หนังสือฝึกอ่านเบื้องต้น สำ�หรับเด็กเริ่มเรียน เล่มเดียวจบ
“ห้ามขาย” เรียบเรียง ให้คำ� ทำ�เเบบ โดย
หนังสือฝึกอ่านเบื้องต้น เรื่อง
สำ�หรับเด็กหญิงชาย ชาวบ้าน ชาวไร่ ชาวนา ชาวรัฐสภา หัด อ่าน เรียน ที่บ้าน
กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เรียบเรียง
เล่มเดียวจบ พิมพ์ครั้งที่หนึ่ง ห้าพันฉบับ พุทธศักราช ๒๕๕๔ สงวนลิขสิทธิ์
การผลักดันให้เกิดการกระจายศูนย์ควรมีทง้ั ๒ แบบ คือ การกระจายศูนย์พลังงาน และการ กระจายศูนย์การวางแผนพลังงาน เนือ่ งจากการผลิตพลังงานแบบรวมศูนย์ขนาดใหญ่ทพ่ี ง่ึ พาเชือ้ เพลิงฟอสซิลเป็นเหตุให้เกิดการ “สูญเสียพลังงาน” กว่าร้อยละ ๖๐ ของค่าพลังงานจากเชือ้ เพลิงทีใ่ ส่เข้าไปในระบบผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย ในรูปแบบความร้อนทีถ่ กู ปล่อยทิง้ ออกจากโรง ไฟฟ้าและระบบสายส่งเพือ่ กระจายไฟฟ้าสูผ่ บู้ ริโภคแต่ละภาคส่วน การกระจายตัวจึงทำ�ให้เกิดความ ยืดหยุน่ และคุม้ ค่ามากขึน้ สำ�หรับการกระจายศูนย์การวางแผนพลังงานนัน้ เพือ่ ให้เกิดแผนพัฒนา กำ�ลังผลิตไฟฟ้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ทัง้ นีป้ ระชาชนในพืน้ ทีส่ ามารถร่วมวางแผนการจัดการพลังงาน ในระดับจังหวัด หรือภูมภิ าคของตนเองและทำ�ให้เกิดการพยากรณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้ารวมทัง้ ประเทศอยูบ่ นพืน้ ฐานข้อมูลทีเ่ ป็นจริงมากทีส่ ดุ ซึง่ จะทำ�ให้เกิดการยอมรับจากประชาชนและความ ยัง่ ยืนของการวางแผนพลังงานอย่างแท้จริง
๒
การนำ�ขีม้ าผลิตพลังงานก๊าซชีวภาพ โดยค่าวัสดุทใ่ี ช้ในการทำ�ถุงหมักเพือ่ เก็บก๊าซประมาณ ไม่เกิน ๓,๐๐๐ บาท มีอายุการใช้งาน ๕ ปี แล้วจึงเปลีย่ นถุงหมัก โดยถุงหมักสามารถผลิต ก๊าซ ๒-๓ ลูกบาศก์เมตร สามารถทดแทนถังแก๊สหุงต้มแอลพีจี (LPG) ได้ ๑-๑.๕ ถัง ซึง่ โดยปกติครัวเรือนใช้แก๊สหุงต้มเดือนละ ๒ ถัง หากมีการใช้พลังงานจากก๊าซชีวภาพ ๑ ล้านถัง ต่อ ๑ ล้านครอบครัว ต่อ ๑ เดือนแทนก๊าซหุงต้มเเอลพีจี จะเกิดการลดค่าใช้จา่ ยได้อย่างน้อย ๓๐๐ บาทต่อเดือนต่อครัวเรือนหรือ ๓๐๐ ล้านบาทต่อ ๑ ล้านครอบครัวต่อเดือน ในขณะเดียวกัน บริษทั ปตท. จำ�กัด(มหาชน) ว่าจ้างบริษทั แห่งหนึง่ รับซือ้ ก๊าซชีวภาพทีผ่ ลิตได้อดั ลงถังเป็นก๊าซ เอ็นจีวี (NGV) บริษทั นีเ้ อาเชือ้ เพลิงมาจากฟาร์มสัตว์ ผ่านกระบวนการทำ�ให้กา๊ ซสะอาดขึน้ และ ส่งเข้าปัม๊ น้�ำ มันทีจ่ งั หวัดเชียงใหม่ ศักยภาพของก๊าซชีวภาพ หากมีการบริหารจัดการการใช้แหล่ง วัตถุดบิ ทีม่ ศี กั ยภาพเหล่านีใ้ นการผลิตก๊าซมีเทนเพือ่ ผลิตกระแสไฟฟ้าได้เพิม่ มากขึน้ จะมีก�ำ ลังผลิต ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ถึง ๕๕๕ เมกะวัตต์
๓
ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยกำ�ลังเป็น คอขวด เนือ่ งจากปริมาณของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงาน หมุนเวียนทีเ่ พิม่ ขึน้ ไม่สามารถส่งขายเข้าสูร่ ะบบสายส่งได้ ทัง้ หมด ด้วยนโยบายของรัฐผูกขาดให้กบั การไฟฟ้าฝ่ายผลิต แห่งประเทศไทยเพียงรายเดียวทีม่ อี �ำ นาจกำ�หนด จำ�นวนโควต้าการซื้อขายของพลังงานหมุนเวียนจากผู้ผลิต ถึงแม้ว่าผู้ผลิตสามารถผลิตพลังงานเหล่านี้ได้มากเพียงใด แต่จะรับซือ้ เฉพาะจำ�นวนทีก่ �ำ หนดเปิดรับไว้เท่านัน้ ในขณะที่ ก ฎหมายและข้ อ กำ � หนดของหลายประเทศทั่ ว โลก โดยเฉพาะประเทศเยอรมนีก�ำ หนดให้รฐั รับซือ้ พลังงาน หมุนเวียนจากผู้ผลิตได้ในสัดส่วนที่สูงและเป็นตัวเลือกลำ�ดับ แรกในการรับซือ้ เข้าสูร่ ะบบสายส่งและการกระจายไฟฟ้าสู่ ผูบ้ ริโภค
๔
ความเชื่อ ความเชื่อที่ว่า พลังงานหมุนเวียนไม่สามารถทำ�ให้ประเทศไทยเกิดความมั่นคงด้านพลังงานได้ กำ�ลังถูกลบล้าง เมื่อมีการเปิดเผยความจริงว่า ปัจจุบันมีการขายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ แล้วถึง ๓,๓๕๐ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับโรงไฟฟ้าถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๕ โรง) ขณะที่ในเดือนตุลาคมศกนี้ พบว่ามีการขายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์เข้าสู่ไฟฟ้ากระแสหลัก เพื่อใช้สอยเพียง ๑๖ เมกะวัตต์ ซึ่งมีการเสนอขายจำ�นวนที่เหลือ ๓,๕๐๐ เมกะวัตต์ให้กับ การไฟฟ้าทั้ง ๓ เเห่งนั้น ขึ้นอยู่กับการพิจารณารับซื้อเเละมีสิทธิ์ถูกปฏิเสธการรับซื้อ เหตุผลที่ รัฐกดทับการขยายตัวของพลังงานหมุนเวียน ทั้งๆที่ศักยภาพของพลังงานดังกล่าวตอนนี้มี มากกว่าที่รัฐตั้งเป้าไว้ในอีกสิบปีข้างหน้าและตามแผนพีดีพี ๒๐๑๐ รัฐให้เหตุผลว่าสัดส่วนการใช้ พลังงานหมุนเวียนมากขึ้นจะส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายของผู้บริโภค มีความไม่แน่นอนของ พลังงานและการจ่ายกระแสไฟฟ้าจากสถานีย่อย เกิดความเสี่ยงต่อความมั่นคงด้านพลังงาน ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและทั้งประเทศหากมีผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กเพิ่มมากขึ้น
๕
การจัดการพลังงานของประเทศไทยอยูภ่ ายใต้อ�ำ นาจการตัดสินใจและบริหารจัดการของรัฐบาล คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ คณะกรรมการบริหารนโยบายพลังงาน กระทรวงพลังงาน คณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ปตท. ซึง่ หน่วยงานทัง้ หลายเหล่านีล้ ว้ นมาจากตัวแทนของภาครัฐทัง้ สิน้ การวางแผนพลังงานของประเทศไทย จึงมี ปัญหาตัง้ แต่ระดับนโยบายสูก่ ารปฏิบตั จิ ริงระดับรากหญ้า เนือ่ งจากขาดกระบวนการทีเ่ รียกว่า การ ศึกษาผลกระทบสิง่ แวดล้อมในเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment) ทีจ่ ะผลักดันให้เกิดการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ตัง้ แต่ผบู้ ริโภคไฟฟ้า ตัวแทนชุมชน นัก วิชาการและผูเ้ ชีย่ วชาญหลากหลายด้านทัง้ เศรษฐกิจ สังคม พลังงาน และสิง่ แวดล้อม ร่วมกัน กำ�หนดแผนการจัดการพลังงานและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศทั้งหมด ไม่ใช่การศึกษาผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมเป็นรายโครงการ
๖
เงินภาษีจ�ำ นวนมากถูกนำ�มาจัดสรรเพือ่ การรณรงค์ให้ประชาชนเห็นด้วยกับโครงการโรงไฟฟ้าขนาด ใหญ่ทจ่ี ะเกิดขึน้ อย่างเช่น กรณีจดั ทำ�งบประมาณโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ส�ำ หรับการวางแผน การสือ่ สารสาธารณะและการยอมรับของประชาชนประมาณปีละ ๒๐๐ ล้านบาท และการกระ หน่�ำ โฆษณาโรงไฟฟ้าถ่านหินทีท่ �ำ ให้ประชาชนรับทราบข้อมูลด้านดีเพียงด้านเดียว ซึง่ เป็นการ โฆษณาชวนเชือ่ มากกว่าการสือ่ สารเพือ่ ให้ประชาชนเกิดความเข้าใจ อีกทัง้ กระบวนการโฆษณา ดังกล่าวยังเกิดขึน้ ซ้�ำ รอย เมือ่ เจ้าหน้าทีร่ ฐั ลงชุมชนเพือ่ สร้างความเข้าใจ การมีสว่ นร่วมของภาค ประชาชน และการทำ�ประชาพิจารณ์ในแต่ละพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบจากการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ใน ขณะที่การโฆษณาเพื่อให้คนไทยเล็งเห็นศักยภาพของการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและการ ใช้พลังงานหมุนเวียนเพือ่ ทดแทนการสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ หน่วยงานภาครัฐทีร่ บั ผิดชอบด้าน พลังงานกลับให้ความสำ�คัญน้อยมาก
๗
ในปีพ.ศ.๒๕๕๓ คนไทยต้องจ่ายค่ากระแสไฟฟ้าปีละ ๔.๗๓ แสนล้านบาท โดยค่าใช้จา่ ยด้าน เชือ้ เพลิง ส่วนใหญ่มาจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลร้อยละ ๖๕ ส่วนพลังงานหมุนเวียนมีเพียงร้อยละ ๑.๔ เท่านัน้ นอกจากนีใ้ นแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า (PDP 2010) ได้ก�ำ หนดว่าจะมีการก่อสร้าง โรงไฟฟ้าใหม่และระบบสายส่งคิดเป็นเงินมูลค่าถึง ๔.๒๒ ล้านล้านบาท คิดเป็นกว่าร้อยละ ๑๐ ของงบประมาณแผ่นดินปีพ.ศ. ๒๕๕๔ และในจำ�นวนนีม้ ากกว่าครึง่ เป็นโครงการของการไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในมุมกลับกันหากมีการนำ�งบประมาณดังกล่าวไปใช้เพือ่ ส่งเสริมการใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและพลังงานหมุนเวียนอย่างเต็มทีจ่ ะทำ�ให้ประเทศไทยเติบโตทางด้าน เศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
งบประมาณ
๘
การจ้างงานในการผลิตไฟฟ้าเป็นตัวชี้วัดสำ�คัญที่ทำ�ให้ผล กระทบทางด้านสังคมลดลง อย่างเช่นความขัดแย้งใน การก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่เนื่องจากชุมชน ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ดังกล่าวต้องอพยพครอบครัว การขาด ช่องทางทำ�มาหากินและการเพิ่มปัญหาความยากจนเรื้อรัง มากขึ้น หลายพันครอบครัวไม่มีทางเลือก ต้องทนและตาย ในพื้นที่ที่มีการก่อสร้างโรงไฟฟ้า หากประเทศไทยมีการ เพิ่มสัดส่วนพลังงานหมุนเวียนมากขึ้น ทำ�ให้เกิดการจ้าง งานในภาคพลังงานเพิ่มขึ้นอย่างน้อย ๗๕,๐๑๙ อัตรา ในขณะที่การจ้างงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิลมีเพียง ๓,๓๕๐ อัตรา ในปี พ.ศ. ๒๕๕๔ ประเทศเยอรมนีมีการสำ�รวจ พบว่าการจ้างงานเพิ่มขึ้นอันเป็นผลมาจากการบังคับใช้ กฎหมายพลังงานหมุนเวียน อัตราการจ้างงานในภาค พลังงานหมุนเวียนประมาณ ๓๗๐,๐๐๐ อัตราหรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ ๘ เมื่อเทียบกับตัวเลขของปีที่ผ่านมา
๙
การเริม่ ดำ�เนินการจัดการความต้องการไฟฟ้า (DSM) หรือเรียกว่าการประหยัดพลังงานจนกระทัง่ ปีพ.ศ. ๒๕๕๑ พบว่า สามารถลดความต้องการไฟฟ้าสูงสุดได้ ๑,๔๗๑ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับ โรงไฟฟ้าถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๒ โรง) ผลการศึกษาในปัจจุบนั พบว่า ศักยภาพ การประหยัดพลังงานในประเทศไทยสามารถทำ�ได้อกี มากและมีตน้ ทุนต่�ำ สุดเพียงแค่ ๕๐-๑.๕๐ สตางค์ตอ่ หน่วย ในขณะทีแ่ ผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า (PDP 2010) กลับไม่ได้ระบุศกั ยภาพของ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพไว้ในแผนดังกล่าว ทัง้ ๆ ทีแ่ ผนทางเลือกการผลิตไฟฟ้าของ ภาคประชาชนกำ�หนดศักยภาพการประหยัดพลังงานที่ ๗,๙๓๔ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับโรงไฟฟ้า ถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๕ โรง) เมือ่ ปีพ.ศ. ๒๕๕๒ ดร.ธีระ ฟอแรนและคณะ ได้ คำ�นวณศักยภาพในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าในภาคบ้านเรือนที่อยู่อาศัยพบว่าสามารถประหยัด พลังงานได้ประมาณร้อยละ ๒๙ ต่อปีหรือประมาณ ๒,๖๐๐ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับโรงไฟฟ้า ถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๓ โรง) ทำ�ให้ลดเงินลงทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ ได้มากกว่า ๘๖,๐๐๐ ล้านบาท
๑๐
การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนในประเทศไทยประมาณ ร้อยละ ๘๐-๙๐ มาจากเชือ้ เพลิง ชีวมวล เมือ่ ปีพ.ศ. ๒๕๕๓ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและการอนุรกั ษ์พลังงาน ได้ประมาณการ ศักยภาพพลังงานชีวมวลทีส่ �ำ คัญ ๔ ชนิด จากเหง้ามันสำ�ปะหลัง ยอดและใบอ้อย ทะลายปาล์ม เปล่าและซังข้าวโพด พบว่าประเทศไทยยังมีศกั ยภาพในการผลิตไฟฟ้าเหลืออยูป่ ระมาณ ๒,๐๗๐๓,๑๓๐ เมกะวัตต์ นอกจากนีก้ รมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรกั ษ์พลังงาน (๒๕๕๓) และจาก บัณฑิตวิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิง่ แวดล้อม (JGSEE 2550 และ 2552) พบว่า โดยภาพ รวมแล้ว ประเทศไทยยังมีศกั ยภาพในการผลิตไฟฟ้าจากเชือ้ เพลิงชีวมวลอีกประมาณ ๓,๗๑๑๖,๘๖๔ เมกะวัตต์ ทัง้ นีค้ วามแตกต่างของศักยภาพทีป่ ระมาณการ ขึน้ อยูก่ บั ข้อสมมติฐานเกีย่ วกับ การเก็บรวบรวมวัตถุดบิ และประสิทธิภาพของโรงไฟฟ้าเป็นสำ�คัญ
๑๑
ของเสียเหลือศูนย์มเี ป้าหมายเพือ่ ลดของเสีย โดยมุง่ ไปทีว่ ธิ กี ารออกแบบผลิตภัณฑ์และการ เปลีย่ นแปลงวิธกี ารจัดการของเสีย ทัง้ นีเ้ พือ่ ทำ�ให้การใช้งานผลิตภัณฑ์มอี ายุการใช้งานมากขึน้ และนำ�กลับไปรีไซเคิลหรือวัสดุอนิ ทรียท์ ส่ี ามารถใช้ในการผลิตปุย๋ และพลังงาน การคิดเชิงระบบเพื่อมุ่งเปลี่ยนแปลงการไหลเวียนจากพฤติกรรมบริโภค นิยมอย่างถึงรากถึงโคน โดยเฉพาะในภาคอุตสาหกรรมเพือ่ ให้เกิดการใช้ ประโยชน์จากวัสดุแทนการทำ�ลายทิง้ โดยการขยายความรับผิดชอบของผู้ ผลิตจากต้นทางถึงปลายทาง ผ่านหลักการพืน้ ฐาน ๕ ประการ คือ การ ลงทุนระบบการใช้ประโยชน์จากวัสดุเหลือใช้ในชุมชน การสร้างงานและ ชุ ม ช น ที่ ยั่ ง ยื น การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ ความรับผิดชอบของผูผ้ ลิตและยุตกิ ารอุดหนุน ธุรกิจทีก่ ระตุน้ ให้เกิดกากของเสีย กฎหมายในระดับท้องถิน่ และระดับประเทศของออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และแคนาดานำ�เอาแนวคิดดังกล่าวไปประยุกต์ใช้แล้วส่งผลให้สามารถลดปริมาณขยะ ได้ถงึ ร้อยละ ๗๐ ในบางประเทศ
๑๒
ตัง้ แต่กอ่ นช่วงปีพ.ศ. ๒๕๓๕ กฎหมายพลังงานหมุนเวียน (Feed-in Tariff Law) เป็นมาตรการในการขับเคลือ่ นหลักของการพัฒนาตลาดพลังงานหมุนเวียน ซึง่ กฎหมายพลังงาน หมุนเวียนของประเทศเยอรมนีเป็นเครื่องมือที่มีประสิทธิภาพที่สุดเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ กฎหมายพลังงานหมุนเวียนเปิดทางให้การพัฒนา การจัดหาพลังงานหมุนเวียนเข้าสูร่ ะบบมีความ ยัง่ ยืนอย่างแท้จริงเพือ่ ปกป้องสิง่ แวดล้อมและสภาพภูมอิ ากาศ การลดค่าใช้จา่ ยด้านการจัดหา พลังงานและการจัดการผลกระทบระยะยาว กฎหมายฉบับนีม้ งุ่ ให้พลังงานหมุนเวียนเข้าสูร่ ะบบ สายส่งไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ โดยระบุวา่ พลังงานหมุนเวียนต้องมาก่อน ดังนัน้ พลังงานหมุนเวียนทีผ่ ลิต ได้ทง้ั หมดจะเป็นแหล่งพลังงานแรกทีเ่ ข้าสูใ่ นระบบสายส่งไฟฟ้า เพือ่ ให้การรับซือ้ ระบบสายส่ง ระบบการจำ�หน่ายของพลังงานเป็นไปตามศักยภาพจริงทีผ่ ลิตได้ในประเทศ ศักยภาพจริงของ พลังงานหมุนเวียนทีเ่ ข้าสูร่ ะบบ ส่งผลให้การก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่จากเชือ้ เพลิงฟอสซิล ลดลง
๑๓
ประเทศไทยต้องปฏิวตั พิ ลังงานด้วยการลงมือทำ�สองอย่างให้เกิดขึน้ จริงคือ การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานและการพัฒนาพลังงานหมุนเวียนที่ สะอาด เพือ่ กูว้ กิ ฤตสภาพภูมอิ ากาศ หากลดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหิน ๑ โรง กำ�ลังผลิต ๗๕๐ เมกะวัตต์ สามารถลดการปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์ ได้ ๓,๖๗๕,๐๐๐ ตันต่อปี และหยุดการผลิตกากนิวเคลียร์ ๓๐,๐๐๐ กิโลกรัมต่อปีหากยุตโิ รงไฟฟ้านิวเคลียร์หนึง่ โรง กำ�ลังผลิต ๘๕๐ เมกะ วัตต์ นอกจากนีต้ ามแผนอนุรกั ษ์พลังงาน ๒๐ ปีของกระทรวงพลังงาน (พ.ศ.๒๕๕๔-๒๕๗๓) มุง่ ให้เกิดการลดการใช้พลังงานขัน้ สุดท้าย (final energy) ลง ๒๐% หากแผนดังกล่าวสำ�เร็จ จะทำ�ให้ลด การสร้างโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ได้อย่างน้อย ๑๒,๐๐๐ เมกะวัตต์ (เทียบ เท่ากับโรงไฟฟ้าถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๕ โรง) อีกทัง้ ลด การปล่อยคาร์บอนไดออกไซด์สะสมเฉลีย่ ๔๘ ล้านตันต่อปีและประหยัดงบ ประมาณของประเทศได้อย่างน้อย ๒๗๐,๐๐๐ ล้านบาทต่อปี
๑๔
การเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ และความต้ อ งการพลั ง งานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ภายใต้ ก ารจั ด การที่ ไ ร้ ประสิทธิภาพจะทำ�ให้เกิดการสูญเสียฐานทรัพยากรธรรมชาติเพิม่ ขึน้ และความเสียหายทีเ่ กิดขึน้ ย่อม นำ�มาสูป่ ญั หาความยากจนในทีส่ ดุ ชาวประจวบคีรขี นั ธ์เป็นจังหวัดแรกทีข่ อกำ�หนดอนาคตตัวเอง เพือ่ รักษาบ้านเกิดและทรัพยากรอันเป็นฐานรายได้หลัก ในปีพ.ศ. ๒๕๕๐ อัตราการขยายตัวเฉลีย่ ของมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดพบว่า มีมลู ค่ารวม ๕๕,๒๑๕ ล้านบาท และมีอตั ราการ ขยายตัวร้อยละ ๑๑.๙๓ ต่อปี ซึง่ สูงกว่าค่าเฉลีย่ ของระดับภาคและประเทศ อัตราการจ้างงานใน จังหวัดพบว่ามีผวู้ า่ งงานเพียงร้อยละ ๐.๖ ของวัยแรงงานทัง้ หมดทีม่ ี ในขณะที่ ผูม้ งี านทำ�คิดเป็นร้อยละ ๙๙ หรือ ๒๗๒,๘๔๘ อัตรา ในทางตรงกันข้าม หากเกิดโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินในพืน้ ทีท่ บั สะแกอีก ๔,๐๐๐ เมกะวัตต์ จะทำ�ให้เกิดการเผาถ่านหินปีละ ๑๓ ล้านตัน ปล่อยสารปรอท ฝุน่ ละออง ก๊าซ ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ไนโตรเจนออกไซด์และคาร์บอนไดออกไซด์ อีกทัง้ การดูด น้�ำ ทะเลเพือ่ นำ�มาใช้ในกระบวนการหล่อเย็นอย่างน้อยวันละกว่า ๗๐๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร การผลิตพลังงานทีค่ นในพืน้ ทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์แต่กลับต้องแลกกับ ทรัพยากรธรรมชาติทง้ั หมดทีม่ ี
๑๕
ศูนย์ข้อมูลและข่าวสืบสวนเพื่อสิทธิพลเมืองเปิดเผยข้อมูลการใช้งบประมาณการประชาสัมพันธ์ของ หน่วยงานด้านพลังงานว่า นอกจากบริษทั ปตท. จำ�กัด(มหาชน) ทีใ่ ช้เงินเพือ่ การประชาสัมพันธ์ เป็นจำ�นวนมากในแต่ละปีแล้ว ยังมีการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยใช้เงินดังกล่าวเป็นจำ�นวน มากเช่นกัน งบประมาณการประชาสัมพันธ์ประมาณ ๒๘๔ ล้านบาท ถูกนำ�ไปใช้เพือ่ การสร้างภาพ ลักษณ์และการจ้างมวลชนเพือ่ การก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าถ่านหิน ทัง้ นีก้ ารใช้เงินประชาสัมพันธ์ ของ กฟผ.ในช่วงปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๓ วงเงินรวม ๑๓๔,๔๓๕,๕๕๐ และ ๓๘,๔๑๗,๘๙๐ และ ๓๐,๒๒๓,๔๕๐ ตามลำ�ดับ และเฉพาะ ๖ เดือนแรกของปีงบประมาณพ.ศ. ๒๕๕๔ มีการใช้เงินประชาสัมพันธ์รวม ๑๘ รายการ วงเงิน ๗๗,๑๔๗,๐๐๐ บาท
จากโครงการวิจยั เรือ่ ง “การวิเคราะห์ทางเลือกและแนวทางการลงทุนในแผนพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” พบว่า ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของไทย จะมีมากบริเวณจังหวัดทีม่ คี วามเข้มของแสงสูงและเป็นพืน้ ทีร่ าบไกลจากทะเลและภูเขา (ทำ�ให้เมฆ น้อย) เช่น ลพบุรี สระบุรี สุพรรณบุรี นครราชสีมา บุรรี มั ย์ เป็นต้น JGSEE ได้ประมาณ การศักยภาพของพลังงานแสงอาทิตย์โดยคำ�นวณจากพืน้ ที่ ๒ แหล่ง คือ อาคารสำ�นักงาน ห้าง ค้าปลีก สถานศึกษา ซึง่ มีพน้ื ทีร่ วมกัน ๒.๑๖ ล้านตารางเมตร มีศกั ยภาพกำ�ลังการผลิตติดตัง้ มากกว่า ๘๗ เมกะวัตต์ และบ้านพักอาศัย โดนคำ�นวณจากร้อยละ ๑๐ ของผูม้ รี ายได้ ๓๐,๐๐๐ บาท/เดือนขึน้ ไป มีพน้ื ทีร่ วมกัน ๕.๖๑ ล้านตารางเมตร คาดว่าจะมีศกั ยภาพ ๖๘๐ เมกะวัตต์ โดยมีศกั ยภาพรวมกัน ๗๖๗ เมกะวัตต์ นอกจากนีก้ ารเสนอขายไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ จากผูผ้ ลิตไฟฟ้ารายเล็กและรายเล็กมากในปีพ.ศ. ๒๕๕๓ มีมากถึง ๗๐๕ โครงการ มีก�ำ ลังผลิต ไฟฟ้ารวม ๓,๕๗๙ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับโรงไฟฟ้าถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๕ โรง)
๑๖
๑๗
การก่อสร้างโรงไฟฟ้าจำ�แนกตามชนิดของเชือ้ เพลิงนัน้ แตกต่างกัน ต้นทุนการนำ�เข้าของการก่อสร้าง โรงไฟฟ้านิวเคลียร์และถ่านหิน ทีร่ ฐั มักนำ�เสนอว่า ราคาถูกกว่าการนำ�เข้าเทคโนโลยีพลังงาน หมุนเวียนนัน้ พบว่าตัวเลขดังกล่าวไม่ได้รวมต้นทุนการสูญเสียทางด้านเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและสังคม เข้าไปด้วย เนือ่ งจากสิง่ เหล่านีเ้ ป็นนามธรรมและคำ�นวณยาก ซึง่ ในความเป็นจริงแล้ว รายงานต้นทุน จริงของถ่านหินของกรีนพีซสากล (๒๕๕๑) พบว่า ความเสียหายและการสูญเสียจากถ่านหินในปีพ.ศ. ๒๕๕๐ เพียงปีเดียวทัว่ โลกมีมลู ค่ามากถึง ๓๖๐ พันล้านยูโร ในขณะทีต่ วั เลขความเสียหายล่าสุด จากเหตุการณ์โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ฟกู ชู มิ า-ไดอิชยิ งั ยากทีจ่ ะประเมิน นอกจากนีก้ ารประเมินวัฏจักรชีวติ (Lifecycle assessments) ของการผลิตกระแสไฟฟ้ายังแสดงให้เห็นว่าการปล่อยก๊าซเรือน กระจกจากเทคโนโลยีพลังงานหมุนเวียนนัน้ โดยทัว่ ไปแล้วมีปริมาณน้อยกว่าการผลิตกระแสไฟฟ้าโดย ใช้เชือ้ เพลิงฟอสซิล ค่าเฉลีย่ ของพลังงานหมุนเวียนทัง้ หมดอยูใ่ นระหว่าง ๔-๔๖ g co2 eq/kwh ในขณะทีค่ า่ เฉลีย่ ของเชือ้ เพลิงฟอสซิลอยูใ่ นระหว่าง ๔๖๙-๑๐๐๑ g co2 eq/kwh (ไม่รวมการ ปล่อยก๊าซจากการเปลีย่ นแปลงการใช้ทด่ี นิ )
๑๘
การก่อสร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินตามแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า (PDP 2010) กำ�หนดไว้ ๘,๔๐๐ เมกะวัตต์ (เทียบเท่ากับโรงไฟฟ้าถ่านหินกำ�ลังผลิต ๗๐๐ เมกะวัตต์ ๕ โรง) พืน้ ทีก่ อ่ สร้าง โรงไฟฟ้าดังกล่าว ยังไม่มกี ารประกาศออกมาอย่างเป็นทางการ ว่าจังหวัดใดได้รบั การคัดเลือก ให้เป็นผูเ้ สียสละให้กบั การวางแผนด้านพลังงานทีไ่ ร้ประสิทธิภาพ โครงการเหมืองถ่านหินและโรง ไฟฟ้าถ่านหินทีแ่ ม่เมาะยังคงเป็นบทเรียนทีห่ น่วยงานด้านพลังงานไม่สามารถจัดการได้อย่างเหมาะ สม มาตรการการชดเชยความเสียหายต่อผูไ้ ด้รบั ผลกระทบจากโครงการดังกล่าวยังคงอยูร่ ะหว่าง การต่อสูใ้ นชัน้ ศาล เนือ่ งจากหลังจากศาลชัน้ ต้นตัดสินให้การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยจ่ายค่า ชดเชยให้กบั ชาวบ้านทีไ่ ด้รบั ผลกระทบในพืน้ ทีร่ ายละ ๒๔๖,๐๐๐ บาท กฟผ.ยืน่ อุทธรณ์ จึงทำ�ให้ ค่าเสียหายตามกฎหมายทีจ่ ะเยียวยาผูไ้ ด้รบั ผลกระทบเบือ้ งต้นชะงัก อีกทัง้ การบรรเทามลพิษทางสิง่ แวดล้อมด้วยการติดตัง้ เครือ่ งดักจับซัลเฟอร์ไดออกไซด์นน้ั เป็นเพียงการลดปริมาณทีป่ ล่อยออกมา จากปลายปล่องเท่านัน้ ต่อจากนัน้ มีการนำ�มาผสมกับปูนซีเมนต์บางยีห่ อ้ หรือการนำ�เถ้าถ่านหินมา ทำ�ยิปซัม
๑๙
โครงสร้างผลประโยชน์ทับซ้อนของข้าราชการระดับสูงของกระทรวงพลังงานซึ่งเป็นผู้มีบทบาท ในการตัดสินใจเชิงนโยบาย โครงการและการจัดสรรเงินกองทุน กับบทบาทในภาคเอกชนและ รัฐวิสาหกิจด้านพลังงาน การเข้ามารับตำ�แหน่งเพิม่ ในคณะกรรมการของบริษทั ต่างๆ ซึง่ ต้องส่ง เสริมผลประกอบการและกำ�ไรของบริษทั ทัง้ นีข้ า้ ราชการระดับสูงเหล่านีไ้ ด้รบั ผลตอบแทนเป็นตัวเงิน ทัง้ เบีย้ ประชุมและเงินโบนัสทีเ่ ชือ่ มโยงโดยตรงกับผลกำ�ไรของบริษทั ในแต่ละปี
๐
๒
๑๐๐
โดยได้รบั ค่าตอบแทนในรูปเบีย้ ประชุมและโบนัสในอัตราสูงสุดถึง ๒ ล้านบาทต่อคนต่อปี ดังนัน้ รัฐบาลจึงควรเปลี่ยนระบบผลตอบแทนและระบบการดูแลรัฐวิสาหกิจด้านไฟฟ้าจากระบบอัตราผล ตอบแทนตามการลงทุน มาเป็นระบบกำ�กับดูแลตามผลงานและประสิทธิภาพเพือ่ ส่งเสริมระบบผล ตอบแทนจากการพัฒนาและดำ�เนินงานระบบไฟฟ้าทีด่ ขี น้ึ และป้องกันผลประโยชน์ทบั ซ้อนของ ข้าราชการระดับสูงระหว่างการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ของประชาชน กับการตัดสินใจเพือ่ ประโยชน์ ของบริษทั และส่วนตน
๒๐
ค่าไฟฟ้าผันแปร (Ft) คือ ค่าไฟฟ้าทีป่ รับเปลีย่ นตามต้นทุนการผลิต ระบบสายส่ง และระบบ จำ�หน่าย เนือ่ งมาจากปัจจัยทีอ่ ยูน่ อกเหนือการควบคุมของการไฟฟ้าทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปในแต่ละ เดือน ซึง่ ส่วนใหญ่คอื การเปลีย่ นแปลงของอัตราค่าเชือ้ เพลิงโดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติทก่ี ารไฟฟ้า ฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย รับซือ้ จากบริษทั ปตท. จำ�กัด(มหาชน) เพือ่ นำ�มาผลิตไฟฟ้า ปัจจุบนั อัตราค่าไฟฟ้าสำ�หรับผูใ้ ช้ไฟฟ้ากลุม่ ครัวเรือนจะอยูท่ ป่ี ระมาณหน่วยละ ๓ บาท จะเป็นค่า Ft สูงถึง ๑ บาท นัน่ หมายความว่า สำ�หรับครัวเรือนขนาดเล็กทีไ่ ม่มเี ครือ่ งใช้ไฟฟ้าฟุม่ เฟือยอย่าง เครือ่ งปรับอากาศและต้องจ่ายค่าไฟฟ้าเฉลีย่ เดือนละ ๓๐๐ บาท ในจำ�นวนนีจ้ ะเป็นค่า Ft ถึง ๑๐๐ บาท หรือปีละ ๑,๒๐๐ บาท ทีผ่ า่ นมาพบปัญหาในการกำ�หนดนโยบายและกำ�กับดูแล กิจการพลังงานด้านเชือ้ เพลิงทีส่ ง่ ผลทำ�ให้คา่ Ft สูงขึน้ ทีส่ �ำ คัญคือ มีการปล่อยให้เกิดการผูด ขาดในกิจการเชือ้ เพลิงพลังงาน และมีการรองรับผลประโยชน์ของกิจการเชือ้ เพลิงทีผ่ กู ขาดนี้ ด้วย การกำ�หนดแผนพัฒนาพลังงานไฟฟ้าโดยใช้ฐานการคาดการณ์ความต้องการใช้ไฟฟ้าที่สูงเกินจริง ทำ�ให้เกิดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าทีเ่ กินความต้องการ ซึง่ เป็นผลให้เกิดการผลักภาระทัง้ หมดมาอยูใ่ น ค่า Ft ทีเ่ รียกเก็บจากประชาชน
๒๑
ประเทศไทยสามารถพึง่ ตนเองในการกลัน่ น้�ำ มันและทำ�ให้ตอ้ งมีการส่งออกเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง โดยปัจจุบนั มูลค่าการส่งออกพลังงานของไทยสูงกว่ามูลค่าการส่งออกข้าว ซึง่ เป็นผลผลิตหลักของ คนไทย อีกทัง้ รายได้จากการส่งออกพลังงานของไทยมีมลู ค่าใกล้เคียงกับมูลค่าการส่งออกน้�ำ มัน ของประเทศเอกวาดอร์ ซึง่ เป็นประเทศกลุม่ สมาชิกโอเปค ประเทศไทยเป็นหนึง่ ในกลุม่ ประเทศทีม่ ี แหล่งก๊าซธรรมชาติและน้�ำ มันดิบขนาดใหญ่หลายแห่ง แต่รฐั บาลและประชาชนไทยได้รบั ประโยชน์ จากค่าภาคหลวง(สัมปทาน)ต่�ำ เกินไป ประเทศไทยสามารถผลิตก๊าซธรรมชาติได้สงู กว่ามลรัฐ อลาสก้าและสูงกว่ากลุม่ โอเปกหลายประเทศ แต่ผลประโยชน์ทร่ี ฐั บาลไทยพึง่ ได้จากทรัพยากร ประเภทนี้กลับต่ำ�มากเนื่องจากรัฐบาลไทยเรียกเก็บค่าภาคหลวงจากปริมาณการขุดเจาะในอัตรา เพียงร้อยละ ๕-๑๕ ซึง่ น้อยมากเมือ่ เทียบกับประเทศกำ�ลังพัฒนาอืน่ ๆ ทีเ่ รียกรับจากค่าภาคหลวง นอกจากนีป้ ระเทศพม่า กัมพูชา อินโดนีเซียยังมีนโยบายเรียกเก็บส่วนแบ่งกำ�ไรจากน้�ำ มันถึง ร้อยละ ๕๐-๘๐
การบิดเบือนข้อมูลผลกระทบจากการก่อสร้างโครงการโรงไฟฟ้าขนาดใหญ่ของประเทศไทยของ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องด้านพลังงานจะต้องมีการดำ�เนินการตรวจสอบ เนือ่ งจากการใช้งบประมาณ ของรัฐเพือ่ ให้ประชาชนยอมรับโครงการโรงไฟฟ้าทีจ่ ดั ทำ�ขึน้ เป็นการให้ขอ้ มูลเพียงด้านเดียว แต่ ไม่มกี ารนำ�เสนอข้อมูลด้านลบหรือผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ ในพืน้ ทีใ่ ห้กบั ประชาชนทราบ โครงการการ พัฒนาพลังงานของรัฐจึงแตกต่างจากสินค้าเชิงพาณิชย์ของภาคเอกชนทีม่ งุ่ เพียงการขายสินค้าและ ผลกำ�ไรสูงสุด การโฆษณาของหน่วยงานภาครัฐในการขายโรงไฟฟ้านิวเคลียร์หรือถ่านหินให้กบั ประชาชนจึงต้องมีองค์กรอิสระด้านพลังงาน ด้านการสือ่ สารเพือ่ สุขภาวะและด้านการคุม้ ครองผู้ บริโภคเข้ามาทำ�หน้าทีใ่ นการควบคุมและให้ขอ้ มูลอีกด้านกับประชาชนในฐานะผูบ้ ริโภคทีต่ อ้ งตัดสิน ใจ ดังนัน้ การนำ�เสนอข้อมูลทีอ่ ยูบ่ นพืน้ ฐานความจริงทัง้ สองด้านจะส่งผลให้โครงการการพัฒนา ของรัฐมาจากการตัดสินใจยอมรับของประชาชนและเกิดประโยชน์ต่อประชาชนและประเทศอย่าง แท้จริง
๒๒
๒๓
แผนอนุรกั ษ์พลังงาน ๒๐ ปีของกระทรวงพลังงานมีเป้าหมายที่ จะลดความเข้มการใช้พลังงาน (energy intensity) ลง ๒๕% ในปีพ.ศ. ๒๕๗๓ เมือ่ เทียบกับปีพ.ศ. ๒๕๔๘ และ ลดการใช้พลังงานขัน้ สุดท้าย (final energy) ลง ๒๐% ในปี ๒๕๗๓ หรือประมาณ ๓๐,๐๐๐ พันตันเทียบเท่าน้�ำ มันดิบ (ktoe) และภาคเศรษฐกิจทีจ่ ะต้องมีการอนุรกั ษ์พลังงานมาก ทีส่ ดุ คือ ภาคขนส่ง (๑๓,๓๐๐ ktoe ในปีพ.ศ. ๒๕๗๓) และ ภาคอุตสาหกรรม (๑๑,๓๐๐ ktoe ในปีพ.ศ. ๒๕๗๓) มาตรการ การประหยัดพลังงานที่เพิ่มมากขึ้นจะทำ�ให้ประเทศลดการใช้ พลังงานทีไ่ ม่จ�ำ เป็น ซึง่ สามารถลดการก่อสร้างโรงไฟฟ้าขนาด ใหญ่ รวมถึงการลดค่าใช้จา่ ยด้านพลังงานของภาคประชาชนอีก ด้วย ในปีพ.ศ. ๒๕๕๒ สำ�นักงานสถิตแิ ห่งชาติเปิดเผยข้อมูลการ สำ�รวจเรือ่ งค่าใช้จา่ ยพลังงานของครัวเรือน พบว่าครัวเรือนทัว่ ประเทศมีคา่ ใช้จา่ ยทัง้ สิน้ เฉลีย่ เดือนละ ๑๖,๒๕๐ บาท เป็นค่าใช้ จ่ายด้านพลังงาน ๑,๖๓๘ บาทหรือร้อยละ ๑๐.๑
๒๔
นอกจากการผูกขาดและการกุมอำ�นาจในการวางแผนและจัดการพลังงานทัง้ หมดทำ�ให้ประชาชน ต้องแบกรับภาระค่าไฟฟ้าที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องผ่านทางค่าไฟฟ้าผันแปรโดยอัตโนมัติหรือค่าเอฟที (Ft) ทีป่ รากฏอยูใ่ นบิลค่าไฟทุกเดือน เหตุผลหลักทีส่ ง่ ผลให้คา่ เอฟทีเพิม่ ขึน้ มิได้เกิดจากภาระค่า ใช้จา่ ยด้านเชือ้ เพลิงฟอสซิลทีเ่ ปลีย่ นแปลงเท่านัน้ แต่ยงั มีภาระค่าซือ้ ไฟฟ้าจากผูผ้ ลิตไฟฟ้าเอกชน ทีร่ ฐั เร่งรับซือ้ ไฟฟ้าเข้าสูร่ ะบบโดยไม่มคี วามจำ�เป็น ทำ�ให้เกิดภาระตามสัญญาแบบไม่ใช้กต็ อ้ งจ่าย นอกจากนี้องค์กรกำ�กับกิจการพลังงานที่ขาดการมีส่วนร่วมและถูกจำ�กัดอำ�นาจหน้าที่อย่างกรณี ข้อจำ�กัดทางกฎหมายทีใ่ ห้อำ�นาจคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกำ�กับกิจการพลังงานใน ส่วนปลายน้�ำ คือ กิจการท่อก๊าซและกิจการไฟฟ้าเท่านัน้ ไม่สามารถเข้าไปตรวจสอบต้นทุนราคา ของกิจการต้นน้�ำ หรือกิจการปิโตรเลียมได้ ทำ�ให้คณะกรรมการฯดังกล่าว ไม่สามารถทำ�หน้าที่ กำ�กับดูแลราคาค่าบริการเพือ่ คุม้ ครองสิทธิผบู้ ริโภคให้มปี ระสิทธิภาพได้อย่างเต็มที่
๒๕
ฝังกลบ แม้วา่ นโยบายพลังงานหมุนเวียนของกระทรวงพลังงานส่งเสริมการใช้ขยะมาเป็นพลังงาน รวมถึง การใช้กา๊ ซมีเทนจากหลุมฝังกลบ แต่หลุมฝังกลบขยะนัน้ เป็นแหล่งกำ�เนิดทีส่ �ำ คัญของไดออกซินสารก่อมะเร็งทีม่ คี วามเป็นพิษสูง โดยผ่านทางการแพร่กระจายสูอ่ ากาศและผลกระทบจากไฟไหม้ ในหลุมฝังกลบ การศึกษาเชิงระบาดวิทยาจำ�นวนมากพบอัตราการเกิดมะเร็ง ความผิดปกติของ เด็กแรกเกิด (น้�ำ หนักน้อยหรือตัวเล็กผิดปกติ) ในชุมชนทีอ่ ยูใ่ กล้หลุมฝังกลบมีเพิม่ มากขึน้ ทางออก คือนโยบายของเสียเหลือศูนย์ซ่งึ เป็นแนวคิดและกระบวนการเชิงระบบที่ม่งุ เปลี่ยนแปลงวิธีการไหล เวียนของวัสดุในสังคมของมนุษย์อย่างถึงรากถึงโคน เป้าหมายคือระบบอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการใช้ ประโยชน์จากวัสดุแทนทีก่ ารทำ�ลายทิง้ แนวคิดของเสียเหลือศูนย์เอือ้ ให้เกิดมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจ การออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่เพือ่ ให้มกี ารรีไซเคิลเพิม่ ขึน้ และลดปริมาณขยะคือ ปัจจัยสำ�คัญอันหนึง่ ทีก่ ระตุน้ ให้เกิดการปฏิวตั ดิ า้ นสิง่ แวดล้อม อุตสาหกรรมและวัสดุทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมดำ�เนินไป พร้อมๆ กับการจ้างงานทีเ่ พิม่ ขึน้ โครงการคัดแยกขยะทีม่ ปี ระสิทธิภาพและระบบทำ�ปุย๋ จะช่วยลด ขยะลงอย่างน้อยทีส่ ดุ ร้อยละ ๕๐ ในหลายประเทศ รวมทัง้ ก่อให้เกิดรายได้อกี ด้วย
๒๖
การพยากรณ์ความต้องการพลังงานทีใ่ ช้อยูต่ ามแผนพีดพี ี ๒๐๑๐ พบว่าฐานการคำ�นวณความ ต้องการไฟฟ้าระดับประเทศในอดีตมีการเติบโตแบบเส้นตรงทีอ่ ตั ราเฉลีย่ ๘๓๐ เมกะวัตต์ตอ่ ปี แม้วา่ ความต้องการไฟฟ้าจะยังคงเพิม่ สูงขึน้ ในอนาคต การวางแผนพลังงานของประเทศไทยจำ�เป็นต้อง มีทางเลือกให้กบั คนไทยมากกว่าคำ�ตอบทีว่ า่ หากประเทศไทยไม่เอานิวเคลียร์กต็ อ้ งเอาถ่านหิน หากไม่เอาถ่านหินก็ตอ้ งเอานิวเคลียร์ ดังนัน้ ทางออกของพลังงานทีจ่ ะเข้ามามีบทบาทสำ�คัญใน อนาคต คือ การเพิม่ ศักยภาพของพลังงานหมุนเวียนและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ ตาม แผนพีดพี ี ๒๐๑๐ ภาคประชาชนได้ระบุศกั ยภาพของพลังงานหมุนเวียนที่ ๘,๕๘๑ เมกะวัตต์ หาก มีการนำ�ศักยภาพดังกล่าวมารวมกับศักยภาพการประหยัดพลังงานตามแผนอนุรกั ษ์พลังงาน ๒๐ปี ของกระทรวงพลังงาน จะทำ�ให้เกิดความสมดุลทางด้านราคาเนือ่ งจากต้นทุนการประหยัดพลังงาน ราคาถูกมาก สามารถทดแทนต้นทุนพลังงานหมุนเวียนบางชนิดทีย่ งั คงมีราคาสูงอยู่ ดังนัน้ ความ สมดุลทีเ่ กิดขึน้ จะทำ�ให้ราคาค่าไฟฟ้าไม่ได้แพงอย่างทีร่ ฐั ประชาสัมพันธ์
๒๗
จากงานวิจยั เรือ่ ง “การวิเคราะห์ทางเลือกและแนวทางการลงทุนในแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียน” ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ในปีพ.ศ. ๒๕๖๘ หากกฟผ. สนับสนุนการลงทุนด้าน พลังงานหมุนเวียนตามแผนดังกล่าว จะทำ�ให้เกิดผลกระทบเชิงบวก ดังนี้ -ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มากกว่า ๒.๖ ล้านตัน/ปี ในปี พ.ศ. ๒๕๖๘ ลดการปล่อย ไนโตรเจนออกไซด์ และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ ประมาณ ๑๒,๐๐๐ และ ๑๖,๐๐๐ ตัน/ปี -ลดต้นทุนผลกระทบภายนอกจากการผลิตไฟฟ้า ลงได้มากกว่า ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท/ปี -ลดต้นทุนค่าเชือ้ เพลิงลงได้ประมาณ ๑,๕๐๐ ล้านบาท/ปี -เพิม่ การเติบโตทางเศรษฐกิจได้มากกว่า ๖,๐๐๐ ล้านบาท/ปี -เพิ่มการสร้างงานได้มากกว่า ๓๐,๐๐๐ อัตรา/ปี
ดังนัน้ การลงทุนตามแผนพัฒนาพลังงานหมุนเวียนของ กฟผ. จึงถือเป็นการลงทุนทีม่ คี วาม คุม้ ค่า โดยเมือ่ พิจารณาจากอัตราผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน พบว่า มีคา่ ประมาณ ๒.๕ เท่าของเงินลงทุนในปี พ.ศ. ๒๕๖๘ หมายความว่า เงินทุกบาทของการลงทุนจะก่อให้เกิดผลกระ โยชน์ตอ่ สังคมได้ถงึ ๒.๕ บาท
๒๘
การจัดทำ�แผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าของแต่ละภาค เพือ่ แก้ปญั หาการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้าที่ เกินจริงและการประเมินศักยภาพพลังงาน หมุนเวียนทีย่ งั ไม่ครอบคลุม ข้อมูลด้านความต้องการพลังงานและแหล่งพลังงานที่จะนำ�มาใช้ของแต่ละภาคจะถูกรวบรวมเข้า สูแ่ ผนพีดพี ที ม่ี ปี ระสิทธิภาพระดับชาติ ภาคใต้เป็นภาคแรกทีไ่ ด้จดั ทำ�งานวิจยั เพือ่ “การประเมิน ศักยภาพพลังงานหมุนเวียน” ขึน้ สำ�หรับแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้าในพืน้ ที่ ๑๔ จังหวัดภาคใต้ ในปีพ.ศ.๒๕๕๒ มีการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนจากชีวมวลและชีวภาพของอุตสาหกรรม ปาล์มน้�ำ มัน ยางพาราและการแปรรูปอาหารทะเลใช้ถงึ ๕๘๐ เมกะวัตต์หรือร้อยละ ๒๖ ของ ความต้องการไฟฟ้าทัง้ หมดของภาคใต้ ทัง้ นีศ้ กั ยภาพการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนของ ภาคใต้อยูท่ ่ี ๓๖,๐๐๐ เมกะวัตต์ ซึง่ จะทำ�ให้ภาคใต้สามารถผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ได้รอ้ ยละ ๑๐๐ ในอีก ๒๐ ปีขา้ งหน้าในขณะทีค่ วามต้องการใช้ไฟฟ้าของภาคใต้ทง้ั หมดจะอยู่ ที่ ๕,๘๐๐ เมกะวัตต์
๒๙
ความมัน่ คงทางด้านพลังงานย่อมหมายรวมถึงความมัน่ คงทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อม จากงานวิจยั ”การประเมินศักยภาพพลังงานหมุนเวียนสำ�หรับแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า ในพืน้ ทีภ่ าคใต้ของประเทศไทย” ในอีก ๒๐ ปีขา้ งหน้าความสำ�เร็จจากแผนดังกล่าว จะทำ�ให้เกิด การจ้างงานเพิม่ ขึน้ ในภาคใต้ได้มากกว่า ๑๓๗,๐๐๐ อัตรา ส่งผลให้เกิดการเจริญเติบโตทางด้าน เศรษฐกิจ (จีดพี )ี ได้มากกว่า ๖๕,๐๐๐ ล้านบาท มีการลงทุนมากถึง ๔๑๐,๐๐๐ ล้านบาท แต่ สามารถส่งผลตอบแทนทางสังคมได้มากกว่า ๘๕๗,๐๐๐ ล้านบาท อีกทัง้ สามารถลดการเกิดภาวะ เรือนกระจกได้ประมาณ ๑๒.๕ ล้านตันและลดการปล่อยไนโตรเจนออกไซด์และซัลเฟอร์ไดออกไซด์ (เมือ่ ประเมินเปรียบเทียบกับโรงไฟฟ้าถ่านหิน ๘๐๐ เมกะวัตต์ตามเเผนพีดพี ี ๒๐๑๐) ได้มากกว่า ๑๖๐,๐๐๐ ตัน และ ๖๒๐,๐๐๐ ตันตามลำ�ดับ ผลการวิจยั สะท้อนถึงทางเลือกและทางรอดของ การพึง่ ตนเองโดยไม่ตอ้ งพึง่ พาโรงไฟฟ้าถ่านหินหรือโรงไฟฟ้านิวเคลียร์
๓๐
จากการสำ�รวจความคิดเห็นในเรือ่ ง “ความยินดีทจ่ี ะจ่ายของผูบ้ ริโภคเพือ่ สนับสนุนพลังงาน หมุนเวียน” และสำ�รวจความคิดเห็นในเรือ่ ง “ความคิดเห็นของภาคครัวเรือนต่อความเหมาะสม ของค่าไฟฟ้าทีเ่ พิม่ ขึน้ เพือ่ สนับสนุนพลังงานหมุนเวียน” พบว่า กลุม่ ตัวอย่างให้ความเห็นว่าค่า ไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนตามแผนพีดพี ี ๒๐๑๐ ทีเ่ พิม่ ขึน้ ร้อยละ ๒ ของค่าไฟฟ้าในปัจจุบนั มีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ ๗๓.๖ และค่าไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนทีม่ ากกว่าแผนพีดพี ี ซึง่ มีคา่ ไฟฟ้าเพิม่ ขึน้ ร้อยละ ๔ มีความเหมาะสมคิดเป็นร้อยละ ๕๗.๔ สำ�หรับผลกระทบทีม่ ตี อ่ ขีด ความสามารถในการจ่ายค่าไฟฟ้าของกลุม่ ธุรกิจอุตสาหกรรม พิจารณาจากผลกระทบต่อโครงสร้าง ต้นทุน และความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมต่างๆ โดยใช้ตารางปัจจัยต้นทุนการผลิต ทัง้ หมดเท่านัน้ และในช่วงระยะเวลา ๕ ปี สัดส่วนค่าไฟฟ้าในโครงสร้างต้นทุนมีแนวโน้มลดลง แต่เนือ่ งจากภาระการสนับสนุนพลังงานหมุนเวียนตามแผนพีดพี ี ๒๐๑๐ จะมีผลต่อต้นทุนค่าไฟฟ้า ประมาณร้อยละ ๒ ดังนัน้ ผลกระทบต่อโครงสร้างต้นทุนของภาคธุรกิจอุตสาหกรรมในภาพรวมจะ ไม่เกินร้อยละ ๐.๐๕ ของต้นทุนทัง้ หมด ซึง่ ผลกระทบดังกล่าวสามารถบริหารจัดการได้โดยการ จัดการด้านการใช้ไฟฟ้าเพียงร้อยละ ๑ ก็สามารถทีจ่ ะควบคุมให้ตน้ ทุนโดยรวมไม่เพิม่ ขึน้ ได้
๓๑
การจัดการพลังงานของประเทศให้เกิดความโปร่งใสและเป็นธรรมคือภาระเร่งด่วนและหนักหน่วงที่ รัฐบาลจะต้องล้างบางตัง้ แต่ระดับนโยบายและผลักดันให้เกิดการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ทิศทาง การพัฒนาพลังงานและอุตสาหกรรมที่มุ่งใช้ถ่านหินเข้ามาทดแทนราคาสูงขึ้นของเชื้อเพลิงเดิม เพือ่ รักษาผลกำ�ไรของผูป้ ระกอบการ แต่กลับเพิม่ ต้นทุนทางด้านเศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและสังคม มหาศาล การกำ�หนดมาตรการทีช่ ดั เจนในการขยายฐานอุตสาหกรรมหนักสูจ่ งั หวัดแถบชายฝัง่ ทะเล การอุดช่องว่างทางกฎหมายสำ�หรับโครงการใดๆ ทีส่ ง่ ผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อมนอกเหนือจาก กฎหมายกำ�หนดไว้ โครงการเหล่านีก้ �ำ ลังมีจ�ำ นวนเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง เพราะไม่ตอ้ งผ่านการจัด ทำ�รายงานผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพเพื่อขออนุมัติการจัดทำ�โครงการแต่อย่างใด อย่างเช่น การใช้ถา่ นหินเป็นเชือ้ เพลิงในโรงงานอุตสาหกรรมนัน้ การนำ�เข้าถ่านหินส่งผลกระทบ ตัง้ แต่การจัดหา การนำ�เข้า การจัดเก็บ การขนส่ง การเผาไหม้และการกำ�จัดเถ้าถ่านหิน ซึง่ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกลับถูกเพิกเฉยจากหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องของรัฐในการกำ�หนด มาตรการทีช่ ดั เจน แต่กลับปล่อยให้เป็นความขัดแย้งของภาคธุรกิจและประชาชน
๓๒
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานได้จำ�แนกพื้นที่ท่มี ีศักยภาพพลังงานลมเชิงพาณิชย์ ในประเทศไทย ใน ๔ ลักษณะ คือ พืน้ ทีบ่ ริเวณยอดเขา และอยูใ่ นแนวมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ พืน้ ทีช่ ายฝัง่ ทะเลด้านอ่าวไทย พืน้ ทีช่ อ่ งเขา และพืน้ ทีใ่ นทะเลทีจ่ ะมีการติดตัง้ กังหันลมใน ทะเล (Offshore Wind Farm) จากการศึกษาของ JGSEE พบว่าการคาดการณ์พน้ื ที่ ทีม่ ศี กั ยภาพสำ�หรับพลังงานลมสามารถประเมินได้จากแผนทีล่ ม แต่เนือ่ งจากประเทศไทยยังไม่มี สถานีตรวจวัดลมทีค่ รอบคลุมมากนักจึงเกิดปัญหาในเชิงการคาดการณ์ศกั ยภาพว่าจุดตรวจทีพ่ บว่า มีศักยภาพจะอนุมานให้ครอบคลุมพื้นที่ท่ีมีศักยภาพกว้างขวางเพียง ใด หากอนุมานระยะรัศมีจากจุดตรวจวัดที่ ๑๑ กิโลเมตรและ ๒๒ กิโลเมตรจะพบพืน้ ทีท่ ม่ี ศี กั ยภาพทีแ่ ตกต่างกันมาก (ระหว่าง ๑๕๑ และ ๖๐๓ ตารางกิโลเมตร) ซึง่ จะมีผลต่อการคาดการณ์ศกั ยภาพ กำ�ลังการผลิตและพลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้แตกต่างกันไปด้วย โดยใน ขัน้ ต่�ำ คาดการณ์วา่ จะมีศกั ยภาพประมาณ ๔๔๗ เมกะวัตต์ และใน ขัน้ สูงคาดการณ์วา่ จะมีศกั ยภาพประมาณ ๑,๗๘๙ เมกะวัตต์
๓๓
จากงานวิจยั “การประเมินผลกระทบเชิงยุทธศาสตร์ของทางเลือกต่างๆ ในแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า” หากประเทศไทยเลือกทีจ่ ะไม่เอาโรงไฟฟ้า นิวเคลียร์และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ ๓๐ จะทำ�ให้สดั ส่วน ของพลังงานไฟฟ้าทีผ่ ลิตได้ทง้ั หมด มาจากการพึง่ พาก๊าซธรรมชาติ ร้อยละ ๓๘.๕ ถ่านหินร้อยละ ๓.๙ พลังงานนำ�เข้าร้อยละ ๙.๗ การผลิตไฟฟ้าความร้อนร่วมร้อยละ ๑๒.๓ พลังงานหมุนเวียนร้อยละ ๑๓.๖ และการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ ๑๘.๘ แผนดังกล่าวนีเ้ ทียบกับแผนพีดพี ี ๒๐๑๐ ทีใ่ ช้ อยูป่ จั จุบนั จะสามารถลดการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ได้อกี ประมาณร้อยละ ๔๙.๙ (จาก ตัวเลขแผนเดิม ๔๔๑,๗๐๐ ตัน) ลดการปล่อย ก๊าซไนโตรเจนออกไซด์รอ้ ยละ ๒๗.๕ (จาก ตัวเลขแผนเดิม ๖๕๒,๐๐๐ ตัน/ปี) ลดการ ปล่อยฝุน่ ละอองร้อยละ ๔๐ (จากตัวเลขแผน เดิม ๔๑,๖๗๐ ตัน/ปี) และลดการปล่อย สารปรอทร้อยละ ๗๖.๕ (จากตัวเลขแผนเดิม ๒๗.๒๐ ตัน/ปี)
๓๔
ทางเลือกของแผนพีดพี ที ไ่ี ม่เอาโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกร้อยละ ๓๐ จะ ช่วยลดภาระการนำ�เข้าลงได้มากทีส่ ดุ ถึงร้อยละ ๑๖.๙ (จากตัวเลขแผนเดิม ๓.๑๖ ล้านล้าน บาท) หรือเหลือ ๒.๖๓ ล้านล้านบาท และมีตน้ ทุนผลกระทบภายนอกต่�ำ สุดเท่ากับ ๕.๙๓ ล้าน บาท และมีตน้ ทุนโดยรวมลดลง ๑.๕๑ ล้านล้านบาท และยังเป็นแผนพีดพี ที จ่ี ะส่งผลดีตอ่ เศรษฐกิจ มากทีส่ ดุ นอกจากนีย้ งั ทำ�ให้เกิดอัตราการจ้างงานได้มากทีส่ ดุ ถึง ๓๘๖,๓๑๘ อัตรา/ปี ซึง่ เพิม่ ขึน้ เกือบเท่าตัวเมือ่ เทียบกับแผนพีดพี ี ๒๐๑๐ ซึง่ ข้อมูลดังกล่าวสอดคล้องกับประสบการณ์จริงทีเ่ กิดขึน้ ในประเทศเยอรมนี ปรากฏว่าการพัฒนาศักยภาพพลังงานหมุนเวียนในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๔๔-๒๕๕๔ มีผลทำ�ให้เกิดการจ้างงานเพิม่ ขึน้ จาก ๑๖๐,๕๐๐ ตำ�แหน่งเป็น ๓๖๗,๔๐๐ อัตรา
๓๕
เชื้อเพลิงถ่านหินที่นำ�เข้ามาเพื่อใช้ในการผลิตพลังงานและเชื้อเพลิงในภาคอุตสาหกรรมของ ประเทศไทยนัน้ ปลอดภาษี จึงทำ�ให้ตน้ ทุนราคาของถ่านหินถูกกว่าเชือ้ เพลิงอืน่ ทัง้ ๆ ทีห่ ลาย ประเทศอย่างเช่น ออสเตรเลียกำ�ลังออกนโยบายเก็บภาษีธรุ กิจถ่านหิน ซึง่ จะบังคับใช้วนั ที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ กับธุรกิจในประเทศทีม่ กี ารปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนออก มาสูช่ น้ั บรรยากาศที่ ๒๕ ดอลล่าห์สหรัฐต่อทุกเมตริกตันของคาร์บอนทีป่ ล่อยออกมา ใน ขณะทีป่ ระเทศไทยธุรกิจถ่านหินไม่จ�ำ เป็นต้องเสียภาษีน�ำ เข้าหรือภาษีคาร์บอน แถม รัฐบาลยังส่งเสริมอย่างเต็มอัตรา สำ�หรับด้านพลังงาน หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง ควรมีมาตรการด้านภาษีเพื่อส่งเสริมให้เกิดการใช้พลังงานหมุนเวียน ในประเทศให้มากทีส่ ดุ แต่ในความเป็นจริงนโยบายเกีย่ วกับ การสนับสนุนส่วนเพิม่ ค่าไฟฟ้า (adder) ใน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โดยเฉพาะ การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ จาก เดิมทีก่ �ำ หนดส่วนเพิม่ ค่าไฟฟ้าไว้ท่ี ๘ บาท/ หน่วย ปรับลดลงเหลือเพียง ๖.๕๐ บาท/ หน่วย เนือ่ งจากอุตสาหกรรมเซลล์แสงอาทิตย์ เริม่ ขยายตัว ส่งผลให้ตน้ ทุนการผลิตต่อหน่วย ลดลง แต่กลับบวกในค่าไฟฟ้าผันเเปร (Ft) เพิ่มภาระให้กับผู้ใช้ไฟฟ้าและสร้างภาพลักษณ์ ให้ราคาพลังงานหมุนเวียนแพงขึน้
๓๖
โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการบริหารจัดการพลังงานที่ทำ�ให้ผ้ใู ช้ไฟฟ้า และผูผ้ ลิตไฟฟ้าเข้ามามีสว่ นร่วมในการบริหารจัดการไฟฟ้ามากขึน้ เพือ่ ลดการสูญเสียพลังงานตัง้ แต่ กระบวนการผลิต ระบบสายส่ง ระบบจำ�หน่ายและการใช้งานของผูบ้ ริโภคไฟฟ้า อีกทัง้ ยังเพิม่ ทาง เลือกในการผลิตไฟฟ้าและการเก็บสะสมไฟฟ้าทีม่ าจากพลังงานหมุนเวียน การวางแผนสมาร์ทกริด ในประเทศเยอรมนีเพือ่ ให้เกิดความเสถียรทางพลังงาน จะมีการใช้เทคโนโลยีเพือ่ ประเมินสภาพภูมิ อากาศในการลงทุนโครงการพลังงานหมุนเวียนในแต่ละพืน้ ที่ การคำ�นวณดังกล่าวจะทำ�ให้พลังงาน หมุนเวียนทีเ่ กิดขึน้ สามารถส่งต่อเข้าระบบอย่างสม่�ำ เสมอ
อย่างเช่น ข้อมูลจากจานดาวเทียมทีน่ �ำ มาใช้ในการพยากรณ์ อากาศรายงานว่าทางด้านตะวันตก มีสภาพอากาศแปรปรวน และมีเมฆมากทำ�ให้แผงโซล่าเซลล์เก็บพลังงานได้นอ้ ยลง ระบบ ดังกล่าวจะส่งสัญญาณสภาพอากาศทางด้านตะวันออก ซึง่ กำ�ลัง ลมแรงขึน้ ส่งพลังงานลมทีไ่ ด้เข้าสูร่ ะบบสายส่งทดแทน ดังนัน้ สมาร์ทกริดจึงทำ�ให้การผลิต การกระจายและการกักเก็บพลังงาน มีประสิทธิภาพมากยิง่ ขึน้
๓๗
จากรายงานการวิจยั เรือ่ ง “การวิเคราะห์ทางเลือกและแนวทางการลงทุนในแผนพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย” ศ.ดร.ปรีดา วิบลู สวัสดิแ์ ละคณะพบว่า ปจจุบนั กาํ ลังผลิตรวมของโครงการพลังงานน้�ำ ขนาดเล็กและเล็กมากทีต่ ดิ ตัง้ แล้วมีประมาณ ๙๐ เมกะวัตต์ และมีศกั ยภาพในการผลิตไฟฟ้าไดส งู สุดในอนาคตเพิม่ อีกประมาณ ๕๙๗.๕ เมกะวัตต์ รวมเป็น กาํ ลังการผลิตทัง้ หมดประมาณ ๖๘๗.๕ เมกะวัตต์ และในการประเมินศักยภาพของ JGSEE พบ ว่า โครงการทีม่ คี วามคุม ทุนทีจ่ ะลงทุนมีจาํ นวนรวม ๑๑๖ โครงการ (B/C ratio เฉลีย่ ๑.๒๕-๒.๖๔) และมีตน ทุนการผลิตไฟฟา ตอ หนว ยเฉลีย่ อยูใ นชวง ๑.๔๙-๓.๗๙ บาท (ข้อมูล นีย้ งั ไมรวมขอมูลน้�ำ ทิง้ ทา ยเขือ่ นขนาดใหญข องการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย) ศักยภาพของ พลังงานน้�ำ ขนาดเล็กสามารถเสริมไฟฟ้ากระแสหลักได้ เท่ากับ ๓๘๘ ล้านหน่วยต่อปีหรือเท่ากับ มูลค่า ๘๕๗ ล้านบาทต่อปี ประหยัดการนำ�เข้าเชือ้ เพลิงถึง ๔๓๐ ล้านบาทต่อปีและลดการปล่อย ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ๑ แสนตันต่อปี
๓๘
การข้ามผ่านอุปสรรคสำ�คัญในการผลักดันให้ประเทศไทยก้าวสู่การปฏิรูปโครงสร้างการจัดการ พลังงานอย่างแท้จริง องค์กรทีม่ หี น้าทีใ่ นการวางแผนและจัดการพลังงานต้องมีความเป็นอิสระ และการมีสว่ นร่วมของผูม้ สี ว่ นได้เสีย การลดการผูกขาดทางอำ�นาจและการบริหารพลังงานอย่าง มีประสิทธิภาพจะทำ�ให้สามารถเพิม่ ศักยภาพทางเศรษฐกิจและลดความยากจนของคนไทย องค์กร อิสระด้านพลังงานทีเ่ กิดจากการมีสว่ นร่วมจะทำ�ให้การวางแผนพลังงาน การออกกฎหมาย พลังงานหมุนเวียน การใช้โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะและการเพิม่ ประสิทธิภาพพลังงานเพือ่ ทดแทน การก่อสร้างโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และถ่านหินสามารถเกิดขึ้นได้จริงและประชาชนเกิดการยอมรับมาก ขึน้ ทัง้ นีก้ ารเพิม่ ศักยภาพพลังงานหมุนเวียนจะต้องวางแผนในการจัดหาทรัพยากรและความมัน่ คง ทางอาหาร มาตรการการสนับสนุนทางด้านกฎหมาย การสนับสนุนทุนในการวิจยั และพัฒนา เทคโนโลยีทเ่ี หมาะกับสภาพอากาศของประเทศไทยเพือ่ ลดการนำ�เข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ
๓๙
รายงานของ IPCC ฉบับพิเศษเรือ่ ง “แหล่งพลังงานหมุนเวียนและการลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก” ทำ�ให้พลังงานหมุนเวียนมีความเป็นไปได้และสามารถทำ�ได้จริงทัว่ โลก โดยทำ�งาน ร่วมกับนโยบายด้านพลังงานและนโยบายทีไ่ ม่เกีย่ วข้องกับด้านพลังงานโดยตรง ทัง้ นโยบาย ด้านเกษตรกรรม คมนาคม การจัดการน้�ำ การวางผังเมือง เป็นต้น เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพและ ประสิทธิผลของนโยบายการสนับสนุนการใช้พลังงานหมุนเวียน ในขณะเดียวกันแนวคิดพลังงาน หมุนเวียนในเอเชียกำ�ลังถูกผลักดันจากธนาคารเพือ่ การพัฒนาเอเชียเข้าสูแ่ นวคิดกระแสหลักเพือ่ ให้ พลังงานสะอาดเป็นหัวใจหลักในการพัฒนาสูก่ ารเติบโตทางเศรษฐกิจทีเ่ ป็นเพือ่ นกับสิง่ แวดล้อม เกิด กองทุนเพือ่ การพัฒนาพลังงานแสงอาทิตย์ของเอเชีย (Asia Accelerated Solar Energy Development Fund) อีกทัง้ การจัดหาเงินทุนสนับสนุน โดยประเทศกำ�ลังพัฒนาใน เอเชียจะต้องปรับปรุงนโยบายทางด้านสิง่ แวดล้อมเพือ่ ร่วมสร้างพลังงานสะอาดภายใต้นโยบายทีม่ ี ความชัดเจนและมีความพยายามในการขับเคลือ่ นการลงทุนและเทคโนโลยีใหม่ให้เกิดขึน้ ในภูมภิ าค
ข้อมูลอ้างอิง ๑ คริส กรีเซน และ จิมฟุตเนอร์, กระจายศูนย์การผลิตไฟฟ้าไทยสู่ระบบพลังงานที่ยั่งยืน ๒๕๔๙, กรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้และกลุ่มพลังไท ๒ ดร.เดชรัต สุขกำ�เนิด, งานวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ทางเลือกและแนวทางการลงทุนในแผนพัฒนาพลังงาน หมุนเวียนของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ ถึงวันที่ ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๒, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ๒๕๕๔ ๓ Chris Greacen, Clarifying the Thailand solar feed in tariff situation, http://www.palangthai.org/docs/ClarifyingTheThaiSolarFeedinTariff4Feb2011.pdf, February 2011 ๔ การสัมมนารับฟังความคิดเห็นหลักเกณฑ์การกำ�หนดโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าของประเทศไทย สำ�หรับ ปีพ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๕๘, สำ�นักงานคณะกรรมการกำ�กับกิจการพลังงาน, เมษายน ๒๕๕๔ ๕ องค์ความรู้จากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย, คณะทำ�งานจัดการความรู้ สำ�นัก นโยบายและแผนพลังงาน, ๒๕๕๓ ๖ ผศ.ประสาท มีแต้ม, เอกสารประกอบปาฐกถาเสาหลักของแผ่นดิน ชุดความเหลื่อมล้ำ�และความไม่เป็น ธรรมด้านพลังงาน, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรกฎาคม ๒๕๕๔ ๗ “Gross employment from renewable energy in Germany in 2010”, Research project commissioned by the Federal Ministry for the Environment, Nature Conservation and Nuclear Safety, March 2011 ๘ ดร.เดชรัตน์ สุขกำ�เนิดและคณะ, คู่มือพลังงานทางเลือก แนวทางพัฒนาพลังงานทางเลือกเพื่อสุขภาพใน ชุมชน, กรกฎาคม ๒๕๕๓ ๙ เอกสารการวิเคราะห์ทางเลือกของแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสาขา พลังงานไฟฟ้า, คณะวิจัยมูลนิธินโยบายสุขภาวะ, มีนาคม ๒๕๕๔ ๑๐ รายงานการพิจารณาศึกษาเรื่องธรรมาภิบาลในระบบพลังงานของประเทศ, คณะกรรมาธิการศึกษา ตรวจสอบเรื่องการทุจริตและเสริมสร้างธรรมาภิบาล วุฒิสภา, พฤษภาคม ๒๕๕๓ ๑๑ “เรื่องขี้ขี้” บทสัมภาษณ์ รศ.ดร.สุชน ตั้งทวีวิวัฒน์ ภาควิชาสัตวศาสตร์และสัตว์น้ำ� คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, งานมหกรรมพลังงานภาคเหนือ จัดโดยมูลนิธินโยบายสุขภาวะและเครือข่าย พลังงานภาคเหนือ, พฤษภาคม ๒๕๕๔
๔๐
๔๑
๑๒ โครงการวิจัยเรื่อง การพัฒนากลไกการบริหารและการขับเคลื่อนนโยบายการวิจัยของชาติระยะยาวดา นพลังงานทางเลือกแบบมีสวนรวมในกลุมจังหวัดภาคใต้ ภายใต้การสนับสนุนของสำ�นักงานคณะกรรมการ วิจัยแห่งชาติ, สุวิทย เพชรหวยลึก, เกษม อัศวตรีรัตนกุล, อุษา อนทอง, อาภรณ สงแสง, วิกาญดา ทองเนื้อแข็ง, ศิลปชัย สุวรรณมณี และเบญจวรรณ บัวขวัญ, มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง, ๒๕๕๔ ๑๓ ดร.เดชรัตน์ สุขกำ�เนิดและ ศุภกิจ นันทะวรการ, ทางเลือกของแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า (PDP) ในการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก, โครงการวิจัยเรื่อง การวิเคราะห์ทางเลือกของแผนพัฒนากำ�ลังผลิตไฟฟ้า เพื่อลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากสาขาพลังงานไฟฟ้า สนับสนุนโดยสำ�นักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มิถุนายน ๒๕๕๔ ๑๔ ธารา บัวคำ�ศรีและคณะ, คู่มือหัวใสใช้พลังงาน กู้วิกฤตสภาพภูมิอากาศ, กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียง ใต้, สิงหาคม ๒๕๕๓ ๑๕ Potsdam Institute for Climate Impact Research (PIK), IPCC Special Report on Renewable Energy Sources and Climate Change Mitigation, Technical Support Unit Working Group III, Published for the Intergovernmental Panel on Climate Change, 2011 ๑๖ แผนอนุรักษ์พลังงาน ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๔-๒๕๗๓), กระทรวงพลังงาน, กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ๑๗ อิฐบูรณ์ อ้นวงษา, รายงานการศึกษาเรื่อง ปัญหาการกำ�กับกิจการและการคุ้มครองผู้บริโภคในกิจการ พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทย, มูลนิธิเพื่อผู้บริโภค, ธันวาคม ๒๕๕๓ ๑๘ วิฑูรย เพิ่มพงศาเจริญ, การวิเคราะหปญหานิวเคลียรและทางเลือกพลังงานไฟฟา, เอกสารประกอบงาน เสวนา วิกฤตฟูกูชิมาและอนาคตพลังงานที่ยั่งยืนในสังคมไทยในวาระครบรอบ ๒๕ ปีหายนะภัยเชอร์โนบิล จัดโดย กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, เมษายน ๒๕๕๔ ๑๙ แผนพัฒนาพลังงานทดแทน ๑๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕), กระทรวงพลังงาน ๒๐ Mr.Kai Schlegelmilch, เอกสารประกอบการสัมมนา ทางออกพลังงานยั่งยืนเพื่อแก้ปัญหา การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ: มุมมองจากเยอรมนีและไทย โดยผู้แทนกระทรวงสิ่งแวดล้อม การอนุรักษ์ ธรรมชาติและความปลอดภัย ประเทศเยอรมนี จัดโดยมูลนิธินโยบายสุขภาวะ, มิถุนายน ๒๕๕๔ ๒๑ สุรีรัตน์ แต้ชูตระกูล, ชาวประจวบฯ ขอกำ�หนดอนาคตของตัวเอง, ธันวาคม ๒๕๕๔ ๒๒ Haruhiko Kuroda, ADB President opening remark on Asia Clean Energy Forum2011, Manila Philippines, June 2011 ๒๓ ธารา บัวคำ�ศรี, โลกาภิวัตน์ของขยะ, กรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, ธันวาคม ๒๕๕๔
๔๒
Inside Out of Thailand ‘s Energy Revolution Copyright@๒๐๑๑ Greenpeace Southeast Asia ISBN ๙๗๘-๙๗๔-๓๕๐-๙๑๘-๖ -----------------------บรรณาธิการ ธารา บัวคำ�ศรี ให้คำ� จริยา เสนพงศ์ ทำ�เเบบ สุวิมล ปรีชาพงศ์กิจ เขียนภาพ yellowfishstudio@gmail.com พิมพ์ที่ โรงพิมพ์ออฟเซ็ท พลัส จำ�กัด จังหวัดพระนคร ---------------------มีส่วนร่วมกับกรีนพีซ เป็นอาสาสมัคร http://www.greenpeace.or.th/volunteer นักรณรงค์ออนไลน์ http://www.greenpeace.or.th/cyber-activist เป็นแฟนของเราที่ facebook http://www.facebook.com/greenpeaceseath ติดตามข่าวสารของเราที่ twitter http://www.twitter.com.greenpeaceth เป็นผู้บริจาค http://www.greenpeace.or.th/donate ติดต่อกรีนพีซ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ๑๓๘/๑ อาคารทองชั้น ๒ ถนนสุทธิสาร แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ ๑๐๔๐๐ โทรศัพท์ ๐๒ ๓๕๗ ๑๙๒๑ โทรสาร ๐๒ ๓๕๗ ๑๙๒๙ อีเมล์ info.th@greenpeace.or.th
มีกรรมสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ