฐานะที่ มันเป็นสังคมที่ตัวเด็กเข้าไปมีชีวิตอยู่ในนั้น การที่ พวกเขาอัพเฟซบุ๊ค คลิกไลค์ อัพโหลดวิดีโอ หรือ ภาพกิ จ กรรม ทั้ ง หมดนี้ ที่ เ ขาทํ า ไปเพราะเขา ต้องการ “สร้างสถานะทางสังคม” ในโลกโซเชียล มีเดีย เนื่องจากหากถูกยอมรับในโลกของโซเชียล มีเดีย มีเพื่อนมากๆ มีคนมากดไลค์ให้ภาพหรือ วิ ดี โ อคุ ณ มากๆ หรื อ คอมเมนท์ ใ ห้ เ ยอะๆ แชร์ รูปภาพกิจกรรม เด็กจะรู้สึกว่าเขามีโซเชียลสเตตัส ที่น่ายอมรับนับถือ จะเห็ น ได้ ว่ า เราสร้ า งตั ว ตนขึ้ น มาจาก การปฏิสัมพันธ์กับคนอื่นในโรงเรียนหรือที่ทํางาน เราอาจจะมีเ พื่อ นร่ว มชั้ น เรียน อาจารย์ เพื่อ น ร่วมงาน ลูกค้า ที่บ้านก็มีพ่อ แม่ ลูก หลาน สัตว์ เลี้ยง ฯลฯ ซึ่งในแต่ละวันเราใช้เวลาร่วมกันน้อย มาก แต่ เ ราก็ ไ ม่ เ หงา เพราะเรามี เ พื่ อ นในโลก เสมือนอีกใบหนึ่ง เรามีเพื่อนที่จะร่วมรบกับเหล่า ปีศาจร้ายในเกมส์ มีเพื่อนร่วมสร้างสรรค์เมือ ง ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ ออกแบบแฟชั่น และเพื่อนที่ จะคอยปลอบประโลมและกดไลค์ในสิ่งที่เราโพสต์ ดังนั้น จึงไม่แปลกที่สมองของเราจะได้รับการตั้ง โปรแกรมให้เป็นอัตโนมัติว่าจะต้องหาทางบันทึก และถ่ายทอดเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ขณะหนึ่งๆ ออกมาให้เร็วที่สุดและน่าประทับใจที่สุด ไม่ว่าจะ เป็ น ตอนกิ น ข้ า ว นั่ ง รถประจํ า ทาง เข้ า คิ ว ซื้ อ อาหาร เดิน เล่ นในสวน เล่น กับ แมว ฯลฯ วิธี ที่ ได้รับความนิยมมากก็คือการถ่ายภาพประกอบ คําอธิบาย และการเล่าเรื่องผ่านบทสนทนา ซึ่งดู เหมื อ นว่ า จะได้ รั บ การสนั บ สนุ น จากค่ า ยผลิ ต โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ โดยบรรจุ ก ล้ อ งถ่ า ยภาพและ

โปรแกรมอัพโหลดรูปภาพคุณภาพสูงไว้บริการ อย่างครบครัน สามารถอัพโหลดรูปภาพได้ทุกที่ ทุกเวลา (อีกเช่นกัน) ในเชิงการสื่อสารการโพสต์ข้อความหรือ ภาพลงในสื่อต่างๆ เป็นการสื่อสาร และสิ่งที่สื่อ มั ก จะต้ อ งผ่ า นการคั ด กรองและประเมิ น ทาง ความคิดหรือความรู้สึกแทบทุกครั้ง ไม่ว่าจะโดย ตั้งใจหรือไม่ก็ตาม ซึ่งลึกๆ แล้วในการโพสต์แต่ละ ครั้งมีเป้าหมายแอบแฝงอยู่ด้วยเสมอ แม้กระทั่ง ถ้อยคําอุทานสั้นๆ ที่แทบจะไม่สื่อความหมายใดๆ แต่ จ ริ ง ๆ แล้ ว นั่ น คื อ การแสดงออกถึ ง การ ต้องการการรับรู้จากใครสักคนเป็นอย่างน้อย ในเชิงจิตวิทยามันเป็นเสมือนกระจก ถ้า วันไหนส่องกระจกเป็นเรื่องธรรมดาที่เราจะสนใจ ว่าคนอื่นจะคิดกับเราอย่างไร การตอบรับสิ่งที่เรา นําเสนอในโลกอินเตอร์เน็ต จึงค่อนข้างมีผลต่อ ความรู้สึก จํานวนไลค์ จํานวนทวีต อีกแง่หนึ่งก็ คือสิ่งที่ทําให้เรารู้สึกว่ามีตัวตนกับคนอื่น เมื่อมี คอมเมนท์ มี ค นรี ท วี ต เรามากมาย มั น ก็ ยิ่ ง ก่อสร้างตัวเองมากขึ้นทุกวัน ๆ แรก ๆ เราอาจ เข้ า ใจว่ า เราใช้ โ ซเชี ย ลมี เ ดี ย เพื่ อ เสพข้ อ มู ล ข่าวสารทั้งโลก แต่จริง ๆ แล้ว มันคือการเอาทั้ง โลก มาเป็นกระจกสะท้อนให้เราสามารถเห็นตัว เรามากกว่า เราแค่อยากเห็นสิ่งที่เราต้องการจะ เห็นในโลกโซเชียล มิเดียเท่านั้น เช่น เพื่อนที่มี ความคิ ด เหมื อ นกั บ เรา เพื่ อ นที่ อ ยู่ ใ นแวดวง เดียวกันเรา เป็นเหมือนการป้อนข้อมูลที่ก่อสร้าง เป็นตัวเราขึ้นมา ผลสะท้อนตัวตน เมื่ อ มี “ ปฏิ สั ม พั น ธ์ " ระหว่ า งกั น ย่ อ ม เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงได้ยาก และผู้คนต่างๆ นี้เอง ก็ พาเอานิ สั ย ส่ ว นตั ว เข้ า มาในโลกเสมื อ นด้ ว ยมี


52 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

การศึกษาจากวารสารการแพทย์อเมริกันพบว่า สื่ อ สั ง คมออนไลน์ ทํ า ให้ ค นกล้ า ที่ จ ะพู ด เรื่ อ ง ตัวเองมากขึ้น ช่างคุยมากขึ้น และในบางราย คือ หลงตัวเองมากขึ้น อันเป็นผลมาจาก การใช้สื่อ สังคมออนไลน์ เพื่อสื่อสารกับคนทั้งโลกว่าคุณทํา อะไรอยู่ เช่นเดียวกับเฟสบุ๊ค ยูทูบหรือทวิตเตอร์ ที่เน้นการสื่อสารจากตัวคุณเอง การสื่อสารในสื่อ ใหม่ คื อ การทํ า ให้ "คุ ณ " (you) ได้ พู ด เรื่ อ ง ตนเองมากขึ้น อย่างไรก็ตาม งานวิจัยดังกล่าวได้สรุปถึง 7 ลักษณะนิสัยใหม่ๆ ที่อาจเป็นปัญหาบุคลิกภาพ เชิงจิตวิทยาของผู้คนในเฟซบุ๊ค ที่อาจส่งผลเสียใน ระยะยาว คือ (ธาม เชื้อสถาปนศิริ,2556) 1."หลงใหลตัวเองมากขึ้น" ผู้คนส่วน มากรู้ เ รื่ อ งตนเองดี ที่ สุ ด ฉะนั้ น พวกเขาจึ ง มั ก โพสต์ทุกอย่างที่พวกเขาภูมิใจ ง่ายที่สุดคือเรื่อง "หน้าตา" คนพวกนี้มักชอบโพสต์รูปตัวเองในมุม สวย หล่อ และเฝ้ารอคนมากดชื่นชอบหรือแสดง ความคิด เห็ น หรือ กระทั่ง การกดปุ่มไลค์ รูป ที่ ตนเองเพิ่งจะโพสต์ลงไป!ทําให้คนขี้โม้ ขี้คุย ขี้อวด มากขึ้น โดยเฉพาะกิจกรรมการอวด หลายคนมัก โพสต์ รู ป ถ่ า ยกั บ รถใหม่ บ้ า นใหม่ ของเล่ น ชิ้ น ใหม่ บ้ า นใหม่ งานใหม่ สถานที่ เ ที่ ย วใหม่ ๆ กระทั่งอาหารที่กําลังจะทาน พวกเขาก็ไม่วายที่ จะถ่ายรูปเพื่อเอามาอวดเพื่อนๆ คนมากดชอบ แสดงความคิ ด เห็ น ก็ ก ลายเป็ น การส่ ง เสริ ม ให้ พวกเขาหลงตัวเองมากขึ้นไปอีก แน่ว่าพวกเขา ล้วนทําทุกอย่างเพื่อโปรโมทตัวเอง 2."ขี้อิจฉามากขึ้น" เมื่อมีคนโพสต์เรื่อง ตนเอง หน้าตาดี ชีวิตดี ฐานะดี ดูดี ดูเท่ คนอีก จํานวนหนึ่งที่รู้สึกว่าชีวิตตนเองไม่ดีแบบนั้น จึง กลายเป็ น คนที่ ขี้ อิ จ ฉามากขึ้ น พวกเขายิ่ ง รู้ สึ ก ด้ อ ยค่ า และไม่ พ อใจในชี วิ ต ตนเอง และรู้ สึ ก ว่ า

ตนเองเป็น "ไอ้ขี้แพ้" ตลอดเวลา ในแง่นี้อธิบาย ได้ว่า "เพราะในโลกจริง ผู้คนส่วนใหญ่ ก็ยังเป็น คนจน ชนชั้นกลาง หลายๆ คน ไม่ได้เป็นคนเก่ง คนที่ได้รับสถานะทางสังคมเฉกเช่นดารา คนดัง หรือบุคคลสาธารณะ เมื่อคนธรรมดาเหล่านั้นเข้า มาใช้ เขาก็เพียงแค่อยากจะรู้สึกเป็นคนเด่น คน ดัง คนสําคัญบ้าง จึงต้องสร้างภาพตนเองให้ดูดีใน พื้นที่สาธารณะสักเล็กน้อย เพื่อหลอกตัวเองหรือ ผู้อื่น การยกระดับภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้น ก็มิใช่ อะไรอื่น นอกจากเขาอิจฉาคนอื่น ไม่ว่าจะมาจาก โลกจริงหรือโลกเสมือนก็ตาม" 3."ม อ ง โ ล ก ใ น แ ง่ ร้ า ย " สื่ อ สั ง ค ม ออนไลน์ เ ป็ น ที่ ที่ ค นชอบโพสต์ เ รื่ อ งส่ ว นตั ว ดี ๆ ขณะที่เรื่องส่วนรวมของสังคมมักเป็นเรื่องร้ายๆ ดังนั้นคนที่เสพข้อมูลข่าวสารจํานวนมาก จึงมัก เห็นเรื่องปัญหาสังคมต่างๆ ถูกหยิบขยายความ ตีความ ส่งต่อแพร่หลายกระจายวงกว้าง พวกเขา จึ ง รู้ สึ ก ว่ า "โลกช่ า งโหดร้ า ย" และมี ลั ก ษณะไม่ ไว้วางใจผู้คนเรื่องต่างๆ มากขึ้น 4."ชอบสอดส่องสอดรู้ชีวิตคนอื่นๆ" สื่อ สังคมออนไลน์เอื้อโอกาสให้เราสามารถสอดส่องดู ชี วิ ต ของเพื่ อ นเราได้ อ ย่ า งไร้ ข อบเขตเวลาและ สถานที่ แม้จะมีระบบติดตั้งความปลอดภัย ความ เป็ น ส่ ว นตั ว แต่ ผู้ ค นจํ า นวนมากก็ ห ลงลื ม การ สร้างเขตแดนจํากั ดพื้นที่ชีวิ ตของตน หลายคน ถูก "หลงใหล/ติดตาม/เฝ้าดู" อย่างใกล้ชิดจากคน แปลกหน้าที่เข้ามาเป็นเพื่อน และชีวิตของเราก็ ถู ก คนทั้ ง โลกจั บ ตามองอยู่ ต ลอดเวลา การ สอดส่อง หรือการเข้าไปก้าวล่วงชีวิตของผู้อื่น นั่น แสดงว่าคุณมีปัญหาสุขภาพจิตอย่างหนัก เพราะ คุณเริ่มแยกไม่ออกระหว่าง พื้นที่สาธารณะ และ ความเป็นส่วนตัวของผู้อื่น


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 53

5."มนุษยสัมพันธ์ดีมากขึ้น" ในที่นี้คือ เป็นกันเองมากขึ้นกับทุกๆ คน แต่ทุกคนก็หลงลืม ระยะห่างทางกายภาพในโลกแห่งความเป็นจริง ผู้คนในเฟซบุ๊คใช้ภาษา หรือเข้ามาพูดจาทักทาย ผ่านข้อความกับบุคคลต่างๆ เสมือนเป็นเพื่อนมา อย่ า งยาวยาน พวกเขา "ระมั ด ระวั ง และรั ก ษา ระยะห่างน้อยลง" ความสัมพันธ์กลายเป็น "ง่ายๆ และกัน เอง" นั่ น ทํา ให้ ภาษาพูด และ ระดับ การ คุกคาม การวิพากษ์วิจารณ์มีระดับรุนแรง และ นําไปสู่การพูดแบบไม่ใส่ใจเขาใจเรามากขึ้น ผู้คน ในเฟซบุ๊คใช้ถ้อยคําภาษาที่กันเองมากขึ้น และ นั่นนํามาสู่ การเปิดรับ รู้จักคนแปลกหน้ามากขึ้น และกับดักของอาชญากรในเฟซบุ๊คที่พวกเขามัก ใช้ คือ ถ้อยคําที่สุภาพ ท่าทางที่ดูคบได้ ไว้ใจได้ และการสร้างความไว้วางใจที่มาจากบทสนทนาที่ ดูเป็นกันเอง 6."จมทุกข์แบกโลกซึมเศร้า" มีหลายคน ที่ในชีวิตจริงพวกเขาไม่มีความสุข พวกเขาจึงแบก โลกที่พวกเขาอยู่มาสถิตไว้ในสื่อสังคมออนไลน์ กลายเป็นแหล่งระบายอารมณ์ จมทุกข์ โศกเศร้า มากขึ้น การระบายอารมณ์ หรือแสดงความรู้สึก ผิดหวังเสียใจนั้นเป็นเรื่องปกติ เพราะเป็นเรื่อง ธรรมชาติ แต่คุณอาจพบว่ามีเพื่อนบางคนที่มักจะ อยู่ในอารมณ์เศร้าตลอดเวลา นั่นแสดงว่าเขาไม่ สามารถหลุ ด พ้ น ก้ า วข้ า วสภาวะนั้ น ได้ และจะ กลายเป็ น คนที่ มี "ภาวะซึ ม เศร้ า แบบออนไลน์ ตลอดเวลา" และคนอื่นๆ ก็จะพากันเบื่อหน่าย หรื อ รั ง เกี ย จพวกเขา แทนที่ จ ะเข้ า ใจและช่ ว ย รักษาพวกเขา 7."หลงใหลในชีวิตของผู้อื่น" สื่อสังคม ออนไลน์เป็นสังคมเสมือนจริง แต่ไม่ใช่โลกจริง เป็นที่ที่ผู้คนดี เลว รวย จนมาสื่อสารร่วมกัน คน ธรรมดา ดารา คนดั ง มาใช้ ชี วิ ต ร่ ว มกั น ในโลก

ออนไลน์ ผู้คนส่วนมากที่ติดสื่อสังคมออนไลน์จะ แยกแยะไม่ออกระหว่างชีวิตจริง โลกจริง พวก เขาเริ่มรู้สึกยึดติด ติดตาม ผูกพันกับชีวิตของคน อื่นๆ มากขึ้น กลายเป็นว่า พวกเขาจะใช้ชีวิตของ ตนเองด้ ว ยการ "ยึ ด เอาชี วิ ต ของคนอื่ น เป็ น แนวทาง" ที่ พักพิ ง ใจ และเริ่มสนใจชีวิ ต ตนเอง น้อยลง เขาจะไม่สนใจชีวิตของตนเองอีกต่อไป! ร้ายกว่านั้นคือ "เขาอนุญาตให้ชีวิตคนอื่นเข้ามา ควบคุมบงการชีวิตของเขาเอง" บทสรุป จะเห็นว่าสื่อสังคมออนไลน์นั้นมิใช่เชื้อ โรคหรือไวรัส แต่เป็นปรากฏการณ์ทางสังคมที่บ่ม เพาะ ประกอบสร้าง ผลิต และเผยแพร่โรค อัน เกิดมาจากผู้คนที่มาใช้ชีวิตร่วมกันในสังคมเสมือน จริง ผู้คนต่างๆ เข้ามาเสพติดมันและเปลี่ยนนิสัย ตนเอง หรื อ ย้ํ า สร้ า งนิ สั ย เดิ ม ตนเองให้ มี ค วาม รุนแรงมากขึ้น พลังของสื่อสังคมออนไลน์ที่ให้การ สื่ อ สาร ปฏิ สั ม พั น ธ์ สภาวะไร้ ข อบเขตเวลา พรมแดน และการปลดปล่อยตัว ซ่อนเร้นตนเอง จากชีวิตจริง นั่นทําให้ ต่างคนต่างแพร่กระจาย โรคออนไลน์ ไ ด้ ง่ า ยขึ้ น หากเราใช้ สื่ อ อย่ า ง รู้ ตระหนั ก เท่ า ทั น สภาวะจิ ต ใจตนเอง เท่ า ทั น อารมณ์ และรู้ทันความโลกเสมือนจริงนี้ เราก็จะ มีภูมิคุ้มกันสื่อและใช้ชีวิตอย่างเป็นสุข คนที่ไม่ ระมัดระวังเพียงพอ จะถูก "ผู้คนในโลกสื่อใหม่/ สื่อสังคมครอบงํา" และคุณอาจจะพยายามทําทุก อย่างเพื่อให้ "คนอื่นๆ ที่คุณไม่รู้จักชื่นชอบ" น่า เสียดายที่ตัวคุณจะโดนครอบงําจากคนอื่น คนที่ พวกเขาเหล่ า นั้น ก็พ ยายามสร้า งตัว ตนหลอกๆ จําลองขึ้นมาเหมือนกัน


54 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ลําพังการรู้เท่าทันอัตตาเพื่อขัดเกลาให้บรรเทาเบาบางลงก็ยากอยู่แล้ว การเหลื่อมซ้อนกันของ อัตตาในโลกเสมือนที่เราสร้างขึ้นมาเองยิ่งยากเข้าไปใหญ่ ต้องหาทั้งอัตตาตัวจริงและอัตตาเสมือนที่มี สายใยบางๆ เกี่ยวร้อยกับอัตตาตัวจริงให้เจอ ความทุกข์ความร้อนรนจึงจะได้รับการแก้ไข มิเช่นนั้นแล้ว เราก็ยังคงหลงกับเกมสับขาหลอกตัวเองนี้อยู่ร่ําไป พระไพศาล วิสาโล กล่าวไว้ว่า เราต้องเรียนรู้ว่านี้คือสมมติ เกิดจากการปรุงแต่ง รู้แล้วก็อย่าไป หลงเพลินกับมัน เพราะว่ามันทําให้เราทุกข์ได้ ทั้งหมดนี้ก็ต้องอาศัยความรู้สึกตัวเป็นหลัก เราจะได้ไม่ เพลินในความหลง เมื่อมีความรู้สึกตัวจะไม่มีความรู้สึกว่าเป็นนั่นเป็นนี่ทั้งสิ้น มีแต่ความรู้สึกตัว แต่ความ รู้สึกตัวนี้ก็ต้องทําให้เกิดขึ้นต่อเนื่อง ถ้าเกิดขึ้นไม่ต่อเนื่องแล้วความเป็นตัว”กู” ก็จะผุดขึ้นมาเรื่อยๆ มี ความรู้สึกตัวเมื่อไหร่ ก็ว่างจากตัวตน เป็นจิตว่างได้ จิตว่างคือว่างจากตัวตน

อ้างอิง ธาม เชื้อสถาปนศิริ (2556). 7 นิสัยออนไลน์ อันตรายที่คาดไม่ถึง! หนังสือพิมพ์กรุงเทพธุรกิจ Tuesday, May 14, 2013 [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.bangkokbiznews.com /home/detail/business/ media/20120602/454802/news.html พระไพศาล วิสาโล.(2544). สถานะและชะตากรรมของมนุษย์ในยุคคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโกมลคีมทอง. พระไพศาล วิสาโล.(2544). รู้เท่าทันตัวตน . หนังสือพิมพ์โพสต์ทูเดย์ 6 พฤศจิกายน 2553 [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: http://www.visalo.org/article/PosttoDay255311.htm วุฒิชัย กฤษณะประกรกิจ. (2556). “สังคมก้มหน้า” ชีวิตในโลกเสมือน เมือ่ โซเชียลมีเดียครอบงํา. ข่าว TCIJ 18 กรกฏาคม 2556 เข้าถึงจาก: http://www.tcijthai.com/tcijthainews/ view.php?ids=2823


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 55

มาสร้างภูมิคุ้มกันเด็กและเยาวชนไทย รูเ้ ท่าทันสื่อยุคใหม่กันดีกว่า... แสงเทียน เนียมทรัพย์

ปัจจุบันนี้ การรู้เท่าทันสื่อและสาร : ทักษะที่จําเป็นของเด็ก และเยาวชนไทยยุคใหม่ มีความสําคัญเป็นอย่างยิ่ง จากข้อมูลรู้เท่าทัน สื่อ ICT ของมูลนิธิอินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย กล่าวว่า เด็กและเยาวชนไทยใช้เวลาอยู่กับสื่อวัน ละไม่ต่ํากว่า 8 ชั่วโมง รวม ๆ แล้วมากกว่า เวลาเรี ย น มากกว่ า เวลาที่ อ ยู่ กั บ ครอบครั ว แนวโน้มในอนาคต สื่อไอซีที สื่อออนไลน์ จะ เข้ามาครอบครองเวลาส่วนใหญ่ของเด็กเยาวชน ไปโดยไม่รู้ตัว เป็นที่ยอมรับกันทั่วโลกว่า สื่อมีอิทธิพล อย่างมากมาย ต่อความคิด พฤติกรรมและวิถีชีวิต ของคนเรา เด็กเยาวชนของเรานอกจากจะรับสื่อ ต่างๆ มากมายแล้ว ยังกลายมาเป็นผู้สร้างสื่อเอง จึงจําเป็นต้องมีทักษะชีวิตหลายด้าน เพื่อดําเนิน ชี วิ ต ให้ เ หมาะสมและมี สุ ข ภาวะที่ ดี ไม่ ต กเป็ น เหยื่ อ ของสิ่ ง มอมเมาต่ า งๆ ที่ ม ากั บ สื่ อ ได้ ง่ า ย ทักษะที่กําลังมีความสําคัญมากขึ้นทุกขณะ คือ ทักษะ ”การรู้เท่าทันสื่อ” ซึ่งคือความสามารถ ใน”การอ่ า นสื่ อ ออก เขี ย นสื่ อ ได้ ” หรื อ ความสามารถในการเข้าใจเนื้อหาที่สื่อเสนอ รู้จัก แสวงหาข้อมูลหลายแหล่ง วิเคราะห์ วิจารณ์ แยกแยะ คั ด กรอง สามารถใช้ ป ระโยชน์ และ พัฒนาสื่อในแบบฉบับของตนเองได้

กระบวนการเท่ า ทั น สื่ อ ช่ ว ยพั ฒ นา ความคิด เป็นกระบวนการที่จําเป็นอย่างยิ่งในยุค กระบวนการเท่าทันสื่อ ช่วยพัฒนาความคิด เป็น กระบวนการที่จําเป็นอย่างยิ่งในยุคนี้ เพื่อที่จะทํา ให้เด็กและเยาวชนทุกคนดํารงชีวิตที่ดีและเติบโต เป็นผู้ใหญ่ที่มีคุณภาพ หลายประเทศทั่วโลกได้ พัฒนา หลักสูตรการเรียนการสอนเรื่องการรู้เท่า ทันสื่อ ทั้ง ในโรงเรียนและนอกโรงเรี ยน รวมทั้ ง การเรีย นรู้ ผ่านสื่ อและกิ จ กรรมต่ างๆ มากมาย หนังสือ ” รู้เท่าทันสื่อ ICT ” เป็นอีกสื่อหนึ่งที่จะ ช่ ว ยในการเรี ย นรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ไอซี ที ซึ่ ง มี ค วาม ซับซ้อน เหมาะส่าหรับเด็กเยาวชน และผู้ใหญ่ทุก คน (เข็มพร วิรุณราพันธ์ ผู้จัดการแผนงานสื่อ สร้างสุขภาวะเยาวชน สสย.) การรู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ไอซี ที ใ นยุ ค ปั จ จุ บั น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารหรือ ไอซีที (ICT – Information and Communication Technology) ได้ พั ฒ นาไปอย่ า งรวดเร็ ว ครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ทั่วโลก เชื่อมโยงผู้ใช้งาน ทุกเพศทุกวัยเข้าด้วยกัน ICT มาจากค่า 3 คํา ประกอบกัน คือ I คือ Information หมายถึงสารสนเทศ ในบางครั้งหมายถึงข้อมูล C คือ Communication หมายถึงการ สื่อสาร T คือ Technology หมายถึงเทคโนโลยี


56 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

เมื่ อ นํ า มารวมกั น ไอซี ที หมายถึ ง เทคโนโลยีที่ใช้จัดการสารสนเทศและการสื่อสาร เป็ น เทคโนโลยี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งตั้ ง แต่ ก ารรวบรวม จัดเก็บข้อมูล การประมวลผล การพิมพ์ การสร้าง งาน การสื่ อ สารข้ อ มู ล ฯลฯ รวมไปถึ ง การ ให้บริการ การใช้ และการดูแลข้อมูล ดั ง นั้ น สื่ อ ไอซี ที หมายถึ ง สื่ อ ที่ ใ ช้ เทคโนโลยี ใ นการจั ด การสารสนเทศ ในการ สื่อสาร ถ่ายทอดข้อมูล ความรู้ต่างๆ จากผู้ส่งสาร ไปยังผู้รับสาร ซึ่งในที่นี้จะกล่าวถึงสื่อไอซีทีหลักๆ 3 ตัว ได้แก่ อินเทอร์เน็ต เกม อิเล็กทรอนิกส์ และโทรศัพท์มือถือ เท่านั้น การใช้งานไอซีทีในสังคมไทย สํานัก งานสถิ ติ แ ห่ ง ชาติ ได้ สํ า รวจการมี ก ารใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในครัวเรือน ไทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ งเป็ น ประจํ า ทุ ก ปี โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ ทราบจํ า นวนประชากรที่ ใ ช้ คอมพิ ว เตอร์ อิ น เทอร์ เ น็ ต และโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ พฤติกรรมของการใช้ และจํานวนครัวเรือนที่มี อุปกรณ์ไอซีที เช่น โทรศัพท์พื้นฐาน เครื่อง คอมพิ ว เตอร์ เ ครื่ อ งโทรสารและการเชื่ อ มต่ อ อินเทอร์เน็ตในครัวเรือน ตลอดจนเรื่องที่ต้องการ ให้ภาครัฐเข้ามาควบคุมดูแลการใช้ไอซีทีผลการ สํารวจที่สําคัญ มีดังนี้ แ น ว โ น้ ม ก า ร ใ ช้ ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ อินเทอร์เน็ต และโทรศัพท์มือถือของประชาชน อายุ 6 ปีขึ้นไป ในระหว่างปี พ.ศ. 2548 – 2554 พบว่า ผู้ใช้คอมพิวเตอร์มีสัดส่วนเพิ่มขึ้นจากร้อย ละ 24.5 (จํ า นวน 14.5 ล้ า นคน) เป็ น ร้ อ ยละ 32.0 (จํานวน 19.9 ล้านคน) ผู้ใช้อินเทอร์เน็ต เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 12.0 (จํานวน 7.1 ล้านคน) เป็นร้อยละ 23.7 (จํานวน 14.8 ล้านคน) และ ผู้ ใ ช้ โ ทรศั พ ท์ มื อ ถื อ เพิ่ ม ขึ้ น จากร้ อ ยละ 36.7

(จํานวน 21.7ล้านคน) เป็นร้อยละ 66.4 (จํานวน 41.4 ล้านคน)11 ที่มา : ส่านักงานสถิติ แห่งชาติ สําหรับผู้ที่ใช้โทรศัพท์มือถือ ในระหว่าง ปี พ.ศ. 2548 – 2554 พบว่าสัดส่วนผู้ใช้ โทรศัพท์มือถือในเขตเทศบาลมีสัดส่วนเพิ่มขึ้ น จากร้อยละ 51.7 เป็นร้อยละ 74.8 ในปี พ.ศ. 2554 มี ผู้ ใ ช้ ค อมพิ ว เตอร์ 1 9 . 9 ล้ า น ค น ห รื อ ร้ อ ย ล ะ 3 2 . 0 มี ผู้ ใ ช้ อินเทอร์เน็ต 14.8 ล้านคน หรือร้อยละ 23.7 มี ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือ จํานวน 41.4 ล้านคน หรือ ร้อยละ 66.4 ประชากรในกรุงเทพฯ ใช้คอมพิวเตอร์ ร้อยละ 48.2ใช้อินเทอร์เน็ต ร้อยละ 40.6และใช้ โทรศัพท์มือถือ ร้อยละ 79.6 มากกว่าภาคอื่นๆ ประชากรกลุ่ ม อายุ 15-24 ปี ใช้ อินเทอร์เน็ต คิดเป็นร้อยละ 51.9 มากกว่ากลุ่ม อายุอื่นๆ ข้ อ คิ ด เห็ น จากครั ว เรื อ นต้ อ งการให้ ภาครัฐเข้ามาควบคุมเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ได้แก่ ต้องการให้ควบคุมเว็บไซต์ ลามกอนาจาร ควบคุมราคาอุปกรณ์โทรศัพท์ มือ ถื อ ควบคุ ม ราคาอุ ป กรณ์ ค อมพิ ว เตอร์ และมี บทลงโทษเด็ ด ขาดสํ า หรั บ ผู้ ที่ ก ระทํ า ความผิ ด เกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ ควบคุมผู้ให้บริการ ร้ า นอิ น เทอร์ เ น็ ต /ร้ า นเกมออนไลน์ และการ เผยแพร่ข้อความ เสียง ภาพตัดต่อ ดัดแปลงอัน จะทําให้ผู้อื่นเสียชื่อเสียง ผลการสํ า รวจดั ง กล่ า ว ทํ า ให้ ท ราบว่ า การใช้งานไอซีทีในสังคมไทยมีเพิ่มมากขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง ซึ่งเป็นไปตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สั ง คมแห่ ง ชาติ และแผนแม่ บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ในการ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 57

ส่งเสริมการใช้งานไอซีทีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม เพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน แต่รัฐบาลก็ ต้องไม่ลืมดูแลป้องกันปัญหาจากการใช้งานไอซีที ผิดประเภท ใช้ผิดวัตถุประสงค์ ใช้ผิดกฎหมาย ใช้ ผิดศีลธรรม ส่งเสริมการใช้งานไอซีทีอย่างรู้เท่า ทันด้วย สําหรับแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา ดังกล่าวข้างต้น โดยการร่วมสร้างภูมิคุ้มกันแก่ เด็กและเยาวชนไทย ให้รู้เท่าทันสื่อยุคใหม่ เน้น บทบาทของแต่ละภาคส่วน ทุกคนสามารถมีส่วน ช่วยในการส่งเสริมการรู้เท่าทันสื่อในสังคมไทย เริ่มที่ตัวเอง ขยายสู่คนรอบข้าง เริ่มที่บ้าน ขยาย สู่ชุมชน สังคม และประเทศชาติในที่สุด เด็ ก และเยาวชน ต้ อ งมี ทั ก ษะในการ เข้าถึงสื่อด้วยเครื่องมือด้วยวิธีการที่หลากหลาย รู้ จั ก วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หาสื่ อ มี วิ จ ารณญาณการ บริ โ ภคสื่ อ รู้ จั ก ประเมิ น คุ ณ ค่ า ของสื่ อ ว่ า มี ประโยชน์กับตัวเรามากน้อยเพียงใด รู้จักเลือก เสพสื่อที่มีเนื้อหา ความคิด มุมมอง และค่านิยมที่ ดีและเป็นประโยชน์ รู้จักนําไปใช้นําไปเผยแพร่ ต่ออย่างเหมาะสม พ่อแม่และผู้ปกครอง ควรเป็นตัวอย่างที่ ดี ใ นการบริ โ ภคสื่ อ เพราะพฤติ ก รรม ความคิ ด หรือรสนิยมต่าง ๆ ของลูกมักจะคล้ายกับพ่อแม่ เพราะเติ บ โตมาด้ ว ยการเลี้ ย งดู แ ละอยู่ กั บ สิ่งแวดล้อมที่พ่อแม่จัดให้ ในการบริโภคสื่อ ลูกจะ มองว่าพ่อแม่ทําอะไร ใช้อะไร ฉะนั้น การที่พ่อแม่ ผู้ ป กครอง เป็ น ตั ว อย่ า งที่ ดี ใ นการบริ โ ภคสื่ อ รู้จักเลือกสื่อ และบริโภคอย่างพอดีทั้งเนื้อหาและ ปริมาณ และสอนให้ลูกเท่าทันสื่อ สร้างค่านิยมใน การบริโภค สื่อให้กับลูก หรือพูดคุยวิเคราะห์สื่อ ร่วมกัน ก็เท่ากับเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้ลูกแต่ เยาว์วัย หากพ่อสูบบุหรี่ก็ ยากที่ลูกจะเชื่อคํา

สอนว่าอย่าสูบบุหรี่ มันไม่ดี พ่อเก็บวีซีดีลามกไว้ เต็มลิ้นชัก ลูกจะไม่ดูสื่อลามกได้อย่างไร แม่แต่ง สายเดี่ ย ว-เอวลอยเดิ น ตามแฟชั่ น ในที วี ทุ ก กระเบี ย ดนิ้ ว บางคนไม่ ก ล้ า แต่ ง เองแต่ ช อบ แต่ ง ตั ว ให้ ลู ก ไม่ แ ปลกเลยที่ ลู ก จะโตขึ้ น แล้ ว แต่ ง ตั ว จั ด ขอเงิ น ซื้ อ เสื้ อ ผ้ า อิ น เทรนด์ อ ยู่ ตลอดเวลา พ่อแม่ควรมีข้อตกลงในการใช้สื่อกับลูก เช่ น การใช้ สื่ อ ไอซี ที จํ า เป็ น จะต้ อ งมี ก ฎกติ ก า มารยาท เป็นต้นว่า ระยะเวลาในการใช้งาน ข้อ พึ ง ระวั ง ในการใช้ ง าน อะไรที่ ทํ า ได้ อะไรที่ ทํ า ไม่ได้ ต้องไม่มีความลับในครอบครัว พ่อแม่ควร แนะนําสื่อสร้างสรรค์ที่เหมาะกับช่วงวัยของลูก ปลูกฝังค่านิยม ทัศนคติที่ดีในการใช้ชีวิต และการ บริโภคสื่อ เช่น เด็ก ๆ ยังหาเงินใช้เองไม่ได้ จะใช้ โทรศั พ ท์ แ พงๆ ไปทํ า ไม อาจถู ก ทํ า ร้ า ยแย่ ง โทรศัพท์จะเป็นอันตราย แช็ทมากไปให้ระวังโดน หลอกเหมือนวัยรุ่นในข่าวนะลูก ค่านิยมในการ ลดความอ้วนในหมู่เด็กวัยรุ่น สาว ๆ พ่อแม่ควร แนะนํ า ว่ า เราเป็ น เด็ ก กํ า ลั ง โต อย่ า อดอาหาร อย่ าใช้ย า ทานแต่ พ อดีใ ห้ค รบ 5 หมู่ และออก กําลังกายอย่างสม่ําเสมอ เป็นต้น ครูและโรงเรียน ควรสอดแทรกเนื้อหา เรื่องการรู้เท่าทันสื่อเข้าไปในห้องเรียน ในวิชาที่ เรียน หัวใจของการสอนให้รู้เท่าทันสื่อคือการฝึก คิ ด ฝึ ก ปฏิ บั ติ ห ลายๆ รอบ ครู ค วรนํ า ข่ า วสาร ข้อมูล หรือเนื้อหาจากสื่อหลากหลายประเภทเข้า มาในห้ อ งเรี ย น เพื่ อ ให้ เ ด็ ก ได้ ฝึ ก ตั้ ง คํ า ถาม ตี ค วาม วิ เ คราะห์ เ นื้ อ หา ประเมิ น คุ ณ ค่ า และ คาดการณ์ ผ ลกระทบต่ อ ผู้ รั บ สื่ อ ฝึ ก สร้ า งและ สื่ อ สารเนื้ อ หาที่ ผ่ า นกระบวนการคิ ด วิ เ คราะห์ แก้ไข เรียบเรียงใหม่ไปยังเพื่อน ๆ ยิ่งฝึกฝนก็ยิ่ง


58 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

จะทําให้เด็กมีทักษะการรู้เท่าทันสื่อที่แข็งแรงขึ้น ตามล่าดับ โรงเรี ย นควรจั ด กิ จ กรรมรณรงค์ ก าร รู้ เ ท่ า ทั น สื่ อ ในโรงเรี ย น โดยการจั ด ตั้ ง ครู แ ละ นั ก เรี ย นแกนนํ า ในการรณรงค์ ส่ ง เสริ ม ร่ ว ม กิจกรรมเท่าทันสื่อกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความตื่นตัว และเกิดกระแสความนิยมใหม่ ที่เป็นผู้บริโภคสื่อ อย่ า งชาญฉลาด ใช้ สื่ อ อย่ า งเหมาะสมและ พอเพียง ผู้ ผ ลิ ต และสื่ อ มวลชน ต้ อ งคํ า นึ ง ถึ ง จรรยาบรรณเป็นหลัก ได้แก่ การซื่อสัตย์ต่อข่าว นําเสนอสิ่งที่เป็นจริง ไม่บิดเบือน ไม่เอนเอียง นํ า เสนอสิ่ ง ที่ เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ สั ง คมมากกว่ า จํานวนเงินที่จะเข้ากระเป๋า ซึ่งเป็นการเอาเปรียบ ผู้ บ ริ โ ภค และไม่ ไ ด้ ทํ า ให้ เ กิ ด การพั ฒ นาอย่ า ง สมดุลและยั่งยืน สื่อควรพัฒนามาตรฐานในการ นําเสนอ ควรมีส่วนร่วมในการคุ้มครองเด็กและ เยาวชนซึ่งก็คือลูกหลานของพวกเรานั่นเอง หน่วยงานที่รับผิดชอบดู แลสื่ อ ก็ควรมี นโยบายส่งเสริมสนับสนุนการสร้างสื่อดีๆ เพื่อการ พัฒนาเด็ก เยาวชน และสังคม ควรต่อต้านสื่อที่ ส่งเสริมค่านิยม ความคิด หรือพฤติกรรมที่ไม่ดี รัฐบาล ควรมีการออกกฎหมายควบคุม สื่อและโฆษณา และมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง เข้มแข็งจริงจัง ควรมีองค์กรทําหน้าที่ควบคุมดูแล จรรยาบรรณของสื่อให้ได้มาตรฐาน ส่งเสริมกลไก การเฝ้าระวังสื่อร้ายที่ทําลายสังคมต่างๆ ควรมี นโยบายส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้เท่าทันสื่อ ผ่านสถาบันต่างๆ ควรสร้างการมีส่วนร่วมให้กับ เด็กและเยาวชนในเรื่องสื่อ

หากทุกภาคส่วนในสังคมร่วมมือกันได้ อย่างนี้ เราสามารถที่จะร่วมกันสร้างภูมิคุ้มกัน แก่เด็กและเยาวชนไทย ให้รู้เท่าทันสื่อยุคใหม่ได้ อย่างไม่ยาก ....เพื่อเด็กและเยาวชนไทย อนาคต ของประเทศไทย...

อ้างอิง http://inetfoundation.or.th/มูลนิธิ อินเทอร์เน็ตร่วมพัฒนาไทย


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 59

เยาวชนไทยกับการใช้สื่ออินเตอร์เน็ต ศรีจิต เองเลอร์

ปัจจุบันเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ตได้พัฒนาไปมาก มีการสร้างเครือข่ายให้เข้าถึงได้ง่าย ทุกที่ ทุกเวลา จนได้ชื่อว่า คนรุ่นใหม่จะมีชีวิตที่ต้องพึ่งพาเครือข่ายนี้ มีวิถีชีวิตที่เชื่อมโยงเข้ากับเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ตั้งแต่การใช้อีเมล์ การพูดคุย การแชท การสร้างห้องคุยแบบเห็นตัวตน เช่น Cam Frog การสื่อสารแบบเห็น หน้าตา การเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายสังคม เช่น hi5 Facebook การสร้างเวทีแสดงความคิดเห็นแบบบล็อก การแลกเปลี่ยนและเข้าถึงข่าวสารแบบต่างๆ เช่น ยูทูป และยังมีการประยุกต์ใช้งานได้อีกมากมาย หลาย อย่าง รวมถึงการเล่นเกมออนไลน์ การเล่นเน็ต จึงเป็นคํากล่าวแบบรวมๆ ที่หมายถึงการเล่นที่มีการออนไลน์บนเครือข่ายสังคม ถือ เป็นอีกหนึ่งสื่อดิจิตอลที่กําลังมาแรงในกระแสสังคมปัจจุบัน ด้วยอัตราการเติบโตของตลาด เม็ดเงินจากทั่ว สารทิ ศ ต่า งหลั่ ง ไหลเข้ า มาลงทุ น ในอุต สาหกรรมนี้เ พื่อ โอกาสในการทํา กํ าไร ผลที่ ต ามมาคื อ ยอดผู้ ใ ช้ เครือข่ายสังคมที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดเวลาที่ผ่านมา ดัง ตัวอย่างการเล่นแชท เล่นไฮไฟว์ เล่นเกม ออนไลน์ ซึ่งผู้บริโภคเหล่านี้ ส่วนหนึ่งก็คือเด็กและเยาวชนไทย ของพวกเรานี่เอง ปัจจุบันสื่อออนไลน์และ สังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทกับสังคมเป็นอย่างมากทั้งในเรื่องการทํางานและการดํารงชีวิต เยาวชนก็เป็น กลุ่มหนึ่งที่ใช้สื่อประเภทนี้ด้วยเช่นกัน ทั้งนี้วันที่ 20 กันยายน ของทุกปี ได้ถูกกําหนดให้เป็นวันเยาวชน แห่งชาติ ศูนย์วิจัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพ (กรุงเทพโพลล์) จึงได้ทําการสํารวจความคิดเห็นของเยาวชนใน หัวข้อ “ชีวิตประจําวันของเยาวชนในยุคสื่อออนไลน์” โดยเก็บข้อมูลจากเยาวชนในกรุงเทพฯและปริมณฑล จํานวน 1,186 คน พบว่าเยาวชนเกือบครึ่งยอบรับว่าตนเอง “ติดสื่อออนไลน์” โดย 80.6% ใช้พูดคุย หรือ chat อุปกรณ์ที่เยาวชนใช้สําหรับการเข้าถึงสื่อออนไลน์ในปัจจุบันมากที่สุดคือ มือถือ/Smart phone ร้อย ละ 69.4 รองลงมาคือ Computer / notebook ร้อยละ 25.3 และ Tablet (iPad/Galaxy Tab ฯลฯ) ร้อยละ 5.3เยาวชนใช้เวลาอยู่กับสื่อออนไลน์ / สังคมออนไลน์ เฉลี่ยต่อวันมากที่สุด คือประมาณ 3-4 ชั่วโมง ต่อวัน คิดเป็นร้อยละ 32.6 ด้านผลการเรียนและประสิทธิภาพในการทํางานหลังการใช้สื่อออนไลน์ เยาวชน ส่วนใหญ่ร้อยละ 66.5 ระบุว่าเรียน/ทํางานได้เท่าเดิม ส่วนการใช้เวลาในการพูดคุย/ทํากิจกรรมร่วมกันกับ คนในครอบครัวหลังจากการใช้สื่อออนไลน์ เยาวชนส่วนใหญ่ร้อยละ 65.9 ระบุว่าใช้เวลาพูดคุยกันเท่า ประโยชน์ที่ได้จากการใช้สื่อออนไลน์ อันดับแรกเยาวชนระบุว่า รับรู้ข่าวสารต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว และเร็ว กว่าทางทีวี ร้อยละ 32.7


60 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

อิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น คลั ง แห่ ง ข้ อ มู ล และ เครื่ อ งมื อ ในการติ ด ต่ อ สื่ อ สารและรั บ ส่ ง ข้ อ มู ล ข่าวสารต่างๆ ทั่วโลก การใช้อินเทอร์เน็ตนั้นก่อ ประโยชน์ ม หาศาล แต่ ก็ แ อบแฝงไปด้ ว ยภั ย อันตรายต่างๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของการ เข้าถึงข้อมูลที่ไม่เหมาะสําหรับเยาวชน ค่านิยม ผิ ด ๆ ในเรื่ อ งเพศ การล่ อ ลวงในวงสนทนา นอกจากนี้ ยั ง มีเ ว็ บ ไซต์ ที่ เ ต็ม ไปด้ว ยเรื่ อ งลามก และเรื่องรุนแรงต่างๆ ที่ยากต่อการที่จะควบคุม ตรวจสอบได้ อาชญากรรมทางอิ น เทอร์ เ น็ ต เหล่ า นี้ เ ป็ น ภั ย ที่ อั น ตรายมากพอที่ จ ะกํ า หนด เส้นทางอนาคตของเยาวชนได้ ปั ญ หาจากการใช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ที่ เ สมื อ นกั บ "ดาบสองคม" กําลังกลายเป็นปัญหาอย่างหนึ่งใน กระบวนการเรียนรู้ของเด็กๆ และเยาวชน โดยที่ แม้แต่เยาวชน เองก็ไม่รู้ตัว การใช้สื่ออินเทอร์เน็ต เล่นการพนันออนไลน์ ใช้ดูเว็บลามก หรือใช้เล่น เกม จนไม่ เ ป็ น อั น ทํ า อะไร สะท้ อ นให้ เ ห็ น ว่ า เยาวชนไทยจํานวนหนึ่ง กําลังหมกมุ่นอยู่กับการ ใช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต จนบางครั้ ง กลายเป็ น ปั ญ หา สังคมที่ติดตามมาอีกหลายเรื่อง แต่ ปั ญ หาหนึ่ ง ที่ แ ฝงตั ว อยู่ ใ นระบบ การศึกษา คือ เยาวชนกําลัง "ติด" สื่ออินเทอร์เน็ต จนส่งผลกระทบต่อกระบวนการเรียนรู้ เช่น การ ติดเกมออนไลน์ จนไม่สนใจเรียนหนังสือ เยาวชน กลุ่มนี้กลายเป็นเยาวชนติดเกม ที่ถือเป็นปัญหา สั ง คมที่ มี ม าอย่ า งยาวนานเยาวชนกลุ่ ม นี้ กลายเป็ น เยาวชนที่ ใ ช้ เ วลาอยู่ บ นหน้ า จอ คอมพิวเตอร์มากกว่าการพูดคุยกับผู้คน สรุป ปัญหาการใช้สื่ออินเตอร์เน็ตของเยาวชนมีดังนี้ 1. การติ ดเกมจนไม่เรียนหนั งสือ บาง ค น แ ม้ จ ะ ไ ป เ รี ย น แต่ ส ภ า พ ร่า ง ก า ย ก็ไ ม่ เอื้ออํานวยให้เรียน เพราะเล่นเกมอย่างหามรุ่ง

หามค่ํา แม้แต่ผู้ปกครองเองก็ไม่ทราบว่าลูกหลาน ของตัวเองหนีเรียนไปเล่นเกม 2. ปัญหาผลการเรียนตกต่ํา ปัญหานี้ ทําให้เยาวชนจมอยู่ในโลกของตัวเองจนไม่สนใจ สั ง คมรอบข้ า ง ซึ่ ง ในระยะยาวย่ อ มส่ ง ผลต่ อ บุคลิกภาพและสภาพจิตใจของเยาวชนไม่มากก็ น้อย 3 . ปั ญ ห า สั ง ค ม จ า ก ก า ร ใ ช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต ในการเสพเว็ บ ลามกก็ มี ผ ลต่ อ พฤติกรรมทางเพศ ของเยาวชนไม่มากก็น้อย เช่น การรุมโทรม หรือการข่มขืน ที่สําคัญ การเสพสิ่ง เหล่ า นี้ ทํ า ให้ ทั ศ นคติ ใ นด้ า นเพศของเยาวชน เปลี่ยนแปลงไปทีละเล็กละน้อย 4. สํ า หรั บ การใช้ สื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต เพื่ อ การเล่นพนัน ต้องยอมรับว่า เป็นเรื่องสุ่มเสี่ยงต่อ อนาคตของเยาวชนพอสมควร เพราะแม้เยาวชน ที่ เ ล่ น พนั น ออนไลน์ จ ะมี จํ า นวนไม่ ม ากเท่ า กั บ เยาวชนที่ใช้สื่ออินเทอร์เน็ตเพื่อทํากิจกรรมอย่าง อื่น แต่ผลกระทบที่เยาวชนได้รับเข้าขั้นรุนแรง เพราะเป็นหนี้แล้วอาจถึงขั้นถูกทําร้ายร่างกาย 5. ผลกระทบต่อกระบวนการเรียนรู้ทาง สัง คมของเยาวชน เพราะเมื่ อ เยาวชนใช้ แ ต่ สื่ อ สังคม ออนไลน์ ทําให้ไม่สนใจคนรอบข้าง ไม่รู้วิธี ในการพูดคุยกับผู้อื่น ขาดมนุษยสัมพันธ์ เพราะ เยาวชนจะจมอยู่กับโลกเสมือนจริงในสื่อสังคม ออนไลน์ ต้องยอมรับว่า ในโลกยุคนี้ ไม่สามารถ ปฏิเสธหรือปิดกั้นสื่ออินเทอร์เน็ตและสื่อออนไลน์ ได้อีกต่อไป การเข้าถึงสื่อเหล่านี้ไม่ใช่เรื่องยาก แต่อย่างที่กล่าวไปตอนต้นคือ สื่อเหล่านี้มี "สอง คม" ดังนั้น เมื่อมีข้อดี ก็มีข้อเสียสิ่งที่ผู้ใหญ่หรือ ผู้รับผิดชอบจะต้องใคร่ครวญคือ ทําอย่างไรให้ เด็กสามารถเสพสื่อ เหล่านี้ได้อย่างรู้เท่าทัน


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 61

สาเหตุของปัญหาเยาวชนไทยกับการใช้ สื่ อ อิ น เตอร์ เ น็ ต เป็ น เพราะสั ง คมไทยปล่ อ ยให้ เยาวชนลองผิดลองถูกในหลาย ๆ เรื่อง และเรื่อง นี้ก็เป็นอีกเรื่องหนึ่งที่เยาวชนต้องลองผิดลองถูก เยาวชนไทยมั ก จะถู ก ปล่ อ ยให้ อ ยู่ กั บ สื่ อ จน บางครั้งก็ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าสื่อใดควรเสพ ไม่ ค วรเสพ หรื อ เมื่ อ เสพแล้ ว จะต้ อ งทํ า ความ เข้าใจอย่างไร ? เมื่อเยาวชนถูกปล่อยให้อยู่กับ สื่อ อย่ างใกล้ชิ ดเยาวชนก็ มีโ อกาสตกเป็ นเหยื่ อ ของสื่อที่เป็น "พิษ" ได้ ดังนั้นผู้ใหญ่ควรจะเริ่มต้น ในการให้ความเข้าใจกับเยาวชนในเรื่องการเสพ สื่อ หรือพูดง่าย ๆ คือ สอนเยาวชนให้ "รู้เท่าทัน สื่อ " ไม่ตกเป็นเหยื่อ ของสื่อ เพราะในยุคข้อมู ล ข่าวสารที่เชี่ยวกรากเช่นนี้ การเลือกบริโภคสื่อให้ ถูกวิธีเป็นเรื่องจํา เป็นอย่างยิ่ง การแก้ปัญหาเยาวชนไทยกับการใช้สื่อ อิ น เตอร์ เ น็ ต ผู้ ใ หญ่ ตั้ ง แต่ ใ นระดั บ ครอบครั ว จนถึงสถาบันการศึกษา จะต้องสอนให้เด็กมีความ เข้าใจในเรื่องการเสพสื่อ รู้จักแยกแยะสื่อที่ดีกับ สื่ อ ที่ เ ป็ น พิ ษ ออกจากกั น สอนให้ เ ยาวชนใช้ วิจ ารณญาณ สามารถพิ จารณาใคร่ครวญได้ว่ า อะไร เหมาะสมหรือไม่เหมาะสม การรู้เท่าทันสื่อ จะทําให้เยาวชนมีภูมิคุ้มกันในการเสพสื่อ ทําให้ เยาวชนเสพสื่ออย่างระมัดระวังแม้จะเจอสื่อที่มี พิษ แต่ก็สามารถแยกแยะได้ เยาวชนจะสามารถ เลือกเรียนรู้แต่สิ่งดี ๆ ที่ปรากฏอยู่ในสื่อ ใช้สื่อให้ เป็นประโยชน์ต่อตัวเอง มากกว่าจะหมกมุ่นอยู่ กับการเสพ จนส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิต ของตัวเอง แต่ ปั จจุ บั นมี เ ยาวชนไม่ม ากนั ก ที่รู้ เ ท่ า ทันสื่อ ดังนั้นเป็นเรื่องที่ผู้ใหญ่จะต้องปลูกฝังสิ่ง เหล่านี้ ก่อนที่ทุกอย่างจะสายเกินไป !!! ทั้งนั้น

และทั้งนี้ผู้ใหญ่ก็ต้องรู้เท่าทันสื่อก่อน ต้องแยกให้ ออกว่ า อะไรคื อ ความอยาก อะไรคื อ ความ ต้องการ ควรจะมีเหตุมีผลเห็นความจําเป็น ควร จะรู้ทันนัยแฝงที่มากับสื่อ เหล่านี้เป็นพื้นฐานที่ ผู้ ใ หญ่ ต้ อ งตระหนั ก จากนั้ น ทํ า ความเข้ า ใจกั บ เยาวชน ฟังสิ่งที่เขาพูด แม้ว่าเหตุผลนั้นเราจะไม่ เห็น ด้ว ย แต่ ต้อ งฝึ ก เยาวชนให้ ใช้ เ หตุผลบ่ อ ยๆ โดยฟังสิ่งที่เขาพูดจริงๆ ไม่ใช่แค่เพียงได้ยิน แล้ว แลกเปลี่ยนความเห็นซึ่งกันและกันโดยไม่ตัดสิน เขา ส่วนเรื่องการควบคุมพฤติกรรมการใช้ส่ือนั้น การสั่งห้าม สั่งหยุดนั้นใช้ไม่ได้ผล เพราะเยาวชน จะไม่ รับฟั งและจะเกิด การต่ อต้า น อาจจะต้อ ง ค่อยๆอธิบายและจูงใจว่าโลกนี้ยังมีอีกหลายเรื่อง ที่น่าสนใจและมีประโยชน์ต่อตัวเขามากกว่ามาใช้ เวลาส่วนใหญ่อยู่กับสื่อ แล้ววางกติการ่วมกันกับ เยาวชน ให้ เ ขามี ส่ ว นร่ ว มในการกํ า หนดกติ ก า เพราะเยาวชนจะไม่ชอบให้ถูกบังคับ จากนั้นเราก็ มาดูและต่อรองกับเยาวชนในขอบเขตที่รับได้และ รับไม่ได้ แล้วหากฝ่ายไหนทําไม่ได้ตามกติกาที่ วางร่วมกันจะถูกลงโทษอะไรบ้าง ผู้ใหญ่ต้องทํา ตามกติกา เยาวชนจึงจะยอมทําตาม จะเห็นได้ ว่ า การสอนให้ เ ยาวชนคิ ด เป็ น การทํ า ตั ว เป็ น แบบอย่างที่ดี เป็นความรับผิดชอบที่ผู้ใหญ่พึงมี ให้ต่อเยาวชน เพื่อให้การใช้สื่ออินเตอร์เน็ตเกิด ประโยชน์ ด้ า นการเรี ย นรู้ เพิ่ ม พู น สติ ปั ญ ญา สามารถดํารงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข


62 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

อ้างอิง เยาวชนไทยกับสื่อออนไลน์รู้เท่าทันก่อนสาย เกินไป [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: www.oknation.net/blog/wut201 3/2014/06/27/entry-1 เยาวชนไทยกับเครือข่ายสังคมบนโลก อินเตอร์เน็ต [ออนไลน์]. เข้าถึงจาก: www4.thaihealth.or.th/healthconte nt/article/5939 เด็กไทยกับภัยจากอินเตอร์เน็ต [ออนไลน์]. เข้าถึง จาก: warinyabc.blogspot.com/2011 /08/blog-post_20.html


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 63

กฎหมายเกี่ยวกับสื่ออินเทอร์เน็ตกับเยาวชน เรณู สุขเจริญ

อิ น เทอร์ เ น็ ต (Internet) หมายถึ ง เครื อ ข่ า ย คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเชื่อมต่อระหว่าง เครือข่ายหลาย ๆ เครือข่ายทั่วโลก โดยใช้ภาษาที่ ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า โพร โทคอล (protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถ สื่อสารถึงกันได้ในหลาย ๆ ทาง อาทิ อีเมล์ เว็บ บอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่าง ๆ รวมทั้ ง คั ด ลอกแฟ้ ม ข้ อ มู ล และโปรแกรมมา ใช้ได้ และในยุ ค ของข้ อ มู ล ข่ า วสารและการ เข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ง่ายอุปกรณ์การรับสื่อก็มี เพิ่มมากขึ้นตามความต้องการดังจะเห็นได้ว่าเรามี สมาร์ทโฟน เท็บแล็ตหนึ่งเครื่องก็สามารถที่จะ เข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ข่ า วสารได้ ม ากมายและด้ ว ยการ เข้าถึงข้อมูลที่ง่าย การแชร์ การโพสต์ และด้วย การเข้ า ถึ ง ข้ อ มู ล ได้ ง่ า ยเยาวชนไทยมั ก ใช้ อินเทอร์เน็ตโดยไม่ทันได้คิดว่าบ้างข้อมูลหรือภาพ ที่ แชร์ โพสต์ นั้นมีความผิดตามกฎหมาย

และเยาวชนเองยังคงเป็นเป้าหมายของ การหลอกลวงจากอินเทอร์เน็ตในรูปแบบต่างๆ อีกด้วย ถึงแม้ว่าในปัจจุบันบางประเทศที่พัฒนา แล้วจะมีกฎหมายควบคุมสื่ออินเทอร์เน็ต ก็ยังไม่ สามารถควบคุ ม ภั ย ล่ อ ลวงต่ า ง ๆ จากสื่ อ อินเทอร์เน็ตได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างเด็ดขาด เต็ ม ที่ และเนื่ อ งด้ ว ยลั ก ษณะพิ เ ศษของข้ อ มู ล ต่ า งๆ ที่ อ ยู่ ใ นเครื อ ข่ า ยอิ น เทอร์ เ น็ ต เป็ น เครื อ ข่ า ยที่ มี ลั ก ษณะเป็ น ใยแมงมุ ม ซึ่ ง ระบบ กระจายความรับผิดชอบไม่มีศูนย์กลางของระบบ และเป็ น เครื อ ข่ า ยข้ อ มู ล ระดั บ โลกยากต่ อ การ ควบคุม และเป็นสื่อที่ไม่มีตัวตน หรือแหล่งที่มาที่ ชัดเจน ทั้งผู้ส่งข้อมูล หรือผู้รับข้อมูล ในการออก กฎหมายฉบับแรกๆ นั้นส่วนใหญ่จะเป็นการออก กฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การดํ า เนิ น การทาง ธุ ร กรรมต่ างๆ ผ่ านระบบอิ น เทอร์ เน็ ตและเมื่ อ อิ น เทอร์ เ น็ ต มี ก ารพั ฒ นามากขึ้ น บุ ค คลทั่ ว ไป สามารถเข้าถึงข้อมูลได้มากฎหมายในฉบับปี พ.ศ. 2550 จึงเน้นไปที่ตัวบุคคลที่ทําความผิดเป็นส่วน ใหญ่


64 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

การใช้อินเตอร์เน็ตของเยาวชน ที่เสี่ยง ต่ อ ความผิ ด ตามกฎหมายเทคโนโลยี แ ละ สารสนเทศเยาวชนในปัจจุบันนั้นการเข้าใช้สังคม ออนไลน์ เช่น Facebook การแชร์ภาพหรือ ข้ อ ความที่ โ พสต์ กั น โดยไม่ มี มู ล ความจริ ง การ โพสต์ภาพหรือข้อความ หากนําข้อความหรือภาพ ที่มีลักษณะหมิ่นประมาท หรือตัวอักษรที่ทําให้ ปรากฏด้ ว ยวิ ธี ใ ด อย่ า งหนึ่ ง ในมาตรา 329 บัญญัติไว้ว่า "ถ้าความผิดฐานหมิ่นประมาท ได้ กระทํ า โดยการโฆษณา ด้ ว ยเอกสาร ภาพวาด ภาพระบายสี ภาพยนตร์ ภาพ หรือ ตัวอักษรที่ ทําให้ปรากฏ ไม่ว่าด้วยวิธีใดๆ แผ่นเสียง หรือสิ่ง บันทึกเสียง บันทึกภาพ หรือบันทึกอักษร กระทํา โดยการกระจายเสียง หรือกระจายภาพ หรือโดย กระทําการป่าวประกาศด้วยวิธีอื่น ผู้กระทําต้อง ระวางโทษจําคุกไม่เกินสองปี และปรับไม่เกินสอง แสนบาท" ผู้ ก ระทํ า จะต้ อ งได้ รั บ โทษหนั ก กว่ า มาตรา 326 เพราะการโฆษณาเป็นการทําให้ ข้ อ ความหรื อ ภาพที่ มี ลั ก ษณะหมิ่ น ประมาท กระจายไปสู่ คนจํ า นวนมากกว่ า การหมิ่ น ประมาททั่วๆ ไป การใส่ร้าย ป้ายสีผู้อื่น โดยพิมพ์ ลงในกระทู้ จึ ง เป็ น ความผิ ด ตามมาตรา 329 ความผิดสําเร็จในความผิดฐานหมิ่นประมาททาง อินเตอร์เน็ตนั้น จะถือว่าความผิดสําเร็จเมื่อใด เมื่อพิจารณาถ้อยคําที่ว่า "โดยประการที่ทําให้ผู้ นั้นเสียชื่อเสียง ถูกดูหมื่น หรือถูกเกลียดชัง" ที่ บัญญัติไว้ในมาตรา 326 นั้นไม่ใช่ผลของการ กระทําความผิดฐานหมิ่ นประมาท ที่ต้องถือว่ า เป็ น ความผิ ด สํ า เร็ จ แล้ ว แต่ จ ะพิ จ ารณาว่ า ผิ ด สําเร็จ หรือไม่จากบุคคลทั่วไปว่าเมื่อได้รับทราบ ข้อความนั้นแล้ว เห็นว่าน่าจะเกิดความเสียหาย แต่ผู้อื่นหรือไม่ ถ้าเห็นว่าน่าจะเสียหาย ผู้กระทํา ก็จะมีความผิดแล้ว แต่ถ้าบุคคลทั่วไปเห็นว่าไม่

น่ า จะเสี ย หายแต่ ผู้ อื่ น ผู้ ก ระทํ า ก็ ไ ม่ มี ค วามผิ ด และต้องได้ข้อเท็จจริงว่า บุคคลที่สามรับทราบ ข้อความนั้นแล้ว จึงจะถือว่าเป็นความผิดสําเร็จ ดังนั้นการโพสต์ข้อความในการทู้ เมื่อมีคนอ่าน ก็ ถือว่าความผิดสําเร็จแล้ว ดังนั้นเยาวชนเองไม่ ควรที่ จ ะแสดงความคิ ด เห็ น ในโพสต์ ห รื อ ส่ ง ต่ อ โพสต์ที่ดูแล้วเป็นการหมิ่นประมาณผู้อื่น การเสี่ ย งต่ อ การละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ข อง เยาวชนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่เยาวชนมักจะไม่ทราบ ว่ า การคั ด ลอก หนั ง เพลง รู ป ภาพ โปรแกรม บทความ ผลงานต่ า งๆ บนอิ น เทอร์ เ น็ ต นั้ น มี เจ้าของ งานบางชิ้นมีลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตร มีการ คุ้มครองตามกฎหมาย เจ้าของผลงานบางคนยินดี ให้คัดลอกผลงานของเขามาใช้ ได้โดยไม่คิดเงิ น เจ้าของบางคนขอให้ระบุข้อความให้เขาด้วยหาก เราจะนําเนื้อหาข้อมูลหรือรูปภาพของเขามาใช้ เจ้าของบางคน ไม่ยินยอมให้ เผยแพร่งานของเขา หากไม่ได้ขอและอนุญาตกันเป็นลายลักษณ์อักษร เยาวชนเองต้องรู้จักเรื่องลิขสิทธิ์ ทรัพย์สินทาง ปัญญา รู้จักให้เกียรติเจ้าของผลงาน ไม่ละเมิด ไม่ ขโมยผลงาน หรือแอบอ้างว่าเป็นผลงานของตน แม้อินเทอร์เน็ตจะเอื้อให้การขโมยผลงานทําได้ ง่ายๆ อย่างไรก็ตาม ภาพยนตร์ เพลง ซอฟต์แวร์ หรือผลงานที่จดลิขสิทธิ์ จะได้รับความคุ้มครอง ตามกฎหมาย ผู้ดาวน์โหลดของที่มีลิขสิทธิ์โดย ไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของ ถือว่าละเมิดลิขสิทธิ์ และมี ค วามผิ ด ตามกฎหมายบุ ค คลนั้ น จะมี ความผิ ด ฐานละเมิ ด ลิ ข สิ ท ธิ์ ซ อฟต์ แ วร์ มี โ ทษ ปรับตั้งแต่ 20,000 บาทถึง 200,000 บาทและ หากเป็นการกระทําเพื่อการค้า จะต้องโทษจําคุก ตั้งแต่ 6 เดือน ถึง 4ปี หรือปรับตั้งแต่ 100,000 ถึง 800,000 บาท หรือทั้งจําทั้งปรับ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 65

และพฤติกรรมการForward email ที่มี ข้อความ เนื้อหา หรือรูปภาพที่ไม่เหมาะสม เป็น เท็ จ กระทบความมั่ น คง หรื อ ลามกก่ อ นาจาร เยาวชนเองอาจรู้เท่าไม่ถึงการทําให้มีการมีการส่ง ต่อขอมูลในลักษณะต่างๆ ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้ก็ จะมี ค วามผิ ด ตามมาตรา 14 ปรั บไม่ เ กิ น 100,000.- จําคุกไม่เกิน 5 ปี และยังมีพรบ.ว่า ด้ ว ยการกระทํ า ความผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ พ.ศ.2550 เพิ่มเติมเพื่อให้มีโทษในการกระทํา ความผิดที่มากขึ้น และยังสามารถสืบค้นตัวตนผู้ที่ กระทําความผิดได้ด้วยไม่ว่าผู้กระทําความผิดจะ ใช้คอมพิวเตอร์ หรือสมาร์ทในการส่งต่อข้อมูลอัน เป็นเท็จต่างๆ ทั้งนี้กฎหมายเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ตยังมี อี ก เป็ น จํ า นวนมากเช่ น กฎหมายเกี่ ย วกั บ การ พนั น ออนไลน์ กฎหมายเกี่ ย วกั บ การเป็ น มาสเตอร์ เ วปและกฎหมายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ อินเทอร์เน็ตเพื่อให้ผู้ใช้ เป็นผู้ใช้สื่ออินเทอร์เน็ต โดยที่ไม่สร้างความเดือดร้อนหรือเสื่อมแก่บุคคล อื่น และการใช้สื่อออนไลน์ของเยาวชนนั้นเราจะ เห็นว่าเยาวชนนั้นสามารถที่เข้าถึงข้อมูลที่ได้ง่าย ไม่ ว่ า จะเป็ น ข้ อ มู ล ที่ ดี ห รื อ ไม่ และทุ ก ครั้ ง ที่ เยาวชนกระทําความผิดเกี่ยวกับสื่ออินเทอร์เน็ต นั้นส่วนใหญ่จะขาดคําแนะนําจากผู้ปกครองใน การใช้สื่ออินเทอร์เน็ต ดังนั้นผู้ปกครองเองควร เป็ น ผู้ ที่ รู้ เ รื่ อ งกฎหมายการกระทํ า ความผิ ด เกี่ ย วกั บ คอมพิ ว เตอร์ ด้ ว ยเพื่ อ ที่ จ ะสามารถ แนะนํ า การใช้ ง านแก่ เ ยาวชนได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง เพื่อที่เยาวชนจะได้มีความระมัดระวังในการใช้สื่อ ออนไลน์ และยั งลดปัญหาการกระทําความผิ ด ของเยาวชนโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ได้ด้วย

อ้างอิง กฎหมายสารสนเทศในประเทศไทยพฤติกรรมที่ มีความผิดตามพ.ร.บ. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทํา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์


66 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

สรุปผลประเมินโครงการสัมมนาฯ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 67

ประเมินผลการสัมมนา จากการทําแบบสอบถามออนไลน์เกี่ยวกับความพึงพอใจในการเข้าร่วมการสัมมนา ผลปรากฏว่า ผู้ร่วมสัมมนา ให้ความสนใจเข้าชมแบบสอบถามจํานวน 38 คน ไม่ออกความเห็นในแบบสอบถามจํานวน 15 คน และตอบ แบบสอบถามจํานวน 23 คน ดังรายละเอียดต่อไปนี้


68 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

*** ข้อมูลตอบกลับอื่น ๆ คือ ข้าราชการ จํานวน 1 คน

กระบวนการ ขั้นตอนการให้บริการ


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 69

ความคิดเห็นต่อวิทยากร / ผู้ทรงคุณวุฒิ


70 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 71

การอํานวยความสะดวก


72 เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน

ประโยชน์ที่ได้รับจากการสัมมนา


เอกสารสรุปการสัมมนา “การรูเทาทัน” อาวุธในสมรภูมิสื่อออนไลนของเยาวชน 73

บันทึกช่วยจํา ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................


¨ Ñ ´ ¾ Ô Á ¾ â ´  :¤ ³Ð ¹ Ñ ¡ È Ö ¡ É Ò ¹ Ô à · È È Ò Ê µ à Á Ë Ò º Ñ ³± Ô µ Á Ë Ò Ç Ô · Â Ò Å Ñ Â Ê Ø â ¢ · Ñ Â ¸ à à Á Ò ¸ Ô Ã Ò ª 9 / 9Ë Á Ù ‹ 9µ . º Ò § ¾ Ù ´Í . » Ò ¡ à ¡ Ã ç ´¨ . ¹ ¹ · º Ø Ã Õ 1 1 1 2 0 â · Ã È Ñ ¾ · :0 2 5 0 4 7 7 7 7


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.