(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11

Page 1

(ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)


ส า ร บั ญ หน้ า

ปฐมบท

ก-ซ

ส่วนที่ ๑ : สรุปสาระสาคัญ(ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑(พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)

ฌ-พ

ส่วนที่ ๒ : การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยง และการสร้างภูมิค้มุ กัน ของประเทศ วิสยั ทัศน์ และทิศทางของแผนพัฒนา เศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ บทที่ ๑

การประเมินสถานการณ์ ความเสีย่ ง และการสร้างภูมคิ มุ้ กันของประเทศ

บทที่ ๒

วิสยั ทัศน์และทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑๒๐

ส่วนที่ ๓ : ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ บทที่ ๓

ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็ นธรรมในสังคม

๒๖

บทที่ ๔

ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสูส่ งั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่างยังยื ่ น

๓๘

บทที่ ๕

ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ งงาน ๕๐

บทที่ ๖

ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสูก่ ารเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น๖๓

บทที่ ๗ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคเพือ่ ความมันคง ่ ๘๑ บทที่ ๘

ทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างยังยื ่ น

๙๔

ส่วนที่ ๔ : การบริหารจัดการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ


บทที่ ๙

การบริหารจัดการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ สูก่ ารปฏิบตั ิ

๑๑๖

ภาคผนวก : กรอบแนวทางการลงทุนภาครัฐที่สาคัญเบือ้ งต้นภายใต้ (ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)


ส รุ ป ส า ร ะ ส า คั ญ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ๑

บทนา

การจัด ท าแผนพัฒ นาประเทศของไทยนับตัง้ แต่ แผนพัฒนาฯ ฉบับแรกเมื่อ ปี ๒๕๐๔ จนถึง แผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ มีพ ัฒ นาการมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ งภายใต้ส ถานการณ์ แ ละเงื่อ นไข รวมทั ้ง การ เปลี่ยนแปลงในมิติต่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ การพัฒนาประเทศอยูภ่ ายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ จึงเป็ นจุดเปลีย่ นกระบวนทัศน์ของการวางแผนทีย่ ดึ “คน เป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” ตามแนวพระราชดารัส “เศรษฐกิ จพอเพี ยง” มี “การพัฒนาแบบองค์ รวม” และเริม่ ให้ความสาคัญกับกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา ต่อมาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ และฉบับที่ ๑๐ ได้ น้ อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียงเป็ นปรัชญานาทางในการ พัฒนาและบริ หารประเทศ ผลการพัฒนาประเทศก่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ได้ขอ้ สรุปว่า การพัฒนาเศรษฐกิจก้าวหน้ า การพัฒนาสังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมมีปญั หา การพัฒนาไม่ยงยื ั ่ น และการน้ อมนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในการพัฒนาประเทศทีเ่ ริม่ ดาเนินการตัง้ แต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ ต่อเนื่องถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ โดยแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ เปลี่ยนแนวคิดจากเดิมที่มุ่งพัฒนา เศรษฐกิจ เป็ นการเน้ นให้ค นเป็ น ศูนย์ก ลางการพัฒ นาประเทศทุ กขัน้ ตอนตามหลัก การทรงงานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้า อยู่ ต่ อ เนื่อ งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ยังคงอัญ เชิญ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเป็ นปรัชญานาทางการพัฒนาประเทศ เน้นการสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพีย งให้ก ับ ภาคส่ ว นต่ างๆ และแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ยังคงน้ อ มน าหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญาพืน้ ฐาน มุ่งสร้างภูมคิ ุม้ กันให้กบั ประเทศภายใต้ทุนสาคัญ ๓ ทุน ได้แก่ ทุน เศรษฐกิจ ทุ นสัง คม ทุน ทรัพ ยากรธรรมชาติและสิ่ง แวดล้ อ ม โดยผลการพัฒ นาประเทศในระยะของ แผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ พบว่ า สัง คมไทยได้น าหลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิจ พอเพีย งมาปรับ ใช้อ ย่า ง กว้างขวางในทุกภาคส่วน ขณะทีค่ วามอยู่เย็นเป็ นสุขในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ อยู่ระหว่างร้อย ละ ๖๖ – ๖๗ ใกล้เคียงกับร้อยละ ๖๕ ในปี ๒๕๔๙ ซึง่ เป็ นปี สุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ โดยปจั จัย ด้านเศรษฐกิจที่เข้มแข็ง การมีงานทา ความเข้มแข็งของชุมชน และความอบอุ่นของครอบครัว ส่งผลต่อ ความอยู่เย็นเป็ นสุข อย่างไรก็ตาม ปจั จัยที่ยงั เป็ นอุปสรรคที่สาคัญ ได้แก่ ความสมานฉันท์ในสังคม สภาพแวดล้อมและระบบนิเวศขาดความสมดุล รวมถึงสุขภาวะของคนไทยในด้านคุณภาพการศึกษา การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) ประเทศไทยจะต้องเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญ ทัง้ ระดับโลกและในประเทศที่ ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาประเทศทัง้ โอกาสที่สามารถนามาใช้ป ระโยชน์ ขณะที่ต้องคานึงถึงภัยคุกคาม และจุดแข็งทีใ่ ช้ผลักดันการพัฒนาให้ก้าวหน้า รวมทัง้ แก้จุดอ่อนที่มอี ยู่ไม่ให้เป็ นอุปสรรคการดาเนินงาน จึงจาเป็ นต้องประเมินสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลต่อการพัฒนาประเทศในระยะต่อไปอย่าง รอบคอบ พร้อมทัง้ ประเมินศักยภาพของประเทศและผลการพัฒนาทีผ่ ่านมา เพื่อเตรียมความพร้อมให้แก่ คน สังคม และระบบเศรษฐกิจของประเทศให้มภี ูมคิ ุม้ กันต่อการเปลีย่ นแปลงได้อย่างเหมาะสม สามารถ พัฒนาประเทศให้กา้ วหน้าต่อไปเพื่อประโยชน์สุขทีย่ งยื ั ่ นของสังคมไทยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยงและการสร้างภูมิค้มุ กันของประเทศ


๒.๑ สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ ประเทศไทยยังต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงในระดับโลกสาคัญที่ส่ง ผลกระทบต่ อการ พัฒนาประเทศ ทัง้ ทีจ่ ะเป็นโอกาสและอุปสรรค ดังนี้ ๒.๑.๑ การเปลี่ยนแปลงในระดับโลกที่สาคัญ สรุปได้ดงั นี้ ๑) กฎ กติ กาใหม่ของโลกหลายด้ านส่ งผลให้ ทุกประเทศต้ องปรับตัว วิกฤต เศรษฐกิจและการเงินของโลกที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนกฎระเบียบในการบริหารจัดการ เศรษฐกิจโลกทัง้ ด้านการค้า การลงทุน การเงิน สิง่ แวดล้อม และสังคมเพื่อการจัดระเบียบใหม่ของโลก ครอบคลุมถึงกฎ ระเบียบด้านการค้า การลงทุน การเงิน การคุม้ ครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญา พันธกรณีและ ข้อตกลงเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มาตรการทางการค้าที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปญั หา โลกร้อ น และกฎ ระเบีย บด้า นสัง คมมีบ ทบาทส าคัญ มากขึ้น โดยเฉพาะด้ า นสิท ธิม นุ ษ ยชน ที่ใ ห้ ความสาคัญกับการส่งเสริมให้เกิดความเคารพและรักษาศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ของทุกคนอย่างเท่าเทียม กัน ๒) การปรับ ตัว เข้ า สู่ เ ศรษฐกิ จ โลกแบบหลายศู น ย์ก ลาง รวมทัง้ ภูมิ ภ าค เอเชี ย ซึ่ ง ทวี ค วามส าคัญ เพิ่ มขึ้ น โดยเฉพาะกลุ่ มประเทศอุ ต สาหกรรมใหม่ อาทิ ฮ่อ งกง เกาหลี สิงคโปร์ ไต้หวัน และกลุ่มประเทศอาเซียน ที่มแี นวโน้มเป็ นศูนย์กลางการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมโลก ขณะทีน่ โยบายการเปิดประเทศของจีน รัสเซีย พลวัตการขยายตัวของบราซิลและอินเดีย และการเพิม่ ขึน้ ของชนชัน้ กลางในภูมภิ าคเอเชีย จะช่วยเพิม่ กาลังซือ้ ในตลาดโลก ทัง้ นี้ การรวมกลุ่มเศรษฐกิจทีส่ าคัญต่อ ประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ได้แก่ การรวมกลุ่มในภูมภิ าคเอเชีย ภายใต้กรอบการค้าเสรี ของอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และอินเดีย และการเป็ นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ รวมทัง้ กรอบความ ร่ ว ม มื อ อื่ น ๆ อ า ทิ ก ร อ บ ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ อ เ ชี ย แปซิฟิค จะมีผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของไทย โดยเฉพาะการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ทีจ่ ะรองรับการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ๓) การเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุของโลก ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประชากร สูงอายุในโลกจะเพิม่ ขึน้ อีก ๘๑.๘๖ ล้านคน และการเป็ นสังคมผู้สูงอายุของประเทศสาคัญๆในโลก มี ผลกระทบต่อการเคลื่อนย้ายกาลังคนข้ามประเทศ เกิดความหลากหลายทางวัฒนธรรม ขณะทีโ่ ครงสร้าง การผลิต เปลี่ยนจากการใช้แ รงงานเข้มข้นเป็ นการใช้อ งค์ค วามรู้แ ละเทคโนโลยีมากขึ้น มีการพัฒนา เทคโนโลยีเพื่อ ใช้ทดแทนกาลังแรงงานที่ขาดแคลน โครงสร้างการใช้จ่ายงบประมาณเปลี่ยนแปลงไป ประเทศที่เข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุจะมีรายจ่ายด้านสุขภาพเพิม่ ขึน้ ทาให้งบประมาณสาหรับการลงทุนพัฒนา ด้านอื่นๆ ลดลง ๔) การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลก ในช่วง ๓๐ ปี ท่ผี ่านมา อุณหภูมโิ ลกสูงขึน้ โดยเฉลี่ย ๐.๒ องศาเซลเซียสต่อทศวรรษ ส่งผลให้สภาพภูมอิ ากาศแปรปรวน ก่อให้เกิดภัยพิบตั ิ ทาง ธรรมชาติบ่อยครัง้ และทวีความรุนแรง อาทิ แผ่นดินไหว ดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด อุทกภัย วาตภัย ภัยแล้ง ไฟป่า ระบบนิเวศในหลายพื้นที่ของโลกอ่อนแอ สูญเสียพันธุ์พชื และสัตว์ พื้นผิวโลกเปลี่ยนแปลงทาง ั ่ ่ อ งจากระดับ น้ าทะเลที่สูง ขึ้น นาไปสู่ก ารย้ายถิ่นของ กายภาพ โดยเฉพาะการสู ญ เสีย พื้นที่ชายฝ งเนื ั่ ประชากรที่อยู่อาศัยบริเวณชายฝงทะเล รวมทัง้ สร้างความเสียหายต่อโครงสร้างพื้นฐาน เขตท่องเที่ยว เขตอุ ต สาหกรรมที่มกี ารลงทุนสูงบริเวณพื้นที่ชายฝ งั ่ โรคระบาดเพิ่มขึ้น ก่ อให้เ กิด ปญั หาสุขภาพของ


ประชากร รวมทัง้ การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพชื จากสภาพอากาศทีเ่ ปลีย่ นแปลง สร้างความเสียหาย แก่ผลผลิตทางการเกษตรและธัญญาหารของโลก รวมทัง้ กระทบต่อภาคสังคม อาทิ ปญั หาความยากจน การอพยพย้ายถิน่ และการแย่งชิงทรัพยากร ๕) ความมันคงทางอาหารและพลั ่ ง งานของโลกมีแ นวโน้ มจะเป็ นปั ญ หา ส า คั ญ ความต้องการพืชพลังงาน สินค้าเกษตรและอาหารมีแนวโน้ มเพิม่ ขึ้นจากการเพิม่ ประชากรโลก แต่การ ผลิตพืชอาหารลดลงด้วยข้อจากัดด้านพืน้ ที่ เทคโนโลยีท่มี อี ยู่ และการเปลีย่ นแปลงของภูมอิ ากาศ ทาให้ เกิดความขัดแย้งระหว่างการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานในอนาคต ส่งผลให้ผลผลิตอาหารสู่ตลาด ลดลง ไม่เพียงพอกับความต้ องการของประชากรโลก หรือมีราคาสูงเกินกว่ากาลังซื้อโดยเฉพาะในกลุ่ม ประเทศยากจน อาจนาไปสู่การเกิดวิกฤตอาหารโลก ๖) ความก้าวหน้ าทางเทคโนโลยี ทัง้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร นาโน เทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการทางานของสมองและจิต ซึง่ จะเป็ นได้ทงั ้ โอกาส หรือ ภัย คุ ก คามในการพัฒนา อาทิ การจารกรรมข้อ มูล ธุ ร กิจ หรือ ข้อ มูล ส่ ว นบุ ค คล ประเทศที่พฒ ั นา เทคโนโลยีได้ช้าจะกลายเป็ นผู้ซ้อื และมีผลิตภาพต่ า ไม่สามารถแข่งขันกับประเทศอื่นๆ และการเข้าถึง เทคโนโลยีทไ่ี ม่เท่าเทียมกันของกลุ่มคนในสังคมจะทาให้เกิดความเหลื่อมล้า ในการพัฒนาจึงเป็ นความท้า ทายในการเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันและลดความเหลื่อมล้า ๗) การก่ อ การร้ ายสากลเป็ นภัย คุกคามประชาคมโลก การก่ อ การร้ายและ อาชญากรรมข้ามชาติมแี นวโน้ มขยายตัว ทัวโลกและรุ ่ นแรง มีรูปแบบและโครงข่ายที่ซบั ซ้อนมากขึ้น ส่งผลกระทบต่อความมันคงของประเทศ ่ ต้องเตรียมความพร้อมและสร้างความร่วมมือในเวทีระหว่าง ป ร ะ เ ท ศ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชาติจากภัยก่อการร้าย ๒.๑.๒ การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ สรุปได้ดงั นี้ ๑) การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านเศรษฐกิ จ อัตราการขยายตัวและเสถียรภาพ ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอยู่ในเกณฑ์ดี โดยภาคอุตสาหกรรมเป็ นภาคการผลิตที่มบี ทบาทสูง ภาค เกษตรเป็นแหล่งสร้างรายได้หลักของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศและเป็นฐานในการสร้างมูลค่าเพิม่ ของ ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการมีบทบาทสาคัญในการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่เศรษฐกิจ ขณะที่การเชื่อมโยง เศรษฐกิจ ของประเทศกับ เศรษฐกิจ ต่ า งประเทศท าให้เ กิด กิจ กรรมทางเศรษฐกิจ ระหว่ า งประเทศ โดยเฉพาะกิจกรรมทางการค้าและการลงทุน โดยการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศยังคงมีบทบาทสาคัญ ต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทย แต่จากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ตกต่ าและขีดความสามารถในการ แข่งขันลดลง ทาให้บทบาทของการลงทุนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมีแนวโน้มลดลง อย่างไรก็ตาม ระบบ เศรษฐกิจของไทยยังมีความอ่อนแอด้านปจั จัยสนับสนุ นในส่วนของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพ การบริการของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎ และระเบียบทางเศรษฐกิจที่ไม่เอื้อต่อการจัดระบบการ แข่งขันทีเ่ ป็นธรรมและเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจ ๒) การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านสังคม ประเทศไทยก้าวสู่สงั คมผูส้ ูงอายุจากการ มีโครงสร้างประชากรทีว่ ยั สูงอายุเพิม่ ขึน้ วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง คนไทยได้รบั การพัฒนาศักยภาพทุก ช่วงวัย แต่ยงั มีปญั หาด้านคุณภาพการศึกษาและสติปญั ญาของเด็ก มีพฤติกรรมเสีย่ งต่อสุขภาพ และผลิต


ภาพแรงงานต่ า ประชาชนได้รบั การคุ้มครองทางสังคมเพิม่ ขึน้ และมีการจัดสวัสดิการทางสังคมในหลาย รูปแบบ แต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่สามารถเข้าถึงบริการทางสังคมได้อย่างทัวถึ ่ ง ความเหลื่อ มล้าทาง รายได้ของประชากรและโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรเป็ นปญั หาการพัฒนาประเทศ สังคมไทยเผชิญ วิกฤต ความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมและจริยธรรม และมีการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย รวมถึง เผชิญ ปญั หาการแพร่ระบาดของ ยาเสพติดและการเพิ่มขึ้นของการพนันโดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและ เ ย า ว ช น แ ต่ ค น ไ ท ย ตื่ น ตั ว ท า ง ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ ให้ความสาคัญกับความรับผิดชอบต่อสังคมและระบบธรรมาภิบาลมากขึน้ ๓) การเปลี่ ย นแปลงสภาวะด้ านทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มทุ น ั หา ทรัพ ยากร ธรรมชาติ เ สื่อ มโทรม การเปลี่ย นแปลงสภาพภู ม ิอ ากาศส่ ง ผลซ้ า เติ ม ให้ ป ญ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมรุนแรง กระทบต่อผลผลิตภาคเกษตรและความยากจน การบริ หาร จัดการทรัพ ยากรธรรมชาติแ ละสิ่งแวดล้อ มยังไม่มปี ระสิท ธิภาพเท่ าที่ค วร ขณะที่ม ีค วามขัด แย้งทาง นโยบายในการบูรณาการการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ทัง้ นี้ ประเทศไทยยังมีความ มันคงด้ ่ านอาหาร แม้จะต้องเผชิญกับความ ท้าทายจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศและความต้องการพืช พลังงาน ๔) การเปลี่ยนแปลงด้ านการบริ หารจัดการการพัฒนาประเทศ ประชาชนมี ความตื่นตัวทางการเมืองสูงขึน้ แต่ความขัดแย้งทางการเมืองและความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังดารงอยู่และส่งผลต่อเศรษฐกิจ การดารงชีวติ ของประชาชน ความเชื่อมันของนานาประเทศ ่ ตลอดจน ความสงบสุขทีล่ ดลง ขณะทีป่ ระสิทธิภาพภาครัฐมีการเปลีย่ นแปลงในภาพรวมทีด่ ขี น้ึ แต่ขดี ความสามารถ ในการป้องกันการทุจริตต้องปรับปรุง การกระจายอานาจประสบความสาเร็จในเรื่องการเพิม่ รายได้ให้ องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น แต่ ม ีค วามล่ า ช้าในการถ่ ายโอนภารกิจและมีค วามไม่ช ัดเจนในการแบ่ ง บทบาทหน้าทีก่ บั ราชการส่วนกลาง ขณะเดียวกัน การคอร์รปั ชันยั ่ งคงเป็ นปญั หาสาคัญของไทย กลุ่มคน รุน่ ใหม่เห็นว่าการคอร์รปั ชันเป็ ่ นเรือ่ งทีย่ อมรับได้ ๒.๒ การประเมิ นความเสี่ ยง ในช่วงแผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๑ ประเทศไทยจะเผชิญกับความ เ สี่ ย ง ทีต่ ้องเตรียมการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้ประเทศพร้อมเผชิญการเปลีย่ นแปลงอย่างมีประสิทธิภาพ ๖ ประการ ดังนี้ ๒.๒.๑ การบริ ห ารภาครัฐอ่ อ นแอ ไม่ส ามารถขับเคลื่อ นการบริห ารจัดการได้อ ย่างมี ประสิทธิภาพ อานาจรัฐถูกใช้เพื่อผลประโยชน์ ของคนบางกลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาค ประชาชนและระหว่างประชาชนกับประชาชนในบางพืน้ ทีม่ ชี ่องว่างมากขึน้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ ข้อคิดเห็นแต่การมีส่วนร่วมตัดสินใจในระดับนโยบายมีน้อย เจ้าหน้าทีร่ ฐั ย่อหย่อนในการปฏิบตั ติ ามหน้าที่ การบังคับใช้กฎหมายไม่จริงจัง การดาเนินงานไม่โปร่งใส เกิดการทุจริตประพฤติมชิ อบ นาไปสู่ความ เหลื่อมล้าและไม่เป็ นธรรมในมิตเิ ศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่งผลกระทบต่อความเชื่อถือของต่างชาติท่มี ี ต่อประเทศไทย ๒.๒.๒ โครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ ไม่ ส ามารถรองรับ การเจริ ญ เติ บ โตอย่ า งยัง่ ยื น เศรษฐกิจไทยมีความอ่อนไหวต่อความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและปจั จัยแวดล้อมโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การขยายตัวทางเศรษฐกิจขึน้ อยู่กบั ปจั จัยการผลิตดัง้ เดิมโดยเฉพาะทุน และแรงงานราคาถูกทีม่ ผี ลิตภาพ


การผลิตต่า เป็นอุปสรรคต่อการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก การพัฒนาเศรษฐกิจไทยใน ระยะทีผ่ ่านมาพึง่ ภาคการส่งออกและการลงทุนเป็ นหลัก ผลตอบแทนแรงงานในภาคเกษตรมีสดั ส่วนต่ า เมื่อเทียบกับนอกภาคเกษตร เกษตรกรยังประสบความยากจนและมีปญั หาหนี้สนิ ความต้องการใช้ พลังงานของไทยมีแนวโน้มสูงขึน้ มีการพึง่ พิงการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศจานวนมาก ๒.๒.๓ โครงสร้ างประชากรที่ มี วยั สู ง อายุเ พิ่ มขึ้ น ขณะที่ ประชากรวัย เด็กและวัย แรงงานลดลง ประเทศไทยจะเป็ นสังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๘ ขณะที่ประชากรวัยเด็กมี สัดส่วนลดลงอย่างต่อเนื่อง ทาให้สดั ส่วนประชากรวัยแรงงานลดลงในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ อาจ กระทบต่อความต้องการแรงงานในระบบเศรษฐกิจในอนาคต การแข่งขันเพื่อแย่งชิงแรงงานจะมีมากขึน้ โดยเฉพาะแรงงานคุณภาพ ภาครัฐและครัวเรือนจะมีภาระค่าใช้จ่ายเพิม่ ขึน้ ในการดูแลและพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ของผู้สูงอายุในด้านต่างๆ ส่งผลต่อภาระงบประมาณของภาครัฐ และค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในการ ดูแลสุขภาพอนามัย และการจัดสวัสดิการทางสังคม ๒.๒.๔ ค่านิ ยมที่ ดีงามของไทยเสื่อมถอย กระแสโลกาภิวตั น์มผี ลกระทบต่อวัฒนธรรม ประเพณีดงั ้ เดิมที่ดงี าม ส่งผลให้สงั คมไทยมีความเป็ นวัตถุนิยม คนไทยให้ความสาคัญกับศีลธรรมและ วัฒนธรรมทีด่ งี ามลดลง ทัง้ การดารงชีวติ ประจาวัน การใช้ชวี ติ และความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ่นื มุ่งหารายได้เพื่อ สนองความต้องการ การช่วยเหลือเกื้อกูลกันลดลง ความมีน้าใจไมตรีน้อยลง ต่างแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบ กัน ทาให้คนไทยขาดความสามัคคี การเคารพสิทธิผอู้ ่นื และการยึดถือประโยชน์ส่วนรวม ๒.๒.๕ ฐานทรัพ ยากรธรรมชาติ และสภาพแวดล้ อ มของประเทศมีแนวโน้ มเสื่ อ ม โทรมรุนแรง จากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้มความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีความรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ า การใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง ไม่คุ้มค่า และปริมาณของเสีย ที่เพิม่ ขึ้น ั ่ างต่อเนื่อง นาไปสู่ความเสีย่ งต่อการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ รวมไปถึงการกัดเซาะชายฝงอย่ ข ณ ะ ที่ ภั ย พิ บั ติ จะเกิดขึ้นบ่อยครัง้ กระทบต่อ ฐานการผลิตภาคเกษตร ความมันคงด้ ่ านอาหาร พลังงาน สุขภาวะและ คุณภาพชีวติ ของประชาชน ๒.๒.๖ ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงด้านความมันคง ่ ทัง้ ทีม่ าจากปญั หาการก่อความ ไม่สงบในประเทศ ปญั หาการก่อการร้าย วิกฤตเศรษฐกิจและการแข่งขันด้านต่างๆ ในเวทีระหว่างประเทศ รวมทัง้ ภัยพิบตั ทิ เ่ี กิดจากมนุษย์และธรรมชาติมคี วามรุนแรงและผลกระทบสูง มีแนวโน้มจะมีความรุนแรง และผลกระทบเพิม่ ขึ้นในระยะต่อไป เป็ นประเด็นท้าทายต่อการบริหารจัดการความเสี่ยงทั ง้ การบริหาร วิกฤตการณ์ การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบสนองอย่างฉับไว และการบริหารจัดการในภาวะฉุ กเฉิ น รวมทัง้ การเสริมสร้างศักยภาพของประเทศให้มคี วามเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสามารถแข่งขันได้ในเวที โลกอย่างต่อเนื่อง ๒.๓ การสร้างภูมิค้ มุ กันของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยสามารถรองรับผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงได้อย่างมีประสิทธิภาพ จาเป็นต้องสร้างภูมคิ ุม้ กันประเทศ ดังนี้ ๒.๓.๑ ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รง เป็ นประมุข สถาบันพระมหากษัตริยเ์ ป็ นสถาบันหลักที่ยดึ โยงคนในชาติให้เกาะเกี่ยวกันอย่างแน่ นแฟ้น เป็ นแบบอย่างในการดาเนินชีวติ ของคนในสังคม โดยเฉพาะรัชกาลปจั จุบนั ที่ทรงเป็ นแบบอย่างของการ


ดารงชีวติ บนทางสายกลางและความพอเพียง รวมถึงทรงให้ความสาคัญกับการพัฒนาชีวติ ความเป็ นอยู่ ข อ ง พ ส ก นิ ก ร ในทุกด้าน ๒.๓.๒ การพัฒ นาประเทศให้ อยู่บนฐานความรู้และเทคโนโลยี ที่ ท ันสมัย การวิจยั พัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็นแรงขับเคลื่อนทีส่ าคัญสาหรับการพัฒนาประเทศ ในการปรับเปลีย่ น การผลิตจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน และแรงงานที่มผี ลิตภาพต่ า ไปสู่การใช้ความรูแ้ ละความ ชานาญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ๒.๓.๓ สังคมไทยมีค่านิ ยมและวัฒนธรรมที่ ดีงาม วัฒนธรรมไทยที่ดงี ามสามารถยึด โยงคนไทยให้เป็ นเอกภาพ ลดอิทธิพลของความทันสมัยและความขัดแย้งในสังคมไทย ประชาชนนาหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย งมาประยุกต์ใ ช้กับ ชีว ิต ประจาวัน ครอบครัว บ่ มเพาะความเป็ นไทยที่ม ี จิตสานึกและอัตลักษณ์ให้บุตรหลานได้ตระหนักถึงรากเหง้าของตนเอง ๒.๓.๔ ภาคการเกษตรเป็ นฐานรายได้หลักและความมันคงด้ ่ านอาหารของประเทศ ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ทัง้ แหล่งสร้างงาน แหล่งผลิตอาหาร และเชื่อมโยงวิถชี วี ติ ของสังคมไทย มีส่วนสาคัญในการลดความยากจน สร้างงาน และลดผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ๒.๓.๕ ชุมชนเป็ นกลไกที่ มีค วามสามารถในการบริ หารจัดการ มี ส่วนร่ วมในการ พัฒนาคุณภาพชี วิตและเชื่ อมโยงกันเป็ นสัง คมสวัสดิ การ เป็ นพลังหลักในการพัฒนารากฐานของ ประเทศให้มนคง ั่ ชุ มชนพึ่งตนเองสามารถบรรเทาปญั หาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อมในระดับท้องถิน่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลไกชุมชนสามารถพัฒนาท้องถิน่ ให้เจริญรุง่ เรือง

ประเด็นการพัฒนาประเทศในระยะต่อไป

ภายใต้ ส ถานการณ์ ก ารเปลี่ย นแปลงที่จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ การพัฒ นาประเทศในช่ ว งของ แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๑ พร้อมทัง้ การวิเคราะห์จุดอ่อนและข้อจากัดที่เป็ นจุดเสี่ยงของประเทศ รวมทัง้ ภูมคิ ุม้ กันที่จะต้องเร่งเสริมสร้างให้เข้มแข็งมากขึน้ ในสังคมไทย ได้นามาสู่การกาหนดประเด็นการพัฒนา ส า คั ญ เ พื่ อ เ ป็ น ก ร อ บ การจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ดังนี้ ๓.๑ การเตรียมคนไทยให้ มีการเรียนรู้ตลอดชี วิต มุ่งพัฒนาคนไทยให้มศี กั ยภาพในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม รูจ้ กั สิทธิหน้าที่ ของตนเองและผู้อ่นื ควบคู่กบั การเสริมสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปญั ญาและแหล่งเรียนรูใ้ น ระดับชุมชน ๓.๒ การสร้างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทย มุ่งปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจทีม่ คี ุณภาพและยังยื ่ น มีฐานการพัฒนาทีท่ วถึ ั ่ ง ให้ความสาคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและ การลงทุนให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเอเชีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และเศรษฐกิจใน ป ร ะ เ ท ศ ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมทีเ่ น้นการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ และการผลิตทีเ่ ป็ น มิต รกับสิ่งแวดล้อ ม สร้างมูล ค่าเพิ่มกับสาขาบริการที่มศี กั ยภาพบนฐานของความคิดสร้างสรรค์และ


นวัตกรรม พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและความมันคงด้ ่ าน อาหาร พร้อมทัง้ ขยายเศรษฐกิจฐานรากให้มคี วามหลากหลายและแข็งแกร่งมากขึน้ มีระบบค่าจ้างแรงงาน และสวัส ดิก ารแรงงานที่เ ป็ นธรรม มีการคุ้มครองแรงงานที่เหมาะสมกับการดารงชีว ิตอย่างมีคุณภาพ ควบคู่ไ ปกับการพัฒนาทัก ษะและความรู้ทงั ้ ด้านการผลิตและการบริหารจัดการ การเข้าถึงทรัพยากร โครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาระบบการเงินฐานรากและระบบการออมทีห่ ลากหลาย เพื่อเพิม่ โอกาสการ ประกอบสัมมาชีพที่มนคง ั ่ รวมทัง้ พัฒนาระบบการคุ้มครองทางสังคมให้มคี ุณภาพและครอบคลุมอย่าง ทัวถึ ่ ง ๓.๓ การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และส่ งเสริ มบทบาทภาคประชาสังคมและ ธุรกิ จเอกชนให้ เป็ นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย มุ่งยกระดับศักยภาพและขีดความสามารถของ ชุ ม ช น ใ น การพัฒนาคุณภาพชีวติ คนในชุมชน และการจัดการความรู้ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมบทบาทภาคเอกชนใน การดาเนินธุรกิจที่ให้ผลประโยชน์ ตอบแทนคืนสู่สงั คมและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ กระตุ้นชุมชน และภาคประชาสังคมร่วมตรวจสอบการดาเนินงานของภาครัฐ และส่งเสริมให้ชุมชนสามารถเชื่อมโยงทิศ ทางการพัฒนากับบริบทการเปลีย่ นแปลงในอนุ ภมู ภิ าค อาเซียน และโลก ๓.๔ การพัฒ นาปั จ จัย สนั บ สนุ น ที่ เ อื้ อ ต่ อ การปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขัน และระบบการแข่ ง ขัน ที่ เ ป็ นธรรม เน้ น การพัฒ นาวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัต กรรม และความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการพัฒนากาลังคนที่มสี มรรถนะสูง บริหาร จัดการโลจิสติกส์ พัฒนาการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ระบบราง พัฒนาบริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และสร้า งความมันคงด้ ่ านพลังงาน รวมทัง้ ปฏิรูปกฎหมาย กฎ ระเบียบทางเศรษฐกิจ ที่เ กี่ย วข้อ งให้ เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ๓.๕ การส่ งเสริ มความร่วมมือ อย่ างเป็ นหุ้นส่ วนการพัฒนาทัง้ ในระดับอนุ ภมู ิ ภาคและ ภูมิภาค เน้นสร้างความเชื่อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพรองรับการขยายตัว ด้านการค้า การลงทุนผ่านการอานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน การพัฒนา เขตเศรษฐกิจชายแดนและการเปิดพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ทเ่ี ชื่อมโยงภูมภิ าคเอเชียใต้ ๓.๖ การเตรียมความพร้อมของไทยเข้ าสู่ประชาคมอาเซี ยน ให้ความสาคัญในการสร้าง ความตระหนักในความสาคัญของประชาคมอาเซียน และผลกระทบที่ จะเกิดขึน้ พัฒนาขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้และใช้ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาทักษะ แรงงานให้มคี วามสามารถเป็ นทีย่ อมรับของตลาดแรงงานอาเซียน รวมทัง้ การปรับกฎ ระเบียบ และการ จัดการเชิงสถาบันให้สอดรับกับกติกาของอาเซียน ๓.๗ การบริ ห ารจัดการน้ าและที่ ดินเพื่ อ สนั บสนุ นความมันคงด้ ่ านอาหารและการปรับ โครงสร้างทางเศรษฐกิ จ มุ่งพัฒนา ปรับปรุงและฟื้ นฟูแหล่งน้ าเพื่อเพิม่ ปริมาณน้ าต้นทุน พัฒนาระบบ โครงข่ายกระจายน้ า และความมันคงด้ ่ านน้ าอย่างทัวถึ ่ งและเป็ นธรรม ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้น้ า ฟื้ นฟูและพัฒนาดินที่เสื่อมสภาพให้เหมาะสมกับการทาเกษตรกรรม แก้ไขปญั หาการบุกรุกที่ดนิ ในเขต อนุ รกั ษ์ ปรับปรุงการบริหารจัดการที่ดนิ ทัง้ ระบบ กระจายการถือครองที่ดนิ ให้เป็ นธรรม ป้องกันการ สูญเสียกรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ ของเกษตรกรรายย่อย


๓.๘ การยกระดับ ขี ด ความสามารถในการปรับ ตัว รองรับ การเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และ ภัยพิ บตั ิ ทางธรรมชาติ ให้ความสาคัญกับการวางแผนรองรับและจัดการปญั หาที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ นวัตกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการ ลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัว และการสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนท้องถิน่ เพื่อรองรับภัยพิบตั แิ ละ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ตลอดจนสร้างภูมคิ ุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิง่ แวดล้อมและ วิกฤตภาวะโลกร้อน ๓.๙ การบริ หารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็ นธรรมในสังคม พัฒนาระบบราชการและ ข้าราชการโดยยึดหลัก ธรรมาภิบ าล เพิ่ม ประสิทธิภ าพการกระจายอ านาจให้แก่ อ งค์กรปกครองส่ ว น ท้องถิน่ พัฒนาระบบและกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบอย่างมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมอย่างเท่าเทียมและสร้างความเป็ นธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากร ควบคู่ไปกับปลูกฝงั จิตสานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่ประชาชน ทุกกลุ่ม

๔ วิสยั ทัศน์ และทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับ ที่ ๑๑ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ มุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และขับเคลื่อนให้ บังเกิดผลในทางปฏิบตั ทิ ช่ี ดั เจนยิง่ ขึน้ ในทุกระดับ ยึดคนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา ให้ความสาคัญกับ การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลในทุกมิติ อย่าง บูรณาการ และเป็นองค์รวม และยึดวิสยั ทัศน์ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ดังนี้ “คนไทยภาคภูมใิ จในความเป็นไทย มีมติ รไมตรีบนวิถชี วี ติ แห่งความพอเพียง ยึดมันในวั ่ ฒนธรรม ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขัน้ พื้นฐานที่ทวถึ ั ่ ง มีคุณภาพ สังคมมีความ ปลอดภัยและมันคง ่ อยู่ในสภาวะแวดล้อมทีด่ ี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็ นมิตร กับสิง่ แวดล้อม มีความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน อยูบ่ นฐานทางเศรษฐกิจทีพ่ ง่ึ ตนเองและแข่งขันได้ใน เวทีโลก สามารถอยูใ่ นประชาคมภูมภิ าคและโลกได้อย่างมีศกั ดิ ์ศรี” ๔.๑ วิ สยั ทัศน์ และพันธกิ จการพัฒนาประเทศ การจัดทาแผนพัฒนาในระยะ ๕ ปี ทีส่ อดคล้อง กับวิสยั ทัศน์ระยะยาวดังกล่าว จาเป็ นต้องมีการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ และ แนวทางการพัฒนาที่มลี าดับความสาคัญสูงในช่วงระยะ ๕ ปี แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงประกอบด้วย วิสยั ทัศน์และพันธกิจ ดังนี้ ๔.๑.๑ วิ สยั ทัศน์ “สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็ นธรรม และมี ภูมคิ ุม้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง” ๔.๑.๒ พันธกิ จ ๑) สร้างสังคมเป็ นธรรมและเป็ นสังคมที่มคี ุณภาพ ทุกคนมีความมันคงในชี ่ ว ิต ได้ ร ับ การคุ้ ม ครองทางสัง คมที่ม ีคุ ณ ภาพอย่ า งทัว่ ถึง และเท่ า เทีย ม มีโ อกาสเข้า ถึง ทรัพ ยากรและ กระบวนการยุ ติธ รรมอย่ า งเสมอภาค ทุ ก ภาคส่ ว นได้ ร ับ การเสริม พลัง ให้ ส ามารถมีส่ ว นร่ ว มใน กระบวนการพัฒนา ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐทีโ่ ปร่งใส เป็นธรรม


๒) พัฒ นาคุ ณ ภาพคนไทยให้ ม ีคุ ณ ธรรม เรีย นรู้ต ลอดชีว ิต มีท ัก ษะและการ ดารงชีวติ อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิ่นมีความเข้มแข็ง สามารถ ปรับตัวรูเ้ ท่าทันกับการเปลีย่ นแปลง ๓) พัฒ นาฐานการผลิต และบริก ารให้ เ ข้ม แข็ง และมีคุ ณ ภาพบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมปิ ญั ญา สร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิตและ การบริโภคให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคเพื่อความมันคงทาง ่ เศรษฐกิจและสังคม ๔) สร้างความมันคงของฐานทรั ่ พยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สนับสนุ นการมี ส่วนร่วมของชุมชน รวมทัง้ สร้างภูมคิ ุม้ กันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ๔.๒. วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๒.๑ วัตถุประสงค์ ๑) เพื่อเสริมสร้างสังคมทีเ่ ป็นธรรมและเป็นสังคมสงบสันติสุข ั ญา ๒) เพื่อ พัฒ นาคนไทยทุ ก กลุ่ ม วัย อย่ า งเป็ น องค์ร วมทัง้ ทางกาย ใจ สติป ญ อารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนให้มคี ุณภาพ ๓) เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ คุณภาพ และยังยื ่ น เป็ นผูน้ า การผลิตสินค้าและบริการบนฐานปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ในภูมภิ าคอาเซียน มีความมันคงทาง ่ อาหารและพลังงาน การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม นาไปสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่ า ๔) เพื่อบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษา สมดุลของระบบนิเวศ และเป็นฐานทีม่ นคงของการพั ั่ ฒนาประเทศ ๔.๒.๒ เป้ าหมายหลัก ๑) ความอยู่เย็นเป็ นสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิม่ ขึน้ ความเหลื่อมล้าใน สังคมลดลง และภาพลักษณ์การคอร์รปั ชันดี ่ ขน้ึ ๒) คนไทยมีการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง มีสุขภาวะดีขน้ึ และสถาบันทางสังคมมีความ เข้มแข็งมากขึน้ ๓) เศรษฐกิจ เติ บ โตในอัต ราที่เ หมาะสมตามศัก ยภาพของประเทศ โดยให้ ความสาคัญกับการเพิม่ ผลิตภาพรวมไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๓ ต่อปี เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทาง เศรษฐกิจของประเทศ เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อ GDP ให้มสี ดั ส่วน ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๔๐ และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ๔) คุณภาพสิง่ แวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพิม่ ประสิทธิภาพการลดการปล่อย ก๊าซเรือนกระจก รวมทัง้ เพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ ๔.๒.๓ ตัวชี้วดั ๑) ดัช นี ค วามอยู่เ ย็น เป็ น สุ ข ดัช นี ค วามสงบสุ ข สัด ส่ ว นรายได้ร ะหว่ า งกลุ่ ม ประชากรที่ม ีรายได้สูงสุ ด ร้อ ยละ ๑๐ กับกลุ่ มที่มรี ายได้น้อ ยร้อ ยละ ๑๐ สัดส่ ว นแรงงานนอกระบบที่


สามารถเข้าถึง การคุม้ ครองทางสังคม คดีความขัดแย้งกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั ต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน คดีในศาล ปกครองต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน และดัชนีภาพลักษณ์การทุจริตประพฤติมชิ อบไม่ต่ากว่า ๕.๐ คะแนน ๒) จานวนปี การศึกษาเฉลี่ยของคนไทย สัดส่วนผู้ใช้อนิ เตอร์เน็ตเพื่อการเรียนรู้ จานวนบุคลากรด้านการวิจยั และพัฒนา อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และดัชนีความอบอุ่ นของ ครอบครัว ๓) อัต ราการเจริญ เติบโตทางเศรษฐกิจ อัต ราเงิน เฟ้ อ ผลิต ภาพการผลิต รวม อันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมต่อ GDP ๔) คุณภาพน้ าและอากาศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ร้อยละของพื้นที่ป่าไม้ต่อพื้นที่ ประเทศ และสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

ยุทธศาสตร์การพัฒนา

การพัฒนาประเทศให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยังยื ่ น ภายใต้กระแสการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศที่ปรับเปลีย่ นเร็ว คาดการณ์ได้ ยากและซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงจาเป็ นต้องกาหนดทิศทางและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เหมาะสม โดยเร่งสร้างภูมคิ ุ้มกันเพื่อป้องกันปจั จัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของ ประเทศด้านต่างๆ ให้เข้มแข็ง ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีส่ าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ มีดงั นี้ ๕.๑ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็ นธรรมในสัง คม เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึง ปจั จัยการ ประกอบอาชีพ ทัง้ แหล่งทุน โครงสร้างพื้นฐานและทักษะความรูท้ ่จี ะเป็ นฐานการประกอบอาชีพที่มนคง ั่ รวมทัง้ โอกาสทางธุรกิจนาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวติ ให้ทุกคนในสังคมไทย ทุกคนในสังคมไทยมีความ เท่ า เทีย มกัน ในการเข้า ถึง บริก ารทางสัง คมที่ม ีคุ ณ ภาพและสามารถด ารงชีว ิต อ ยู่ไ ด้อ ย่ า งมีศ ัก ดิศ์ รี ประชาชนทุกคนได้รบั การคุม้ ครองสิทธิพน้ื ฐานอันพึงมีพงึ ได้ เข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมอย่างเสมอภาค รวมทัง้ สร้างความโปร่งใสในกระบวนการตัดสินใจของระบบบริหารราชการแผ่นดินบนพื้นฐานของการใช้ หลักนิตธิ รรม หลักคุณธรรมและจริยธรรม และหลักผลประโยชน์ ส่ วนรวมของประเทศ สนับสนุ นให้ภาคี การพัฒนาทุก ภาคส่ ว นมีส่ ว นร่ว มแก้ไ ขป ญั หาความเหลื่อ มล้ า และลดความขัด แย้ง ในสัง คมไทยและ ดารงชีวติ อยู่ในสังคมอย่างเป็ นน้าหนึ่งใจเดียวกัน มีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๑.๑ สร้ างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสัง คมให้ ทุ ก คนในสัง คมไทยสามารถ จัดการความเสี่ ย งและสร้ างโอกาสในชี วิตให้ แก่ ตนเอง โดยปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้มฐี านการ พัฒนาที่ทวถึ ั ่ งและยังยื ่ น พร้อมทัง้ เศรษฐกิจฐานรากที่มคี วามหลากหลายและแข็งแกร่งมากขึน้ ส่งเสริม การจัดสรรทรัพยากรให้เกิดความเป็ นธรรม พัฒนาการใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนา อาชีพและยกระดับคุณภาพชีวติ ส่งเสริมบทบาทของภาคธุรกิจเอกชนในการเสริมสร้างความมันคงทาง ่ เศรษฐกิจและสังคมแก่คนในสังคมไทย ยกระดับคุณภาพของระบบการคุม้ ครองทางสังคมให้ครอบคลุมทุก คนอย่างทัวถึ ่ ง สอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็น ๕.๑.๒ จัด บริ การทางสัง คมให้ ทุกคนตามสิ ท ธิ พึ งมี พึ ง ได้ เน้ นการสร้ างภูมิค้ ุมกัน ระดับปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสิ นใจในการพัฒนาประเทศ โดยพัฒนาช่อง ทางการเข้าถึงบริก ารสาธารณะอย่างทัวถึ ่ งเพื่อ สร้างโอกาสให้กลุ่ มด้อ ยโอกาสสามารถเข้าถึงบริการ สาธารณะทีม่ คี ุณภาพอย่างเท่าเทียมและทัวถึ ่ ง สนับสนุ นการจัดหาที่อยู่อาศัยของผูม้ รี ายได้น้อยและการ เข้าถึงระบบสาธารณูปโภค พัฒนาระบบสวัสดิการทางสังคม และระบบการเงินฐานรากและระบบการออม ที่หลากหลาย เสริมสร้างเจตคติด้านความเสมอภาคระหว่างหญิงและชาย ปรับปรุงฐานข้อมูลที่สะท้อน


คุ ณ ภ า พ บ ริ ก า ร ส า ธ า ร ณ ะ แ ล ะ พั ฒ น า ช่องทางการเผยแพร่เพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภคด้านบริการสาธารณะ ๕.๑.๓ เสริ มสร้างพลังให้ ทุกภาคส่วนสามารถเพิ่ มทางเลือกการใช้ ชีวิตในสังคมและ สร้ า งการมี ส่ ว นร่ ว มในเชิ ง เศรษฐกิ จ สัง คม และการเมื อ งได้ อ ย่ า งมี คุณ ค่ า และศัก ดิ์ ศรี โดย เสริมสร้างพลังทางสังคมให้ทุกคนสามารถแสดงออกทางความคิดอย่า งสร้างสรรค์ เพิม่ ศักยภาพและขีด ั หาของชุ ม ชนด้ว ยตัว เอง สนั บ สนุ น การรวมกลุ่ ม อาชีพ ที่ ความสามารถของชุ ม ชนในการจัด การป ญ สอดคล้องกับศักยภาพของพืน้ ที่ ส่งเสริมให้ภาคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เป็ นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย พัฒนาช่องทางให้ประชาชนเข้ าถึงข้อ มูล ข่าวสารการปฏิบตั ิงาน ภาครัฐ การดาเนินโครงการขนาดใหญ่ การจัดสรรทรัพยากร และมีส่วนร่วมในการตรวจสอบค่าใช้จ่าย ภาครัฐ ส่งเสริมบทบาทสตรีในทางการเมืองโดยกาหนดให้เป็ นพันธกิจสาคัญของแผนพัฒนาสตรีในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายเพื่อการคุม้ ครองผูบ้ ริโภครวมทัง้ การบังคับใช้อย่าง เข้มงวด ๕.๑.๔ เสริ มสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้ แน่ นแฟ้ นเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน โดยสร้างค่ านิยมใหม่ท่ยี อมรับร่ว มกันบนฐานของความไว้เ นื้อ เชื่อ ใจและเกื้อ กูล กันในสังคม ส่ งเสริม วัฒนธรรมการเมืองทีม่ ธี รรมาภิบาลนาไปสู่การเป็ นประชาธิปไตยทีถ่ ูกต้องและเหมาะสม เสริมสร้างระบบ บริหารราชการให้เ ข้มแข็งมีประสิทธิภาพ มีระบบถ่ว งดุลอ านาจการตรวจสอบที่เ ข้มงวดและรอบด้าน พัฒนาข้าราชการให้มคี ุณภาพสูง มีคุณธรรม จริยธรรมทางอาชีพ และมีความรับผิดรับชอบ ปฏิรูปการ เมืองไทยทัง้ ระบบให้เป็ นประชาธิปไตยของมวลชน สร้างความเท่าเทียมในกระบวนการยุติธรรม เพิม่ ช่อ งทางในการรับข้อ ร้อ งเรียนและให้ค วามช่ว ยเหลือ เยียวยาแก่ ผู้เ สียหายและผู้ได้รบั ผลกระทบจาก กระบวนการยุตธิ รรม สนับสนุนการใช้ส่อื เพื่อสังคมทัง้ ในระดับประเทศและท้องถิน่ และสังคมออนไลน์ ๕.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สงั คมแห่ งการเรียนรู้ตลอดชี วิตอย่างยังยื ่ น เพื่อพัฒนา คุณภาพคนไทยทุกกลุ่มวัยให้มคี วามพร้อมทัง้ กาย ใจ สติปญั ญา มีระเบียบวินัย มีจติ สานึกวัฒนธรรมที่ด ี ง า ม แ ล ะ รูค้ ุณค่าความเป็ นไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรูต้ ลอดชีวติ ยกระดับการพัฒนาคุณภาพการศึ กษาไทย ให้ได้มาตรฐานสากล และเพิม่ โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูใ้ นรูปแบบที่หลากหลาย เสริมสร้าง สภาพแวดล้อมทางครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มนคงและเอื ั่ อ้ ต่อการพัฒนาคนอย่างสอดคล้องกับบริบท การเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต โดยมีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๒.๑ ปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม โดยส่งเสริมคู่สมรสที่ มีศกั ยภาพและความพร้อมให้มบี ุตรเพิม่ ขึ้น และรักษาระดับอัตราเจริญพันธุ์ไม่ให้ต่ ากว่าระดับที่เป็ นอยู่ ปจั จุบนั สนับสนุ นการกระจายตัว และส่ งเสริมการตัง้ ถิ่น ฐานของประชากรให้เ หมาะสมสอดคล้อ งกับ ศักยภาพ โอกาส และทรัพยากรธรรมชาติของพืน้ ที่ ๕.๒.๒ พัฒนาคุณภาพคนไทยให้ มีภมู ิ ค้มุ กันต่ อการเปลี่ยนแปลง โดยพัฒนาคุณภาพ คนไทยทุกช่วงวัย สนับสนุนกระบวนการเรียนรูส้ ่วู ฒ ั นธรรมการเกื้อกูล เสริมสร้างทักษะให้คนมีการเรียนรู้ ต่อเนื่องตลอดชีวติ การต่อยอดสู่นวัตกรรมความรู้ การฝึกฝนจนเกิดความคิดสร้างสรรค์ การเปิ ดใจกว้าง พร้อมรับทุกความคิดเห็น และการปลูกฝงั จิตใจที่มคี ุณธรรม มีระเบียบวินัย ควบคู่กบั การพัฒนาคนด้วย การเรียนรูใ้ นศาสตร์วทิ ยาการให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับแนวโน้มการ


จ้างงานในอนาคต รวมทัง้ การพัฒนาต่ อ ยอดตามศั กยภาพและความถนัด รวมทัง้ สร้างจิต ส านึกของ ประชาชนให้ม ีค วามรับ ผิด ชอบต่ อ สัง คม โดยสร้า งความตระหนัก ถึง การเคารพกฎหมาย หลัก สิท ธิ มนุษยชน การสร้างค่านิยมให้มพี ฤติกรรมการผลิตและบริโภคทีร่ บั ผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม การสร้างความรู้ ความเข้าใจและจิตสานึกในการอนุรกั ษ์พลังงาน เพื่อนาไปสู่การสร้างสังคมน่าอยู่ ๕.๒.๓ ส่ งเสริ มการลดปั จจัยเสี่ ยงด้ านสุขภาพอย่ างเป็ นองค์รวม โดยสร้างเสริมสุข ภาวะคนไทยให้มคี วามสมบูรณ์แข็งแรงทัง้ ร่างกายและจิตใจ โดยการพัฒนาความรูแ้ ละทักษะในการดูแล สุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และลดปจั จัยเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มผี ลต่อสุขภาพ รวมทัง้ มุ่ง สร้างกระบวนการมีส่ว นร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อ สุขภาพ การใช้ประโยชน์ จากยา สมุนไพรเพื่อการป้องกันและการรักษาเบือ้ งต้น และการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการสื่อสารสังคมเพื่อการ ส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก และพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให้มคี ุณภาพอย่างทัวถึ ่ ง โดยเฉพาะระบบ บริการขัน้ พื้นฐาน ควบคู่ก ับการส่งเสริมการแพทย์ทางเลือก การพัฒนาด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ การ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสุขภาพของประเทศ การพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้เหมาะสมทัง้ การผลิต การกระจายด้านสาธารณสุข ค่าตอบแทน และการอานวยความสะดวกในชีวติ ความเป็นอยู่เพื่อเป็ นสิง่ จูงใจ ให้บุคลากรมีการกระจายทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ การใช้มาตรการการเงินการคลังเพื่อสุขภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพ และยังยื ่ น ๕.๒.๔ ส่ งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิต โดยกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมการเรียนรูด้ ้วยการ สร้างกระแสสังคมให้การเรียนรูเ้ ป็ นหน้าทีข่ องคนไทยทุกคน สร้างนิสยั ใฝ่รู้ รักการอ่านตัง้ แต่วยั เด็ก และ ส่งเสริมการเรียนรูร้ ว่ มกันของคนต่างวัย ควบคู่กบั การส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และ สื่อทุกประเภทเป็ นแหล่งเรียนรูอ้ ย่างสร้างสรรค์ สื่อสารด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ส่งเสริมการศึกษาทางเลือก ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน สร้างปจั จัยสนับสนุ นให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ๕.๒.๕ เสริ มสร้างความเข้ มแข็งของสถาบันทางสังคม ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนนา ค่านิยมและวัฒนธรรมทีด่ งี ามของไทยเป็ นฐานในการพัฒนาคนและสังคม โดยส่งเสริมความเข้มแข็งของ สถาบันหลักทางสังคม พัฒนาบทบาทของสถาบันทางสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาคน และสร้างค่านิยมให้ คนไทยภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมไทย และยอมรับความแตกต่างของความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพื่อลด ปญั หาความขัด แย้งทางความคิด และสร้างความเป็ นเอกภาพในสัง คม ตลอดจนสร้างเครือข่ายความ ร่วมมือทางวัฒนธรรมร่วมกับประชาคมโลก โดยเฉพาะประชาคมอาเซียน เพื่อให้เกิดการไหลเวียนทาง วัฒนธรรมในรูป แบบการแลกเปลี่ย นเรียนรู้ เพื่อ ส่ งเสริม ความเข้าใจระหว่ างประชาชนในการเรียนรู้ ประวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารของกันและกัน ๕.๓ ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ งงาน เพื่อให้ ภาคเกษตรเป็นฐานการผลิตทีม่ นคงและเติ ั่ บโตอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถผลิตสินค้าเกษตร อาหารและ พลังงานทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และมีปริมาณเพียงพอกับ ความต้องการของตลาดในระดับราคาที่เหมาะสมและเป็ นธรรม พัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้างความ มันคงในอาชี ่ พและรายได้เกษตรกร สนับสนุ นครัวเรือนและองค์กรเกษตรกร ชุมชนและเกษตรกรให้ เข้มแข็งและสามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยังยื ่ น โดยมีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๓.๑ พัฒ นาทรัพ ยากรธรรมชาติ ที่ เป็ นฐานการผลิ ตภาคเกษตรให้ เข้ มแข็ง และ ยังยื ่ น รักษา ป้องกัน และคุ้มครองพื้นที่ท่มี ศี กั ยภาพทางการเกษตร สนับสนุ นให้เกษตรกรรายย่อยมี ทีด่ นิ เป็ นของตนเองหรือมีสทิ ธิทากินในที่ดนิ สนับสนุ นการกระจายการถือครองที่ดนิ อย่างเท่าเทียมและ


เป็ นธรรม โดยเร่งรัดให้มกี ารซื้อที่ดนิ จากเอกชนหรือบุคคลที่ถือครองจานวนมากและไม่ใช้ประโยชน์ เร่งรัดการจัดให้มอี งค์กรและระบบบริหารจัดการที่ดนิ ให้เป็ นรูปธรรมโดยเร็ว รวมถึงฟื้ นฟูคุณภาพของ ทรัพยากรดินให้มคี วามอุดมสมบูรณ์ บริหารจัดการน้าอย่างบูรณาการ และเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้น้ าภาค เกษตร เพื่อเป็ นปจั จัยสนับสนุ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตในภาคเกษตร ตลอดจนฟื้นฟูและส่งเสริมวิถี ชีวติ และวัฒนธรรมทางการเกษตรที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นเพื่อช่วยสร้าง ความสมดุลและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทงั ้ ดิน น้ า และป่าไม้อย่างยังยื ่ น ซึ่งจะเป็ นฐานการผลิตทาง การเกษตรต่อไปในอนาคต ๕.๓.๒ เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพและศักยภาพการผลิ ตภาคเกษตร รัฐควรให้ความสาคัญกับ การวิจยั และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนาของภาคเอกชน สนับสนุ นการผลิต ทางการเกษตรทีส่ อดคล้องกับสภาพพืน้ ที่ ควบคุมและกากับดูแลการนาเข้าและใช้สารเคมีทางการเกษตร ทีไ่ ด้มาตรฐาน และ สนับสนุนการใช้สารชีวภาพให้มากขึน้ พร้อมไปกับการปรับปรุงบริการขัน้ พืน้ ฐานเพื่อ การผลิตให้ทวถึ ั ่ ง อาทิ ศูนย์เ ครื่อ งจักรกลการเกษตร ศูนย์เรียนรู้และถ่ ายทอดเทคโนโลยีระดับชุมชน ส่งเสริมการผลิตที่คงไว้ซ่งึ ความหลากหลายของพันธุ์พืชและสัต ว์ท่เี หมาะสมกับสภาพภูมอิ ากาศและ สิง่ แวดล้อมของประเทศ และสนับสนุ นการทดลองวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีต่ างๆ อย่างต่ อเนื่องและ เหมาะสม พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ทีเ่ หมาะสมทางการเกษตร รวมทัง้ สนับสนุนการใช้เทคโนโลยีการผลิตทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมให้แก่เกษตรกรอย่างต่อเนื่องและทัวถึ ่ ง ๕.๓.๓ สร้างมูลค่ าเพิ่ มผลผลิ ตทางการเกษตรตลอดห่ วงโซ่ การผลิ ต โดยสนับสนุ น การผลิต และบริก ารของชุ ม ชนในการสร้า งมูล ค่ า เพิ่ม สิน ค้ า เกษตร อาหาร และพลัง งาน ส่ ง เสริม สถาบันการศึกษาในพืน้ ทีเ่ ข้ามาร่วมทาการศึกษาวิจยั กับภาคเอกชน ควบคู่กบั การใช้มาตรการด้านสิน เชื่อ ผ่อนปรนและด้านภาษี จูงใจเกษตรกรและผูป้ ระกอบการนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีการผลิต ที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม มาใช้ ประโยชน์ สนับสนุ นการยกระดับมาตรฐานระบบการผลิตและคุณภาพ สินค้าเกษตรและอาหาร ให้เทียบเท่าระดับสากล อาทิ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าเศรษฐกิจ ปศุสตั ว์ ตลอดจนสร้างแรงจูงใจให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรและอาหารตามมาตรฐานที่กาหนด ส่งเสริมระบบ ตลาดกลางสินค้าเกษตรและตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้ าให้เข้มแข็ง มีประสิทธิภาพ ส่งเสริม ภาคเอกชนและองค์กรชุมชนเข้ามามีบทบาทร่วมกันบริหารจัดการระบบสินค้าเกษตรและอาหาร การเพิม่ มูลค่า และการจัดการด้านการตลาด ร่วมกับสถาบันเกษตรกร สนับสนุ นการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพ ระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์ของภาคเกษตรที่เชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่อุปทานและสามารถตรวจสอบ การเคลื่อนย้ายของสินค้า ๕.๓.๔ สร้างความมันคงในอาชี ่ พ และรายได้ ให้ แก่ เกษตรกร พัฒนาระบบการสร้าง หลักประกันด้านรายได้ของเกษตรกรให้มคี วามมันคง ่ และให้ครอบคลุมเกษตรกรทัง้ หมด เร่งพัฒนาระบบ ประกันภัยพืชผลการเกษตร ให้สามารถคุ้มครองความเสี่ยงด้านการผลิตทางการเกษตรจากทุกภัยพิบตั ิ ให้กบั เกษตรกรในทุกพื้นที่ ส่งเสริมระบบการทาการเกษตรแบบมีพ ั นธสัญญาที่เ ป็ นธรรมแก่ ทุกฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง ยกระดับ คุณภาพชีวติ และความเป็ นอยู่ของเกษตรกรให้ดขี ้นึ สร้างแรงจูงใจให้เยาวชน หรือ เกษตรกรรุ่นใหม่ และแรงงานที่มคี ุณภาพเข้าสู่อาชีพเกษตรกรรม พัฒนาสถาบันเกษตรกรและวิสาหกิจ ชุมชนให้เป็ นกลไกสนับสนุ นการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรได้อย่างแท้จริง และเสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กบั เกษตรกรรายย่อยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการนาเข้าสินค้าเกษตรและอาหารทีม่ ตี ้นทุนต่ า อันเป็ นผล จากข้อตกลงการเปิดการค้าเสรี


๕.๓.๕ สร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพัฒนาพลังงานชี วภาพในระดับครัวเรือน และชุมชน ส่งเสริมให้มกี ารปลูกป่าโดยชุมชนและเพื่อชุมชนเพิม่ ขึน้ ส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเกษตร ด้วยระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สนับสนุ นการจัดการและเผยแพร่องค์ ความรูแ้ ละการพัฒนาด้านอาหารศึกษาทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องรวมทัง้ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคที่ เหมาะสมของบุคคลและชุมชน สนับสนุ นการสร้างเครือข่ายการผลิตและการบริโภคที่เกื้อกูลกันในระดับ ชุมชนที่อยู่บริเวณใกล้เคียงกัน สนับสนุ นการผลิตพลังงานทดแทนภายในชุมชน โดยพัฒนาองค์ความรู้ ด้านเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทน ทัง้ จากวัตถุดบิ เหลือใช้จากครัวเรือนและการเกษตร ส่งเสริมและ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานในพืน้ ทีใ่ ห้เป็ นเครื่องมือในการสร้างความเข้มแข็งด้านอาหารให้กบั เกษตรกรและ ชุมชนอย่างเป็นระบบ ๕.๓.๖ สร้างความมันคงด้ ่ านพลังงานชี วภาพเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศและ ความเข้มแข็งภาคเกษตร ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตพลังงานจากพืช พลังงาน จัดให้มรี ะบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรที่เป็ นทัง้ อาหารและพลังงาน เพิม่ ประสิทธิภาพการ ผลิตและการใช้พลังงานชีวภาพที่เกี่ยวเนื่องกับภาคการผลิตและบริการ เพื่อลดการพึ่งพาการใช้น้ ามัน เชือ้ เพลิง จัดให้มกี ลไกในการกากับดูแลโครงสร้างราคาของพลังงานชีวภาพ ทีไ่ ม่ส่งผลกระทบต่อการสร้าง เสถียรภาพและความเป็ นธรรมต่ อผู้บริโภคและผู้ผ ลิต ปลูกจิตสานึกในการใช้พลังงานชีว ภาพอย่างมี ประสิทธิภาพและคุม้ ค่า ๕.๓.๗ ปรับระบบบริ หารจัดการภาครัฐเพื่ อเสริ มสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและ พลังงาน สนับสนุ นบทบาทของเกษตรกร เครือข่ายปราชญ์ ชาวบ้าน ภาคเอกชน และชุมชนให้เข้ามามี ส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและวางแผนการผลิตทางการเกษตรเชื่อมโยงกับภาครัฐ รวมทัง้ ร่วมติดตาม ตรวจสอบการทางานของภาครัฐอย่างเป็ นระบบ ปรับระบบการทางานของหน่ วยงานรัฐให้มกี ารบูรณาการ อย่างจริงจังทัง้ ในส่วนกลางและระดับพื้นที่ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านอาหารและพลังงาน ตัง้ แต่การผลิต การตลาดไปจนถึงการบริโภคให้มคี วามถูกต้อง สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้โดยง่าย พัฒนากฎหมายที่เ กี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเกษตรเพื่อให้เอื้อ ต่อการพัฒนาอย่างยังยื ่ น ส่งเสริม ความร่ว มมือ ระหว่า งประเทศทัง้ ในระดับ พหุ ภาคีแ ละทวิภ าคี โดยเฉพาะประชาคมอาเซียน ในการ สนับ สนุ น การวิจยั และพัฒ นา ความร่ว มมือ ในการผลิต การตลาด การจัด ตัง้ ระบบส ารองข้า วฉุ ก เฉิ น ปรับปรุงกฎระเบียบ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั กลไกทีม่ อี ยู่ เพื่อให้เกิดความมันคงด้ ่ านอาหารและ พลังงาน ๕.๔ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิ จสู่การเติ บโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น เพื่อ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้าง ระบบการแข่งขันเสรีและเป็ นธรรม ให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับเครือข่ายด้านการผลิตสินค้าและ บริการบนฐานปญั ญา นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ในภูมภิ าคอาเซียน โดย มีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๔.๑ ปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จโดยใช้ เ ทคโนโลยี นวัต กรรม และความคิ ด สร้ างสรรค์ เป็ นพื้นฐานส าคัญ ในการขับเคลื่ อ นสู่การพัฒนาที่ ย งยื ั ่ นและมี คุณภาพ โดยปรับ โครงสร้างการค้า และการลงทุนให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเอเชีย ตะวันออกกลาง แอฟริกาและเศรษฐกิจภายในประเทศ โดยเสริมสร้างประสิทธิภาพด้านการตลาด การกระจายผลผลิตไปสู่ ตลาดใหม่ท่มี ศี ัก ยภาพ ผลัก ดันและเร่งรัดความตกลงการค้าเสรี ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยไปลงทุน


ต่ างประเทศ และส่ งเสริมวิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่อ มให้เ ติบโตอย่างมีคุ ณภาพ พร้อ มทัง้ ปรับ โครงสร้างภาคบริการให้สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ กับสาขาบริการทีม่ ศี กั ยภาพและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม บนฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม ฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเทีย่ วและการบริหารจัดการ ให้เกิดความสมดุลและยังยื ่ น พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พัฒนาภาคเกษตรบนฐานการเพิม่ ผลิตภาพใน การผลิตและยกระดับการสร้างมูลค่าเพิม่ ด้วยเทคโนโลยีและกระบวนการทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม พัฒนา ภาคเกษตรบนฐานการเพิ่มผลิต ภาพในการผลิต และยกระดับการสร้างมูล ค่ าเพิ่มด้ว ยเทคโนโลยีและ กระบวนการที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม พัฒนาภาคอุตสาหกรรมที่มุ่งการปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมให้ ยังยื ่ นและมีคุณภาพ ด้วยการเน้นการใช้ความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ สู่ อุตสาหกรรมฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์ เป็ นมิตรต่อ สิง่ แวดล้อม และมีความเชื่อมโยงกับอุ ตสาหกรรม ท้องถิ่น โดยสร้างกระบวนการวิจยั และพัฒนาตัง้ แต่ต้นน้ า (ระบบการศึกษา) จนถึงปลายน้ า(พัฒนา ผลิตภัณฑ์) และนาไปสู่การจดทะเบียนลิขสิทธิ ์และทรัพย์สนิ ทางปญั ญา เพื่อให้เศรษฐกิจไทยก้าวเข้าสู่ยุค ของการใช้เทคโนโลยีและทุนทางปญั ญาเป็ นตัวนา ๕.๔.๒ พัฒนาระบบการแข่ งขันที่ มีประสิ ทธิ ภาพ เท่ าเที ยม และเป็ นธรรม พัฒนา ปจั จัยการผลิตให้เอื้อต่ อ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจโดยพัฒนาตลาดเงินและตลาดทุน ได้แก่ พัฒนา สถาบันการเงินให้มเี สถียรภาพ ประสิทธิภาพ มีระบบกากับดูแลระบบบริหารความเสี่ยงที่เข้มงวด และ ครอบคลุมมากขึ้น ให้บริการประชาชนและธุรกิจอย่างทังถึ ่ ง พัฒนาศักยภาพของระบบการเงินฐานราก และสร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องวินัยการเงินแก่ประชาชน พัฒนากาลังแรงงานและตลาดแรงงาน ให้สมดุลกับภาคการผลิตและบริการ ทัง้ ในด้านขีดความสามารถ ความเชีย่ วชาญ และจานวนทีส่ อดคล้อง กับตลาดแรงงาน พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัต กรรม ที่เ น้ นการนาความคิด สร้างสรรค์ ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา วิจยั และพัฒนา ไปต่ อยอด ถ่ ายทอด และประยุก ต์ใ ช้ทงั ้ เชิง พาณิชย์ สังคม และชุมชน พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิส ติกส์ โดยผลักดันการพัฒนาด้านการขนส่ ง ต่อเนื่องหลายรูปแบบ ปรับปรุงประสิทธิภาพการบริหารจัดการ พัฒนาระบบขนส่งทางรถไฟ ปรับปรุง พัฒนาโครงข่ายขนส่งมวลชนให้ทนั สมัย และสอดคล้องกับการขยายตัวของเมืองและการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีท่ นั สมัย พัฒนาศักยภาพการให้บริการ น้ าอุปโภคบริโภคทัง้ ปริมาณและคุณภาพที่มมี าตรฐานสากลทัง้ ใน เขตเมืองและพื้นที่ชนบท ตลอดจน สร้างความมันคงด้ ่ านพลังงาน การใช้พลังงานสะอาด พัฒนาพลังงานทางเลือกต่างๆ กากับดูแลให้มรี าคา ทีเ่ หมาะสม เป็นธรรม และปฏิรปู กฎหมาย และกฎ ระเบียบต่างๆ ทางเศรษฐกิจทีเ่ กี่ยวข้องให้เอื้อต่อ การเพิม่ ประสิทธิภาพการแข่งขัน ๕.๔.๓ บริ หารจัดการเศรษฐกิ จส่ วนรวมอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ โดยการบริหารจัดการ ด้านการเงิน โดยดาเนินนโยบายการเงินทีม่ คี วามเหมาะสมกับสถานการณ์แวดล้อมและทันต่อเหตุการณ์ เพิม่ บทบาทตลาดทุนในระบบเศรษฐกิจ ปรับปรุงโครงสร้างพืน้ ฐานทางการเงิน พัฒนากลไกการเฝ้าระวัง ความผันผวนทางเศรษฐกิจและพัฒนาระบบเตือนภัยแบบองค์รวม เพิม่ ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ เงินทุนระหว่างประเทศ เพิม่ บทบาทของสกุลเงินเอเชียในตลาดระหว่างประเทศ รักษาระดับการออมและ การลงทุน (ดุลบัญชีเดินสะพัด) ของประเทศให้เหมาะสมกับการเติบโตทางเศรษฐกิจ และอยู่ในระดับที่ สามารถป้องกันความเสี่ยงจากวิกฤตในอนาคตได้ บริหารจัดการด้านการคลัง โดยปรับปรุงระบบการ จัดเก็บรายได้ของประเทศ เพิม่ ประสิทธิภาพของการจัดสรรและการบริหารงบประมาณ ป้องกันความเสีย่ ง ทางการคลัง พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เสริมสร้างความเข้มแข็งทางการคลังของ ภาคองค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ ๕.๕ ยุท ธศาสตร์ก ารสร้ า งความเชื่ อ มโยงกับประเทศในภูมิภ าคเพื่ อ ความมันคงทาง ่ เศรษฐกิ จและสังคม มุ่งเพิม่ ศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบด้านทีต่ งั ้ ของประเทศในเชิง ยุทธศาสตร์ ซึง่ เป็ นจุดเชื่อมโยงทีส่ าคัญในภูมภิ าคอาเซียนและเอเชียแปซิฟิก เสริมสร้างประโยชน์ของไทย ในด้านการค้า การลงทุน การเงินและโอกาสด้านการตลาดระหว่างประเทศ ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน รวมทัง้ เชื่อมโยงด้านการค้าการลงทุนกับมหาอานาจทางเศรษฐกิจใหม่ในเอเชียและกลุ่มเศรษฐกิจใหม่ใ น


เอเชียแปซิฟิก รวมทัง้ ผลักดันบทบาทของไทยให้เป็ นส่วนสาคัญของความร่วมมือในการพัฒนาภายใต้ กรอบต่างๆ ได้แก่ อนุภมู ภิ าค อาเซียน อาเซียนและพันธมิตร รวมทัง้ เอเชียแปซิฟิก โดยมีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๕.๑ พัฒนาความเชื่ อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิ สติ กส์ภายใต้ กรอบความ ร่ ว มมื อ ในอนุ ภ ู มิ ภ าคต่ า งๆ โดยพั ฒ นาบริก ารขนส่ ง และโลจิส ติ ก ส์ ท่ี ม ีป ระสิ ท ธิ ภ าพและได้ มาตรฐานสากล ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่งคนและสินค้าทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อลดจานวนเอกสาร ต้นทุนการ ดาเนินงาน และระยะเวลาที่ใช้ในกระบวนการขนส่งผ่านแดนและข้ามแดน พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการ ขนส่งและโลจิสติกส์ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของภาคเอกชนไทยทัง้ ในด้านทักษะภาษาต่างประเทศ และความรู้ ด้านการบริหารจัดการโลจิสติกส์ และเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจตามแนวพืน้ ทีช่ ายแดน/เขตเศรษฐกิจ ชายแดน ตลอดจนเชื่อมโยงระบบการผลิตกับพืน้ ทีต่ อนในของประเทศ ๕.๕.๒ พัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันในอนุภมู ิ ภาค โดย พัฒนาพื้นที่ในภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและภูมภิ าคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ เพื่อเป็นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตรและการแปรรูปการเกษตร และการท่องเทีย่ ว ในภูมภิ าค พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนให้มบี ทบาทการเป็ นประตูเชื่อมโยงเศรษฐกิจ กับประเทศ เพื่อนบ้าน ทัง้ พื้นทีเ่ ศรษฐกิจชายแดนทีพ่ ฒ ั นาต่อเนื่องและพืน้ ทีใ่ หม่ โดยเฉพาะการพัฒนา ระบบคมนาคมขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ มาตรฐานการให้บริการและอานวยความสะดวกบริเวณจุดผ่านแดน และบูรณาการแผนพัฒนาพืน้ ทีเ่ ชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน ๕.๒.๓ สร้ า งความพร้ อ มในการเข้ า สู่ ป ระชาคมอาเซี ย น โดยพัฒ นาความร่ ว มมือ ระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนทีม่ ศี กั ยภาพในการร่วมพัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ ภาค การผลิต อุตสาหกรรมแปรรูป รวมทัง้ ผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) เสริมสร้างความ เข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทัง้ ของรัฐและเอกชนให้มมี าตรฐานเป็ นทีย่ อมรับในระดับสากล ตลอดจนการ ยกระดับทัก ษะฝี มอื แรงงาน ทัก ษะด้านภาษาและความรอบรู้ด้านภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีและ วัฒนธรรม และกาหนดมาตรฐานขัน้ พื้นฐานของคุณภาพสินค้าและบริการ เพื่อป้องกันสินค้าและบริการ นาเข้าทีไ่ ม่ได้คุณภาพทัง้ ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ๕.๒.๔ เข้าร่วมเป็ นภาคีความร่วมมือระหว่างประเทศระหว่างภูมิภาคโดยมีบทบาทที่ สร้างสรรค์ เพื่อเป็ นทางเลือกในการดาเนิ นนโยบายระหว่างประเทศในเวที โลก โดยรักษาบทบาท ของไทยในการมีส่วนร่วมกาหนดยุทธศาสตร์ของกรอบความร่วมมือที่ดาเนินอยู่ เช่น เอเปค กรอบการ ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก รวมทัง้ เฝ้าติดตามพัฒนาการและพิจารณาเข้าร่วมกรอบที่เป็ นทางเลือก ใหม่ รักษาดุลยภาพของปฏิสมั พันธ์กบั มหาอานาจทางเศรษฐกิจเดิมและมหาอานาจใหม่ เพื่อความมันคง ่ ทางเศรษฐกิจของประเทศอย่างยังยื ่ น โอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรม และโอกาสในการดาเนินนโยบายทาง เศรษฐกิจทีเ่ ปิดกว้าง ๕.๒.๕ สร้างความเป็ นหุ้นส่ วนทางเศรษฐกิ จในภูมิภาคด้ านการพัฒ นาทรัพยากร มนุษย์ การเคลื่อนย้ายแรงงาน และการส่งเสริ มแรงงานไทยในต่ างประเทศ โดยเร่งดาเนินการด้าน การยอมรับมาตรฐานฝี มอื ระหว่ างประเทศเพื่อ อ านวยความสะดวกการเคลื่อ นย้า ยแรงงาน ส่ งเสริม ผูป้ ระกอบการไทยในการขยายการลงทุนไปสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อแก้ปญั หา การขาดแคลนแรงงานและวัตถุดบิ ในประเทศ และใช้ประโยชน์จากสิทธิพเิ ศษ (GSP) ของประเทศเพื่อน


บ้านในการผลิตเพื่อส่งออก และคุม้ ครองและส่งเสริมสิทธิและผลประโยชน์ของคนไทยและแรงงานไทยใน ต่างประเทศ และสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนไทยในต่างประเทศ ๕.๒.๖ มีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการป้ องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยาเสพติ ด ภัยพิ บตั ิ และการแพร่ระบาดของโรคภัย โดยพัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการป้องกัน ั หาข้ า มชาติ ด้ า นการก่ อ การร้ า ย ป ญ ั หายาเสพติ ด และการหลบหนี เ ข้ า เมือ งทัง้ ระบบ และแก้ ป ญ เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม รั บ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติและเหตุฉุกเฉิน โดยพัฒนาศักยภาพและความร่วมมือภายในภูมภิ าค เพื่อพร้อมรับ ต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินและภัยทางธรรมชาติ และร่ วมมือในการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของ โรคภัย ประเภทที่เ กิด ขึ้น ใหม่ ใ นโลก โดยสร้า งศัก ยภาพในการเตรีย มความพร้อ มรับ การดู แ ลด้า น สาธารณสุข รวมทัง้ การแพร่ระบาดของโรคอุบตั ใิ หม่และโรคระบาดซ้า ๕.๒.๗ เสริ มสร้างความร่วมมือที่ ดีระหว่างประเทศในการสนับสนุนการเจริ ญเติ บโต ทางเศรษฐกิ จอย่างมีจริ ยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม โดยดาเนินการตามกรอบความ ร่ว มมือ ด้านสิ่งแวดล้อ มในระดับอนุ ภูมภิ าค อาทิ แผนงานด้านสิ่งแวดล้อ มและความหลากหลายทาง ชีวภาพ ภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง ๖ ประเทศ และความร่วมมือซึ่งการพัฒนา แม่น้ าโขงอย่างยังยื ่ น และระดับภูมภิ าค และเสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการทีน่ าสู่การลด ก า ร ป ล่ อ ย ก๊ า ซ เ รื อ น ก ร ะ จ ก ลดมลพิษ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม ๕.๒.๘ เร่งรัดการใช้ ประโยชน์ จากข้อตกลงการค้ าเสรีที่มีผลบังคับใช้ แล้ว โดยสร้าง องค์ความรูใ้ ห้กบั ภาคธุรกิจโดยเฉพาะผูไ้ ด้รบั ผลกระทบทัง้ เชิงบวกและลบเพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพ และโอกาสของตนเองในการใช้ประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมได้รบั การสนับสนุ น เยียวยาและดูแลจากรัฐในกรณีทไ่ี ม่สามารถปรับตัวได้ทนั ๕.๒.๙ ปรับปรุง และเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ง ของภาคี การพัฒ นาภายในประเทศ ตัง้ แต่ระดับชุมชนท้องถิ่ น ให้พร้อมต่อการเชื่อมโยงทิศทางการพัฒนาทีเ่ ปลีย่ นแปลงในบริบทโลก เอเชีย แปซิฟิก อาเซียน และอนุภมู ภิ าค โดยเสริมสร้างศักยภาพชุมชนท้องถิน่ ให้รบั รูแ้ ละเตรียมพร้อมรับกระแส การเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ สนับสนุ นกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ โดยเฉพาะ คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณา การ (กบก.) คณะกรรมการ กรอ. จังหวัด และคณะกรรมการ กรอ. กลุ่มจังหวัด รวมทัง้ หน่ วยงานด้าน ความมันคงในพื ่ น้ ที่ ในการกาหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัด ชายแดน ให้มวี ิส ยั ทัศ น์ ท่กี ้าวทัน โลกและสามารถพัฒนาเชื่อ มโยงกับประเทศเพื่อ นบ้า นในทิศ ทางที่ สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาร่วมกันระหว่างประเทศ และส่งเสริมศักยภาพด้านวิชาการและเครือข่าย ข อ ง ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย เพื่อสร้างความใกล้ชดิ ทางสังคม วัฒนธรรม และปฏิสมั พันธ์กบั ประเทศในอนุภมู ภิ าค ๕.๖ ยุท ธศาสตร์การจัด การทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ างยังยื ่ น โดยการ อนุ รกั ษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้เพีย งพอต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศ และ เป็ นฐานที่มนคงของการพั ั่ ฒนาประเทศ ขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพื่อให้ประเทศก้าวไปสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่า สร้างภูมคิ ุม้ กัน และเตรียมความพร้อมในการรองรับและ ปรับตัวต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และประเด็นสิง่ แวดล้อมโลก สร้างความเป็ น ธรรมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ และมีการคุม้ ครองรักษาผลประโยชน์ของประเทศ จากข้อตกลงและพันธกรณีระหว่างประเทศ โดยมีแนวทางสาคัญ ดังนี้ ๕.๖.๑ อนุ ร ัก ษ์ ฟื้ นฟู และสร้ า งความมัน่ คงของฐานทรัพ ยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อม โดยคุม้ ครอง ป้องกัน รักษา ฟื้ นฟูพน้ื ที่ป่าไม้ และเขตอนุ รกั ษ์ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบ


สารสนเทศภู ม ิศ าสตร์ และการจัด การองค์ค วามรู้ เพื่อ ใช้เ ป็ น เครื่อ งมือ ในการวางแผนและพัฒ นา ประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ปรับปรุงการบริหารจัดการทีด่ นิ ทัง้ ระบบ กระจายการถือครองทีด่ นิ ให้เกิด ความเป็ นธรรม เร่งรัดพัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพดินเพื่อสนับสนุ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตการเกษตร แ ล ะ ค ว า ม มั ่ น ค ง ท า ง อ า ห า ร วางระบบการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝงั ่ เร่ง รัดการบริหารจัดการน้ าแบบบูรณาการ เพื่อสนับสนุ นความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน และลดปญั หาน้ าท่วม น้ าแล้งได้อย่างยังยื ่ น พัฒนา ปรับ ปรุง และฟื้ น ฟู แ หล่ งน้ า เพื่อ เพิ่ม ปริมาณน้ าต้นทุ นในแหล่ งน้ าที่ม ีศ ักยภาพในการกัก เก็บ น้ า เพื่อ สนับสนุนการสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานแก่ประเทศ พัฒนาและส่งเสริมให้เกิดการใช้น้ าอย่าง มีป ระสิท ธิภ าพ คุ้ ม ค่ า และไม่ส่ ง ผลกระทบต่ อ สิ่ง แวดล้อ ม จัด ท าแผนแม่บ ทโครงสร้า งพื้น ฐานด้า น ทรัพ ยากรน้ าเพื่อ การอุปโภค บริโภคอย่างเป็ นระบบ ส่ งเสริมการอนุ รกั ษ์ ใช้ประโยชน์ จากทรัพยากร ชีวภาพ และแบ่งปนั ผลประโยชน์อย่างเป็นธรรม ๕.๖.๒ ปรับกระบวนทัศน์ การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นเศรษฐกิ จ และสังคมคาร์บอนตา่ และเป็ นมิ ตรกับสิ่ งแวดล้อม โดยปรับโครงสร้างการผลิตของประเทศสู่เศรษฐกิจ คาร์บอนต่าและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในภาคขนส่ง เพื่อลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจก พัฒนาเมืองทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อมเน้นการวางผังเมืองที่ผสมผสานวัฒนธรรม สังคม ระบบ นิเวศเข้าด้วยกัน ปรับพฤติกรรมการบริโภคสู่สงั คมคาร์บอนต่าทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ๕.๖.๓ ยกระดับ ขี ด ความสามารถในการรับ มื อ และปรับ ตัว ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง สภาพภูมิอากาศ เพื่อให้ สงั คมมีภมู ิ ค้ มุ กัน โดยพัฒนาองค์ความรูเ้ กี่ยวกับผลกระทบ และการปรับตัว รองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ พัฒนาเครื่องมือในการบริหารจัดการเพื่อรับมือกับความท้าทาย จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมอิ ากาศ ๕.๖.๔ เตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิ บตั ิ ทางธรรมชาติ โดยจัดทาแผนที่เพื่อ บ่งชี้พ้นื ที่เ สี่ยงภัยทัง้ ในระดับประเทศ ภูมภิ าคและจังหวัด และจัดล าดับความเสี่ยงพื้นที่เ สี่ยง พัฒนา ยกระดับการจัดการภัยพิบตั ใิ ห้มปี ระสิทธิภาพ สามารถรองรับแนวโน้มการเกิดภัยพิบตั ทิ ร่ี ุนแรงในอนาคต พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม ส่ งเสริมการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดา้ น ก า ร จั ด ก า ร ภัยพิบตั ิ วางระบบเพื่อส่งเสริมการดาเนินงานของภาคส่วนต่างๆ พัฒนาระบบงานอาสาสมัครของประเทศ อย่างจริงจัง และมีมาตรฐานตามหลักสากล สนับสนุนภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงเรียน และท้องถิน่ ให้มกี ารเตรียมความพร้อม จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารรองรับภัยพิบตั ิ การอพยพ วางระบบปฏิบตั กิ ารสารองใน ระดับองค์กร และการฝึกซ้อมรับมือภัยพิบตั อิ ย่างสม่าเสมอ ๕.๖.๕ สร้างภูมิค้ ุมกันด้ านการค้ าจากเงื่ อนไขด้ านสิ่ ง แวดล้ อมและวิ กฤตจากการ เปลี่ ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยติดตามและเฝ้าระวังมาตรการการอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมที่อาจส่งผล กระทบต่อการค้าและการลงทุน เตรียมมาตรการรองรับผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ จากมาตรการทางการค้าและ ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิง่ แวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ศึกษาผลกระทบและ ก า ห น ด แ ผ น กลยุทธ์รายสินค้า รวมทัง้ กาหนดมาตรการเยียวยาในสินค้าและธุ รกิจทีเ่ กี่ยวข้อง ส่งเสริ มให้ ผ้สู ่งออกทา คาร์บอนฟุตพริ้นต์ สร้างแรงจูงใจให้เกิ ดอุตสาหกรรมใหม่ๆ


๕.๖.๖ เพิ่ มบทบาทประเทศไทยในเวที ประชาคมโลกที่ เกี่ยวข้องกับกรอบความตก ลงและพันธกรณี ด้านสิ่ งแวดล้ อมระหว่ างประเทศ โดยศึกษารายละเอียดและสร้างความเข้าใจของ พันธกรณี รวมทัง้ ติดตามสถานการณ์การเจรจาและท่าทีของประเทศต่างๆ สร้างความพร้อมและพัฒนา บุคลากรของหน่ วยงานภาครัฐเพื่อเสริมสร้างเทคนิคการเจรจา พัฒนาความร่วมมือในกลุ่มอาเซียน และ ประเทศคู่ ค้ า ส าคัญ สนั บ สนุ น การด าเนิ น งานตามพัน ธกรณี แ ละข้ อ ตกลงระหว่ า งประเทศด้ า น ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๕.๖.๗ ควบคุมและลดมลพิ ษ เพื่อสร้างคุณภาพสิง่ แวดล้อมที่ดใี ห้กบั ประชาชนโดยลด ปริมาณมลพิษทางอากาศ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดการขยะและน้ าเสียชุมชน พัฒนาระบบการจัดการของ เสียอันตราย ขยะอีเล็กทรอนิกส์ และขยะติดเชื้อ ลดความเสี่ยงอันตราย การรัวไหล ่ และการเกิด อุบตั ภิ ยั จากสารเคมี พัฒนาระบบเตือนภัย แจ้งเหตุฉุกเฉิน และระบบการจัดการเมือ่ เกิดอุบตั ภิ ยั ด้านมลพิษ ๕.๖.๘ พัฒ นาระบบการบริ ห ารจัด การทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มให้ มี ประสิ ทธิ ภาพ โปร่งใสและเป็ นธรรมอย่ างบูรณาการ โดยพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง และส่งเสริมสิทธิ ชุมชนในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยังยื ่ น สนับสนุ นกระบวนการมีส่วน ร่ว มและพัฒ นาศัก ยภาพของท้อ งถิ่น และชุ ม ชน ปรับ ปรุง กฎหมายให้ส อดคล้อ งกับ สถานการณ์ ก าร เปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมและบังคับใช้อย่างเสมอภาคเป็ นธรรม

การบริหารจัดการแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ

๖.๑ หลักการ ได้แก่ ๑) ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯในทุกระดับ เป็ นกรอบ ทิศทางหลักในการพัฒนาประเทศ และแปลงสู่การปฏิบตั ใิ นระดับต่างๆ ทีส่ อดคล้องกับสภาพภูมสิ งั คม ๒) กระจายการพัฒนาลงสู่พ้นื ที่โดยตรง โดยยึดหลักการพัฒนาพื้นที่ ภารกิจ และการมีส่วนร่วม ให้จงั หวัด เป็ นพื้นที่ดาเนินการขับเคลื่อนการพัฒนา และเป็ นจุดเชื่อมโยงการพัฒนาจากระดับชุมชนสู่ประเทศและ ประเทศสู่ชุมชน ๓) เพิม่ การใช้องค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ให้เป็ นเครื่องมือ หลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกภาคส่วนในระดับพื้นที่ ท้องถิน่ และชุมชน และ ๔) ใช้กลไกและ เครื่องมือการพัฒนาของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน และสื่อมวลชนอย่างบูรณาการเพื่อให้ การขับเคลื่อนเกิดประสิทธิภาพโดยกระบวนการสร้างเครือข่ายหรือคลัสเตอร์ ๖.๒ แนวทางการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิ บตั ิ ๖.๒.๑ สร้างความรู้ความเข้ าใจให้ ทุกภาคส่ วนตระหนั กถึงความสาคัญและพร้อม เข้าร่วมในการผลักดันแผนฯ ๑๑ ไปสู่การปฏิ บตั ิ โดยจัดทาแนวทางการสื่อสารประชาสัมพันธ์ให้ทุก ภาคส่ ว นตระหนั ก และยอมรับ แผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ และสร้า งความเข้า ใจให้ ภ าคการเมือ งใน เป้าประสงค์และแนวทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ และผลักดันให้ภาคการเมืองนาประเด็นการพัฒนา สาคัญไปผสมผสานในการจัดทานโยบาย รวมทัง้ จัดทาคู่มอื การแปลงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เผยแพร่ให้ ภาคีการพัฒนารับรู้ ๖.๒.๒ สร้ า งความเชื่ อ มโยงระหว่ า งแผนฯ ๑๑ นโยบายรัฐ บาล แผนการบริ ห าร ราชการแผ่นดิ น และแผนระดับอื่นๆ โดยกาหนดประเด็นการพัฒนาสาคัญภายใต้ยุทธศาสตร์ของแผน


ฯ ๑ ๑ ที่เสนอต่อสาธารณะอย่างชัดเจน อาทิ สังคมสงบสุข ภาคเกษตรเข้มแข็ง เศรษฐกิจสีเขียว เศรษฐกิจ สร้างสรรค์ บูรณาการประเด็นการพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์ทม่ี คี วามเชื่อมโยงกั น และจัดทาเป็ นแผนการ ลงทุนหรือแผนพัฒนาเฉพาะด้านทีต่ อบสนองการพัฒนาในหลายมิติ เชื่อมโยงแนวคิดพืน้ ฐาน ยุทธศาสตร์ ประเด็นพัฒนาสาคัญ และแผนพัฒนาเฉพาะด้านภายใต้แผนฯ ๑๑ เข้ากับนโยบายรัฐบาล แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน และแผนระดับต่างๆ จัดทายุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณแบบมีส่วนร่วม โดยบูรณา การสาระสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ และการจัดสรรงบประมาณที่สอดคล้องกัน รวมถึงกาหนด แนวทางจัดสรรงบประมาณสนับสนุ นแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่ มจังหวัด และท้อ งถิ่นภายใต้แนวทางการ พัฒนาภาคที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ผลักดันให้ภาคเอกชนนาประเด็นการพัฒนาสาคัญใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ พิจารณาประกอบการจัดทาแผนการลงทุนทางธุรกิจ ๖.๒.๓ สร้างสภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่ อการขับเคลื่อนแผนของภาคี การพัฒนาต่ างๆ นาการวิจยั เป็นเครือ่ งมือในการขับเคลื่อนการพัฒนา ปรับปรุงกฎหมายต่างๆ ให้เอื้อต่อการขับเคลื่อนการ พัฒนา นาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็ นเครื่องมือในการสื่อสาร จัดทาฐานข้อมูลทีภ่ าคส่วนต่างๆ เข้าถึง และใช้ประโยชน์ ได้ง่าย สร้างช่องทางให้ประชาสังคมมีโอกาสแสดงความคิดเห็นและร่วมกิจกรรมการ พัฒนา ๖.๒.๔ เพิ่ มประสิ ท ธิ ภาพกลไกรับผิ ด ชอบการขับเคลื่ อนแผนฯ ที่ ชดั เจน สามารถ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ โดย เชื่อ มโยงคณะกรรมการระดับชาติท่มี อี ยู่นาแผนฯ ๑๑ มาเป็ นกรอบดาเนินงานอย่างเป็ นรูปธรรม ให้ จั ง ห วั ด เ ป็ น จุดประสานการพัฒนาระดับพื้นที่ ประสานและผลักดันกลไกนอกภาครัฐมีส่วนร่วมขับเคลื่อนแผนฯ มาก ขึน้ ๖.๒.๕ เสริ มสร้างบทบาทของทุกภาคส่วนให้ สามารถขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ได้ อย่ างมีประสิ ทธิ ภาพ อาทิ พัฒนาศักยภาพประชาชนให้มบี ทบาทสาคัญในกระบวนการพัฒนา สร้างความเข้มแข็งของชุมชนให้พ ร้อมรับมือกับความเปลี่ยนแปลง เสริมสร้างความเข้มแข็งให้องค์กร ปกครองส่ ว นท้อ งถิ่นทุก รูปแบบ ผลัก ดันให้ส ถาบันการศึกษาในพื้นที่เข้าร่ว มพัฒนาชุมชนให้มากขึ้น สนับสนุ นให้เอกชนมีบทบาทนาในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมที่ดี ปรับบทบาทภาครัฐทัง้ ทัศนคติ และวิธกี ารดาเนินงาน ๖.๒.๖ ติ ด ตามประเมิ น ผลแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ ติด ตามความก้ า วหน้ า การ ประเมินผลสาเร็จและผลกระทบของการดาเนินงานอย่างต่อเนื่องตามประเด็นการพัฒนายุทธศาสตร์และ ผลการพัฒนาในภาพรวม พัฒนากลไกการติดตามประเมินผลแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ทัง้ การติดตาม ประเมินผลการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ใิ นภาพรวม การติดตามประเมินผลการ พัฒ นาระดับพื้น ที่ และการตรวจสอบของภาคประชาชนให้เ ข้ม แข็ง โดยสนับสนุ นให้ภ าคประชาชน รวมกลุ่ มติดตามความก้าวหน้ า ตรวจสอบความโปร่งใสและความสาเร็จของโครงการต่ างๆ ตลอดจน พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เชื่อมโยงเป็ นเครือข่ายในทุกระดับ ทัง้ ฐานข้อมูลระดับภาพรวมและระดับพืน้ ที่


บ ท ที่ ๑ การประเมินสถานการณ์ ความเสี่ยง และการสร้างภูมิค้มุ กัน ของประเทศ ๑ การพัฒ นาประเทศในช่ วงแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑ – ๑๐ (พ.ศ.๒๕๐๔– ๒๕๕๔) การจัดทาแผนพัฒนาประเทศของไทยนับตัง้ แต่แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ จนถึงแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ มีพฒ ั นาการมาอย่างต่อเนื่องภายใต้สถานการณ์และเงื่อนไข รวมทัง้ การเปลี่ยนแปลงในมิตติ ่างๆ ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ ในช่วงของแผนพัฒนาฯฉบับที่ ๘ การพัฒนาประเทศอยู่ภายใต้กระแส โลกาภิวตั น์ จึงเป็ นจุดเปลีย่ นกระบวนทัศน์ของการวางแผนทีย่ ดึ “คนเป็ นศูนย์กลางการพัฒนา” ตาม แนวพระราชดารัส “เศรษฐกิ จพอเพี ย ง” มี “การพัฒ นาแบบองค์รวม” และเริม่ ให้ค วามสาคัญ กับ กระบวนการมีส่วนร่วมของภาคีการพัฒนา ต่อมาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ได้น้อมนาหลัก ปรัช ญาของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งเป็ นปรัช ญาน าทางในการพัฒ นาและบริ ห ารประเทศ ส าหรับ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ๒๕๕๔) เป็ นแผนยุทธศาสตร์ช้ีนาทิศทางการปรับตัวของ ประเทศเพื่อ รองรับการเปลี่ยนแปลงในระยะ ๑๐ – ๑๕ ปี ข้างหน้ า และยังคงอัญเชิญ “ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็ นแนวปฏิบตั ใิ นการพัฒนาแบบบูรณาการ เป็ นองค์รวมที่ม ี “คนเป็ นศูนย์กลาง การพัฒนา” ต่อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ และ ๙ มุ่งการเชื่อมโยงและประยุกต์ใช้ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงในการกาหนดกรอบยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศให้ชดั เจน และผลักดันการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์สาคัญสู่การปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมในระยะ ๕ ปีของแผนฯ ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ สังคมไทยได้นาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ อย่างกว้างขวางในทุกภาคส่วน ภาครัฐกาหนดไว้ในนโยบายและจัดทาแผนงาน โครงการต่างๆ รองรับ จ านวนมาก การลงทุ น ในโครงการขนาดใหญ่ ค านึ ง ถึง เหตุ ผ ลและมีก ารบริห ารความเสี่ย งอย่ า งมี ประสิทธิภาพ ขณะทีภ่ าคเอกชนทัง้ ธุรกิจขนาดย่อมและขนาดใหญ่หลายแห่ง รวมทัง้ เกษตรกรได้ทบทวน และปรับกลยุทธ์การลงทุนเพื่อให้ธุรกิจมีภูมคิ ุม้ กันจากความเสี่ยง ภาคประชาชนและชุมชนมีการปรับวิถี การดารงชีวติ ให้สามารถพึ่งพาตนเองมากขึน้ การยึดมันและปรั ่ บใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถสร้างภูมคิ ุ้มกันให้กบั ประชาชน ชุมชน ตลอดจนประเทศชาติ ประเทศไทยสามารถปรับตัวรับกับ ภาวะวิก ฤตเศรษฐกิจ โลกได้อ ย่า งมีป ระสิท ธิภ าพ ความอยู่เ ย็น เป็ น สุ ข ของคนไทยโดยรวมไม่ไ ด้ร บั ผลกระทบ ดัชนีความอยู่เ ย็นเป็ นสุขในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ อยู่ระหว่างร้อยละ ๖๕ – ๖๗ ใกล้เคียงกับร้อยละ ๖๖ ในปี ๒๕๔๙ ซึง่ เป็ นปี สุดท้ายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ โดยปจั จัยด้านเศรษฐกิจที่ เข้มแข็ง การมีงานทา และสุขภาวะส่งผลต่อความอยูเ่ ย็นเป็นสุข ผลการพัฒ นาประเทศในระยะแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ บรรลุ ค วามส าเร็จ ที่ น่ าพอใจ เศรษฐกิ จของประเทศไทยเข้มแข็ง และมีภมู ิ ค้มุ กัน สามารถรับมือกับวิกฤตเศรษฐกิจการเงินโลกและ วิกฤตการเมืองภายในประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ เศรษฐกิจเริม่ เติบโตอย่างมีคุณภาพ การขยายตัว


เพิม่ ขึน้ เป็นร้อยละ ๗.๘๐ ในปี ๒๕๕๓ หลังจากชะลอตัวอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ ๕.๐๙ ในปี ๒๕๔๙ และ หดตัวลงร้อยละ ๒.๓๓ ในปี ๒๕๕๒ สอดคล้องกับผลิตภาพการผลิตรวมที่ขยายตัวเพิม่ ขึ้นเป็ นร้อยละ ๕.๐๘ ในปี ๒๕๕๓ หลังจากชะลอตัวลงจากร้อยละ ๒.๔๑ ในปี ๒๕๔๙ และหดตัวลงร้อยละ ๔.๒๘ ในปี ๒๕๕๒ อย่างไรก็ต ามความสามารถในการพึ่ง พาตนเองทางเศรษฐกิจ เริม่ ลดลง สัด ส่ ว นการออมต่ อ ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทีล่ ดลงอย่างต่อเนื่องจาก ร้อยละ ๓๒.๗๖ ในปี ๒๕๕๐ เป็ นร้อยละ ๒๙.๕๙ ในปี ๒๕๕๒ สะท้อนว่าการออมในประเทศอาจมีไม่เพียงพอต่อความต้องการลงทุนในประเทศในอนาคต นอกจากนี้ประเทศไทยยังคงพึ่งพิงตลาดระหว่างประเทศ สัดส่ วนอุ ปสงค์ในประเทศต่ อภาคเศรษฐกิจ ระหว่างประเทศลดลงเป็นร้อยละ ๖๗.๕๐ ในปี ๒๕๕๓ จากร้อยละ ๗๘.๘๑ ในปี ๒๕๕๒ รวมทัง้ ปญั หาหนี้ สาธารณะทีม่ แี นวโน้มเพิม่ สูงขึน้ อาจเป็นตัวบันทอนเสถี ่ ยรภาพของเศรษฐกิจในอนาคต ในด้ านคุณภาพชี วิตของคนไทยดี ขึ้น สัดส่วนความยากจนได้ลดลงจากร้อยละ ๙.๕๕ ในปี ๒๕๔๙ เหลือ ร้อ ยละ ๗.๗๕ ในปี ๒๕๕๓ และความเหลื่อ มล้ าทางรายได้ระหว่ างคนจนกับ คนรวยมี แ น ว โ น้ ม ดี ขึ้ น คนไทยมีงานทา ระดับการจ้ างงานอยู่ใ นระดับค่ อ นข้างเต็มที่แ ละสูง กว่ าเป้าหมาย คุ ณ ภาพชีว ิต ของ ประชาชนดีขน้ึ มากอันเนื่องมาจากการดาเนินการเสริมสร้างสุขภาพอนามัย ทาให้คนไทยร้อยละ ๙๙.๓๖ มี หลักประกันสุขภาพ รวมทัง้ คนส่วนใหญ่ได้รบั บริการโครงสร้างพื้นฐานและบริการของสังคมมากขึ้น มี หลักประกันความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จ และสังคมทีห่ ลากหลาย สาหรับศักยภาพคนไทยโดยรวมถึงแม้ว่าจะ ดีขน้ึ แต่ยงั ต่ ากว่าเป้าหมายหลายด้าน จานวนการศึกษาเฉลีย่ ๘.๑ ปี ขณะทีเ่ ป้าหมายกาหนด ๑๐ ปี การ ยกระดับการศึกษาของแรงงานไทยทีม่ กี ารศึกษาระดับมัธยมต้นมีเพียงร้อยละ ๔๕.๘ ต่ ากว่าเป้าหมายร้อย ละ ๖๐ ขณะที่การป้องกันและแก้ไขปญั หายาเสพติดมีการดาเนินงานอย่างจริงจัง แต่ ความรุนแรงของ ปญั หากลับมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะมีกลุ่มเยาวชนอายุต่ ากว่า ๑๐ ปี เข้ามาเกี่ยวข้อง ในประเด็นการครอบครองเพื่อจาหน่ าย ปญั หาทีย่ งั ต้องให้ความสาคัญต่อเนื่อง ได้แก่ การพัฒนาคุณภาพ คนและสังคม การลดความเหลื่อมล้าของประชาชน การสร้างความปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ความ เข้มแข็งของสถาบันครอบครัว การบริหารจัดการภาครัฐในเรือ่ งความโปร่งใส การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมส่ งผลให้ ระบบนิ เวศมีความอุดมสมบูรณ์ มากขึ้น โดยการรณรงค์ให้มกี ารปลูกป่าประเภทต่างๆ อาทิ ป่าชายเลน ป่าชุมชน ปลูกป่าสาธิต สวนป่า ของภาคเอกชน และการคุ้มครองป่าอนุ รกั ษ์ ทาให้พ้นื ที่ป่าไม้เพิม่ ขึ้นอย่างต่ อเนื่องจากร้อยละ ๓๒.๖๖ ของพื้นที่ประเทศ ในปี ๒๕๔๙ เป็ นร้อยละ ๓๓.๕๖ ของพื้นที่ประเทศ ในปี ๒๕๕๓ เช่นเดียวกับการ พัฒ นาพื้น ที่ช ลประทานทัง้ ขนาดใหญ่ กลาง เล็ก โครงการแก้มลิง ได้ส่ ง ผลให้พ้นื ที่ช ลประทานเป็ น ๒๙.๓๔ ล้านไร่ในปี ๒๕๕๓ อย่างไรก็ตามการพัฒนาฟื้ นฟูคุณภาพดินยังดาเนินการได้ต่ ากว่าเป้าหมาย การรักษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมและการลดมลพิษยังมีปญั หาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เพิม่ สูงขึน้ คุ ณ ภาพน้ าและอากาศต่ ากว่า มาตรฐาน แหล่ ง น้ า มีส ภาวะเสื่อ มโทรม คุ ณภาพแม่น้ า สายหลัก ลดลง ต่อเนื่อง แหล่งน้ าทีม่ คี ุณภาพเกณฑ์พอใช้ขน้ึ ไปมีจานวนลดลงเหลือร้อยละ ๖๑ ในปี ๒๕๕๓ ลดจากร้อย ละ ๗๔ ในปี ๒๕๔๙ นอกจากนัน้ การควบคุมการใช้และ การแพร่กระจายของสารเคมีอนั ตราย ขาดประสิทธิภาพ ส่งผลต่อคุณภาพอากาศทีม่ มี ลภาวะมากขึน้ การจัดการของเสียอันตรายยังทาได้ต่ ากว่า เป้าหมาย ในระยะต่อไปจึงจาเป็ นต้องเร่งฟื้ นฟูและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้คงความ สมบูรณ์ เพื่อเป็นรากฐานทีม่ นคงของประเทศ ั่ และเพื่อการดารงชีวติ ของคนไทยอย่างยังยื ่ น


สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการพัฒนาประเทศ

การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๕๕๙) ซึง่ อยู่ในช่วงเวลาที่จะต้องเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญ ทัง้ ระดับโลกและในประเทศทีส่ ่งผล กระทบต่อการพัฒนาประเทศทัง้ โอกาสทีส่ ามารถนามาใช้ประโยชน์ ขณะทีต่ ้องคานึงถึงภัยคุกคามและจุด แข็งที่ใ ช้ผลัก ดันการพัฒนาให้ก้าวหน้ า รวมทัง้ แก้จุดอ่อ นที่มอี ยู่ไม่ใ ห้เ ป็ นอุ ปสรรคการดาเนินงาน จึง จาเป็ นต้อ งประเมินสถานการณ์ ก ารเปลี่ยนแปลงที่จะมีผ ลต่ อ การพัฒนาประเทศในระยะต่ อ ไปอย่ าง รอบคอบ พร้อ มทัง้ ประเมินศัก ยภาพของประเทศเพื่อ เตรียมความพร้อ มให้แก่ ค น สังคม และระบบ เศรษฐกิจของประเทศให้มภี ูมคิ ุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลงได้อย่างเหมาะสม สามารถพัฒนาประเทศให้ ก้าวหน้ าต่อไปเพื่อประโยชน์ สุ ขที่ยงยื ั ่ นของสังคมไทยตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สาหรับการ เปลีย่ นแปลงทีส่ าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สรุปได้ ดังนี้ ๒.๑ การเปลี่ยนแปลงสาคัญระดับโลก ประกอบด้วย การเปลีย่ นแปลงกฎ กติกาใหม่ของโลก การเกิดขัว้ เศรษฐกิจหลายศูนย์กลางในโลก การเป็นสังคมผูส้ งู อายุของโลก ภาวะโลกร้อน และวิกฤตความ สมดุลของพลังงานและอาหาร สรุปได้ดงั นี้ ๒.๑.๑ กฎ กติ ก าใหม่ ข องโลกหลายด้ า นส่ ง ผลให้ ทุ ก ประเทศต้ อ งปรับ ตัว วิก ฤต เศรษฐกิจและการเงินของโลกที่ผ่านมาได้ส่งผลให้เกิดการปรับเปลี่ยนกฎระเบียบในการบริหารจัดการ เศรษฐกิจโลกทัง้ ด้านการค้า การลงทุน การเงิน สิง่ แวดล้อม และสังคมเพื่อการจัดระเบียบใหม่ของโลกที่ สาคัญ ดังนี้ ๑) กฎ ระเบียบด้านการค้าและการลงทุน เน้ นสร้างความโปร่งใส และแก้ไข ปัญหาโลกร้อนมากขึ้น ภายใต้ขอ้ จากัดการขยายตัวของเศรษฐกิจโลกภายหลังวิกฤตเศรษฐกิจ การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศทีแ่ ข่งขันรุนแรง ความไม่สมดุลของธรรมชาติท่กี ่อให้เกิดภัยพิบตั ทิ ่รี ุ นแรง บ่อยครัง้ รวมทัง้ กระแสการป้องกันการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ตลอดจนการเคารพสิทธิมนุ ษยชนและ รักษาศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ ได้นาไปสู่การปรับนโยบายและมาตรการทางเศรษฐกิจของหลายประเทศทัง้ ทีเ่ ป็นการดาเนินมาตรการการปกป้องผูป้ ระกอบการภายในประเทศ การร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศ ในภูมภิ าคเดียวกัน การปรับตัวของเศรษฐกิจสู่ฐานความรู้ การสร้างกฎ ระเบียบด้านทรัพย์สนิ ทางปญั ญา มากขึน้ กฎ กติกาใหม่ดา้ นการค้าและการลงทุนของโลกทีไ่ ทยจะต้องเผชิญในอนาคต ได้แก่ (๑) มาตรการกีดกันทางการค้ าในรูปแบบที่ ไม่ใช่ ภาษี เป็ นมาตรการที่ทา ให้ภาครัฐและผูป้ ระกอบการแต่ละประเทศต้องปรับตัว ยกระดับการผลิตให้ได้มาตรฐานสามารถแข่งขันได้ สนับสนุ นความพยายามในการแก้ไ ขปญั หาสิง่ แวดล้อม สร้างความเป็ นธรรมในการแข่งขัน และความ รับผิดชอบต่อสังคม เช่น มาตรการแรงงาน มาตรการสิง่ แวดล้อม มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช มาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุ น เป็นต้น (๒) การเปิ ดเสรีในสาขาการค้ า บริ การ และการลงทุนในบางสาขาผ่าน ความร่วมมือแบบทวิ ภาคี หรือข้อตกลงในภูมิภาค ประเทศสมาชิกต้องให้ความสาคัญในการไม่เลือก ปฏิบตั ิระหว่างประเทศผู้ลงทุน การปฏิบตั ิต่ อผู้ลงทุนของประเทศสมาชิกเสมือ นผู้ลงทุนของตน ความ โปร่งใสของกฎเกณฑ์การลงทุน และการระงับข้อพิพาทระหว่างกัน เกิดการสร้างบรรยากาศทีโ่ ปร่งใสและ มีเสถียรภาพต่อการค้าระหว่างประเทศและการลงทุนระยะยาว


(๓) การคุ้ม ครองทรัพ ย์สิ น ทางปั ญ ญา ที่ค รอบคลุ ม เครื่อ งหมายการค้า เครื่องหมายบริการ สิง่ บ่งชีท้ างภูมศิ าสตร์ การออกแบบผลิตภัณฑ์ สิทธิบตั ร และความลับทางการค้า ซึ่ง เป็ นสิง่ สาคัญในการสร้างนวัตกรรมและภูมปิ ญั ญา สาหรับการพัฒนาเศรษฐกิจฐานความรู้ (๔) ประเทศพัฒนาแล้วมี มาตรการทางการค้ า เพื่อแก้ไขภาวะโลกร้อน มากขึ้นทัง้ ในรูปแบบที่ เป็ นมาตรการภาษี และที่ ไม่ใช่ มาตรการภาษี ทีท่ วีความเข้มข้น และส่งผลให้ การส่ งออกสินค้าจากประเทศกาลังพัฒนาไปประเทศพัฒนาแล้วทาได้ยากขึ้น เช่น การเรียกเก็บภาษี คาร์บอนจากสินค้านาเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา การกาหนดให้รายงานปริมาณคาร์บอนทีเ่ กิดจากการผลิต สินค้า การเก็บค่าธรรมเนียมการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคขนส่งและการบินของสหภาพยุโรป เป็ น ต้น ๒) กฎ ระเบียบด้านการเงิ น วิกฤตเศรษฐกิจโลกปี ๒๕๕๑ ทาให้เกิดการปรับปรุง กฎ กติกาภาคการเงินทีส่ าคัญในช่วงปี ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙ ดังนี้ (๑) กฎ ระเบียบ ข้อบังคับและมาตรฐานทางบัญชี มีความเข้มงวดมากขึ้น หลายประเทศได้ปรับปรุงระบบการกากับดูแล กฎเกณฑ์ และเครื่องมือบริหารความเสี่ยง อาทิ การเพิม่ เกณฑ์ขนั ้ ต่ าของเงินกันส ารองตามกฎหมาย ขยายขอบเขตการกากับดูแลให้ค รอบคลุ มความเสี่ยงที่ เพิม่ ขึน้ ทัง้ ในระดับจุลภาคและมหภาค โดยเฉพาะการกากับดูแลธุรกรรมระหว่างภาคส่วนทีส่ าคัญต่อระบบ เศรษฐกิจ ธุรกรรมระหว่างบริษทั ในเครือธุรกิจขนาดใหญ่ทม่ี คี วามสาคัญต่อระบบการเงิน (๒) ความร่วมมือระหว่างประเทศและองค์กรกากับดูแลด้านการเงิ นของ แต่ละประเทศในการเฝ้ าระวังและเตือนภัยจะมีเพิ่ มขึ้น เพื่อกาหนดแนวทางร่วมกันระหว่างประเทศใน การป้องกันการลุกลามและจากัดขอบเขตความเสียหายไม่ให้ขยายวงกว้างจนเกิดผลกระทบต่อเนื่อง การ กาหนดมาตรการกากับดูแลทีเ่ ป็ นไปในแนวทางและมาตรฐานเดียวกัน รวมทัง้ เพิม่ การแลกเปลีย่ นข้อมูล ระหว่างกันโดยเฉพาะสถาบันการเงินระหว่างประเทศที่มสี าขาในหลายประเทศสาหรับป้องกันการเกิด วิกฤตครัง้ ใหม่ นอกจากนี้มแี นวคิดในการปรับบทบาทคณะกรรมการดูแลเสถียรภาพทางการเงินให้เป็ น องค์กรเฝ้าระวังระหว่างประเทศ ๓) กฎ ระเบียบด้ านสิ่ งแวดล้ อมส่ งผลกระทบในวงกว้างที่ มีต่อการดาเนิ น ชี วิต การค้ า การลงทุน การพัฒนาเศรษฐกิ จ สังคม และสิ่ งแวดล้ อมของประเทศ กลุ่มประเทศ กาลังพัฒนาต้องมีส่วนร่วมในการลดปริมาณการปล่อ ยก๊าซเรือนกระจกมากขึน้ และเผชิญข้อจากัดทีก่ ลุ่ม ประเทศพัฒนาแล้วกาลังดาเนินมาตรการใหม่ๆในรูปแบบต่างๆ ทัง้ มาตรการพหุภาคี และมาตรการฝ่าย เดียวในลักษณะสมัครใจและบังคับ เพื่อให้ประเทศกาลังพัฒนาต้องลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึง่ อาจเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ วิถชี วี ติ ของประชากร และอาจจะซ้าเติมปญั หาความยากจน ของประเทศกาลังพัฒนาอีกด้วย ดังนี้ (๑) การย้ า ยฐานการผลิ ต คาร์บ อนจากประเทศพัฒ นาแล้ ว มาอยู่ ใ น ประเทศกาลังพัฒนา ทาให้ปริมาณคาร์บอนของประเทศกาลังพัฒนาเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ขณะทีป่ ระเทศ พัฒนาแล้วยังคงสามารถรักษารูปแบบการบริโภคอย่างฟุ่มเฟื อยไว้เช่นเดิม ส่งผลให้เกิดความไม่เป็ นธรรม ต่อประเทศกาลังพัฒนาที่อาจถูกกดดันให้ต้องรับภาระการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากการผลิตที่ ตนเองไม่ได้บริโภคในอนาคต


(๒) มาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกที่ ทาให้ ประเทศกาลังพัฒนา เสียเปรียบ อาทิ มาตรการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขา เช่น รายสาขาอุตสาหกรรม จะเป็ น การก าหนดระดับ การปล่ อ ยก๊ า ซเรือ นกระจกร่ว มกัน ระหว่ า งผู้ผ ลิต ของแต่ ล ะประเภทอุ ต สาหกรรม โดยอุ ตสาหกรรมใดสามารถลดการปล่อยก๊ าซเรือนกระจกได้ต่ ากว่าระดับเป้าหมาย จะได้รบั คาร์บอน เครดิต ซึง่ สามารถนาไปซือ้ ขายในตลาดค้าคาร์บอนเครดิตได้ อย่างไรก็ดอี ุตสาหกรรมทีต่ งั ้ อยู่ในประเทศ พัฒนาแล้วมีเทคโนโลยีการผลิตที่ทนั สมัยและมีประสิทธิภาพสูงกว่าประเทศกาลังพัฒนา จึงมีแนวโน้มที่ ประเทศกาลังพัฒนาอาจจะเสียเปรียบหากแนวทางนี้มขี อ้ ผูกพันทางกฎหมาย เนื่องจากส่งผลกระทบต่อ ความสามารถในการแข่งขันทางการค้า การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามความเหมาะสมของ แต่ ละประเทศ เป็ นมาตรการที่ดาเนินการด้วยความสมัครใจ เมื่อดาเนินการจะได้รบั การสนับสนุ นจาก กองทุนหรือความช่วยเหลือระหว่างประเทศ โดยผ่านกระบวนการตรวจวัดและตรวจสอบทีย่ อมรับในระดับ นานาชาติ ปจั จุบนั ข้อกาหนดนี้ยงั ขาดความชัดเจนในทางปฏิบตั ิ และเป็ นอุปสรรคต่อการลดการปล่อย ก๊ า ซเรือ นกระจกของประเทศก าลัง พัฒ นา ขณะที่ก ารท าลายป่ าและความเสื่ อ มโทรมของป่ าใน ประเทศกาลังพัฒนา ซึ่งเป็ นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก จึงต้องเร่งดาเนินการ ด้วยความสมัครใจ คานึงถึงความต้องการของชุมชนท้องถิ่น ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ ถ่ายทอด เทคโนโลยี และจัดการปา่ อย่างยังยื ่ น ๔) กฎ ระเบี ย บด้ า นสัง คมเริ่ ม มี บทบาทส าคัญ มากขึ้ น ในเชิ ง การค้ าและ ความร่วมมือระหว่ างประเทศโดยเฉพาะด้ านสิ ทธิ มนุ ษยชน เป็ นประเด็นที่ประเทศพัฒนาแล้ว เรียกร้องให้ประเทศกาลังพัฒนาปฏิบตั ติ าม เช่น กระบวนการผลิตสินค้าจะต้องไม่ใช้แรงงานเด็ก การผลิต สินค้าหรือทีม่ าของวัตถุดบิ จะต้องไม่เป็ นการละเมิดสิทธิในการเข้าถึงทรัพยากรของบุคคลหรือชุมชน การ ลงทุนของบรรษัทข้ามชาติในประเทศกาลังพัฒนาต้องคานึงถึงประเด็นสิทธิมนุ ษยชนนอกเหนือ ไปจาก ความได้เปรียบในด้านต้นทุน เป็ นต้น ข้อผูกพันทีเ่ กิดจากสนธิสญ ั ญาว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชนทีป่ ระเทศไทย ได้เข้าร่วมและมีพนั ธกรณีท่ตี ้องปฏิบตั ิ ได้แก่ (๑) สิ ทธิ พลเมืองและสิ ทธิ ทางการเมือง ที่มุ่งให้ทุกคน รูจ้ กั สิทธิหน้าที่ของตนเองและผู้อ่นื เคารพสิทธิมนุ ษยชน สิทธิการมีชวี ติ เสรีภาพและความมันคงแห่ ่ ง บุคคล มีความเสมอภาคทางสังคมและการแสดงความคิดเห็น (๒) สิ ทธิ การได้รบั บริ การด้านเศรษฐกิ จ สังคม และวัฒนธรรม ให้ความสาคัญกับการจัดบริการพืน้ ฐานทัง้ ด้านสุขภาพ การศึกษา การเปิดพืน้ ที่ เรียนรูใ้ ห้กว้างขวาง การจัดสวัสดิการและการคุ้ม ครองทางสังคม (๓) สิ ทธิ เด็ก ดูแลและคุม้ ครองเด็กทุก คนอย่างเท่าเทียมกัน ทัง้ การมีชวี ติ การอยู่รอด การพัฒนาจิตใจ อารมณ์ สังคม รวมถึงการแสดงความ คิดเห็น (๔) การขจัดการเลือกปฏิ บตั ิ ต่อสตรี ทีม่ สี ทิ ธิได้รบั การปฏิบตั แิ ละดูแลจากรัฐอย่างเสมอภาค ทัง้ การประกอบอาชีพความก้าวหน้าในอาชีพ การป้องกันความรุนแรงต่อสตรี การปราบปรามการลักลอบค้า และแสวงหาประโยชน์ทางเพศ (๕) สิ ทธิ ของคนพิ การ การเคารพในศักดิ ์ศรี มีเสรีภาพในการตัดสินใจ และมีอสิ ระ การไม่เลือกปฏิบตั ิ การเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมอย่างเสมอภาค การเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ของบริการต่างๆ ทางสังคม (๖) การขจัดการเลือกปฏิ บตั ิ ทางเชื้ อชาติ ในทุกรูปแบบ ทุกคนมีสทิ ธิใน ความเป็ นพลเมือง สิทธิทางการเมือง สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม การศึกษาและวัฒนธรรมอย่างทัวถึ ่ งและ เท่าเทียมกัน และ (๗) การต่ อต้ านความรุนแรง ผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม ผูต้ ้องขัง หรือผูก้ ระทาความผิด


จะต้องได้รบั ความเป็ นธรรม ได้รบั การดูแลตามมาตรฐาน ไม่ถูกกดขีจ่ ากเจ้าหน้าทีข่ องรัฐหรือบุคคลอื่นๆ ให้เจ็บปวดหรือทุกข์ทรมานอย่างสาหัส กฎ กติกาใหม่ของโลกเหล่านี้ จะเป็ นเครื่องมือในการต่อรองทางการค้าที่ผลักดัน ผูป้ ระกอบการไทย ต้องยกระดับการผลิตให้ได้มาตรฐานที่กาหนดสามารถแข่งขันได้ ข้อตกลงระหว่าง ประเทศด้านสิง่ แวดล้อม สิทธิมนุ ษยชน และธรรมาภิบาลจะเป็ นแรงกดดันให้ต้องปรับกระบวนการผลิตที่ คานึงถึงสิง่ แวดล้อมมากขึน้ ให้ความสาคัญกับการการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมและการสร้างความ เป็นธรรมในการแข่งขันสูงขึน้ ๒.๑.๒ การปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิ จโลกแบบหลายศูนย์กลาง รวมทัง้ ภูมิภาคเอเชี ยซึ่ ง ทวีความสาคัญเพิ่ มขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มประเทศอุตสาหกรรมใหม่ อาทิ ฮ่องกง เกาหลี สิงคโปร์ ไต้หวัน และกลุ่มประเทศอาเซียน ทีม่ แี นวโน้มเป็นศูนย์กลางการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมโลก โดยมีปจั จัยสนับสนุ น ที่สาคัญ ได้แ ก่ ความสัมพันธ์ของห่ ว งโซ่การผลิต ภายในภูมภิ าคและต้นทุนการผลิต ที่ต่ า ประเทศใน ตะวันออกกลาง รัสเซีย และประเทศผู้ผลิตสินค้าที่เป็ นวัตถุดบิ จะได้รบั ผลประโยชน์ จากราคาน้ ามันและ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ในตลาดโลกทีม่ แี นวโน้มปรับตัวสูงขึน้ ขณะเดียวกันนโยบายการเปิดประเทศของจีน รัสเซีย พลวัตการขยายตัวของบราซิลและอินเดีย และการเพิม่ ขึน้ ของชนชัน้ กลางในภูมภิ าคเอเชีย จะช่วย เพิม่ กาลังซื้อในตลาดโลก นอกจากนี้ วกิ ฤตเศรษฐกิจที่เกิดขึน้ ส่งผลกระทบต่อศักยภาพการขยายตัวทาง เศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแล้วมากกว่าประเทศกาลังพัฒนาและประเทศเศรษฐกิจ ใหม่ ทาให้เศรษฐกิจ โลกมีแนวโน้มพัฒนาไปสู่ความเป็ นโลกหลายศูนย์กลางทัง้ ในด้านเศรษฐกิจและการเงินในระยะปานกลาง ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ คาดว่าเศรษฐกิจโลกจะขยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ ๔ ต่อปี ขณะทีเ่ ศรษฐกิจของ ภูมภิ าคเอเชียจะขยายตัวเฉลีย่ ร้อยละ ๘.๙ ต่อปี1 การรวมกลุ่ มทางเศรษฐกิ จ ในภูมิ ภ าคต่ า งๆ ของโลก จะมีม ากขึ้น และการ รวมกลุ่มเศรษฐกิจทีส่ าคัญต่อประเทศไทยในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ได้แก่ การรวมกลุ่มในภูมิภาค เอเชีย ภายใต้กรอบการค้าเสรีของอาเซียนกับจีน ญี่ปุ่น และอินเดีย และการเป็ นประชาคมอาเซียนใน ปี ๒๕๕๘ ซึง่ ประเทศไทยต้องมีการเตรียมความพร้อมในหลายด้าน อาทิ การพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ ทัง้ ทางด้านการศึกษา ทักษะด้านภาษา ทักษะฝี มอื แรงงาน รวมถึงการพัฒนากลไกต่างๆ อาทิ การบริหาร จัดการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในระดับภูมภิ าคและแก้ไขปญั หาความขัดแย้ง ร่วมกันเพื่อนาไปสู่การอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยังยื ่ นของภูมภิ าค ๒.๑.๓ การเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุของโลกเกิ ดขึ้นอย่างต่ อเนื่ อง ประเทศพัฒนาแล้วส่วน ใหญ่เป็นสังคมผูส้ งู อายุมานานกว่า ๔๐ - ๕๐ ปี อาทิ ฝรังเศส ่ สวีเดน สหรัฐอเมริกา อิตาลี และญี่ปุ่น ส่วน ประเทศกาลังพัฒนา อาทิ เกาหลี สิงคโปร์ จีน อินโดนีเซีย บรูไน ไทย และเวียดนาม ได้ก้าวเข้าสู่การเป็ น สังคมผู้สูงอายุแล้วในช่วง ๕ ปี ท่ผี ่านมา และในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประชากรสูงอายุในโลกจะ เพิม่ ขึน้ อีก ๘๑.๘๖ ล้านคน เกิดผลกระทบหลายอย่าง อาทิ การย้ายถิน่ ของแรงงานข้ามชาติทงั ้ แรงงานทีม่ ี ฝี มอื และไร้ฝี ม ือ เพื่อ ทดแทนก าลังแรงงานในประเทศที่เ ป็ นสังคมผู้สูงอายุ เกิดความหลากหลายทาง วัฒนธรรม ขณะเดียวกัน ก็เกิดภาวะสมองไหล โครงสร้างการผลิตเปลีย่ นจากการใช้แรงงานเข้มข้นมาเป็ น 1

International Monetary Fund, World Economic Outlook Database, April 2011


การใช้องค์ความรูแ้ ละเทคโนโลยีมากขึน้ ทาให้การพัฒนาคนมุ่งสร้างให้มคี วามรู้ มีศกั ยภาพ ทักษะและ ความชานาญ ควบคู่กบั การพัฒนาเทคโนโลยีทดแทนกาลังแรงงานที่ขาดแคลน ประเทศที่เ ข้าสู่สงั คม ผูส้ งู อายุจะมีรายจ่ายด้านสุขภาพเพิม่ ขึน้ ทาให้งบประมาณสาหรับการลงทุนพัฒนาด้านอื่นๆ ลดลง การทีส่ ดั ส่วนผูส้ งู อายุของประชากรโลกโดยรวมมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ในอนาคต จะเป็ น โอกาสของประเทศไทยในการให้บริก ารดูแลผู้สูงอายุและการให้บริการการแพทย์และสุ ขภาพ แต่ ใ น ขณะเดียวกันประเทศไทยเองก็ต้องปรับตัวเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบสวัสดิการ สังคมเพื่อ รองรับการปรับตัว เข้า สู่โครงสร้างสังคมผู้สูง อายุโดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้แรง กดดันด้า น งบประมาณทีม่ มี ากขึน้ ในภาวะทีเ่ ศรษฐกิจโลกมีความผันผวน รวมทัง้ ยังต้องเตรียมรับมือกับปญั หาขนาด ของก าลังแรงงานที่จะขยายตัว ช้าลงและลดลงในอนาคต ซึ่งอาจจะเป็ นอุ ป สรรคต่ อ การขยายตัว ทาง เศรษฐกิจในระยะยาว ๒.๑.๔ การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศโลกส่งผลให้ สภาพภูมิอากาศแปรปรวน ก่อให้เกิด ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติและผลกระทบต่อระบบการผลิตของโลกที่รุนแรงมากขึ้น อุณหภูมโิ ลกสูงขึ้นโดย เฉลี่ย ๐.๒ องศาเซลเซียสต่ อ ๑๐ ปี ทาให้เ กิดภัยธรรมชาติบ่อ ยครัง้ และทวีค วามรุนแรง ทัง้ อุ ทกภัย แผ่นดินไหว ดินถล่ม ภูเขาไฟระเบิด วาตภัย ภัยแล้ง และไฟป่า เป็ นเหตุให้เกิดการสูญเสียพืน้ ทีป่ ่าไม้และ ความหลากหลายทางชีวภาพ ระบบนิเวศในหลายพืน้ ทีข่ องโลกจะอ่อนแอ เปราะบาง และสูญเสียพันธุพ์ ชื ั ่ ่ องมาจาก และสัตว์ พื้นผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ โดยเฉพาะการสูญเสียพื้นที่ชายฝงเนื ั่ ระดับน้ าทะเลทีส่ ูงขึน้ นาไปสู่การย้ายถิน่ ของประชากรที่อยู่อาศัยบริเวณชายฝงทะเล รวมทัง้ สร้างความ เสียหายต่อโครงสร้างพืน้ ฐาน เขตท่องเทีย่ ว เขตอุตสาหกรรมทีม่ กี ารลงทุนสูงบริเวณพืน้ ทีช่ ายฝงั ่ รวมถึง ภูมภิ าคในเขตร้อนมีฤดูแล้งยาวนาน เกิดการขาดแคลนน้ า โรคระบาดเพิม่ ขึน้ อาทิ กลุ่มโรคมาลาเรีย และ อหิวาตกโรค โดยเฉพาะในประเทศเขตหนาว ซึง่ ไม่เคยมีการระบาดของโรคดังกล่าวมาก่อน และมีความ เ สี่ ย ง จ า ก โ ร ค อุ บั ติ ใ ห ม่ แ ล ะ อุ บั ติ ซ้ า เ ช่ น โ ร ค ซ า ร์ ส ไข้หวัดนก โรคชิคุนกุนยา และโรคไข้หวัดใหญ่สายพันธุใ์ หม่ ๒๐๐๙ ก่อให้เกิดปญั หาสุขภาพของประชากร และส่ ง ผลต่ อ ผลิต ภาพของก าลัง แรงงาน และการสู ญ เสีย ทางเศรษฐกิ จ นอกจากนี้ ร ะดับ คาร์บอนไดออกไซด์และอุณหภูมสิ ูงขึน้ ระบบการเพาะปลูกและปริมาณผลผลิตทางการเกษตรในหลาย พืน้ ทีข่ องโลก โดยเฉพาะพืชอาหารได้รบั ผลกระทบอย่างรุนแรงจากความแปรปรวนของปริมาณน้ าฝน ภัย ธรรมชาติท่รี ุนแรง และการระบาดของโรคและแมลงศัตรูพชื เกิดปญั หาความยากจน การอพยพย้ายถิน่ และการแย่งชิงทรัพยากรเพิม่ ขึน้ ในระยะยาว ปญั หาการเปลี่ยนแปลงในสภาพภูมอิ ากาศของโลกมีแนวโน้ มรุนแรง ั หาการขาดแคลนอาหารและสิน ค้า ทรัพ ยากรธรรมชาติเ พิ่ม ขึ้น ตาม มากขึ้น และส่ ง ผลซ้ า เติม ให้ป ญ ขณะเดียวกัน ความเสียหายของพืชผลทางการเกษตรมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ซึง่ จะส่งผลเสียหายทางเศรษฐกิจ ให้กบั ประเทศทีม่ ภี าคเกษตรเป็นแหล่งรายได้สาคัญรวมทัง้ ประเทศไทย นอกจากนี้ ภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ทีร่ นุ แรงและเกิดขึน้ บ่อยครัง้ จะเป็นตัวฉุดให้การพัฒนาประเทศไม่บรรลุผลเท่าทีค่ วร


๒.๑.๕ ความมันคงทางอาหารและพลั ่ งงานโลกมีแ นวโน้ มจะเป็ นปัญหาสาคัญ อัตรา การใช้พลังงานของโลกในภาพรวมจะเพิม่ ขึน้ อย่างก้าวกระโดด ขณะทีพ่ ลังงานฟอสซิลมีจากัด จึงเกิดการ พัฒนาและส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทนจากพืช เพิม่ ขึน้ เช่น มันสาปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ ามัน เป็ นต้น ก่อให้เกิดผลกระทบต่อผลผลิตอาหาร ความมันคงทางอาหารของประเทศและการส่ ่ งออก ความต้องการบริโภคสินค้าเกษตรและอาหารเพิม่ ขึน้ จากการเพิม่ ของประชากรโลก และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจทีค่ าดว่าจะสูงขึน้ โดยเฉพาะในทวีปเอเชียและแอฟริกา แต่ผลผลิตพืช อาหารโลกลดลงจากข้อจากัดด้านพืน้ ที่และศักยภาพทางเทคโนโลยีท่มี อี ยู่ ประกอบกับการเปลีย่ นแปลง ภูมอิ ากาศ การเกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ปญั หาการครอบครองทรัพยากรพันธุกรรมและการผูกขาดทาง การค้าเมล็ดพันธุพ์ ชื ส่งผลกระทบต่อวิถชี วี ติ ของเกษตรกรรายย่อยจานวนมากทีพ่ ง่ึ พาอาศัยทรัพยากรป่า ไม้ พันธุพ์ ชื ต่างๆ เป็นอาหารและยาสมุนไพร และความมันคงทางอาหารของประเทศในระยะยาว ่ สาหรับประเทศไทยซึง่ เป็นแหล่งผลิตอาหารของโลก วิกฤตอาหารถือเป็ นโอกาสใน การพัฒ นาสิน ค้า ภาคเกษตรเพื่อ การส่ ง ออก แต่ ป ระเทศไทยเองก็ย งั พึ่ง พิง การน าเข้า พลัง งานจาก ต่างประเทศทีม่ รี าคาสูง และหันมาให้ความสาคัญกับการการส่งเสริมพลังงานทดแทน แต่อาจนาไปสู่ความ ไม่สมดุลระหว่างการปลูกพืชอาหารและพลังงาน และเกิดการแย่งชิงพืน้ ทีเ่ พาะปลูกตามมาหรือปญั หาอื่นๆ ตามมา ๒.๑.๖ ความก้ าวหน้ าทางเทคโนโลยี มีบทบาทสาคัญต่ อ การพัฒนาเศรษฐกิ จและ สัง คมรวมทัง้ ตอบสนองการด ารงชี วิ ต ของประชาชนมากยิ่ ง ขึ้ น โดยเฉพาะการน าเทคโนโลยี สารสนเทศ และการสื่อสารมาใช้ในการเพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทัง้ ด้านการเงิน การผลิตและ การควบคุมคลังสินค้า รวมถึงนาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีชวี ภาพ และเทคโนโลยีเกี่ยวกับการทางานของ สมองและจิต เป็ นโอกาสในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เช่น การส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ การ พั ฒ น า พ ลั ง ง า น แ ล ะ วั ส ดุ ต่ า ง ๆ จากพืช การทดแทนแรงงานด้วยเครื่องจักร การพัฒนาสุขภาพและศักยภาพในการทางานของผู้สูงอายุ เป็ นต้น ขณะเดียวกัน อาจเป็ นภัยคุกคามต่อความมันคงของประเทศ ่ เช่น การจารกรรมข้อมูลธุรกิจหรือ ข้อมูลส่วนบุคคล การลื่นไหลของวัฒนธรรมอย่างไร้พรมแดน การใช้ส่อื เผยแพร่ข้อมูลเท็จ และเป็ น เครื่องมือของการก่อการร้าย เป็ นต้น ประเทศที่พฒ ั นาเทคโนโลยีช้าจะกลายเป็ นผู้ซ้อื และมีผลิตภาพต่ า ก ว่ า ป ร ะ เ ท ศ อื่ น ๆ ไม่สามารถแข่งขันกับประเทศคู่แข่งได้ รวมทัง้ การเข้าถึงเทคโนโลยีทไ่ี ม่เท่าเทียมกันของกลุ่มคนในสังคมก็ เป็นช่องว่างทีจ่ ะทาให้เกิดความเหลื่อมล้าในการพัฒนา ทัง้ นี้ ประเทศไทยยัง อยู่ ใ นสถานะของผู้ ซ้ือ เทคโนโลยีม ากกว่ า ผู้ ค ิด ค้ น หรือ สร้า งขึ้นมาเอง ท าให้ก ารยัง มีก ารพึ่ง พาจากภายนอกในระดับ ที่สูง ขณะที่เ ทคโนโลยีส ารสนเทศได้ ก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนด้านวัฒนธรรมอย่างหลากหลาย โดยทีย่ งั ขาดแนวทางรองรับหรือคัดกรองการ ไหลเข้ามาของข้อมูลข่าวสารทีไ่ ม่เหมาะสม อาจนาไปสู่วกิ ฤตศีลธรรมและปญั หาสังคมอื่นๆ ตามมา


๒.๑.๗ การก่ อ การร้ า ยสากลเป็ นภัย คุ ก คามประชาคมโลก การก่ อ การร้า ยและ อาชญากรรมข้ามชาติมแี นวโน้มขยายตัวทัวโลกและรุ ่ นแรง มีรูปแบบและโครงข่ายทีซ่ บั ซ้อนมากขึ้ น เกิด กระแสการป้องกันการก่อการร้ายทัวโลก ่ องค์การสหประชาชาติได้เข้ามามีส่วนร่วมแก้ปญั หาภัยคุกคาม จากการก่อการร้าย อาทิ การจัดทาอนุ สญ ั ญาตลอดจนพิธสี ารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวทางแก้ไขปญั หา การก่ อ การร้ายสากลให้ประเทศสมาชิก ถือ ปฏิบตั ิใ ห้ส อดคล้อ งกัน ขณะที่ส หรัฐอเมริกามีมาตรการที่ เข้มงวด ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการและต้นทุนการส่งออกของผูป้ ระกอบการไทย ดังนัน้ การสร้าง ความร่วมมือภายใต้กรอบต่ างๆ ต้องเตรียมความพร้อมในการควบคุมปจั จัยที่เกื้อหนุ นการก่ อการร้าย ระหว่างประเทศ เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของชาติ ส าหรับ ประเทศไทย สถานการณ์ ก ารก่ อ การร้ายในต่ า งประเทศ อาจส่ ง ผลต่ อ แรงจูงใจในเชิง อุดมการณ์ทางศาสนาและลัทธิความเชื่อต่างๆ ทาให้สถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ ภาคใต้ ข องประเทศยัง คงมีอ ยู่ต่ อ ไป ในขณะเดีย วกัน แนวโน้ ม ความก้า วหน้ า ทางวิท ยาศาสตร์แ ละ เทคโนโลยีคาดว่าจะทาให้ขดี ความสามารถในการปฏิบ ัตกิ ารของกลุ่มการก่อการร้ายเพิม่ ขึน้ ก่อให้เกิด ค ว า ม เ สี ย ห า ย อ ย่ า ง รุ น แ ร ง แ ล ะ เป็นวงกว้างมากกว่าเดิม ๒.๒ การเปลี่ยนแปลงภายในประเทศ ประกอบด้วย การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และการบริหารจัดการการพัฒนาประเทศ สรุปได้ดงั นี้ ๒.๒.๑ การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านเศรษฐกิ จ ๑) ในช่ ว งที่ผ่ า นมา ประเทศไทยสามารถรัก ษาอัต ราการขยายตัว และ เสถียรภาพทางเศรษฐกิ จของประเทศไทยให้ อยู่ในเกณฑ์ดี โดยเศรษฐกิจไทยขยายตัวเฉลี่ยร้อยละ ๓ . ๘ ๕ ร ะ ห ว่ า ง ปี ๒๕๓๕-๒๕๕๒ ขณะเดียวกันโครงสร้างการผลิตและบริการได้ปรับเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนด้วยภาค เกษตรสู่ ภ าคอุ ต สาหกรรม ภาคอุต สาหกรรมกลายเป็ นภาคการผลิ ต ที่ มี บ ทบาทสู ง ต่ อ ระบบ เศรษฐกิ จไทย โดยมีสดั ส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็วจากร้อยละ ๓๘.๑ ในปี ๒๕๔๒ เป็ นร้อยละ ๔๐.๘ ในปี ๒๕๕๒ ซึ่งเป็ นผลมาจากการย้ายฐานการผลิตเพื่อการส่งออกของ ประเทศญี่ปุ่น อย่างไรก็ต าม ผลิต ภาพการผลิต รวมของภาคอุ ต สาหกรรมยังอยู่ใ นระดับต่ าเนื่อ งจาก ความสามารถในการพัฒนานวัตกรรมและการดูดซับเทคโนโลยีจากต่างประเทศยังคงค่อนข้างจากัด โดย ใน ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๒) ขยายตัวเฉลีย่ เพียงร้อยละ ๑.๑๑ เท่านัน้ ๒) ภาคเกษตรมีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศเนื่องจากภาคเกษตร เป็ นแหล่งสร้างรายได้ หลักของประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศและเป็ นฐานในการสร้างมูลค่ าเพิ่ ม ของภาคอุตสาหกรรม จากความเข้มแข็งของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความเหมาะสมของสภาพ ภูมอิ ากาศ รวมทัง้ การสะสมความรูแ้ ละภูมปิ ญั ญาทางการเกษตรอย่างต่อเนื่อง และภาคบริ การมีบทบาท สาคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ มให้ แก่เศรษฐกิ จ ช่วยลดการขาดดุลการค้า พัฒนาคุณภาพชีวติ ประชาชน และรองรับการเคลื่อนย้ายแรงงานจากภาคการผลิตอื่นของประเทศ


๓) การเชื่ อ มโยงเศรษฐกิ จของประเทศกับเศรษฐกิ จต่ างประเทศจากการ ปรับโครงสร้างดังกล่าวทาให้ เกิ ดกิ จกรรมทางเศรษฐกิ จระหว่างประเทศโดยเฉพาะกิ จกรรมทาง การค้าและการลงทุนระหว่างประเทศ ซึง่ มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจมาโดยตลอด ทัง้ นี้ การส่งออกของไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในช่วง ๑๐ ปีทผ่ี ่านมา (ปี ๒๕๔๑ - ๒๕๕๑) และสามารถ รักษาสัดส่วนการส่งออกในตลาดโลกทีร่ อ้ ยละ ๑.๑ ต่อเนื่องมาตลอดนับแต่ปี ๒๕๔๙ ถึง ๒๕๕๑ ซึง่ ส่งผล ให้สดั ส่ วนการพึ่งพาต่างประเทศเพิม่ สูงขึ้นจากร้อ ยละ ๘๔.๘๕ ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP) ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๙) เป็ นร้อยละ ๑๓๘.๓๗ ในช่วง ๓ ปี แรกของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ สาหรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศยังคงมีบทบาทสาคัญต่อการขยายตัว ของระบบเศรษฐกิจไทย แต่จากภาวะเศรษฐกิจโลกทีต่ กต่าและขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง ทาให้ บทบาทของการลงทุนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ ๔๑.๑๖ ต่อ GDP ในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ เป็นร้อยละ ๒๕.๕๙ ในปีช่วง ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ๔) เมื่อ พิจ ารณาป จั จัย แวดล้ อ มและระบบการแข่ ง ขัน ของไทย พบว่ า ระบบ เศรษฐกิ จของไทยยังมีความอ่อนแอด้านปัจจัยสนับสนุนในส่วนของวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพการบริ การของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎ และระเบียบทางเศรษฐกิ จที่ ไม่เอื้อต่ อการ จัด ระบบการแข่ ง ขันที่ เป็ นธรรมและเหมาะสมกับสถานการณ์ การเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ ดังนัน้ ผลการพัฒนาทีผ่ ่านมาชีใ้ ห้เห็นว่าโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโตได้ อย่างยังยื ่ น และยังต้องพึง่ พิงและเผชิญกับการเปลีย่ นแปลงจากปจั จัยภายนอกประเทศมากขึน้ ตามลาดับ นอกจากนี้ เมื่อ พิจ ารณาแนวโน้ ม การกระจายผลตอบแทนของป จั จัย การผลิต พบว่ า การกระจาย ผลตอบแทนต่อปจั จัยแรงงานของประเทศไทยมีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ ๓๐.๒ ในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ เป็ นร้อยละ ๒๙.๔ และ ๒๘.๙ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ และ ๓ ปี แรกของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ตามลาดับ ในขณะที่ผลตอบแทนของปจั จัยการผลิตอื่นๆ ที่ไม่ใช่แรงงาน เช่น ผลตอบแทนของทุน ผูป้ ระกอบการ และทีด่ นิ เป็นต้น มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ทิ ศทางการพัฒนาในระยะต่ อไปจึงต้ องให้ ความสาคัญกับการปรับโครงสร้าง เศรษฐกิ จ สู่ ก ารพัฒ นาที่ ย งั ่ ยื น และมี คุ ณ ภาพโดยใช้ อ งค์ ค วามรู้ เทคโนโลยี นวัต กรรม และ ความคิ ดสร้ างสรรค์ เป็ นพื้นฐานสาคัญในการขับเคลื่ อน ภายใต้ปจั จัยสนับสนุ นที่เอื้อ อานวยและ ระบบการแข่งขันที่เป็ นธรรม พร้อมทัง้ ใช้โอกาสจากปจั จัยภายนอกให้เกิดประโยชน์กบั ประเทศได้อย่าง เหมาะสมและขยายฐานการพัฒนาให้ทวถึ ั ่ งมากขึน้ ๒.๒.๒ การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านสังคม ๑) ประเทศไทยก้ า วสู่ ส ัง คมผู้สู ง อายุ จ ากการมี โ ครงสร้ า งประชากรที่ ว ัย สูงอายุเพิ่ มขึ้น วัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ขณะที่ การย้ ายถิ่ นของประชากรส่ งผลให้ ความเป็ น เมืองสูงขึ้น โครงสร้างประชากรวัยเด็กและวัยแรงงานมีสดั ส่วนลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากภาวะ


เจริญพันธ์ของสตรีไทยลดต่ าลงอยู่ท่ี ๑.๖ ในปี ๒๕๕๑ ส่งผลให้สดั ส่วนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : ผูส้ ูงอายุ ลดลงจากร้อยละ ๒๐.๕ : ๖๗.๖ : ๑๑.๙ ในปี ๒๕๕๓ เป็ นร้อยละ ๑๘.๓ : ๖๖.๙ : ๑๔.๘ ในปี ๒๕๕๙ ทาให้ประเทศไทยเผชิญภาวะขาดแคลนกาลังคนในอนาคตที่อาจส่งผลกระทบต่อ ผลิตภาพการ ผลิตของประเทศ นอกจากนี้ ประชากรจากชนบทอพยพเข้ามาทางานในเมืองอย่างต่อเนื่อง ทาให้สดั ส่วน ประชากรในเขตเมืองเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ ๓๑.๑ ในปี ๒๕๔๓ เป็ นร้อยละ ๔๕.๗ ในปี ๒๕๕๓ หรือเพิม่ ขึน้ ถึงร้อยละ ๔๖.๙ ความเป็ นเมืองที่ขยายไปอย่างรวดเร็วส่งผลให้วถิ ชี วี ติ มีลกั ษณะต่างคนต่างอยู่ การอยู่ อาศัยแบบเครือญาติเปลีย่ นไปสู่การเป็ นปจั เจกมากขึน้ โครงสร้างครอบครัวเปลีย่ นไปสู่ครัวเรือนที่อยู่คน เดียว ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบไม่ใช่ญาติ และครัวเรือนทีม่ อี ายุรุ่นเดียวกัน สองรุ่น และรุ่นกระโดด (ตา ยาย - หลาน) หรือครัวเรือนทีเ่ ป็นเพศเดียวกัน สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบาง จนนาไปสู่ปญั หาทางสังคมเพิม่ ขึน้ เช่น อัตราการหย่าร้างเพิม่ ขึน้ จาก ๔.๕ คู่ต่อพันครัวเรือน ในปี ๒๕๔๕ เป็น ๕.๓ คู่ต่อพันครัวเรือน ในปี ๒๕๕๑ ปญั หาความรุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศต่อเด็ก และสตรีเพิม่ ขึน้ ๒) คนไทยได้ รบั การพัฒนาศักยภาพทุกช่ วงวัย แต่ ยงั มีปัญหาด้ านคุณภาพ การศึกษาและสติ ปัญญาของเด็ก มีพฤติ กรรมเสี่ยงต่ อสุขภาพ และผลิ ตภาพแรงงานตา่ การพัฒนา ทีผ่ ่านมาทาให้เด็กและเยาวชนมีโอกาสทางการศึกษาเพิม่ ขึน้ ระดับการศึกษาเฉลีย่ ของคนไทยมีแนวโน้ม สูงขึน้ ในปี ๒๕๕๑ จานวนปีการศึกษาเฉลีย่ ของประชากรวัย ๑๕ ปีขน้ึ ไปเพิม่ เป็ น ๘.๙ ปี แต่ยงั มีปญั หา คุณภาพการศึกษา โดยคะแนนเฉลีย่ ผลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนลดลงจากร้อยละ ๓๙.๐ ในปี ๒๕๕๐ เป็ นร้อย ละ ๓๒.๒ ในปี ๒๕๕๒ ซึง่ ต่ ากว่าเป้าหมายทีก่ าหนดไว้รอ้ ยละ ๕๕ อีกทัง้ ยังมีปญั หาพฤติกรรมเสีย่ งทาง สุขภาพทีท่ าให้เกิดปญั หาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่นเพิม่ สูงขึน้ อัตราการตัง้ ครรภ์ของวัยรุ่นหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี เพิม่ จาก ๕๔.๙ ต่อประชากรหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปีพนั คนในปี ๒๕๔๘ เป็ น ๕๖.๒ ในปี ๒๕๕๓ ส่วนกลุ่มวัย เด็กมีพฒ ั นาการด้านความสามารถทางเชาว์ปญั ญา และความฉลาดทางอารมณ์ค่อนข้างต่ า โดยเด็กอายุ ๐-๕ ปีทม่ี พี ฒ ั นาการสมวัยมีสดั ส่วนลดลงจากร้อยละ ๗๒ เหลือเพียงร้อยละ ๖๗ ขณะทีก่ ลุ่มวัยทางานยังมี ผลิต ภาพต่ า มีอ ัต ราเพิ่ม เฉลี่ย ของผลิต ภาพแรงงานช่ ว งปี ๒๕๕๐ – ๒๕๕๑ เพีย งร้อ ยละ ๑.๘ ขณะเดียวกัน จากการดาเนินนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระดับทวิภาคีและระดับพหุภาคี ส่งผลให้ มีแรงงานต่างชาติเข้ามาในประเทศไทย ๑.๕ ล้านคน ในปี ๒๕๕๒ คิดเป็ นแรงงานถูกกฎหมายร้อยละ ๑๔.๑ และแรงงานผิดกฎหมายถึงร้อยละ ๕๘.๙ นอกจากนี้ คนไทยส่วนใหญ่ ยงั มีปญั หาเจ็บป่วยด้วยโรคที่ ป้องกันได้ ๕ อันดับแรกสูงขึน้ ในทุกโรค ทัง้ โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดในสมอง โรคหัวใจ และมะเร็ง โดยเฉพาะกลุ่มวัยสูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคเรือ้ รังเพิม่ ขึน้ โดยพบว่าร้อยละ ๓๑.๗ ป่วยเป็ นโรค ความดันโลหิต สูง รองลงมาคือ เบาหวาน ร้ อ ยละ ๑๓.๓ และหัว ใจ ร้อ ยละ ๗.๐ ที่จะส่ ง ผลต่ อ ภาระ ค่าใช้จา่ ยในการรักษาพยาบาลของภาครัฐในอนาคต ๓) ประชาชนได้ รบั การคุ้มครองทางสังคมเพิ่ มขึ้นและมี การจัดสวัส ดิ การ ทางสังคมในหลายรูปแบบ แต่ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสยังไม่ส ามารถเข้ าถึงบริ การทางสังคมได้ อย่ าง ทัวถึ ่ ง คนไทยสามารถเข้าถึงหลักประกันสุขภาพได้ถงึ ๖๒.๔ ล้านคน คิดเป็ นร้อยละ ๙๙.๕ ของประชากร ผูม้ สี ทิ ธิทงั ้ ประเทศ จากการดาเนินนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า และมีการดาเนินการเรื่องการ คุม้ ครองทางสังคมในรูปแบบทีห่ ลากหลาย ได้แก่ การจัดตัง้ กองทุนสวัสดิการชุมชน การให้ความคุม้ ครอง ส่งเสริมสิทธิประโยชน์คนไทยและแรงงานไทย การริเริม่ จัดทากองทุนการออมแห่งชาติเพื่อเป็ นการออม ระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุ เป็ นต้น แต่ยงั มีบางกลุ่มที่ไม่สามารถเข้าถึงหลักประกันทางสังคม กล่าวคือ


กาลังแรงงานของประเทศมีหลักประกันทางสังคมเพียงร้อยละ ๓๖.๖ ขณะทีแ่ รงงานอีกร้อยละ ๖๒.๑ ยังไม่ มีห ลัก ประกันทางสังคม อย่างไรก็ตาม ได้มกี ารขยายความคุ้มครองให้แรงงานนอกระบบภายใต้การ ประกันสังคมมาตรา ๔๐ แห่ งพระราชบัญ ญัติประกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๓ โดยเริม่ ให้ผู้ส นใจสมัครเป็ น ผูป้ ระกันตนเมื่อเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๔ ขณะเดียวกันผูส้ ูงอายุรอ้ ยละ ๗๐ หรือ ๕ ล้านคนมีหลักประกัน ความมันคงในชี ่ วติ เพียงเบีย้ ยังชีพ และกลุ่มผูม้ รี ายได้ต่ าสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากรมีระดับการศึกษาไม่ เกินมัธยมศึกษาตอนต้นถึงร้อยละ ๙๔ นอกจากนี้ คุณภาพบริการด้านการศึกษาและสาธารณสุขยังคงมี ความแตกต่างกัน สะท้อนให้เห็นจากผลการประเมินสถานศึกษา ผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษารายพืน้ ที่ และ การกระจายทรัพยากรสาธารณสุขในแต่ละภูมภิ าค ๔) ความเหลื่อมลา้ ทางรายได้ของประชากรและโอกาสการเข้าถึงทรัพยากร เป็ นปัญหาการพัฒนาประเทศ การกระจายรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรชี้ให้เห็นว่า ผลประโยชน์ส่วน ใหญ่อยู่ในกลุ่มทีม่ โี อกาสและรายได้สูง ทาให้สดั ส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มคนรวยร้อยละ ๑๐ ของประชากร กับกลุ่มคนจนร้อยละ ๑๐ ของประชากร มีความแตกต่างกันถึง ๒๒.๘ เท่า ในปี ๒๕๕๒ แม้ว่ารัฐบาลได้ พยายามแก้ปญั หาความเหลื่อมล้าของการกระจายรายได้ผ่านนโยบายต่างๆ อาทิ กองทุนหมู่บ้านและ ชุมชนเมือง และนโยบายการให้สนิ เชื่อเพื่อกระตุ้นให้เกิดการใช้จ่าย ทาให้คนยากจนในประเทศไทยลดลง อย่างต่อเนื่องจากร้อยละ ๔๒.๒ หรือ ๒๒.๑ ล้านคน ในปี ๒๕๓๑ เหลือร้อยละ ๘.๙ หรือ ๕.๘ ล้านคน ใน ปี ๒๕๕๑ ความเหลื่อมล้าทางรายได้และโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐเป็ นสาเหตุทน่ี าไปสู่ความขัดแย้ง ในสังคม และเป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ อาทิ ปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ คนยากจนขาดโอกาส ทางการศึกษา การรับรูข้ ่าวสาร และอานาจต่อรอง การประท้วง การใช้ความรุนแรง ปญั หาอาชญากรรม และยาเสพติด เป็ น ป จั จัย ลดทอนความเข้ม แข็ง ทางเศรษฐกิจ ความมันคงทางสั ่ ง คม และท าให้ ประชาธิปไตยอ่ อนแอ ขณะเดียวกัน การกระจายผลตอบแทนระหว่างปจั จัยการผลิต และการกระจาย รายได้ระหว่างภูมภิ าคแตกต่างกัน ผลตอบแทนของแรงงานมีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องจากร้อยละ ๓๐.๒ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ เป็ นร้อยละ ๒๘.๙ ในช่วง ๓ ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ขณะที่ ผลตอบแทนของทุน ผูป้ ระกอบการ และทีด่ นิ มีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ ๕) สังคมไทยเผชิ ญวิ กฤตความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมและจริ ยธรรม และมี การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมที่ หลากหลาย การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วผ่านกระแสโลกาภิวตั น์ และโลก ไซเบอร์ ทาให้คนไทยมุ่งแสวงหาความสุขและสร้างอัตลักษณ์ส่วนตัวผ่ านเครือข่ายสังคม ออนไลน์ เกิดเป็ นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยที่หลากหลายในรูปแบบการรวมกลุ่ มของบุคคลที่ส นใจเรื่อ ง เดีย วกัน โดยที่ว ัฒ นธรรมที่บ่ ง บอกความเป็ น ไทยไม่ส ามารถแสดงบทบาทที่ช ัด เจน ขณะเดีย วกัน สังคมไทยก็เผชิญกับความเสื่อมถอยด้านคุณธรรมจริยธรรม ซึง่ สะท้อนได้จากคนในสังคมมีความถี่ในการ ใช้ความรุนแรงในการแก้ไขปญั หามากขึน้ ทัง้ ปญั หาครอบครัว การแย่งชิงทรัพยากรระหว่างชุมชน และ ความคิดเห็นแตกต่างทางการเมือง ขณะทีก่ ระบวนการยุตธิ รรมแก้ไขปญั หาได้ไม่เต็มที่ ผูท้ ใ่ี ช้ความรุนแรง มักขาดความยับยัง้ ชังใจ ่ มีพฤติกรรมเลียนแบบหรืออาจเกิดจากการเลี้ยงดู ขาดการใช้เหตุใช้ผล ขาด ความเอือ้ เฟื้อ เอือ้ อาทร ส่งผลให้ความมีคุณธรรมและจริยธรรมของคนในสังคมลดน้อยลง ๖) สังคมไทยเผชิ ญปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติ ดและการเพิ่ มขึ้นของ การพนั นโดยเฉพาะในกลุ่ มเด็กและเยาวชน ในช่ว ง ๓ ปี ของแผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ ๑๐ เด็ก และ


เยาวชนถูกดาเนินคดีโดยสถานพินิจและคุม้ ครองเด็กและเยาวชน มีสดั ส่วน ๕.๐๒ - ๕.๓๙ คดีต่อเด็กพัน คน สูงกว่า ในช่ ว งแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ - ๙ ที่ม ีสดั ส่ ว น ๓.๓๔ - ๕.๐๕ คดียาเสพติดเพิ่ม ขึ้นอย่า ง ต่อเนื่องจาก ๘,๘๐๓ คดี ในปี ๒๕๔๙ เพิม่ ขึน้ เป็น ๑๒,๓๕๒ คดี ในปี ๒๕๕๒ ทัง้ นี้ ปญั หาการแพร่ระบาด ของยาเสพติดในโรงเรีย นและสถานศึก ษาเพิ่มขึ้น อย่างน่ าเป็ น ห่ว ง จากการสารวจความคิดเห็นของ ประชาชนพบว่า ปญั หาการแพร่ระบาด ยาเสพติดในสถานศึกษาเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ ๑๙.๒ ปี ๒๕๕๒ เป็ น ร้อยละ ๕๑.๓ ปี ๒๕๕๓ ขณะเดียวกันกลุ่มเด็กและเยาวชนมีแนวโน้มเล่นการพนันมากขึน้


๗) สังคมไทยตื่นตัวทางการเมืองและให้ ความสาคัญกับความรับผิ ดชอบต่ อ สังคมและระบบธรรมาภิ บาลมากขึ้น ประชาชนไทยมีความตื่นตัวในทางการเมืองสูงขึน้ การใช้สทิ ธิ ลงคะแนนเลือกผูแ้ ทนราษฎรเพิม่ ขึน้ การตรวจสอบทางการเมืองเกิดขึน้ ต่อเนื่อง ขณะทีภ่ าคธุรกิจเอกชน เข้ามามีบทบาทในการพัฒนาประเทศมากขึ้น มีการจัดตัง้ เครือข่ายด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของ บริษทั จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย มีการดาเนินธุรกิจในรูปแบบกิจการเพื่อสังคม ซึ่ง เป็นแนวทางการลงทุนใหม่ของการประกอบธุรกิจเพื่อการเจริญเติบโตของภาคสังคมเป็ นหลัก ไม่มุ่งกาไร สูงสุด อย่างไรก็ตามในด้านการบริหารจัดการยังมีปญั หาความโปร่งใส และไม่สุจริต ดัชนีภาพลักษณ์การ คอร์รปั ชันในช่ ่ วงปี ๒๕๕๐-๒๕๕๓ มีคะแนนในช่วง ๓.๓ – ๓.๕ เทียบกับในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ทีค่ ะแนนอยูใ่ นช่วง ๓.๒-๓.๘ จากคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน ๒.๒.๓ การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ๑) ทุ น ทรัพ ยากรธรรมชาติ เ สื่ อ มโทรม จากการเพิ่ม ขึ้น ของประชากร การ พัฒนาเศรษฐกิจที่มุ่งการเจริญเติบโตและการแข่งขันทางด้านการค้า และการลงทุน ซึ่ง ทาให้มกี ารใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติเกินศักยภาพและกระทบต่อความสมดุลของระบบนิเวศ พื้นที่ป่าไม้ของ ประเทศไทยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ ๕๓.๓๓ ในปี ๒๕๐๔ เหลือร้อยละ ๓๓.๕๖ ในปี ๒๕๕๓ อยู่ในระดับต่ ากว่าเกณฑ์ท่จี ะรักษาสมดุลของระบบนิเวศ พื้นที่ป่าต้นน้ าอยู่ในขัน้ วิกฤตถึง ๑๔ ล้านไร่ ส่งผลให้การเกิดอุทกภัยและปญั หาภัยแล้ง รวมทัง้ การขาดแคลนน้ ามีความรุนแรงเพิม่ ขึน้ ปจั จุบนั มีปริมาณน้าต้นทุนเพียง ๒ ใน ๓ ของความต้องการใช้น้าเท่านัน้ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ ั ่ น้ ทีห่ ลายแห่งอยู่ในภาวะวิกฤต ปี มีแนวโน้มสูงขึน้ จากกิจกรรมต่างๆ ของมนุ ษย์ การกัดเซาะชายฝงในพื ั่ ๒๕๕๐ แนวชายฝงทะเลทั วประเทศถู ่ กกัดเซาะ ๑๕๕ แห่ง รวมเป็ นความยาวประมาณ ๖๐๐ กิโลเมตร เกิดการสูญเสียทีด่ นิ ไปถึง ๑๑๓,๐๔๒ ไร่ คิดเป็นมูลค่าความเสียหายเฉพาะทีด่ นิ ประมาณ ๑ แสนล้านบาท ั่ ส่วนพืน้ ทีแ่ นวชายฝงทะเลอ่ าวไทยตอนในทัง้ หมดซึง่ ได้รบั การจัดเป็ นพืน้ ทีช่ ุ่มน้ าทีม่ คี วามสาคัญระดับชาติ มีอตั ราการกัดเซาะรุนแรงมากกว่า ๕ เมตรต่อปี ขณะทีท่ รัพยากรดินทีเ่ ป็ นปจั จัยการผลิตทีส่ าคัญ มีความ เสื่อมโทรมและมีปญั หาความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ พืน้ ทีด่ นิ เสื่อมโทรมในระดับรุนแรงและระดับ วิกฤตเท่ากับ ๓๕.๙๗ ล้านไร่ คิดเป็ นร้อยละ ๑๑.๒๔ ของพื้นที่ประเทศ การใช้ท่ีดนิ ที่ไม่เหมาะสมกับ ศักยภาพพืน้ ที่ และปญั หาการกระจายการถือครอง มีการเข้าครอบครองใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ รวมทัง้ การขยายตัวของเมือง พืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม รุกพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมมากขึน้ ๒) ก า ร เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ส ภ า พ ภู มิ อ า ก า ศ ส่ ง ผ ล ซ้ า เ ติ ม ใ ห้ ปั ญ ห า ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมรุนแรง กระทบต่ อผลผลิ ตภาคเกษตรและความยากจน ภาวะ โลกร้อนที่เกิดขึน้ อย่างรวดเร็วในช่วง ๕๐ ปีท่ผี ่านมาทาให้เกิดการเสียสมดุลของธรรมชาติ ส่งผลกระทบ เชื่อมโยงในหลายมิติ ทัง้ ด้านเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อ ม การเปลี่ยนแปลงในเชิงพื้นที่ท่เี ริม่ ปรากฏ ชัดเจนในบริเวณภาคกลางเขตลุ่มแม่น้ าเจ้าพระยาและภาคอีสานตอนล่างทีม่ อี ุณหภูมสิ ูงขึน้ ทาให้พชื และ สัตว์ต้องปรับตัวเข้าสู่ระบบนิเวศที่เปลี่ยนไป เกิดการเปลี่ยนแปลงของพันธุ์พชื สัตว์ป่า และสิง่ มีชวี ติ ที่ อาศัยอยู่ในป่า ความหลากหลายทางชีวภาพก็จะเปลี่ยนแปลงตามไปด้ วย ระบบนิเวศทางทะเลก็ได้รบั ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน เนื่องจากอุณหภูมผิ วิ น้ าทีเ่ พิม่ ขึน้ และระดับน้ าทะเลทีส่ ูงขึน้ ในบางพืน้ ที่ส่งผล ั ่ างต่อเนื่อง นาไปสู่ปญั หาความเสื่อม ให้พชื และสัตว์ทะเลบางชนิดสูญพันธุ์ เกิดการกัดเซาะพืน้ ทีช่ ายฝงอย่


โทรมของดิน หลายพืน้ ทีเ่ ป็ นที่อยู่อาศัยของชาวบ้าน ผูม้ อี าชีพทาประมงน้ ากร่อยได้รบั ผลกระทบโดยตรง หากไม่ได้รบั การป้องกัน แหล่งท่องเทีย่ วทีส่ าคัญมีความเสียหายทางเศรษฐกิจและสังคม ปริมาณน้ าฝนใน ระยะ ๒๐ ปี ข้างหน้ าในบางพื้นที่มแี นวโน้ มลดลง เกิดภัยพิบตั ิ ภาวะน้ าท่วมฉับพลัน น้ าหลาก ภัยแล้ง ยาวนาน หรือ ดิน ถล่ มในหลายพื้น ที่ เกิดความเสียหายต่ อ ผลผลิต ทางการเกษตรคิดเป็ นมูล ค่ ากว่า สี่ พันล้านบาทต่อปี การสูญเสียผลผลิตทางการเกษตรจากการเกิดภัยแล้งยาวนานหรือน้ าท่วมซ้าซากส่งผล กระทบต่อเศรษฐกิจและวิถชี วี ติ ของประชาชน โดยเฉพาะเกษตรกรทีต่ อ้ งประสบปญั หาทีอ่ ยู่อาศัย ทีด่ นิ ทา กิน หรือต้นทุนการผลิตทีส่ ูงขึน้ ขณะทีผ่ ลผลิตตกต่ า เกิดการสูญเสียทีด่ นิ ของเกษตรกรรายย่อย นาไปสู่ การบุกรุกทีป่ า่ เพิม่ ขึน้ และความขัดแย้งแย่งชิงการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ๓) การบริ หารจั ด การทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อ มยั ง ไม่ มี ประสิ ทธิ ภาพเท่ า ที่ ค วร ขณะที่ มี ค วามขัด แย้ ง ทางนโยบายในการบู ร ณาการการอนุ ร ัก ษ์ สิ่ งแวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิ จ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมขาดการบูร ณาการร่วมระหว่างหน่วยงานรับผิดชอบทีเ่ กี่ยวข้อง ส่งผลให้การกาหนดเครื่องมือและกลไกในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็นแบบแยกส่วน ระบบการจัดการข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล้อ มไม่ ไ ด้ ม าตรฐาน ไม่ค รอบคลุ ม และขาดการเชื่อ มโยงกับ ข้อ มูล ด้า นเศรษฐกิจ และสัง คม กฎหมายมีลกั ษณะของการบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้ ขาดความ เป็นธรรม และความโปร่งใส นอกจากนี้ มีปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และความไม่เป็ นธรรมในการจัดสรร ทรัพยากร เช่น ที่ดนิ น้ า และป่าไม้ เป็ นต้น ขณะที่เกิดความขัดแย้งของนโยบายระหว่างการลงทุนใน ภาคอุตสาหกรรมเพื่อความก้าวหน้ าทางเศรษฐกิจ และการอนุ รกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้ภาคประชาชนขาดความเชื่อมันต่ ่ อการพัฒนาอุตสาหกรรมและการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อมของ ภาครัฐ ดังเช่นกรณีปญั หามลพิษในพืน้ ทีน่ ิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุด จังหวัดระยอง ทีส่ ่งผลกระทบทัง้ ใน มิตเิ ศรษฐกิจและชีวติ ความเป็นอยูข่ องคนในพืน้ ที่ ๔) ประเทศไทยยัง มี ค วามมันคงด้ ่ า นอาหาร แม้ จ ะต้ อ งเผชิ ญ กับ ความ ท้ าทายจากการเปลี่ ย นแปลงภูมิอากาศและความต้ องการพื ชพลังงาน ผลผลิตเกษตรมีเพียงพอ สาหรับการบริโภคและส่งออก แม้ว่าจะมีการปรับเปลีย่ นการเพาะปลูกไปสู่พชื พลังงานเพิม่ ขึน้ โดยเฉพาะ ปาล์มน้ ามัน และมันสาปะหลัง แต่ยงั ไม่ส่งผลกระทบต่อการผลิตพืชอาหารสาคัญในภาพรวมของประเทศ เช่น ข้าวนาปี ท่มี พี ้นื ที่การผลิตไม่เปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ดี ผลกระทบจะเกิดขึน้ มากหรือน้อยขึ้นอยู่กบั ความสามารถในการพัฒ นายกระดับ คุ ณ ภาพระบบการผลิต ของภาคการเกษตรในอนาคต รวมถึง แนวนโยบายภาคเกษตรของประเทศที่ใ ห้ค วามสาคัญ ในการเลือ กส่ งเสริมการผลิต พืชอาหารและพืช พลังงานอย่างสมดุล ๒.๒.๔ การเปลี่ยนแปลงสภาวะด้านการบริ หารจัดการการพัฒนาประเทศ ๑) รัฐธรรมนูญฉบับที่ ใช้ อยู่ในปัจจุบนั ให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของ ประชาชน และวางรากฐานธรรมาภิ บาลของประเทศมาอย่างต่ อเนื่ อง ส่งผลให้ ประชาชนมีความ ตื่นตัวทางการเมืองสูงขึ้น วิกฤตการณ์ทางการเมืองปี ๒๕๔๙ ส่งผลให้ค่าดัชนีประชาธิปไตยของไทยมี ค่าคะแนน ๕.๖๗ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน อยูใ่ นลาดับที่ ๙๐ จากประเทศกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด แต่ภายหลังจากการประกาศใช้รฐั ธรรมนู ญ พ.ศ. ๒๕๕๐ ที่นาไปสู่กระบวนการเลือกตัง้ ส่งผลให้ค่าดัชนี


ประชาธิปไตยในปี ๒๕๕๑ เพิม่ ขึน้ เป็น ๖.๘ เป็นอันดับหนึ่งเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน และอยู่ ลาดับที่ ๕๔ จากประเทศกลุ่มตัวอย่างทัง้ หมด ซึง่ สะท้อนให้เห็นว่า ประชาชนเกิดความตื่นตัวในการมีส่วน ร่วมบริหารประเทศที่สูงกว่าในอดีต การรวมตัวแสดงความคิดเห็นทางการเมืองหรือการตรวจสอบการ ทางานของภาครัฐเป็ นการวางรากฐานการพัฒนาวัฒนธรรมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลให้เป็ นส่วน หนึ่งของวิถกี ารดาเนินชีวติ ในสังคมไทย และเสริมสร้างการเมืองให้โปร่งใส สุจริตมากขึน้ ๒) ความขัดแย้ งทางการเมืองและความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ส่งผลต่ อเศรษฐกิ จ การดารงชี วิตของประชาชน ความเชื่อมันของนานาประเทศ ่ และทาให้ความ สงบสุขลดลง ความขัดแย้งทางการเมืองอันเนื่องมาจากการชุมนุ มประท้วงและการก่อความรุนแรงใน เหตุการณ์ต่างๆ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อความมันคงและความสามั ่ คคีของคนในชาติ เป็ นเหตุให้รฐั บาล ขาดเสถียรภาพ ไม่ส ามารถบริหารประเทศได้เต็ มความสามารถ ลดความเชื่อมันจากนั ่ กลงทุนจาก ต่างประเทศ รวมทัง้ การใช้ความรุนแรงในการยุตปิ ญั หาระหว่างเจ้าหน้ าที่รฐั กับประชาชนทาให้เกิดการ บาดเจ็บและความล้มตายของผูค้ น ความรุนแรงทีเ่ กิดขึน้ ยังทาให้ประชาชนส่วนใหญ่มคี วามเครียด ความ วิตกกังวล และหวาดระแวงเพิม่ มากขึน้ ขณะทีค่ วามไม่สงบใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ทย่ี งั รุนแรง ทาให้ มีผู้เ สีย ชีว ิต ได้ร บั บาดเจ็บ และทรัพ ย์ส ิน เสีย หายเป็ น จ านวนมาก เหตุ ก ารณ์ ค วามไม่ส งบยัง ท าให้ เศรษฐกิจภาคใต้อ่อนแอ มีการว่างงาน คนจนเพิม่ ขึน้ และการทีเ่ จ้าหน้าทีร่ ฐั ถูกทาร้าย ทาให้ไม่สามารถลง พื้นที่ให้บริการประชาชนได้ตามปกติ คนในท้องถิ่นจึงมีข้อจากัดในการเข้าถึงบริการของรัฐ อาทิ ด้าน สุขภาพอนามัย สถานการณ์ความรุนแรงทัง้ ๒ กรณี เป็ นปจั จัยลบที่ส่งผลให้ไทยถูกจัดเป็ นประเทศที่ม ี ระดับดัชนีว ดั ความสงบสุขอยู่ในระดับต่ าที่สุดประเทศหนึ่งในโลก และต่ าที่สุดเป็ นอันดับที่สองในกลุ่ ม ประเทศอาเซียน รองจากประเทศพม่าเพียงประเทศเดียว ๓) ประสิ ท ธิ ภาพภาครัฐมี การเปลี่ ย นแปลงในภาพรวมที่ ดี ขึ้ นจากช่ วงต้ น แผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ ๑๐ แต่ ขี ด ความสามารถในการป้ องกันการทุ จ ริ ต ต้ อ งปรับปรุง ระดับขีด ความสามารถในการแข่งขันของไทยด้านประสิทธิภาพของภาครัฐในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ มีการ เปลี่ยนแปลงที่ดีข้นึ ถึง ๑๐ ลาดับจากลาดับที่ ๒๗ ในปี ๒๕๕๐ เป็ นลาดับที่ ๑๘ ในปี ในปี ๒๕๕๓ มี สาเหตุมาจากการปรับโครงสร้างระบบราชการให้การบริหารงานมีอสิ ระและคล่องตัว มีการกระจายอานาจ จากส่วนกลางสู่ส่วนภูมภิ าคและส่วนท้องถิน่ ได้ผลเป็นรูปธรรม โดยจังหวัดสามารถจัดทาแผนและตัง้ คาขอ งบประมาณของจังหวัดได้เอง รวมถึงการกระจายอานาจสู่ท้องถิ่นมีความคืบหน้ ามากขึน้ อย่าไรก็ตาม จากการที่ข ีด ความสามารถการพัฒ นาระบบราชการไทยด้า นความการทุ จ ริต และประพฤติม ิช อบ เปรียบเทียบกับ ๕๘ ประเทศ ลดลงจาก ๒.๙๖ คะแนนเป็น ๑.๗๙ คะแนน ในช่วงเวลาเดียวกัน สะท้อนให้ เห็นว่า ระบบราชการไทยยังต้องเร่งปรับปรุงในเรือ่ งคุณธรรม จริยธรรม การปฏิบตั งิ านภายใต้วนิ ัยทีด่ แี ละ การตรวจสอบการดาเนินงาน ๔) การกระจายอานาจประสบความสาเร็จ ในเรื่องการเพิ่ มรายได้ ให้ องค์กร ปกครองส่ วนท้ องถิ่ น (อปท.) แต่ มีความล่าช้ าในการถ่ายโอนภารกิ จและมีความไม่ชดั เจนในการ


แบ่งบทบาทหน้ าที่ กบั ราชการส่ วนกลาง การปรับปรุงแผนกาหนดขัน้ ตอนและแผนปฏิบตั กิ ารกระจาย อานาจให้ อปท. อย่างเป็ นระบบ ช่วยให้ อปท. มีรายได้เพิม่ ขึน้ แต่ยงั มีความล่าช้าในด้านการถ่ายโอน ภารกิจอยูห่ ลายประการ เนื่องจากมีความล่าช้าของการแก้ไขกฎหมายและระเบียบต่างๆ ทีจ่ าเป็ น รวมทัง้ บุคลากรทีจ่ ะถ่ายโอนไม่มคี วามพร้อมหรือมีปญั หาในการปรับตัว ขณะเดียวกัน การจัดบริการสาธารณะใน พื้นที่ของ อปท. มีความซ้าซ้อนกับส่วนกลาง ทาให้ขาดความชัดเจนในการแบ่งบทบาทหน้าที่ทงั ้ ในเชิง กากับดูแล การควบคุม และการตรวจสอบ ส่งผลต่อประสิทธิภาพของการให้บริการและต้นทุนการบริหาร จัดการ รวมทัง้ ขาดการบูรณาการแผนงานระดับต่ างๆ อุ ปสรรคดังกล่ าวส่ ง ผลให้ อปท. ไม่ส ามารถ ดาเนินการภารกิจภายใต้กฎหมายในการจัดบริการเพื่อรองรับความต้องการของประชาชนในพืน้ ทีไ่ ด้อย่าง เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลต่อการพัฒนาความเป็นอยูข่ องประชาชนในภาพรวม ๕) การคอร์รปั ชันเป็ ่ นปัญหาสาคัญของไทย ปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันยั ่ งคง บ่อนทาลายประเทศ แม้ว่าภาครัฐจะมีนโยบายการปราบปรามและรณรงค์เพื่อป้องกันคอร์รปั ชันอย่ ่ าง ต่อ เนื่อ ง แต่ ภาพลัก ษณ์ก ารคอร์รปั ชันโดยรวมของประเทศไทยยั ่ งไม่ดีข้นึ ในปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ อยู่ ระหว่าง ๓.๒ – ๓.๕ คะแนน จาก ๑๐ คะแนนเต็ม ต่ากว่าประเทศเพื่อน เช่น สิงคโปร์ และมาเลเซีย แต่สูง กว่า เวียดนาม ฟิ ลปิ ปิ นส์ และอินโดนิเชีย ส่งผลให้หลายภาคส่วนชุมนุ ม รวมกลุ่มต่อต้าน เรียกร้องและ กดดันให้เกิดการเปลีย่ นแปลงรัฐบาลหลายครัง้ ขณะเดียวกัน เมื่อมีการสารวจทัศนคติของประชาชนไทย ต่อปญั หาการทุจริต พบว่า ประชาชนบางกลุ่มยอมรับได้กบั การทุจริตคอร์รปั ชันหากท ่ าให้ประเทศชาติ รุ่งเรือง ประชาชนกินดีอยู่ดี ผลสารวจของเอแบคโพล พบว่า ผู้ถูกสัมภาษณ์รอ้ ยละ ๗๓.๒ คิดว่าทุก รัฐบาลมีก ารทุจริต คอร์ร ปั ชัน่ แต่ ห ากทาแล้ว ประเทศรุ่งเรือ ง ประชาชนกินดีอ ยู่ดีก็ยอมรับได้ จึงเป็ น ประเด็นทีน่ ่าเป็นห่วงและเป็ นอุปสรรคสาคัญต่อการพัฒนาประเทศตามวิถปี ระชาธิปไตยและหลักธรรมาภิ บาลอย่างยังยื ่ น

การประเมินความเสี่ยง

การเปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกประเทศที่จะเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ประเทศไทยต้อง เผชิญ กับ ความเสี่ย งในหลายมิติ ท่ีส่ ง ผลกระทบต่ อ การพัฒ นาเศรษฐกิจ และสัง คมของไทย ในช่ ว ง แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ซึง่ ความเสีย่ งทีส่ าคัญ ประกอบด้วย ๓.๑ การบริ หารภาครัฐอ่อนแอ ไม่สามารถขับเคลื่อนการบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ อานาจรัฐถูกใช้เพื่อผลประโยชน์ ของคนบางกลุ่ม ความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐกับภาคประชาชนและ ระหว่างประชาชนกับประชาชนในบางพืน้ ทีม่ ชี ่องว่างมากขึน้ ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ขอ้ คิดเห็นแต่ การมีส่วนร่วมตัดสินใจในระดับนโยบายมีน้อย เจ้าหน้าทีร่ ฐั ย่อหย่อนในการปฏิบตั ติ ามหน้าที่ การบังคับใช้ กฎหมายไม่จริงจัง การดาเนินงานไม่โปร่งใส เกิดการทุจริตประพฤติมชิ อบ นาไปสู่ความเหลื่อมล้าและไม่ เป็นธรรมในมิตเิ ศรษฐกิจ สังคม การเมือง ส่งผลกระทบต่อความเชื่อถือของต่างชาติทม่ี ตี ่อประเทศไทย ๓.๒ โครงสร้างทางเศรษฐกิ จไม่สามารถรองรับการเจริ ญเติ บโตอย่างยังยื ่ น จากการพัฒนา ที่โครงสร้างเศรษฐกิจพึ่งภาคอุตสาหกรรมในสัดส่ วนสูงและมีอุตสาหกรรมหลักน้ อยประเภท ส่งผลให้ เศรษฐกิจไทยมีความอ่อนไหวต่อความผันผวนของเศรษฐกิจโลกและปจั จัยแวดล้อมโลกทีเ่ ปลีย่ นแปลงไป การขยายตัวทางเศรษฐกิจขึน้ อยู่กบั ปจั จัยการผลิตดัง้ เดิมโดยเฉพาะทุน และแรงงานราคาถูกทีม่ ผี ลิตภาพ การผลิตต่ า เป็ นอุปสรรคต่อการเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก และคุณภาพชีวติ ลดลง


วิส าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อ มเป็ นแหล่ งจ้างงานสาคัญของประเทศ แต่ ยงั มีบทบาทเพียงร้อ ยละ ๓๗.๘ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจไทยในระยะที่ผ่านมาพึ่งภาคการ ส่งออกและการลงทุนเป็ นหลัก ผลตอบแทนแรงงานในภาคเกษตรมีสดั ส่วนต่ าเมื่อเทียบกับนอกภาค เกษตร เกษตรกรยังประสบความยากจนและมีปญั หาหนี้สนิ ความต้องการใช้พลังงานของไทยมีแนวโน้ม สูงขึน้ มีการพึง่ พิงการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศจานวนมาก ๓.๓ โครงสร้างประชากรที่ มีวยั สูงอายุเพิ่ มขึ้ น ขณะที่ ประชากรวัย เด็กและวัยแรงงาน ลดลง ประชากรผูส้ งู อายุมสี ดั ส่วนร้อยละ ๑๑.๙ ในปจั จุบนั และจะเพิม่ เป็ นร้อยละ ๑๔.๘ เมื่อสิน้ สุดแผนฯ ๑๑ ประเทศไทยจึงจะเป็ นสังคมผูส้ ูงอายุอย่างสมบูรณ์ในปี ๒๕๖๘ ขณะทีป่ ระชากรวัยเด็กมีสดั ส่วนลดลด อย่างต่อเนื่องจากร้อยละ ๒๐.๕ ในปจั จุบนั เหลือร้อยละ ๑๘.๓ ในปี ๒๕๕๙ เป็ นผลมาจากภาวะเจริญพันธุ์ ของสตรีไทยที่ล ดลงต่ ากว่าระดับทดแทน การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรดังกล่ าวทาให้สดั ส่ ว น ประชากรวัยแรงงานลดลงในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จากสัดส่วนประชากรเด็ก : แรงงาน : ผูส้ ูงอายุ ๒๐.๕ : ๖๗.๖ : ๑๑.๙ ในปี ๒๕๕๓ เป็ น ๑๘.๓ : ๖๖.๙ : ๑๔.๘ ในปี ๒๕๕๙ แม้สดั ส่วนประชากรวัย แรงงานจะไม่เปลีย่ นแปลงมากนักในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ แต่ในอนาคตความต้องการแรงงานใน ระบบเศรษฐกิจอาจเพิม่ ขึน้ การขาดแคลนแรงงานจะเป็ นปญั หาสาคัญไม่เฉพาะแต่ประเทศไทย ภายใต้ สถานการณ์ท่ปี ระเทศต่างๆ เข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุและการเคลื่อนย้ายแรงงานเป็ นไปอย่างเสรี การแข่งขัน เพื่อแย่งชิงแรงงานจะมีมากขึน้ โดยเฉพาะแรงงานคุณภาพ จะเป็ นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของไทยที่ยงั มีขอ้ จากัดด้านการบริหารจัดการแรงงานต่างชาติ นอกจากนี้ภาครัฐและครัวเรือนจะมีภาระ ค่าใช้จ่ายเพิม่ ขึน้ ในการดูแลและพัฒนาคุณภาพชีวติ ของผูส้ ูงอายุในด้านต่างๆ ส่งผลต่อภาระงบประมาณ ของภาครัฐ และค่าใช้จ่ายของครัวเรือนในการดูแลสุขภาพอนามัย และการจัดสวัสดิการทางสังคม เป็ น อุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ หากไม่มกี ารเตรียมความพร้อมทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ๓.๔ ค่านิ ยมที่ดีงามของไทยเสื่อมถอย การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและกระแสโลกาภิวตั น์ม ี ผลกระทบต่อวัฒนธรรมประเพณีดงั ้ เดิมทีด่ งี าม ส่งผลให้สงั คมไทยมีความเป็ นวัตถุนิยม พฤติกรรมของคน ในสัง คมเปลี่ย นแปลง คนไทยให้ค วามส าคั ญ กับ ศีล ธรรมและวัฒ นธรรมที่ดีง ามลดลง ทัง้ การด ารง ชีวติ ประจาวัน การใช้ชวี ติ และความสัมพันธ์กบั ผูอ้ ่นื มุ่งหารายได้เพื่อสนองความต้องการ การช่วยเหลือ เกื้อ กู ล กันลดลง ความมีน้ าใจไมตรีน้อ ยลง ต่ างแก่งแย่งเอารัดเอาเปรียบกัน ทาให้คนไทยขาดความ สามัคคี การเคารพสิทธิผอู้ ่นื และการยึดถือประโยชน์ส่วนรวม ส่งผลต่อวิถชี วี ติ คนไทยทัง้ ระดับครอบครัว ชุมชน และประเทศ ๓.๕ ฐานทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล้ อ มของประเทศมี แ นวโน้ ม เสื่ อ มโทรม รุนแรง จากการเปลีย่ นแปลงทัง้ ในด้านกายภาพ การใช้ประโยชน์ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศส่งผล ให้ส ถานการณ์แ ละแนวโน้ มความเสื่อ มโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทวีค วามรุนแรง โดยเฉพาะการขาดแคลนน้ า รูปแบบและพฤติกรรมการบริโภคทีฟ่ ุ่มเฟื อยทัง้ ในภาคประชาชนและภาคการ ผลิต ทาให้มกี ารใช้ทรัพยากรอย่างสิน้ เปลือง ไม่คุม้ ค่า และปริมาณของเสียเพิม่ ขึน้ เกิดความเสีย่ งต่อการ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศทางทะเล ชายฝงั ่ พืน้ ทีช่ ุ่มน้ า และป่าไม้ รวมไปถึงการ ั ่ างต่อเนื่อง สร้างความเสียหายต่อพืน้ ที่อยู่อาศัย พื้นทีก่ ารเกษตร หรือแหล่งท่องเที่ยว กัดเซาะชายฝงอย่


และการประกอบอาชีพ เกิดการอพยพย้ายถิน่ ทาให้วฒ ั นธรรมพื้นถิน่ สูญหาย ขณะที่ ภยั พิบตั จิ ะเกิดขึ้น บ่อยครัง้ มีพ้นื ที่เสี่ยงต่ออุทกภัย วาตภัย และภัยแล้งเพิม่ ขึน้ กระทบต่อฐานการผลิตภาคเกษตร ความ มันคงด้ ่ านอาหาร พลังงาน สุขภาวะและคุณภาพชีวติ ของประชาชน ๓.๖ ประเทศไทยยังคงมีความเสี่ยงด้านความมันคง ่ ทัง้ ที่มาจากปญั หาการก่อความไม่สงบ ในประเทศ ปญั หาการก่ อ การร้าย วิก ฤตเศรษฐกิจและการแข่ง ขันด้านต่ างๆ ในเวทีระหว่ างประเทศ รวมทัง้ ภัยพิบตั ทิ เ่ี กิดจากมนุ ษย์และธรรมชาติมคี วามรุนแรงและผลกระทบสูง มีแนวโน้มจะมีความรุนแรง และผลกระทบเพิม่ ขึ้นในระยะต่อไป เป็ นประเด็นท้าทายต่อการบริหารจัดการความเสี่ยงทัง้ การบริห าร วิกฤตการณ์ การเตรียมความพร้อมเพื่อตอบสนองอย่างฉับไว และการบริหารจัดการในภาวะฉุ กเฉิ น รวมทัง้ การเสริมสร้างศักยภาพของประเทศให้มคี วามเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสามารถแข่งขันได้ในเวที โลกอย่างต่อเนื่อง

การสร้างภูมิค้มุ กันของประเทศ

สัง คมไทยด ารงอยู่ไ ด้ภ ายใต้ก ระแสการเปลี่ย นแปลงทัง้ ด้า นเศรษฐกิจ และสัง คม ในตลอด ระยะเวลาทีผ่ ่านมาภายใต้ความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ความเข้มแข็งของวัฒนธรรมและการดาเนิน ยุ ท ธศาสตร์ก ารพัฒ นาที่เ หมาะสม โดยเฉพาะในช่ ว งของแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ ที่ก ระแสการ เปลีย่ นแปลงจะรุนแรงมากขึน้ และจะกระทบต่อการพัฒนาประเทศและวิถกี ารดารงชีวติ ของประชาชนในวง กว้าง จึงได้ควรพิจารณานา จุดแข็งของสังคมไทยที่มมี าแต่ในอดีต ตลอดจนจุดเด่นของการดาเนิน ยุทธศาสตร์ในอดีตมาสร้างเป็ นภูมคิ ุ้มกันให้ประเทศสามารถพัฒนาได้อย่างก้าวหน้าและมันคงต่ ่ อไปใน อนาคต ดังนี้ ๔.๑ ประเทศไทยมีการปกครองในระบอบประชาธิ ปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยท์ รงเป็ น ป ร ะ มุ ข สถาบันพระมหากษัตริยเ์ ป็ นสถาบันหลักทีย่ ดึ โยงคนในชาติให้เกาะเกี่ยวกันอย่างแน่ นแฟ้น เป็ นแบบอย่าง ในการดาเนินชีวติ ของคนในสังคม โดยเฉพาะรัชกาลปจั จุบนั ทีท่ รงเป็ นแบบอย่างของการดารงชีวติ บนทาง สายกลางและความพอเพียง รวมถึงทรงให้ความสาคัญกับการพัฒนาชีวติ ความเป็ นอยู่ของพสกนิกรในทุก ด้า น นอกจากนี้ การที่พ ระมหากษัต ริย์ ไ ทยตัง้ แต่ อ ดีต ถึง ป จั จุ บ ัน ทรงให้ค วามส าคัญ กับ การด าเนิ น วิเทโศบายกับนานาประเทศอย่างชาญฉลาด ส่งผลให้ประเทศไทยมีความเป็ นเอกราช ยืนอยู่บนเวทีโลก อย่างมีศกั ดิ ์ศรี มีสมั พันธ์ทด่ี กี บั ประเทศต่างๆ รวมถึงมีศกั ยภาพและความพร้อมในการคงไว้ซ่งึ อธิปไตย ของชาติ ให้ความสาคัญต่อการเป็ นพันธมิตรและภาคีการพัฒนากับประเทศต่างๆ โดยยึดความเป็ นกลาง ในการสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ ๔.๒ การพัฒ นาประเทศให้ อ ยู่ บนฐานความรู้และเทคโนโลยี ที่ ท ันสมัย การวิจ ยั พัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเป็ นแรงขับเคลื่อนทีส่ าคัญ สาหรับการพัฒนาประเทศ ในการปรับเปลีย่ นการ ผลิต จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เงินทุน และแรงงานที่มผี ลิตภาพต่ า ไปสู่การใช้ความรู้และความ ชานาญด้านวิทยาศาสตร์แ ละเทคโนโลยี สังคมเศรษฐกิจฐานความรู้เป็ นพลังขั บเคลื่อ นและภูมคิ ุ้มกัน ประเทศไทยในกระแสโลกาภิวตั น์ ๔.๓ สังคมไทยมีค่านิ ยมและวัฒนธรรมที่ดีงาม ความเป็นไทยได้ถูกสะท้อนอยู่ในวัฒนธรรมที่ เป็ นเอกลักษณ์เฉพาะ การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมเกี่ยวโยงกับสภาพสังคมของประเทศ วัฒนธรรม ไทยที่ดงี ามสามารถยึดโยงคนไทยให้เป็ นเอกภาพ ลดอิทธิพลของความทันสมัยและความขัดแย้งใน


สังคมไทย ประชาชนนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้กบั ชีวติ ประจาวัน ครอบครัวบ่ม เพาะความเป็นไทยทีม่ จี ติ สานึกและอัตลักษณ์ให้บุตรหลานได้ตระหนักถึงรากเหง้าของตนเอง ๔.๔ ภาคการเกษตรเป็ นฐานรายได้ หลักและความมันคงด้ ่ านอาหารของประเทศ ภาค การเกษตรมีความสาคัญในสังคมไทย ก่อให้เกิดประโยชน์หลายด้าน ทัง้ แหล่งสร้างงาน แหล่งผลิตอาหาร และเชื่อมโยงวิถชี วี ติ ของสังคมไทย มีส่วนสาคัญในการลดความยากจน สร้างงาน และลดผลกระทบจาก ภาวะโลกร้อน การรักษาภาคการเกษตรเป็นแหล่งอาหารหลักของประเทศ สร้างกระแสธรรมชาตินิยม และ เสริมสร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็ง ๔.๕ ชุมชนเป็ นกลไกที่ มีค วามสามารถในการบริ ห ารจัด การ มี ส่ วนร่ วมในการพัฒ นา คุณภาพชี วิตและเชื่ อมโยงกันเป็ นสังคมสวัสดิ การ ชุมชนเป็ นหน่ วยสาคัญทีส่ ุดของประเทศ วิถชี ุมชน พึง่ พิงและอาศัยธรรมชาติเป็ นหลัก ชุมชนเข้มแข็ง คนในชุมชนพึง่ ตนเองได้ตงั ้ แต่ระดับปจั เจก ครอบครัว และชุมชน จะเป็ นพลังหลักในการพัฒนารากฐานของประเทศให้มนคง ั่ ชุมชนพึง่ ตนเองสามารถบรรเทา ปญั หาเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในระดับท้องถิน่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ กลไก ชุมชนสามารถพัฒนาท้องถิน่ ให้เจริญรุง่ เรือง

ประเด็นการพัฒนาที่สาคัญในระยะต่อไป

ภายใต้ ส ถานการณ์ ก ารเปลี่ย นแปลงที่จ ะส่ ง ผลกระทบต่ อ การพัฒ นาประเทศในช่ ว งของ แผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๑ พร้อมทัง้ การวิเคราะห์จุดอ่อนและข้อจากัดที่เป็ นจุดเสี่ยงของประเทศ รวมทัง้ ภูมคิ ุม้ กันที่จะต้องเร่งเสริมสร้างให้เข้มแข็งมากขึน้ ในสังคมไทย ได้นามาสู่การกาหนดประเด็นการพัฒนา สาคัญเพื่อเป็นกรอบการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาในช่วงของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ดังนี้ ๕.๑ การเตรียมคนไทยให้ มีการเรียนรู้ตลอดชี วิต มุ่งพัฒนาคนไทยให้มศี กั ยภาพในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีความคิดสร้า งสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ มีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม รูจ้ กั สิทธิหน้าที่ ของตนเองและผู้อ่นื ควบคู่กบั การเสริมสร้างและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางปญั ญาและแหล่งเรียนรูใ้ น ระดับชุมชน ๕.๒ การสร้างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมให้ทุกคนในสังคมไทย มุ่งปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจทีม่ คี ุณภาพและยังยื ่ น มีฐานการพัฒนาทีท่ วถึ ั ่ ง ให้ความสาคัญกับการปรับโครงสร้างการค้าและ การลงทุนให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจของเอเชีย ตะวันออกกลาง แอฟริกา และเศรษฐกิจใน ประเทศ ปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมที่เน้นการใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ และการ ผลิตทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม สร้างมูลค่าเพิม่ กับสาขาบริการทีม่ ศี กั ยภาพบนฐานของความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม พัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์และเมืองสร้างสรรค์ สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตรและความมันคง ่ ด้านอาหาร พร้อมทัง้ ขยายเศรษฐกิจฐานรากให้มคี วามหลากหลายและแข็งแกร่งมากขึน้ มีระบบค่าจ้าง แรงงานและสวัส ดิการแรงงานที่เ ป็ นธรรม มีการคุ้มครองแรงงานที่เหมาะสมกับการดารงชีว ิตอย่างมี คุ ณ ภาพ ควบคู่ไ ปกับ การพัฒนาทัก ษะและความรู้ ท งั ้ ด้านการผลิต และการบริหารจัดการ การเข้าถึง ทรัพยากร โครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาระบบการเงินฐานรากและระบบการออมที่หลากหลาย เพื่อเพิม่ โอกาสการประกอบสัม มาชีพ ที่ม นั ่ คง รวมทัง้ พัฒ นาระบบการคุ้ม ครองทางสัง คมให้ม ีคุ ณ ภาพและ ครอบคลุมอย่างทัวถึ ่ ง


๕.๓ การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และส่ งเสริ มบทบาทภาคประชาสังคมและ ธุรกิ จเอกชนให้ เป็ นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย มุ่งยกระดับศักยภาพและขีดความสามารถของ ชุมชนในการพัฒนาคุ ณภาพชีวติ คนในชุมชน และการจัดการความรู้ ควบคู่ไปกับการส่งเสริมบทบาท ภาคเอกชนในการดาเนินธุรกิจที่ให้ผลประโยชน์ตอบแทนคืนสู่สงั คมและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ กระตุน้ ชุมชนและภาคประชาสังคมร่วมตรวจสอบการดาเนินงานของภาครัฐ และส่งเสริมให้ชุมชนสามารถ เชื่อมโยงทิศทางการพัฒนากับบริบทการเปลีย่ นแปลงในอนุ ภูมภิ าค อาเซียน และโลก ๕.๔ การพัฒ นาปั จ จัย สนั บ สนุ น ที่ เ อื้ อ ต่ อ การปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขัน และระบบการแข่ ง ขัน ที่ เ ป็ นธรรม เน้ น การพัฒ นาวิท ยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัต กรรม และความคิดสร้างสรรค์ ควบคู่กับการพัฒนากาลังคนที่มสี มรรถนะสูง บริหาร จัดการโลจิสติกส์ พัฒนาการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ ระบบราง พัฒนาบริการอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง และสร้า งความมันคงด้ ่ านพลังงาน รวมทัง้ ปฏิรูปกฎหมาย กฎ ระเบียบทางเศรษฐกิจ ที่เ กี่ย วข้อ งให้ เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์ ๕.๕ การส่ งเสริ มความร่วมมือ อย่ างเป็ นหุ้นส่ วนการพัฒนาทัง้ ในระดับอนุ ภมู ิ ภาคและ ภูมิภาค เน้นสร้างความเชื่อมโยงด้านการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ทม่ี ปี ระสิทธิภาพรองรับการขยายตัว ด้ า น ก า ร ค้ า การลงทุนผ่านการอานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจ ชายแดนและการเปิดพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจใหม่ทเ่ี ชื่อมโยงภูมภิ าคเอเชียใต้ ๕.๖ การเตรียมความพร้อมของไทยเข้ าสู่ประชาคมอาเซี ยน ให้ความสาคัญ ในการสร้าง ความตระหนักในความสาคัญของประชาคมอาเซียน และผลกระทบที่จะเกิดขึน้ พัฒนาขีดความสามารถ ของผู้ประกอบการให้สามารถแข่งขันได้และใช้ประโยชน์จากประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน พัฒนาทักษะ แรงงานให้มคี วามสามารถเป็ นทีย่ อมรับของตลาดแรงงานอาเซียน รวมทัง้ การปรับกฎ ระเบียบ และการ จัดการเชิงสถาบันให้สอดรับกับกติกาของอาเซียน


๕.๗ การบริ ห ารจัดการน้ าและที่ ดินเพื่ อ สนับสนุนความมันคงด้ ่ านอาหารและการปรับ โครงสร้างทางเศรษฐกิ จ มุ่งพัฒนา ปรับปรุงและฟื้ นฟูแหล่งน้ าเพื่อเพิม่ ปริมาณน้ าต้นทุน พัฒนาระบบ โครงข่ายกระจายน้ า และความมันคงด้ ่ านน้ าอย่างทัวถึ ่ งและเป็ นธรรม ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้น้ า ฟื้ นฟูและพัฒนาดินที่เสื่อมสภาพให้เหมาะสมกับการทาเกษตรกรรม แก้ไขปญั หาการบุกรุกที่ดนิ ในเขต อนุ รกั ษ์ ปรับปรุงการบริหารจัดการที่ดนิ ทัง้ ระบบ กระจายการถือครองที่ดนิ ให้เป็ นธรรม ป้องกันการ สูญเสียกรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ ของเกษตรกรรายย่อย ๕.๘ การยกระดับ ขี ด ความสามารถในการปรับ ตัว รองรับ การเปลี่ ย นแปลงสภาพ ภูมิอากาศ และภัยพิ บตั ิ ทางธรรมชาติ ให้ความสาคัญกับการวางแผนรองรับและจัดการปญั หาที่เกิด จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนา รวมทัง้ นวัตกรรมทีเ่ กี่ยวข้องกับการ ลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัว และการสร้างความเข้มแข็งให้กบั ชุมชนท้องถิน่ เพื่อรองรับภัยพิบตั แิ ละ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ตลอดจนสร้างภูมคิ ุ้มกันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิง่ แวดล้อมและ วิกฤตภาวะโลกร้อน ๕.๙ การบริ หารจัดการประเทศเพื่อสร้างความเป็ นธรรมในสังคม พัฒนาระบบราชการและ ข้าราชการโดยยึดหลัก ธรรมาภิบ าล เพิ่ม ประสิทธิภาพการกระจายอ านาจให้แก่ อ งค์กรปกครองส่ ว น ท้องถิน่ พัฒนาระบบและกลไกการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมชิ อบอย่างมีส่วนร่วม ส่งเสริมให้ประชาชนทุกระดับมีโอกาสเข้าถึงกระบวนการยุตธิ รรมอย่างเท่าเทียมและสร้างความเป็ นธรรม ในการเข้าถึงทรัพยากร ควบคู่ไปกับปลูกฝงั จิตสานึก ค่านิยมประชาธิปไตยและธรรมาภิบาลแก่ประชาชน ทุกกลุ่ม โดยสรุป จากการวิเคราะห์สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทีจ่ ะมีผลต่อทิศทางการพัฒนาประเทศใน ระยะต่อไป และการทบทวนประเมินผลการพัฒนาที่ผ่านมา ล้วนบ่งชีว้ ่าประเทศไทยยังต้องเผชิญกระแส การเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในและภายนอกที่ผนั ผวน ซับซ้อนและคาดการณ์ ผลกระทบที่จะเกิดขึน้ ได้ยาก แม้ว่าในระยะที่ผ่านมาการพัฒนาประเทศจะให้ความสาคัญกับการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้เข้มแข็ง แต่ก็ยงั ไม่ เพียงพอรองรับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคตได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาประเทศให้ม ี คุณภาพและยังยื ่ นในระยะต่อไป จาเป็ นต้องปรับปรุงให้ร ะบบภูมคิ ุม้ กันต่างๆ มีความเข้มแข็งขึน้ ตามแนว ทางการพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ไม่ว่าจะเป็ นการพัฒนาคนให้มคี ุณภาพพร้อม ก้าวสู่เศรษฐกิจและสังคมสีเขียวบนฐานความรูแ้ ละสร้างสรรค์ สังคมมีความเป็ นธรรม การเชื่อมโยงการ พัฒนากับนานาประเทศ และการรักษาสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอันจะเป็ นฐานที่ มันคงในการพั ่ ฒนาประเทศและพร้อมทีจ่ ะรองรับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงในอนาคต


บ ท ที่ ๒ วิสยั ทัศน์ และทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ การทบทวนผลการพัฒนาประเทศที่ผ่านมาบ่งชี้ว่าเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศมี ความเจริญก้าวหน้าในหลายด้าน แต่ขณะเดียวกันได้สะท้อนปญั หาเชิงโครงสร้างของระบบเศรษฐกิจ สังคม สิง่ แวดล้อม และการบริหารจัดการประเทศทีม่ คี วามบิดเบือนไม่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยงยื ั ่ นในระยะ ยาว ทัง้ ยังเป็ นความเสี่ยงที่อาจทาให้ปญั หาต่ างๆ รุนแรงมากขึน้ และเป็ นอุปสรรคสาคัญต่ อการพัฒนา ประเทศ ประกอบกับประเทศไทยยังต้องเผชิญกระแสการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายนอกและภายในประเทศที่ รวดเร็วและจะมีผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต จึงจาเป็ นต้องนาภูมคิ ุม้ กันที่ม ี อยู่พ ร้อ มทัง้ สร้างภูมคิ ุ้มกันให้เ ข้มแข็งภายใต้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อ เตรียมพร้อ มให้ ประเทศสามารถปรับตัวดารงอยูไ่ ด้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงมีแนวคิดทีม่ คี วามต่อเนื่องจากแนวคิดของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘-๑๐ โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเป็ นศูนย์กลางของ การพัฒนา”และ “สร้างสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ แต่การประยุกต์ใช้แนวคิดดังกล่าว และสร้างความ มันใจว่ ่ าการพัฒนาจะเป็ นในแนวทางที่ยงยื ั ่ นและสร้างความสุขให้กบั คนไทย จาเป็ นต้องพิจารณาการ เปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศอย่างรอบด้านและวางจุดยืนการพัฒนาในระยะยาว ภายใต้ วิสยั ทัศน์ประเทศไทยปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ซึง่ พิจารณาถึงบริบทการเปลีย่ นแปลงในอนาคต และกาหนดวิสยั ทัศน์ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ ไว้ดงั นี้ “คนไทยภาคภูมใิ จในความเป็นไทย มีมติ รไมตรีบนวิถชี วี ติ แห่งความพอเพียง ยึดมันในวั ่ ฒนธรรม ประชาธิปไตย และหลักธรรมาภิบาล การบริการสาธารณะขัน้ พื้นฐานที่ทวถึ ั ่ ง มีคุณภาพ สังคมมีความ ปลอดภัยและมันคง ่ อยู่ในสภาวะแวดล้อมทีด่ ี เกื้อกูลและเอื้ออาทรซึ่งกันและกัน ระบบการผลิตเป็ นมิตร กับสิง่ แวดล้อม มีความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน อยูบ่ นฐานทางเศรษฐกิจทีพ่ ง่ึ ตนเองและแข่งขันได้ใน เวทีโลก สามารถอยูใ่ นประชาคมภูมภิ าคและโลกได้อย่างมีศกั ดิ ์ศรี”

กรอบแนวคิดหลัก

กรอบแนวคิดของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงเป็ นการดาเนินการเพื่อบรรลุถงึ วิสยั ทัศน์ระยะยาว โดยมีปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นปรัชญานาทาง และคานึงถึงบริบทการเปลี่ยนแปลงที่จะเป็ นทัง้ โอกาสและข้อจากัดของการพัฒนาในแนวทางดังกล่าว แนวคิดสาคัญของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงมี ดังนี้ ๑.๑ พัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง และขับเคลื่อนให้บงั เกิดผลในทางปฏิบตั ิ ทีช่ ดั เจนยิง่ ขึน้ ในทุกระดับ เพื่อให้การพัฒนาและบริหารประเทศเป็นไปในทางสายกลาง มีการเชื่อมโยงทุก


มิติของการพัฒนาอย่างบูรณาการ ทัง้ มิติตวั คน สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อมและการเมือง โดยมีการ วิเคราะห์อย่าง “มีเหตุผล” และใช้หลัก “ความพอประมาณ” ให้เกิดความสมดุลระหว่างมิตทิ างวัตถุกบั จิ ต ใ จ ข อ ง คนในชาติ ความสมดุลระหว่างความสามารถในการพึ่งตนเองกับความสามารถในการแข่งขันในเวทีโลก ความสมดุลระหว่างสังคมชนบทกับสังคมเมือง มีการเตรียม “ระบบภูมิค้ มุ กัน” ด้วยการบริหารจัดการ ความเสี่ยงให้เพียงพอพร้อมรับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงทัง้ จากภายนอกและภายในประเทศ ทัง้ นี้ การขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาทุกขัน้ ตอนต้องใช้ “ความรอบรู้” ในการพัฒนาด้านต่างๆ ด้วยความ รอบคอบ เป็นไปตามลาดับขัน้ ตอน และสอดคล้องกับวิถชี วี ติ ของสังคมไทย รวมทัง้ การเสริมสร้างศีลธรรม และสานึกใน “คุ ณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบตั ิหน้ าที่และดาเนินชีวติ ด้วย “ความเพียร” อันจะเป็ น ภูมคิ ุ้มกันในตัว ที่ดีใ ห้พ ร้อ มเผชิญ การเปลี่ยนแปลงที่เ กิดขึ้นทัง้ ในระดับครอบครัว ชุมชน สังคม และ ประเทศชาติ ๑.๒ ยึดคนเป็ นศูนย์กลางของการพัฒนา ให้ความสาคัญกับการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วม ของทุกภาคส่วนในสังคม และการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของประชาชน ๑.๓ พัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและเชื่อมโยงทุกมิ ติของการพัฒนาอย่างบูรณาการและ เ ป็ น องค์รวม ทัง้ มิตติ วั คน สังคม เศรษฐกิจ สิง่ แวดล้อม และการเมือง ๑.๔ ยึ ด วิ ส ัย ทัศ น์ ปี พ.ศ. ๒๕๗๐ เป็ นเป้ าหมาย ซึ่ง จะส่ งผลให้บรรลุ ก ารพัฒ นาที่อ ยู่บ น รากฐานของสังคมไทย อยูบ่ นกรอบแนวคิดของการพัฒนาบนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประเทศ มีส ถาบันพระมหากษัตริย์เป็ นเสาหลักของความเป็ นปึ กแผ่นของคนในชาติ ครอบครัว มีค วามสุ ขเป็ น พืน้ ฐานทีส่ ร้างคนเป็นคนดี ชุมชนมีความเข้มแข็งและมีบทบาทในการพัฒนา ระบบเศรษฐกิจมีเสถียรภาพ และความสามารถในการแข่งขัน มีการบริการสาธารณะทีม่ คี ุณภาพ มีกฎระเบียบและกฎหมายทีบ่ งั คับใช้ อย่างเป็นธรรม และประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคและอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์บน พืน้ ฐานของการพึง่ พาและผลประโยชน์รว่ มกัน

วิสยั ทัศน์ และพันธกิจการพัฒนาประเทศ

การจัด ท าเป็ น แผนพัฒ นาประเทศในระยะ ๕ ปี ที่ส อดคล้อ งกับ วิส ัย ทัศ น์ ร ะยะยาวดัง กล่ า ว จาเป็ นต้องมีการกาหนดวิสยั ทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาที่มลี าดับ ความสาคัญสูงในช่วงระยะ ๕ ปี ของแผน กรอบทิศ ทางของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงประกอบด้ว ย วิสยั ทัศน์และพันธกิจ ดังนี้ ๒.๑ วิ สยั ทัศน์ “สังคมอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข ด้วยความเสมอภาค เป็ นธรรม และมีภูมคิ ุม้ กัน ต่อการเปลีย่ นแปลง” ๒.๒ พันธกิ จ ๒.๒.๑ สร้างสังคมเป็ นธรรมและเป็ นสังคมที่มคี ุณภาพ ทุกคนมีความมันคงในชี ่ วติ ได้รบั การคุ้มครองทางสัง คมที่มคี ุณภาพอย่างทัวถึ ่ ง และเท่าเทียม มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและกระบวนการ


ยุติธ รรมอย่างเสมอภาค ทุก ภาคส่ ว นได้รบั การเสริมพลังให้ส ามารถมีส่ วนร่ว มในกระบวนการพัฒนา ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐทีโ่ ปร่งใส เป็นธรรม ๒.๒.๒ พัฒนาคุณภาพคนไทยให้มคี ุณธรรม เรียนรูต้ ลอดชีวติ มีทกั ษะและการดารงชีวติ อย่างเหมาะสมในแต่ละช่วงวัย สถาบันทางสังคมและชุมชนท้องถิน่ มีความเข้มแข็ง สามารถปรับตัวรูเ้ ท่า ทันกับการเปลีย่ นแปลง ๒.๒.๓ พัฒนาฐานการผลิตและบริการให้เข้มแข็งและมีคุณภาพบนฐานความรู้ ความคิด สร้างสรรค์ และภูมปิ ญั ญา สร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน ปรับโครงสร้างการผลิต และการ บริโภคให้เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม พร้อมสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคเพื่อความมันคงทาง ่ เศรษฐกิจและสังคม ๒.๒.๔ สร้างความมันคงของฐานทรั ่ พยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สนับสนุ นการมีส่วน ร่วมของชุมชน รวมทัง้ สร้างภูมคิ ุม้ กันเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัย พิบตั ทิ างธรรมชาติ

วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๓.๑ วัตถุประสงค์ ๓.๑.๑ เพื่อเสริมสร้างสังคมทีเ่ ป็นธรรมและเป็นสังคมสงบสันติสุข

๓.๑.๒ เพื่อพัฒนาคนไทยทุกกลุ่มวัยอย่างเป็ นองค์รวมทัง้ ทางกาย ใจ สติปญั ญา อารมณ์ คุณธรรม จริยธรรม และสถาบันทางสังคมมีบทบาทหลักในการพัฒนาคนให้มคี ุณภาพ ๓.๑.๓ เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีเสถียรภาพ คุณภาพ และยังยื ่ น เป็ นผูน้ าการ ผลิตสินค้าและบริการบนฐานปญั ญาและความคิดสร้างสรรค์ในภูมภิ าคอาเซียน มีความมันคงทางอาหาร ่ และพลังงาน การผลิตและการบริโภคเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม นาไปสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่า ๓.๑.๔ เพื่อ บริห ารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ มให้เ พียงพอต่ อ การรักษา สมดุลของระบบนิเวศ และเป็นฐานทีม่ นคงของการพั ั่ ฒนาประเทศ ๓.๒ เป้ าหมายหลัก ๓.๒.๑ ความอยู่เย็นเป็ นสุขและความสงบสุขของสังคมไทยเพิม่ ขึน้ และความเหลื่อมล้าใน สังคมลดลง และภาพลักษณ์การคอร์รปั ชันดี ่ ขน้ึ 2

๓.๒.๒ คนไทยมีการเรียนรู้อ ย่างต่ อเนื่อง มีสุขภาวะดีข้ึน และสถาบันทางสังคมมีความ เข้มแข็งมากขึน้ ๓.๒.๓ เศรษฐกิจเติบโตในอัตราทีเ่ หมาะสมตามศักยภาพของประเทศ โดยให้ความสาคัญ กับการเพิม่ ผลิตภาพรวมไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๓ ต่อปี เพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของ 2

ความเหลื่ อ มล้ า ในสั ง คม หมายรวมถึ ง ความเหลื่ อ มล้ า ในทุ ก มิ ติ ทั งเศรษฐกิ จ สั ง คม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ซึ่งชีวัดโดย การถือครองที่ดิน การเข้า ถึงสิ นเชื่อและ แหล่งเงินทุน กระบวนการยุติธรรม บริการทางสังคม การกระจายรายได้


ประเทศ เพิม่ มูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมต่อ GDP ให้มสี ดั ส่วนไม่ต่ ากว่าร้อย ละ ๔๐ และลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ๓.๒.๔ คุณภาพสิง่ แวดล้อมอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เพิม่ ประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก รวมทัง้ เพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ไม้เพื่อรักษาสมดุลของระบบนิเวศ


๓.๓ ตัวชี้วดั ๓.๓.๑ ดัชนีความอยู่เย็นเป็ นสุข ดัชนีความสงบสุข สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรที่ มีรายได้สงู สุดร้อยละ ๑๐ กับกลุ่มทีม่ รี ายได้น้อยร้อยละ ๑๐ สัดส่วนแรงงานนอกระบบทีส่ ามารถเข้าถึงการ คุม้ ครองทางสังคม คดีความขัดแย้งกับเจ้าหน้าทีร่ ฐั ต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน คดีในศาลปกครองต่อ ๑๐,๐๐๐ ครัวเรือน และดัชนีภาพลักษณ์การทุจริตประพฤติมชิ อบไม่ต่ ากว่า ๕.๐ คะแนน ๓.๓.๒ จ านวนปี ก ารศึก ษาเฉลี่ย ของคนไทย สัด ส่ ว นผู้ใ ช้อิน เทอร์เ น็ ต เพื่อ การเรีย นรู้ จานวนบุคลากรด้านการวิจยั และพัฒนา อัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ และดัชนีความอบอุ่ นของ ครอบครัว ๓.๓.๓ อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อัตราเงินเฟ้อ ผลิตภาพการผลิตรวม อันดับ ความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ สัดส่วนมูลค่าผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมต่อ GDP ๓.๓.๔ คุ ณ ภาพน้ า และอากาศอยู่ใ นเกณฑ์ม าตรฐาน ร้อ ยละของพื้น ที่ป่ า ไม้ต่ อ พื้น ที่ ประเทศ และสัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ

ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ

การพัฒนาประเทศให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข เศรษฐกิจเจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยังยื ่ น ภายใต้กระแสการเปลีย่ นแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศที่ปรับเปลีย่ นเร็ว คาดการณ์ได้ ยากและซับซ้อนมากยิง่ ขึน้ การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงจาเป็ นต้องกาหนดทิศทางและ ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่เหมาะสม โดยเร่งสร้างภูมคิ ุ้มกันเพื่อป้องกันปจั จัยเสี่ยง และเสริมรากฐานของ ประเทศด้านต่างๆ ให้เข้มแข็ง ควบคู่กบั การให้ความสาคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยให้มคี ุณภาพ ก้าวทันต่อการเปลีย่ นแปลง มีโอกาสการเข้าถึงทรัพยากรและได้รบั ประโยชน์ จากการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมอย่างเป็ นธรรม รวมทัง้ สร้างโอกาสทางเศรษฐกิจด้วยฐานความรูแ้ ละความคิดสร้างสรรค์ บนพืน้ ฐาน การผลิตและการบริโภคที่เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมอันจะนาไปสู่การพัฒนาประเทศที่มนคงและยั ั่ งยื ่ น มี ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีส่ าคัญในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ดังนี้ ๔.๑ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็ นธรรมในสังคม มุ่งสร้างภูมคิ ุ้มกันตัง้ แต่ ระดับปจั เจก ครอบครัว และชุมชน เพื่อให้เป็ นสังคมที่มคี ุณภาพ สามารถปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงและบริหาร จัดการความเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและ สังคมให้ทุกคนในสังคมไทยสามารถเข้าถึงบริการทางสังคมที่มคี ุณภาพ ได้รบั การคุ้มครองทางสังคมที่ ครอบคลุมทัวถึ ่ งและมีคุณภาพเท่าเทียมกัน มีโอกาสเข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานในการสร้าง อาชีพและรายได้ท่มี นคง ั ่ สามารถเข้าถึงกระบวนการยุติธ รรมอย่างเสมอภาค ได้รบั การคุ้มครองสิทธิ ผลประโยชน์ และความมันคงปลอดภั ่ ยในชีวติ และทรัพย์สนิ อย่างเท่าเทียม และสามารถดารงชีวติ อยู่ได้ อย่างมีศกั ดิ ์ศรี ภายใต้ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปร่งใส ยึดประโยชน์ ส่วนรวม และเปิ ดโอกาสการมี ส่วนร่วมของประชาชนทุกภาคส่วนในกระบวนการพัฒนาประเทศ ๔.๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชี วิตอย่างยังยื ่ น มุ่งเตรียมคน ให้พร้อมรับการเปลี่ยนแปลง โดยให้ความสาคัญกับการพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัยให้มภี ูมคิ ุ้มกัน เพื่อเข้าสู่สงั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่างยังยื ่ น ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเสริมสร้าง


ศักยภาพของคนในทุกมิตใิ ห้มคี วามพร้อมทัง้ ด้านร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีสติปญั ญาที่รอบรู้ และมี จิตใจทีส่ านึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร และรูค้ ุณค่าความเป็ นไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรู้ ตลอดชีวติ ควบคู่กบั การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคมและสถาบันทางสังคมให้เข้มแข็งและเอื้อต่อการ พัฒนาคน รวมทัง้ ส่งเสริมการพัฒนาชุมชนท้องถิน่ ให้เข้มแข็งและสามารถสร้างภูมคิ ุ้มกันให้คนในชุมชน และเป็นพลังทางสังคมในการพัฒนาประเทศ ๔.๓ ยุท ธศาสตร์ค วามเข้ ม แข็ง ภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ ง งาน ให้ ความส าคัญ กับ การบริห ารจัดการทรัพ ยากรธรรมชาติท่เี ป็ น ฐานการผลิต ภาคเกษตรให้เ ข้มแข็ง และ สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยังยื ่ น เพื่อให้ภาคเกษตรเป็ นฐานการผลิตอาหารและพลังงานทีม่ คี วามมันคง ่ โดยการเพิม่ ประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนาพันธุ์พชื พันธุ์ สัตว์และสัตว์น้ า รวมถึงเทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ส่งเสริมการสร้าง มูลค่าเพิม่ สินค้าเกษตร อาหาร และพลังงาน บนพืน้ ฐานของภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และความรูส้ ร้างสรรค์ การ สร้างความมันคงในอาชี ่ พและรายได้ให้แก่เกษตรกรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ขณะเดียวกัน ให้ความสาคัญกับการสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานชีวภาพทัง้ ในระดับครัวเรือน ชุมชน และ ประเทศ เพื่อสร้างภูมคิ ุ้มกันให้ภาคเกษตรสามารถพึ่งตนเองได้และเผชิญกับปจั จัยเสี่ยงต่ างๆ ได้อย่าง มันคง ่ ๔.๔ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิ จสู่การเติ บโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ให้ ั ความสาคัญกับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจบนฐานความรู้ ความคิดสร้างสรรค์ และภูมปิ ญญา ภายใต้ ปจั จัยสนับสนุ นที่เอื้ออานวยและระบบการแข่งขันที่เป็ นธรรม เพื่อสร้างภูมคิ ุ้มกันให้กบั ประเทศ มุ่ง ปรับ โครงสร้างการค้าและการลงทุนให้สอดคล้องกับ ความต้องการของตลาดทัง้ ภายในและต่างประเทศ สร้าง มูลค่าเพิม่ ให้กบั สาขาบริการทีม่ ศี กั ยภาพบนพืน้ ฐานของนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาธุรกิจ สร้างสรรค์แ ละเมืองสร้างสรรค์ เพิ่มผลิตภาพของภาคเกษตร และสร้างมูลค่ าเพิ่มด้ว ยเทคโนโลยีและ กระบวนการผลิต ที่เ ป็ น มิต รกับ สิ่ง แวดล้อ ม พัฒ นาภาคอุ ต สาหกรรมสู่ อุ ต สาหกรรมฐานความรู้เ ชิง สร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบโลจิสติ กส์ สร้างความมันคงด้ ่ าน พลังงาน ควบคู่ไปกับการปฏิรปู กฎหมาย และกฎระเบียบต่างๆ ทางเศรษฐกิจ และบริหารจัดการเศรษฐกิจ ส่วนรวมอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เป็นฐานเศรษฐกิจของประเทศทีเ่ ข้มแข็งและขยายตัวอย่างมีคุณภาพ ๔.๕ ยุท ธศาสตร์ก ารสร้ า งความเชื่ อมโยงกับประเทศในภูมิภ าคเพื่ อ ความมันคงทาง ่ เศรษฐกิ จและสังคม มุง่ เชื่อมโยงมิตขิ องการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับมิตขิ องความร่วมมือกับ ประเทศในภู ม ิภ าคต่ า งๆ บนพื้น ฐานของการพึ่ง พาซึ่ง กัน และกัน และมีภู ม ิคุ้ ม กัน ต่ อ กระแสการ เปลี่ยนแปลงจากภายนอก โดยให้ความสาคัญกับ การพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุนของประเทศให้ เชื่อ มโยงกับ ประเทศเพื่อ นบ้านและภูม ิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้ รวมทัง้ เชื่อ มโยงกับการผลิต ใน ประเทศ พัฒนาความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนาที่ยงยื ั ่ นบนพื้นฐานของผลประโยชน์ ร่วมกัน ทัง้ ใน ระดับอนุภมู ภิ าคและภูมภิ าค และสร้างปฏิสมั พันธ์ในความร่วมมือระหว่างประเทศอย่างสร้างสรรค์ เตรียม ค ว า ม พ ร้ อ ม ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น ก า ร เ ข้ า สู่ ป ร ะ ช า ค ม อ า เ ซี ย น ให้ความสาคัญกับการพัฒนากาลังคนในทุกภาคส่วนให้มที กั ษะทีท่ นั ต่อการเปลีย่ นแปลง ควบคู่ไปกับการ พัฒนาความเชื่อมโยงด้านขนส่งและระบบโลจิสติกส์ภายใต้กรอบร่วมมืออนุ ภูมภิ าค ปรับปรุงกฎ ระเบียบ การขนส่งคนและสินค้า เพื่อลดต้นทุนการดาเนินธุรกิจและเสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีการพัฒนา ภายในประเทศตัง้ แต่ระดับชุมชนท้องถิน่ ให้ก้าวทันการเปลีย่ นแปลง ๔.๖ ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมอย่างยังยื ่ น มุ่งบริหาร จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้เพียงพอต่อการรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนพื้นฐานของ การมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแล รักษาและใช้ประโยชน์ ควบคู่ไปกับการเตรียมความพร้อมรองรับการ เปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติเพื่อให้สงั คมมีภูมคิ ุ้มกัน สามารถสนับสนุ นการพัฒนา เศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวติ ให้คนในสังคมไทย โดยให้ความสาคัญกับการอนุ รกั ษ์ ฟื้นฟู และสร้าง


ความมันคงของฐานทรั ่ พยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อ ม ปรับกระบวนทัศ น์ การพัฒนาและขับเคลื่ อน ประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ยกระดับขีดความสามารถ ในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงภูมอิ ากาศและภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ควบคุมและลดมลพิษ และพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้มปี ระสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็ น ธรรมอย่างบูรณาการ สร้างภูมคิ ุม้ กันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิง่ แวดล้อมและวิกฤตภาวะโลกร้อน และ เพิ่ม บทบาทประเทศไทยในเวทีป ระชาคมโลกที่เ กี่ย วข้อ งกับ กรอบความตกลงและพัน ธกรณี ด้า น สิง่ แวดล้อมระหว่างประเทศ


บ ท ที่ ๓ ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็ นธรรมในสังคม ๑

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง

การพัฒนาประเทศในช่ว งห้าทศวรรษที่ผ่านมาในภาพรวมสามารถยกระดับคุ ณภาพชีว ิตของ ประชาชนให้ดขี น้ึ ประชาชนมีงานทาและมีความมันคงในอาชี ่ พมากขึน้ รายได้เฉลี่ยของประชาชนเพิม่ สูงขึน้ ปญั หายากจนลดลงและประชาชนเข้าถึงบริการทางสังคมและสาธารณูปโภคอันเป็ นปจั จัยจาเป็ น พืน้ ฐานในการดารงชีวติ ได้กว้างขวางมากขึน้ อย่างไรก็ดี ความไม่เท่าเทียมกันในโอกาสของประชาชน กลุ่มต่างๆ โอกาสของคนในเมืองกับชนบทในการเข้าถึงบริการสาธารณะหลัก ทีม่ คี ุณภาพยังมีช่องว่างมาก และการเข้าถึงสิทธิในกระบวนการยุตธิ รรมยังไม่เท่าเทียมกันเป็ นปญั หาทีส่ ะท้อนถึงความเหลื่อมล้าทีเ่ ป็ น ปญั หาเชิงโครงสร้างในสังคมไทย ดังนี้ ๑.๑ โครงสร้างเศรษฐกิ จมีฐานอุตสาหกรรมและการส่ งออกเป็ นสัดส่ วนที่ สูงแต่ รองรับ แรงง านในสั ด ส่ วนที่ ต่ า กว่ าภาคเกษตรมาก ในขณะ ที่ ผลิ ตภาพภาคเกษตรต่ า กว่ า ภาคอุตสาหกรรม ส่ งผลให้ เกิ ดความเหลื่อมลา้ ของรายได้ ในระหว่างสาขาการผลิ ต ในปี ๒๕๕๒ ภาคอุตสาหกรรมเป็ นสัดส่วนร้อยละ ๓๔ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ แต่มกี ารจ้างงานในประเทศ คิดเป็ นสัดส่วนเพียงร้อยละ ๑๕ ขณะทีภ่ าคเกษตรกรรมมีสดั ส่วนมูลค่าผลผลิตลดลงเหลือเพียงร้ อยละ ๙ ในปี ๒๕๕๒ และผลิตภาพการผลิตต่ า แต่ยงั ต้องการแหล่งจ้างงานหลักของประเทศถึงร้อยละ ๓๘ ทาให้ ผลตอบแทนแรงงานในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรมีความแตกต่างกันมาก โดยรายได้ท่เี ป็ นค่าจ้าง แรงงานในภาคเกษตรต่อรายได้รวมของประเทศอยู่ในระดับต่ าเพียงประมาณร้อยละ ๔ ส่งผลให้ครัวเรือน ในภาคเกษตรมีร ายได้ต่ า กว่ า ในภาคเศรษฐกิจ อื่น ซึ่ง ครัว เรือ นเกษตรส่ ว นใหญ่ ห ัว หน้ า ครัว เรือ นมี การศึกษาน้อยและอยูน่ อกระบบประกันสังคมมีรายได้ต่ าและไม่แน่ นอน โดยเฉพาะทีเ่ ป็ นครอบครัวใหญ่ท่ี มีทงั ้ เด็กและผูส้ งู อายุ ส่งผลให้ปญั หาความยากจนในภาคเกษตรมีความรุนแรงกว่าในภาคเศรษฐกิจอื่น ใน ปี ๒๕๕๒ สัดส่วนคนจนในภาคเกษตรมีรอ้ ยละ ๑๓.๘ เทียบกับร้อยละ ๒.๖ ในภาคนอกเกษตร ๑.๒ รายได้มีความแตกต่างกันมากระหว่างกลุ่มคน สะท้อนถึงโอกาสที่ ไม่เท่ าเที ยมกันใน การเข้าถึงโอกาสทางเศรษฐกิ จและสังคม การเข้าถึงทรัพยากร และสิ ทธิ ที่พึงมีพึงได้ รวมทัง้ ความ ไม่เป็ นธรรมด้ านอานาจต่ อรอง ในปี ๒๕๕๒ กลุ่มประชากรที่มรี ายได้สูงสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากร รวมมีรายได้คดิ เป็ นสัดส่วนสูงถึงร้อยละ ๓๘.๔ ของรายได้คนทัง้ ประเทศในขณะทีก่ ลุ่มจนทีส่ ุดร้อยละ ๑๐ ของประชากรมีสดั ส่วนรายได้เพียงร้อยละ ๑.๗ ของรายได้ทงั ้ หมด ความต่างกันของรายได้ระหว่างสอง กลุ่มนี้สงู ถึง ๒๒.๘ เท่า ขณะทีก่ ลุ่มรายได้อ่นื ๆ ทีอ่ ยูร่ ะหว่างกลุ่มรวยทีส่ ุดและจนทีส่ ุดก็มสี ดั ส่วนรายได้ต่ า กว่ากลุ่มรวยทีส่ ุดหลายเท่า แม้ว่าการแก้ปญั หาความยากจนของประเทศไทยจะทาให้กลุ่มประชากรทีอ่ ยู่ ใต้เส้นความยากจนลดลงมาอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ ๙.๕๕ ในปี ๒๕๔๙ เหลือร้อยละ ๘.๑๒ ในปี ๒๕๕๒ หรือประมาณ ๕ ล้านคนแต่ยงั มีประชากรกลุ่มทีอ่ ยู่เหนือเส้นความยากจนเพียงเล็กน้อยอีกกว่า ๕ ล้านคน ซึ่ง เป็ น กลุ่ ม ที่ม ีค วามเสี่ย งที่จ ะตกอยู่ใ นภาวะความยากจนได้ง่ า ยหากเผชิญ กับ วิก ฤตการณ์ ต่ า งๆ นอกจากนัน้ เมื่อพิจารณาในภูมภิ าคต่างๆ ในปี ๒๕๕๒ พบว่าภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือมี


รายได้เฉลีย่ ต่อประชากรวัยทางานต่ ากว่าภาคอื่นๆ ประชากรในเขตเมืองมีรายได้สูงกว่าชนบทและคนใน กรุงเทพมหานครมีรายได้สูงกว่าจังหวัดอื่นๆ ในขณะเดียวกัน การถือ ครองสินทรัพย์ทาง การเงินที่อยู่ในรูปของเงินฝากก็มคี วามกระจุกตัว เช่นกันพิจารณาได้จากบัญชีเงินฝากประจาและออม ทรัพย์ระยะ ๓ เดือนขึน้ ไปในธนาคารทัง้ หมด พบว่า เพียงร้อยละ ๐.๐๙ เป็ นบัญชีทม่ี ปี ริมาณเงินฝาก ๑๐ ล้านบาทขึน้ ไป แต่มวี งเงินรวมกันคิดเป็ นร้อยละ ๔๐ ขณะทีบ่ ญ ั ชีเงินฝากขนาดเล็กมีสดั ส่วนสูงถึงร้อยละ ๙๙.๙ ของจานวนบัญชีเงินฝากทัง้ หมดและมีวงเงินรวมคิดเป็นร้อยละ ๖๐ ซึง่ แสดงให้เห็นถึงการกระจุกตัว ของสินทรัพย์ทางการเงิน รวมถึงการถือครองทีด่ นิ มีการกระจุกตัวในกลุ่มคนจานวนน้อย บุคคลธรรมดาที่ ถือครองทีด่ นิ ขนาดเกิน ๓๐๐ ไร่ม ี ๔,๖๑๓ ราย และในจานวนนี้ม ี ๑๑๓ ราย ถือครองทีด่ นิ เกินกว่า ๑,๐๐๐ ไร่ ขณะที่เกษตรกรยากจนจานวนสูงถึง ๖.๖ แสนรายไร้ท่ดี นิ ทากิน สถานการณ์ดงั กล่าวสะท้อนถึงการ ขาดโอกาสเชิงเศรษฐกิจ และสังคมและการเข้าถึงทรัพยากรของประชาชนในบางกลุ่มบางพื้นที่ รวมทัง้ ความไม่เป็ นธรรมด้านสิทธิและการขาดอานาจต่อรองของประชาชนบางกลุ่ม ซึ่งส่งผลต่อการสร้างรายได้ และการสะสมสินทรัพย์ประเภทต่าง ๆ ๑.๓ คนไทยได้ รบั การคุ้มครองผ่านสวัสดิ การต่ างๆ ที่มีความครอบคลุมมากขึ้น แต่ ยงั มี ปัญหาด้านคุณภาพบริ การทางสังคมที่แตกต่างกันโดยเฉพาะอย่างยิ่ งระหว่างเมืองและชนบท และ ผู้ด้อยโอกาสยังไม่สามารถเข้าถึงบริ การทางสังคมได้ อย่างทัวถึ ่ ง รวมทัง้ แรงงานนอกระบบส่ วน ใหญ่ยงั ไม่มีหลักประกัน ทางสังคม คนไทยได้รบั การคุม้ ครองด้านการดูแลสุขภาพ ป้องกัน รักษาและ ฟื้ นฟู ผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างต่ อ เนื่ อ ง คือ จากร้อ ยละ ๙๓.๔ ในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เป็ นร้อ ยละ ๙๙.๔๗ ของ ประชากรไทยทัง้ หมดในปี พ.ศ. ๒๕๕๓ แต่คุณภาพด้านสาธารณสุขยังแตกต่างกันมากในระหว่างพืน้ ที่ มี ความเหลื่อมล้าในการกระจายทรัพยากรทางสาธารณสุขรายพืน้ ที่ การคุม้ ครองทางสังคมสาหรับกลุ่มด้อย โอกาสนัน้ มีความครอบคลุมมากขึน้ โดยในปีงบประมาณ ๒๕๕๓ มีผสู้ ูงอายุรอ้ ยละ ๗๐ หรือประมาณ ๕.๖ ล้านคนมีหลักประกันความมันคงในชี ่ วติ เพียงเบีย้ ยังชีพ คนพิการได้รบั เบีย้ ยังชีพคนพิการและสวัสดิการ เบี้ยความพิการ ๘๓๕,๐๖๒ คน แต่อย่างไรก็ตาม คุณภาพชีวติ ก็ยงั แตกต่างกันมาก นอกจากนัน้ กาลัง แรงงานของประเทศเข้าถึงหลัก ประกันทางสังคมเพียงร้อ ยละ ๓๖.๖ ขณะที่มแี รงงานที่อ ยู่นอกระบบ หลักประกันทางสังคมมีถงึ ร้อยละ ๖๒.๑ แม้ว่าได้มกี ารขยายความคุ้มครองให้แรงงานนอกระบบภายใต้ การประกันสังคมมาตรา ๔๐ แห่งพระราชบัญญัตปิ ระกันสังคม พ.ศ. ๒๕๕๓ แล้วก็ตาม ในขณะเดียวกัน กลุ่มผูม้ รี ายได้ต่ าสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากรมีระดับการศึกษาไม่เกินมัธยมศึกษาตอนต้นถึงร้อยละ ๙๔ ขณะที่กลุ่มรายได้สูงสุดร้อยละ ๑๐ ของประชากรมีผู้จบปริญญาตรีข้นึ ไปร้อยละ ๓๘ ในขณะที่คุณภาพ บริการด้านการศึกษายังแตกต่างกันระหว่างพื้นที่ สะท้อนให้เห็นทัง้ จากผลการประเมินสถานศึกษา ผล การประเมินผลสัมฤทธิ ์ทางการศึกษารายพืน้ ที่ ๑.๔ ความเท่ าเที ยมระหว่างหญิ งและชายมีการเปลี่ยนแปลงในทิ ศทางที่ ดีขึ้น เด็กทัง้ หญิง และชายได้รบั โอกาสในการศึกษาภาคบังคับขัน้ พืน้ ฐานอย่างเท่า เทียมกัน และในการศึกษาระดับสูงขึน้ ไป อัตราส่วนระหว่างหญิงและชายใกล้เคียง อย่างไรก็ตาม ความเท่าเทียมระหว่างผู้หญิงและผูช้ ายในระดับ ผูบ้ ริหารยังมีความเหลื่อมล้าอยู่ โดยในระบบราชการพลเรือนสามัญนัน้ มีขา้ ราชการพลเรือนสามัญผูห้ ญิง จานวนมากกว่าผูช้ าย คือ ร้อยละ ๖๑.๗ แต่โอกาสทีผ่ หู้ ญิงจะก้าวเข้าสู่ตาแหน่ งทางการบริหารมีน้อยกว่า ผู้ชายมาก และถ้าพิจารณาแนวโน้ มการพัฒนาในระยะเวลาสิบห้าปี ท่ผี ่านมาก็จ ะเห็นว่าประเทศไทยมี พัฒนาการในการมีผู้หญิงเป็ นผู้บริหารในระบบราชการน้อย ในขณะเดียวกัน ผู้หญิงที่สมัครรับเลือกตัง้ ต าแหน่ งทางการเมือ งต่ า งๆ มีจานวนน้ อ ยกว่าผู้ช ายมากในทุกพื้นที่ของประเทศ แต่ อ ัต ราการได้ร บั เลือกตัง้ ของผู้หญิงและผู้ชายใกล้เ คียงกัน อย่างไรก็ตาม ในระดับท้องถิ่นยังคงมีจานวนผู้หญิงที่ได้รบั เลือกตัง้ เป็ นผู้บริหารน้อย โดยในปี ๒๕๕๐ มีผหู้ ญิงเป็ นผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพียงร้อยละ ๘ และมีส ดั ส่ ว นผู้ห ญิงเพียงร้อ ยละ ๓ เท่านัน้ ที่ได้รบั เลือ กเป็ นกานัน และผู้ใ หญ่บ้านในส่ ว นของการ ปกครองส่วนท้องที่ ๑.๕ ความตื่นตัวทางการเมืองของคนไทยสูงขึ้น การรับรู้ข้อมูลข่าวสารมีมากขึ้น แต่ ยงั มี ปัญหาเรื่องการบริ หารจัดการที่ ดีในทุกระดับ แม้ว่าสิทธิทางการเมืองจะมีพฒ ั นาการที่ดมี าโดยตลอด


เนื่อ งจากประชาชนได้แ สดงการมีส่ ว นร่ว มในการใช้ส ิทธิของตนในการก าหนดวิถีทางในการบริหาร ประเทศผ่านการใช้สทิ ธิในการเลือกตัง้ ผูแ้ ทนในระดับต่างๆ ซึง่ เป็ นส่วนสาคัญในการพัฒนาประชาธิปไตย ในรูปแบบของการเลือกตัง้ ให้เจริญก้าวหน้ า และลดปญั หาการเหลื่อมล้าในด้านการสร้างโอกาสอย่างเป็ น ธรรมของสังคมได้ โดยเฉพาะในส่วนของภาคประชาชนทีม่ คี วามตื่นตัวทางการเมืองสูงขึน้ มีการใช้สทิ ธิ ลงคะแนนเลือกผู้แทนราษฎรเพิม่ ขึ้นต่อเนื่อง รวมทัง้ การรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการเข้าร่วมตรวจสอบ ทางการเมืองกันมากขึน้ แต่ผลการพัฒนาด้านการบริหารจัดการทีด่ ใี นช่วง ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ สะท้อนว่าการบริหารจัดการที่ดขี องไทยยังคงเผชิญกับปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชันในภาครั ่ ฐ โดย ดัชนีภาพลักษณ์การคอร์รปั ชันในช่ ่ วงปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ มีคะแนนอยู่ในช่วง ๓.๓ - ๓.๕ เทียบกับในช่วง ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ที่คะแนนอยู่ในช่วง ๓.๒-๓.๘ ขณะที่ภาพลักษณ์ของภาคเอกชนในตลาด หลัก ทรัพ ย์ใ นปี ๒๕๕๐ - ๒๕๕๒ ดีข้นึ อย่างต่ อ เนื่อ ง โดยเฉพาะเรื่องบทบาทกรรมการ ความเชื่อ ถือ ผูบ้ ริหาร ความรับผิดชอบต่อสังคม และการให้ความสาคัญกับลูกค้า ๑.๖ สถาบันการเมื อ งการปกครองและสถาบันทางเศรษฐกิ จที่ ข าดความโปร่ ง ใสและ ความ เป็ นธรรม ทาให้ความไว้วางใจของคนในสังคมลดน้ อยถอยลง นามาซึง่ การสร้างเครือข่าย ทางสังคมแบบกลุ่ มใครกลุ่มมัน แต่ละกลุ่มมีค่านิยมและบรรทัดฐานที่แตกต่างกัน อันส่ งผลกระทบต่ อ ความสัมพันธ์ของคนในสังคมทัง้ หมด ดังจะเห็นได้จากดัชนีความสงบสุขของโลกทีอ่ นั ดับของประเทศไทย ลดลงจากอันดับที่ ๑๐๕ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ มาเป็ นอันดับที่ ๑๑๘ ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ ซึ่งสอดคล้องกับการ สารวจความคิดเห็นเรื่องความสามัคคีของคนในชาติท่คี นส่วนใหญ่มองเห็นว่าสังคมไทยปจั จุบนั มีความ แตกแยกและขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ๑.๗ ชุมชนและองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นเป็ นพลังสาคัญในการพัฒนาเศรษฐกิ จและ สังคมของประเทศ พระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กรปกครองส่วน ท้องถิน่ พ.ศ. ๒๕๔๒ มีผลบังคับใช้ ได้ส่งผลต่อการพัฒนาความเข้มแข็งของชุมชนและองค์กรปกครอง ส่ ว นท้อ งถิ่น โดยเฉพาะงานส่ ง เสริม คุ ณ ภาพชีว ิต การขยายฐานรายได้ท่ีท้อ งถิ่น จัด เก็บ เองและการ บริห ารงานขององค์กรที่เ น้ น ประสิทธิภาพเป็ นหลักประกันว่าประชาชนในท้อ งถิ่นจะได้รบั การบริการ สาธารณะที่มคี ุณภาพและได้มาตรฐาน รวมทัง้ เป็ นกลไกสาคัญในการสร้างวัฒนธรรมประชาธิปไตยและ ธรรมาภิบาลในระดับชุมชนนอกจากนี้การให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนาเช่นการจัดทา แผนชุมชนโดยมีเวทีแลกเปลี่ยนร่วมกันคิด ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปญั หาด้านต่าง ๆ นาไปสู่การสร้าง เป้าหมายร่วมกันของการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นซึ่งเป็ นที่มาของการประกาศและบังคับใช้พระราชบัญญัติ องค์กรสภาชุมชนเมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๕๑ โดยมีจดุ มุง่ หมายให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาท้องถิน่ ตาม ความหลากหลายของวิถชี วี ติ วัฒนธรรมและภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ สถานการณ์ดงั กล่าวข้างต้นสะท้อนให้เห็นถึงความไม่สมดุลของการพัฒนาและความเหลื่อมล้าที่ เกิดขึน้ ในสังคมไทยทีเ่ ป็ นปญั หาสังสมมานาน ่ แม้จะมีความพยายามแก้ไขปญั หาความไม่เท่าเทียมกันใน สังคมมาตลอด แต่เมือ่ พิจารณาจากสถานการณ์ในปจั จุบนั และแนวโน้มการเปลีย่ นแปลงในอนาคตได้บ่งชี้ ถึงความเสีย่ งหลายประการทีต่ ้องนามาวิเคราะห์หารากเหง้าของปญั หาเพื่อนาไปสู่การสร้างภูมคิ ุ้มกันใน สังคมไทยและกาหนดแนวทางการพัฒนาในระยะ ๕ ปี ขา้ งหน้า เพื่อทาให้สงั คมไทยเป็ นสังคมทีม่ คี ุณภาพ และเป็นสังคมทีค่ นไทยอยูร่ ว่ มกันอย่างมีความสุข


การประเมินความเสี่ยง

ผลการพัฒนาที่ผ่ านมาส่งผลให้เ ศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศมีค วามก้าวหน้ าใน หลายด้าน แต่ในขณะเดียวกันก็ส่งผลให้โครงสร้างทางเศรษฐกิจ โครงสร้างทางสังคม และโครงสร้างทาง อานาจมีความบิดเบือน ไม่เอื้อต่อการพัฒนาที่ยงยื ั ่ นในระยะยาว และเป็ นความเสี่ยงที่อาจทาให้ความ เหลื่อ มล้ า ทางเศรษฐกิจ และสัง คมรุ น แรงมากขึ้น รวมทัง้ ส่ ง ผลให้ ก ารพัฒ นาในช่ ว งของแผนพัฒ นา เศรษฐกิจฯ ฉบับที่ ๑๑ ไม่สามารถบรรลุ วตั ถุ ประสงค์และเป้าหมายที่ก าหนดไว้ ปญั หาเชิง โครงสร้าง ดังกล่าวและความเสีย่ งต่อการสร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าที่สาคัญมีหลายประการ ดังนี้ ๒.๑ โครงสร้างทางเศรษฐกิ จไม่เอื้อต่ อการพัฒนาที่ ทวถึ ั ่ งและยังยื ่ นและเป็ นปัจจัยเสี่ยงที่ จะทาให้ เกิ ดช่ องว่างทางเศรษฐกิ จ ภาคอุตสาหกรรมมีสดั ส่วนมูลค่าการผลิตและผลิตภาพสูงกว่าภาค เกษตรมาก และการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมเป็นองค์ประกอบหลักของการส่งออกของประเทศ ในขณะที่ เศรษฐกิจภายในมีสดั ส่วนต่ า วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมซึง่ เป็ นแหล่งการจ้างงานและฐานรายได้ สาคัญของประชาชนส่วนใหญ่ ยงั อ่อนแอและเป็ นปญั หาหลักของสังคมในปจั จุบนั ซึ่งนับเป็ นโครงสร้างที่ เอื้อประโยชน์ต่อเจ้าของทุนมากกว่าแรงงาน ประกอบกับการกระจายความมังคั ่ งและผลประโยชน์ ่ ทาง เศรษฐกิจ ทัง้ ด้านรายได้ การถือครองสินทรัพย์ทางการเงิน และทรัพย์สนิ ถาวรโดยเฉพาะทีด่ นิ ก็ยงั มีความ เหลื่อมล้ามากในปจั จุบนั จึงส่งผลให้โอกาสในการต่อยอดในการสร้างรายได้และอาชีพของกลุ่มต่าง ๆ ใน ระยะต่อไปยิง่ มีความแตกต่างกัน และกลายเป็นความเสีย่ งทีจ่ ะยิง่ ทาให้เกิดช่องว่างในสังคมทีร่ ุนแรงขึน้ ได้ ในอนาคต ๒.๑.๑ โครงสร้างทางเศรษฐกิ จเอื้ อประโยชน์ ต่อกลุ่มเจ้ าของทุนมากกว่ าเจ้ าของ แรงงาน และธุรกิ จขนาดกลางและขนาดย่ อ มมี การพัฒ นาช้ า การมุ่งเน้ นการพัฒนาการส่ งออก โดยเฉพาะในกลุ่มสินค้าอุตสาหกรรมเพื่อเร่งการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายใต้กระแสโลกาภิวตั น์ทเ่ี ข้มข้น ขึน้ ตามลาดับนัน้ ทาให้ภาคอุตสาหกรรมมีความก้าวหน้ ามากกว่าภาคเกษตร สัดส่วนมูลค่าผลผลิตและ ผลิตภาพสูงกว่าภาคเกษตรมาก กลุ่มทุนจึงมีอานาจการต่อรองและมีอทิ ธิพลต่อการตัดสิน ใจเชิงนโยบาย ของรัฐบาล ผลประโยชน์จากกระแสโลกาภิวตั น์และนโยบายเศรษฐกิจทีม่ นี ้าหนักในภาคอุตสากรรมมากจึง มักเอื้อประโยชน์ ต่อเจ้าของทุนมากกว่าแรงงาน ทาให้สดั ส่วนรายได้ท่เี ป็ นผลตอบแทนแรงงานต่ ากว่า ผลตอบแทนทุน กลายเป็ นช่อ งว่างระหว่างชนชัน้ รายได้และความขัดแย้งระหว่างผู้ประกอบการและ เจ้าของแรงงาน นอกจากนัน้ การพัฒนาด้ านเศรษฐกิ จที่ พึ่งพิ งการส่ งออกสิ นค้ าและบริ การ รวมทัง้ ทุนจากต่างประเทศสูงทาให้มีความอ่อนไหวสูงต่ อการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิ จโลก และ มีความผันผวนได้ ง่าย ในช่วงเศรษฐกิจขาขึน้ ผลประโยชน์จากการขยายตัวทางเศรษฐกิจและกระแส โลกาภิวฒ ั น์ตกอยูก่ บั เจ้าทุนในสัดส่วนทีส่ ูงกว่ากลุ่มแรงงานมาก แต่ผลกระทบจากความผันผวนและภาวะ วิกฤตมักจะนาไปสู่การลดต้นทุนค่าจ้างแรงงาน การปรับตัวมักจะเริม่ จากการเลิกจ้างและมีปญั หาการ ว่างงานตามมา แรงงานโดยเฉพาะในกลุ่มทักษะต่ าและกึ่งทักษะที่ทางานในอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงาน เข้มข้นมัก จะมีค วามเสี่ยงสูง แต่ ในขาขึ้นของเศรษฐกิจโครงสร้างเศรษฐกิจมักจะค่ อย ๆ ปรับตัว ให้ม ี ประสิทธิภาพมากขึน้ โดยเฉพาะการพึง่ พิงเทคโนโลยีใหม่ แรงงานส่วนหนึ่งจะไม่สามารถปรับทักษะตาม ความต้องการของตลาดได้ทนั เป็ นปญั หาการว่างงานเชิงโครงสร้าง


ในขณะเดียวกัน การผูกขาดทางการค้ าเป็ นอุปสรรคต่ อการสร้างโอกาสทาง ธุรกิ จสาหรับรายย่อย ธุรกิ จขนาดกลางขนาดย่อมพัฒนาได้ช้ากว่าธุรกิ จขนาดใหญ่ มีผลิตภาพต่ า เข้าถึงเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสารได้น้อยกว่า รวมทัง้ มีอานาจต่อรองในเชิงนโยบายน้อยกว่า ในขณะที่ การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนยังก้าวหน้าช้าจึงไม่สามารถเป็นแหล่งสร้างงานและรายได้หลักของประชาชนใน ชุมชน ๒.๑.๒ โครงสร้างภาษี มีความไม่เป็ นธรรมจึงไม่สามารถช่ วยสนับสนุนการกระจาย ผลประโยชน์ การพัฒนาในอี กทางหนึ่ งได้ และหากไม่ปฏิ รูปทัง้ ระบบให้ มีโครงสร้างที่ เป็ นธรรม มากขึ้นก็จะยิ่ งซา้ เติ มปัญหาความเหลื่อมลา้ การพึง่ พิงภาษีทางอ้อมเป็ นสัดส่วนทีส่ ูงกว่าภาษีทางตรง ทาให้เกิดการผลักภาระ ภาษีมโี ครงสร้างทีเ่ อื้อประโยชน์ต่อฐานรายได้ท่ไี ม่ใช่ผลตอบแทนแรงงาน (nonwage income) และรายได้จากทรัพย์สนิ (property tax) มากกว่ารายได้ทเ่ี ป็ นตอบแทนค่าแรงงาน (wage income) ประชาชนที่ทางานรับค่าจ้างหรือ เงินเดือนเป็ นลักษณะประจานัน้ มีระบบภาษีควบคุม ที่เข้มงวด ชัดเจน ในขณะทีผ่ ลประโยชน์จากทรัพย์สนิ และผลตอบแทนจากเงินทุนนัน้ มักจะมีภาระภาษีในสัดส่วนที่ ต่ากว่าและมักจะมีช่องโหว่ของกฎหมายภาษีให้สามารถหลบเลีย่ งภาระภาษีได้ง่าย ในขณะทีก่ ารลดหย่อน และการให้ประโยชน์ทางภาษีกเ็ อื้อต่อกลุ่มรายได้ระดับบนมากกว่าระดับล่าง โดยทีผ่ มู้ รี ายได้สูงมีช่องทาง ลดหย่อนมาก ดังนัน้ ระบบภาษีแทนที่จะช่ว ยสนับสนุ นให้เกิดกลไกการกระจายผลประโยชน์ จากการ พัฒ นาอีก ทางหนึ่ ง กลับ ซ้ า เติม ให้เ กิด ความเหลื่อ มล้ า ในด้า นรายได้ ซึ่ง ในช่ ว งที่ผ่ า นมานัน้ รายได้ท่ี ค่าตอบแทนแรงงานและสวัสดิการเป็ นสัดส่วนเฉลี่ยเพียงประมาณร้อยละ ๔๐ ของรายได้ประชาชาติใน ขณะทีร่ ายได้ส่วนอื่นเป็นสัดส่วนร้อยละ ๖๐ ๒.๑.๓ การพัฒ นาที่ ย งั กระจุก ตัว ในเขตกรุง เทพมหานครและปริ ม ณฑลรวมทัง้ เมืองใหญ่ต่างๆ และการรวมศูนย์บริ หารจัดการภาครัฐทาให้ความก้าวหน้ าทางเศรษฐกิ จแตกต่ าง กันมากในระดับพื้นที่ และกลายเป็ นความขัด แย้ ง ทางสัง คม นอกจากนัน้ ความเจริญ เติบโตทาง เศรษฐกิจ และโอกาสในการสร้างอาชีพ และรายได้ท่ดี ี รวมทัง้ บริการทางสังคมที่มคี ุ ณภาพที่ดีกว่าใน กรุงเทพและปริมณฑลรวมทัง้ เมืองใหญ่ เป็ นปจั จัยดึงดูดให้เกิดการย้ายถิน่ จากชนบทสู่เมือง ซึง่ แรงงานที่ มีการศึกษาน้อยและขาดทักษะมีทางเลือกน้อยจึงเข้าสู่การทางานนอกระบบ ทางานเป็ นชัวโมงยาวนาน ่ และมีความเป็ นอยู่ท่แี ออัดไม่ปลอดภัย กลายเป็ นปญั หาความยากจนเมือง ที่สร้างความแตกต่าง ปญั หา อาชญากรรมและความขัดแย้งในสังคมได้ง่าย ๒.๒ โครงสร้างทางสัง คมยัง มี ช่ อ งว่ างที่ แตกต่ างกันมากระหว่ างชนชัน้ ทัง้ ในด้ านองค์ ความรู้การเข้ าถึงข้ อมูลข่ าวสาร และคุณภาพบริ การทางสังคม ผู้ด้อยโอกาสยังไม่สามารถเข้าถึง บริการทางสังคมได้อย่างทัวถึ ่ งและแรงงานนอกระบบส่วนใหญ่ยงั ไม่มหี ลักประกันทางสังคม และคุณภาพ ของบริการทางสังคมแตกต่างกันมากระหว่างพืน้ ที่ สาเหตุดงั กล่าวเป็นปจั จัยผลักให้ประชาชนย้ายถิน่ เข้าสู่ เมืองซึง่ ส่วนใหญ่เป็ นแรงงานไร้ฝีมอื และค่าแรงต่ า กลายเป็ นปญั หาผูม้ รี ายได้น้อยในเขตเมืองทีม่ ชี ่องว่าง ทางสังคมกับกลุ่ มชนชัน้ กลางและกลุ่ มรายได้สูงโดยเฉพาะโอกาสในการเข้า ถึง บริก ารสาธารณะที่ม ี คุณภาพและความมันคงด้ ่ านรายได้ ซึง่ ความแตกต่างด้านรายได้ ฐานะทางสังคมและองค์ความรูย้ งิ่ ทาให้ การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารและการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสารสนเทศมีความแตกต่างกัน โครงสร้างทาง สังคมทีแ่ ตกต่างกันมากทาให้การดาเนินนโยบายในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมมีค วามยากลาบากขึน้ โดยทีจ่ ะต้องให้ความสาคัญกับนโยบายในระดับจุลภาคทีก่ าหนดกลุ่มเป้าหมายอย่างชัดเจนมากขึน้


นอกจากนี้สงั คมไทยยังขาดความสมดุลระหว่างโอกาสของหญิงและชาย โอกาสของผูห้ ญิงมี ข้อจากัดมากกว่าผูช้ ายทัง้ ในด้านการศึกษาระดับสูงในบางสาขาและในด้านอาชีพ และโอกาสของผูห้ ญิงใน ภาคการเมืองทัง้ ระดับชาติแ ละการเมือ งท้องถิ่นและการเป็ นผู้บริหารระดับสูงในภาครัฐและภาคธุรกิจ เอกชนยังไม่กระจายอย่างหลากหลาย สัดส่วนผู้หญิงที่ดารงตาแหน่ งสมาชิกสภาผูแ้ ทนราษฎรจากระบบ การเลือกตัง้ แบบสัดส่วนต่ามาก กล่าวคือ ในปี ๒๕๔๘ มีผหู้ ญิงเพียง ๖ คนจากทัง้ หมด ๑๐๐ คน และในปี ๒๕๕๐ มีผหู้ ญิง ๗ คน จากทัง้ หมด ๘๐ คน นอกจากนี้ คณะรัฐมนตรีทงั ้ ๓ ชุด ระหว่างปี ๒๕๔๘-๒๕๕๑ มีรฐั มนตรีหญิงไม่เกินชุดละ ๓ คน หรือไม่เกินร้อยละ ๘ สาหรับระดับท้องถิน่ ยังคงมีจานวนผูห้ ญิงทีไ่ ด้รบั เ ลื อ ก ตั ้ ง เ ป็ น ผู้ บ ริ ห า ร น้อยมาก เนื่องจากมีผหู้ ญิงสมัครรับการเลือกตัง้ น้อย ในปี ๒๕๕๐ ผูห้ ญิงเป็ นผูบ้ ริหารองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เพียงร้อยละ ๘-๑๔ และมีสดั ส่วนผู้หญิงเพียงร้อยละ ๓-๖ เท่านัน้ ที่ได้รบั เลือกเป็ นกานัน และ ผู้ใหญ่บ้าน สาหรับในกรณีของข้าราชการพลเรือนสามัญมีผู้หญิงจานวนมากกว่าคือ ร้อยละ ๖๑.๗ แต่ โอกาสที่ผู้หญิงจะก้าวเข้าสู่ตาแหน่ งทางการบริหารมีน้อยกว่าผู้ชายมาก ในปี ๒๕๕๐ ผู้บริหารหญิงใน ตาแหน่ งปลัดกระทรวงมีเพียงร้อยละ ๕.๓ และหากพิจารณาแนวโน้มการพัฒนาในระยะเวลาสิบห้าปี ท่ี ผ่านมา ก็จะเห็นว่า ประเทศไทยมีพฒ ั นาการในการลดช่องว่างทางเพศในเรือ่ งนี้ช้ามาก ๒.๓ การทุ จริ ตประพฤติ มิชอบยังคงเป็ นอุปสรรคสาคัญในการบริ ห ารราชการแผ่นดิ น ขณะที่ การเข้าถึงสิ ทธิ และกระบวนการยุติธรรมของคนกลุ่มต่ างๆ ในสังคมไทยยังไม่เท่ าเที ยม เป็ นธรรมเช่นปญั หาการปฏิบตั หิ น้าทีโ่ ดยมิชอบและการทุจริตคอร์รปั ชันของเจ้ ่ าหน้าที่รฐั การละเว้นหรือ เลือกปฏิบตั ิต่อประชาชน ปญั หาความไม่เท่าเทียมของกระบวนการยุติธรรมในสังคมไทยประกอบกับ แนวโน้มการขยายตัวของความเป็ นเมืองส่งผลให้รปู แบบการใช้ชวี ติ และปฏิสมั พันธ์ทางสังคมแบบเครือ ญาติท่ีม ีค วามเอื้อ เฟื้ อ เผื่อ แผ่ ช่ ว ยเหลือ เกื้อ กูล กันลดลง กลายไปเป็ นรูปแบบสังคมที่ต่ า งคนต่ า งอยู่ ปรากฏการณ์ ด ัง กล่ า วยัง สะท้อ นให้เ ห็น ถึง ความล้ม เหลวของสถาบัน ทางสัง คม โดยเฉพาะสถาบัน ครอบครัว สถาบันชุมชนและสถาบันการศึกษาและศาสนา อาทิ วัด และโรงเรียนที่ไม่สามารถเป็ นที่ยดึ เหนี่ยวและศูนย์รวมจิตใจให้คนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันและมีสมั พันธภาพทีด่ ตี ่อกันได้อกี ต่อไป ๒.๔ การเข้าไม่ถึงการใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ ทาให้ ชุมชนสูญเสียความสามารถ ในการพึ่งตนเอง การพัฒนาเศรษฐกิจทีม่ งุ่ เน้นการขยายตัวเชิงปริมาณมาเป็ นเวลายาวนานทาให้กลุ่มทุน ตักตวงผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติมากเกินไป ขณะทีช่ ุมชนไม่สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ โดยเฉพาะคนยากจนที่อาศัยและพึ่งพาป่าเป็ นแหล่งอาหารสาคัญ ทาให้ชุมชนพึ่งตนเองได้ลดลง ต้อง อาศัยแหล่งอาหารจากภายนอกชุมชนที่มตี ้นทุนสูง ขณะเดียวกันการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมอิ ากาศ เป็ น ตัว เร่ ง ให้ เ กิด ความยากล าบากในการด ารงชีว ิต ของคนในชุ ม ชนชนบท ควบคู่ กับ การพัฒ นา อุ ต สาหกรรมที่รุก ล้ าพื้น ที่เ กษตรกรรมและแหล่ ง ทามาหากินท าให้ เ กิด เป็ น ต้น ทุน ของชุ ม ชน เพราะ ก่อให้เกิดมลพิษส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนในชุมชน นอกจากนี้ อิทธิพลของกลุ่มทุนต่อนโยบายต่าง ๆ ส่ ง ผลให้ชุ มชนมีช่ อ งทางน้ อ ยลงในการท ามาหากิน ในท้อ งถิ่น และไม่ส ามารถดูแล รักษา อนุ ร กั ษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมได้อย่างเต็มที่

การสร้างภูมิค้มุ กันให้เกิดสังคมคุณภาพ

จากการวิเ คราะห์ค วามเสี่ย งที่เ กิด ขึ้น ชี้ใ ห้เ ห็น ถึง ความจาเป็ น ที่ต้อ งสร้างสัง คมที่ม ีภูม ิคุ้ม กัน เข้มแข็ง มากขึ้น โดยต้องสร้างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมแก่คนทุกกลุ่ม ให้ความสาคัญกับ


ความเท่าเทียมกันของโอกาสและการมีส่วนร่วม เพื่อให้เป็ นสังคมที่มคี ุณภาพ ประชาชนปรับตัวเข้ากับ ความเปลี่ยนแปลงและสามารถบริห ารจัดการปจั จัยเสี่ยงได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยสังคมไทยต้องมี ภูมคิ ุม้ กันทีส่ าคัญ ได้แก่ ๓.๑ ทุกคนในสังคมไทยมีความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมได้รบั โอกาสในการประกอบ สัม มาอาชีพ อย่า งเท่า เทีย มกัน เข้าถึง บริการทางสังคมและทรัพ ยากรอย่างเป็ น ธรรม และได้ร บั การ คุม้ ครองทางสังคมอย่างทัวถึ ่ ง เพื่อป้องกันมิให้ตกอยูใ่ นวงจรความยากจนและความอดอยาก ๓.๒ กลุ่มผู้ด้อยโอกาสได้รบั โอกาสและการพัฒนาศักยภาพอย่างทัวถึ ่ งและเท่ าเที ยมกัน สามารถเข้าถึง บริการสาธารณะที่มคี ุณภาพและเท่าเทียม เข้าถึงทรัพยากรและโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ การพัฒนาเศรษฐกิจมีฐานกว้าง มีความทัวถึ ่ งและสร้างโอกาสสาหรับกลุ่มด้อยโอกาสมากขึน้ บนหลักการ การยอมรับอย่างมีศกั ดิ ์ศรีความเป็ นมนุษย์ ๓.๓ ประชาชนมี การเสริ มสร้ างความเข้ มแข็ง เป็ นพลัง ร่ วมของสัง คมไทยมีก ารพัฒนา ตนเองได้อย่างเต็มศักยภาพและสามารถเข้ามีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศอย่างเต็มทีแ่ ละเป็ นธรรม โดย ทีส่ ามารถปรับตัวท่ามกลางการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วได้ ๓.๔ ชุมชนและสังคมเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน มีค่านิยมร่วมในการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข ระหว่าง กลุ่มคน ระหว่างพื้นที่ และระหว่างวัย พึ่งพาอาศัยและเกื้อกูลกันภายใต้ความหลากหลายทาง วัฒนธรรม

วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์

๔.๑.๑ เพื่อสร้างโอกาสการเข้าถึงปจั จัยการประกอบอาชีพ ทัง้ แหล่งทุน โครงสร้างพืน้ ฐาน และทักษะความรู้ท่จี ะเป็ นฐานการประกอบอาชีพ ที่มนคง ั ่ รวมทัง้ โอกาสทางธุรกิจ นาไปสู่การยกระดับ คุณภาพชีวติ ให้ทุกคนในสังคมไทย ๔.๑.๒ เพื่อให้ทุกคนในสังคมไทยมีความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการทางสังคมที่ม ี คุณภาพและสามารถดารงชีวติ อยูไ่ ด้อย่างมีศกั ดิ ์ศรี ๔.๑.๓ เพื่อ ให้ป ระชาชนทุ ก คนได้ ร ับ การคุ้ ม ครองสิท ธิพ้ืน ฐานอัน พึง มีพึง ได้ เข้า ถึง กระบวนการยุตธิ รรมอย่างเสมอภาค รวมทัง้ สร้างความโปร่งใสในกระบวนการตัดสินใจของระบบบริหาร ราชการแผ่นดินบนพื้นฐานของการใช้หลักนิติธรรม หลักคุ ณธรรมและจริยธรรม และหลักผลประโยชน์ ส่วนรวมของประเทศ ๔.๑.๔ เพื่อสนับสนุ นให้ภาคีการพัฒนาทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมแก้ไขปญั หาความเหลื่อมล้า และลดความขัดแย้งในสังคมไทยและดารงชีวติ อยูใ่ นสังคมอย่างเป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน ๔.๒ เป้ าหมายการพัฒนา ๔.๒.๑ ลดช่องว่างรายได้ระหว่างกลุ่มคนและพืน้ ที่ต่างๆ รวมทัง้ เสริมสร้างความแข็งแกร่ง ให้เศรษฐกิจฐานรากและโอกาสทางเศรษฐกิจให้ผปู้ ระกอบการรายย่อยและชุมชน


๔.๒.๒ มีการคุ้มครองทางสังคมที่มคี ุณภาพและครอบคลุมอย่างทัวถึ ่ ง รวมทัง้ ความเท่า เทียมทางเพศมีมากขึน้ ทัง้ ในเรื่องรายได้ โอกาสทางอาชีพ โอกาสทางการเมืองและการดารงตาแหน่ งใน ระดับสูงและการบริหารจัดการ ๔.๒.๓ ประชาชนรับรูส้ ทิ ธิหน้าที่และเข้าถึงบริการของหน่ วยงานกระบวนการยุตธิ รรมได้ อย่างสะดวกและรวดเร็ว มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม ภาคีการพัฒนาต่างๆ มีส่วน ร่วมในกระบวนการยุตธิ รรม ๔.๒.๔ คนยากจนและด้อยโอกาสมีภูมคิ ุม้ กันและสามารถปรับตัว ต่อการเปลีย่ นแปลงได้ด ี ขึน้ ๔.๒.๕ มีก ารบริห ารจัด การที่โปร่งใสและเพิ่มการมีส่ ว นร่ว มของทุ กภาคีใ นการพัฒ นา ประเทศ ๔.๓ ตัวชี้วดั ๔.๓.๑ สัดส่วนรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรและพืน้ ที่ ๔.๓.๒ สัดส่วนของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ๔.๓.๓ อัตราการเข้าสู่ตลาดแรงงาน (Participation rate) ของผูส้ งู อายุและสตรีเพิม่ ขึน้ ๔.๓.๔ สัดส่วนประชากรที่สามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมที่มคี ุณภาพจาแนกตาม เพศ อายุ อาชีพ และสัดส่วนของแรงงานนอกระบบประกันสังคมทีเ่ ข้าถึงระบบสวัสดิการสังคมของกาลัง แรงงานทัง้ หมด ๔.๓.๕ สัดส่วนผู้หญิงทีไ่ ด้รบั เลือกตัง้ หรือแต่งตัง้ เป็ นผูแ้ ทนในรัฐสภา องค์การบริหารส่วน ตาบล และตาแหน่งผูบ้ ริหารระดับสูงของราชการ และช่องว่างรายได้ระหว่างแรงงานชายและหญิง ๔.๓.๖ ดัชนีภาพลักษณ์การทุจริตประพฤติมชิ อบ ๔.๓.๗ ดัชนีความสงบสุข ๔.๓.๘ ดัชนีชว้ี ดั ความเข้มแข็งของชุมชน

แนวทางการพัฒนา

๕.๑ การสร้างความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมให้ ทุกคนในสังคมไทยสามารถจัดการ ความเสี่ยงและสร้างโอกาสในชีวิตให้ แก่ตนเอง ๕.๑.๑ ปรับ โครงสร้า งเศรษฐกิ จให้ มี ฐ านการพัฒ นาที่ ท ัว่ ถึ ง และยังยื ่ น พร้ อ มทัง้ เศรษฐกิ จ ฐานรากที่ มี ค วามหลากหลายและแข็ง แกร่ ง มากขึ้ น โดยการสร้า งโอกาสเพื่อ ให้เ กิด ผู้ป ระกอบการใหม่ สนั บ สนุ น วิส าหกิจ ขนาดกลางขนาดย่ อ ม วิส าหกิจ ชุ ม ชน เพิ่ม การสร้า งงานใน ภาคอุตสาหกรรมและบริการมากขึ้น มีระบบค่าจ้างแรงงานและสวัสดิการแรงงานที่เป็ นธรรม เพิม่ ผลิต ภาพแรงงานให้เ ป็ นฐานในการเพิม่ ศัก ยภาพในการสร้างรายได้ ยกระดับและสร้างเสถียรภาพรายได้ เกษตรกร เพิม่ โอกาสการประกอบสัมมาอาชีพทีห่ ลากหลาย เข้าถึงทรัพยากรและแหล่งทุนในการประกอบ อาชีพทีก่ ว้างขวาง จัดให้มสี นิ เชื่อทีส่ อดคล้องกับความต้องการของชุมชนและธุรกิจขนาดกลางขนาดย่อม


และกระจายการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานให้มคี วามทัวถึ ่ งมากขึน้ ควบคู่กบั การพัฒนาทักษะความสามารถ ทัง้ ด้านการผลิตและการบริหารจัดการ ๕.๑.๒ ส่ งเสริ มการจัดสรรทรัพยากรให้ เกิ ดความเป็ นธรรม โดยส่งเสริมการกระจาย สิทธิก ารถือ ครองและใช้ประโยชน์ ท่ดี นิ ส าหรับเกษตรกรไร้ท่ดี ินทากินและเกษตรกรยากจน ปรับปรุง กฎหมาย กฎระเบียบและบังคับใช้กฎหมายให้ชุมชนเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างทัวถึ ่ ง และปรับ โครงสร้างภาษีท่เี น้นภาษีทางตรงมากขึน้ โดยเฉพาะภาษีท่จี ดั เก็บจากฐานรายได้ท่ไี ม่ใช่ผลตอบจากการ ท างาน รวมทัง้ การปรับ ระบบการจัด สรรงบประมาณให้ส อดคล้อ งกับ ความต้ อ งการของพื้น ที่แ ละ กลุ่มเป้าหมายนโยบาย ๕.๑.๓ พัฒ นาการใช้ ป ระโยชน์ เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศในการพัฒ นาอาชี พ และ ยกระดับคุณภาพชี วิต เปิดช่องทางการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคโนโลยีการ ผลิตที่เหมาะสมกับทัก ษะและอาชีพ ให้ก ับแรงงานเป็ นการสร้างทางเลือกและเพิ่มโอกาสการแสวงหา รายได้ ๕.๑.๔ ส่ ง เสริ ม บทบาทของภาคธุร กิ จ เอกชนในการเสริ ม สร้ า งความมันคงทาง ่ เศรษฐกิ จและสังคมแก่คนในสังคมไทย โดยการรณรงค์และการให้ผลประโยชน์ทางภาษีสาหรับภาค ธุรกิจทีด่ าเนินกิจกรรมเพื่อรับผิดชอบทางสังคมและวิสาหกิจเพื่อสังคม เป็ นการสนับสนุ นการสร้างความ เป็นธรรมต่อแรงงานทัง้ ในด้านค่าจ้างแรงงาน ความปลอดภัยและคุณภาพของชีวติ การทางานของแรงงาน ในทุกระดับ รวมทัง้ ความเป็นธรรมต่อผูบ้ ริโภค ชุมชนและสังคมส่วนรวม ๕.๑.๕ ยกระดับคุณภาพของระบบการคุ้มครองทางสังคมให้ ครอบคลุมทุกคนอย่าง ทัวถึ ่ ง สอดคล้องกับความต้องการและความจาเป็ น ด้วยการกาหนดนโยบาย มาตรการทางกฎหมาย และทางสังคมในการจัดหลักประกันทางสังคมแก่แรงงานทัง้ ในระบบและนอกระบบอย่างเท่าเทียมและเป็ น ธรรม มีสวัสดิการแรงงานทีเ่ หมาะสมกับการดารงชีวติ อย่างมีคุณภาพ ควบคู่กบั การพัฒนาระบบข้อมูล การ ให้ความคุม้ ครองทางสังคมให้มมี าตรฐาน สามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๕.๒ การจัดบริ การทางสังคมให้ ทุกคนตามสิ ทธิ พึงมีพึงได้ เน้ นการสร้างภูมิค้ มุ กันระดับ ปัจเจกและสร้างการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสิ นใจในการพัฒนาประเทศ ๕.๒.๑ พัฒ นาช่ อ งทางการเข้ าถึง บริ การสาธารณะอย่ างทัวถึ ่ งเพื่อ สร้างโอกาสให้ กลุ่มด้อยโอกาสสามารถเข้าถึงบริ การสาธารณะที่มีคณ ุ ภาพอย่างเท่ าเที ยมและทัวถึ ่ ง โดยสนับสนุ น การกระจายอานาจสู่ทอ้ งถิน่ ตามกรอบทีร่ ฐั ธรรมนูญกาหนด ทัง้ บริการการศึกษา สุขภาพ สวัสดิการสังคม กระบวนการยุตธิ รรม รวมทัง้ สร้างโอกาสการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก เยาวชน สตรี ผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ ผูส้ งู อายุ ผูด้ อ้ ยโอกาสทางสังคม คนยากจนและผูอ้ ยูใ่ นพืน้ ทีห่ ่างไกล ๕.๒.๒ สนั บ สนุ น การจัด หาที่ อ ยู่ อ าศัย ของผู้มี ร ายได้ น้ อยและการเข้ า ถึ ง ระบบ สาธารณู ป โภค ให้ม ีถู ก ก าหนดไว้ภ ายใต้ก รอบนโยบายที่อ ยู่อ าศัยแห่ งชาติ และเมือ งน่ า อยู่ พัฒนา โครงการทีอ่ ยู่อาศัยแก้ปญั หาชุมชนแออัดในเมืองโดยดาเนินการร่วมกับภาคธุรกิจเอกชน รวมทัง้ ส่งเสริม บทบาทภาคธุรกิจเอกชนให้การช่วยเหลือสังคมด้านที่อยู่อาศัย เช่น การช่วยเหลือแรงงานให้มอี ยู่อาศัยที่ ปลอดภัย จัดเขตที่พ กั อาศัยแรงงานต่างด้าวที่ชดั เจนไม่ขดั ต่ อการจัดระเบียบสังคม และ การร่วมกับ รัฐบาลในการพัฒนาโครงการทีอ่ ยูอ่ าศัยผูม้ รี ายได้ทม่ี กี ารกระจายตัวอย่างทัวถึ ่ งมากขึน้


๕.๒.๓ พัฒนาระบบสวัสดิ การทางสังคม โดยจัดระบบความสัมพันธ์ของสวัสดิการทาง สังคมตัง้ แต่ระดับชาติ ท้องถิน่ และชุมชนให้มคี ุณภาพอย่างเชื่อมโยง ด้วยบทบาทการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่ ว นที่มุ่ง สู่ค วามยังยื ่ น โดยเฉพาะบทบาทสถาบันครอบครัว ชุม ชนท้อ งถิ่น องค์ก รเอกชนที่ไ ม่ แสวงหากาไร และภาคเอกชนทีแ่ สดงความรับผิดชอบต่อสังคมและการลงทุนในธุรกิจเพื่อสังคม ๕.๒.๔ พัฒ นาระบบการเงิ น ฐานรากและระบบการออมที่ ห ลากหลาย เพื่อ เป็ น หลักประกันความมันคงเมื ่ อ่ ชราภาพ ต่อยอดการออมในชุมชน สนับสนุ นการระดมทรัพยากรในชุมชนเพื่อ การพัฒนา โดยบทบาทภาครัฐ ภาคชุมชนท้องถิน่ และภาคเอกชน


๕.๒.๕ การเสริ มสร้างเจตคติ ด้านความเสมอภาคระหว่างหญิ งและชาย เพื่อให้เด็ก เยาวชน และประชาชนทัวไปทั ่ ง้ ผูห้ ญิงและผูช้ ายมีเจตคติบนพืน้ ฐานแนวทางของความเสมอภาคระหว่าง หญิงและชาย โดยการประสานความร่วมมือระหว่างครอบครัว สถานศึกษา สถาบันศาสนา และสื่อในการ ปลูกฝงั ค่านิยมและเจตคติท่ถี ูกต้องเหมาะสม รวมถึงการเพิม่ โอกาสการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจทาง การเมืองและการบริหาร การกาหนดทิศทางการพัฒนาของประเทศ โดยการเสริมสร้างศักยภาพสตรีให้ม ี ความพร้อม ความรู้ ความเข้าใจ ปลูกจิตสานึก อุดมการณ์ ค่านิยม จริยธรรม วัฒนธรรมประชาธิปไตย และธรรมาภิบาล เพื่อยกระดับการมีส่วนร่วมของสตรีในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ ๕.๒.๖ ปรับ ปรุ ง ฐานข้ อ มู ล ที่ ส ะท้ อ นคุ ณ ภาพบริ ก ารสาธารณะและพัฒ นาช่ อ ง ทางการเผยแพร่เพื่อการคุ้มครองผู้บริ โภคด้ านบริ การสาธารณะ อาทิ ด้านการศึกษา ด้านสุขภาพ เป็ นต้น เพื่อสร้างความเป็ นธรรมแก่ผู้บริโภค และลดความแตกต่างคุณภาพบริการสาธารณะในระหว่าง พื้นที่แ ละกลุ่ มคน รวมทัง้ การใช้เ ทคโนโลยีส ารสนเทศเพื่อ ประโยชน์ ต่ อ การสร้างองค์ค วามรู้เ พื่อ การ คุม้ ครองผูบ้ ริโภค ๕.๓ การเสริ มสร้างพลังให้ ทุกภาคส่ วนสามารถเพิ่ มทางเลื อ กการใช้ ชีวิตในสัง คมและ สร้างการมีส่วนร่วมในเชิ งเศรษฐกิ จ สังคม และการเมืองได้อย่างมีคณ ุ ค่าและศักดิ์ ศรี ๕.๓.๑ เสริ มสร้ างพลัง ทางสัง คมให้ ทุ ก คนสามารถแสดงออกทางความคิ ด อย่ า ง สร้างสรรค์ โดยเรียนรู้ เข้าใจ และปฏิบตั ิหน้ าที่ ความรับผิดชอบในฐานะพลเมือ งที่ดีของประเทศ มี ค่านิยมไม่ยอมรับการกระทาผิด มีส่ ว นร่ว มในกระบวนการพัฒนาประเทศตัง้ แต่ ร่ว มคิด ร่ว มทา ร่ว ม ตัดสินใจ ร่วมตรวจสอบการดาเนินงานของภาครัฐและภาคีการพัฒนาต่างๆ เปิ ดพืน้ ที่ในการแลกเปลี่ยน เรียนรู้ แสดงความคิดเห็นทีแ่ ตกต่างในทางสร้างสรรค์ ๕.๓.๒ เพิ่ มศักยภาพและขีดความสามารถของชุมชนในการจัดการปัญหาของชุมชน ด้ ว ยตัวเอง เน้ น การกระจายอ านาจให้ชุม ชนท้อ งถิ่น และการพัฒ นาศัก ยภาพของชุ มชนท้อ งถิ่น ให้ เข้มแข็งโดยบทบาทของสถาบันการศึกษาในพื้นที่ พร้อมทัง้ ให้มกี ารเชื่อมโยงแผนแม่บทชุมชนกับแผน ระดับต่างๆ ในพืน้ ทีแ่ ละระดับชาติ รวมทัง้ ให้ชุมชนท้องถิน่ สามารถเชื่อมโยงทิศทางการพัฒนากับบริบท การเปลีย่ นแปลงในโลก อาเซียน และอนุ ภูมภิ าค สร้างความใกล้ชดิ ทางสังคม วัฒนธรรม และปฏิสมั พันธ์ กับประเทศในอนุภมู ภิ าค ๕.๓.๓ สนับสนุนการรวมกลุ่มอาชี พที่ สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ เชื่อมโยงภูม ิ ั ปญญาและวัฒนธรรมท้องถิน่ พัฒนาต่อยอดสู่คุณภาพมาตรฐานที่ยอมรับทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ พร้อมทัง้ การเพิม่ ขีดความสามารถแก่เกษตรกรให้มผี ลิตภาพสูงขึน้ ๕.๓.๔ ส่ งเสริ มให้ ภ าคเอกชน ภาคประชาสังคม และองค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ น เป็ นพลังร่วมในการพัฒนาสังคมไทย โดยรณรงค์ กระตุ้น สร้างจิตสานึกในการดาเนินธุรกิจที่เป็ นมิตร กับสิง่ แวดล้อมและให้ผลประโยชน์ตอบแทนคืนกลับสู่สงั คมอย่างชัดเจน และให้ภาคธุรกิจจัดทามาตรฐาน การดาเนินงานที่แสดงถึงจริยธรรม กิจกรรมเพื่อสังคม มีก ารเผยแพร่บรรษัทภิบาลและการประกอบการ เพื่อสังคมของภาคเอกชนสู่สาธารณชนอย่างต่อเนื่องรวมทัง้ มีส่วนร่วมในการแก้ไขปญั หาทุจริตคอร์รปั ชัน่ ๕.๓.๕ พัฒนาช่ องทางให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลข่าวสารการปฏิ บตั ิ งานภาครัฐ การ ด าเนิ นโครงการขนาดใหญ่ การจัด สรรทรัพ ยากร และมี ส่ ว นร่ ว มในการตรวจสอบค่ า ใช้ จ่ า ย ภาครัฐ โดยการพัฒ นาระบบสารสนเทศ เพื่อ เปิ ด เผยข้อ มูล การจัด ซื้อ จัด จ้า ง งบประมาณรายจ่า ย โครงการภาครัฐ รวมทัง้ สนับสนุ นบทบาทของภาคประชาชนในการติดตามและตรวจสอบการดาเนินงาน ของภาครัฐและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ในทุกระดับ


๕.๓.๖ ส่ งเสริ มบทบาทสตรีในทางการเมืองโดยกาหนดให้ เป็ นพันธกิ จสาคัญของ แผนพัฒนาสตรีในช่ วงแผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ ๑๑ โดยให้ความสาคัญกับ การสร้างความเข้าใจและเจตคติใหม่แก่หน่ วยงานและสังคม การแก้ไขกฎหมายเพื่อกาหนดองค์ประกอบ ของคณะกรรมการระดับชาติและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และการใช้มาตรการพิเศษชัวคราวในการ ่ เพิม่ สัดส่วนของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตาบลให้มจี านวนชายและหญิงใกล้เคียงกัน รวมทัง้ การ ส่งเสริมให้พรรคการเมืองสนับสนุ นสตรีลงสมัครรับเลือกตัง้ สาหรับในระบบราชการสนับสนุ นให้ผบู้ ริหาร ด้านการเสริมสร้างบทบาทหญิงชายในหน่ วยงานเป็ นกลไกสาคัญในการผลักดันเพื่อเพิม่ จานวนสตรีนัก บริห ารให้ม ีส ัด ส่ ว นที่เ หมาะสมตามกรอบแผนแม่บ ทของส่ ว นราชการ และขยายกลไกดัง กล่ า วไปสู่ รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน องค์กรอิสระ รวมทัง้ ในระดับจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ๕.๓.๗ ปรับปรุงและพัฒนากฎหมายเพื่อการคุ้มครองผู้บริ โภครวมทัง้ การบังคับใช้ อย่างเข้มงวด ควบคู่ไปกับการสร้างองค์ความรู้ สร้างโอกาสการเข้าถึงข้อมูลและข่าวสารเกี่ยวกับการผลิต และการบริโภคทีป่ ลอดภัยและยังยื ่ น และการสร้างความตระหนักของผู้บริโภคในการรักษาสิทธิและดูแล ผลกระทบด้านสุขภาพอนามัยของตนเองและผลกระทบต่ อสังคมและสิง่ แวดล้อมจากการใช้สนิ ค้าและ บริการ พร้อมทัง้ กระตุน้ จิตสานึกความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจเอกชน ๕.๔ การเสริ มสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมให้แน่ นแฟ้ นเป็ นน้าหนึ่ งใจเดียวกัน ๕.๔.๑ สร้างค่านิ ยมใหม่ที่ยอมรับร่วมกันบนฐานของความไว้เนื้ อเชื่ อใจและเกื้อกูล กันในสังคม โดยการเสริมสร้างทุนทางสังคมและความสัมพันธ์ของคนในสังคม ปลูกฝงั กระบวนการคิดใน การเคารพสิทธิซ่งึ กันและกันการอยู่ร่วมกันในสังคมที่มคี วามเชื่อและวัฒนธรรมที่หลากหลาย ยอมรับ ข้อจากัดความแตกต่างของอัตลักษณ์ในพืน้ ที่ และเคารพในศักดิ ์ศรีความเป็ นมนุ ษย์ และรือ้ ฟื้นค่านิยมทีด่ ี และสร้างค่านิยมใหม่ท่เี ป็ นที่ยอมรับบนพืน้ ฐานของความไว้เนื้อเชื่อใจ เกิดความร่วมมือ แบ่งปนั และเอื้อ อาทรกันในสังคม ๕.๔.๒ ส่งเสริ มวัฒนธรรมการเมืองที่ มีธรรมาภิ บาลนาไปสู่การเป็ นประชาธิ ปไตยที่ ถูกต้องและเหมาะสม โดยเสริมสร้างจิตสานึก วัฒนธรรม และวิถปี ระชาธิปไตยทีด่ ใี ห้แก่ประชาชน ด้วย การปลูกฝงั สร้างความรูค้ วามเข้าใจ และส่งเสริมการใช้สทิ ธิตามกฎหมายและรัฐธรรมนู ญ ตลอดจนสร้าง วัฒนธรรมทีย่ อมรับความแตกต่างหลากหลายในสังคมและวัฒนธรรมประชาธิปไตย โดยรณรงค์ส่งเสริมให้ คนไทยมีการปรับเปลี่ยนความคิด ความเชื่อ ค่านิยม และระบบคุณค่าในระดับปจั เจก ครอบครัว ชุมชน จนถึงระดับชาติให้สอดรับกับวัฒนธรรมประชาธิปไตย ๕.๔.๓ เสริ มสร้างระบบบริ ห ารราชการให้ เข้ มแข็งมี ประสิ ท ธิ ภาพ มี ระบบถ่ วงดุล อานาจการตรวจสอบที่เข้มงวดและรอบด้าน โดยปรับระบบการปฏิบตั งิ านของภาครัฐให้มุ่ง ประโยชน์ สุขของประชาชนอย่างมีส่วนร่วมเน้นการบูรณาการแผนปฏิบตั งิ านทีเ่ ชื่อมโยงสาขาการพัฒนา พืน้ ที่ และ บทบาทของภาคีการพัฒนารวมทัง้ เชื่อมโยงภาคการเมือง ภาครัฐ และภาคประชาสังคมเป็ นพลังร่วมสร้าง ประโยชน์ แ ก่ ส ังคม เพิ่มความโปร่งใสในการใช้ง บประมาณให้เ ป็ นไปอย่างมีป ระสิทธิภ าพ และสร้า ง เครือข่ายการตรวจสอบกับภาคีอ่นื ๆ อาทิ องค์กรอิสระ ภาคประชาสังคม ภาควิชาการ และสื่อมวลชนและ ปรับเปลีย่ นการประเมินผลการปฏิบตั งิ านของข้าราชการไปสู่ระบบการประเมินรอบด้าน


๕.๔.๔ พัฒ นาข้ าราชการให้ มีคุณ ภาพสูง มี คุณ ธรรม จริ ย ธรรมทางอาชี พ และมี ความรับผิ ดรับชอบ ควบคู่กบั การกาหนดค่าตอบแทนที่เหมาะสมสามารถปฏิบตั งิ านมุ่งผลสัมฤทธิ ์ได้ อย่างเต็ม ที่ ป้ อ งกันและปราบปรามการทุ จริต ประพฤติมชิ อบให้เ กิด ผลอย่ างเป็ นรูปธรรม รวมทัง้ ให้ ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๕.๔.๕ ปฏิ รูปการเมื อ งไทยทัง้ ระบบให้ เป็ นประชาธิ ปไตยของมวลชน โดยสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจและจิตสานึกทีถ่ ูกต้องแก่เยาวชนและประชาชนในเรื่องสิทธิ และหน้าที่ทางการเมือง ในระดับชุมชน ท้อ งถิ่น และประเทศ พัฒนากลไกตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐในทุกระดับ ด้วยการ ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในนโยบายหรือมาตรการสาธารณะ รวมทัง้ การใช้ จ่าย งบประมาณ พัฒนาจริยธรรมของผู้นาทางการเมืองให้มคี วามเสียสละ ยึดมันผลประโยชน์ ่ ส่วนรวม ควบคู่ก ับการสร้า งกลไกและมาตรการที่เ ข้ม งวดในการด าเนิน การกับ พรรคและนัก การเมือ งที่มุ่ง แสวงหาประโยชน์ส่วนตนทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ๕.๔.๖ สร้างความเท่าเทียมในกระบวนการยุติธรรม โดยสนับสนุ นยุตธิ รรมกระแสหลัก ควบคู่ก ับ ยุติธ รรมทางเลือ ก ที่นาไปสู่ ก ารเสริมสร้างโอกาสและการเข้า ถึง กระบวนการยุติธ รรมของ ประชาชนอย่างมีบูรณาการตามลาดับขัน้ ตอนด้วยความโปร่งใสรวมทัง้ การหนุ นเสริมเครือข่ายยุติธรรม ชุมชนให้ชุมชนท้องถิน่ จัดการตนเองในการลดความขัดแย้งในชุ มชน และสนับสนุ นให้ประชาชนรับรูส้ ทิ ธิ หน้าทีแ่ ละเข้าถึงบริการของหน่วยงานกระบวนการยุตธิ รรมได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ๕.๔.๗ เพิ่ ม ช่ อ งทางในการรับ ข้ อ ร้ อ งเรี ย นและให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ เยี ย วยาแก่ ผู้เสี ยหายและผู้ได้ รบั ผลกระทบจากกระบวนการยุติธรรม โดยให้ความช่วยเหลือประชาชนในด้าน กฎหมาย การฟ้ อ งร้อ ง การด าเนิ นคดี การบัง คับคดี การคุ้มครองสิทธิแ ละเสรีภาพของผู้ไ ด้รบั ความ เดือดร้อน ผู้ไม่ได้รบั ความเป็ นธรรม หรือผู้ได้รบั ผลกระทบจากความผิดพลาดของกระบวนการยุตธิ รรม รวมทัง้ วางกลไกในการติดตามความคืบหน้าของการดาเนินการ ๕.๔.๘ สนั บสนุ น การใช้ สื่ อ เพื่ อ สัง คมทัง้ ในระดับ ประเทศและท้ อ งถิ่ น และสัง คม ออนไลน์ เป็ นช่องทางเข้าถึงผู้คนทุกภาคส่วนของสังคม ในการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารที่สร้างสรรค์และเป็ น ธรรมโดยเฉพาะการเสริมสร้างค่านิยมใหม่ๆ ทีด่ งี าม โดยมีกระบวนการสร้างความเข้าใจในการกลันกรอง ่ ความน่าเชื่อถือของข่าวสารพร้อมกับการส่งเสริมและยึดมันในจรรยาบรรณของสื ่ ่อ ควบคู่กบั การพัฒนาสื่อ ปลอดภัยและสื่อสร้างสรรค์ให้เกิดขึน้ ในสังคมไทย โดยเปิดโอกาสให้ผรู้ บั สื่อมาร่วมเป็ นผูผ้ ลิตและเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารสู่สาธารณะทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อทุกคน


บ ท ที่ ๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยังยื ่ น ๑

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง

การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยังยื ่ นจะต้องให้ความสาคัญกับการเสริมสร้างทุนของประเทศ ทีม่ อี ยูใ่ ห้เข้มแข็งและมีพลังเพียงพอในการขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาคน หรือทุนมนุ ษย์ให้เข้มแข็ง พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงโลกในยุคศตวรรษที่ ๒๑ และการเสริมสร้างปจั จัย แวดล้อ มที่เอื้อ ต่อ การพัฒนาคุณ ภาพของคนทัง้ ในเชิงสถาบัน ระบบ โครงสร้างของสังคม ให้เ ข้มแข็ง สามารถเป็นภูมคิ ุม้ กันการเปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีจ่ ะเกิดขึน้ ในอนาคต อย่างไรก็ตาม สถานการณ์การพัฒนา ทีผ่ ่านมาส่งผลกระทบต่อคนและสังคมไทยหลายประการ ดังนี้ ๑.๑ โครงสร้างประชากรมีแนวโน้ มประชากรวัยสูงอายุเพิ่ มขึ้น ประชากรวัยเด็กและวัย แรงงานลดลง ขณะที่ ก ารย้ า ยถิ่ น ของประชากรส่ ง ผลให้ ค วามเป็ นเมื อ งสู ง ขึ้ น ช่ ว งแผนฯ ๑๑ ประเทศไทยได้เ ข้ า สู่ ส ัง คมผู้สู ง อายุ แ ละจะเป็ น สัง คมผู้สู ง อายุ อ ย่ า งสมบู ร ณ์ ใ นปี ๒๕๖๘ โดยภาค ตะวันออกเฉียงเหนือจะมีประชากรวัยสูงอายุมากทีส่ ุดถึงเกือบ ๑ ใน ๓ ของประชากรสูงอายุทงั ้ ประเทศ ขณะทีก่ รุงเทพมหานครจะมีการเพิม่ ขึน้ ของประชากรวัยสูงอายุอย่างรวดเร็ว สาหรับโครงสร้างประชากร วัยเด็กและวัยแรงงานมีสดั ส่วนลดลงอย่างต่อเนื่อง ซึง่ เป็ นผลมาจากภาวะเจริญพันธุข์ องสตรีไทยทีล่ ดลง ต่ าอยู่ท่ี ๑.๖ ในปี ๒๕๕๑ ทาให้สดั ส่วนประชากรวัยเด็ก : วัยแรงงาน : ผูส้ ูงอายุ ลดลงจากร้อยละ ๒๐.๕ : ๖๗.๖ : ๑๑.๙ ในปี ๒๕๕๓ เป็นร้อยละ ๑๘.๓ : ๖๖.๙ : ๑๔.๘ ในปี ๒๕๕๙ ขณะเดียวกันคนไทยส่วนใหญ่ ขาดความรูค้ วามเข้าใจด้านอนามัยการเจริญพันธุ์ทถ่ี ูกต้องและเหมาะสม ส่งผลต่อความไม่สมดุลระหว่าง ปริมาณและคุณภาพของประชากรของประเทศ นอกจากนี้ การย้ายถิน่ ของประชากรจากชนบทเข้าสู่เมือง อย่างต่อเนื่องทาให้มกี ารขยายตัวของความเป็ นเมืองมากขึน้ โดยสัด ส่วนประชากรในเขตเมืองเพิม่ สูงขึน้ จากร้อยละ ๓๑.๑ ในปี ๒๕๔๓ เป็นร้อยละ ๔๕.๗ ในปี ๒๕๕๓ ๑.๒ คนไทยได้รบั การพัฒนาศักยภาพทุกช่ วงวัย แต่ ยงั มีปัญหาด้ านสติ ปัญญา คุณภาพ การศึกษา และมีพฤติ กรรมเสี่ยงทางสุขภาพ ผลการพัฒนาตามช่วงวัย พบว่า กลุ่มวัยเด็ก ระดับเชาว์ ปญั ญามีค่าเฉลี่ยลดลงจาก ๙๑ เป็ น ๘๘ ในช่วงปี ๒๕๔๐-๒๕๕๒ (องค์การอนามัยโลกกาหนดไว้ท่ี ๙๐๑๑๐) เด็ก อายุ ๐-๕ ปี ที่ม ีพ ัฒ นาการสมวัย มีส ัด ส่ ว นลดลงจากร้อ ยละ ๗๒ เหลือ เพีย งร้อ ยละ ๖๗ ขณะเดียวกันยังมีภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้ว นจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสม โดยในปี ๒๕๔๙ เด็กอายุต่ ากว่า ๕ ปีมภี าวะโภชนาการเกินถึงร้อยละ ๑๐.๖ และคาดว่าอีก ๑๐ ปีขา้ งหน้า ๑ ใน ๕ ของเด็กปฐมวัยจะเป็ นโรคอ้วน ส่ วนเด็กวัยเรียน มีผ ลสัมฤทธิ ์ทางการเรียนต่ ากว่าร้อ ยละ ๕๐ และ มาตรฐานความสามารถของผูเ้ รียนในเรื่องการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวจิ ารณญาณ และคิดสร้างสรรค์ ค่อนข้างต่ า นอกจากนี้ จากพฤติกรรมเสีย่ งทางสุขภาพทาให้เกิดปญั หาการตัง้ ครรภ์ในวัยรุ่นเพิม่ สูงขึน้


อัตราการตัง้ ครรภ์ของวัยรุ่นหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี เพิม่ จาก ๕๔.๙ ต่อประชากรหญิงอายุ ๑๕-๑๙ ปี พนั คน ในปี ๒๕๔๘ เป็น ๕๖.๒ ในปี ๒๕๕๓ ขณะทีก่ ลุ่มวัยทางาน ภาพรวมกาลังแรงงานมีการศึกษาสูงขึน้ โดย ปี ๒๕๕๑ มีกาลังแรงงานจบการศึกษาสูงกว่าระดับประถมศึกษาเพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ ๔๓.๑ และสัดส่วน นักเรียนสายอาชีพต่อสายสามัญอยู่ในอัตรา ๔๐:๖๐ แต่การเรียนต่อในสายอาชีวศึกษายังไม่สอดคล้องกับ ความต้องการกาลังคนระดับกลางของประเทศ ขณะเดียวกันอัตราเพิม่ ของผลิตภาพแรงงานในช่วงปี ๒๕๕๐-๒๕๕๑ โดยเฉลี่ยยังคงอยู่ในระดับต่ าเพียงร้อยละ ๑.๘ นับเป็ นจุดอ่อนต่อการขยายการผลิตใน ภาคอุตสาหกรรมและเพิม่ ผลิตภาพโดยรวมของประเทศ กลุ่มวัยสูงอายุ แม้จะมีอายุยนื ยาวขึน้ แต่ประสบ ปญั หาการเจ็บปว่ ยด้วยโรคเรือ้ รังเพิม่ ขึน้ โดยพบว่าร้อยละ ๓๑.๗ ปว่ ยเป็ นโรคความดันโลหิตสูง รองลงมา คือ เบาหวาน ร้อยละ ๑๓.๓ และหัวใจร้อยละ ๗.๐ ส่งผลต่อภาระค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาลของ ภาครัฐในอนาคต ๑.๓ ความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน การแพร่ระบาดของยาเสพติ ด และการเพิ่ มขึ้น ของการพนันเป็ นปัญหาสาคัญต่อคุณภาพชีวิตของประชาชน การก่ออาชญากรรมทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ อย่างต่อเนื่องตลอดช่วงปี ๒๕๔๘-๒๕๕๒ สะท้อนได้จากภาพรวมคดีอาญาที่สาคัญทัง้ การก่อคดีชวี ติ ร่างกาย และเพศ คดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ และคดียาเสพติด โดยในปี ๒๕๔๘ มีจานวน ๓๕๕.๘๙ คดีต่อ ประชากรแสนคน และเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องจนถึงปี ๒๕๕๒ เป็น ๕๑๖.๖๘ คดีต่อประชากรแสนคน จานวน คดีอาญาดังกล่าวเป็ นคดียาเสพติดมากที่สุด โดยปี ๒๕๔๘ มีจานวน ๑๖๐.๓๗ คดีต่อประชากรแสนคน และได้เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่องถึงกว่าเท่าตัวในปี ๒๕๕๒ เป็ นจานวน ๓๗๑.๕๗ คดีต่อประชากรแสนคน ป ั จ จุ บั น ป ั ญ ห า ก า ร แ พ ร่ ร ะ บ า ด ข อ ง ยาเสพติดเป็ นภัยร้ายแรงที่ส่งผลกระทบต่อกลุ่มเด็กและเยาวชนอย่างกว้างขวาง ทัง้ นี้ จากการสารวจ ความคิดเห็นของประชาชนพบว่าปญั หาการแพร่ระบาดยาเสพติดในสถานศึกษาเพิม่ ขึน้ จากร้อยละ ๑๙.๒ ปี ๒๕๕๒ เป็นร้อยละ ๕๑.๓ ปี ๒๕๕๓ นอกจากนี้ ผลกระทบจากปญั หาทางเศรษฐกิจ ส่งผลให้คนไทยเข้า สู่วงจรการเสี่ยงโชคมากขึน้ เช่น เล่นพนันบอล หวยใต้ดนิ หวยหุน้ เป็ นต้น ทัง้ นี้ จากสถิตกิ ารจับกุมคดี ต า ม พ . ร . บ . การพนัน พบว่า ปี ๒๕๕๓ มีการจับกุมผูเ้ ล่นการพนันจานวน ๑๖๓,๕๕๓ คน ขณะเดียวกัน กลุ่มเด็กและ เยาวชนมีแนวโน้มเล่นการพนันมากขึน้ ๑.๔ สังคมไทยเผชิ ญวิ กฤตความเสื่ อมถอยด้ านคุณธรรมจริ ยธรรม มีการเปลี่ยนแปลง ทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย และมีแนวโน้ มเป็ นสังคมปัจเจกมากขึ้น การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ผ่านกระแสโลกาภิวตั น์และโลกไซเบอร์ ทาให้คนไทยมุ่งแสวงหาความสุขและสร้างอัตลักษณ์ส่วนตัว ผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์ เกิดเป็นวัฒนธรรมย่อยร่วมสมัยทีห่ ลากหลายในรูปแบบการรวมกลุ่มของบุคคล ที่ สนใจเรือ่ งเดียวกัน ขณะเดียวกันมีการคานึงถึงประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้องมากกว่าส่วนรวม ทัง้ นี้ จาก การจัดอันดับคะแนนดัชนีช้วี ดั ภาพลักษณ์คอร์รปั ชันทั ่ วโลกบ่ ่ งชี้ถึงความไม่สมดุลของธรรมาภิบาลการ ปกครองและปญั หาคอร์รปั ชันในประเทศ ่ โดยในปี ๒๕๕๒ ประเทศไทยได้รบั คะแนนความโปร่งใส ไม่ ทุจริต และคนในประเทศยอมรับไม่ได้กบั การทุจริตเพียง ๓.๔๐ คะแนน จากคะแนนเต็ม ๑๐ คะแนน จัด อยูใ่ นลาดับที่ ๘๔ จาก ๑๘๐ ประเทศ และอยูใ่ นลาดับที่ ๑๑ ของภูมภิ าคเอเชีย ขณะทีภ่ าคส่วนต่างๆ ได้ม ี การส่งเสริมให้มกี ารรวมกลุ่มทากิจกรรมต่างๆ แต่การมีส่วนร่วมในการทากิจกรรมเพื่อประโยชน์ส่วนรวม ยังอยูใ่ นระดับต่า โดยมีสดั ส่วนมูลค่าเพิม่ ขององค์กรไม่แสวงหากาไรและอาสาสมัครต่อผลิตภัณฑ์มวลรวม


ในประเทศเพียงร้อยละ ๑.๖ ในช่วงปี ๒๕๔๙ – ๒๕๕๑ เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศทีพ่ ฒ ั นาแล้วมีสดั ส่วน อยูท่ ร่ี อ้ ยละ ๔-๗ นอกจากนี้ ความสัมพันธ์แบบเครือญาติท่มี คี วามเอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเริม่ หมดไป จากโครงสร้างครอบครัว ที่เปลี่ยนแปลงไปสู่ครัวเรือนที่อยู่คนเดียว ครัวเรือนที่อยู่ด้วยกันแบบ ไม่ใช่ญาติ และครัวเรือนทีม่ อี ายุ รุ่นเดียวกัน สองรุ่น และรุ่นกระโดด (ตายาย-หลาน) หรือครัวเรือนที่เป็ น เพศเดียวกัน พฤติก รรมการอยู่ร่ว มกันของสมาชิกในครอบครัว เป็ นแบบต่ างคนต่ างอยู่ สัมพันธภาพ ระหว่างสมาชิกในครอบครัวมีความเปราะบางจนนาไปสู่ปญั หาทางสังคมเพิม่ ขึน้ เช่น อัตราการหย่าร้าง เพิม่ ขึ้นจาก ๔.๕ คู่ต่อพันครัวเรือนในปี ๒๕๔๕ เป็ น ๕.๓ คู่ต่อพันครัวเรือนในปี ๒๕๕๑ ปญั หาความ รุนแรงในครอบครัวและความรุนแรงทางเพศต่อเด็กและสตรีเพิม่ ขึน้ ๑.๕ สื่ อมีอิทธิ พลต่ อการเปลี่ ยนแปลงพฤติ กรรมของประชาชน แต่ ยงั มีบทบาทในการ ส่ ง เสริ ม การพัฒ นาคุณ ภาพคนค่ อ นข้ า งน้ อ ย สื่อ ทางสัง คมในป จั จุ บ ัน มีอิท ธิพ ลอย่า งมากต่ อ การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของประชาชน แต่การเผยแพร่ส่อื ต่างๆ ยังไม่มบี ทบาทต่อการส่งเสริม การเรียนรู้ และคุณธรรมจริยธรรม สะท้อนได้จากรายการโทรทัศน์ในหนึ่งชัวโมงของรายการที ่ อ่ อกอากาศทัง้ หมด มี ภาพของความรุนแรงมากทีส่ ุดถึง ๓.๒๙ ครัง้ ภาพทีต่ อกย้าการสร้างอคติเชิงลบต่อผูอ้ ่นื จานวน ๑.๓๔ ครัง้ ภาษาก้าวร้าว ๐.๒๕ ครัง้ ความไม่เหมาะสมทางเพศ ๐.๑๓ ครัง้ ขณะทีก่ ารเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร ผ่านทางเว็บไซด์ต่างๆ ส่วนใหญ่มเี นื้อหาเกี่ยวกับเรื่องเพศและการใช้ภาษาทีไ่ ม่เหมาะสม และบางส่วน เป็นเว็บไซต์ทเ่ี ข้าข่ายลามกอนาจาร ใช้ภาษาทีห่ ยาบคาย รวมถึงเนื้อหาทีร่ ุนแรง ขณะทีเ่ กมคอมพิวเตอร์ ซึง่ เป็ นสื่อออนไลน์ทม่ี อี ทิ ธิพลต่อเด็กและเยาวชนอย่างมาก พบว่า ปี ๒๕๕๐ ร้อยละ ๔๒.๒ ของเด็กและ เยาวชนติดเกมออนไลน์ ซึง่ เกมส่วนใหญ่ทน่ี ิยมเล่น เน้นการต่อสู้ ใช้ความรุนแรง มีเนื้อหาทางเพศ และ การใช้ภาษาในเกมทีไ่ ม่เหมาะสมต่อการเรียนรูแ้ ละเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรม ๑.๖ บริ บทการเปลี่ยนแปลงกระแสโลกก่อให้ เกิ ดความร่วมมือทางเศรษฐกิ จทัง้ ในระดับ ทวิ ภาคีและระดับพหุภาคี รวมทัง้ มีการเคลื่อนย้ายแรงงานได้อย่างเสรีมากขึ้น ความร่วมมือกับกลุ่ม ประเทศเพื่อนบ้านมีอทิ ธิพลต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานเข้าสู่ประเทศไทย ทัง้ แรงงานต่างชาติท่เี ข้ามาใน ประเทศไทยอย่างถูกกฎหมายและผิดกฎหมาย ในปี ๒๕๕๒ มีแรงงานต่างด้าวเข้าเมืองที่ถูกกฎหมาย จานวน ๒๑๙,๗๙๔ คน และผิดกฎหมาย จานวน ๑,๓๓๔,๑๕๗ คน ทัง้ นี้ ในปี ๒๕๕๘ จะมีการเคลื่อนย้าย แรงงานทีม่ ที กั ษะฝีมอื อย่างเสรีตามกรอบความร่วมมือประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยมีขอ้ ตกลงร่วมกัน ถึงคุณสมบัตใิ นสายวิชาชีพเพื่อให้มกี ารเคลื่อนย้ายแรงงานใน ๗ สาขา ได้แก่ วิศวกรรม พยาบาล ส ถ า ปั ต ย ก ร ร ม วิ ช า ชี พ ส า ร ว จ แ พ ท ย์ ทันตแพทย์ และนักบัญชี และในระยะต่อไปจะเปิดในสาขาอื่นๆ รวมทัง้ แรงงานกึ่งทักษะฝีมอื ด้วย ซึง่ จะมี ผลท าให้ป ระเทศต้อ งมีเ กณฑ์เ พื่อ เป็ นมาตรฐานในการประเมินความสามารถของแรงงานที่จ ะมี การ เคลื่อนย้ายแรงงานในภูมภิ าคอาเซียน

การประเมินความเสี่ยง

การพัฒนาคนและสังคมที่ผ่านมาต้องเผชิญกับความท้าทายจากบริบทการเปลีย่ นแปลงทางด้าน เศรษฐกิจ และสัง คมทัง้ ภายในและภายนอกประเทศที่ก่ อ ให้เ กิด ความเสี่ย งต่ อ การเปลี่ย นแปลงเชิง โครงสร้าง สถาบันทางสังคม และปจั เจกบุคคล โดยมีความเสีย่ งทีส่ าคัญ ดังนี้


๒.๑ โครงสร้ างประชากรมีค วามไม่ส มดุลทัง้ ในเชิ ง ปริ มาณและคุณภาพ ส่ งผลต่ อ การ ขยายตัวทางเศรษฐกิ จและขีดความสามารถในการพัฒนาประเทศ โดยประชากรวัยเด็กนอกจากมี อัตราการเกิดที่ลดลง ยังมีปญั หาพัฒนาการด้านสติปญั ญา อารมณ์และสังคม ส่งผลให้ประเทศไทยอาจ ประสบปญั หาภาวะขาดแคลนกาลังแรงงานที่มคี ุณภาพในอนาคต ขณะที่ประชากรวัยทางานมีแนวโน้ ม ลดลง โดยเฉพาะภาคการเกษตรทีม่ สี ดั ส่วนกาลังแรงงานลดลงอย่างต่อเนื่อง จากร้อยละ ๔๑ ในปี ๒๕๔๕ เป็นร้อยละ ๓๗.๗ ในปี ๒๕๕๒ และเริม่ มีอายุเฉลีย่ สูงขึน้ เรือ่ ยๆ ในปี ๒๕๕๒ เฉลีย่ อยู่ท่ี ๔๓ ปี โดยเป็ นผู้ มีอ ายุมากกว่า ๕๐ ปี ข้นึ ไปถึงร้อ ยละ ๒๐.๕ และอายุมากกว่า ๖๐ ปี ข้นึ ไป ร้อ ยละ ๑๒ สถานการณ์ ดังกล่าวอาจนาไปสู่ปญั หาการขาดแคลนแรงงานภาคเกษตร จนอาจต้องมีการนาเข้าแรงงานต่ างด้าว จานวนมาก ขณะเดียวกันผลิตภาพและทักษะความรูข้ องกาลังแรงงานในปจั จุบนั ยังอยู่ในระดับต่ า ส่งผล ให้ผลิตภาพการผลิตและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศชะลอตัวลง นอกจากนี้ประชากรวัย สูงอายุมสี ดั ส่วนเพิ่มขึ้น แต่ มงี านทามีเพียงร้อยละ ๓๘.๒ ในปี ๒๕๕๒ และส่วนใหญ่ทางานอยู่ในภาค การเกษตร ๒.๒ คุณภาพชี วิตของประชาชนยังมีความเสี่ ยงจากความปลอดภัยในชี วิตและทรัพย์สิน และการแพร่ระบาดของยาเสพติ ด สถานการณ์ปญั หาด้านคดีอาญา โดยเฉพาะทีเ่ กี่ยวกับคดียาเสพติด ทีม่ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ อันเป็ นผลพวงมาจากปญั หาทางเศรษฐกิจ ประชาชนส่วนหนึ่งถูกครอบงาจากกระแส วัตถุนิยมและต้องการหาเงินแบบง่ายๆ เช่น เข้าร่วมขบวนการค้ายาเสพติด การลักลอบเล่นพนันฟุตบอล โลก การขายบริการทางเพศ เป็นต้น ส่งผลให้มกี ารกระทาผิดหรือก่อคดีอาชญากรรมได้ง่ายขึน้ ทัง้ คดีชวี ติ ร่า งกาย และเพศ คดีป ระทุษ ร้า ยต่ อ ทรัพ ย์ส ิน และคดีย าเสพติด ซึ่งเป็ น ภัย คุ ก คามต่ อ คุ ณ ภาพชีว ิต ประชาชน ๒.๓ ความเสื่อมถอยทางคุณธรรมจริ ยธรรมและค่านิ ยมไทย ส่งผลให้ สถาบันทางสังคมมี แนวโน้ มอ่อนแอ คนในสังคมขาดความไว้เนื้ อเชื่อใจและขาดการมีส่วนร่วมทางสังคม วิกฤตปญั หา ด้านคุณธรรมจริยธรรม เป็ นความเสีย่ งทีจ่ ะส่งผลให้ประชาชนอยู่ร่วมกันยากลาบาก มีความถี่ในการใช้ ความรุนแรงแก้ไขปญั หามากขึน้ ทัง้ ปญั หาในระดับครอบครัว และปญั หาความคิดเห็นแตกต่างทางการ เมือง ประกอบกับกระบวนการยุตธิ รรมแก้ไขปญั หาได้ไม่เต็มที่ ทาให้ขาดความไว้เนื้อเชื่อใจกัน นอกจากนี้ กระแสวัฒนธรรมเสมือนจริงที่แพร่เข้ามาผ่านโลกไซเบอร์ ทาให้มกี ารสร้างเครือข่ายทางสังคมมากขึน้ มี อิทธิพ ลต่ อ พฤติก รรมและวิจารณญาณในการเลือ กรับ -ปรับ -ใช้ว ัฒนธรรม ส่ งผลให้ค่ านิ ยมไทยมีการ ปรับเปลี่ยนไปตามวัฒ นธรรมที่ร บั มา เด็กและเยาวชนที่ยงั ไม่ม ีภูม ิคุ้ ม กัน ที่ดีพ อ หรือ ขาดการใช้ วิจารณญาณกลันกรอง ่ จะเสี่ยงต่ อ การรับ วัฒ นธรรมที่ไม่ดีง ามมาใช้โ ดยง่า ย นอกจากนี้ ยัง มีการใช้ ประโยชน์จากวัฒนธรรมเสมือนจริงในเชิงของการสร้างปญั หามากกว่าเชิงสร้างสรรค์ ทาให้ความสัมพันธ์ กับคนรอบข้างลดลง สร้างพื้นทีส่ ่วนตัวมากขึน้ นาไปสู่ค วามแตกแยกในครอบครัวและการมีส่วนร่วมใน สังคมลดลง ๒.๔ การเคลื่อนย้ายแรงงานอย่างเสรีส่งผลกระทบต่ อการมีงานทาและคุณภาพชี วิต การ แข่งขันทางการค้าอย่างรุนแรง การเคลื่อนย้ายเงินทุนของบรรษัทข้ามชาติ และการเคลื่อนย้ายแรงงาน อย่างเสรี ทาให้มคี วามต้องการนาเข้าแรงงานจากต่างประเทศทัง้ ในส่วนแรงงานที่มที กั ษะฝี มอื /ความ เชี่ยวชาญเฉพาะทาง และแรงงานไร้ฝี มอื ซึ่ง จะส่ งผลกระทบต่ อ ภาวะการมีง านทาของแรงงานไทย นอกจากนี้ การเข้ามาของแรงงาน ต่างด้าวยังส่งผลกระทบต่อความมันคงของคนไทยทั ่ ง้ ในด้านความ ปลอดภัยในชีวติ และทรัพย์สนิ ด้านสุขภาพโดยเฉพาะโรคติดต่ออุบตั ใิ หม่อุบตั ซิ ้า ก่อให้เกิดภาระค่าใช้จ่าย


ของภาครัฐเพิม่ สูงขึน้ ขณะทีแ่ รงงานต่างด้าวผิดกฎหมายและผูต้ ดิ ตามแรงงานต่างด้าว รวมทัง้ การออกลูก หลานโดยไร้ส ัญ ชาติ ทาให้เ กิด ปญั หาในเรื่อ งการรับรองสถานะ การให้บริก ารต่ างๆ ประเด็นปญั หา มนุษยธรรม และความขัดแย้งระหว่างประเทศ

การสร้างภูมิค้มุ กัน

จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและปจั จัยเสี่ยงในอนาคตที่คาดว่าจะเป็ นอุปสรรคสาคัญในการ พัฒนาคน การยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็ นแนวทางในการดาเนินชีวติ บนหลักการพืน้ ฐาน สาคัญที่คนไทยต้องมีความรู้ ใฝ่เรียนรู้ ตัดสินใจด้วยความระมัดระวัง มีสานึกในศีลธรรมและจริยธรรม ดาเนินชีวติ ด้วยความเพียร อดทน มีสติใช้ปญั ญา จะนาไปสู่ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมี ภูมคิ ุม้ กันต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง สามารถดาเนินชีวติ อย่างสมดุลทุกด้าน จึงจาเป็ นต้องสร้าง ภูมคิ ุม้ กันให้คนและสังคมไทย ในประเด็นสาคัญ ดังนี้ ๓.๑ คนไทยมีการเรียนรู้ตลอดชี วิต ให้มกี ารเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องทัง้ ในเรื่องการศึกษา ทักษะ การท างาน และการด าเนิ น ชีว ิต เพื่อ เป็ นภูม ิคุ้ม กัน ส าคัญ ในการด ารงชีว ิต และปรับ ตัว ให้ท ันกับ การ เปลีย่ นแปลงของโลกในยุคศตวรรษที่ ๒๑ ๓.๒ คนไทยตระหนักถึงคุณค่ าวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย สร้างจิตสานึกที่ดี มีค่านิยมที่ พึงประสงค์ อยู่ร่วมกันด้วยความรัก ความสามัคคี เป็ นน้ าหนึ่งใจเดียวกัน บนความแตกต่างหลากหลาย ทางวัฒนธรรม เพื่อเป็ นฐานในการก้าวไปสู่สงั คมที่มคี วามใส่ใจและแบ่งปนั ต่อผู้อ่นื ตลอดจนนาไปสู่การ สร้างและพัฒนานวัตกรรมและผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรมทีเ่ ชื่อมต่อกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศใน อนาคต ๓.๓ สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็ง ทาหน้าทีแ่ ละบทบาทของตนเองได้อย่างเหมาะสมกับ สถานการณ์ท่มี กี ารเปลีย่ นแปลงตลอดเวลา ทัง้ สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา และ ชุมชนให้เป็นสถาบันหลักในการพัฒนาความรู้ ปลูกฝงั จริยธรรม คุณธรรม ค่านิยมทีด่ งี าม

วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์

ั ญา มี ๔.๑.๑ เพื่อ พัฒ นาคุ ณ ภาพคนไทยทุ ก กลุ่ มวัย ให้มคี วามพร้อ มทัง้ กาย ใจ สติป ญ ระเบียบวินัย มีจติ สานึกวัฒนธรรมที่ดงี ามและรู้คุณค่าความเป็ นไทย มีโอกาสและสามารถเรียนรูต้ ลอด ชีวติ มีภมู คิ ุม้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง และเป็นพลังทางสังคมในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ๔.๑.๒ เพื่อ ยกระดับการพัฒนาคุ ณภาพการศึก ษาไทยให้ไ ด้ม าตรฐานสากล และเพิ่ม โอกาสทางการศึกษาและการเรียนรูใ้ นรูปแบบทีห่ ลากหลาย ๔.๑.๓ เพื่อเสริมสร้างสภาพแวดล้อมทางครอบครัว ชุมชน และสังคมให้มนคงและเอื ั่ ้อต่อ การพัฒนาคนอย่างสอดคล้องกับบริบทการเปลีย่ นแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในอนาคต ๔.๒ เป้ าหมายการพัฒนา


๔.๒.๑ คนไทยทุกคนได้รบั การพัฒนาทัง้ ทางร่างกายและจิตใจ มีอนามัยการเจริญพันธุ์ท่ี เหมาะสมในทุกช่วงวัย มีความรู้ ความสามารถในการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ มีนิสยั ใฝ่เรียนรูต้ ลอดชีวติ มีความคิดสร้างสรรค์ มีวนิ ัย มีคุณธรรมจริยธรรม มีค่านิยมความเป็ นไทย รูจ้ กั สิทธิหน้าทีข่ องตนเองและ ของผูอ้ ่นื มีจติ สานึกรับผิดชอบต่อสังคม ๔.๒.๒ คุ ณ ภาพการศึก ษาได้ร ับ การยกระดับ สู่ ม าตรฐานสากล ต่ อ ยอดองค์ค วามรู้สู่ นวัตกรรม และโอกาสการเข้าถึงการศึกษาและการเรียนรูใ้ นรูปแบบทีห่ ลากหลายเพิม่ มากขึน้ ๔.๒.๓ โอกาสในการเข้าถึงระบบสุขภาพที่มคี ุณภาพเพิ่มขึ้นและปจั จัยเสี่ยงต่ อสุ ขภาพ ลดลงอย่างเป็นองค์รวม ๔.๒.๔ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา มีบทบาทหลั กในการหล่ อ หลอม บ่มเพาะคนไทยโดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ให้เ ป็ นคนดี มีคุ ณธรรม จริยธรรมในวิถีชีว ิต และ คานึงถึงประโยชน์ต่อส่วนรวม ๔.๓ ตัวชี้วดั ๔.๓.๑ คุณภาพของประชากรดีขน้ึ โดย ๑) อัตราเจริญพันธุร์ วมของประชากรไทยไม่ต่ากว่า ๑.๖ ๒) ระดับค่าเฉลีย่ เชาวน์ปญั ญาของเด็กเพิม่ ขึน้ อยูใ่ นช่วง ๙๐-๑๑๐ ๔.๓.๒ คุณภาพคนโดยรวมดีขน้ึ โดย ๑) ปีการศึกษาเฉลีย่ ของคนไทยเพิม่ ขึน้ เป็น ๑๒ ปี ๒) สัดส่วนผูใ้ ช้อนิ เทอร์เน็ตเพื่อการเรียนรูต้ ่อประชากรอายุ ๖ ปีขน้ึ ไป เพิม่ ขึน้ เป็ น ร้อยละ ๔๕ และเพิม่ สัดส่วนประชากรทีส่ ามารถเข้าถึงโครงข่ายคมนาคมและอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ได้ ร้อยละ ๘๐ ของประชากรทัวประเทศ ่ ๓) จ านวนบุ ค ลากรด้า นการวิจ ัย และพัฒ นาเพิ่ม ขึ้น เป็ น ๑๕ คนต่ อ ประชากร ๑๐,๐๐๐ คน ๔) อัตราเพิม่ ของผลิตภาพแรงงานเฉลีย่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๓ ต่อปี ๕) อัตราการปว่ ยด้วยโรคหัวใจ หลอดเลือดสมองตีบ และอัตราการควบคุมภาวะ เบาหวานและความดันโลหิตสูงในผูป้ ว่ ยลดลง ๔.๓.๓ สถาบันทางสังคมมีความเข้มแข็งมากขึน้ โดย ๑) จานวนคดีตามพ.ร.บ.คุม้ ครองผูถ้ ูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัวลดลง ๒) ดัชนีครอบครัวอบอุ่นอยูใ่ นระดับดีขน้ึ ๓) คนในครัวเรือนมีส่วนร่วมทากิจกรรมสาธารณะของหมู่บา้ น/ชุมชนเพิม่ ขึน้

แนวทางการพัฒนา


จากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มในอนาคต สะท้อนให้เห็น ความเสี่ยงที่อาจเกิดทัง้ การเปลี่ย นแปลงเชิง โครงสร้า ง สถาบันทางสัง คม และป จั เจกบุ ค คล การเตรียมคนให้พ ร้อ มรับ การ เปลี่ยนแปลง ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงมุ่งเน้นการพัฒนาคนทุกช่วงวัยให้เข้าสู่สงั คมแห่งการ เรียนรู้ต ลอดชีว ิต อย่างยังยื ่ น ให้ค วามส าคัญ กับการนาหลัก คิดหลักปฏิบตั ิต ามปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาเสริมสร้างศักยภาพของคนในทุกมิติ ทัง้ ด้านร่างกายที่สมบูรณ์ แข็งแรง มีสติปญั ญาที่รอบรู้ และมีจติ ใจทีส่ านึกในคุณธรรม มีจริยธรรม และความเพียร มีภูมคิ ุม้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง รวมทัง้ การเสริมสร้างสภาพแวดล้อมในสังคม และหนุ นเสริมสถาบันทางสังคมให้แข็งแกร่งและเอื้อต่อการพัฒนา คน ดังนี้ ๕.๑ การปรับโครงสร้างและการกระจายตัวประชากรให้เหมาะสม ส่งเสริมให้คนไทยมีบุตร ทีม่ คี ุณภาพและมีการกระจายตัวประชากรทีส่ อดคล้องกับศักยภาพและโอกาสของพืน้ ที่ ๕.๑.๑ ส่งเสริมคู่สมรสทีม่ คี วามพร้อมให้มบี ุตรเพิม่ ขึน้ และรักษาระดับอัตราเจริญพันธุไ์ ม่ให้ ต่ ากว่าระดับทีเ่ ป็ นอยูป่ จั จุบนั โดย ๑) ส่งเสริมอนามัยการเจริญพันธุ์ทเ่ี หมาะสมในทุกช่วงวัยอย่างทัวถึ ่ งได้มาตรฐาน และมีคุ ณ ภาพ รวมทัง้ ก าหนดมาตรการที่เอื้อ ต่ อการมีบุต รเพิ่มขึ้นอย่างมีคุ ณภาพทัง้ ในด้านภาษีและ สวัสดิการในการเลีย้ งดูบุตร ๒) ส่ งเสริมให้ม ีระบบการจัด การความรู้ใ นเรื่อ งครอบครัว ศึกษา อาหารศึกษา พฤติกรรมอนามัยการเจริญพันธุ์และสุขภาพทางเพศทีเ่ หมาะสมปลอดภัย รวมถึงการเตรียมความพร้อม พ่อแม่ก่อนตัง้ ครรภ์ ระหว่างตัง้ ครรภ์ ระยะคลอด และหลังคลอด ๕.๑.๒ สนับสนุ นการกระจายตัว และส่ ง เสริมการตัง้ ถิ่น ฐานของประชากรให้เ หมาะสม สอดคล้องกับศักยภาพ โอกาส และทรัพยากรธรรมชาติของพืน้ ที่ โดย ๑) เพิม่ โอกาสการจ้างงานและการมีงานทาในภูมภิ าค เพื่อลดการย้ายถิน่ ออกและ จูงใจให้มกี ารย้ายถิน่ กลับภูมลิ าเนาเดิม ๒) พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน บริการทางด้านเศรษฐกิจและสังคมให้เพียงพอและมี คุณภาพมาตรฐานเท่าเทียมกันระหว่างเขตเมืองและชนบท เพื่อจูงใจให้ประชาชนอยูใ่ นพืน้ ที่ ๕.๒ การพัฒ นาคุ ณ ภาพคนไทยให้ มี ภ ูมิ ค้ ุ ม กัน ต่ อ การเปลี่ ย นแปลง มีก ารเรีย นรู้อ ย่า ง ต่ อ เนื่อ งทัง้ การศึก ษา การเสริมสร้ างขีด ความสามารถในการประกอบสัมมาชีพ และการดารงชีว ิต ที่ เหมาะสมในแต่ละ ช่วงวัย ๕.๒.๑ การพัฒนาคุณภาพคนไทยทุกช่วงวัย ๑) พัฒนาเด็กปฐมวัยอย่างเป็ นองค์รวมทัง้ ด้านสติปญั ญา อารมณ์ คุณธรรมและ จริยธรรม โดย (๑) เตรียมความพร้อมของพ่อแม่และผู้ดูแลในการเลี้ยงดูเด็กที่เหมาะสมกับ พัฒนาการทางสมอง สติปญั ญา และร่างกาย ผลักดันให้เกิดการเรียนรูอ้ ย่างมีความสุขด้วยการกระตุ้นให้ ได้คดิ และลงมือทาด้วยตนเอง เชื่อมโยงสิง่ ที่ได้เรียนรูเ้ ข้ากับชีวติ จริง และปฏิบตั ติ นเป็ นต้นแบบที่ดดี ้าน คุณธรรมและจริยธรรม


(๒) ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพศูนย์เด็กเล็กทัง้ ในชุมชน สถานประกอบการ และหน่ วยงานภาครัฐ ให้มมี าตรฐานสอดคล้องกับภูมสิ งั คม โดยให้ความสาคัญกับคุณภาพของผูด้ ูแลเด็ก และการสนับ สนุ น ให้ผู้สูง อายุท่มี ีศ ัก ยภาพมีส่ ว นร่ว มในการเสริม สร้า งพัฒ นาการของเด็ก เพื่อ สร้า ง สัมพันธภาพทีด่ รี ะหว่างคนสามวัย ๒) พัฒนาเด็กวัยเรียนให้มคี วามรูท้ างวิชาการ และสติปญั ญาทางอารมณ์ทเ่ี ข้มแข็ง สามารถศึกษาหาความรูแ้ ละต่อยอดองค์ความรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง โดย (๑) การพัฒนาหลักสูตรและปรับกระบวนการเรียนการสอนทีเ่ อื้อต่อการพัฒนา ผูเ้ รียนอย่างรอบด้านทีเ่ ชื่อมโยงกับภูมสิ งั คม โดย (๑.๑) บูรณาการการเรียนรูใ้ ห้หลากหลายวิชาทัง้ ด้านวิชาการ ทักษะชีวติ และสันทนาการที่ครอบคลุมทัง้ ศิลปะ ดนตรี กีฬา วัฒนธรรม ประชาธิปไตย ศาสนา ความเป็ นไทย และ เรือ่ งอาเซียนศึกษา (๑.๒) ปรับ ปรุ ง กระบวนการจัด การเรีย นการสอนทัง้ การเรีย นรู้ ใ น ห้องเรียนและจัดกิจกรรมการเรียนรูน้ อกห้องเรียน ที่เอื้อต่อการพัฒนาผู้เรียนอย่างรอบด้าน เรียนรูเ้ ป็ น กลุ่มและสร้างนิสยั ใฝ่รู้ มีทกั ษะในการคิด วิเคราะห์ แก้ปญั หาเฉพาะหน้ าและรับฟงั ความเห็นของผู้อ่ นื สนับสนุ นการต่อยอดความคิดสร้างสรรค์ การจัดกิจกรรมอาสาสมัครเพื่อสาธารณะประโยชน์ โดยเฉพาะ กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และอาสาดูแลผูส้ งู อายุในชุมชน เป็นต้น (๑.๓) ค้นหาเด็กทีม่ อี จั ฉริยภาพและผูม้ คี วามสามารถพิเศษด้านต่างๆ ให้ ได้ร บั การส่ ง เสริม สนับ สนุ น และพัฒ นาศัก ยภาพให้ม ีค วามเป็ น เลิศ สามารถแสดงศัก ยภาพในเชิง สร้างสรรค์ได้อย่างเต็มทีแ่ ละต่อเนื่อง (๒) ส่ ง เสริม การใช้ และการอนุ ร กั ษ์ ภ าษาท้อ งถิ่น การใช้ภ าษาไทยอย่า ง ถูกต้อง ควบคู่กบั การเรียนรู้ภาษาอังกฤษเป็ นภาษาต่างประเทศหลัก รวมทัง้ การเรียนรูภ้ าษาสากล และ ภาษาเพื่อนบ้านในกลุ่มอาเซียน (๓) เน้นครูผสู้ อนให้มวี ุฒติ รงตามวิชาที่สอน มีระบบ กระบวนการผลิตและ พัฒนาครูทม่ี คี ุณภาพ สามารถดึงดูดคนเก่งและดี มีจติ วิญญาณความเป็นครู โดยให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและยกย่องครูเพื่อศิษย์และหรือครูสอนดี เพื่อเป็ นต้นแบบให้แก่ครูอ่นื ๆ รวมทัง้ มีระบบจูง ใจให้ครูพฒ ั นาตนเองอย่างต่อเนื่อง ควบคู่กบั การปรับวิธปี ระเมินสมรรถนะที่สะท้อนประสิทธิภาพในการ จัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนเป็นสาคัญ (๔) เสริม สร้า งทัก ษะชีว ิต และพฤติก รรมสุ ข ภาพที่เ หมาะสมและถู กต้อ ง ให้แ ก่เด็ก โดยเฉพาะการสร้างสัมพันธภาพที่ดกี ับผู้อ่ืน สามารถจัดการ ควบคุม ดูแลอารมณ์ ได้อ ย่าง เหมาะสม มีความรู้ ความเข้าใจในหลักโภชนาการ คุณค่าของอาหาร การออกกาลังกาย และการใช้เวลา อย่างสร้างสรรค์และมีคุณภาพ ตลอดจนมีการพัฒนาสุขาภิบาลโรงเรียน โดยจัดโรงเรียนให้ถูกสุขลักษณะ เอื้อต่ อ การมีสุ ขภาวะ มีการควบคุมดูแลและปรับปรุงสิง่ แวดล้อมต่ างๆ ในโรงเรียนให้อยู่ใ นสภาพที่ดี ปลอดภัยจากโรค การเจ็บปว่ ย หรืออุบตั เิ หตุต่างๆ ๓) พัฒนากาลังแรงงานให้มคี วามรูแ้ ละสมรรถนะทีส่ อดคล้องกับโครงสร้างการผลิต และบริการบนฐานความรูแ้ ละเศรษฐกิจสร้างสรรค์


(๑) พัฒ นาก าลัง แรงงานในภาคเกษตร โดยจัด ระบบการศึก ษาเพื่อ สร้า ง เกษตรกรรุ่นใหม่ท่มี คี วามรู้ความสามารถด้านการเกษตรที่ใช้ความรู้และเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างครบ วงจร ปฏิรปู การฝึกอบรมอาชีพสู่การปฏิบตั จิ ริง พร้อมทัง้ สร้างจิตสานึกและแรงจูงใจให้เยาวชนเข้าสู่อาชีพ เกษตรกรรมอย่างมีศกั ดิ ์ศรี เพื่อให้ภาคการเกษตรเป็นฐานการผลิตทีม่ นคงของประเทศ ั่ (๒) สนับ สนุ นการผลิต และพัฒนานัก วิจ ยั ผู้ส ร้างและพัฒนานวัต กรรมใน สาขาต่างๆ สร้างเครือข่ายนักวิจยั ทัง้ ในและต่างประเทศ ตลอดจนต่อยอดสู่การสร้างสรรค์นวัตกรรม ระดับสูงทีเ่ ชื่อมโยงองค์ความรูใ้ หม่กบั ภูมปิ ญั ญาวัฒนธรรมไทย สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์เพื่อเพิม่ มูลค่าและ คุณค่าของสินค้าและบริการทีส่ ามารถใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์หรือเชิงสังคม โดยให้ความสาคัญในการ พัฒนาการเรียนรูด้ า้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตัง้ แต่ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน การอาชีวศึกษาฐาน วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และระดับอุดมศึกษา อย่างต่อเนื่องและเชื่อมโยงกันเป็นระบบ รวมทัง้ การส่งเสริม ทักษะการเรียนรูด้ า้ นศิลปวัฒนธรรมเพื่อต่อยอดไปสู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (๓) พัฒนากาลังแรงงานระดับกลาง โดยเน้ นการจัดการเรียนการสอนตาม แนวทฤษฎีการเรียนรูเ้ พื่อสร้างสรรค์ด้ว ยปญั ญา การยกระดับคุณภาพมาตรฐานอาชีวศึกษาให้ผู้เรียนมี สมรรถนะในการประกอบอาชีพ ที่เ ชื่อ มโยงกับ กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมเป้ า หมาย และสอดคล้อ งกับ ความ เชี่ยวชาญของสถานศึก ษา รวมทัง้ สร้างเครือข่ายการผลิต และพัฒนากาลังแรงงานกับ ภาคส่ ว นต่ างๆ โดยเฉพาะสถานประกอบการ สถาบันเฉพาะทาง ควบคู่กบั การสร้างเครือข่ายการเรียนรูน้ านาชาติ (๔) จัดทากรอบคุณวุฒแิ ห่งชาติ เพื่อเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบคุณวุฒ ิ วิชาชีพระดับต่างๆ สนับสนุ นการเตรียมความพร้อมรองรับการเปิ ดเสรีด้านแรงงานภายใต้กรอบความ ร่ ว มมือ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซีย นอย่ า งเป็ น รู ป ธรรม เพื่อ ให้ แ รงงานมีส มรรถนะและมีเ ส้ น ทาง ความก้าวหน้าในวิชาชีพทีช่ ดั เจน (๕) เตรียมความพร้อมคนไทยในการรับประโยชน์และลดผลกระทบทีจ่ ะเข้า มาพร้อมกับการเข้าออกของแรงงานอย่างเสรี สร้างโอกาสและเพิม่ ขีดความสามารถของคนไทยในการ ออกไปทางานต่างประเทศ ยกระดับทักษะด้านอาชีพและทักษะด้านภาษา ควบคู่กบั การสร้างภูมคิ ุ้มกัน ทางสังคมจากผลกระทบของการเคลื่อนย้ายแรงงานเสรี (๖) เร่ง ปรับปรุงการบริหารจัดการแรงงานข้า มชาติใ ห้เ ป็ นระบบ ทัง้ การจัด ระเบียบแรงงานไร้ฝี มอื การดึงดูดแรงงานที่มกี ารศึกษาสูงเข้ามาทางานในประเทศ การพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลของแรงงานข้ามชาติให้ มปี ระสิทธิภาพและนาไปใช้ในการบริหารจัดการแรงงานได้อย่างเป็ น รูปธรรม (๗) จัดให้มกี ารวางแผนและพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ในองค์กรภาครัฐอย่าง เป็ นระบบและต่อเนื่อง สร้างความชัดเจนในบทบาทและภาระงานของข้าราชการ พนักงาน และลูกจ้าง เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการปฏิบตั ิงานของภาครัฐให้มผี ลิตภาพสูงขึ้น รวมทัง้ ปรับปรุงระบบบริหารงาน บุคคลให้เอือ้ ต่อการส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลของภาครัฐ ๔) พัฒนาผู้สูงอายุใ ห้มคี วามมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคม มีคุณภาพ มีคุณค่ า สามารถปรับตัวเท่าทันการเปลีย่ นแปลง เป็นพลังในการพัฒนาสังคม


(๑) ส่งเสริมการสร้างรายได้และการมีงานทาในผู้สูงอายุ โดยกาหนดลักษณะ ประเภทงานและอัตราค่าจ้างทีเ่ หมาะสม ควบคู่กบั การเพิม่ พูนความรู้ ทักษะทัง้ ด้านวิชาการและการใช้ส่อื การเรียนรูส้ มัยใหม่ให้แก่ผสู้ งู อายุ เพื่อการประกอบอาชีพและการพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง (๒) ส่งเสริมและสนับสนุ นให้มกี ารนาความรู้และประสบการณ์ของผู้สูงอายุท่ี เป็นคลังสมองของชาติทงั ้ ภาครัฐและเอกชน ปราชญ์ชาวบ้าน/ผูม้ คี วามรูภ้ ูมปิ ญั ญาท้องถิน่ มาใช้ประโยชน์ ในการพัฒนาชุมชน ท้องถิน่ และประเทศ (๓) ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถพึ่งตนเอง โดยการปรับปรุงสภาพแวดล้อม และความจ าเป็ น ทางกายภาพให้เ หมาะกับ วัย และการพัฒ นาระบบการดู แ ลผู้สู ง อายุ ใ นรูป แบบที่ หลากหลายทัง้ ในด้านการจัดบริการสุขภาพและสวัสดิการสังคมอย่างบูรณาการ โดยการมีส่วนร่วมของทุก ภาคส่ว นอย่างต่อ เนื่อ ง รวมทัง้ พัฒนาชุมชนที่มศี ักยภาพและความพร้อ มให้เ ป็ นต้นแบบของการดูแล ผูส้ งู อายุเพื่อขยายผลไปสู่ชุมชนอื่น ๕.๒.๒ สนับสนุ นกระบวนการเรียนรู้สู่วฒ ั นธรรมการเกื้อกูล เสริมสร้างทักษะให้คนมีการ เรียนรูต้ ่อเนื่องตลอดชีวติ การต่อยอดสู่นวัตกรรมความรู้ การฝึกฝนจนเกิดความคิดสร้างสรรค์ การเปิดใจ กว้างพร้อมรับทุกความคิดเห็น และการปลูกฝงั จิตใจทีม่ คี ุณธรรม มีระเบียบวินัย ควบคู่กบั การพัฒนาคน ด้วยการเรียนรูใ้ นศาสตร์วทิ ยาการให้สามารถประกอบอาชีพได้อย่างหลากหลาย สอดคล้องกับแนวโน้ม การจ้างงานในอนาคต รวมทัง้ การพัฒนาต่อยอดตามศักยภาพและความถนัด ๕.๒.๓ สร้างจิตสานึกของประชาชนให้มคี วามรับผิดชอบต่อสังคม โดยสร้างความตระหนัก ถึง การเคารพกฎหมาย หลัก สิท ธิม นุ ษ ยชน การสร้า งค่ า นิ ย มให้ม ีพ ฤติก รรมการผลิต และบริโ ภคที่ รับผิดชอบต่อสิง่ แวดล้อม การสร้างความรูค้ วามเข้าใจและจิตสานึกในการอนุ รกั ษ์พลังงาน มีการเรียนรูใ้ น การรับมือกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและภัยพิบตั ิ เพื่อนาไปสู่การสร้างสังคมน่าอยู่ ๕.๓ การส่งเสริ มการลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพอย่างเป็ นองค์รวม สร้างเสริมสุขภาวะควบคู่ กับการพัฒนาคุณภาพระบบบริการสาธารณสุข โดย ๕.๓.๑ การสร้างเสริมสุขภาวะคนไทยให้มคี วามสมบูรณ์แข็งแรงทัง้ ร่างกายและจิตใจ โดย การพัฒนาความรู้แ ละทัก ษะในการดูแ ลสุ ขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุ มชน และลดปจั จัยเสี่ยงจาก สภาพแวดล้อมทีม่ ผี ลต่อสุขภาพ รวมทัง้ มุ่งสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนานโยบายสาธารณะที่ เอื้อ ต่ อ สุ ข ภาพ การใช้ป ระโยชน์ จ ากยาสมุ น ไพรเพื่อ การป้ อ งกัน และการรัก ษาเบื้อ งต้ น และการใช้ เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการสื่อสารสังคมเพื่อการส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก ๕.๓.๒ พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให้มคี ุณภาพอย่างทัวถึ ่ ง โดยเฉพาะระบบบริการขัน้ พื้นฐาน ควบคู่กบั การส่งเสริมการแพทย์ทางเลือก การพัฒนาด้านเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ การพัฒนาระบบ ฐานข้อมูลสุขภาพของประเทศ การพัฒนาบุคลากรด้านสาธารณสุขให้ เหมาะสมทัง้ การผลิต การกระจาย ด้านสาธารณสุข ค่าตอบแทน และการอานวยความสะดวกในชีวติ ความเป็ นอยู่เพื่อเป็ นสิง่ จูงใจให้บุคลากร มีการกระจายทีเ่ หมาะสม รวมทัง้ การใช้มาตรการการเงินการคลังเพื่อสุขภาพทีม่ ปี ระสิทธิภาพและยังยื ่ น ๕.๔ การส่งเสริ มการเรียนรู้ตลอดชี วิต สร้างโอกาสการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่องให้คนทุกกลุ่มทุก วัยสามารถเข้าถึงแหล่งเรียนรูแ้ ละองค์ความรูท้ ห่ี ลากหลาย ทัง้ ทีเ่ ป็ นวัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญา และองค์ความรู้ ใหม่ ๕.๔.๑ กระตุ้นให้เกิด วัฒนธรรมการเรียนรู้ด้ว ยการสร้างกระแสสังคมให้การเรียนรู้เ ป็ น หน้าทีข่ องคนไทยทุกคน สร้างนิสยั ใฝร่ ู้ รักการอ่านตัง้ แต่วยั เด็ก และส่งเสริมการเรียนรูร้ ่วมกันของคนต่าง


วัย ควบคู่กบั การส่งเสริมให้องค์กร กลุ่มบุคคล ชุมชน ประชาชน และสื่อทุกประเภทเป็ นแหล่งเรียนรูอ้ ย่าง สร้างสรรค์ สื่อสารด้วยภาษาทีเ่ ข้าใจง่าย ๕.๔.๒ ส่งเสริมการศึกษาทางเลือกทีส่ อดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน ๑) จัดการศึกษาและการเรียนรูท้ ม่ี คี ุณภาพ ยืดหยุ่น หลากหลาย เข้าถึงได้ง่าย ที่ สัมพันธ์สอดคล้องกับวัฒนธรรม วิถชี วี ติ และการประกอบอาชีพในแต่ละท้องถิน่ โดยเน้นการพัฒนาผูเ้ รียน เป็นสาคัญ ให้ผเู้ รียนสามารถเรียนรูไ้ ด้ดว้ ยตนเอง เรียนรูเ้ ป็ นกลุ่มจนติดเป็ นนิสยั ใฝเ่ รียนรู้ ๒) มีระบบเทียบโอนความรูแ้ ละประสบการณ์ ปรับระบบการวัดประเมินผลผูเ้ รียน และระบบการเข้ารับการศึกษาต่อให้เอื้อต่อการจัดการศึกษาทางเลือกในประชากรทุกกลุ่มตามศักยภาพ ของผูเ้ รียน ๓) ส่งเสริมให้มกี ารพัฒนาบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และการใช้มาตรการ ทางภาษีในการสนับสนุนการผลิตสื่อเพื่อการเรียนรู้ และเป็ นช่องทางสาหรับคนทุกกลุ่มวัยแสดงออกอย่าง สร้างสรรค์ ๕.๔.๓ การสร้างปจั จัยสนับสนุ นให้เกิดการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ๑) เสริมสร้างและพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานทางปญั ญาในระดับท้องถิน่ ชุมชน และ ประเทศ โดยพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมและบริการอินเทอร์เ น็ ต ความเร็ว สูง ให้ค รอบคลุ มพื้นที่ท วั ่ ประเทศ พัฒนาแหล่งเรียนรูข้ องชุมชนในรูปแบบทีห่ ลากหลายสอดคล้องกับภูมสิ งั คม และพัฒนายกระดับ ศูนย์ความเป็นเลิศด้านต่างๆ สู่ภมู ภิ าคและชุมชน ๒) พัฒนาและเปิ ดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนได้ใช้ประโยชน์ จากแหล่งเรียนรู้ ทัวไป ่ อาทิ สถานศึกษา ห้องสมุด พิพธิ ภัณฑ์ ศูนย์การเรียนรู้ ศูนย์กฬี า รวมทัง้ เปิดพืน้ ที/่ เวทีสาธารณะให้ เป็ นศูนย์รวมการแลกเปลีย่ นให้กบั นักคิด และนาเสนอผลงานเชิงสร้างสรรค์ โดยกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ร่วมกันเริม่ ตัง้ แต่วยั เด็ก เยาวชน และประชาชนให้เข้าถึงอย่างสะดวกและใช้บริการได้เต็มศักยภาพ มีการ ผสมผสานภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และความรูส้ มัยใหม่ทส่ี ามารถนาไปใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ได้ ๓) พัฒนาองค์ความรูข้ องท้องถิน่ ทัง้ จากผูร้ ู้ ปราชญ์ชาวบ้าน และจัดให้มกี ารวิจยั เชิงประจักษ์ของชุมชน การจัดการองค์ความรูใ้ นชุมชนอย่างเป็ นระบบ ควบคู่กบั การพัฒนาทักษะด้าน ภาษาและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้เอื้อต่อการเข้าถึงแหล่งเรียนรูท้ ห่ี ลากหลาย ตลอดจนเนื้อหาสาระที่ เหมาะสมกับการพัฒนาการเรียนรูด้ ว้ ยตนเอง ๔) การปรับปรุงและผลักดันกฎ ระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้ ตลอดชีวติ มาตรการภาษีทเ่ี กีย่ วข้อง ให้เอือ้ อานวยและส่งเสริมให้เกิดการจัดการเรียนรูอ้ ย่างต่อเนื่อง ๕.๕ การเสริ มสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคม ส่งเสริมให้ทุกภาคส่วนนาค่านิยม และวัฒนธรรมทีด่ งี ามของไทยเป็ นฐานในการพัฒนาคนและสังคม ๕.๕.๑ ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันหลักทางสังคม ๑) เสริมสร้างความเข้มแข็งของสถาบันครอบครัว ในการบ่มเพาะให้คนมีจริยธรรม คุณธรรมในวิถชี วี ติ (๑) พัฒนาศักยภาพครอบครัว โดยส่งเสริมการมีอาชีพและรายได้ท่แี น่ นอน สามารถด ารงชีว ิต อย่า งพอเพีย ง สนั บ สนุ น การจัด กระบวนการเรีย นรู้ท่ีเ หมาะสมกับ ศัก ยภาพของ ครอบครัว มีก ารถ่ ายทอดและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การเรียนรู้ร่ว มกันเพื่อ ให้เ กิดสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างสมาชิกในครอบครัวและเชื่อมโยงกับเครือข่ายครอบครัว ให้สงิ่ จูงใจแก่ครอบครัวทีม่ ปี ฏิสมั พันธ์ทด่ี ี


รวมทัง้ พัฒนาความรูท้ างเทคโนโลยีสารสนเทศให้กบั พ่อแม่ และผู้ปกครอง โดยสร้างโอกาสในการเข้าถึง เทคโนโลยีสารสนเทศและรูจ้ กั ใช้ประโยชน์อย่างมีคุณค่าเพื่อลดช่องว่างระหว่างครอบครัว (๒) ฟื้ นฟูวฒ ั นธรรมที่ดแี ละนาคุณค่าอันดีงามของครอบครัวไทย อาทิ ความ เอื้ออาทร และการเป็ นเครือญาติ ควบคู่กบั การปลูกฝงั คุณธรรมจริยธรรม เพื่อให้สมาชิกในครอบครัวรูจ้ กั ใช้ปญั ญาในทางที่ถูกต้อง และมีจติ สานึกในการเฝ้าระวังทางวัฒนธรรมทีจ่ ะมีผลกระทบต่อการเบี่ยงเบน ทางวัฒนธรรม (๓) ผลักดันให้ชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ สนับสนุ นการเปิ ดพืน้ ที่ สาธารณะในการจัดกิจกรรมสร้างสัมพันธ์อนั ดีต่อครอบครัวและชุมชน และภาคธุรกิจส่งเสริมให้ครอบครัวมี ส่วนร่วมในกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ต่อสังคม ๒) พัฒนาชุมชนท้องถิน่ ให้เข้มแข็งและสามารถสร้างภูมคิ ุม้ กันให้คนในชุมชน (๑) สนับสนุนการค้นหาอัตลักษณ์อนั โดดเด่นของชุมชน การสร้างกระบวนการ เรียนรู้ และปลูกฝงั ความเป็ นอัตลักษณ์ของชุมชน โดยอนุ รกั ษ์และฟื้นฟูภมู ปิ ญั ญาท้องถิน่ (๒) สนั บ สนุ น ให้ค นในชุ ม ชนมีส่ ว นร่ว มคิด และร่ ว มก าหนดแนวทางการ ั ญา วิถีชีว ิต พัฒ นาชุ ม ชนท้อ งถิ่น บนหลัก การพึ่ง พาตนเองที่ค านึ ง ถึ ง ศัก ยภาพ ทรัพ ยากร ภู ม ิป ญ วัฒ นธรรม และสิ่ง แวดล้อ มในชุม ชนเป็ นหลัก โดยให้ค วามส าคัญ กับการจัดการการเรีย นรู้ใ นชุม ชน การศึกษาถอดองค์ความรูข้ องชุมชนและชุมชนต้นแบบ การจัดการตนเองได้ตามบริบทของพืน้ ที่ และการ ถ่ายทอดภูมปิ ญั ญาทีช่ ่วยพัฒนาทักษะในการประกอบอาชีพ (๓) ส่งเสริมการขยายผลและพัฒนาศักยภาพของคนสามวัย เพื่อเป็ นแหล่ง เรียนรูแ้ ละสร้างความเข้าใจที่จะนาไปสู่ การพัฒนาคุณภาพชีวติ ในการอยู่ร่วมกับครอบครัว ชุมชนอย่าง อบอุ่นและเข้มแข็ง (๔) สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างชุมชนกับเครือข่ายภาคประชาสังคม และภาคส่วนต่างๆ ในการพัฒนาระบบเฝ้าระวังปญั หาทางด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยเฉพาะในกลุ่มเด็ก และเยาวชนในชุมชน ๓) ส่งเสริมภาคประชาสังคมและองค์กรธุรกิจเอกชนในการทางานเป็ นเครือข่าย เชื่อมโยงกับกลไกภาครัฐ และร่วมกันสร้างจิตสานึกรับผิดชอบต่อสังคม รวมทัง้ การส่งเสริมภาคเอกชนที่ ประกอบกิจการเพื่อสังคมที่สร้างสมดุลระหว่างผลประโยชน์ขององค์กรและผลประโยชน์ของชุมชนและ สังคม โดยเฉพาะส่งเสริมให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรูแ้ ละจัดหาที่อยู่อาศัยให้กบั แรงงานในสถานประกอบการหรือบริเวณใกล้เคียง การยกย่ององค์กรธุรกิจเอกชนทีม่ คี วามรับผิดชอบต่อ สังคมให้เป็ นแบบอย่างที่ดตี ่อสาธารณะ ตลอดจนการยกย่องคนดีในสังคมให้เป็ นต้นแบบและตัวอย่างที่ดี ผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ๔) สร้างเสริมความศรัทธาในสถาบันศาสนาเพื่อให้มบี ทบาทสาคัญต่อการส่งเสริม ศีลธรรมและสร้างความเป็ นปึ กแผ่นในสังคม โดยสนับสนุ นให้สถาบันศาสนาเผยแพร่แก่นของศาสนาที่ ถูกต้องและจัดพื้นที่ในการปฏิบตั ิธรรมอย่างทัวถึ ่ ง เพื่อให้คนไทยสามารถนาหลักธรรมคาสอนมาใช้ใน ชีวติ ประจาวันและมีความสะดวกในการเข้าถึงสถานทีป่ ฏิบตั ธิ รรม ๕.๕.๒ พัฒนาบทบาทของสถาบันทางสังคมให้เอือ้ ต่อการพัฒนาคน


๑) ส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาที่ต งั ้ อยู่ในพืน้ ทีห่ รือจังหวัดต่างๆ มีบทบาทหน้าที่ สาคัญในการพัฒนาคน ชุมชน และสังคมในพืน้ ทีอ่ ย่างเป็ นองค์รวม ๒) ส่งเสริมความร่วมมือของสถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา ในการปลูกฝงั กระบวนการคิดทีอ่ ยูบ่ นฐานของศีลธรรม การยอมรับความแตกต่าง สานึกความเป็ นพลเมือง และวัฒนธรรมประชาธิปไตย รวมทัง้ การใช้ประโยชน์ทุนทางสังคมในการหล่อหลอมและสร้างค่านิยมที่ดี การฟื้นฟูวฒ ั นธรรมทีด่ งี าม ๓) สร้า งเสริมความเข้มแข็ง ของเครือ ข่ายสังคมออนไลน์ ใ ห้เ ป็ นพลังส าคัญ ที่ม ี บทบาทต่อการสะท้อนความต้องการของประชาชน รวมทัง้ ให้ขอ้ คิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ โดยจัดสรรพืน้ ที่ ออนไลน์เพื่อการเรียนรูต้ ามความสนใจ วิเคราะห์แนวทางการใช้ประโยชน์ในการใช้ส่อื ออนไลน์ และมีการ จัดระบบระเบียบการบริหารจัดการอย่างเข้มงวด ๕.๕.๓ สร้างค่านิยมให้คนไทยภาคภูมใิ จในวัฒนธรรมไทย และยอมรับความแตกต่างของ ความหลากหลายทางวัฒนธรรม เพื่อลดปญั หาความขัดแย้งทางความคิด และสร้างความเป็ นเอกภาพใน สังคม ตลอดจนสร้างเครือข่ายความร่วมมือทางวัฒนธรรมร่วมกับประชาคมโลก โดยเฉพาะประชาคม อาเซียน เพื่อให้เกิดการไหลเวียนทางวัฒนธรรมในรูปแบบการแลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพื่อส่งเสริมความเข้าใจ ระหว่างประชาชนในการเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และการรับรูข้ อ้ มูลข่าวสารของกันและกัน


บ ท ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหาร ่ และพลังงาน ๑

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง

การพัฒนาประเทศในช่วงเวลาที่ผ่านมา ภาคเกษตรมีบทบาทสาคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ทัง้ ในมิตขิ องการผลิตทีส่ ามารถพึง่ พาตนเองด้านอาหารและเป็ นแหล่งสร้ างรายได้ ให้แก่ครัวเรือนภาคเกษตร และเป็ นฐานการผลิตทีส่ นับสนุ นการสร้างมูลค่าเพิม่ เพื่อการค้าและการส่งออก สาหรับภาคการผลิตและบริการอื่นๆ รวมถึงในมิตกิ ารพัฒนาสู่แหล่งการผลิตพลังงานทดแทนทีส่ าคัญของ ประเทศ เนื่ อ งจากภาคเกษตรเป็ น ฐานการผลิต ที่เ ข้ม แข็ง ด้ว ยมีท่ีต ัง้ ทางภูม ิป ระเทศและภูม ิอ ากาศ เหมาะสม มีภมู ปิ ญั ญาด้านการผลิต การประยุกต์ดดั แปลง และวัฒนธรรมอาหารทีเ่ ข้มแข็งและหลากหลาย รวมถึง เป็ นประเทศผู้ผ ลิตอาหารส่ งออกที่สาคัญ รายใหญ่ ของโลก ซึ่ง สถานการณ์ การพัฒนาของภาค เกษตรตลอดช่วงทีผ่ ่านมาสรุปได้ ดังนี้ ๑.๑ บทบาทภาคเกษตรเริ่ มลดลงแต่ยงั เป็ นฐานการผลิ ตที่ สาคัญของประเทศ โดยปจั จุบนั มีพ้ืน ที่ท าการเกษตร ร้อ ยละ ๔๐ ของพื้น ที่ท งั ้ ประเทศ ครัว เรือ นเกษตรกร ๖.๙ ล้า นครัว เรือ น ซึ่ง ประกอบด้วย เกษตรกรรายย่อยทีผ่ ลิตเพื่อพึง่ พาตนเอง เกษตรกรทีผ่ ลิตเชิงพาณิชย์ และเกษตรกรทีแ่ ปร รูปผลิตผลเกษตรเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ โดยในปี ๒๕๕๓ สามารถทาการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารทัง้ พืช ปศุสตั ว์ และประมง รวมมูล ค่า ๓๘๑,๕๙๔ ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ ๘.๓ ของผลิตภัณฑ์มวลรวม ภายในประเทศ ลดลงจากร้อยละ ๙.๐๑ ในปี ๒๕๔๙ ในขณะที่การผลิตส่วนใหญ่ยงั มีปริมาณผลผลิต พอเพียงกับความต้องการใช้ภายในประเทศ สามารถเป็ นหลักประกันในการพึ่งพาและสร้างความมันคง ่ ของสินค้าเกษตรและอาหารที่ใช้ภายในประเทศได้ และมีเหลือส่งออกสร้างรายได้ ให้กบั ประเทศ เช่น ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย และปาล์มน้ ามัน โดยเฉพาะข้าว มีผลผลิตเหลือส่งออกร้อยละ ๔๕ ของผลผลิต ทัง้ หมดทีผ่ ลิตได้ มันสาปะหลัง ส่งออกร้อยละ ๓๑ อ้อย (น้ าตาล) ส่งออกร้อยละ ๖๗ ของผลผลิตทัง้ หมด ขณะที่สนิ ค้าปศุสตั ว์และประมงส่งออกที่สาคัญ เช่น กุ้ง และไก่ มีปริมาณการส่งออกคิดเป็ นร้อยละ ๘๖ และ ๓๒ ของปริม าณผลผลิต ทัง้ หมด ตามล าดับ อย่ างไรก็ตามปั จจุบนั ตลาดสิ นค้ าเกษตรมี การ แข่งขันรุนแรงและมีแนวโน้ มถูกแย่งส่วนแบ่งตลาดจากประเทศคู่แข่งที่สาคัญมากขึ้น ๑.๒ ความเข้มแข็งของภาคเกษตรไทยมีแนวโน้ มลดลงในช่ วงหลายปี ที่ ผ่านมา โดยจะเห็น ได้จากประสิทธิภาพการผลิต โดยเฉลี่ยในบางสินค้าที่ยงั คงต่ าหากเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อ นบ้าน เนื่องจากภาคเกษตรไม่สามารถเร่งพัฒนาผลิตภาพการผลิตได้ทนั ต่อสภาพการแข่งขันในตลาดโลกทีท่ วี ความรุนแรงมากขึน้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การส่งออกหลักของภาคเกษตรยังคงอยู่ในรูปของสินค้าขัน้ ปฐม และเกษตรกรส่วนใหญ่ยงั ประสบปญั หาหนี้สนิ และความยากจน โดยในปี ๒๕๕๐ ประเทศไทยมีคน ยากจนทัง้ สิ้น ๕.๔๒ ล้านคน ในจานวนนี้เป็ นเกษตรกร ร้อยละ ๕๖.๘๗ อันมีสาเหตุมาจากปจั จัยหลาย


ประการ เช่น พืน้ ที่ขาดความอุดมสมบูรณ์ โดยเฉพาะภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคเหนือ ขาดแคลน แหล่งน้าเพื่อการเกษตร ผลผลิตเฉลีย่ ต่อไร่ในบางพืน้ ทีไ่ ม่สูงเท่าทีค่ วร และมีคุณภาพผลผลิตไม่สม่าเสมอ เกษตรกรส่วนใหญ่พง่ึ พาปจั จัยการผลิตจากภายนอกโดยเฉพาะปุ๋ยเคมีและสารกาจัดศัตรูพชื ทาให้ต้นทุน การผลิตสูง และผลิตพืชเชิงเดี่ยวเป็ นหลัก ในขณะที่การพัฒนาระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นยังไม่สามารถ ขยายตัวได้เท่าทีค่ วร ทาให้มคี วามเสีย่ งจากเปลีย่ นแปลงของราคามากขึน้ ในขณะทีร่ าคาผลผลิตเกษตร ผันผวนและขึน้ กับราคาในตลาดโลก การเกิดภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติบ่อยครัง้ เป็ นต้น นอกจากนัน้ ปจั จุบนั เกษตรกรมีแนวโน้มสูญเสียการเป็นเจ้าของทีด่ นิ และกลายเป็นผูเ้ ช่ามากขึน้ ทาให้ขาดความมันคงในอาชี ่ พ เกษตร ในขณะเดียวกันพบว่า รายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรมีแนวโน้มสูงขึน้ โดยเพิม่ จาก ๕๒,๙๓๓ บาทต่อครัวเรือน ในปีการผลิต ๒๕๔๘/๔๙ เป็น ๕๘,๖๓๒ บาทต่อครัวเรือน ในปีการผลิต ๒๕๕๒/๕๓ ซึง่ รายได้ท่เี พิม่ ขึน้ ส่วนหนึ่งเนื่องจากราคาผลิตผลการเกษตรที่ปรับตัวสูงขึ้นในสินค้าเกษตรที่สาคัญ เช่น ยางพารา มันสาปะหลัง เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม เกษตรกรก็มขี นาดหนี้สนิ ต่อครัวเรือนเพิม่ ขึน้ เช่นกัน จาก ๕๒,๘๙๗ บาท ในปี ๒๕๔๘/๔๙ เป็น ๕๔,๔๐๙ บาท ในปี ๒๕๕๒/๕๓ ๑.๓ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและการครอบครองทรัพยากรพันธุกรรม ส่ งผล กระทบต่ อวิ ถีการผลิ ตของเกษตรกร เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยเฉพาะอย่างยิง่ การเปลีย่ นแปลงในเรื่องของปริมาณและการกระจายตัวของน้ าฝน ระดับอุณหภูมเิ ฉลีย่ ที่มแี นวโน้มสูงขึน้ รวมทัง้ การเปลี่ยนแปลงในเชิงฤดูกาลต่างๆ จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อ การผลิตสินค้าสาคัญทีม่ บี ทบาท ั หาการครอบครอง อย่ า งมากต่ อ ความมันคงอาหารและพลั ่ ง งานของประเทศ ในขณะเดีย วกัน ป ญ ทรัพยากรพันธุกรรมและการผูกขาดทางการค้าเมล็ดพันธุพ์ ชื จะส่งผลกระทบต่อวิถชี วี ติ ของเกษตรกรราย ย่อยจานวนมากทีพ่ ง่ึ พาอาศัยทรัพยากรป่าไม้ พันธุพ์ ชื ต่างๆ เพื่อเป็ นอาหารและยาสมุนไพร และกระทบ ต่อความมันคงทางอาหารของประเทศในระยะยาว ่ ๑.๔ การขาดแคลนแรงงานภาคเกษตรจากการเข้ าสู่ ส งั คมผู้สู ง อายุข องประเทศไทย ผลกระทบจากการที่ประเทศเข้าสู่สงั คมผู้สูงอายุทาให้เกษตรกรที่มอี ายุ ๕๐ ปี ข้นึ ไปมีแนวโน้ มเพิม่ ขึ้น ประกอบกับคนหนุ่ มสาวไม่สนใจทาการเกษตร โดยในช่วงปี ๒๕๔๑-๒๕๕๐ จานวนแรงงานภาคเกษตร ลดลงประมาณร้อยละ ๑.๘๗ ต่อปี ส่งผลต่อการขาดแคลนแรงงานในภาคเกษตรและศักยภาพภาคเกษตร ในอนาคต ในขณะทีค่ วามต้องการอาหารทัง้ ภายในประเทศและของโลกมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว อัน เกิดจากจานวนประชากรทีเ่ พิม่ ขึน้ ส่งผลต่อความมันคงอาหารในอนาคต ่ ๑.๕ ความต้ องการพืชที่ สามารถนาไปผลิ ตเป็ นพลังงานเพิ่ มขึ้นอย่างต่ อเนื่ อง สืบเนื่องผล จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศและสถานการณ์ราคาน้ ามันในตลาดโลกทีป่ รับตัวสูงขึน้ และผันผวน อย่างมาก ประกอบความต้องการใช้พลังงานมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ตามการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ส่งผล ให้หลายประเทศในโลก รวมทัง้ ประเทศไทยมีนโยบายพัฒนาและส่งเสริมการใช้พลั งงานทดแทนจากพืช แทนการใช้พลังงานจากเชือ้ เพลิงฟอสซิลมากขึน้ และทาให้ความต้องการพืชทีส่ ามารถนาไปผลิตพลังงาน เ พิ่ ม ขึ้ น เ ช่ น มันสาปะหลัง อ้อย ปาล์มน้ามัน เป็นต้น และมีการเปลีย่ นแปลงรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตการเกษตร จากการปลูกเพื่อเป็ นพืชอาหารมาเป็ นพืชพลังงานมากขึ้น ซึ่งสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อปริมาณ ผลผลิตอาหาร รวมทัง้ ความมันคงอาหารของประเทศและการส่ ่ งออกได้ ดังนัน้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงได้ให้ความสาคัญกับการสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน โดยพยายามสร้างฐานภาคเกษตรให้ มีความเข้มแข็งและเกษตรกรมีรายได้ทม่ี นคง ั ่ สามารถผลิตอาหารได้เพียงพอ มีคุณภาพ ควบคู่ไปกับการ


พัฒนาพลังงานทดแทนจากพืชทีเ่ พียงพอ เพื่อเป็ นแนวทางหนึ่งในการสร้างภูมคิ ุ้มกันให้กบั ประเทศเมื่อ ราคาพลังงานเกิดความผันผวน รวมถึงสร้างหลักประกันรายได้ให้แก่ครัวเรือนเกษตรกรในระบบด้วย

การประเมินความเสี่ยง

สถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ จากปจั จัยภายในและภายนอกในปจั จุบนั และแนวโน้มใน อนาคต ได้สะท้อนให้เห็นถึงปจั จัยเสีย่ งทีภ่ าคเกษตรกาลังเผชิญในหลายมิติ ทัง้ ในเชิงทรัพยากรธรรมชาติ สิง่ แวดล้อม วิถชี วี ติ และความสามารถในการแข่งขัน รวมถึงสถานะความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน ชีวภาพของประเทศ ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อความเข้มแข็งของภาคเกษตรให้ลดลงได้ โดยมีปจั จัยเสี่ยงที่ สาคัญหลายประการ ดังนี้ ๒.๑ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งเป็ นฐานการผลิ ตภาคเกษตรมีความเสื่ อมโทรมมากขึ้น การ พั ฒ น า ทีผ่ ่านมาได้มกี ารใช้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ จานวนมาก เพื่อการผลิตทางเศรษฐกิจ รวมทัง้ ภาคเกษตร เพื่อ ให้ม ีก ารขยายตัว อย่า งต่ อ เนื่ อ ง และเป็ น การใช้อ ย่า งสิ้นเปลือ ง ไม่มปี ระสิทธิภ าพ และขาดการ บารุงรักษา ทาให้ในปจั จุบนั ทรัพยากรธรรมชาติท่เี ป็ นฐานการผลิตของภาคเกษตรที่สาคัญ มีความเสื่อม โทรม โดยเฉพาะทรัพยากรดิน ที่พบปญั หาดินเสื่อมสภาพจานวน ๑๙๐ ล้านไร่ หรือคิดเป็ นร้อยละ ๖๐ ของพื้นที่ทงั ้ ประเทศ ซึ่งขยายตัวเพิม่ ขึน้ ถึงเกือบปี ละ ๑ ล้านไร่ เนื่องจากการเสื่อมไปตามสภาพการใช้ ประโยชน์ ท่ดี นิ ที่ไม่ถูกต้องตามสมรรถนะของดิน ในขณะที่เป้าหมายตามแผนการฟื้ นฟู ดนิ ของภาครัฐ กาหนดไว้ประมาณปีละ ๒ ล้านไร่ ทาให้การดาเนินงานไม่ทนั ต่อปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ส่งผลให้ความเสื่อมโทรม ของดินรุนแรงขึน้ นอกจากนี้ มีการใช้สารเคมีทางการเกษตรในปริมาณมาก โดยมีการนาเข้าปุ๋ยเคมีและ สารเคมีการเกษตรปี ละประมาณ ๖ ล้านตัน มูลค่ากว่า ๘๐,๐๐๐ ล้านบาท รวมทัง้ มีปญั หาการขาดแคลน น้ าเพื่อ การผลิตทางการเกษตร เนื่องจากประสบปญั หาน้ าต้นทุนลดลงอย่างมาก ปญั หาน้ าท่ว ม และ ปญั หาคุณภาพน้ า ตลอดจนความหลากหลายทางชีวภาพที่ถูกทาลายมากขึน้ ซึง่ ปญั หาดังกล่าวเป็ นปจั จัย เสีย่ ง ทีส่ ่งผลต่อความมันคงและยั ่ งยื ่ น รวมถึงความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรในอนาคต ๒.๒ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศมีแนวโน้ มรุนแรงเพิ่ มมากขึ้น ส่งผลต่อการผลิตภาค เกษตร โดยเฉพาะภาวะภัยแล้ง น้าท่วม และฝนตกไม่ตรงตามฤดูกาล รวมถึงโรคและแมลงศัตรูพชื ระบาด ซึ่งผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศมีผลโดยตรงต่อปริมาณผลผลิตทางการเกษตร จาก การคาดการณ์ ของศูนย์เ ครือ ข่ายงานวิเ คราะห์ว ิจยั และฝึ กอบรมการเปลี่ยนแปลงของโลกแห่งเอเซีย ต ะ วั น อ อ ก เฉียงใต้ (๒๕๔๗) พบว่า การเพิม่ ขึ้นของปริมาณน้ าฝนในภาคกลาง จะทาให้เกิดน้ าท่วมบ่อยครัง้ และ จานวนความถีม่ ากขึน้ มีผลให้การผลิตข้าวในแถบลุ่มน้ าเจ้าพระยาได้ผลผลิตลดลง นอกจากนี้ ยังเกิดโรค และแมลงศัตรูพชื ระบาดรุนแรงขึน้ เช่น การระบาดของเพลีย้ แป้งสีชมพูในมันสาปะหลัง ประมาณ ๑ ล้าน ไ ร่ ในปี ๒๕๕๒ เป็ นต้น รวมถึงการระบาดของโรคพืชบางประเภทที่ไม่เคยเกิดขึน้ มาก่อน และทีเ่ คยเกิดขึน้ มาแล้วแต่เพิม่ ระดับความรุนแรงยิง่ ขึน้ อาทิ การระบาดของเพลีย้ กระโดดสีน้ าตาลในนาข้าว โรคเขียวเตี้ย และโรคใบหงิกในนาข้าวภาคกลาง ประมาณ ๒.๓๙ ล้านไร่ ซึง่ ส่งผลต่อศักยภาพการผลิตของภาคเกษตร


๒.๓ ความอ่ อ นแอของภาคเกษตรที่ เป็ นฐานการผลิ ตที่ ส าคัญ ของประเทศ โดยเฉพาะ เ ก ษ ต ร ก ร รายย่อย ทัง้ นี้ เป็นผลจากหลายปจั จัยทีส่ าคัญ คือ การเปลี่ยนแปลงของวิ ถีชีวิตในสังคมเกษตร ทีเ่ ข้า สู่ส งั คมปจั เจกมากขึ้น มีลกั ษณะต่ างคนต่ างอยู่ ความสัมพันธ์แบบเครือญาติท่มี คี วามเอื้อ เฟื้ อ เผื่อ แผ่ ช่วยเหลือเกื้อกูลกันเริม่ หมดไป ขาดการปฏิสมั พันธ์และทากิจกรรมร่วมกัน ในขณะทีผ่ ลิ ตภาพการผลิ ต ของภาคเกษตรลดลง อันเกิดจากการวิจยั และพัฒนา การพัฒนาพันธุพ์ ชื พันธุส์ ตั ว์ และโครงสร้างพืน้ ฐาน ด้านการเกษตรที่ยงั ไม่เพียงพอต่อการเพิม่ ผลิตภาพการผลิต โดยเฉพาะพื้นที่ชลประทานที่มเี พียง ๒๘ ล้านไร่ หรือร้อยละ ๒๒ ของพืน้ ทีท่ างการเกษตร การถือครองทีด่ นิ ทาการเกษตรของครัวเรือนเกษตรที่ม ี แนวโน้มลดลงจากเฉลีย่ ๒๓.๐๑ ไร่/ครัวเรือน ในปี ๒๕๔๙ เป็ น ๒๒.๖๒ ไร่/ครัวเรือน ในปี ๒๕๕๒ และมี แนวโน้มการเป็นผูเ้ ช่าเพิม่ ขึน้ โดยปี ๒๕๔๙ มีการทาการเกษตรบนเนื้อทีข่ องคนอื่นเพียง ๓๖.๙๙ ล้านไร่ (ร้อยละ ๒๘.๔ ของเนื้อทีถ่ อื ครองทางการเกษตร) และเพิม่ เป็ น ๖๕.๒๕ ล้านไร่ (ร้อยละ ๔๙.๕๑ ของเนื้อ ทีถ่ อื ครองทางการเกษตร) ในปี ๒๕๕๑ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในภาคกลาง ในขณะเดียวกัน ต้ นทุนการผลิ ต ที่มีแนวโน้ มสูงขึ้น อันเนื่องจากราคาปจั จัยการผลิตและการขนส่งสูงขึน้ ทีป่ รับตัวตามราคาพลังงาน ทาให้ ไม่ส ามารถลดต้นทุนการผลิต ลงได้เ ท่าที่ค วร ประกอบกับแรงงานเกษตรมี แนวโน้ มลดลงและเป็ น ผูส้ งู อายุ รวมทัง้ เกษตรกรรุน่ ใหม่ไม่ได้รบั การส่งเสริมอย่างจริงจัง และมีการย้ายออกจากภาคเกษตรไปใน ภาคการผลิตอื่น เช่น ภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการทีใ่ ห้ผลตอบแทนสูงกว่า เป็ นต้น ทาให้ภาคเกษตร ต้องเผชิญกับความเสีย่ งด้านแรงงานมากขึน้ นอกจากนัน้ ยังมีการพึ่งพาต่ างประเทศทัง้ ปัจจัยการผลิ ต และตลาดส่งออก เช่น เทคโนโลยี ปุ๋ยเคมีและสารกาจัดศัตรูพชื ทีต่ ้องนาเข้าปีละกว่า ๘๐,๐๐๐ ล้านบาท เป็ นต้น ซึง่ เป็ นปจั จัยการผลิตทีส่ ่งผลต่อต้นทุนการผลิต และต้องเผชิญความเสี่ยงจากความผันผวนด้าน ราคา ขณะที่ผลผลิตทางการเกษตรที่สาคัญส่วนใหญ่ของไทยประมาณร้อยละ ๖๐-๗๐ ต้องพึ่งพิงตลาด ส่ ง ออก รวมถึง เป็ น สิน ค้าขัน้ ปฐมที่ม ีมูล ค่ าเพิ่มน้ อ ย ทาให้เ กษตรกรมีรายได้ต่ า และไม่ม ี เ สถีย รภาพ ประกอบกับ การเปิ ดเขตการค้ าเสรี ส่ ง ผลกระทบต่ อ เกษตรกรรายย่ อ ยในประเทศ เนื่อ งจากไม่ สามารถแข่งขันกับสินค้าเกษตรจากประเทศเพื่อนบ้า นทีม่ ตี ้นทุนการผลิตต่ ากว่า ซึง่ จะเห็นได้จากปริมาณ การนาเข้าวัตถุดบิ อาหารและสินค้าเกษตรจากต่างประเทศมีแนวโน้มเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง ตัง้ แต่มกี ารเปิด เจรจาเขตการค้าเสรีในปี ๒๕๔๗ รวมมูลค่าปี ละประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ในขณะที่ทรัพยากรถูก แย่งชิ งจากภาคการผลิ ตอื่ น ทัง้ ทรัพยากรที่ดนิ และน้ า เพื่อตอบสนองความต้องการตามการขยายตัว ทางเศรษฐกิจและการเพิ่มขึ้นของประชากร โดยเฉพาะในพื้นที่ชานเมืองที่มกี ารขยายตัว ของหมู่บ้าน จัดสรรในพืน้ ทีก่ ารเกษตรเดิมมากขึน้ ๒.๔ ประเทศไทยมี ก ารใช้ พ ลัง งานที่ ผ ลิ ต จากพื ช เพื่ อ ทดแทนพลัง งานเชื้ อ เพลิ ง จาก ฟ อ ส ซิ ล มากขึ้น ทาให้มคี วามต้องการพืชที่สามารถนาไปผลิตเป็ นพลังงานเพิม่ มากขึน้ เช่น อ้อย มันสาปะหลัง ปาล์มน้ามัน เป็นต้น เกษตรกรจึงมีการเปลีย่ นรูปแบบการใช้ประโยชน์พน้ื ทีเ่ กษตรจากการปลูกพืชอาหาร มาเป็ นการปลูกพืชพลังงานแทน ซึ่งส่งผลให้พ้นื ที่เพาะปลูกพืชอาหารลดลง และทาให้ราคาพืชอาหารมี แนวโน้ มเพิ่มสูงขึ้น ประกอบกับรัฐบาลได้มนี โยบายส่งเสริมการผลิตและใช้เ อทานอล ไบโอดีเซลให้ม ี สัดส่ ว นที่สูงขึ้น เพื่อลดการนาเข้าและการใช้พลังงานจากเชื้อเพลิงฟอสซิล เพื่อ สร้างความมันคงด้ ่ าน พลังงาน โดยมีเป้าหมายการเพิม่ การใช้เอทานอล และไบโอดีเซล เป็ นส่วนประกอบในน้ ามันเบนซินและ ดีเซลไม่น้อยกว่า ๙ และ ๔.๕ ล้านลิตรต่อวัน ภายในปี ๒๕๖๕ ตามลาดับ เพิม่ ขึน้ จากปจั จุบนั ทีม่ กี ารใช้เอ


ท า น อ ล ๑ . ๒ ๔ ล้ า น ลิ ต ร ต่ อ วั น แ ล ะ ไบโอดีเซล ๑.๗๓ ล้านลิตรต่อวัน และทีผ่ ่านมา พบว่า มีปริมาณเอทานอลทีผ่ ลิตจากมันสาปะหลังเพิม่ ขึ้น จาก ๒.๒๕ ล้านลิตร ในปี ๒๕๔๖ เป็ น ๕๖.๕๗๕ ล้านลิตร ในปี ๒๕๔๙ และเป็ น ๔๒๖ ล้านลิตร ในปี ๒๕๕๓ ขณะที่ปริมาณไบโอดีเซลเพิม่ ขึ้นจาก ๓.๓๘ ล้านลิตร ในปี ๒๕๔๙ เป็ น ๕๙๕ ล้านลิตร ในปี ๒ ๕ ๕ ๓ ซึง่ สถานการณ์แนวโน้มดังกล่าวนับเป็ นปจั จัยเสีย่ งต่อความมันคงทางด้ ่ านอาหารของประเทศในระยะยาว

การสร้างภูมิค้มุ กัน

การประเมินปจั จัยความเสี่ยงที่จะมีผลกระทบต่อความเข้มแข็งของภาคเกษตรซึ่งเป็ นทัง้ ความ มันคงด้ ่ านสังคม สิง่ แวดล้อม และความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานชีวภาพของประเทศ จาเป็ นต้องเร่ง สร้างภูมคิ ุม้ กันให้เพิม่ ขึน้ และรักษาภูมคิ ุม้ กันทีม่ อี ยูแ่ ล้ว เพื่อให้สามารถป้องกันและลดผลกระทบจากปจั จัย เสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ในปจั จุบนั และแนวโน้มในอนาคต โดยมีภมู คิ ุม้ กันทีส่ าคัญ ดังนี้ ๓.๑ ความเหมาะสมของที่ ตัง้ ทางภูมิ ศ าสตร์แ ละทรัพ ยากรธรรมชาติ ที่ มี ค วามอุ ด ม ส ม บู ร ณ์ ซึง่ จาเป็นต้องรักษาและใช้ประโยชน์จากศักยภาพทีม่ อี ยู่อย่างรูค้ ุณค่า เพื่อให้สามารถพัฒนาสู่การเป็ นฐาน การผลิตทีเ่ หมาะสม และสนับสนุนให้การผลิตทางการเกษตรมีประสิทธิภาพและสร้างมูลค่าเพิม่ ได้มากขึน้ โดยเฉพาะทรัพยากรดิน น้ า แรงงาน รวมทัง้ เทคโนโลยีและเครื่องจักรกลการเกษตรทีเ่ หมาะสม ไม่ส่งผล กระทบกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ซึง่ จะนาไปสู่การพัฒนาอย่างยังยื ่ น ๓.๒ ฐานการผลิ ตการเกษตรที่ เข้ มแข็ง ที่สามารถสร้างอาชีพ สร้างรายได้และความมันคง ่ ด้านอาหารและพลังงานให้กบั ประเทศ ให้กบั เกษตรกรและสังคมชนบท รวมทัง้ สร้างความอุดมสมบูรณ์ ของสภาวะแวดล้อม วิถชี วี ติ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนาธรรมที่เอื้ออาทรของสังคมเกษตรกรรม และสนับสนุนการผลิตด้านอุตสาหกรรม การค้าและบริการ โดยให้ความสาคัญกับระบบเกษตรกรรมยังยื ่ น เพิม่ ขึน้ ๓.๓ องค์ความรู้และเทคโนโลยีที่เหมาะสม ซึง่ จาเป็ นต้องสร้างความรูพ้ น้ื ฐานให้เกษตรกรให้ มีความสามารถในการผลิต เฝ้าระวัง ป้องกันภัยพิบตั ทิ จ่ี ะเกิดขึน้ อย่างต่อเนื่องและทัวถึ ่ ง เพื่อสนับสนุ นให้ เกษตรกรสามารถนาองค์ความรูท้ ่มี ไี ปใช้ในการวางแผนและพัฒนาภาคเกษตร การผลิตพืชอาหารและ พลังงานให้เกิดประสิทธิภาพ ประสิทธิผลอย่างมันคงมากขึ ่ น้ และมีความสามารถในการแข่งขัน รวมทัง้ สามารถปรับตัวได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ทัง้ ด้านการใช้ประโยชน์ ก า ย ภ า พ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ความผันผวนด้านราคา และภาวะทางเศรษฐกิจ ๓.๔ การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการผลิ ต ซึ่งสามารถที่จะเพิม่ ปริมาณการผลิตให้เพียงพอที่จะใช้ เป็ นอาหารและพลังงานชีวภาพในปริมาณทีเ่ หมาะสม โดยไม่ส่งผลกระทบต่อปริมาณผลผลิตอาหาร และ ให้ค วามสาคัญ กับการสร้างความมันคงระหว่ ่ างพืชอาหารและพืชพลังงาน และการใช้ว สั ดุเหลือ ใช้ใ น ครัว เรือนและการเกษตรให้เกิดประโยชน์ สูงสุด เพื่อให้มกี ารนาวัสดุเหลือใช้ เช่น แกลบ ฟางข้าว ซัง ข้าวโพด เศษไม้ มูลสัตว์ เป็นต้น มาใช้ในการผลิตพลังงานจากชีวมวลและก๊าซชีวภาพ ซึง่ ช่วยลดมลภาวะ แก่ชุมชนอีกทางหนึ่ง


๓.๕ กลไกการบริ หารจัดการที่ มีธรรมาภิ บาล จะเป็ นเครื่องมือ สนับสนุ นให้เกิดการพัฒนา ภาคเกษตรให้มคี วามเข้มแข็งทัง้ ด้านการผลิตและการตลาด การสร้างมูลค่าเพิม่ การแบ่งปนั ผลประโยชน์ อย่างเป็ นธรรม มีการเข้าถึง และใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า ไม่ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เพื่อ สร้างความเท่าเทียมกันในสังคมและความเข้มแข็งในชุมชนชนบท รวมทัง้ เพื่อให้เกิดกลไกในการสร้าง ความมันคงในการบริ ่ หารจัดการอาหารและพลังงานชีวภาพของประเทศ

๔ วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์ ๔.๑.๑ เพื่อ ให้ ภ าคเกษตรเป็ น ฐานการผลิต ที่ม ีค วามมัน่ คงและมี ก ารเติบ โตอย่ า งมี ประสิทธิภาพ สามารถผลิตสินค้าเกษตร อาหารและพลังงานทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ มีคุณภาพ มาตรฐาน ปลอดภัย เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และมีปริมาณเพียงพอกับความต้องการของตลาดในระดับราคาที่เหมาะสมและ เป็นธรรม โดยให้ความสาคัญกับความมันคงด้ ่ านอาหารเป็ นลาดับแรก ๔.๑.๒ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ และเสริมสร้างความมันคงในอาชี ่ พและรายได้เกษตรกรให้ มีความเข้มแข็งและยังยื ่ น รวมทัง้ สนับสนุ นครัวเรือนและองค์กรเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็งและสามารถ พึง่ พาตนเองได้อย่างยังยื ่ นด้วยระบบเกษตรกรรมยังยื ่ น ๔.๑.๓ เพื่อส่งเสริมชุมชนและเกษตรกรให้มสี ่วนร่วมและสนับสนุ นความมันคงด้ ่ านอาหาร และพลังงาน รวมถึงสามารถพึง่ พาตนเองได้ ๔.๒ เป้ าหมาย ๔.๒.๑ เพิม่ สัดส่วนมูลค่าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๑๕ ของ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ๔.๒.๒ ปริม าณการผลิต สิน ค้า เกษตรและอาหารเพีย งพอต่ อ ความต้อ งการของตลาด พัฒนาคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยของสินค้าเกษตรและอาหารอย่างต่อเนื่อง โดยเพิม่ พืน้ ทีก่ าร ทาเกษตรกรรมยังยื ่ นอย่า งน้ อ ยร้อ ยละ ๕ ต่ อ ปี รวมทัง้ ผู้บริโภคสามารถเข้าถึงอาหารที่มคี ุ ณ ค่ าทาง โ ภ ช น า ก า ร และปลอดภัยได้อย่างทัวถึ ่ งในราคาทีเ่ หมาะสมและเป็ นธรรม ๔.๒.๓ เกษตรกรมีหลักประกันที่มนคงด้ ั่ านอาชีพและรายได้ มีความสามารถในการชาระ หนี้สนิ เพิม่ ขึน้ และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี รวมทัง้ เกษตรกรรุน่ ใหม่เข้าสู่ภาคเกษตรอย่างต่อเนื่อง ๔.๒.๔ เพิม่ ปริมาณการผลิตพลังงานทดแทนจากพืชพลังงาน ได้แก่ เอทานอล และไบโอ ดีเซล ในปี ๒๕๕๙ ไม่น้อยกว่า ๖.๒ และ ๓.๖ ล้านลิตรต่อวัน ตามลาดับ และ เพิม่ ผลผลิตพลังงานไฟฟ้า และพลังความร้อนจากชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ของเสียจากครัวเรือน วัสดุเหลือใช้จากภาคเกษตร และ อุตสาหกรรมเกษตร ไม่น้อยกว่า ๓,๔๔๐ เมกะวัตต์ และ ๕,๕๖๔ พันตันเทียบเท่าน้ ามันดิบ ในปี ๒๕๕๙ ตามลาดับ และส่งเสริมการใช้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๓ ตัวชี้วดั


๔.๓.๑ สัด ส่ ว นมู ล ค่ า สิน ค้ า เกษตรและอุ ต สาหกรรมเกษตรต่ อ ผลิต ภัณ ฑ์ ม วลรวม ภายในประเทศ ๔.๓.๒ ผลผลิตและต้นทุนการผลิตต่อหน่วยของสินค้าเกษตร ๔.๓.๓ จานวนฟาร์มที่ได้รบั รองมาตรฐานในแต่ละปี เพิม่ ขึน้ และการเพิม่ ขึน้ ของพื้นที่ทา เกษตรกรรมยังยื ่ น อาทิ พืน้ ทีเ่ กษตรอินทรีย์ เป็นต้น ๔.๓.๔ ร้อยละของจานวนเด็กวัยเรียน (อายุ ๖-๑๔ ปี) ทีม่ นี ้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ ๔.๓.๕ สัดส่วนรายได้เงินสดสุทธิทางการเกษตรต่อรายได้เงินสดสุทธิของครัวเรือนเกษตร ๔.๓.๖ สัดส่วนเกษตรกรรุน่ ใหม่ต่อเกษตรกรทัง้ หมด ๔.๓.๗ ระบบประกันภัยพืชผลทีส่ ามารถช่วยเหลือเกษตรกรได้อย่างทัวถึ ่ ง ๔.๓.๘ ปริมาณผลผลิตพลังงานทดแทนจากพืชพลังงาน และผลผลิตพลังงานไฟฟ้าและ พลัง ความร้อ นจากชีว มวล ก๊ าซชีว ภาพ ของเสีย จากครัว เรือ นและวัส ดุ เ หลือ ใช้จากภาคเกษตรและ อุตสาหกรรมเกษตร


แนวทางการพัฒนา

การพัฒนาประเทศในช่วงที่ผ่านมา แม้ว่าภาคเกษตรจะมีบทบาทสาคัญทัง้ ในแง่ของการผลิตที่ สามารถพึ่งพาตนเองได้ในด้านอาหารและเป็ นแหล่ งสร้างรายได้ให้แก่ ประชากรส่วนใหญ่ของประเทศ รวมถึงเป็นฐานการผลิตทีส่ นับสนุ นการสร้างมูลค่าเพิม่ เพื่อการค้าและการส่งออกสาหรับภาคการผลิตและ บริการอื่นๆ แต่กลับพบว่าความเข้มแข็งและความสามารถในการแข่งขันของภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติซ่งึ เป็ นฐานการผลิตที่สาคัญของการผลิตในภาคเกษตรมีความเสื่อมโทรม และถูกใช้ไปในช่วงของการพัฒนาที่ผ่านมาเป็ นจานวนมาก โดยไม่มกี ารบารุงรักษาเพื่อให้สามารถใช้ ประโยชน์ได้อย่างยังยื ่ นเท่าที่ควร ประกอบกับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศที่รุนแรง เพิม่ มากขึน้ และการเปิ ดเขตการค้าเสรีท่สี ่งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขันของเกษตรกรราย ย่อย ขณะเดียวกันแนวโน้มสถานการณ์การใช้พลังงานทดแทนจากผลผลิตพืช กลับเป็ นประเด็นอ่อนไหว และจาเป็ นต้องมีการบริหารจัดการที่เหมาะสม เพื่อไม่ให้ส่งกระทบต่อความมันคงด้ ่ านอาหารในอนาคต ทาให้ภาคเกษตรต้องมีการปรับตัวเพื่อรองรับบทบาทที่เพิม่ มากขึ้นในด้านเป็ นแหล่งการผลิตพลังงาน ทดแทนทีส่ าคัญของประเทศ ดังนัน้ ทิศทางการพัฒนาในระยะต่อไปจึงต้องให้ความสาคัญกับการดูแลและ ใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติทเ่ี ป็ นฐานการผลิตภาคเกษตรอย่างรูค้ ุณค่าเพื่อความยังยื ่ นในการพัฒนา เพิ่มศักยภาพการผลิต ภาคเกษตร สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนาพันธุ์พืช พันธุ์สตั ว์และสัต ว์น้ า รวมถึง เทคโนโลยีการเกษตรที่เหมาะสมและเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าเกษตร อาหารและพลังงาน บนฐานของภูมปิ ญั ญาท้องถิ่นและความรู้สร้างสรรค์ สร้างความมันคงในอาชี ่ พและ รายได้แ ก่ เ กษตรกร รวมถึง สร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานชีว ภาพในครัว เรือ น ชุมชนและ ประเทศ ซึ่งจะเป็ นแนวทางในการสร้างภูมคิ ุ้มกัน และความเข้มแข็งให้กบั ภาคเกษตรเมื่อ ต้องเผชิญกับ ปจั จัยเสี่ยงด้านต่างๆ ได้อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ น โดยได้น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ น กรอบสาหรับ การพัฒนาภาคเกษตรให้เ กิดความยังยื ่ น โดยครอบคลุ มทัง้ การเกษตรเพื่อ พึ่งพาตนเอง การเกษตรในเชิงพาณิชย์ และการเกษตรแปรรูปเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ดังนี้ ๕.๑ การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ที่เป็ นฐานการผลิ ตภาคเกษตรให้ เข้มแข็งและยังยื ่ น โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๑.๑ รัก ษา ป้ อ งกัน และคุ้มครองพื้นที่ท่มี ีศ ักยภาพทางการเกษตรและสนับสนุ น ให้ เกษตรกรรายย่อยมีท่ดี นิ เป็ นของตนเองหรือมีสทิ ธิทากินในที่ดนิ โดยการปรับปรุงกฎ ระเบียบ ที่มอี ยู่ให้ เอื้อต่อการนาที่ดนิ มาใช้เพื่อการเกษตร เช่น พระราชบัญญัตกิ ารเช่าที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม พ.ศ.๒๕๒๔ เป็ นต้น รวมถึงการเร่งรัดการออกกฎหมายเกี่ยวกับการรักษาและควบคุมการใช้พ้นื ที่เกษตรกรรมที่ม ี ศักยภาพสูงทีร่ ฐั บาลได้มกี ารลงทุนโครงสร้างพืน้ ฐานไว้แล้ว เช่น ระบบชลประทาน ระบบคมนาคม ขนส่ง เป็นต้น และบังคับใช้กฎหมายทีเ่ กีย่ วข้องอย่างจริงจังโดยเฉพาะพระราชบัญญัตผิ งั เมือง เพื่อคุ้มครองพืน้ ที่ ทางการเกษตรให้เป็นฐานการผลิตทีม่ ปี ระสิทธิภาพและยังยื ่ นของประเทศ ๕.๑.๒ เร่งรัดให้มกี ารจัดซื้อที่ดนิ จากเอกชนมาดาเนินการปฏิรูปเพื่อเกษตรกรรม และใช้ มาตรการทางภาษีเพื่อบังคับหรือจูงใจให้บุคคลผู้ถอื ครองที่ดนิ ไว้เป็ นจานวนมากโดยไม่ได้ทาประโยชน์ ในทางเศรษฐกิจและสังคม ให้หนั มาทาประโยชน์ในพืน้ ทีด่ งั กล่าวมากขึน้ รวมทัง้ สนับสนุ นการกระจายการ ถือครองทีด่ นิ อย่างเท่าเทียมและเป็นธรรม


๕.๑.๓ เร่งรัดการจัดให้มอี งค์กรและระบบบริหารจัดการที่ดนิ ให้เป็ นรูปธรรมโดยเร็ว เพื่อ เป็ นกลไกในการกระจายการถือครองทีด่ นิ อย่างเป็ นธรรมและดาเนินการให้เกษตรกรมีกรรมสิทธิ ์ในที่ดนิ เพื่อประกอบเกษตรกรรมอย่างทัวถึ ่ ง และสนับสนุ นการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ของรัฐอย่างคุม้ ค่าโดยเกษตรกร และชุมชน รวมทัง้ เร่งรัดการออกเอกสารสิทธิ ์หรือจัดสรรสิทธิในทีด่ นิ ให้แก่เกษตรกรผูไ้ ร้ทท่ี ากินให้มที ด่ี นิ เป็นของตนเองอย่างเป็นธรรม ๕.๑.๔ พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติท่เี ป็ นฐานการผลิตภาคการเกษตร ทัง้ ในเรื่องการฟื้ นฟู คุณ ภาพของทรัพ ยากรดินให้มคี วามอุดมสมบูรณ์ การบริหารจัดการน้ าอย่างบูรณาการ และการเพิ่ม ประสิทธิภาพการใช้น้ าภาคเกษตร เพื่อเป็ นปจั จัยสนับสนุ นการเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตในภาคเกษตร ๕.๑.๕ ฟื้ น ฟู แ ละส่ ง เสริม ค่ า นิ ย มและวัฒ นธรรมที่ดีข องชุ ม ชน โดยเฉพาะวิถีชีว ิต และ วัฒนธรรมทางการเกษตรทีใ่ ห้ความสาคัญกับการพัฒนาระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นเพื่อช่วยสร้างความสมดุล และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติทงั ้ ดิน น้ า และป่าไม้อย่างยังยื ่ น ซึ่งจะเป็ นฐานการผลิตทางการเกษตร ต่อไปในอนาคต ๕.๒ การเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพและศักยภาพการผลิ ตภาคเกษตร โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๒.๑ รัฐควรให้ความสาคัญกับการวิจยั และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะพันธุพ์ ชื พันธุ์ สัตว์และสัตว์น้ า ที่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างมีประสิทธิภาพรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภู มอิ ากาศ โลก และ ส่งเสริมบทบาทของสถาบันเกษตรกร วิสาหกิจชุมชน องค์กรชุมชน และ เกษตรกร ในการ พั ฒ น า พั น ธุ์ พื ช พันธุ์สตั ว์และสัตว์น้ า และการวิจยั ทีเ่ กี่ยวข้องกับภาคเกษตร รวมทัง้ สนับสนุ นการบริหารจัดการและการ สร้างนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่ การผลิตสินค้าเกษตร เพื่อให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองด้านอาหาร และพลังงาน และคงความเป็นผูน้ าด้านการเกษตรของโลกในอนาคตได้อย่างยังยื ่ น ๕.๒.๒ สนับสนุ นการวิจยั และพัฒนาของภาคเอกชน โดยสนับสนุ นสินเชื่อผ่อนปรนและ มาตรการทางด้านภาษีแก่ เกษตรกรและผูป้ ระกอบการธุรกิจเกษตร ทีม่ กี ารใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม และคุ้มค่ า เพื่อ ปรับปรุง ประสิทธิภาพและขยายการลงทุ นให้เ หมาะสมกับสถานการณ์ การแข่ง ขันใน ตลาดโลก ๕.๒.๓ สนับสนุนการผลิตทางการเกษตรทีส่ อดคล้องกับสภาพพืน้ ที่ เช่น ศักยภาพของดิน แหล่งรองรับผลผลิต และปจั จัยพื้นฐานทางการเกษตรที่สาคัญ เช่น ระบบชลประทาน ระบบโลจิสติกส์ เป็ นต้น เพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรและการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ บนพื้นฐานของความ สมัครใจและการมีส่วนร่วมของเกษตรกร โดยกาหนดเขตการใช้ท่ดี นิ และมาตรการจูงใจให้เกษตรกรทา การผลิตตามศักยภาพของพืน้ ทีแ่ ละสนับสนุนข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ เช่น สินเชื่อเงื่อนไขผ่อนปรน เป็ นต้น และส่งเสริมให้มกี ารขึ้นทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกพืชแต่ละชนิด เพื่อสามารถวางแผนการผลิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ๕.๒.๔ ควบคุมและกากับดูแลให้มกี ารนาเข้าและใช้สารเคมีทางการเกษตรทีไ่ ด้มาตรฐาน และ สนับสนุนการใช้สารชีวภาพให้มากขึน้ เพื่อลดต้นทุนการผลิต และสร้างความปลอดภัยในสุขภาพของ ทัง้ ผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค รวมทัง้ ลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ รณรงค์สร้างความเข้าใจให้เกษตรกรใช้ สารเคมีทางการเกษตรอย่างถูกวิธตี ามหลักวิชาการ


๕.๒.๕ ปรับปรุงบริการขัน้ พืน้ ฐานเพื่อการผลิตให้ทวถึ ั ่ ง เช่น ศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตร หรือศูนย์เรียนรูแ้ ละถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตในระดับชุมชน เป็ นต้น เพื่อสนับสนุ นการผลิตได้อย่างมี ประสิทธิภาพและยังยื ่ น และสอดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๕.๒.๖ ส่งเสริมการผลิต ที่คงไว้ซ่งึ ความหลากหลายของพันธุ์พชื และสัตว์ท่เี หมาะสมกับ สภาพภูมอิ ากาศและสิง่ แวดล้อมของประเทศ และสนับสนุ นการทดลองวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีต่างๆ อย่างต่อ เนื่องและเหมาะสม เช่น เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีพนั ธุ วศิ วกรรม เป็ นต้น เพื่อ ให้มอี งค์ ความรูท้ เ่ี ท่าทันการเปลีย่ นแปลงเทคโนโลยีของโลกในระยะต่อไป ๕.๒.๗ พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่างๆ ทีเ่ หมาะสมทาง การเกษตร รวมทัง้ สนับสนุ นการใช้เ ทคโนโลยีการผลิต ที่เป็ นมิต รต่ อสิง่ แวดล้อ มให้แก่ เกษตรกรอย่าง ต่อเนื่องและทัวถึ ่ ง โดยผ่านศูนย์เรียนรูแ้ ละถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต เครือข่ายเกษตรกรที่มคี วามรู้ ความเชีย่ วชาญในแต่ละพืน้ ที่ และจากเกษตรกรทีป่ ระสบความสาเร็จหรือปราชญ์ชาวบ้าน ตลอดจนเพิม่ ความสามารถและช่องทางในการรับรูข้ ่าวสารให้แก่เกษตรกรอย่างทัวถึ ่ ง รวมถึงพัฒนาสื่อทางการเกษตร ในวงกว้าง เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการเกษตรสู่เกษตรกรและประชาชนทีม่ คี วามสนใจ ให้ทวถึ ั ่ งมากขึน้ ๕.๓ การสร้างมูลค่ าเพิ่ มผลผลิ ตทางการเกษตรตลอดห่ วงโซ่ การผลิ ต โดยมีแนวทางการ ดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๓.๑ สนับสนุ นการผลิตและบริการของชุมชนในการสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าเกษตร อาหาร และพลังงาน โดยพัฒนาศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในชุมชน บนฐานความรูท้ ส่ี ร้างสรรค์เพื่อสร้างเอกลักษณ์ของสินค้า เช่น สมุนไพร ผลิตภัณฑ์อาหารและบริการเพื่อสุขภาพ เป็นต้น รวมถึงสินค้าเกษตรทีม่ ใิ ช่อาหาร เช่น ผลิตภัณฑ์ยาง ไม้ ยาง สินค้าจาพวกวัสดุชวี ภาพ ผลิตภัณฑ์ยาและอาหารเสริมเพื่อสุขภาพ เป็ นต้น ตลอดจนการสนับสนุ น การวิจยั และพัฒนาต่อยอดให้มโี อกาสทางการตลาดและเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน รวมถึง สนับสนุ นการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรชนิดใหม่ๆ ที่มมี ลู ค่าสูงเพื่อรองรับความต้องการของตลาด เฉพาะกลุ่มและตลาดโลก ๕.๓.๒ ส่งเสริมสถาบันการศึกษาในพืน้ ทีเ่ ข้ามาร่วมทาการศึกษาวิจยั กับภาคเอกชน ควบคู่ กับ การใช้ ม าตรการด้ า นสิน เชื่อ ผ่ อ นปรนและมาตรการด้ า นภาษี เ พื่อ สนั บ สนุ น ให้ เ กษตรกรและ ผูป้ ระกอบการนาองค์ความรู้ นวัตกรรม และเทคโนโลยีการผลิตทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม บนฐานความคิด ริเริม่ สร้างสรรค์มาใช้ในการสร้างมูลค่าเพิม่ ๕.๓.๓ สนับสนุ นการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหาร และมาตรฐาน ระบบการผลิตสินค้าเกษตรให้เทียบเท่าระดับสากล รวมทัง้ ควบคุม ดูแลกระบวนการตรวจรับรองคุณภาพ อย่างเข้มงวด รวมทัง้ พัฒนาระบบตรวจสอบย้อนกลับ และความสามารถในการติดตามการขนส่งหรือ เคลื่อนย้ายสินค้า เพื่อให้เป็นทีย่ อมรับของตลาดทัง้ ภายในและต่างประเทศรวมถึงเป็ นการสร้างโอกาสและ การใช้ประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี ตลอดจนมีความรวดเร็ว ทัวถึ ่ ง และประหยัดสาหรับเกษตรกรและ ผูป้ ระกอบการ ๕.๓.๔ ส่งเสริมและพัฒนาการเพาะเลีย้ งสัตว์น้าเศรษฐกิจ การใช้เทคโนโลยีทล่ี ดต้นทุนการ ผลิตอย่างยังยื ่ น รวมถึงปรับปรุงและพัฒนาสายพันธุ์สตั ว์น้ าเพื่อผลิต พ่อ แม่พนั ธุ์และลูกพันธุ์คุ ณภาพ


รวมทัง้ เสริมสร้างความสามารถในการปรับตัว ของผู้ประกอบการประมงในทุกระดับ ให้พร้อ มต่ อ การ เปลีย่ นแปลงต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ การเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ กฎ ระเบียบ ข้อกาหนดต่างๆ ทัง้ ภายใน และระหว่างประเทศ เกี่ยวกับการป้องกัน ยับยัง้ และขจัดการทาประมงที่ผดิ กฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม ให้สามารถทาประมงอย่างมีความรับผิดชอบเพื่อรักษาสมดุลของการผลิตและการใช้ ทรัพยากรประมงอย่างยังยื ่ น ๕.๓.๕ เพิ่ม มูล ค่ า ผลผลิต ด้า นปศุ ส ัต ว์ใ ห้สู ง ขึ้น โดยปรับ รูป แบบและวิธ ีก ารเลี้ย งให้ม ี มาตรฐานตามหลักวิชาการ ทัง้ รูปแบบของโรงเรือน ชนิด และประเภทของอาหารรวมถึงยาที่ใช้ในการ เลี้ยงปศุสตั ว์ เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มคี ุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค รวมทัง้ ส่งเสริมการทาปศุสตั ว์ชนิด อื่นๆ ทีม่ มี ลู ค่าสูงให้มากขึน้ โดยการสนับสนุ นความรู้ เงินทุน เทคโนโลยีการผลิต และการวิจยั และพัฒนา พันธุ์ปศุส ตั ว์ท่มี อี ตั ราแลกเนื้อที่ดี มีโอกาสทางการตลาด และให้ผลตอบแทนต่อ การลงทุนสูง รวมถึง สนับสนุนการพัฒนาการผลิตอาหารเสริมสาหรับปศุสตั ว์จากวัตถุดบิ ในประเทศ ๕.๓.๖ สร้างแรงจูงใจให้เ กษตรกรผลิตสินค้าเกษตรและอาหารตามมาตรฐานที่กาหนด รวมทัง้ การผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ตามมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ โดยการถ่ายทอดความรูค้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับมาตรฐาน ลดภาระค่าใช้จา่ ยในการตรวจสอบรับรอง เพื่อขยายการผลิตสินค้าเกษตรและอาหารที่ มีคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัย และสร้างความเชื่อมันให้ ่ แก่ผู้บริโภค ๕.๓.๗ ส่งเสริมระบบตลาดกลางสินค้าเกษตรและตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้ าให้ เข้มแข็งและมีประสิทธิภาพ โดยการสนับสนุ นสิง่ จูงใจ เช่น สินเชื่อเงื่อนไขผ่อนปรนให้กบั ผู้ประกอบการ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผูป้ ระกอบการตลาดกลางสินค้าเกษตร เพื่อให้เกิดกลไกตลาดทีม่ คี วามเป็ นธรรม และ สนับสนุนให้สถาบันเกษตรกรสามารถเข้ามาทาธุรกรรมในตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้า เป็นต้น ๕.๓.๘ ส่งเสริมภาคเอกชนและองค์กรชุมชนเข้ามามีบทบาทร่วมกันบริหารจัดการระบบ สินค้าเกษตรและอาหาร การเพิม่ มูลค่า และการจัดการด้านการตลาด ร่วมกับสถาบันเกษตรกร เพื่อช่วย ให้เกษตรกรมีช่องทางในการสร้างรายได้ท่เี ป็ นธรรมและเหมาะสมเพิม่ ขึน้ รวมถึงสนับสนุ นการบริหาร จัดการสินค้าเกษตรแบบกลุ่มการผลิตทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพื่อยกระดับและต่อยอดการแปรรูปสินค้า เกษตร ๕.๓.๙ สนับสนุ นการพัฒนาและเพิม่ ประสิทธิภาพระบบการบริหารจัดการโลจิสติกส์ของ ภาคเกษตรทีเ่ ชื่อมโยงตลอดห่วงโซ่อุปทานและสามารถตรวจสอบการเคลื่อนย้ายของสินค้า เพื่อลดความ สูญเสียและต้นทุนตลอดห่วงโซ่อุปทานจากการเน่ าเสียของสินค้าทีม่ สี าเหตุจากกระบวนการเก็บรักษาและ ระบบขนส่ ง สิน ค้าที่ไ ม่ไ ด้ม าตรฐาน โดยพัฒ นาระบบขนส่ ง ที่มกี ารควบคุ มอุ ณ หภูม ิ ระบบ ตรวจสอบ ย้อนกลับ และสนับสนุนให้ผผู้ ลิตหรือสมาคมธุรกิจเฉพาะด้านเข้ามามีบทบาทในการจัดระบบการบริหารโล จิสติกส์ของภาคเกษตรร่วมกับภาครัฐ รวมทัง้ พัฒนาและเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้านการผลิตและตลาดสินค้า เกษตรและผลิตภัณฑ์ ๕.๔ การสร้างความมันคงในอาชี ่ พและรายได้ให้ แก่เกษตรกร โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๔.๑ พัฒนาระบบการสร้างหลักประกันด้านรายได้ของเกษตรกรให้มคี วามมันคง ่ และให้ ครอบคลุมเกษตรกรทัง้ หมด เพื่อนาไปสู่การปรับโครงสร้างการผลิต อย่างยังยื ่ น ควบคู่ไปกับการเพิ่ม


ประสิทธิภาพการผลิต เพื่อสร้างความมันใจกั ่ บเกษตรกรในรายได้ขนั ้ ต่าทีส่ ามารถยึดการเกษตรเป็ นอาชีพ ได้อย่างมันคงตามหลั ่ กปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว ๕.๔.๒ เร่งพัฒนาระบบประกันภัยพืชผลการเกษตร ให้สามารถคุม้ ครองความเสีย่ งด้านการ ผลิตทางการเกษตรจากทุกภัยพิบตั ใิ ห้กบั เกษตรกรในทุกพืน้ ที่ โดยให้เกษตรกรมีส่วนรับผิดชอบชาระเบีย้ ประกันตามความเสีย่ งของพืน้ ที่ ๕.๔.๓ ส่งเสริมระบบการทาการเกษตรแบบมีพนั ธสัญญาทีเ่ ป็ นธรรมแก่ทุกฝ่ายทีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อเป็ นหลักประกันทัง้ ทางด้านรายได้ให้กบั เกษตรกรและความมันคงด้ ่ านวัตถุดบิ แก่ภาคอุตสาหกรรม การเกษตร อาหาร และพลังงาน ๕.๔.๔ ยกระดับ คุ ณ ภาพชีว ิต และความเป็ น อยู่ของเกษตรกรให้ดีข้นึ โดยพัฒนาระบบ สวัสดิการให้ครอบคลุมแรงงานนอกระบบ ซึ่งรวมถึงเกษตรกรในทุกสาขาอาชีพ และสนับสนุ นการแก้ไข ปญั หาหนี้สนิ เกษตรกรให้สามารถพึง่ พาตนเองได้อย่างยังยื ่ น ๕.๔.๕ สร้างแรงจูงใจให้เยาวชน หรือเกษตรกรรุ่นใหม่ และแรงงานทีม่ คี ุณภาพเข้าสู่อาชีพ เกษตรกรรม เพื่อ ให้ม ีจติ ส านึ ก เห็น คุ ณ ค่ าของอาชีพเกษตรและวิถีชีว ิต ครอบครัว ที่อ บอุ่ น ด้ว ยการ สนับสนุ นองค์ความรูอ้ ย่างครบวงจร การจัดหาทีด่ นิ ทากิน สร้างโอกาสเข้าถึงแหล่งทุน รวมทัง้ สนับสนุ น กระบวนการสร้างภาพลักษณ์ท่ดี แี ก่ อาชีพเกษตรกรรม และเปิ ดโอกาสการมีส่วนร่วมการพัฒนาภาค เกษตรของเกษตรกรต้นแบบให้มากขึน้ ๕.๔.๖ พัฒนาสถาบันเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนให้เป็ นกลไกสนับสนุ นการพึง่ พาตนเอง ของเกษตรกรได้อย่างแท้จริง โดยการพัฒนาความรูแ้ ละความสามารถด้านการตลาดและการบริหารจัดการ ด้วยการศึกษาดูงานจากเกษตรกรหรือองค์กรทีป่ ระสบความสาเร็จ และ การสนับสนุ นสินเชื่อเงื่อนไขผ่อน ปรนที่จาเป็ นต่อการดาเนินงาน ภายใต้ระบบการควบคุมตรวจสอบที่รดั กุม รวมทัง้ การเชื่อมโยงบทบาท ของสถาบันเกษตรกรกับสภาเกษตรกรแห่งชาติ เพื่อร่วมวางแนวทางการพัฒนาภาคเกษตรกรรมตาม พืน้ ฐานและความต้องการของเกษตรกรอย่างเป็นระบบ ๕.๔.๗ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกรรายย่อยที่ได้รบั ผลกระทบจากการนาเข้า สินค้าเกษตรและอาหารทีม่ ตี ้นทุนต่ า อันเป็ นผลจากข้อตกลงการเปิดการค้าเสรี โดยสนับสนุ นการปรับตัว และเพิ่มขีดความสามารถให้เ กษตรกรไทย สามารถผลิต สินค้าเกษตรและอาหารให้ได้ต ามมาตรฐาน พร้อมทัง้ ให้ความสาคัญกับการตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานและความปลอดภัยอาหารของสินค้าเกษตร และอาหารนาเข้า เพื่อป้องกันสินค้านาเข้าทีม่ คี ุณภาพไม่ได้ตามมาตรฐานทีก่ าหนดไว้ และส่งเสริมให้ไทย เป็ นศูนย์ก ลางในการแปรรูปเพื่อ เพิ่มมูล ค่ าสินค้าเกษตรและอาหาร จากการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน โดยการปรับปรุงกระบวนการนาเข้าวัตถุดบิ มาแปรรูปให้สะดวกและรวดเร็วยิง่ ขึน้ ๕.๕ การสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพัฒนาพลังงานชี วภาพในระดับครัวเรือนและ ชุ ม ช น มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๕.๑ ส่งเสริมให้มกี ารปลูกปา่ โดยชุมชนและเพื่อชุมชนเพิม่ ขึน้ เพื่อรักษาสมดุลของระบบ นิเวศทีจ่ ะเป็นฐานการผลิตด้านการเกษตรและอาหาร และใช้เป็นแหล่งช่วยดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์


๕.๕.๒ ส่งเสริมให้เกษตรกรทาการเกษตรด้วยระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง เช่น เกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน เกษตรทฤษฏีใ หม่ วนเกษตร เป็ นต้น โดยเฉพาะเกษตรกรรายย่อย เพื่อสร้างความมันคง ่ ความหลากหลาย การพึง่ พาตนเองและสามารถเข้าถึง ด้านอาหารทุกครัวเรือนทัง้ ในเชิงของปริมาณ คุณภาพ โภชนาการ และความปลอดภัย โดยการถ่ายทอด ความรูแ้ ละเทคโนโลยีการผลิตผ่านเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้า น เกษตรกรที่ประสบความสาเร็จ และแหล่ง ความรูใ้ นพืน้ ที่ ๕.๕.๓ ส่ ง เสริม และสนั บ สนุ น ให้ม ีก ารจัด การและเผยแพร่ อ งค์ค วามรู้แ ละการพัฒ นา ด้านอาหารศึกษาทุกรูปแบบอย่างต่อเนื่องและทัวถึ ่ ง รวมทัง้ ส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคทีเ่ หมาะสมของ บุ ค คลและชุ ม ชน เพื่อ ให้ม ีพ ฤติก รรมการบริ โ ภคที่ใ ห้ค วามส าคัญ กับ คุ ณ ภาพชีว ิต และการบริโ ภคที่ เหมาะสมกับภาวะสุขภาพของแต่ละบุคคล โดยส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือและบูรณาการของหน่ วยงานที่ เกี่ยวข้องทุกภาคส่วน ในการสนับสนุ นด้านอาหารศึกษา และเน้ นการวิจยั และพัฒนาด้านอาหารในมิติ ต่างๆ ควบคู่ไปกับการให้ความรูแ้ ก่ผูบ้ ริโภคในการเลือกซือ้ สินค้าทีป่ ลอดภัยและมีคุณค่าต่อการบริโภค ๕.๕.๔ สนับสนุนการสร้างเครือข่ายการผลิตและการบริโภคทีเ่ กื้อกูลกันในระดับชุมชนทีอ่ ยู่ บริเวณใกล้เคียงกัน โดยมีเกษตรกรผู้ผลิตและผู้บริโภคที่มคี วามสัมพันธ์กนั โดยตรง เช่น ตลาดท้องถิ่น ตลาดเกษตรกร เป็ น ต้น ซึ่งจะทาให้ปริมาณผลผลิตมีตลาดรองรับมากขึน้ สามารถพัฒนาเป็ นวิสาหกิจ ชุมชนและนาไปสู่การสร้างชุมชนที่เข้มแข็งมีศกั ยภาพในการผลิตและเข้าถึงอาหารและโภชนาการที่ดี รวมทัง้ มีความรูใ้ นการดูแลสุขภาพอนามัยของตนเอง ๕.๕.๕ ส่ ง เสริม การน าวัต ถุ ดิบ ทางการเกษตรที่ผ ลิต ได้ ใ นชุ ม ชนและที่เ หลือ ใช้ จ าก การเกษตรมาผลิตเป็นพลังงานทดแทนใช้ในระดับครัวเรือนและชุมชน เช่น ไบโอดีเซล พลังงานความร้อน จากการเผาไม้เศษวัสดุทางการเกษตร ก๊าซชีวภาพทีไ่ ด้จากการหมักมูลสัตว์ และเศษขยะอินทรีย์ เป็นต้น ๕.๕.๖ สนับสนุนการผลิตพลังงานทดแทนภายในชุมชน โดยการสนั บสนุ นองค์ความรูด้ า้ น เทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทน ทัง้ จากวัตถุดบิ เหลือใช้จากครัวเรือนและการเกษตร อาทิ มูลสัตว์ ขยะ ฟาง แกลบ เศษไม้ ตลอดจนถ่ายทอดวิธกี ารดูแลรักษาและการซ่อมบารุงให้แก่ชุมชนหรือองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นให้มศี กั ยภาพในการผลิตพลังงานทดแทน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาพลังงานทดแทน อย่างมันคงและยั ่ งยื ่ นในระดับชุมชนและท้อ งถิ่น ทัง้ นี้ เพื่อ เป็ นการลดต้นทุนด้านพลังงาน รวมถึงลด มลภาวะแก่ ชุมชนและท้อ งถิ่น รวมทัง้ ส่ งเสริมการผลิต พืชพลังงานทดแทนที่ไม่ใ ช่อ าหารและมีค วาม เหมาะสมกับสภาพท้องถิน่ เช่น สบู่ดา เป็นต้น ๕.๕.๗ ส่งเสริมและพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในพื้นที่ใ ห้เ ป็ นเครื่อ งมือ ในการสร้างความ เข้มแข็งด้านอาหารให้กบั เกษตรกรและชุมชนอย่างเป็ นระบบ โดยสนับสนุ นบทบาทการบริหารจัดการ โครงสร้างพื้นฐานภายในชุมชน เช่น ศูนย์พนั ธุ์ขา้ วชุมชน โรงปุ๋ยชีวภาพปุ๋ยอินทรีย์ โรงสี และลานตาก เป็นต้น เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพและคุณภาพผลิตผลการเกษตรในชุมชน ๕.๖ การสร้า งความมันคงด้ ่ า นพลัง งานชี ว ภาพเพื่ อสนั บสนุ นการพัฒ นาประเทศและ ความเข้มแข็งภาคเกษตร มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๖.๑ ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตพลังงานจากพืชพลังงาน โดยการวิจยั และพัฒนาพันธุพ์ ชื พลังงานทีเ่ หมาะสมกับประเทศและให้ผลผลิตสูง และการใช้เทคโนโลยีเพื่อ เพิ่มปริมาณผลผลิต ต่ อ ไร่ใ ห้สูงขึ้น รวมทัง้ ศึก ษาแนวทางการเพิ่ม ประสิทธิภ าพในกระบวนการผลิต


พลังงานจากพืช เพื่อให้สามารถผลิตพลังงานได้มากขึน้ ในปริมาณพืชเท่ากัน ตลอดจนส่งเสริมการวิจยั พืช พลังงานอื่นที่ไม่ได้ใช้เป็ นวัตถุดบิ ในการผลิตอาหาร เช่น สาหร่าย เป็ นต้น ทัง้ นี้ เพื่อลดปญั หาภาวะขาด แคลนในพืชทีใ่ ช้เป็นทัง้ วัตถุดบิ ในการผลิตอาหารและพลังงาน ๕.๖.๒ จัดให้มรี ะบบการบริหารจัดการสินค้าเกษตรทีใ่ ช้เป็ นทัง้ อาหารและพลังงาน โดยให้ ความสาคัญกับความมันคงด้ ่ านอาหาร เช่น ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง และอ้อย เป็ นต้น เพื่อให้มกี ารผลิต และการใช้อย่างเป็นระบบทีเ่ ชื่อมโยงกันอย่างชัดเจน ไม่กระทบต่อความมันคงด้ ่ านอาหารของประเทศ ๕.๖.๓ เพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตและการใช้พลังงานชีวภาพที่เกี่ยวเนื่องกับภาคการผลิต และบริการ เพื่อลดการพึ่งพาการใช้น้ ามันเชื้อเพลิงจากการนาเข้าต่างประเทศ ซึ่งจะทาให้เกิดการสร้าง ภูมคิ ุม้ กันให้กบั ผลผลิตทางการเกษตรเกิดความมันคงและราคาสิ ่ นค้าเกษตรมีเสถียรภาพ ๕.๖.๔ จัด ให้มกี ลไกในการกากับดูแลโครงสร้างราคาของพลัง งานชีว ภาพ ที่ไม่ส่ ง ผล กระทบต่อการสร้างเสถียรภาพและความเป็ นธรรมต่อผู้บริโภคและผู้ผลิต เพื่อเป็ นเครื่องมือในการสร้าง ความมันคงของการใช้ ่ พลังงานชีวภาพและศักยภาพการผลิตทีเ่ หมาะสม โดยไม่กระทบต่อการผลิตอาหาร ของประเทศ ๕.๖.๕ ปลูกจิตสานึกในการใช้พลังงานชีวภาพอย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า โดยสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจแก่ประชาชนถึงประโยชน์และผลกระทบของการใช้พลังงานชีวภาพ ๕.๗ การปรับ ระบบบริ ห ารจัด การภาครัฐ เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความมันคงด้ ่ า นอาหารและ พ ลั ง ง า น มีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๗.๑ สนับสนุ นบทบาทของเกษตรกร เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน ภาคเอกชน และชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดทิศทางและวางแผนการผลิตทางการเกษตร เพื่อสร้างความมันคงด้ ่ าน อาหารและพลังงานทัง้ ในระดับชุมชนและระดับประเทศเชื่อมโยงกับกลไกการบริหารจัดการภาครัฐและ องค์กรเกษตรกรทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ในระดับพืน้ ทีแ่ ละส่วนกลาง เช่น สภาเกษตรกรแห่งชาติ เป็ นต้น รวมทัง้ มี ส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบการทางานของภาครัฐอย่างเป็ นระบบ เพื่อสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม ๕.๗.๒ ปรับกระบวนการทางานของหน่ วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้อง อาทิ กระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงอุ ต สาหกรรม กระทรวงสาธารณสุ ข กระทรวงพาณิ ช ย์ กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ กระทรวงพลังงาน ให้มกี ารร่วมมือและบูรณาการการทางาน อย่างจริงจัง ทัง้ ในส่วนกลางและระดับพื้นที่โดยมีเป้าหมายร่วมกัน เพื่อสนับสนุ นการสร้างความมันคง ่ ทางด้านอาหารและพลังงาน รวมถึงเป็ นผูผ้ ลักดันและสนับสนุ นการพัฒนาการเกษตร อาหารและพลังงาน ให้สอดคล้องกับความต้องการในระดับชุมชนในพืน้ ที่และระดับประเทศ นอกจากนี้ กาหนดให้มกี ลไกการ ประสานการทางานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และเกษตรกร และตรวจสอบการดาเนินงานแบบมีส่วน ร่วมของชุมชนในพืน้ ที่ ๕.๗.๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศด้านอาหารและพลังงานตัง้ แต่การผลิต การตลาด ไปจนถึงการบริโภคให้มคี วามถูกต้อง สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ได้โดยง่าย เพื่อใช้ในการวางแผน พัฒนา แก้ไขปญั หา และเตือ นภัย โดยพัฒนารูปแบบการเผยแพร่ข้อมูลในระบบอินเตอร์เน็ ต รวมทัง้ พัฒนาการสร้างตัวชีว้ ดั การพึ่งพาตนเองด้านอาหารในระดับประเทศ เพื่อใช้เป็ นเครื่องมือในการวางแผน นโยบายด้านการเกษตรในระยะต่อไป ๕.๗.๔ พัฒนากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาด้านการเกษตรเพื่อให้เอื้อต่อการพัฒนา อย่างยังยื ่ น อาทิ การเร่งรัดออกกฎระเบียบตามพระราชบัญญัตคิ ุม้ ครองพันธุ์พชื โดยเฉพาะการคุม้ ครอง พันธุพ์ น้ื เมืองและสิทธิชุมชน ให้ประชาชนและประเทศได้รบั ประโยชน์ จากการเข้าถึงฐานทรัพยากรทีม่ อี ยู่ อย่างเหมาะสม เป็ นธรรม และมีความเป็ นสากล ปรับปรุงพระราชบัญญัตกิ ารเช่าที่ดนิ เพื่อเกษตรกรรม


โดยให้รวมถึงการเช่าทีด่ นิ เพื่อเกษตรกรรมของชาวต่างชาติ โดยให้มกี ารเก็บภาษีในอัตราทีส่ ูงกว่าคนไทย เพื่อให้เกิดการใช้ท่ดี นิ อย่างมีประสิทธิภาพ คุ้มค่า สนับสนุ นให้มกี ฎหมายทีเ่ กี่ยวข้องกับการส่งเสริมและ พัฒนาระบบเกษตรกรรมยังยื ่ น การส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ เพื่อให้เกิดการทางานใน เชิงระบบทีเ่ ป็นองค์รวม ต่อเนื่อง และมีกระบวนการมีส่วนร่วมของผูเ้ กีย่ วข้อง ๕.๗.๕ ส่งเสริมความร่วมมือระหว่า งประเทศทัง้ ในระดับพหุภาคีและทวิภาคี โดยเฉพาะ ประชาคมอาเซียน ในการสนับสนุนการวิจยั และพัฒนา ความร่วมมือในการผลิต การตลาด การจัดตัง้ ระบบ สารองข้าวฉุ กเฉิน ปรับปรุงกฎระเบียบ และเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กบั กลไกที่มอี ยู่ เพื่อให้เกิด ความ มันคงด้ ่ านอาหารและพลังงาน


บ ท ที่ ๖ ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมี คุณภาพและยังยื ่ น ๑

สถานการณ์ การเปลี่ยนแปลง

ในช่วงระยะเวลาตัง้ แต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๗ จนถึงปจั จุบนั (พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๕๒) ประเทศไทยมีอตั ราการขยายตัวทางเศรษฐกิจเฉลี่ยร้อยละ ๓.๘๕ และสามารถรักษา เสถียรภาพทางเศรษฐกิจโดยรวมไว้ได้ โดยฐานะการคลัง มีความแข็งแกร่ง ทุนสารองระหว่างประเทศ เพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนื่อง รวมทัง้ การจ้างงานและดุลบัญชีเดินสะพัดอยู่ในเกณฑ์ดสี อดคล้องกับเป้าหมายของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ขณะเดียวกันโครงสร้างการผลิตและบริการได้ปรับเปลีย่ นจากการขับเคลื่อนด้วย ภาคเกษตรสู่ภาคอุตสาหกรรม ดังจะเห็นได้จากสัดส่วนการผลิตของภาคเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ เ ป ลี่ ย น จ า ก ร้ อ ย ล ะ ๑ :๓ :๖ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ (พ.ศ. ๒๕๓๕-๒๕๓๙) เป็ น ๑:๔:๕ ในช่วง ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๒) โดยมีผลของการพัฒนาด้านต่างๆ ดังนี้ ๑.๑ ภาคอุตสาหกรรมเป็ นภาคการผลิ ตที่มีบทบาทสูงต่ อระบบเศรษฐกิ จแต่ ผลิ ตภาพการ ผลิ ตโดยรวมของภาคอุตสาหกรรมยังไม่ได้รบั การพัฒนาเท่ าที่ ควร โดยมีสดั ส่วนต่อผลิตภัณฑ์มวล รวมภายในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) เพิม่ ขึน้ จากร้อยละ ๓๘.๑ ในปี ๒๕๔๒ เป็ นร้อยละ ๔๐.๘ ในปี ๒๕๕๒ ซึ่ง เป็ นผลมาจากการย้ายฐานการผลิต เพื่อ การส่ ง ออกของประเทศญี่ปุ่นและกลุ่ ม ประเทศอุตสาหกรรมใหม่ใน ๔ กลุ่มอุตสาหกรรมหลัก ได้แก่ ปิ โตรเลียม อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ และ เครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งมีสดั ส่วนของการผลิตสูงถึงร้อยละ ๔๑.๘ ของภาคอุตสาหกรรมทัง้ หมด นอกจากนี้ สินค้าอุตสาหกรรมยังเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศ โดยมีสดั ส่วนกว่าร้อยละ ๗๕ ของการส่งออกรวม ในช่วง ๓ ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ อย่างไรก็ตาม ผลิตภาพการผลิตรวมของภาคอุตสาหกรรม ยั ง อ ยู่ ใ น ร ะ ดั บ ต่ า โดยใน ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ขยายตัวเฉลีย่ เพียงร้อยละ ๑.๑ เท่านัน้ ๑.๒ ภาคเกษตรนั บเป็ นภาคการผลิ ตที่ มี ค วามส าคัญ ต่ อ ระบบเศรษฐกิ จ โดยรวมของ ประเทศเนื่ องจากเป็ นแหล่งสร้างรายได้หลักของคนส่วนใหญ่ในประเทศและเป็ นฐานในการสร้าง มูลค่ าเพิ่ มของภาคอุตสาหกรรม ด้ว ยความอุ ดมสมบูรณ์ ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความ เหมาะสมของสภาพภูมอิ ากาศ รวมทัง้ การสะสมความรูแ้ ละภูมปิ ญั ญาทางการเกษตรอย่างต่อเนื่อง และ การใช้ผลผลิตการเกษตรเป็นวัตถุดบิ ทัง้ ในด้านอาหาร พลังงาน และวัสดุชวี ภาพมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ อย่าง รวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ภาคเกษตรยังมีการเติบโตน้อยกว่าภาคการผลิตอื่น โดยเปรียบเทียบ ดังจะเห็นได้ จากสัดส่วนผลิตภัณฑ์ภาคเกษตรต่อ GDP ลดลงจากร้อยละ ๑๐.๔ ในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ เป็ นร้อยละ ๘ . ๙ ใ น ช่ ว ง ๓ ปี แ ร ก ข อ ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉบับที่ ๑๐ เนื่องจากภาคเกษตรไม่สามารถเร่งพัฒนาผลิตภาพการผลิต ได้ทนั ต่อ สภาพการแข่งขันใน ตลาดโลกทีท่ วีความรุนแรงมากขึ้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ และต้องพึ่งพาการส่งออกสินค้าเกษตรสาคัญ โดยไม่ได้ยกระดับการผลิตและแปรรูปเพื่อเพิม่ มูลค่าสินค่าเท่าทีค่ วร


๑.๓ ภาคบริ การยังคงมีบทบาทสาคัญในการสร้างมูลค่าเพิ่ มให้ กบั ภาคเศรษฐกิ จ ช่ วยลด การขาดดุลการค้ า และพัฒนาคุณภาพชี วิตประชาชน แม้ว่าสัดส่วนผลิตภัณฑ์บริการจะลดลงอย่าง ต่อเนื่องภายหลังจากเกิดวิกฤตเศรษฐกิจในปี ๒๕๔๐ เป็ นต้นมา โดยในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ ภาค บ ริ ก า ร มีสดั ส่วนเฉลีย่ ร้อยละ ๕๖.๓ และได้ลดลงเหลือร้อยละ ๔๙.๔ ในช่วงระยะ ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ ภาคบริการยังมีบทบาทสาคัญในการเป็นแหล่งจ้างงานขนาดใหญ่ของประเทศ โดยมีสดั ส่วนแรงงาน ถึ ง ร้อยละ ๔๕.๓ ของจานวนผูม้ งี านทาทัง้ หมดในช่วง ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ เพิม่ ขึน้ จากร้อย ละ ๓๕.๕ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ การเพิม่ ขึน้ ของจานวนแรงงานในภาคบริการสอดคล้องกับการ ลดลงของแรงงานในภาคการเกษตร ซึง่ ส่งผลทาให้แรงงานในภาคบริการส่วนใหญ่ยงั คงเป็ นแรงงานระดับ ล่าง ดังนัน้ สัดส่วนค่าตอบแทนแรงงานต่อมูลค่าเพิม่ ของภาคบริการจึงค่อนข้างต่ าและผลิตภาพการผลิต โดยรวมหดตัวลงเฉลีย่ ร้อยละ ๐.๙๔ ในช่วงระยะ ๓ ปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ๑.๔ การเชื่อมโยงเศรษฐกิ จของประเทศกับเศรษฐกิ จต่ างประเทศจากการปรับโครงสร้าง เศรษฐกิ จดังกล่าวทาให้ เกิ ดกิ จกรรมทางเศรษฐกิ จระหว่างประเทศโดยเฉพาะกิ จกรรมทางการค้า และการลงทุนระหว่างประเทศ ซึ่งมีบทบาทสาคัญต่ อการพัฒนาเศรษฐกิ จมาโดยตลอด ทัง้ นี้ การ ส่งออกของไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องในช่วง ๑๐ ปี ท่ผี ่านมา (พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๕๑) แม้ว่าเริม่ ขยายตัวลดลงในปี ๒๕๕๒ อันเป็นผลมาจากวิกฤตเศรษฐกิจโลกและขีดความสามารถในการแข่งขันลดลง แต่ประเทศไทยยังสามารถรักษาสัดส่วนการส่งออกในตลาดโลกที่รอ้ ยละ ๑.๑ ต่อเนื่องมาตลอดในช่วงปี ๒๕๔๙ ถึง ๒๕๕๑ ซึ่งส่งผลให้สดั ส่วนการค้าระหว่างประเทศเพิม่ สูงขึน้ จากร้อยละ ๘๔.๘ ต่อ GDP ใน แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ เป็ นร้อยละ ๑๓๘.๔ ในช่วง ๓ ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ โดยสินค้า อุตสาหกรรมยังเป็นสินค้าส่งออกหลัก และมีตลาดส่งออกสาคัญคือ ตลาดอาเซียน สหภาพยุโรป และญีป่ นุ่ ๑.๕ อย่ า งไรก็ต าม ประเทศไทยยัง ต้ อ งพึ่ ง พิ ง การน าเข้ า ในสัด ส่ ว นที่ สู ง เช่ น กัน โดย อัตราส่วนการนาเข้าต่อการผลิตในประเทศของสินค้าและบริการเพิม่ จาก ๒:๑ ในช่วงปลายแผนพัฒนาฯ ฉ บั บ ที่ ๗ เ ป็ น ๔:๑ ในช่วง ๓ ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ในขณะที่การพึ่งพาการนาเข้าวัตถุดบิ และสินค้ากึ่ง สาเร็จรูปสูง ถึงร้อยละ ๔๐ ของการนาเข้าทัง้ หมด สาหรับการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศยังคงมี บ ท บ า ท ส า คั ญ ต่อการขยายตัวของระบบเศรษฐกิจไทย แต่จากภาวะเศรษฐกิจโลกที่ตกต่ าและขีดความสามารถในการ แข่งขันลดลง ทาให้บทบาทของการลงทุนในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจมีแนวโน้มลดลงจากร้อยละ ๔๑.๒ ต่อ GDP ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ เป็ นร้อยละ ๒๕.๖ ในปี ช่วง ๓ ปี แรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ โดยสัดส่วนการลงทุนจากต่างประเทศลดลงจากร้อยละ ๒๒.๒ ต่อ GDP ในปี ๒๕๔๑ เป็ นร้อยละ ๘.๐ ใน ปี ๒๕๕๒ ๑.๖ ผลตอบแทนปัจจัยการผลิ ต เมือ่ พิจารณาแนวโน้มการกระจายผลตอบแทนของปจั จัยการ ผลิต พบว่า การกระจายผลตอบแทนของปจั จัยแรงงานมีแนวโน้ มลดลงอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ ๓๐.๒ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ เป็ นร้อยละ ๒๙.๔ และ ๒๘.๙ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ และ ๓ ปีแรก ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ตามลาดับ ในขณะที่ผลตอบแทนของปจั จัยการผลิตอื่นๆ ที่ไม่ใช่แรงงาน เช่น ผลตอบแทนของทุน ผู้ประกอบการ และที่ดิน เป็ นต้น มีแนวโน้ มเพิม่ ขึ้นอย่างต่ อเนื่อ ง พร้อมทัง้


ช่องว่างของ GDP กับผลิตภัณฑ์ประชาชาติ (Gross National Product: GNP) ได้เพิม่ ขึน้ จาก ๔๕.๙ พั น ล้ า น บ า ท ห รื อ ร้อยละ ๑.๕ ของ GDP ในปี ๒๕๓๖ เป็น ๔๓๖.๐ พันล้านบาทหรือร้อยละ ๔.๓ ในปี ๒๕๕๓ ซึง่ สะท้อนถึง การนากาไรจากการประกอบการภายในประเทศส่งกลับไปทีบ่ ริษทั แม่ในต่างประเทศเพิม่ ขึน้ ในช่วงทีผ่ ่าน มา ๑.๗ เมื่อพิ จารณาปัจจัยแวดล้อมและระบบการแข่งขันในปัจจุบนั ของไทย สถาบันการจัด อันดับความสามารถในการแข่ งขันทางเศรษฐกิ จที่ สาคัญของโลก3 มีข้อสรุปตรงกันว่ าประเทศ ไทยยังมีความอ่อนแอด้านปัจจัยสนับสนุนในส่วนของวิ ทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยตัวชีว้ ดั หลัก ด้านการลงทุนในการวิจยั และพัฒนา การลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จานวน บุคลากรทางการวิจยั และพัฒนา จานวนสิทธิบตั ร และการคุ้มครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญา ยังเป็ นข้อจากัด ต่อการนาเอาองค์ความรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้สนับสนุ นการเพิม่ ศักยภาพการแข่งขันของ ประเทศโดยรวม นอกจากนี้ หน่วยงานต่างๆ ภายใต้ระบบวิจยั ของไทยยังขาดการบูรณาการในการทางาน ระหว่างกัน รวมทัง้ ขาดกลไกทีม่ ปี ระสิทธิภาพในการสร้างความเชื่อมโยงการวิจยั ระหว่างภาคเอกชนและ ชุมชน และการจัดการความเสี่ยงตลอดจนการจัดสรรผลประโยชน์ ท่เี กิดจากการวิจยั และพัฒนาในเชิง พาณิชย์ยงั ไม่ชดั เจน ทาให้ไม่สามารถนาผลงานวิจยั ไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ได้เท่าทีค่ วร ๑.๘ ส าหรับ การพัฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานที่ ผ่ า นมา ภาครัฐ มี บ ทบาทน าในการสร้ า ง โครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุนการเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ในระยะทีผ่ ่าน มา มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทัง้ ทางบก ทางเรือ และทางอากาศ โดยมีสดั ส่วนการขนส่งผู้โดยสาร ภ า ย ใ น ป ร ะ เ ท ศ ทางถนนร้อยละ ๗๔ ทางรถไฟร้อยละ ๒๑ ที่เหลือเป็ นทางอากาศร้อยละ ๕ สาหรับการขนส่งสินค้านัน้ ส่วนใหญ่เป็ นการขนส่งทางถนนร้อยละ ๘๒ ทางน้ าร้อยละ ๑๕ และทางรถไฟร้อยละ ๓ ทัง้ นี้ แม้ว่าการ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในระยะที่ผ่านมาจะประสบความสาเร็จในด้านปริมาณ แต่ ยงั ต้อง พัฒนาด้านคุณภาพและสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนให้มากขึน้ นอกจากนี้ ข้อจากัดด้าน การคลัง ตลอดจนกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์ ท่บี งั คับใช้ไม่สอดคล้องและเหมาะสมกับสถานการณ์ใน ปจั จุบนั ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานล่าช้าและเป็ นอุปสรรคต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของ ประเทศในระยะยาว ในขณะที่ความต้องการใช้พลังงานของไทยมีแนวโน้ ม สูงขึ้นและต้องพึ่งพิ งการ นาเข้าพลังงานจากต่างประเทศจานวนมาก โดยความต้องการใช้พลังงานของไทยมีมลู ค่าสูงถึงปีละ ๑ ล้านล้านบาท หรือ คิดเป็ นร้อยละ ๑๑ ของ GDP พร้อมนี้ การผลิตพลังงานในประเทศยังไม่สามารถ ต อ บ ส น อ ง ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ง า น ทีเ่ พิม่ ขึน้ ได้อย่างเพียงพอ โดยการผลิตพลังงานในประเทศสามารถตอบสนองความต้องการใช้ในประเทศ ได้เพียงร้อยละ ๕๐ เท่านัน้

การประเมินความเสี่ยง

ประเทศไทยต้องเผชิญกับความเสี่ยงสาคัญหลายด้านซึ่งเป็ นทัง้ ข้อจากัด ต่อการพัฒนาประเทศ และจุดอ่อนภายในประเทศทีจ่ าเป็นต้องแก้ไขต่อไป ดังนัน้ ประเทศไทยต้องเตรียมความพร้อมและจัดการ ความเสีย่ งต่างๆ เพื่อให้กระบวนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ นมีความ ต่อเนื่อง โดยความเสีย่ งทางเศรษฐกิจสาคัญของประเทศไทยมีดงั นี้ ๒.๑ เศรษฐกิ จ โลกฟื้ นตัว ช้ า กว่ า ที่ ค าด เนื่ อ งจากความไม่ส มดุ ล ของระบบเศรษฐกิจ และ การเงินของประเทศเศรษฐกิจหลัก ยัง ไม่ไ ด้รบั การแก้ไ ข อาทิ ปญั หาในภาคการคลัง ในภูมภิ าคยุโ รป 3

สถาบันการจัดการนานาชาติ (International Institute for Management Development:

IMD) และเวิลด์ อีโคโนมิก ฟอรั่ม (World Economic Forum: WEF)


ปญั หาเงินเฟ้อในภูมภิ าคเอเชีย จากปญั หาทีแ่ ตกต่างกันทาให้แต่ละประเทศมีการดาเนินนโยบายทีต่ ่างกัน ซึง่ อาจนาไปสู่การแก้ไขกฎระเบียบด้านการค้าจนนาไปสู่ลทั ธิกดี กันทางการค้าและยกระดับการแข่งขันให้ มีความรุนแรงมากขึน้ ซึ่งประเทศต่างๆ รวมทัง้ ไทยจาเป็ นต้องเสริมสร้างสมรรถนะทางการแข่งขัน และ กระตุน้ อุปสงค์ในประเทศเพื่อรองรับความเสีย่ งนี้ ๒.๒ การเคลื่อนย้ายเงิ นทุนเพิ่ มขึ้นอย่างรวดเร็วทาให้ อตั ราแลกเปลี่ยนมีความผันผวนสูง และการดาเนิ นนโยบายการเงิ นมีความยากลาบากขึ้น การพัฒนาตลาดทุนโลก การสร้างนวัตกรรม ใหม่ทางการเงิน ความเชื่อมโยงระหว่างระบบเศรษฐกิจที่เพิม่ สูงขึ้น รวมทัง้ การเปิ ดเสรีทางการค้าและ การเงิน ส่งผลให้การเคลื่อนย้ายเงินทุนในระหว่างภูมภิ าคต่างๆ ของโลกเพิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว และต้นทุน การบริหารความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนทัง้ ในภาครัฐและเอกชนเพิม่ สูงขึน้ ในขณะที่การพัฒนาของ ตลาดทุนไทยยังไม่สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก ๒.๓ ความเสี่ ยงเชิ งระบบของสถาบันการเงิ น ซึ่งเป็ นผลกระทบของวิกฤตเศรษฐกิจโลกปี ๒๕๕๑ ยังไม่ได้รบั การจัดการดูแลอย่างจริงจัง หากไม่ดาเนินการแก้ ไขต่อไปอาจส่งผลกระทบรุนแรงใน อนาคต ด้วยเหตุน้ี ประเทศไทยจึงจาเป็ นต้องปรับปรุงการกากับดูแลสถาบันการเงินตามหลักเกณฑ์สากล Basel III ซึง่ จะมีการกาหนดมาตรการดารงเงินกองทุนและสภาพคล่องของสถาบันการเงินทีเ่ ข้มงวดขึน้ จนอาจส่งผลให้สถาบันการเงินตลอดจนภาคธุรกิจมีตน้ ทุนทางการเงินสูงขึน้ ๒.๔ การบริ ห ารจัด การทางการคลัง มี ข้ อ จ ากัด มากขึ้ น แม้ ว่ า จะมีก ารตัง้ เป้ าหมายให้ งบประมาณสมดุลในช่วงปลายแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ แต่ภาระงบประมาณรายจ่ายประจาปีตามเงื่อนไข ของรัฐธรรมนู ญ ปี 2550 ทัง้ รายจ่ายทางด้านการศึกษาและสาธารณสุข และรายจ่ายเงินอุด หนุ นให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ซึง่ เป็นรายจ่ายประจามีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ อย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ยงั มีความ เสี่ย งทางการคลัง ที่เ กิด จากการใช้จ่า ยเงิน นอกงบประมาณและการด าเนิ น กิจ กรรมกึ่ง การคลัง ผ่ า น รัฐวิสาหกิจและสถาบันการเงินเฉพาะกิจทีอ่ าจสร้างภาระต่องบประมาณในอนาคต ๒.๕ ผลิ ตภาพการผลิ ตในภาคการผลิ ตและบริ การยังอยู่ในระดับต่าท าให้ ประเทศไทย ไม่สามารถยกระดับความสามารถในการแข่งขันและขับเคลื่อนการเติ บโตทางเศรษฐกิ จได้ อย่าง ยังยื ่ น อันดับความสามารถในการแข่งขันของไทยจากสถาบัน IMD และ WEF ในปี ๒๕๕๓ อยู่ทอ่ี นั ดับ ั หาและ ๒๖ และอัน ดับ ๓๘ ตามล าดับ ซึ่ง ไม่เ ปลี่ยนแปลงจากเดิม มากนั ก ในระยะที่ผ่ า นมา โดยป ญ อุ ป ส ร ร ค ส า คั ญ ต่อ การพัฒนาและขับเคลื่อ นเศรษฐกิจไทยให้แข่งขันได้และเติบโตอย่างยังยื ่ นอยู่ท่คี วามอ่ อ นแอด้าน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพการบริการของโครงสร้างพื้นฐาน กฎหมาย กฎ และระเบียบทาง เศรษฐกิจทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการจัดระบบการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรมและเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจในปจั จุบนั รวมถึงการพึง่ พาการส่งออก การนาเข้าสินค้าทุน-พลังงาน และการลงทุนโดยตรงจาก ต่ างประเทศในสัด ส่ ว นสูง จนทาให้เ ศรษฐกิจไทยได้รบั อิทธิพ ลจากความผันผวนของป จั จัยภายนอก อย่างมีนยั สาคัญในช่วงทีผ่ ่านมา ๒.๖ บริ บทการเปลี่ยนแปลงของโลกอื่ นๆ อาทิ เช่ น ภาวะโลกร้อนซึ่ งส่ งผลให้ เกิ ดวิ กฤต ด้ านการเปลี่ ย นแปลงสภาพภูมิอากาศในโลก โครงสร้างประชากรโลกที่ เข้ าสู่สงั คมผู้สูงอายุ ก ฎ ร ะ เ บี ย บ แ ล ะ กฎ กติ กาใหม่ ๆ ในการบริ ห ารจัด การเศรษฐกิ จที่ มีความเข้ มงวด และการเปิ ดเสรีการค้ าการ ลงทุน ส่งผลให้ผปู้ ระกอบไทยต้องปรับกระบวนการผลิตไปสู่สงั คมคาร์บอนต่ า อุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นมิตรต่อ สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม


การยกระดับมาตรฐานการผลิตและการตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสังคม และการเสริมสร้างสมรรถนะ ทางธุรกิจเพื่อรองรับสภาพการแข่งขันทีจ่ ะทวีความรุนแรงมากขึน้ ในอนาคต


การสร้างภูมิค้มุ กัน

ผลการพัฒนาที่ผ่านมา การน้ อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใ ช้ ในการพัฒนา ประเทศ และวิถชี วี ติ วัฒนธรรม และภูมปิ ญั ญาไทยที่หลากหลาย เข้มแข็ง และเป็ นพลังต่อการพัฒนา ประเทศ ทาให้ประเทศไทยมีภูมคิ ุ้ มกันและความพร้อมในการเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง อย่างไรก็ตาม ความเสีย่ งทีป่ ระเทศไทยต้องเผชิญมีแนวโน้มทวีความรุนแรงมากขึน้ และเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนัน้ ประเทศไทยจาเป็นต้องเสริมสร้างจุดแข็งหรือภูมคิ ุม้ กันทีม่ อี ยู่ในภาคการผลิต รวมทัง้ พัฒนาภูมคิ ุม้ กันใหม่ เพื่อรองรับความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้น และใช้โอกาสที่เอื้ออานายให้เกิดประโยชน์ ต่อการพัฒนาประเทศได้ อย่างเหมาะสมและรูเ้ ท่าทัน ดังนี้ ๓.๑ ความมี เ สถี ย รภาพของระบบเศรษฐกิ จ โดยรวม เศรษฐกิจสามารถขยายตัว ได้ต าม ศักยภาพ รักษาระดับการจ้างงาน และมีการกระจายรายได้และความมังคั ่ งอย่ ่ างทัวถึ ่ งและเป็นธรรม ๓.๒ ความมีเสถียรภาพทางการคลังและประสิ ทธิ ภาพของนโยบายการคลัง มีฐานะการ คลังที่แข็งแกร่งเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม มีเครื่องมือทางการคลังทัง้ การ จัดเก็บภาษีและการจัดสรรงบประมาณทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อสนับสนุ นการดาเนิน นโยบายของรัฐบาลและ การประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจของภาคเอกชน ๓.๓ การมีระบบการเงิ นที่ สนับสนุนการเติ บโตทางเศรษฐกิ จ โดยตลาดเงินและตลาดทุนมี เสถีย รภาพและมีป ระสิท ธิภ าพ เร่ง ด าเนิ น การตามแผนพัฒ นาระบบสถาบัน การเงิน ระยะที่ ๒ และ แผนพัฒนาตลาดทุนเพื่อให้ตลาดเงินและตลาดทุนเป็ นแหล่งสนับสนุนเงินทุนและการให้บริการทางการเงิน แก่ทุกภาคส่วนอย่างทัวถึ ่ งและเป็นธรรม มีโครงสร้างพืน้ ฐานทางการเงินทีเ่ อื้อต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ อย่างยังยื ่ น และสามารถจัดการความเสีย่ งจากต้นทุนทางการเงินของภาคธุรกิจทีม่ แี นวโน้มสูงขึน้ ๓.๔ การปรับโครงสร้างการผลิ ตสู่การใช้ องค์ความรู้ ภูมิปัญญา วิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัต กรรม และความคิ ด สร้ างสรรค์ การผลิ ตที่ เ ป็ นมิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มตามหลักปรัช ญาของ เศรษฐกิ จพอเพียง การใช้ประโยชน์ จากศักยภาพที่ ประเทศไทยมีอยู่โดยเฉพาะภาคเกษตร บริ การ และเศรษฐกิ จสร้างสรรค์ รวมถึงการเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการใช้ พลังงานและการสนั บสนุ นการใช้ พลัง งานสะอาด ภายใต้ก ฎหมาย กฎ ระเบียบ และสภาวะแวดล้อ มทางเศรษฐกิจที่เ อื้อ ต่ อ การปรับ โครงสร้างเศรษฐกิจในทิศทางดังกล่าว รวมทัง้ การสร้างระบบการแข่งขันที่เท่าเทียมและเป็ นธรรม ซึ่งจะ สนับสนุนให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ๓.๕ การใช้ ป ระโยชน์ จ ากการเปลี่ ย นแปลงของสภาวะแวดล้ อ มหรื อ ปั จ จัย ภายนอก ประเทศได้ อย่างเหมาะสมและรู้เท่ าทัน อาทิ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมผู้บริโภคในตลาดหลักและ ต ล า ด เ กิ ด ใ ห ม่ การปรับเปลีย่ นกฎ ระเบียบ และกติการะหว่างประเทศทีส่ ่งผลกระทบต่อประเทศไทย และความก้าวหน้า ทางเทคโนโลยีทงั ้ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตหรือกระทบต่อวิถกี ารดาเนินชีวติ ของประชาชน ซึ่งจะ เป็ นปจั จัยสาคัญซึง่ สนับสนุ นการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เกิดผลลัพธ์ทเ่ี ป็ นรูปธรรม ขณะเดียวกัน ควร เตรียมความพร้อมรองรับและบรรเทาผลกระทบทางลบจากการเปลี่ยนแปลงและความผันผวนของปจั จัย ภายนอกด้วยเช่นเดียวกัน



วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์ ๔.๑.๑ เพื่อปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เจริญเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ๔.๑.๒ เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสร้างระบบการแข่งขันเสรีและเป็ นธรรม

๔.๑.๓ เพื่อให้ประเทศไทยมีความเชื่อมโยงกับเครือข่ายด้านการผลิตสินค้าและบริการบน ฐานปญั ญา นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ และเป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ในภูมภิ าคอาเซียน ๔.๒ เป้ าหมาย ๔.๒.๑ เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ๑) เศรษฐกิจขยายตัวอย่างเหมาะสมและมีเสถียรภาพ และอัตราเงินเฟ้อเฉลี่ยไม่ เกินร้อยละ ๓.๕ ต่อปี ๒) ผลิตภาพการผลิตรวมเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๓ ต่อปี โดยภาคเกษตรมี ผลิตภาพการผลิตเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๑.๕ ภาคอุตสาหกรรมไม่ต่ากว่าร้อยละ ๕ และภาคบริการ ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๓ ต่อปี ๓) เพิม่ สัดส่วนมูลค่าภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรให้ ได้ไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๑๕ ของ GDP และเพิม่ สัดส่วนมูลค่าภาคบริการให้ได้ไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๕๐ ของ GDP รวมทัง้ ยกระดับ อุตสาหกรรมสู่การผลิตทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ชุมชน และมีมลู ค่าสูง ๔) พัฒนาสินค้าและบริการสร้างสรรค์ให้มอี ตั ราการขยายตัวไม่ต่ ากว่าร้อยละ ๕ ต่อปี ๔.๒.๒ เลื่อนอันดับความสามารถในการแข่งขัน ทางเศรษฐกิจของประเทศโดย IMD เป็ น อันดับ ๑๖ ของโลกและเพิม่ อันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจให้เป็น ๑ ใน ๑๐ ของโลก ๔.๒.๓ เพิม่ สัดส่วนค่าใช้จ่ายการลงทุนเพื่อการวิจยั และพัฒนาเป็ นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑ ของ GDP โดยมีสดั ส่วนการลงทุนวิจยั และพัฒนาของภาคเอกชนต่อภาครัฐเพิม่ ขึน้ เป็น ๗๐:๓๐ ๔.๒.๔ ลดสัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ให้ต่ ากว่าร้อยละ ๑๕ และเพิม่ สัดส่วนการ ข น ส่ ง ทางรางเป็นร้อยละ ๕ ๔.๒.๕ เพิม่ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกต่อปริมาณการใช้พลังงาน ขัน้ สุดท้ายไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๙ ลดสัดส่วนการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศลงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓ แ ล ะ ลดความเข้มการใช้พลังงานลงร้อยละ ๒ ๔.๓ ดัชนี ชี้วดั ๔.๓.๑ ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ๔.๓.๒ อัตราเงินเฟ้อ


๔.๓.๓ ผลิตภาพการผลิตรวมและรายสาขาการผลิต ๔.๓.๔ สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมสาขาเกษตร อุตสาหกรรม และบริการ ต่อ GDP ๔.๓..๕ อัตราการขยายตัวของสินค้าและบริการสร้างสรรค์ ๔.๓.๖ อันดับความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศทีจ่ ดั ทาโดย IMD และ อันดับความสามารถในการประกอบธุรกิจโดยธนาคารโลก ๔.๓.๗ สัดส่วนค่าใช้จ่ายการลงทุนเพื่อการวิจยั และพัฒนาต่อ GDP และสัดส่วนการลงทุน วิจยั และพัฒนาของภาคเอกชนต่อภาครัฐ ๔.๓.๘ สัดส่วนต้นทุนโลจิสติกส์ต่อ GDP ๔.๓.๙ สัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือกต่ อปริมาณการใช้พลังงาน ขัน้ สุดท้าย สัดส่วนการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศต่อการใช้พลังงานทัง้ หมด และความเข้มการใช้ พลังงาน

แนวทางการพัฒนา

ผลการพัฒนาที่ผ่านมาชีใ้ ห้เห็นว่าโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยไม่สามารถรองรับการเจริญเติบโต ได้อ ย่า งยังยื ่ น และยัง ต้อ งพึ่ง พิง และเผชิญ กับ การเปลี่ย นแปลงจากป จั จัย ภายนอกประเทศมากขึ้น ตามล าดับ นอกจากนี้ ระบบเศรษฐกิจ ของไทยยัง มี ค วามอ่ อ นแอด้า นป จั จัย สนั บ สนุ น ในส่ ว นของ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คุณภาพการให้บริการของโครงสร้างพืน้ ฐาน กฎหมาย กฎ และระเบียบทาง เศรษฐกิจทีไ่ ม่เอือ้ ต่อการจัดระบบการแข่งขันทีเ่ ป็นธรรมและเหมาะสมกับสถานการณ์การเปลีย่ นแปลงทาง เศรษฐกิจ อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยมีภูมคิ ุม้ กันทางเศรษฐกิจอยู่แล้ว แต่ยงั ไม่เพียงพอทีจ่ ะขับเคลื่อนไป อ ย่ า ง มั ่ น ค ง ใ น ส ถ า น ก า ร ณ์ การเปลีย่ นแปลงทีด่ าเนินอยูใ่ นปจั จุบนั ดังนัน้ ทิ ศทางการพัฒนาในระยะต่ อไปจะต้องให้ความสาคัญ กั บ การปรับ โครงสร้ า งเศรษฐกิ จ สู่ ก ารพัฒ นาที่ มี คุณ ภาพและยัง่ ยื น โดยใช้ ปั ญ ญา ความรู้ และ ความคิ ดสร้างสรรค์ เป็ นพื้นฐานสาคัญในการขับเคลื่อน ภายใต้ ปัจจัยสนับสนุนที่ เอื้ออานวยและ ระบบการแข่งขันที่เป็ นธรรม พร้อมทัง้ ใช้โอกาสจากปัจจัยภายนอกให้ เกิ ดประโยชน์ กบั ประเทศได้ อย่างเหมาะสม ซึ่ งจะเป็ นแนวทางหนึ่ งในการสร้างภูมิค้ มุ กันให้ กบั ประเทศเมื่อเกิ ดความผันผวน จากปัจจัยภายนอกประเทศ รวมทัง้ จะต้ องสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิ จให้ เกิ ดขึ้นจากปัจจัย ภายในประเทศเป็ นสาคัญ ๕.๑ การปรับโครงสร้างเศรษฐกิ จโดยใช้ เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิ ดสร้างสรรค์ เป็ นพื้นฐานสาคัญในการขับเคลื่อนสู่การพัฒนาที่ ยงยื ั ่ นและมีคณ ุ ภาพ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๕.๑.๑ ปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุน ให้สอดคล้องกับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ของเอเชีย ตะวันออกกลาง แอฟริกาและเศรษฐกิจภายในประเทศ โดย


๑) เสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพด้านการตลาดและการกระจายผลผลิ ตไปสู่ตลาด เอเชี ยและแอฟริ กา โดยส่งเสริมภาคเอกชนในการกระจายตลาดสินค้าไปสู่ตลาดใหม่ท่มี ศี กั ยภาพทัง้ ตลาดเอเชียและแอฟริกา และกลุ่มเศรษฐกิจต่างๆ ทัง้ ระดับทวิภาคีและพหุภาคี สร้างโอกาสทางการตลาด และดูแลรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร เชื่อมโยงการกระจายผลผลิตจากแหล่งผลิตไปยังผู้บริโภค ร ว ม ทั ้ ง พั ฒ น า การให้บริการของกิจการคลังสินค้า ไซโล และห้องเย็น ตลอดจนพัฒนาสินค้าทีม่ เี ครื่องหมายการค้าของ ต น เ อ ง ทีเ่ น้นคุณภาพและมาตรฐานมีการวางระบบการขายและกระจายสินค้าอย่างครบวงจร ด้วยการสนับสนุ น การใช้กลไกการประสานความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐในต่างประเทศ ๒) พัฒนาสิ นค้ าและบริ การให้ ส อดคล้ องกับความต้ อ งการของตลาดใหม่ โดยศึกษาพฤติกรรมการบริโภคในเชิงลึกของผูบ้ ริโภคในตลาดเป้าหมายทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงไปตามระดับ รายได้ทเ่ี พิม่ ขึน้ โดยเฉพาะกลุ่มผูบ้ ริโภครายได้ปานกลางในจีนและอินเดีย ที่มแี นวโน้มจะเป็ นกาลังซือ้ หลัก ของประเทศ รวมทัง้ ศึกษากฎระเบียบและมาตรการที่มใิ ช่ภาษีรูปแบบใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ทัง้ ที่เอื้อประโยชน์ และเป็นอุปสรรคในการส่งออกของไทยไปยังตลาดใหม่ ตลอดจนให้ความสาคัญกับการส่งเสริมและกระตุ้น ผู้ประกอบการไทยให้นามาตรฐานสากลมาใช้ในการผลิต รวมทัง้ มุ่งเน้ นการสร้างมูลค่าเพิม่ และความ แตกต่างให้กบั สินค้าและบริการ เพื่อพัฒนาไปสู่อุตสาหกรรมและบริการสร้างสรรค์มากขึน้ ๓) ผลักดันการจัดทาความตกลงการค้ าเสรี และเร่งรัดการใช้ ประโยชน์ จาก ข้อตกลงที่ มีผลบังคับใช้ แล้ว พร้อมทัง้ วางแนวทางป้ องกันผลเสี ยที่ จะเกิ ดขึ้น โดยเร่งขยายความ ร่วมมือทางเศรษฐกิจผ่านความตกลงเขตการค้าเสรี และสนับสนุ นการใช้ประโยชน์ จากข้อตกลงการค้า การลงทุนที่มผี ลบังคับใช้แล้ว พร้อมทัง้ กาหนดมาตรการการให้ความช่วยเหลือผู้ท่ไี ด้รบั ผลกระทบ และ เปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องได้เข้ามามีส่วนร่วมในการกาหนดท่าทีเจรจาการค้าระหว่างประเทศ ตลอดจนสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกีย่ วกับกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจและความตกลงการค้าเสรีต่างๆ เพื่อเตรียมพร้อมในการพัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ มาตรฐานต่างๆ รวมทัง้ บริบท ของการเปลีย่ นแปลงของโลกทีส่ ่งผลต่อความต้องการของตลาดในอนาคต ๔) ส่ งเสริ มการลงทุนที่ ยงยื ั ่ นและสร้างความสมดุลของการเจริ ญเติ บโตใน ทุ ก มิ ติ ท ัง้ ด้ า นเศรษฐกิ จ สัง คม และสิ่ ง แวดล้ อ ม โดยให้ค วามส าคัญ กับ การลงทุ น ที่เ ป็ น มิต รต่ อ สิง่ แวดล้อ มและชุมชน และสร้างแรงจูงใจให้เ กิดการลงทุนในอุต สาหกรรมฐานปญั ญาและความรู้ท่ใี ช้ เทคโนโลยีขนั ้ สูงและเทคโนโลยีการลดคาร์บอน ๕) ส่ ง เสริ ม ผู้ป ระกอบการไทยในการขยายการลงทุ น ไปสู่ ต่ า งประเทศ โดยเฉพาะในประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อแก้ ไขปญั หาการขาดแคลนแรงงานและวัตถุ ดบิ ในประเทศ และใช้ ประโยชน์จากสิทธิพเิ ศษ (GSP) ของประเทศเพื่อนบ้านในการผลิตเพื่อส่งออก รวมทัง้ เร่งสร้างมูลค่าเพิม่ โดยการสร้างตราสัญลักษณ์ และสร้างเครือข่ายธุรกิจโดยการหาตัวแทนและหุน้ ส่วนในต่างประเทศ ๖) ส่งเสริ มและพัฒนาวิ สาหกิ จขนาดกลางและขนาดย่อมให้ สามารถเติ บโต ได้อย่างมีคณ ุ ภาพ โดยส่งเสริมการยกระดับองค์ความรูแ้ ละทักษะของผูป้ ระกอบการ ทัง้ ในด้านการผลิต การตลาด และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการดาเนินธุรกิจ รวมทัง้ พัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ ทัง้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ภูมปิ ญั ญาท้อ งถิ่น และความคิดสร้างสรรค์ ในการสร้างนวัตกรรม ตลอดจน พัฒนาความสามารถในการบริห ารจัดการธุรกิจอย่างมีธ รรมาภิบาล นอกจากนี้จะต้องมีมาตรการทาง การเงินทีเ่ หมาะสมเพื่อช่วยเหลือผูป้ ระกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมให้สามารถเข้าถึงแหล่ง เงินทุนทีช่ ่วยต่อยอดธุรกิจหรือช่วยให้สามารถประคองหรือปรับปรุงธุรกิจได้ ๕.๑.๒ ปรับโครงสร้างภาคบริ การให้สามารถสร้างมูลค่าเพิม่ กับสาขาบริการทีม่ ศี กั ยภาพ และเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม บนฐานความคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม โดย ๑) เสริ มสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิ จบริ การที่ มีศกั ยภาพ สู่ธุรกิ จเชิ งสร้างสรรค์ โดยสนับสนุ นการวิจยั พัฒนาและสร้างนวัตกรรมให้กบั ธุรกิจ ส่งเสริมการใช้องค์


ความรู้แ ละเทคโนโลยีใ หม่ๆ ในการพัฒ นาสิน ค้า และบริก าร และส่ ง เสริมการลงทุ น ธุ รกิจ บริก ารที่ม ี ศัก ยภาพ โดยอาศัยความได้เ ปรียบของทาเลที่ต งั ้ ทางภูมศิ าสตร์ ของประเทศ ความหลากหลายทาง ชีวภาพและวัฒนธรรม และเอกลักษณ์ความเป็ นไทย ตลอดจนสามารถรองรับการเปิดเสรีทางการค้าและ กระแสความต้องการของตลาดโลก ได้แก่ ธุรกิจการท่องเทีย่ ว ธุรกิจบริการสุขภาพ ธุรกิจบริการโลจิสติกส์ ธุรกิจภาพยนตร์ ธุรกิจการจัดประชุมและแสดงนิทรรศการนานาชาติ เป็นต้น ๒) ขยายฐานการผลิ ตและการตลาดภาคธุรกิ จบริ การที่ มีศ กั ยภาพออกสู่ ตลาดต่ างประเทศ โดยพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของผู้ประกอบการตลอดห่วงโซ่การผลิต แ ล ะ บ ริ ก า ร สนับสนุนมาตรการด้านการเงินและภาษีให้ทดั เทีย มกับประเทศคู่แข่ง ส่งเสริมการค้นหาและบุกเบิกตลาด ใหม่ ๆ ที่ม ีศ ัก ยภาพ เสริม สร้า งเครือ ข่ า ยความร่ ว มมือ ของธุ ร กิจ ที่เ กี่ย วเนื่ อ งกับ การลงทุ น ในตลาด ต่างประเทศเพื่อ สนับสนุ นการขยายตลาดของธุรกิจบริการที่มศี กั ยภาพของไทย พัฒนาศักยภาพของ บุค ลากรให้มที กั ษะการบริหารและความเชี่ยวชาญในสายอาชีพ และพัฒนามาตรฐานธุรกิจและวิชาชีพให้ เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล ๓) พัฒนาปัจจัยแวดล้อมให้ เอื้อต่ อการลงทุนภายในประเทศและดึ งดูดการ ลงทุนจากต่ างประเทศในภาคบริ การ โดยปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการของโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาระบบฐานข้อ มูล ภาคบริก ารโดยรวมของประเทศและข้อ มูล เชิงลึกในสาขาบริการที่มศี ักยภาพ ปรับปรุงกฎระเบียบและสิทธิประโยชน์ให้เอือ้ ต่อการลงทุน ส่งเสริมการวิจยั พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการประกอบธุรกิจ ส่งเสริมธุรกิจบริการที่เป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ตลอดจนผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มศี กั ยภาพสอดคล้องกับความต้องการของธุรกิจ ๔) ฟื้ นฟูและพัฒนาคุณภาพแหล่งท่ องเที่ ยวให้ สอดคล้องกับความต้ องการ ของตลาด โดยการฟื้ นฟูพ ฒ ั นาแหล่ งท่อ งเที่ยวหลักที่เสื่อ มโทรม พัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ ของธุ รกิจ ท่องเที่ยวในกลุ่มพื้นที่ท่มี ศี กั ยภาพสูง ส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับศักยภาพของพื้นที่ และกระแสความต้อ งการของตลาดโลก เช่น การท่อ งเที่ยวเชิงสุ ขภาพ การท่ อ งเที่ย วเชิงนิเ วศ การ ท่องเทีย่ วเชิงศึกษาเรียนรูป้ ระวัตศิ าสตร์ วัฒนธรรม และสัมผัสวิถชี วี ติ ชุมชน รวมทัง้ ส่งเสริมการดาเนินกล ยุทธ์ทางการตลาดรูปแบบใหม่ทส่ี ามารถเข้าถึงกลุ่มลูกค้าและขยายไปยังตลาดใหม่ๆ ทีม่ ศี กั ยภาพ ๕) บริ ห ารจัด การการท่ อ งเที่ ย วให้ เ กิ ด ความสมดุ ล และยัง่ ยื น โดยให้ ความสาคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม คานึงถึงความสมดุล และความสามารถในการรองรับของแหล่งท่องเที่ยว พัฒนายกระดับมาตรฐานสินค้าและบริการ พัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานให้มคี ุณภาพและเพียงพอ และบูรณาการการท่องเทีย่ วให้เชื่อมโยงกับวิถชี วี ติ วัฒนธรรม ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงสาขาการผลิตและบริการอื่นๆ ๖) เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ง ของท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชน ผู้ป ระกอบการรายย่ อ ย วิ สาหกิ จชุมชน และบุคลากรภาครัฐ เพื่อร่วมกันพัฒนาและเชื่อมโยงกับสาขาการผลิตและบริการที่ เกี่ยวเนื่องในพื้นที่ตามแนวทางการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจ พัฒนาทักษะและองค์ความรูข้ องบุคลากร ภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ และชุมชน รวมทัง้ เสริมสร้างศักยภาพของผูป้ ระกอบการวิสาหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อ มให้ส ามารถปรับ ตัว เพื่อ รองรับ ผลกระทบต่ า งๆ ที่อ าจจะเกิด ขึ้น จากการ เปลีย่ นแปลงเงือ่ นไขตามกฎระเบียบใหม่ของโลก ๕.๑.๓ พัฒนาเศรษฐกิ จสร้างสรรค์ โดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๑) สนับสนุนการพัฒนาธุรกิ จสร้างสรรค์ตามแนวทางเครือข่ายวิ สาหกิ จ ทีม่ ี การเชื่อมโยงและทางานร่วมกันอย่างมีทศิ ทางทีช่ ดั เจนของธุรกิจสร้างสรรค์ ตลอดห่วงโซ่อุปทาน ให้มกี าร แลกเปลี่ยนเรียนรูแ้ ละพัฒนาการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรมที่ เกี่ยวข้องและสนับสนุ นในการผลิตสินค้าและบริการ การจัดจาหน่ าย และการดาเนินกิจกรรมเชิงพาณิชย์ และส่งเสริมการแข่งขันของธุรกิจที่เป็ นธรรมเพื่อการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสินค้าและบริการที่


สูงขึน้ ตลอดจนส่งเสริมการปรับบทบาทของสถาบันหรือหน่ วยงานที่เกี่ยวข้องให้สนับสนุ นการเชื่อมโยง เป็นเครือข่ายของธุรกิจสร้างสรรค์ ๒) ส่งเสริ มการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ โดยการพัฒนาปจั จัยแวดล้อมด้านต่างๆ ของพื้นที่หรือเมือง ทัง้ ในด้านโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ ทรัพยากรมนุ ษย์ กฎระเบียบ การบริหาร จัดการทีเ่ อือ้ ต่อการพัฒนาเครือข่ายวิสาหกิจของธุรกิจสร้างสรรค์ทม่ี กี ารสร้างสรรค์สนิ ค้าและบริการใหม่ๆ ที่ม ีเ อกลัก ษณ์ แ ละสะท้อ นอัต ลัก ษณ์ ข องพื้น ที่ห รือ เมือ ง สามารถดึง ดูด การลงทุ น ของธุ ร กิจต่ า งๆ ที่ เกี่ย วข้อ ง เข้า มาในพื้น ที่ห รือ เมือ ง รวมทัง้ ส่ ง เสริม การลงทุ น ในโครงสร้า งพื้น ฐานต่ า งๆ เพื่อ สร้า ง บรรยากาศและสภาวะทีเ่ อือ้ อานวยต่อการเรียนรูแ้ ละการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ อาทิ การพัฒนาแหล่ง เรียนรู้ พื้นทีส่ าธารณะรูปแบบต่างๆ การจัด กิจกรรม และงานแสดงสินค้าและบริการสร้างสรรค์ เพื่อเป็ น ช่องทางหรือเวทีในการพัฒนาและแสดงออก ของนักคิดและนักสร้างสรรค์สาขาต่างๆ ๓) เสริ มสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการและบุคลากรในการใช้ ความคิ ด สร้ า งสรรค์เ พื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า ของสิ น ค้ า และบริ ก ารทุ ก สาขา โดยพัฒ นาทัก ษะและองค์ค วามรู้ ข อง ผูป้ ระกอบการธุรกิจโดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และบุคลากรสร้างสรรค์ทส่ี าคัญในธุรกิจ ต่างๆ ของห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ทงั ้ ด้านการออกแบบ การวิจยั และพัฒนา การสร้าง นวัตกรรม การบริหารจัดการธุรกิจ เทคโนโลยี และการตลาด โดยใช้ศลิ ปวัฒนธรรมแบบดัง้ เดิมและร่วม สมัยเป็ นพื้นฐาน ผสมผสานการใช้เทคโนโลยี เพื่อสร้างความแตกต่างและความโดดเด่นของสินค้าและ บริการที่ตรงกับความต้องการของตลาด รวมทัง้ เสริมสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจสร้างสรรค์ให้สามารถ ปรับเปลี่ยนการดาเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับสถานการณ์แวดล้อมภายในและภายนอกประเทศที่มกี าร เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว รวมทัง้ สนับสนุ นการศึกษาวิจยั ในประเด็นสาคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนา เศรษฐกิจสร้างสรรค์ และเร่งพัฒนาฐานข้อมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาต่างๆ ๔) พัฒนาระบบการเงิ นเพื่อสนับสนุนการลงทุนและการพัฒนาอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ โดยการจัดหาหรืออานวยความสะดวกในการเข้าถึง แหล่งเงินทุนทีม่ ตี ้นทุนทีเ่ หมาะสมสาหรับ ธุรกิจสร้างสรรค์ทย่ี งั ขาดแคลนเงินลงทุน เช่น กองทุนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กองทุนต่างๆ เพื่อสนับสนุ น ผูป้ ระกอบการธุรกิจ สถาบันการเงินต่างๆ เป็ นต้น เพื่อให้ผปู้ ระกอบการและผูท้ ่ีมคี วามประสงค์จะดาเนิน ธุรกิจสร้างสรรค์สามารถก่อตัง้ ดาเนินกิจการ และพัฒนาธุรกิจได้ ๕) ส่ ง เสริ มการจดทะเบีย น การใช้ และการคุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญา เพื่อเป็ นปัจจัยขับเคลื่อนการเติ บโตของธุรกิ จสร้างสรรค์ โดยสร้างความตื่นตัวและความตระหนักของ ธุ ร กิ จ แ ล ะ ทุกภาคส่วนถึงความสาคัญของทรัพย์สนิ ทางปญั ญาทีม่ ตี ่อการสร้างมูลค่าเพิม่ ต่อยอดการเติบโตของธุรกิจ และยกระดับมาตรฐานของสินค้าและบริการ เร่งรัดการลดขัน้ ตอนและความซับซ้อนในการจดทะเบียน ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา เพื่ออานวยความสะดวกแก่ธุรกิจสร้างสรรค์ในการครอบครองทรัพย์สนิ ทางปญั ญาได้ อย่างรวดเร็ว ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของตลาดมากขึน้ รวมทัง้ บังคับใช้กฎหมายเพื่อควบคุมการละเมิด ทรัพย์สนิ ปญั ญาอย่างมีประสิทธิภาพ ๕.๑.๔ พัฒ นาภาคเกษตรบนฐานการเพิ่มผลิต ภาพในการผลิต และยกระดับการสร้า ง มูลค่าเพิม่ ด้วยเทคโนโลยีและกระบวนการทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม รวมถึงปรับปรุงฟื้นฟูคุณภาพดินและ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้น้ า สนับสนุ นการผลิตทางการเกษตรทีส่ อดคล้องกับสภาพพืน้ ที่ พัฒนาคุณภาพ


มาตรฐานของผลิต ภัณ ฑ์แ ปรรูปสินค้าเกษตร เพิ่มมูล ค่ าสินค้าเกษตร และพัฒนาปจั จัยแวดล้อ มด้าน การเกษตร เช่น ระบบโลจิสติกส์ของภาคเกษตร เป็ นต้น (รายละเอียดปรากฏในยุทธศาสตร์สร้างความ เข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ งงานของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑) ๕.๑.๕ พัฒ นาภาคอุต สาหกรรมที่มุ่ง การปรับ โครงสร้า งอุ ต สาหกรรมให้ย งยื ั ่ นและมี คุณภาพ ด้วยการเน้ นการใช้ความรูด้ ้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ สู่อุตสาหกรรม ฐานความรูเ้ ชิงสร้างสรรค์ และเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม โดย ๑) พัฒ นาเมื อ งอุ ต สาหกรรมเชิ งนิ เวศและฟื้ นฟู สิ่ งแวดล้ อ มในพื้ น ที่ อุต สาหกรรมหลักของประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง โดยการสร้า งความตระหนัก ถึง การอยู่ร่ว มกันของ อุตสาหกรรมและชุมชน และส่งเสริมให้ภาคเอกชน ชุมชน สถาบันการศึกษาและภาครัฐร่วมกันพัฒนา ตัง้ แต่การกาหนดกรอบแนวทางการพัฒนา มาตรฐานขององค์ประกอบทีจ่ าเป็ นของอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ กาหนดมาตรการการบริหารจัดการคุณภาพสิง่ แวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และผลกระทบด้านสุขภาพ ของประชาชนในพื้นที่ ไปจนถึง การมีศู นย์เ ฝ้ าระวัง คุ ณ ภาพสิ่ง แวดล้อ มในพื้นที่ กาหนดมาตรการให้ ภาคเอกชนลงทุนเพื่อฟื้นฟูสงิ่ แวดล้อมร่วมกับชุมชนและภาคราชการในรู ปแบบการสนับสนุ นกิจการเพื่อ สังคม รวมทัง้ เตรียมพัฒนาพื้นที่เ ศรษฐกิจหลักแห่งใหม่ โดยการกาหนดเขตพื้นที่สาหรับการพัฒนา อุตสาหกรรมในแต่ละพืน้ ทีใ่ ห้มขี นาดทีเ่ หมาะสมสอดคล้องกับขนาดของชุมชนและขีดความสามารถในการ รองรับของพื้นที่ และจัดทาข้อมูลขีดความสามารถการรองรับมลพิษของพื้นที่เพื่อเป็ นเกณฑ์กากับการ พัฒนาอุตสาหกรรมให้มสี มดุลกับพืน้ ทีแ่ ละชุมชน ๒) พัฒ นาและส่ ง เสริ มอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปบนฐานความรู้ ความคิด สร้างสรรค์ ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ และนวัตกรรมเพื่อเพิม่ มูลค่าและยกระดับสินค้าให้มคี ุณภาพ เป็ นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม มีความปลอดภัยตามมาตรฐานสากล และสร้างโอกาสทางการตลาด โดยสนับสนุ นให้มกี าร รวมกลุ่มพัฒนาในลักษณะเครือข่ายวิสาหกิจ โดยสร้างเครือข่ายความร่วมมือและเชื่อมโยงการผลิตกับ วิสาหกิจหรือธุรกิจอื่นๆ และหน่ วยงานต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง รวมทัง้ ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาด้านการผลิต และแปรรูปสินค้า ๓) เพิ่ ม ผลิ ต ภาพและประสิ ท ธิ ภ าพภาคอุต สาหกรรม โดยการพัฒ นา ป จั จัย พื้ น ฐานที่ส่ ง เสริม ประสิท ธิ ภ าพและยกระดับ มาตรฐานการผลิต สนั บ สนุ น การประยุ ก ต์ ใ ช้ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในการสร้างคุณค่าสินค้าอุตสาหกรรม รวมทัง้ ประสานความร่วมมือ การพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา และสถาบันเฉพาะทางในการฝึ กอบรมบุคลากร ให้มที กั ษะ มีการใช้ความคิดสร้างสรรค์ และองค์ความรู้ ทีส่ ามารถรองรับต่อกฎกติกาในรูปแบบใหม่ๆ ๔) ส่ งเสริ มและสนั บสนุ นให้ มีการเชื่ อ มโยงการผลิ ตภาคอุตสาหกรรมกับ อุตสาหกรรมท้ อ งถิ่ น และกระจายการพัฒนาอุตสาหกรรมไปสู่ภมู ิ ภ าค โดยสร้างความเชื่อมโยง ระหว่างผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมและผู้ประกอบการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กับภาคอุตสาหกรรม ผ่านระบบห่วงโซ่อุปทาน และเน้ นการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมทีใ่ ช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม ควบคู่ไปกับการสร้างการจับคู่ทางธุรกิจเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีและ นวัตกรรมร่วมกัน ๕.๒ การพัฒ นาระบบการแข่ งขันที่ มีประสิ ท ธิ ภ าพ เท่ าเที ยม และเป็ นธรรม โดยมีแนว ทางการดาเนินงาน ดังนี้


๕.๒.๑ พัฒนาปัจจัยการผลิ ต ให้เอือ้ ต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ โดย ๑) พัฒนาตลาดเงิ นและตลาดทุนให้เอื้อต่อการปรับโครงสร้างภาคการผลิตและ บริการ และเป็นช่องทางการออมเงินของประชาชน โดย (๑) พัฒ นาระบบสถาบัน การเงิ นให้ม ีเ สถีย รภาพ ประสิท ธิภ าพ และ ลด ต้นทุน โดยพัฒนาระบบโครงสร้างพืน้ ฐานและระบบรักษาความปลอดภัยทีเ่ อื้อต่อ การให้บริการและพัฒนา บุคลากรในภาคการเงิน สนับสนุ นการให้บริการทางการเงินด้วยช่องทางอิเล็กทรอนิ กส์ นอกจากนี้ ควร เร่งรัดดาเนินการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงินระยะทีส่ อง และแผนพัฒนาสถาบันการเงินเฉพาะกิจ รวมทัง้ การปฏิรปู ระบบกากับดูแลและพัฒนาระบบบริหารความเสีย่ งของสถาบันการเงินให้ มคี วามเข้มงวด แ ล ะ ค ร อ บ ค ลุ ม มากขึน้ (๒) ส่งเสริ มให้ ทุกภาคส่วนเข้าถึงแหล่งเงิ นทุนอย่างเท่ าเที ยมด้วยต้ นทุน ที่เหมาะสม โดยกากับดูแลการดาเนินงานของธนาคารพาณิชย์ให้เอือ้ ต่อการให้บริการประชาชนและธุรกิจ อย่างทัวถึ ่ งภายใต้การบริหารความเสีย่ งทีด่ ี ซึง่ จะเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงานของวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดย่อม ผูป้ ระกอบการรายใหม่ และกลุ่มผู้มรี ายได้น้อย รวมทัง้ ให้สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ เข้ามาเติมเต็มช่องว่างการให้บริการของสถาบันการเงินเอกชน และควรเพิม่ บทบาทของธุรกิจร่วมลงทุน แ ฟ ค ต อ ริ่ ง แ ล ะ ลีสซิง่ ให้มมี ากขึน้ (๓) เพิ่ ม ศัก ยภาพและความครอบคลุ ม ของการให้ บ ริ ก ารของระบบ การเงิ นฐานราก โดยสนับสนุ นและพัฒนาขีดความสามารถในการดาเนินงานขององค์กรการเงินชุมชน และสหกรณ์ทุกระดับ สร้างความเข้มแข็ง ยกระดับมาตรฐานการดาเนินงาน สร้างกลไกเชื่อมโยงเงินทุน ระหว่างกลุ่มการเงินด้วยกัน และกลุ่มการเงินกับสถาบันการเงิน เพื่อให้เป็ นแหล่งสนับสนุ นเงินทุนและเป็ น กลไกสาคัญในการปลูกฝงั นิสยั การออมเงินและการบริหารจัดการด้านการเงินในระดับครัวเรือน (๔) สร้ า งความรู้ ค วามเข้ า ใจทางการเงิ น สร้า งวินั ย ทางการเงิน ให้แ ก่ ประชาชนและผู้ประกอบการรายย่อย และส่งเสริมการออมโดยเฉพาะภาคครัวเรือน กาหนดให้องค์กร นายจ้าง และสถาบันการเงินมีหน้าทีใ่ นการสร้างความรูค้ วามเข้าใจทางการเงิน ทัง้ ด้านการออม การลงทุน การบริหารความเสี่ยง การวางแผนการเงินส่วนบุคคล สนับสนุ นการทาบัญชีรายรับรายจ่าย และสร้าง ความเข้าใจถึงความเสีย่ งของเงินกูน้ อกระบบ ๒) พัฒนากาลังแรงงานและตลาดแรงงานให้สมดุลกับภาคการผลิตและบริการ โดย (๑) เพิ่ม ขีด ความสามารถของผู้จ บการศึก ษาในทุ ก ระดับ โดยเฉพาะด้า น วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ให้มมี าตรฐานสอดคล้องกับความต้องการของสาขาเกษตร อุตสาหกรรม และ บริการ เพื่อรองรับการเปลีย่ นแปลงของตลาดแรงงานและความก้าวหน้าของเทคโนโลยี (๒) ยกระดับคุณภาพทุนมนุษย์โดยการดาเนินการร่วมกันทัง้ ภาครัฐ ภาคธุรกิจ เอกชน และสถาบันการศึกษาและการฝึกอบรม ในการต่อยอดความรูค้ วามสามารถให้มคี วามเชีย่ วชาญ และความชานาญการเฉพาะทาง เพื่อเพิม่ ผลิตภาพทุนมนุ ษย์และเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขันของ ป ร ะ เ ท ศ ควบคู่กบั การสนับสนุ นการใช้ระบบคุณวุฒวิ ชิ าชีพ และระบบมาตรฐานฝีมอื แรงงานทีม่ คี วามเชื่อมโยงกัน ทัง้ ระบบมาตรฐานอาชีพและค่าตอบแทนทีเ่ ป็นไปตามความสามารถและสมรรถนะของกาลังแรงงาน


(๓) จัดทาฐานข้อมูลแรงงานแห่งชาติเพื่อเป็ นศูนย์รวมของข้อมูลตลาดแรงงาน ไทยทัง้ ในด้านกาลังแรงงานและความต้องการจาแนกตามรายสาขาเศรษฐกิจ ระดับการศึกษา และคุณวุฒ ิ วิชาชีพ รวมทัง้ ข้อมูลแรงงานข้ามชาติท่เี ป็ นระบบ เพื่อเป็ นฐานข้อมูลที่ใช้ในการจับคู่ให้เกิดความสมดุล ระหว่างกาลังแรงงานกับความต้องการในตลาดแรงงาน รวมทัง้ เป็ นฐานข้อมูลประกอบการตัดสินใจเชิง นโยบายแรงงาน เพื่อให้กาลังแรงงานได้ทางานตามศักยภาพและขีดความสามารถซึง่ จะช่วยสนับสนุ นการ เ พิ่ ม ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ แ ล ะ ความยืดหยุน่ ของกาลังแรงงาน ๕.๒.๒ พัฒนาวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ จยั และนวัตกรรม ให้เป็ นพลังขับเคลื่อนการ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้เติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ที่เน้ นการนาความคิดสร้างสรรค์ ทรัพย์สนิ ั ทางปญญา วิจยั และพัฒนา ไปต่ อยอด ถ่ ายทอด และประยุกต์ใช้ประโยชน์ ทงั ้ เชิงพาณิชย์ สังคม และ ชุมชน โดย ๑) สร้ า งสภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ อ านวยต่ อ การพั ฒ นาและประยุ ก ต์ ใ ช้ วิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ จยั และนวัตกรรม เพื่ อส่ งเสริ มการใช้ ความคิ ดสร้างสรรค์และสร้าง มู ล ค่ า เ พิ่ ม ใ ห้ กั บ ภาคการผลิ ต (๑) ปฏิรปู ระบบการให้สงิ่ จูงใจทัง้ ด้านการเงินการคลังและอื่นๆ โดยลดขัน้ ตอน ปฏิบตั ใิ นกระบวนการให้สทิ ธิประโยชน์ให้มคี วามคล่องตัวเอื้อต่อการปฏิบตั จิ ริง เพิม่ มาตรการจูงใจทัง้ ด้าน การเงิน การคลัง และอื่นๆ ในรูปการร่วมทุนหรือการจัดตัง้ กองทุนวิจยั ร่วมภาครัฐและเอกชน ให้สทิ ธิ ประโยชน์ด้านภาษีทค่ี รอบคลุมถึง การพัฒนาเทคโนโลยี และปรับปรุงกฎหมายกฎระเบียบทีเ่ ป็ นอุปสรรค ต่อการทาวิจยั และพัฒนาและการใช้ประโยชน์ (๒) มีมาตรการส่งเสริมโครงการลงทุนวิจยั และพัฒนาขนาดใหญ่ในสาขาทีเ่ ป็ น เป้าหมายการพัฒนาประเทศ และมาตรการดูดซับเทคโนโลยีจากการลงทุนตรงจากต่างประเทศ รวมทัง้ ส่งเสริมการเลี้ยงและใช้สตั ว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ท่ไี ด้มาตรฐานสากลเพื่อเป็ นพื้นฐานในการพัฒนา ั ญา อาทิ มีก ลไกสนั บ สนุ น การจด อุ ต สาหกรรมเกี่ย วเนื่ อ ง ตลอดจนส่ ง เสริม ระบบทรัพ ย์ส ิน ทางป ญ สิ ท ธิ บั ต ร ใ น ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ มีระบบการบริหารจัดการทรัพย์สนิ ทางปญั ญาทีม่ ปี ระสิทธิภาพ รวมถึงสิทธิในการครอบครองลิขสิทธิ ์ใน ผลิตภัณฑ์ทจ่ี ดสิทธิบตั รในต่างประเทศ (๓) ปรับระบบบริหารจัดการด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม ให้มเี อกภาพและประสิทธิภาพ โดยมีการประสานและเชื่อมโยงการทางานระหว่างหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องทัง้ ในระดับนโยบายและระดับปฏิบตั ทิ งั ้ ในภาครัฐและเอกชนอย่างมีบูรณาการ และมีระบบติดตามประเมินผล การดาเนินงาน ๒) พัฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานทางวิ ทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ จัย และ นวัตกรรมให้ทวถึ ั ่ งและเพียงพอทัง้ ในเชิ งปริ มาณและคุณภาพในลักษณะของความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและเอกชน โดย (๑) เร่ ง พั ฒ นาอุ ท ยานวิ ท ยาศาสตร์ ศู น ย์ ค วามเป็ นเลิ ศ ศู น ย์ บ่ ม เพาะ สถาบันวิจยั และพัฒนา สถาบันวิจยั เฉพาะทางในสาขาวิทยาศาสตร์ และศูนย์บริการวิเคราะห์ทดสอบอย่าง เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการ หรือสนับสนุ นให้ภาคเอกชนและนักลงทุนต่างประเทศจัดตัง้ ศู น ย์ วิ จั ย ใ น ประเทศไทย


(๒) ส่งเสริมการลงทุนวิจยั และพัฒนานวัตกรรมทีส่ ามารถนาไปใช้ประโยชน์ทงั ้ เชิงพาณิชย์และชุมชน โดยให้ความสาคัญกับการสร้างความเชื่อมโยงและร่วมมือในรูปแบบเครือข่ายวิจยั ระหว่างสถาบันการศึกษา สถาบันวิจยั ภาคการผลิตและชุมชน เครือข่ายวิสาหกิจต่างๆ และสมาคมและ องค์กรทีเ่ กีย่ วข้องทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยมีการถ่ายทอด แลกเปลีย่ นความรู้ จัดการความเสีย่ ง และผลประโยชน์ท่ชี ดั เจน รวมทัง้ มีการสร้างกระบวนการวิจยั และพัฒนาที่เป็ นระบบ โดย บูรณาการการ ทางานระหว่างหน่วยงานหลักทีเ่ กีย่ วข้อง กับสถาบันการศึกษา สถาบันเฉพาะทางต่างๆ ภาคเอกชน และชุมชน ตัง้ แต่เริม่ กระบวนการจัดทาและพัฒนาแผนวิจยั บุคลากรวิจยั แหล่งทุนวิจยั การบริหารจัดการความรู้ และการ จัด ท าฐานข้อ มูล ที่ม ีค วามเชื่อ มโยงกัน โดยมีด ัช นี ช้ีว ัด การประเมิน นโยบายวิจ ัย และความก้า วหน้ า ทาง เทคโนโลยีทช่ี ดั เจน เพือ่ ช่วยให้ระบบการวิจยั ของประเทศมีประสิทธิภาพ

(๓) ส่งเสริมการผลิตและพัฒนาบุคลากรวิจยั ในสาขาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรม ที่มบี ูรณาการระหว่างการเรียนรู้กบั การทางานจริงในสถานประกอบการ สนับสนุ นนักเรียนทุนและผู้ม ี ความสามารถพิเศษ พัฒนาครูวทิ ยาศาสตร์ รูปแบบและสื่อการเรียนการสอนที่ทนั สมัย และสร้างความ ตระหนักของประชาชนให้เรียนรู้ คิดและทาอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ ๕.๒.๓ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบโลจิ สติ กส์ โดย ๑) ผลักดันการพัฒนาการขนส่งต่ อเนื่ องหลายรูปแบบ โดยพัฒนาปรับเปลีย่ น รูปแบบการขนส่ง ไปสู่การขนส่งในรูปแบบอื่น ๆ ทีม่ ตี ้นทุนการขนส่งต่อหน่ วยต่ าและมีการใช้พลังงานทีม่ ี ประสิทธิภาพ พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและระบบบริหารจัดการขนส่งต่อเนื่อ งหลายรูปแบบที่ เชื่อมโยงการขนส่งทางถนน ทางราง ทางน้ า และทางอากาศในลักษณะบูรณาการทัง้ ภายในประเทศและ ระหว่างประเทศ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพและมาตรฐานการขนส่งสินค้าสู่สากล ทัง้ ด้านความรวดเร็ว ความ ปลอดภัย และความตรงต่อเวลา รวมทัง้ สนับสนุ นการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้กรอบความร่วมมือระดับ ภูมภิ าค และพัฒนาระบบบริหารจัดการรวบรวมและกระจายสินค้าทีม่ ปี ระสิทธิภาพ เพื่อลดต้นทุนระบบโล จิสติกส์ของประเทศในภาพรวม ๒) ปรับปรุงประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการโลจิ สติ กส์ โดยผลิตบุคลากรด้าน โลจิสติกส์ทม่ี คี วามเป็ นมืออาชีพ พัฒนาระบบและบริหารเครือข่ายธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ตลอดทัง้ ห่วง โซ่อุปทานและปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ สนับสนุ นการวิจยั พัฒนา นวัตกรรมเพื่อ การพัฒนาโลจิสติสก์ ตลอดจนยกระดับประสิทธิภาพกระบวนการอานวยความสะดวกทางด้านการค้าและ การขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน เช่น การพัฒนาระบบ National Single Window และด่านการค้า ชายแดน เป็ นต้น รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการขนส่ งและการกาหนดบทบาทของท่าอากาศ ยานและท่าเรือหลักของประเทศเพื่อลดต้นทุนการขนส่งสินค้าและเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศในระยะยาว ๓) พัฒนาระบบขนส่งทางรถไฟ โดยบูรณะปรับปรุงทางรถไฟ และจุดตัดระหว่าง โครงข่ายรถไฟและโครงข่ายถนนเพื่อเพิม่ ความปลอดภัยในการให้บริการ ก่อสร้างทางคู่ในเส้นทางรถไฟ สายหลัก และจัดหารถจักรและล้อเลื่อน รวมทัง้ การปรับปรุงระบบอาณัตสิ ั ญญาณให้มคี วามทันสมัยเพื่อ เพิม่ ขีดความสามารถในการให้บริการขนส่งผูโ้ ดยสารและสินค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ การพัฒนาเส้นทาง รถไฟความเร็วสูงเชื่อมโยงสู่เมืองต่างๆ ในภูมภิ าค และกลุ่มประเทศอาเซียน ตลอดจนการปรับโครงสร้าง การรถไฟแห่งประเทศไทย


๔) ปรับ ปรุง พัฒ นาโครงข่ า ยขนส่ ง มวลชนที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บ ัน ให้ มี ค วาม ทัน สมัย ครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ ริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น และสอดคล้ อ งกับ การขยายตัว ของเมื อ งและการใช้ ประโยชน์ ที่ดิน โดยการก่อสร้างโครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน และเพิม่ ประสิทธิภาพรถโดยสาร สาธารณะในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล และพัฒนาสิง่ อานวยความสะดวกที่จะสนับสนุ นให้เกิด การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเดินทางจากรถยนต์ส่วนบุค คลเป็ นระบบขนส่งสาธารณะอย่างเป็ นรูปธรรม การปรับปรุงประสิทธิภาพการให้บริการรถโดยสารสาธารณะในภูมภิ าค รวมทัง้ การปรับโครงสร้างการ บริหารจัดการระบบขนส่งสาธารณะทัง้ ระบบ เพื่อให้การบริการมี คุณภาพ มาตรฐาน และเป็ นธรรมต่อ ผูใ้ ช้บริการ ๕) พัฒ นาโครงสร้างพื้นฐานด้ านเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อสารที่ ทันสมัย โดยพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคมเพื่อให้บริการสื่อสารข้อมูลความเร็วสูง หรือบริการอินเทอร์เน็ต ความเร็วสูง ให้ครอบคลุมพืน้ ทีท่ วประเทศ ั่ บนพืน้ ฐานของการแข่งขันเสรีและเป็นธรรม เพื่อสร้างโอกาสใน การเข้าถึงบริการทีเ่ ท่าเทียมกัน และพัฒนาระบบการให้บริการภาครัฐผ่านโครงข่ายสื่อสารความเร็วสูง ทัง้ ในด้านการศึกษา การสาธารณสุข และส่งเสริมให้ประชาชนและผูป้ ระกอบการธุรกิจขนาดกลางและขนาด ย่อมมีค วามสามารถในการใช้ประโยชน์ จากบริการสื่อสารความเร็ว สูงและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อ ยกระดับคุณภาพชีวติ และสร้างรายได้ ตลอดจนสนับสนุ นการพัฒนาเนื้อหาสาระและโปรแกรมประยุกต์ท่ี เชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ๖) พัฒ นาศักยภาพการให้ บริ การน้ าอุปโภคบริ โ ภคทัง้ ในเชิ ง ปริ มาณและ คุณภาพที่มีมาตรฐานสากลครอบคลุมทัง้ ในเขตเมืองและพื้นที่ชนบท โดยผลักดันให้มอี งค์กรกากับ ดูแลค่าบริการทัง้ ในด้านน้ าดิบและน้ าอุปโภคบริโภคทีเ่ ข้มแข็ง รวมทัง้ กาหนดอัตราค่าบริการที่เหมาะสม และเป็ นธรรมกับทุก ภาคส่ว น ตลอดจนสนับสนุ นการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อประยุกต์ใช้ในการ วางแผนและบริหารจัดการน้ าอุปโภคบริโภคของประเทศ ๕.๒.๔ สร้างความมันคงด้ ่ านพลังงาน โดย ๑) ส่งเสริ มการใช้ พลังงานสะอาดและพัฒนาพลังงานทางเลือก โดยกาหนด มาตรการจูงใจทีเ่ หมาะสมเพื่อสนับสนุ นการผลิตและการใช้พลังงานทดแทน ทัง้ ในภาคการผลิตไฟฟ้าและ ภาคขนส่ง โดยเฉพาะเชือ้ เพลิงชีวภาพและชีวมวล เช่น แก๊สโซฮอล์ ไบโอดีเซล ขยะและมูลสัตว์ เป็ นต้น รวมทัง้ สร้างความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ให้กบั ประชาชน ๒) กากับดูแลกิ จการพลังงานให้ มีราคาที่ เหมาะสม มีเสถียรภาพ และเป็ น ธ ร ร ม ต่อผู้ใ ช้และผู้จดั หาพลังงาน โดยกาหนดโครงสร้างราคาพลังงานที่ สะท้อนต้นทุนที่มปี ระสิทธิภาพและ คานึงถึงผลกระทบด้านสิง่ แวดล้อม และกาหนดโครงสร้างราคาพลังงานทดแทนทีเ่ หมาะสม โดยคานึงถึง ศักยภาพการผลิตพลังงานทดแทนของประเทศ ควบคู่ไปกับพิจารณาต้นทุนการผลิต เพื่อส่งเสริมการ พัฒนาพลังงานทดแทนอย่างยังยื ่ น และมีราคาทีเ่ ป็นธรรมทัง้ ต่อผูผ้ ลิตและผูบ้ ริโภค ๓) ส่ งเสริ มการวิ จยั และพัฒ นาการผลิ ตพลังงานจากแหล่ งธรรมชาติ เพื่อ ทดแทนเชือ้ เพลิงจากฟอสซิล เช่น พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานน้า และสิง่ เหลือใช้ต่างๆ เป็ น ต้ น ค ว บ คู่ ไปกับกาหนดมาตรการส่ งเสริมและเผยแพร่ผ ลงานวิจยั สนับสนุ นเงินทุน และโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ นาไปสู่การปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม ๔) เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการใช้ พลังงานในทุกระดับ โดยสร้างแรงจูงใจในการลด การใช้พลังงาน และดาเนินมาตรการส่งเสริมการอนุ รกั ษ์พลังงาน ตัง้ แต่ระดับบุคคล ครัวเรือน ชุมชน องค์กร และประเทศ รวมทัง้ สนับสนุ นการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในภาคการผลิตทีก่ ่อให้เกิดการ


ประหยัดและใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า ตลอดจนพัฒนาสินค้าประเภทอุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ ในระดับ ครัวเรือน ทีจ่ ะนาไปสู่การลดการใช้พลังงาน ๕.๒.๕ ปฏิ รปู กฎหมาย และกฎ ระเบียบต่างๆ ทางเศรษฐกิ จ ในด้านต่างๆ โดย ๑) การประกอบธุรกิ จการค้า การลงทุน โดยเร่งปรับปรุงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ เพื่อลดอุปสรรคและขัน้ ตอนในการดาเนินธุรกิจการค้าและการลงทุน ทัง้ ในและนอก ประเทศ และเอือ้ ต่อการลงทุนทีเ่ น้นการใช้องค์ความรู้ วิจยั และพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี รวมทัง้ ผลักดันให้มกี ารประกาศใช้กฎหมายใหม่ๆ เพื่อรองรับการเปิ ดเสรีและการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจทัง้ ใน ระดับอนุภมู ภิ าคและภูมภิ าค ๒) การผลิ ตและบริ การ โดยทบทวน ปรับปรุง และตรากฎหมาย กฎ ระเบียบ และสิทธิประโยชน์ต่างๆ เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเมือง เขต และนิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ สร้างโอกาสให้ ผูป้ ระกอบการรายย่อยและวิสาหกิจชุมชนสามารถเข้าถึงสินเชื่อ การประกันความเสีย่ งในภาคการค้าการ ลงทุน การเข้าสู่ตลาด และการทาวิจยั และพัฒนาผลิตภัณฑ์บนฐานความรูแ้ ละสร้างสรรค์ ดึงดูดบริษทั ข้าม ชาติหรือนักลงทุนจากต่างประเทศให้ร่วมลงทุนกับภาคเอกชนและชุมชนไทยในการพัฒนาสินค้าบริการ เชิงสร้างสรรค์ และดึงดูดแรงงงานทีม่ ฝี ีมอื ให้เข้ามาทางานในประเทศ ๓) การสื่อสารและโทรคมนาคม โดยทบทวนและปรับกฎ ระเบียบ ให้สอดคล้อง กับข้อ ตกลงระหว่างประเทศที่ประเทศไทยมีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ การจัดตัง้ องค์กรและกฏเกณฑ์ด้าน เทคนิคเกีย่ วกับการสื่อสารโทรคมนาคม ข้อตกลงระหว่างประเทศทีเ่ กี่ยวข้องกับการจัดระเบียบการสื่อสาร ระหว่างประเทศใหม่ และข้อตกลงระหว่างประเทศทีเ่ กี่ยวข้องกับการค้าบริการและอุปกรณ์โทรคมนาคม เป็นต้น ๔) การปรับ ปรุ ง กฎหมายและกฎระเบี ย บทางด้ า นการเงิ น และการคลัง โดยเฉพาะกฎหมายที่สนับสนุ นการพัฒนาของตลาดทุน การส่งเสริมการแข่งขันของผู้ให้บริการทางการ เงิน การกากับดูแลสถาบันการเงิน และการคุม้ ครองนักลงทุน และกฎหมาย กฎระเบียบอื่นๆ ทีอ่ ยู่ภายใต้ แผนพัฒ นาระบบสถาบัน การเงิน ระยะที่ 2 และแผนพัฒ นาตลาดทุ น ไทย รวมถึง การประกาศใช้ พระราชบัญญัตกิ ารเงินการคลังของภาครัฐ ๕) การเสริ มสร้างให้ มีการบัง คับใช้ กฎหมาย กฎ ระเบี ยบต่ างๆ ที่ โปร่ งใส และตรวจสอบได้ โดยการสร้า งกระบวนการตรวจสอบให้เ ป็ น ที่ยอมรับของผู้ม ีส่ ว นได้ส่ ว นเสีย เพื่อ ต อ บ ส น อ ง ต่อกระแสเรียกร้องความรับผิดชอบต่อสังคมและมาตรการระหว่างประเทศ ๖) การสร้างบรรทัดฐานการบังคับใช้ กฎหมายของผู้ปฏิ บตั ิ ให้ มีความเป็ น เอกภาพและเสมอภาค โดยมีกระบวนการบังคับใช้กฎหมายเพื่อพิทกั ษ์และป้องกันการละเมิด ให้ เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจและสังคม และความตกลงระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ๗) การเร่ ง รัด การพัฒ นาบุ ค ลากรด้ า นกฎหมายและผู้ที่ เกี่ ย วข้ อ งกับ การ บังคับใช้กฎหมายให้มศี กั ยภาพสอดคล้องกับกระแสการเปลีย่ นแปลงของสังคมโลก ๔.๓ การบริ หารจัดการเศรษฐกิ จส่ วนรวมอย่างมีเสถียรภาพโดยมีแนวทางการดาเนินงาน ดังนี้ ๔.๓.๑ การบริ หารจัดการด้านการเงิ น โดย


๑) ดาเนิ นนโยบายการเงิ นที่ มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ แวดล้อมและ ทั น ต่ อ เหตุการณ์ ทัง้ ทางด้านการรัก ษาเสถียรภาพของราคา การรักษาเสถียรภาพของระบบเศรษฐกิจ การเงินโดยรวม รวมถึงการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ และสื่อสารให้สาธารณะทราบถึงเป้าหมายและ เหตุผ ลของการดาเนินนโยบายเพื่อสร้างความโปร่งใส ความน่ าเชื่อถือ และความมีวนิ ัยในการดาเนิน นโยบายการเงิน ๒) เพิ่ มบทบาทตลาดทุนในระบบเศรษฐกิ จ ให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนา ภาคการเงินโลกและยกระดับตลาดทุนให้ทดั เทียมกับประเทศในภูมภิ าค โดยการขยายฐานผูล้ งทุน สร้าง ความรู้ค วามเข้า ใจเกี่ย วกับ การลงทุ น ในตลาดทุ น เพิ่ม ความหลากหลายของผลิต ภัณ ฑ์ พัฒ นาขีด ความสามารถของบุคลากรในตลาดทุน และเร่งพัฒนาความร่วมมือกับประเทศในภูมภิ าค ตลอดจนส่งเสริม การใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ และสนับสนุ นให้ธนาคารพาณิชย์และสถาบันการเงินเฉพาะกิจเป็ นช่อง ทางการออมและการลงทุนในตราสารทุนและตราสารหนี้ ๓) ปรับปรุง โครงสร้ างพื้ นฐานทางการเงิ น โดยการปรับปรุง กฎหมาย ภาษี กฎระเบียบ การกากับดูแล และการบันทึกบัญชี ให้รองรับบรรยากาศของการแข่งขัน คุ้มครองผู้บริโภค ส่งเสริมหลักธรรมาภิบาล เช่น ปรับปรุงระบบภาษีให้มคี วามเป็ นกลางและสนับสนุ นการพัฒนาตลาดทุน ปฏิรปู ระบบกากับดูแลให้มคี วามชัดเจน โปร่งใส ครอบคลุมความเสี่ยงที่จะเกิดขึน้ ต่ อระบบการเงินและ ระบบเศรษฐกิจโดยรวม และสอดคล้องกับมาตรฐานสากล โดยคานึงถึงความพร้อมของสถาบันการเงินและ ระบบการเงินในประเทศเป็นสาคัญ ๔) พัฒนากลไกการเฝ้ าระวังความผันผวนทางเศรษฐกิ จและพัฒนาระบบ เตื อนภัยแบบองค์รวม ครอบคลุมความเสี่ยงในทุกด้าน เช่น ความเสี่ยงต่อระบบสถาบันการเงิน ความ เสีย่ งทางการคลัง ความเสีย่ งต่อภาคการผลิตทีม่ คี วามสาคัญต่อประเทศ เป็ นต้น โดยเชื่อมโยงระบบข้อมูล พัฒนาฐานข้อมูล และนามาใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์เชิงลึกร่วมกัน ๕) เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพในการบริ หารจัดการเงิ นทุนระหว่ างประเทศ โดยการ ปรับปรุงกฎระเบียบที่เป็ นอุปสรรคต่อการนาเงินทุนจากต่ างประเทศไปใช้ประโยชน์ และการนาเงินไป ลงทุนในต่างประเทศ ซึง่ รวมถึงการบริหารจัดการเงินทุนสารองระหว่างประเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดย ศึก ษาความเหมาะสมและความเป็ นไปได้ของการจัดตัง้ กองทุนความมังคั ่ งแห่ ่ งชาติ การสนับสนุ นให้ รัฐวิสาหกิจทีม่ ศี กั ยภาพจัดตัง้ กองทุนโครงสร้างพืน้ ฐาน อย่างไรก็ตาม ควรเพิม่ ความเข้มงวดในการกากับ ดูแลเงินทุนไหลเข้าระยะสัน้ พัฒนาเครื่องมือทางการเงินเพื่อการบริหารความเสีย่ งจากอัตราแลกเปลี่ยน และส่งเสริมให้ภาคเอกชนใช้ประโยชน์จากเครือ่ งมือดังกล่าว ๖) เพิ่ มบทบาทของสกุลเงิ นเอเชี ยในตลาดระหว่างประเทศ โดยการพัฒนา ตลาดพันธบัตรเอเชียให้มขี นาดใหญ่และมีสภาพคล่องมากขึน้ ส่งเสริมให้มกี ารซือ้ ขายแลกเปลีย่ นด้วยเงิน สกุลเอเชียทีม่ ศี กั ยภาพ เพื่อนาไปสู่การเป็นเงินสกุลกลางในการทาธุรกรรมทางเศรษฐกิจในระดับภูมภิ าค ๗) รัก ษาระดับ การออมและการลงทุ น ของประเทศให้ เ หมาะสมกับ การ เติ บโตทางเศรษฐกิ จ และอยู่ในระดับที่ สามารถป้ องกันความเสี่ยงจากวิ กฤตในอนาคตได้ โดยการ ส่งเสริมการออมระยะยาว กาหนดระดับการลงทุนในภาพรวม และจัดลาดับความสาคัญของสาขาการ ลงทุนทีเ่ หมาะสมและเสนอมาตรการจูงใจเพื่อสนับสนุ นการลงทุนในสาขาการลงทุนทีม่ คี วามสาคัญสูง


๔.๓.๒ บริ หารจัดการด้านการคลัง โดย ๑) ปรับปรุงระบบการจัดเก็บรายได้ของประเทศ โดยการปรับโครงสร้างและ ทบทวนอัตราการจัดเก็บภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิตบิ ุคคล โดยเฉพาะการปรับลดหรือให้ แรงจูงใจทางด้านภาษีแ ก่ว ิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่ อ ม และผู้ประกอบการรายใหม่หรือ รายย่อ ย ปรับปรุงฐานการจัดเก็บและอัตราภาษีสรรพสามิตให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจ ทบทวนค่าลดหย่อน และการยกเว้นภาษีให้เหมาะสม ขยายฐานภาษีโดยการให้ผู้ท่อี ยู่นอกระบบภาษีเข้ามาอยู่ในระบบภาษี มากขึน้ ตลอดจนปรับปรุงประสิทธิภาพในการจัดเก็บ รวมถึงการเพิม่ รายได้อ่นื ทีไ่ ม่ใช่ภาษี เช่น รายได้ จากทรัพ ย์ส ินของรัฐ และการปรับการส่ งรายได้ของรัฐวิส าหกิจ รวมถึงเร่งรัดการนาภาษีใ หม่ๆ ที่จะ สามารถใช้เ ป็ นเครื่อ งมือ ในการสร้างความเป็ น ธรรมในสัง คม เช่ น ภาษีท่ีดิน และสิ่ง ปลูก สร้าง ภาษี ทรัพย์สนิ และภาษีสงิ่ แวดล้อม ๒) เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพของการจัดสรรและการบริ หารงบประมาณ โดยจัดลาดับ ความสาคัญของการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายให้สอดคล้องกับประเด็นการพัฒนาทีม่ ลี าดับความสาคัญสูง ในช่ ว งแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ อาทิ การพัฒ นาคุ ณ ภาพชีว ิต การพัฒ นาเศรษฐกิจ ที่เ ป็ น มิต รกับ สิง่ แวดล้อม การใช้ความรูแ้ ละความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อสนับสนุ นการลงทุน ภาคเอกชนและกระตุ้นการขยายตัวของเศรษฐกิจ รวมทัง้ การวิจยั และพัฒนาเพื่อเพิม่ ผลิตภาพการผลิต และสนั บ สนุ น การปรับ โครงสร้ า งการผลิต และมีก ารวัด ประสิท ธิผ ลการใช้ จ่ า ยเงิน งบประมาณ นอกเหนือจากการวัดประสิทธิภาพทางด้านการเบิกจ่ายงบประมาณ ๓) ป้ องกันความเสี่ ย งทางการคลัง โดยพิจารณาความเสี่ย งทางการคลัง ให้ ครอบคลุมการคลังภาคสาธารณะให้มคี วามครบถ้วน สมบูรณ์ ทัง้ ด้านข้อมูลการคลังรัฐบาลซึง่ รวมเงินนอก งบประมาณและกองทุนนอกงบประมาณ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และสถาบันการเงิน เฉพาะกิจของรัฐ รวมถึงภาระทางการคลังทีอ่ าจจะเกิดขึน้ ในอนาคต เพื่อจะได้รบั รูถ้ งึ สถานะทางการคลังที่ แท้จริงของภาครัฐ ๔) พัฒนาประสิ ทธิ ภาพการดาเนิ นงานของรัฐวิ สาหกิ จ โดยการพัฒนาระบบ การบริหารจัดการ และการบริหารความเสี่ยงเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการดาเนินงานให้มคี วามโปร่งใสตาม หลัก ธรรมมาภิบ าล รวมทัง้ เร่ง ปรับ ปรุ ง โครงสร้า งการก ากับ ดูแ ลการด าเนิ น งานและการลงทุ น ของ รัฐวิสาหกิจทีม่ สี ถานะเป็ นบริษทั มหาชนให้มคี วามชัดเจน และสามารถดาเนินกิจการได้อย่างคล่องตัวและ สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมการแข่งขันทางธุรกิจ ๕) ส่ งเสริ มให้ เอกชนเข้ ามีส่วนร่วมในการลงทุนพัฒ นาโครงสร้างพื้นฐาน และการให้ บริ การขัน้ พื้นฐานของภาครัฐเพิ่ มขึ้น โดยการปรับปรุงระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ พัฒนากลไกและรูปแบบการให้เอกชนเข้าร่วมลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและบริการสาธารณะอื่น เช่น ด้านการศึกษา และสาธารณสุข เป็ นต้น โดยพิจารณารูปแบบทีเ่ หมาะสมและสอดคล้องกับลักษณะ ของกิจการประเภทต่าง ๆ รวมทัง้ ยึดหลักความโปร่งใสในการดาเนินการ และมีการกระจายความเสี่ยงที่ ชัดเจนและเป็นธรรมระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ๖) เสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ง ทางการคลัง ของภาคองค์ ก รปกครองส่ ว น ท้องถิ่ นโดยเร่งรัดการเพิม่ ประสิทธิภาพและพัฒนาแหล่งรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้สามารถ พึง่ พิงรายได้ทจ่ี ดั เก็บได้เองให้มากกว่าเงินอุดหนุนจากรัฐบาล ด้วยการพัฒนาฐานรายได้ทงั ้ ทีเ่ ป็ นภาษีและ


ไม่ใช่ภาษี และแบ่งแยกประเภทการจัดเก็บภาษีโดยรัฐบาลกลางและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ อย่าง ชัดเจน การเก็บภาษีสงิ่ แวดล้อม การเพิม่ ขีดความสามารถของบุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ใน การบริห ารจัด การด้า นคลัง รวมทัง้ ปรับ ปรุ ง วิธ ีก ารงบประมาณให้ท ัน สมัย และสอดคล้อ งกับ ระบบ งบประมาณของรัฐบาล โดยนาระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานมาใช้ สนับสนุ นให้ประชาชนเข้ามามี ส่วนร่วมในการจัดทางบประมาณองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้เกิดความโปร่งใสในกระบวนการในการ จัดทางบประมาณ การบริหาร และประเมินผลการใช้จ่าย และการกระจายอานาจด้านการก่อหนี้และการ บริหารหนี้ให้กบั องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ภายใต้เงือ่ นไขทีก่ าหนด


บ ท ที่ ๗ ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค ิ จและสังคม เพื่อความมันคงทางเศรษฐก ่ ๑

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลง

ในขณะทีป่ ระเทศไทยอยู่ในสถานการณ์ทม่ี กี ารเปลีย่ นแปลงภายในประเทศทางด้านเศรษฐกิจโดยต้องเร่งรัดการ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสูก่ ารเติบโตอย่างยังยื ่ นและมีคุณภาพ การขับเคลื่อนการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจของไทยจะต้อง ใช้โอกาสจากการเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ ในระดับภูมภิ าคและโลก อาทิ การขยายตัวของขัว้ อานาจทางเศรษฐกิจใหม่ใน เอเชียโดยเฉพาะการดาเนินนโยบายของขัว้ อานาจทางเศรษฐกิจเหล่านัน้ กับประเทศเพื่อนบ้านของไทย รวมทัง้ ความ เปลี่ยนแปลงด้านตลาดในโลก ในขณะที่การพัฒนาปรับปรุงด้านสมรรถนะในการแข่งขันโดยเฉพาะด้านปจั จัยการผลิต จะต้องสัมพันธ์และร่วมพัฒนาในฐานะหุ้นส่วนที่เสมอภาคกับประเทศเพื่อนบ้านมากยิ่งขึ้น ทัง้ ในด้านปจั จัยแรงงาน พลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติ ฐานและห่วงโซ่การผลิตและการแปรรูป ตลอดจนการเชื่อมโยงระบบโลจิสติกส์ และยังมี ความจาเป็ นทีป่ ระเทศไทยจะต้องเปิ ดกว้างต่อตลาดเงินและตลาดทุนทีม่ ศี กั ยภาพโดยเฉพาะในภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิกเพื่อ รองรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและยังยื ่ น สถานการณ์ดงั กล่าวมีความสอดคล้องและต่อเนื่ องกับสภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ที่มีความเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยผลกระทบจากโลกาภิวตั น์ ได้เชื่อมโยงประเทศใน ภูมภิ าคต่างๆ ของโลกให้ใกล้ชดิ กันมากขึน้ นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงครัง้ ใหญ่ทงั ้ ในด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยเฉพาะ การก้าวสู่ความเป็ นโลกหลายศูนย์กลางอันเนื่องจากการขยายตัวของขัว้ อานาจทางเศรษฐกิจใหม่ คือ บราซิล รัสเซีย อินเดีย และจีน (BRIC) ซึง่ ส่งผลกระทบในวงกว้างต่อระบบเศรษฐกิจและการปรับตัวของแต่ละประเทศ ทาให้การกาหนด ทิศทางดาเนินนโยบายการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของประเทศในภูมภิ าคต่างๆ ทัง้ ในระดับทวิภาคี และระดับพหุภาคี และ ภูมภิ าคมีความสาคัญเพิม่ มากขึน้ ในฐานะเป็ นเครื่องมือเพื่อสร้างอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจและเพิม่ ขีดความสามารถใน ก า ร แ ข่ ง ขั น ข อ ง ก ลุ่ ม กั บ ก ลุ่ ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อื่ น ๆ ด้วยเหตุดงั กล่าว ในระยะต่อไปในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประเทศไทยจึงต้องปรับเพิม่ บทบาทในด้านความเชื่อมโยง กับประเทศในภูมภิ าคต่างๆ เพื่อรองรับการเปลีย่ นแปลงและรักษาสถานะความมันคงด้ ่ านเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ และเชื่อมโยงมิตขิ องการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับมิตขิ องความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าค โดยพิจารณา จากสถานการณ์ในบริบทความสัมพันธ์กบั ประเทศเพื่อนบ้านทัง้ ในกรอบอนุ ภูมภิ าค กรอบความร่วมมืออาเซียน และ กรอบภูมภิ าคอื่นๆ

๑.๑

สถานการณ์ ความร่วมมือในกรอบอนุภมู ิ ภาค

๑.๑.๑ การดาเนิ นนโยบายความสัมพันธ์กบั ประเทศเพื่ อนบ้านในอนุ ภมู ิ ภาคเป็ น การดาเนิ นนโยบายต่ างประเทศส่ วนที่ สาคัญที่ สุดของไทยมาอย่างต่ อเนื่ อง เนื่องจากมีปจั จัยทาง เศรษฐกิจที่ต้องพึ่งพาซึ่งกันและกันอย่างใกล้ชดิ โดยในระยะที่ผ่านมาไทยได้มุ่งเน้นด้านการเป็ นหุ้นส่วน


การพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้านเพื่อให้เ กิดการพัฒนาอย่างมีบูรณาการเชิงยุทธศาสตร์กบั การพัฒนา เศรษฐกิจโดยรวมของไทยผ่านกรอบความร่ว มมือระดับอนุ ภูมภิ าคที่สาคัญ ได้แก่ แผนงานการพัฒนา ความร่ว มมือ ทางเศรษฐกิจในอนุ ภูมภิ าคลุ่ มแม่น้ าโขง ๖ ประเทศ (Greater Mekong Subregion Economic Cooperation Program: GMS) และยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจ้าพระยาแม่โขง (Ayeyawaddy-Chao Phraya-Mekong Economic Cooperation Strategy: ACMECS) ส่วน ทางด้า นใต้ ข องไทยมีก รอบแผนงานการพัฒ นาเขตเศรษฐกิจ สามฝ่ า ย อิน โดนี เ ซีย -มาเลเซีย -ไทย (Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle: IMT-GT) ซึง่ มีแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจทีม่ ศี กั ยภาพในการ เชื่อมโยงกับ GMS ทัง้ ยังมีศกั ยภาพในการเชื่อมโยงสู่ประเทศในกรอบความร่วมมืออนุ ภูมภิ าคนอกกลุ่ม อาเซียนได้แก่ กลุ่มเอเชียใต้ในกรอบความริเริม่ แห่งอ่าวเบงกอลสาหรับความร่วมมือหลากหลายสาขาทาง วิชาการและเศรษฐกิจ (Bay of Bengal Initiative on Multi-Sectoral Technical and Economic Cooperation: BIMSTEC) ที่เป็ นผลจากบทบาทและนโยบายมุ่งตะวันออกของอินเดีย เห็นได้จากการ พัฒนาท่าเรือและฐานอุตสาหกรรมด้านอ่าวเบงกอลโดยเชื่อมโยงด้านโลจิสติกส์กบั ตะวันออก และการ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเชื่อมโยงกับพม่า ๑.๑.๒ ปั จ จุบ นั มหาอ านาจต่ า งให้ ค วามส าคัญ และพยายามกาหนดยุ ท ธศาสตร์ เชื่อมโยงกับกลุ่มประเทศ GMS และ ACMECS โดยเฉพาะจีนได้พยายามเปิดพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจของตน ด้านมณฑลยูนนานและกวางสีเชื่อมโยงออกสู่กลุ่ม GMS ในเส้นทางทางบกทัง้ รถไฟ รถไฟความเร็วสูง และถนน รวมทัง้ เส้น ทางทางน้ า ผ่ า นทางแม่น้ า โขง โดยใช้ก ารสนับ สนุ น แบบให้เ ปล่ า ในการพัฒ นา โครงสร้างพืน้ ฐานจานวนมาก รวมทัง้ มีการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษต่างๆ ในลาว พม่า และเวียดนาม ส่วนญีป่ นุ่ ให้ความสนใจร่วมพัฒนาในกรอบความร่วมมือลุ่มแม่น้ าโขง-ญี่ป่นุ ขณะที่ สหรัฐอเมริกาได้เสนอ กรอบความร่วมมือสหรัฐอเมริกาและประเทศลุ่มแม่น้ าโขงตอนใต้ รวมทัง้ จากสถานการณ์การเปิดประเทศ ของสหภาพพม่ามากขึน้ โดยเปิดโอกาสให้มโี ครงการพัฒนาขนาดใหญ่ทป่ี ระเทศมหาอานาจให้ความสนใจ เ ช่ น โ ค ร ง ก า ร ท่ า เ รื อ น้ า ลึ ก ท ว า ย ดั ง นั ้ น เ ห็ น ไ ด้ ว่ า มีบทบาทของประเทศมหาอ านาจทางเศรษฐกิจที่เข้ามาเป็ นผู้นาในการกาหนดยุทธศาสตร์เ พื่อ สร้าง ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในอนุ ภูมภิ าคต่างๆ อีกทัง้ ยังจะมีผลกระทบต่อการกาหนดยุทธศาสตร์ของการ ขนส่งและโลจิสติกส์ รวมทัง้ ยุทธศาสตร์ดา้ นการค้าการลงทุนของทัง้ ภูมภิ าคในภาพรวม ๑.๒

สถานการณ์ในกรอบอาเซียน

๑.๒.๑ การเป็ นประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) จะส่ งผลให้ เกิ ดความ ร่วมมือทางเศรษฐกิ จ สังคม วัฒนธรรมและความมันคงในภู ่ มิภาคอาเซี ยนที่ แน่ นแฟ้ นยิ่ งขึ้น โดยที่ การจัดตัง้ ประชาคมอาเซียนภายในปี ๒๕๕๘ มีองค์ประกอบสาคัญ ๓ ส่วนกล่าวคือ ประชาคมความมันคง ่ อาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน และประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึง่ ถือเป็ น ๓ เสาหลัก ที่ จะส่งผลให้เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและความมันคง ่ โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจทีจ่ ะ มี ก า ร พั ฒ น า ห วงโซ มูลค่าเพิม่ ในภูมภิ าค (Regional Value Chain) การเพิม่ ความสามารถในการแข งขัน การ เพิม่ อานาจในการต่อรอง และการขยายตลาดอาเซียนทีม่ ปี ระชากรกว่า ๖๐๐ ล้านคน เพื่อเข้าสู่ประชาคม อาเซียนทีม่ คี วามสามารถในการแข่งขันทีย่ งยื ั ่ นทางเศรษฐกิจ โดยมีสงั คมแห่งสันติภาพและภราดรภาพ


๑.๒.๒ การรวมตัว กัน อย่ า งใกล้ ชิ ด ทัง้ ทางด้ านเศรษฐกิ จและสัง คมในประชาคม อาเซี ยนก่ อให้ เกิ ดโอกาสทางการค้ าและการลงทุ นที่ เพิ่ มขึ้ นให้ กบั ไทย อี กทัง้ ส่ งผลให้ ไ ทยมี ศักยภาพที่จะเป็ นจุดเชื่อมโยงที่สาคัญในการเชื่อมโยงทางการคมนาคมและขนส่งของอาเซี ยน ทีม่ ี การเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกทีส่ ะดวกยิง่ ขึน้ โดยไทยจะต้องเร่งพัฒนา ด้า นความพร้ อ มของประเทศในการเข้า สู่ภ าวะการแข่ง ขัน เสรีใ นประชาคมอาเซีย น ทัง้ ในด้า นการ เสริมสร้าง ประชาสัมพันธ์แ ละซัก ซ้อ มความรู้ความเข้าใจต่อ ทุกภาคส่ วนของประเทศในภาพรวมของ ประโยชน์ของการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนตลอดจนผลกระทบในด้านอื่นๆ การปรับโครงสร้างการผลิตที่ เหมาะสมและมีสมรรถนะในการแข่งขัน การเสริมสร้างความพร้อมของผู้ประกอบการและความรอบรู้ เกี่ยวกับ ระบบการตลาด ภาษา สังคมและวัฒ นธรรมของประเทศอาเซียน รวมทัง้ เร่งรัดพัฒนาพื้น ที่ เศรษฐกิจชายแดนและผู้ประกอบการโดยเฉพาะระดับกลาง-ระดับย่อมให้มคี วามพร้อมเข้าสู่ประชาคม อาเซียน ๑.๒.๓ การรวมตัวกันของอาเซี ย นมี ส่ วนส าคัญ ในการส่ ง เสริ มความร่ วมมื อ ทาง เศรษฐกิ จและสังคมในภูมิภาคอย่างครอบคลุมโดยเฉพาะด้ านการป้ องกันภัยที่ ส่งผลกระทบต่ อ ประชาชนโดยตรง เช่น SARs ไข้หวัดนก การค้ามนุ ษย์ การต่อต้านการก่อการร้าย ภัยพิบตั ทิ าง ธรรมชาติ หมอกควัน ยาเสพติด ปญั หาโลกร้อน ปญั หาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และปญั หา ความยากจน เป็นต้น ๑.๓ สถานการณ์ ในกรอบเอเชียแปซิ ฟิก ๑.๓.๑ การเชื่ อ มโยงกันระหว่ างอาเซี ย นกับกลุ่มอ านาจเดิ มและกลุ่มอ านาจทาง เศรษฐกิ จใหม่ ที่ พ ยายามเข้ ามี บทบาทในภูมิภ าคเอเชี ย ตะวันออกและตะวันออกเฉี ย งใต้ เป็ น ปรากฏการณ์ ที่เกิ ดขึ้นอย่างเด่นชัด เช่น ในกรอบ ASEAN+๓ ซึง่ ขยายประเทศพันธมิตรจากประเทศ ในเอเชีย ตะวัน ออก ได้ แ ก่ ญี่ปุ่ น สาธารณรัฐ เกาหลีแ ละจีน และในกรอบ ASEAN+๖ ไปยัง อิน เดีย ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ รวมทัง้ ความร่วมมือกรอบ ASEAN-US ที่เน้นประเด็นด้านความมันคงและ ่ เสถียรภาพของภูมภิ าค นอกจากนัน้ อาเซียนยังอาศัย การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit) เป็ น ยุทธศาสตร์ส าคัญ ในการรัก ษาประโยชน์ ข องกลุ่ ม โดยการมีปฏิส ัม พันธ์ท่ีเ หมาะสมกับ มหาอานาจต่างๆ ในโลก ๑.๓.๒ ประเทศไทยได้ ดาเนิ นนโยบายในเชิ งรุกในการกาหนดยุทธศาสตร์ในการ เป็ นผู้นาร่วมในอาเซี ยนกับประเทศในกลุ่มเอเชี ยแปซิ ฟิก และยังคงใช้ประโยชน์ ในกรอบเอเปคที่ ก่อตัง้ มาเป็ นเวลานานที่ยงั คงมีบทบาทอยู่ ๑) ไทยได้ใช้โอกาสร่วมกับประเทศสมาชิกอาเซียนดาเนินนโยบายทีเ่ น้นการรักษา ผลประโยชน์ของไทยกับประเทศในกลุ่มเอเชียแปซิฟิก ที่มศี กั ยภาพในการเป็ นตลาดของไทย โดยดาเนิน นโยบายด้านปฏิสมั พันธ์ของไทยกับกลุ่มประเทศดังกล่าวเพื่อให้ไทยเป็ นส่วนสาคัญของการพัฒนาทาง เศรษฐกิจของภูมภิ าคเอเชียแปซิฟิก พร้อมทัง้ สามารถพัฒนาศักยภาพและความมันคงทางการเงิ ่ นการ ลงทุนรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจทีท่ นั สมัยและมีคุณภาพของประเทศในระยะยาว ๒) ไทยยังคงรักษาความสามารถในการใช้ประโยชน์ในกรอบความร่วมมือทีก่ ่อตัง้ มาเป็ นเวลานาน ได้แ ก่ กรอบเอเปคหรือ ความร่ว มมือ ทางเศรษฐกิจ ในเอเชีย แปซิฟิ ก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) ซึง่ มุ่งเน้นยุทธศาสตร์การเจริญเติบโตรูปแบบใหม่ ทีใ่ ห้ความสาคัญกับ การเจริญเติบโตอย่างสมดุล เท่าเทียม ยังยื ่ น บนพื้นฐานนวัตกรรม และความมันคงของภู ่ มภิ าค โดยให้ ความสาคัญกับการเปิ ดเสรีการค้าและการลงทุน รวมทัง้ สนับสนุ นการผลักดันในการเจรจาการค้าหลาย ฝา่ ยรอบโดฮา ๑.๓.๓ ประเทศไทยเปิ ดกว้ า งต่ อ พัฒ นาการด้ า นการจัด ตัง้ กลุ่ ม ความร่ ว มมื อ ที่ เกิ ดขึ้นใหม่ในภูมิภาคเอเชี ยแปซิ ฟิก สาหรับกรอบความร่วมมือพหุภาคี ที่ไทยเพิง่ เข้าร่วมและเป็ น กรอบความร่วมมือที่มศี กั ยภาพทางเศรษฐกิจหลายด้าน กล่าวคือ กรอบ Asia-Middle East Dialogue


(AMED) ซึ่งเป็ นกรอบความร่วมมือระหว่างเอเชีย ตะวันออกกลางและแอฟริกาเหนือ มีสมาชิกถึง ๕๐ ประเทศ เป็ นโอกาสทีไ่ ทยจะเสนอประเด็นเรื่องความมันคงของอาหาร ่ และความมันคงของพลั ่ งงาน ส่วน ความร่ ว มมือ ที่ไ ทยต้อ งเริ่ม พิจ ารณาให้ค วามส าคัญ มากขึ้น คือ กรอบความตกลง Trans Pacific Partnership หรือ TPP ทีส่ หรัฐฯมีบทบาทผลักดัน ปจั จุบนั มีสมาชิก ๙ ประเทศ (นิวซีแลนด์ ชิล ี สิงคโปร์ บรูไน ออสเตรเลีย มาเลเซีย เปรู สหรัฐอเมริกา เวียดนาม) และมีโอกาสการพัฒนาไปสู่การค้ าเสรีเอเชีย แปซิฟิก ทีอ่ าจมีผลต่อลดความสาคัญของความตกลงการค้าเสรีอาเซียน AFTA และความตกลงการค้าเสรี ในกรอบ ASEAN+๓ และ ASEAN+๖

การประเมินความเสี่ยง

จากผลการพัฒนาทีผ่ ่านมาประเทศไทยได้ดาเนินนโยบายในเชิงรุกเพื่อเสริมสร้างความร่วมมือใน ทุก มิติแ ละทุก ระดับ ส่ งผลให้ไ ทยมีค วามเชื่อ มโยงกับประเทศในระดับอนุ ภูม ิภาคและภูมภิ าคทัง้ ด้า น เศรษฐกิจและสังคมที่แน่ นแฟ้นยิง่ ขึ้น อย่างไรก็ด ี เพื่อให้ทุกภาคส่วนในประเทศมีศกั ยภาพและมีความ พร้อ มที่จะใช้ประโยชน์ จากที่ประเทศได้ส ร้างความร่ว มมือ ทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างเปิ ดกว้างนัน้ จาเป็ นต้องให้ความส าคัญกับการแก้ไ ขความเสี่ยงภายในประเทศซึ่งเป็ นอุ ปสรรคต่ อ การเชื่อ มโยงกับ ภูมภิ าค ได้แก่ ๒.๑ ผู้ประกอบการไทยขาดศักยภาพในการลงทุน ในต่ างประเทศรวมทัง้ การลงทุ นใน ประเทศ เพื่อนบ้านและขาดความพร้อมต่ อการแข่งขันเสรีภายในประเทศ เนื่องจากขาดทักษะของ ผูป้ ระกอบการในการประกอบธุรกิจร่วมกับประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการรวมพลังในรูปแบบของสภาธุรกิจ และกรอบการหารือภาครัฐร่วมกับเอกชนอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเสนอแนวการลงทุนร่วมกับประเทศ เพื่อนบ้าน หรือรับข้อเสนอการร่วมลงทุน ทาให้เสียโอกาสในการร่วมลงทุนในกระบวนการแปรรูปเพิม่ มูล ค่ า ในสายการผลิต ร่ ว ม ในขณะที่ภ าครัฐ ในพื้น ที่ย ัง ขาดศัก ยภาพในการเป็ น ผู้ป ระสานงานกับ ผูป้ ระกอบการด้านการใช้ประโยชน์จากกรอบความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน รวมทัง้ ขาดการกาหนด กรอบยุทธศาสตร์ภาพรวมในการลงทุนของผูป้ ระกอบการไทยในประเทศเพื่อนบ้านทีม่ บี ทบาทเชิงรุกและ สามารถสร้างเสริมผลประโยชน์ของไทย พร้อมทัง้ มีความรับผิดชอบทางสังคมในประเทศเพื่อนบ้านเพื่อ ความไว้เ นื้อ เชื่อ ใจและการพัฒนาร่ว มกันที่ยงยื ั ่ น และขาดยุทธศาสตร์ภาพรวมอย่างมีบูรณาการและ แผนปฏิบตั กิ ารเชิงลึกในการช่วยเหลือผู้ประกอบการ รวมทัง้ เกษตรกรภายในประเทศที่ได้รบั ผลกระทบ เชิงลบจากการแข่งขันเสรีในกรอบประชาคมอาเซียน ๒.๒ แรงงานไทยขาดการยอมรับ ในมาตรฐานฝี มื อ แรงงานและมี ข้ อ จ ากัด ด้ า น ภาษาต่ างประเทศรวมทัง้ ความรู้ค วามเข้ าใจด้ านขนบธรรมเนี ยมและวัฒนธรรมของประเทศ ภูมิภาค พร้อมทัง้ ภาครัฐยังขาดการวางแผนงานด้านแรงงานร่วมกับประเทศที่ เป็ นตลาดแรงงาน ไทย เพื่ อการพัฒนาที่ ยงยื ั ่ นร่วมกัน ส่งผลให้เกิดความเสียเปรียบในการเคลื่อนย้ายแรงงานและการ ลงทุนจากต่างประเทศ โดยไทยขาดแคลนแรงงานมีทกั ษะฝี มอื ในสาขาที่มคี วามต้องการ และแม้ว่าจะมี การรับ รองข้อ ตกลงยอมรับ ร่ว มคุ ณ สมบัตินั ก วิช าชีพ อาเซีย น (ASEAN Mutual Recognition Arrangement) ไปแล้ว ๗ สาขา ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล สถาปนิก วิศวกร ช่างสารวจ และนัก บัญชี และอยู่ระหว่างการดาเนินการรับรองในสาขาบริการท่องเที่ยว แต่ยงั จาเป็ นต้องดาเนินการให้ สามารถใช้ประโยชน์จากมาตรฐานร่วมดังกล่าวได้อย่างเต็มที่ ในขณะเดียวกัน ไทยยังต้ องพึง่ พาแรงงาน ต่างด้าว แต่ยงั ขาดนโยบายทีช่ ดั เจนด้านการใช้แรงงานต่างประเทศ สวัสดิการและการเคลื่อนย้ายแรงงาน


และมีความล่าช้าในการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจชายแดนและการวางแผนด้านการพัฒนาด้านแรงงานรองรับ เขตเศรษฐกิจ เป็ นเหตุให้เกิดปญั หาสังคมทีก่ ระทบต่อความมันคงและวิ ่ ถชี วี ติ ของคนไทยในพืน้ ที่ รวมทัง้ ประเด็นสิทธิ สวัสดิการของแรงงานต่างด้าวและเด็กไร้สญ ั ชาติ ๒.๓ ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ งขาดความรับ รู้อ ย่ า งพอเพี ย งในการใช้ ป ระโยชน์ จ ากความ เชื่ อมโยงระบบโลจิ สติ กส์และการคมนาคมขนส่ งภายใต้ แผนแม่บทความเชื่ อมโยงระหว่างกันใน อาเซียน และผลกระทบจากยุทธศาสตร์เชื่ อมโยงระบบโลจิ สติ กส์ของมหาอานาจในภูมิภาค ขาด ก ล ไ ก ก ล า ง ใ น ก า ร บูร ณาการแผนงานและโครงการในระดับ พื้น ที่ท าให้เ สีย โอกาสในการเชื่อ มโยงระบบจากแนวพื้น ที่ เศรษฐกิจ ต่ า งๆในอนุ ภู ม ิภ าค เช่ น แนวพื้น ที่พ ัฒ นาเศรษฐกิจ เหนื อ -ใต้ แนวพื้น ที่พ ัฒ นาเศรษฐกิจ ตะวันออก-ตะวันตก แนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตอนใต้ และแนวพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจอื่นๆ ภายใต้แผนงาน GMS รวมทัง้ การเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านระหว่างเมืองชายแดนสาคัญในกรอบ GMS และ IMT-GT ตลอดไปถึงภูมภิ าคอาเซียนเพื่อโอกาสการเชื่อมโยงสู่ตลาดภายในอนุ ภูมภิ าค ระหว่างอนุ ภูมภิ าคต่างๆ และภูมภิ าคอาเซียน และตลาดภายนอก อาทิ แผนงานพัฒนาโครงข่ายรถไฟความเร็วสูงของจีนใน ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การพัฒนาท่าเรือ ยุทธศาสตร์ในอ่าวเบงกอลของจีนในพม่า และของ อินเดีย การพัฒนาสร้างความเชื่อมโยงภายในภูมภิ าคมีความล่าช้าและมีจานวนโครงการทีเ่ สนอเข้าสู่แผน ไม่ครอบคลุมอย่างเพียงพอ เนื่องจากการขาดความรูค้ วามเข้าใจในกระบวนการพัฒนาด้วยความร่วมมือ ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ทาให้เสียโอกาสในการเชื่อมโยงแผนงานระหว่างประเทศ ๒.๔ การมีบทบาทในเชิ งตัง้ รับต่อประเด็นความเคลื่อนไหวในด้านการสร้างข้อกีดกันทาง การค้ าใหม่ๆ อันเนื่ องจากกระแสการเปลี่ยนแปลงในโลกที่ มีแนวโน้ มนามาใช้ เป็ นข้อกีดกันใน ระดับภูมิภาค เช่น ปญั หาโลกร้อน ความแห้งแล้งขาดแคลนน้ าอย่างรุนแรงในหลายภูมภิ าคของโลก ได้ ก่อให้เกิดข้อกาหนดใหม่ๆในการเป็ นตัวเลือกในการบริโภคสินค้า เช่น ร่องรอยการสร้างสารคาร์บอน ร่องรอยการใช้น้ า ซึ่งเริม่ เป็ นประเด็นข้อกีดกันในบางภูมภิ าคของโลก โดยไทยยังขาดความเข้าใจและ เตรียมการด้านการให้ความรูแ้ ก่ภาคธุรกิจ/ภาคการผลิตของไทยเองและการเป็ นผู้นาในการให้ความรูก้ บั ประเทศเพื่อ นบ้านเพื่อ ปรับกระบวนการผลิต เพื่อ รองรับมาตรการใหม่ๆ ที่จะทวีความรุนแรงยิง่ ขึ้นใน อนาคต ๒.๕ ความไม่พร้อมในการพัฒนาเมืองชายแดนและเขตเศรษฐกิ จชายแดนของไทยตาม แนวพื้นที่พฒ ั นาเศรษฐกิ จเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน เนื่องจากขาดการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ช า ย แ ด น ที่ มี บูรณาการทัง้ ในส่ ว นของไทย และในส่ ว นที่จะเชื่อ มโยงกับ การพัฒนาในพื้นที่ของประเทศเพื่อ นบ้า น รวมทัง้ ความไม่พร้อมในด้านการร่วมกาหนดยุทธศาสตร์การลงทุนเพื่อใช้ประโยชน์เขตเศรษฐกิจชายแดน ก่อนการเกิดประชาคมอาเซียน ตลอดจนความไม่พร้อมในการพัฒนาบุคลากรและแรงงานทักษะรองรับ การพัฒนาเศรษฐกิจในอนาคต ส่งผลให้เศรษฐกิจชายแดนไทยยังไม่ได้รบั ประโยชน์จากการเชื่อมโยงตาม แ น ว พื้ น ที่ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อย่างเต็มที่ ๒.๖ ข้ อ จ ากัด ที่ ท าให้ ก ารขับ เคลื่ อ นการอ านวยความสะดวกทางการค้ า และการขน ส่ งผ่านแดนและข้ ามแดนค่ อนข้ างล่ าช้ า และไม่สามารถดาเนิ นการตามข้ อตกลงความร่วมมือ


ด้ านการขนส่ ง สิ นค้ าผ่านแดนและข้ ามแดนได้ อ ย่ างสมบูร ณ์ เป็ นผลให้ไม่ส ามารถใช้โ ครงสร้า ง พืน้ ฐานทีพ่ ฒ ั นาขึน้ ตามแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างเต็มประสิทธิภาพ ส่งผลให้ ประเทศไทยเสียโอกาสทางเศรษฐกิจ และประสบกับสถานการณ์การแข่งขันทีร่ ุนแรงจากบริษทั ต่างชาติท่ี มีความได้เปรียบทัง้ ด้านเงินทุน เทคโนโลยี และความชานาญเฉพาะด้าน โดยเฉพาะธุรกิจโลจิสติกส์ ๒.๗ ความไม่แน่ นอนทางการเมืองและความมันคงในประเทศเพื ่ ่ อนบ้าน โดยที่ประเทศ เพื่อนบ้านหลายประเทศอยูร่ ะหว่างการเปลีย่ นผ่านไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมทีด่ ขี น้ึ รวมทัง้ มีการ เปลีย่ นแปลงด้านการเมืองเพื่อสร้างเสถียรภาพและความมันคงเพิ ่ ม่ ขึน้ จะต้อ งอาศัยเวลาในการปรับตัวให้ สอดคล้องกับโลกาภิวตั น์และเศรษฐกิจโลก จึงจาเป็ นต้องติดตามพัฒนาการทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประเทศเพื่อนบ้านอย่างใกล้ชดิ เพื่อประโยชน์ในการส่งเสริมเศรษฐกิจ การค้า และสังคมอย่างยังยื ่ น

การสร้างภูมิค้มุ กัน

จากการประเมิน ความเสี่ย งที่เ กิด ขึ้น ชี้ใ ห้ เ ห็น ว่ า การเตรีย มความพร้อ มของทุ ก ภาคส่ ว น ภายในประเทศเพื่อ ให้ส ามารถปรับ ตัว มีอ งค์ค วามรู้ และสามารถใช้ประโยชน์ จากความร่ว มมือ ทาง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม ทีเ่ กิดขึน้ ในภูมภิ าคได้ ประเทศไทยต้องให้ความสาคัญต่อการสร้างภูมคิ ุม้ กัน ได้แก่ ๓.๑ การกาหนดบทบาทและทิ ศทางการพัฒนาของประเทศที่ จะกระตุ้นให้ เกิ ดการเติ บโต และเชื่ อมโยงของสาขาต่ างๆ ทางเศรษฐกิ จ บนโครงข่ายคมนาคมระหว่างประเทศในปจั จุบนั และทีจ่ ะ ขยายเพิม่ เติมในอนาคต เพื่อให้สามารถยกระดับให้เป็ นแนวพืน้ ทีพ่ ฒ ั นาเศรษฐกิจ (Economic Corridor) ทีเ่ ป็ นเส้นทางการค้าและการลงทุนของอนุ ภูมภิ าคได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยบูรณาการเชื่อมโยงทัง้ ในอนุ ภูมภิ าคและระหว่างอนุภมู ภิ าค ทัง้ ในกรอบอาเซียนในแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน และ พื้ น ที่ ต่อเนื่องอื่นๆ ๓.๒ การใช้ ศกั ยภาพความได้ เปรียบของที่ ตงั ้ ทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิ จ และศักยภาพของ พื้นที่ ในภูมิภาคต่ างๆ ของประเทศ เพื่อสร้างฐานการผลิ ตให้ สามารถแข่งขันได้ในตลาดโลก โดย กาหนดทิศทางการพัฒนาพื้นทีข่ องประเทศให้สอดคล้องกับโอกาสและศักยภาพการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมของแต่ละภูมภิ าคต่อไป โดยเชื่อมโยงในแต่ละกรอบความร่วมมือ พร้อมทัง้ เปิดโอกาสในการพัฒนา พื้นที่เมืองชายแดนตลอดต่อเนื่องถึงเมืองและชุมชนศูนย์กลางในภูมภิ าคที่สาคัญของประเทศ ซึ่งอยู่ใน แนวเชื่อมโยงระหว่างประเทศตามแนวพื้นที่เศรษฐกิจต่างๆ เพื่อก่อให้เกิดการกระจายความเจริญไปสู่ ภูมภิ าคและท้องถิน่ ๓.๓ การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง และการพั ฒ นาความสามารถในการปรับ ตั ว ของ ผู้ป ระกอบการไทย ให้ทนั กับ สถานการณ์ การเชื่อ มโยงระหว่ างภูม ิภาคที่เ กิดขึ้นอย่า งรวดเร็ว เพื่อ เสริมสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจและเพิม่ ระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเวทีระหว่าง ประเทศ โดยเฉพาะในกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มแี นวโน้ มจะมีบทบาทสูงในอนาคต เช่น เศรษฐกิจ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ ป็ น ต้ น โ ด ย เ น้ น บ ท บ า ท ข อ ง สภาธุรกิจ และกรอบการหารือระหว่างภาครัฐ/ภาคเอกชนด้านธุรกิจ ในพืน้ ทีข่ องกรอบความร่วมมือ โดย


ภาครัฐให้ก ารสนับสนุ นในการพัฒนาผู้ประกอบการไทยและผู้ประกอบการของประเทศเพื่อ นบ้านใน บริเวณพืน้ ทีก่ ารพัฒนาร่วม ๓.๔ การพัฒนาเขตเศรษฐกิ จชายแดนและเมืองชายแดนแบบมีสมดุลบนพื้นฐานของการ สร้างผลประโยชน์ ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและความไว้เนื้ อเชื่อใจระหว่างกัน โดยมีบูรณาการด้าน กิจกรรมทางเศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน (Co-production Scheme) เป็ นไปตามหลักวิเคราะห์ความ ได้เปรียบเปรียบเทียบระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในด้านทีต่ งั ้ ทางยุทธศาสตร์ ประเภทการผลิต และ ความใกล้ชิดกับแหล่ ง วัต ถุ ดิบ แรงงานและท่าส่ งออก โดยเป็ นการจัดสรรบทบาทหน้ า ที่ระหว่ างเขต เศรษฐกิจในภาคต่างๆอย่างเหมาะสม มีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านท่าส่งออกรองรับตามความ เหมาะสมในปจั จุบนั และโอกาสในการพัฒนาต่อเนื่องในอนาคต โดยไทยให้การสนับสนุ นประเทศเพื่อน บ้านในการพัฒนาในลักษณะหุน้ ส่วนการพัฒนาทีม่ คี วามเสมอภาค

วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์

๔.๑.๑ เพื่อเพิม่ ศักยภาพในการใช้ประโยชน์จากความได้เปรียบด้านที่ตงั ้ ของประเทศใน เชิงยุทธศาสตร์ ซึง่ เป็นจุดเชื่อมโยงทีส่ าคัญในภูมภิ าคอาเซียนและเอเชียแปซิฟิก ๔.๑.๒ เพื่อเสริมสร้างประโยชน์ของไทยในด้านการค้า การลงทุน การเงินและโอกาสด้าน การตลาดระหว่ างประเทศ ในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน รวมทัง้ เชื่อ มโยงด้า นการค้าการลงทุนกับ มหาอานาจทางเศรษฐกิจใหม่ในเอเชียและกลุ่มเศรษฐกิจใหม่ในเอเชียแปซิฟิก ๔.๑.๓ เพื่อ ผลัก ดัน บทบาทของไทยให้เ ป็ น ส่ ว นส าคัญ ของความร่ว มมือ ในการพัฒ นา ภายใต้กรอบต่างๆ ได้แก่ อนุภมู ภิ าค อาเซียน อาเซียนและพันธมิตร รวมทัง้ เอเชียแปซิฟิก ๔.๒ เป้ าหมาย ๔.๒.๑ ระบบห่วงโซ่อุปทานในอนุภมู ภิ าคมีความเชื่อมโยงระหว่างกันเพื่อรองรับการพัฒนา ทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่อง ๔.๒.๒ ประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในด้านการค้าและการลงทุนในภูมภิ าค บนพื้นฐาน ของผลประโยชน์และความมันคงร่ ่ วมกัน ๔.๒.๓ เพิม่ สัดส่ วนการใช้สทิ ธิประโยชน์ จากความตกลงการค้าเสรีต่อมูล ค่าส่งออกรวม เพิม่ ขึน้ เป็ นร้อยละ ๕๐ ในปี ๒๕๕๙ ภายใต้ความตกลงทางการค้าเสรีในทุกกรอบทีเ่ จรจาแล้วเสร็จ และ เพิม่ โอกาสและทางเลือกบนพื้นฐานของประโยชน์และข้อจากัดของประเทศในการเข้าถึงตลาดใหม่ท่เี ป็ น กรอบการค้าเสรีทจ่ี ะมีบทบาทมากขึน้ ในอนาคต ๔.๒.๔ ลดต้นทุนการประกอบธุรกิจภายในประเทศและระหว่างประเทศภายในภูมภิ าคให้ เข้าสู่มาตรฐานสากล ๔.๒.๕ เพิม่ มูลค่าการค้าชายแดนและการลงทุนโดยตรงของไทยในกลุ่มประเทศเพื่อนบ้าน ให้ขยายตัวเพิม่ ขึน้ ร้อยละ ๑๕ และร้อยละ ๑๐ ต่อปี ตามลาดับ ๔.๓ ตัวชี้วดั


๔.๓.๑ ดัชนี ความสามารถในการอานวยความสะดวกทางการค้า (Enabling Trade Index) รวมทัง้ ดัชนีย่อยความสามารถในการบริหารจัดการ ณ พรมแดนของประเทศไทย และดัชนีย่อย ความสามารถด้านโครงสร้างพืน้ ฐานของประเทศ ๔.๓.๒ อันดับความยาก-ง่ายในการประกอบธุรกิ จ ใน ๕ ด้านที่มลี าดับสาคัญ ได้แก่ การเริม่ ต้นธุรกิจ การได้รบั สินเชื่อ การค้าระหว่างประเทศ การดาเนินการให้เป็ นไปตามข้อตกลง และการ ขออนุญาตก่อสร้าง ๔.๓.๓ อัตราการเติ บโตของมูลค่ าการค้ าชายแดนระหว่ างไทยกับประเทศในอนุ ภูมิภาค ๔.๓.๔ อัตราการเติ บโตของมูลค่าการลงทุนของผูป้ ระกอบการไทยในประเทศในอนุ ภูมิภาคและภูมิภาคอาเซียน

แนวทางการพัฒนา

เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์และเป้าหมายของการสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคเพื่อ ความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและสังคมในระยะ ๕ ปี ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จาเป็ นต้องให้ความสาคัญ ต่อการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมกับประเทศในภูมภิ าคให้เข้ากับการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมภายในประเทศอย่างสอดคล้องกัน โดยมีแนวทางการดาเนินงานทีส่ าคัญ ดังนี้


๕.๑ การพัฒ นาความเชื่ อ มโยงด้ านการขนส่ ง และระบบโลจิ ส ติ กส์ภ ายใต้ กรอบความ ร่ ว ม มื อ ใ น อนุภมู ิ ภาคต่ างๆ โดยเฉพาะแผนงานการพัฒนาความร่ว มมือทางเศรษฐกิจในอนุ ภูมภิ าคลุ่มแม่น้ าโขง ๖ ประเทศ (GMS) ร่วมกับยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิระวดี-เจ้าพระยา-แม่โขง (ACMECS) แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่าย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย (IMT-GT) ความริเริม่ แห่งอ่าวเบ งกอลสาหรับความร่ว มมือ หลากหลายสาขาทางวิ ชาการและเศรษฐกิจ (BIMSTEC) และความร่วมมือ ภายใต้ ค ณะกรรมการว่ า ด้ว ยยุ ท ธศาสตร์ร่ ว มในการพัฒ นาพื้น ที่ช ายแดนไทย -มาเลเซีย (ThailandMalaysia on Joint Development Strategy for Border Areas: JDS) เพื่ออานวยความสะดวกและลดต้นทุน ด้านโลจิสติกส์ โดย ๕.๑.๑ พัฒ นาบริก ารขนส่ ง และโลจิส ติ ก ส์ ท่ีม ีป ระสิท ธิภ าพและได้ ม าตรฐานสากล โดยเฉพาะรูปแบบบริการขนส่งทัง้ ทางถนน รถไฟ รถไฟรางคู่ รถไฟความเร็วสูง และการขนส่งทางน้ า/ การเดินเรือชายฝงั ่ ตลอดจนการพัฒนาด่านศุ ลกากรชายแดน ศูนย์เศรษฐกิจชายแดน และการอานวย ความสะดวกการผ่านแดนทีร่ วดเร็ว ทีจ่ ะช่วยเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การพัฒนาระบบเครือข่าย และการบริห ารเครือ ข่ายธุ รกิจของภาคบริการขนส่ งและโลจิส ติกส์ต ลอดทัง้ ห่ว งโซ่อุ ปทานในภูมภิ าค เพื่อให้สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันและเกิดการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งจะนาไปสู่การลดต้นทุนการทา ธุรกิจ การปรับปรุงประสิทธิภาพความเชื่อมโยงระบบการขนส่ง ระบบอานวยความสะดวกการเดินทาง การค้า และการขนส่งสินค้าผ่านแดนและข้ามแดน โดยใช้ศกั ยภาพการเชื่อมโยงด้านโครงสร้างพืน้ ฐานใน ทุกแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจทีม่ อี ย่างสูงสุด โดยมีการบูรณาการแผนยุทธศาสตร์ท่สี ามารถนาไปสู่การเชื่อมโยง ในภาพรวมของประเทศและการเชื่อ มโยงในแต่ ล ะแนวพื้นที่พฒ ั นาเศรษฐกิจในแต่ ล ะอนุ ภูมภิ าคและ ระหว่างอนุ ภูมภิ าคในพื้นทีอ่ าเซียน และพัฒนาความเชื่อมโยงต่อเนื่องตามกรอบแผนแม่บทการเชื่อมโยง ร ะ ห ว่ า ง กั น ใ น อ า เ ซี ย น ร ว ม ทั ้ ง แ ผ น ค ว า ม เ ชื่ อ ม โ ย ง กั บ ร ะ บ บ ก า ร ข น ส่ ง แ ล ะ โลจิสติกส์ของอนุ ภูมภิ าคข้างเคียง พร้อ มทัง้ คานึงถึงยุทธศาสตร์และแผนพัฒนาของประเทศมหาอานาจ ของโลกและขัว้ อานาจใหม่ในเอเชียในประเทศเพื่อนบ้านของไทยและแผนงานของประเทศเพื่อนบ้านแต่ละ ประเทศทัง้ ทีไ่ ด้นาเสนอในกรอบความร่วมมือกับไทยและทีย่ งั มิได้นาเสนอและอาจเสนอในอนาคต โดยรัฐ ลงทุนนาในโครงการทีม่ คี วามสาคัญเชิงยุทธศาสตร์ของประเทศในแต่ละแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจ พร้อมทัง้ เปิด โอกาสการร่วมลงทุนแบบความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน (Public Private Partnership: PPP) ๕.๑.๒ ปรับปรุงกฎระเบียบการขนส่ ง คนและสินค้าที่เ กี่ย วข้อ ง เพื่อ ลดจานวนเอกสาร ต้นทุนการดาเนินงาน และระยะเวลาทีใ่ ช้ในกระบวนการขนส่งผ่านแดนและข้ามแดน เพื่อขีดความสามารถ ในการแข่งขันของไทยและอนุ ภูมปิ ระเทศโดยรวมในด้านการลดต้นทุนค่าขนส่งและโลจิสติกส์ โดยไทยให้ ความสนับสนุนทางวิชาการกับประเทศเพื่อนบ้านในฐานะหุน้ ส่วนการพัฒนา ๕.๑.๓ พัฒนาบุคลากรในธุรกิจการขนส่งและโลจิสติกส์ เพื่อเพิม่ ศักยภาพของภาคเอกชน ไทยทัง้ ในด้า นทัก ษะภาษาต่ า งประเทศ และความรู้ด้า นการบริห ารจัด การโลจิส ติก ส์ ซึ่ง จะช่ ว ยให้ ผูป้ ระกอบการไทยสามารถเชื่อมโยงการดาเนินธุรกิจขนส่งและโลจิสติกส์ได้ตลอดทัง้ ห่วงโซ่อุปทาน ทัง้ ใน ระดับภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมทัง้ พัฒนาผูป้ ระกอบการโดยเฉพาะระดับ SMEs ให้มคี วามรู้ ด้านศักยภาพการพัฒนาธุ รกิจร่วมกับประเทศเพื่อ นบ้านและความรู้ใ นการใช้ประโยชน์ จากโครงสร้าง พืน้ ฐานเชื่อมโยงตามแนวพื้นทีเ่ ศรษฐกิจและช่องทางส่งออกในอนุ ภูมภิ าค และพัฒนาสมรรถนะการเป็ น ผู้ประกอบการของไทยในระดับสากลเพื่อ ให้ ส ามารถริเ ริม่ ธุ รกิจระหว่างประเทศได้ โดยไทยให้ค วาม


สนับสนุ นทางวิชาการกับประเทศเพื่อนบ้านในการพัฒนาบุคลากรด้านธุรกิจการขนส่งและโลจิสติกส์ดว้ ย ในฐานะหุน้ ส่วนการพัฒนา ๕.๑.๔ เชื่อ มโยงการพัฒ นาเศรษฐกิจ ตามแนวพื้น ที่ช ายแดน/เขตเศรษฐกิจ ชายแดน ตลอดจนเชื่อมโยงระบบการผลิตกับพืน้ ทีต่ อนในของประเทศ โดยเชื่อมโยงเครือข่ายการขนส่งทีเ่ ชื่อมโยง ปจั จัยการผลิต ระบบการผลิต ห่วงโซ่การผลิตระหว่างประเทศ และประตูส่งออกตามมาตรฐานสากล อย่าง มีประสิทธิภาพ รวมทัง้ สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงทางเศรษฐกิจกับพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจขนาดใหญ่ทม่ี กี ารพัฒนาใน ประเทศเพื่อนบ้านกับเขตเศรษฐกิจชายแดนไทยและพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจตอนใน ทัง้ นี้ โดยมีศูนย์ประสานงาน ระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านบริเวณเมืองชายแดนทีส่ าคัญ ๕.๒ การพัฒนาฐานลงทุนโดยเพิ่ มขีดความสามารถในการแข่งขันในอนุภมู ิ ภาค มุ่งเน้ น ความร่ว มมือ กับ ประเทศเพื่อ นบ้า นในการสร้า งฐานการผลิต ตามแนวพื้น ที่พ ัฒ นาเศรษฐกิจ ซึ่ง เป็ น ยุทธศาสตร์เชิงพืน้ ทีท่ ส่ี ามารถสนองตอบการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ โดย ๕.๒.๑ พัฒนาพื้นที่ในภูมภิ าคต่างๆ ของประเทศให้เชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านและ ภูมภิ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อเป็ นฐานการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม การเกษตรและการแปรรูป การเกษตร และการท่อ งเที่ยวในภูมภิ าค โดยมีแ ผนงานเชิงรุกที่รู้เ ท่าทันต่ อ การดาเนินนโยบายของ มหาอ านาจในภูมภิ าคด้านการลงทุนในประเทศเพื่อ นบ้านโดยเฉพาะการพัฒนาตามแนวพื้นที่พฒ ั นา เศรษฐกิจเชื่อมโยงตามแนวตะวันออก-ตะวันตก ตามแนวเหนือ -ใต้ และแนวตอนใต้ของแผนงาน GMS และเชื่อมโยงแนวพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจของ IMT-GT ทีม่ ศี กั ยภาพและมีความเป็ นไปได้ในการเชื่อมโยง เพื่อให้ เปิ ดช่อ งทางการเชื่อ มโยงที่มคี วามหลากหลายและเป็ นทางเลือ กให้ไทยในทุกสถานการณ์ ทัง้ นี้ โดย หน่ วยงานรัฐที่เกี่ยวข้องร่วมหารือกับภาคเอกชนในการกาหนดแผนการลงทุน และหารือกับภาครัฐและ ภาคเอกชนของประเทศเพื่อนบ้านในกรอบ การหารือระหว่างภาครัฐ/ภาคเอกชนด้านธุรกิจ โดยคานึงถึง ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ สังคมและสิง่ แวดล้อมของทุกประเทศโดยกาหนดมาตรการดูแลป้องกันผลกระทบ ให้เกิดประโยชน์ต่อทุกประเทศอย่างเสมอภาคและเป็นธรรม และเป็ นผลให้ทุกประเทศยังสามารถรักษาอัต ลักษณ์ของตนไว้ได้เพื่อประโยชน์ในเชิงความสามารถในการแข่งขันในเชิงการตลาด ด้านสังคมวัฒนธรรม และความมันคงภายใน ่ รวมทัง้ โดยคานึงถึงการพัฒนาแบบเศรษฐกิจพอเพียง กับคานึงถึงศักยภาพการ พัฒนาต่อยอดของผลผลิตเกษตรในท้องถิน่ ทีม่ ศี กั ยภาพที่แท้จริงและเป็นทีย่ อมรับในการพัฒนาในพืน้ ที่ ๕.๒.๒ พัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดนให้มบี ทบาทการเป็ นประตูเชื่อมโยง เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อนบ้าน ทัง้ พืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจชายแดนทีพ่ ฒ ั นาต่อเนื่องและพืน้ ทีใ่ หม่ โดยเฉพาะการ พัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง ระบบโลจิสติกส์ มาตรฐานการให้บริการและอานวยความสะดวกบริเวณจุด ผ่านแดน ขีดความสามารถของบุคลากรและผู้ประกอบการท้องถิน่ เพื่อสนับสนุ นการพัฒนาการค้า การ ลงทุ น การท่อ งเที่ยว โดยค านึง ถึง และมีม าตรการรองรับที่เ หมาะสมต่ อ ผลกระทบเข้าสู่ป ระเทศโดย ส่วนรวมอันอาจเกิดจากการเคลื่อนย้ายแรงงานจากประเทศเพื่อนบ้าน การขนย้ายยาเสพติดและสิง่ ผิด กฎหมายข้ามแดนเข้าสู่พน้ื ทีอ่ ่นื ๆของประเทศ ทัง้ นี้ ในการพัฒนาเขตเศรษฐกิจชายแดนและเมืองชายแดน จะต้องคานึงถึงศักยภาพด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของพืน้ ที่ มีแผนบูรณาการด้านการ บริหารจัดการและพัฒนาด้านแรงงานเพื่อการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้านตาม กรอบความร่วมมืออนุ ภูมภิ าคต่างๆ และความสอดคล้องกับแผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยง ระหว่างประเทศตามแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนและยุทธศาสตร์ในภาพรวมอื่นๆ


๕.๒.๓ บูรณาการแผนพัฒนาพืน้ ทีเ่ ชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน โดยเชื่อมโยงแผนพัฒนา เพื่อให้บรรลุประโยชน์ ร่วมทัง้ ในด้านความมันคงและเสถี ่ ยรภาพของพื้นที่ ซึ่งเป็ นปจั จัยเริม่ แรกของการ พัฒนาเศรษฐกิจทีย่ งยื ั ่ น และเพื่อให้เกิดการพัฒนาจากระบบการผลิตร่วมทีส่ ร้างสรรค์ประโยชน์ทท่ี ดั เทียม ระหว่างกัน จากการบริการ การจัดสรรและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและแรงงานทีเ่ ป็ นประโยชน์ร่วมกัน โดยอาจพัฒนาไปสู่การเป็นคลัสเตอร์การผลิตร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านในสถานะทีม่ คี วามเสมอภาคต่อไป เมื่อทุกประเทศมีความพร้อมทัวกั ่ น ทัง้ นี้ ในการร่วมพัฒนาผลิตภัณฑ์สนิ ค้าในห่วงโซ่การผลิตร่วมกับ ประเทศเพื่อนบ้านควรคานึงถึงอุปทานในตลาดอนุ ภูมภิ าคและตลาดเป้าหมายเป็ นหลัก ๕.๓ การสร้างความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคมอาเซี ยน โดยผลักดันให้ไทยมีบทบาทนาที่ สร้างสรรค์ในเวทีระหว่างประเทศในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ซึง่ จะต้องมีการเตรียมการ ได้แก่ ๕.๓.๑ พัฒนาความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนที่มศี กั ยภาพในการร่วม พัฒนาบุคลากรในทุกภาคส่วนเศรษฐกิจ ภาคการผลิต อุตสาหกรรมแปรรูป รวมทัง้ ผูป้ ระกอบการขนาด กลางและขนาดย่อม (SME) โดยเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่องประชาคมอาเซียน ให้ได้รบั ข้อมูล และศึก ษากฎระเบียบและข้อ ตกลงต่ า งๆที่เ กี่ยวข้อ ง รวมทัง้ ภาษาและขนบธรรมเนียมและวัฒนธรรม เพื่อให้มคี วามเข้าใจชัดเจน เพื่อให้มคี วามรูแ้ ละมีสมรรถนะในการแข่งขันในระบบเสรี เพื่อเตรียมความ พร้อมของธุรกิจในการได้ประโยชน์จากความเป็ นเสรีทงั ้ ด้านการค้า การลงทุนและบริการ การเสริมสร้าง ความรู้ด้านทรัพย์ส ินทางปญั ญา ตลอดจนแนวทางการขยายตลาดตามโอกาสและข้อตกลงใหม่ๆ ที่จะ เกิดขึน้ พร้อมทัง้ มีระบบการเยียวยาช่วยเหลือผู้ได้รบั ผลกระทบจากการปรับโครงสร้างและการแข่งขัน พร้อมทัง้ เตรียมการรองรับผลกระทบในด้านการเปลีย่ นแปลงราคาสินค้าเกษตร พลังงานและโอกาสในการ เกิดการขาดแคลนสินค้าเกษตรอันเนื่องจากการเคลื่อนไหวเสรีของสินค้าโดยแสวงหาความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและภาคเอกชนผูผ้ ลิตรายใหญ่ ๕.๓.๒ เสริมสร้างความเข้มแข็งให้สถาบันการศึกษาทัง้ ของรัฐและเอกชนให้มมี าตรฐาน เป็นทีย่ อมรับในระดับสากล ตลอดจนการยกระดับทักษะฝีมอื แรงงาน ทักษะด้านภาษาและความรอบรูด้ า้ น ภาษาขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรม เพื่อเตรียมความพร้อมของแรงงานไทยเข้าสู่ตลาดแรงงาน ในภูมภิ าคอาเซียน โดยไทยมีบทบาทนาในอาเซียนร่วมกับประเทศอื่นทีม่ ศี กั ยภาพ ๕.๓.๓ กาหนดมาตรฐานขัน้ พื้นฐานของคุณภาพสินค้าและบริการ เพื่อป้องกันสินค้าและ บริการนาเข้าที่ไม่ได้คุณภาพทัง้ ในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ซึ่งอาจก่อให้เกิดภัยอันตรายต่อ ชีวติ และทรัพย์สนิ และก่อให้เกิดมลพิษต่อสิง่ แวดล้อม ตลอดจนการกาหนดระบบบริหารจัดการร่วมด้าน การพัฒนาทักษะและด้านคุณสมบัติของแรงงานนาเข้า เพื่อให้ได้แรงงานที่มคี ุณภาพ และตรงกับความ ต้องการสาหรับทุกประเทศ ๕.๔ การเข้ าร่วมเป็ นภาคี ความร่วมมือระหว่ างประเทศระหว่ างภูมิภาคโดยมีบทบาทที่ สร้างสรรค์ เพื่อเป็ นทางเลือกในการดาเนิ นนโยบายระหว่างประเทศในเวที โลก เพื่อรักษาสมดุลใน ปฏิสมั พันธ์ระหว่างไทยและมหาอานาจต่างๆ ทัง้ ในระดับโลกและภูมภิ าค และประโยชน์ อ่นื ๆ ของประเทศ ทัง้ ในด้านการค้า ความมันคงของอาหาร/พลั ่ งงาน โอกาสทางการตลาดของผลิตภัณฑ์ไทย โอกาสในการ เข้าถึงตลาดเงิน และตลาดทุน ที่ท ันสมัย และเป็ นทางเลือ กของประเทศ การสร้า งปฏิส ัมพันธ์ระหว่ า ง ประชาชนในกรอบนานาชาติและการรักษาเสถียรภาพและความมันคงของไทยและภู ่ มภิ าคโดยรวม


๕.๔.๑ รักษาบทบาทของไทยในการมีส่วนร่วมกาหนดยุทธศาสตร์ของกรอบความร่วมมือที่ ด าเนิ น อยู่ เช่ น เอเปค กรอบการประชุ ม สุ ด ยอดเอเชียตะวันออก รวมทัง้ เฝ้ า ติด ตามพัฒนาการและ พิจารณาเข้าร่วมกรอบทีเ่ ป็ นทางเลือกใหม่ เช่น กรอบ Asia-Middle East Dialogue (AMED) และกรอบ ความตกลง Trans Pacific Partnership (TPP) ในลักษณะเชิงรุก เป็นต้น ๕.๔.๒ รักษาดุลยภาพของปฏิสมั พันธ์กบั มหาอานาจทางเศรษฐกิจเดิมและมหาอานาจใหม่ เพื่อความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จของประเทศอย่างยังยื ่ น โอกาสในการเข้าถึงนวัตกรรม และโอกาสในการ ดาเนินนโยบายทางเศรษฐกิจทีเ่ ปิดกว้าง ๕.๕ การสร้างความเป็ นหุ้นส่วนทางเศรษฐกิ จในภูมิภาคด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเคลื่ อ นย้ ายแรงงาน และการส่ งเสริ มแรงงานไทยในต่ างประเทศ ในลักษณะเกื้อกูลกัน ผ่าน กิจกรรมเชื่อมโยงห่วงโซ่การผลิตและการเคลื่อนย้ายแรงงานระหว่างกันอย่างเสรีและมีประสิทธิภาพ โดย ๕.๕.๑ เร่งดาเนินการด้านการยอมรับมาตรฐานฝี มอื ระหว่างประเทศเพื่อ อ านวยความ สะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน ซึง่ จะช่วยเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ไปพร้อมกัน และจัดทาแผนบูรณาการกับประเทศเพื่อนบ้านด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุ ษย์ การศึกษา และทักษะแรงงานรองรับการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภายในประเทศและอนุ ภูมภิ าค และการเข้าสู่สงั คม ผูส้ งู อายุของไทยเพื่อให้มกี ารจัดแรงงานรองรับประเทศไทยทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากการเข้าสู่สงั คมผูส้ ูงอายุ แล้วก่อนประเทศเพื่อนบ้าน ๕.๕.๒ ส่งเสริมผู้ประกอบการไทยในการขยายการลงทุนไปสู่ต่างประเทศ โดยเฉพาะใน ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อแก้ปญั หาการขาดแคลนแรงงานและวัตถุดบิ ในประเทศ และใช้ประโยชน์จากสิทธิ พิเศษ (GSP) ของประเทศเพื่อนบ้านในการผลิตเพื่อส่งออก โดยการสร้างตราสัญลักษณ์ และสร้าง เครือข่ายธุรกิจโดยการหาตัวแทนและหุ้นส่วนในต่างประเทศ การสนับสนุ นด้านสินเชื่ อ การให้ความรู้ เกี่ยวกับการจัดตัง้ ธุรกิจและการเข้าสู่ตลาดต่างประเทศ การจัดตัง้ หอการค้าและสมาคมธุรกิจเอกชนไทย ในต่างประเทศ จัดตัง้ เวทีประสานงานระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน ควบคู่กบั สภาธุรกิจของกรอบความ ร่วมมืออนุ ภูมภิ าค และศูนย์ประสานงานระดับท้องถิน่ กับประเทศเพื่อนบ้านบริเวณชายแดน การส่งเสริม ให้ผปู้ ระกอบการและผูส้ ่งออกไทยใช้สทิ ธิพเิ ศษทางการค้าตามข้อตกลงทางการค้าต่างๆ ๕.๕.๓ คุ้ ม ครองและส่ ง เสริม สิท ธิแ ละผลประโยชน์ ข องคนไทยและแรงงานไทยใน ต่างประเทศ และสนับสนุ นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนไทยในต่างประเทศ โดยการให้ความรู้ ดา้ น กฎหมายท้องถิน่ สนับสนุ นกิจกรรมคนไทย เสริมสร้างชุมชนไทยในต่างประเทศให้อยู่ได้อย่างมีศกั ดิ ์ศรี และมีคุณภาพชีวติ ทีด่ ี สนับสนุนการฝึกอบรมทักษะฝีมอื และทักษะการใช้ภาษา การสร้างหลักประกัน การ คุ้มครองดูแลการจัดส่งแรงงานไปทางานในต่างประเทศ และการติดตามดูแลช่วยเหลือคนไทยที่ประสบ ปญั หาในต่ างประเทศ และคุ้มครองสิทธิประโยชน์ แ รงงานไทยในต่ างประเทศให้ได้รบั ประโยชน์ ตามที่ กฎหมายกาหนด ๕.๖ การมีส่วนร่วมอย่างสาคัญในการป้ องกันภัยจากการก่อการร้ายและอาชญากรรม ยา เสพติ ด ภัยพิ บตั ิ และการแพร่ระบาดของโรคภัย ที่ส่งผลต่อสภาวะทางเศรษฐกิจในระยะยาว จาก ผลกระทบในด้านความมันคงแห่ ่ งชีวติ เศรษฐกิจ ความเป็นอยู่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยังยื ่ นในภูมภิ าค โดย


๕.๖.๑ พัฒนาศักยภาพและความพร้อมในการป้องกันและแก้ปญั หาข้ามชาติด้านการก่ อ การร้าย ปญั หายาเสพติด และการหลบหนีเข้าเมืองทัง้ ระบบ เพื่อลดผลกระทบจากการเปิ ดเสรีและสร้าง ความมันทางเศรษฐกิ ่ จ ควบคู่ไปกับการปรับปรุงระบบการเข้าเมือง การจัดระเบียบชายแดน การจัดระบบ แ ร ง ง า น ต่างด้าว และการแก้ไขปญั หาสถานะและสิทธิของบุคคลที่ชดั เจน ร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านและนานา ประเทศตลอดจนการรักษาผลประโยชน์ของชาติทงั ้ ทางบกและทางทะเล ๕.๖.๒ เตรียมพร้อ มรับภัยพิบตั ิทางธรรมชาติและเหตุ ฉุกเฉิน โดยพัฒนาศักยภาพและ ความร่วมมือภายในภูมภิ าค เพื่อพร้อมรับต่อเหตุการณ์ฉุกเฉินและภัยทางธรรมชาติ โดยให้มกี ารบริหาร จัดการโดยใช้แผนดาเนินธุรกิจต่อเนื่อง เร่งสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐและเอกชน เพื่อปกป้องธุรกิจ การค้า และความเสียหายที่เกิดขึน้ ต่อคน ตลอดจนรักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและคุณภาพชีวติ ผ่านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีม่ ปี ระสิทธิภาพ ๕.๖.๓ ร่วมมือในการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่ระบาดของโรคภัยประเภทที่เกิดขึ้น ใหม่ในโลก โดยสร้างศักยภาพในการเตรียมความพร้อมรับการดูแลด้านสาธารณสุ ข รวมทัง้ การแพร่ ระบาดของโรคอุบตั ใิ หม่และโรคระบาดซ้า ๕.๗ การเสริ มสร้างความร่วมมือที่ดีระหว่างประเทศในการสนับสนุนการเจริ ญเติ บโตทาง เศรษฐกิ จอย่างมีจริ ยธรรมและไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดย ๕.๗.๑ ด าเนิ น การตามกรอบความร่ ว มมือ ด้า นสิ่ง แวดล้ อ มในระดับ อนุ ภู ม ิภ าค อาทิ แผนงานด้านสิง่ แวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ ภายใต้กรอบความร่วมมือในอนุ ภูมภิ าคลุ่ม แม่น้ าโขง ๖ ประเทศ และความร่วมมือซึง่ การพัฒนาแม่น้ าโขงอย่างยังยื ่ น และระดับภูมภิ าค อาทิ มติท่ี ประชุมรัฐมนตรีสงิ่ แวดล้อมอาเซียน รวมทัง้ พันธกรณีระหว่างประเทศด้านสิง่ แวดล้อมต่างๆ อย่างต่อเนื่อง ๕.๗.๒ เสริมสร้างการผลิตและบริโภคสินค้าและบริการที่นาสู่การลดการปล่อยก๊าซเรือน กระจก ลดมลพิษ ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไม่มปี ระสิทธิภาพ และลดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม เช่น การขยายอุตสาหกรรมสีเขียว การใช้พลังงานทดแทน การผลิตทีม่ คี าร์บอนต่ า การบริหารจัดการน้ า อย่า งมีป ระสิทธิภาพ โดยการเผยแพร่ค วามรู้เ รื่อ งเทคโนโลยีท่ีมปี ระสิทธิผ ลในการน าไปใช้ได้อ ย่า ง เหมาะสมและมีต้นทุนที่ต่ า การสร้างแรงจูงใจในภาคเอกชน และการสร้างหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่าง ภาครัฐและเอกชน ๕.๘ การเร่งรัดการใช้ ประโยชน์ จากข้อตกลงการค้าเสรีที่มีผลบังคับใช้ แล้ว โดยสร้างองค์ ความรูใ้ ห้กบั ภาคธุรกิจโดยเฉพาะผูไ้ ด้รบั ผลกระทบทัง้ เชิงบวกและลบเพื่อให้สามารถพัฒนาศักยภาพและ โอกาสของตนเองในการใช้ประโยชน์จากการเปิดการค้าเสรี โดยเฉพาะอย่างยิง่ ภาคธุรกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อมได้รบั การสนับสนุ น เยียวยาและดูแลจากรัฐในกรณีทไ่ี ม่สามารถปรับตัวได้ทนั ๕.๙ การปรับปรุงและเสริ มสร้างความเข้มแข็งของภาคี การพัฒนาภายในประเทศตัง้ แต่ ระดับชุ มชนท้ อ งถิ่ น ให้พ ร้อ มต่ อ การเชื่อ มโยงทิศ ทางการพัฒนาที่เปลี่ยนแปลงในบริบทโลก เอเชีย แปซิฟิก อาเซียน และอนุภมู ภิ าค โดย


๕.๙.๑ เสริม สร้ า งศั ก ยภาพชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ให้ ร ับ รู้ แ ละเตรีย มพร้ อ มรับ กระแสการ เปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยการพัฒนาองค์ความรู้และสร้างเครือข่ายแลกเปลี่ยน เรียนรู้ รวมทัง้ ส่งเสริมการสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจที่ดตี ่อกันในระดับประชาชนโดยผ่านการ เชื่อมโยงเครือข่ายทางชุมชนและวัฒนธรรม ๕.๙.๒ สนับสนุ นกลไกการพัฒนาระดับพื้นที่ โดยเฉพาะคณะกรรมการบริหารงานจังหวัด แบบบูรณาการ (กบจ.) คณะกรรมการบริหารงานกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (กบก.) คณะกรรมการ กรอ. จังหวัด และคณะกรรมการ กรอ. กลุ่มจังหวัด รวมทัง้ หน่ วยงานด้านความมันคงในพื ่ ้นที่ ในการกาหนด ยุทธศาสตร์การพัฒนาระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยเฉพาะจังหวัดชายแดน ให้มวี สิ ยั ทัศน์ท่กี ้าวทัน โลกและสามารถพัฒนาเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้านในทิศทางทีส่ อดคล้องกับนโยบายการพัฒนาร่วมกัน ระหว่างประเทศ ๕.๙.๓ ส่งเสริมศัก ยภาพด้านวิชาการและเครือข่ายของสถาบันการศึกษาของไทย เพื่อ สร้างความใกล้ชดิ ทางสังคม วัฒนธรรม และปฏิสมั พันธ์กบั ประเทศในอนุภมู ภิ าค


บ ท ที่ ๘ ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างยังยื ่ น ๑

สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

สถานการณ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศไทย ได้รบั ผลกระทบจากการ เปลีย่ นแปลงในบริบทโลก และปจั จัยภายในประเทศ ทัง้ เรือ่ งการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ การเพิม่ ขึน้ ของประชากร การพัฒนาเศรษฐกิจทีม่ งุ่ การเจริญเติบโตและการแข่งขันทางด้านการค้า และการลงทุน ทา ให้มกี ารใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติเกินศักยภาพในการรองรับของระบบนิเวศ ในขณะทีข่ ดี ความสามารถของการบริหารจัดการและเครือ่ งมือทางนโยบาย เช่น ฐานข้อมูล กฎระเบียบ การบังคับใช้ กฎหมาย และเครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตร์ ยังไม่สามารถนามาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ นาไปสู่ความ เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และส่งผลต่อความสมดุลของระบบนิเวศโดยรวมอย่าง ต่อเนื่อง ๑.๑ พื้นที่ป่าไม้ยงั คงถูกบุกรุกทาลาย ส่งผลกระทบต่อความสมดุลของระบบนิ เวศและ ความหลากหลายทางชีวภาพ พืน้ ทีป่ ่าไม้ของประเทศไทยมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง โดยลดลงจาก ๑๗๑ ล้านไร่ ในปี ๒๕๐๔ หรือคิดเป็นร้อยละ ๕๓.๓๓ เหลือ ๑๐๗.๖ ล้านไร่ในปี ๒๕๕๒ หรือคิดเป็นร้อย ละ ๓๓.๕๖ ของพืน้ ทีป่ ระเทศ จากพืน้ ทีป่ ่าทีล่ ดลงได้ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศปา่ และความหลากหลาย ทางชีวภาพ ซึง่ เป็นแหล่งพึง่ พิงในการดารงชีวติ ของชุมชน และเป็นพืน้ ฐานการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศในอนาคต ได้มกี ารบริหารจัดการเพื่อการอนุ รกั ษ์และใช้ประโยชน์ โดยมีการค้นพบสิง่ มีชวี ติ ชนิด พันธุใ์ หม่ในประเทศไทยหลายชนิด แต่จานวนชนิดพันธุท์ เ่ี สีย่ งต่อการสูญพันธุก์ ม็ จี านวนเพิม่ มากขึน้ ๑.๒ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝังมี ่ แนวโน้ มเสื่อมโทรมลงอย่างต่อเนื่ อง ปจั จุบนั ประเทศ ั ่ งคง ไทยมีพน้ื ทีป่ า่ ชายเลนรวม ๑.๕ ล้านไร่ คิดเป็ นร้อยละ ๐.๔๗ ของพืน้ ทีป่ ระเทศ ทรัพยากรชายฝงยั ได้รบั แรงกดดันจากการขยายตัวของการพัฒนา การก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน และการท่องเทีย่ ว รวมทัง้ การเปลีย่ นแปลงทางกายภาพอันได้แก่ปญั หาการกัดเซาะชายฝงั ่ โดยตัง้ แต่อดีตถึงปี ๒๕๕๐ แนวชายฝงั ่ ทะเลทัวประเทศถู ่ กกัดเซาะ ๑๕๕ แห่ง รวมเป็ นความยาวประมาณ ๖๐๐ กิโลเมตร สูญเสียทีด่ นิ ไปถึง ๑๑๓,๐๔๒ ไร่ คิดเป็นมูลค่าความเสียหายเฉพาะทีด่ นิ ประมาณ ๑ แสนล้านบาท ส่วนพืน้ ทีแ่ นวชายฝงั ่ ทะเลอ่าวไทยตอนในทัง้ หมดซึง่ ได้รบั การจัดเป็นพืน้ ทีช่ ุ่มน้ าทีม่ คี วามสาคัญระดับชาติ พบว่า มีอตั ราการ กัดเซาะรุนแรงมากกว่า ๕ เมตรต่อปี ๑.๓ ทรัพยากรดิ นเสื่อมโทรมและมีความขัดแย้งในการใช้ประโยชน์ ที่ดิน ทรัพยากรดินซึง่ เป็ นปจั จัยการผลิตทีส่ าคัญ มีทงั ้ ปญั หาคุณภาพดินเสื่อมโทรม การใช้ทด่ี นิ ทีไ่ ม่เหมาะสมกับศักยภาพพืน้ ที่ และปญั หาการกระจายการถือครองทีด่ นิ พืน้ ทีด่ นิ เสื่อมโทรมในระดับรุนแรงและระดับวิกฤตเท่ากับ


๓๕.๙๗ ล้านไร่ คิดเป็ นร้อยละ ๑๑.๒๔ ของพืน้ ทีป่ ระเทศ มีการเข้าครอบครองใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในพืน้ ที่ อนุรกั ษ์ รวมทัง้ มีการขยายตัวของเมือง พืน้ ทีอ่ ุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม รุกพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมมากขึน้ ๑.๔ ความขาดแคลนน้ามีแนวโน้ มทวีความรุนแรงมากขึ้น การเกิ ดภัยพิ บตั ิ ทางธรรมชาติ ทัง้ อุทกภัยและปัญหาภัยแล้งมีแนวโน้ มบ่อยครัง้ และรุนแรงขึ้น การขาดแคลนน้ าจะมีความรุนแรงขึน้ จากความต้องการใช้น้ าทีเ่ พิม่ ขึน้ โดยปจั จุบนั มีปริมาณน้าต้นทุนเพียง ๒ ใน ๓ ของความต้องการใช้น้ า เท่านัน้ ความสามารถเก็บกักน้าเพื่อนามาใช้งานได้ในฤดูแล้งในปี ๒๕๕๓ มีเพียง ๗๔,๐๐๐ ล้าน ลบ.ม. ขณะที่ ความต้องการใช้น้าจะเพิม่ ขึน้ จาก ๗๓,๗๘๘ ล้าน ลบ.ม./ปี ในปี ๒๕๕๑ เป็น ๗๗,๖๓๒ ล้าน ลบ.ม./ปี ใน ปี ๒๕๕๔ และเพิม่ เป็น ๘๘,๕๒๑ ล้าน ลบ.ม./ปี ในปี ๒๕๕๙ โดยความต้องการน้ าของภาคกลางจะมาก ทีส่ ุด รองลงมาคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ และภาคใต้ ตามลาดับ ดังนัน้ โอกาสทีค่ วามรุนแรง ของปญั หาการขาดแคลนน้ า และความขัดแย้งจากการแย่งชิงน้ าระหว่างลุ่มน้ าและระหว่างภาคการผลิตจะ เพิม่ สูงขึน้ ในทุกสาขาการผลิต ทัง้ นี้หมูบ่ า้ นทีม่ คี วามเสีย่ งต่อการเกิดภัยแล้งในระดับปานกลางถึงระดับ รุนแรงมีประมาณร้อยละ ๓๔ ของจานวนหมู่บา้ นทัง้ ประเทศ โดยลุ่มน้าภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความ เสีย่ งมากทีส่ ุด ในขณะทีม่ หี มูบ่ า้ นเสีย่ งต่ออุทกภัย น้าหลากและดินถล่มมี ๒,๓๗๐ หมูบ่ า้ น โดยหมูบ่ า้ นที่ เสีย่ งภัยสูงมี ๓๙๘ หมูบ่ า้ น ทัง้ นี้ ภาคกลางมีความเสีย่ งมากทีส่ ุด สาเหตุสาคัญเกิดจากการทีพ่ น้ื ทีป่ า่ ต้นน้ าถูกบุกรุก ทาลาย ๑.๕ ความต้องการใช้แร่และพลังงานมีเพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ก่อให้เกิ ดผลกระทบต่อ สิ่ งแวดล้อม ความต้องการทรัพยากรแร่เพื่อเป็นฐานการผลิตในภาคอุตสาหกรรมเพื่อการก่อสร้างพืน้ ฐาน และการพัฒนาอื่นๆ ยังคงเพิม่ สูงขึน้ ทาให้มกี ารผลิตและนาเข้าจากต่างประเทศเพิม่ ขึน้ ซึง่ ผลจากการ พัฒนาทรัพยากรแร่ได้ส่งผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม สุขภาพอนามัย และวิถชี วี ติ ของประชาชนและชุมชน เช่น กรณีปญั หาการปนเปื้อนของตะกัวในล ่ าห้วยคลิต้ี อาเภอทองผาภูม ิ จังหวัดกาญจนบุร ี ทีเ่ กิดจากการ ชะล้างกากตะกอนและการแต่งแร่ และการปนเปื้อนของสารแคดเมีย่ มในดิน ในข้าว และพืน้ ทีเ่ กษตรกรรม จากการทาเหมืองแร่สงั กะสีในอาเภอแม่สอด จังหวัดตาก เป็นต้น รวมทัง้ ยังมีปญั หาการจัดการหน้าดิน และการปนเปื้อนในพืน้ ทีเ่ หมืองทีป่ ิดกิจการแล้วและพืน้ ทีโ่ ดยรอบ ความต้องการใช้พลังงานของประเทศเพิม่ ขึน้ ตลอด ๓๐ ปีทผ่ี ่านมา โดยในช่วง ๕ ปีทผ่ี ่าน มา มีการใช้พลังงานเพิม่ ขึน้ เฉลีย่ ร้อยละ ๒.๑ ต่อปี จึงต้องมีการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศ โดยเฉพาะ น้ามันดิบทีม่ สี ดั ส่วนการนาเข้าสูงถึงเกือบร้อยละ ๗๐ ของปริมาณการนาเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ทงั ้ หมด รวมทัง้ มีการพัฒนาพลังงานทางเลือกอื่นๆ เพื่อทดแทนการนาเข้าพลังงานจากต่างประเทศ โดยสนับสนุน ให้มกี ารวิจยั และพัฒนาด้านพลังงานหมุนเวียน และพลังงานทดแทนทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม อย่างไรก็ ตาม การพัฒนาและการใช้พลังงานได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่าง มาก เนื่องจากการผลิตพลังงานมีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติหลายประเภท เช่น ทรัพยากรน้ า ปา่ ไม้ และ แร่ อีกทัง้ การพัฒนาและการใช้พลังงานทีม่ กี ารปล่อยสารมลพิษทางอากาศได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม และมีแนวโน้มเพิม่ สูงขึน้ ดังเช่นกรณีการผลิตพลังงานไฟฟ้าทีใ่ ช้ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ หรือ ชีวมวลเป็นเชือ้ เพลิง เป็นต้น รวมทัง้ ยังเป็ นสาเหตุสาคัญประการหนึ่งในการทาให้เกิดการเปลีย่ นแปลง


สภาพภูมอิ ากาศ นอกจากนี้ ความต้องการและราคาพลังงานทีเ่ พิม่ สูงขึน้ อาจนาไปสู่การบุกรุกพืน้ ทีป่ ่าไม้ เพื่อขยายพืน้ ทีเ่ พาะปลูกพืชพลังงานอีกด้วย ๑.๖ สถานการณ์ มลพิ ษและสิ่ งแวดล้อมด้านต่างๆ เช่น มลพิ ษทางอากาศ น้า และขยะมูล ฝอยมีแนวโน้ มเสื่อมโทรมและรุนแรงเพิ่ มขึ้นจากการเจริ ญเติ บโตทางเศรษฐกิ จ การขยายตัวของ ชุมชน และพฤติ กรรมการบริ โภคที่ฟมเฟื ุ่ อย กล่าวคือ ๑.๖.๑ มลพิ ษทางอากาศในเขตเมืองใหญ่และพื้นที่เศรษฐกิ จที่สาคัญมีค่าเกิ น มาตรฐาน ในปี ๒๕๕๑ มีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ๑๙๓.๘ ล้านตัน หรือร้อยละ ๙๘ ของการ ปล่อยสารมลพิษทางอากาศทัง้ หมด โดยส่วนใหญ่มาจากกิจกรรมการผลิตไฟฟ้า คมนาคมขนส่ง และ อุตสาหกรรมการผลิต ในขณะทีค่ ุณภาพอากาศยังคงมีปญั หาเรือ่ งฝุน่ ละอองขนาดเล็ก (PM๑๐) เกินค่า มาตรฐาน เช่น ในจังหวัดสระบุร ี แม่ฮ่องสอน เชียงราย ลาปาง กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ พระนครศรีอยุธยา สมุทรปราการ ระยอง และชลบุร ี เป็นต้น สาเหตุหลักเกิดจากการจราจรขนส่งในเขต เมือง การอุตสาหกรรม หมอกควันจากการเผาในทีโ่ ล่งและไฟปา่ บริเวณพืน้ ทีร่ มิ ถนน ในเขต กรุงเทพมหานคร และปริมณฑล ยังคงได้รบั ผลกระทบจากมลพิษทางเสียงทีม่ าจากการจราจร ทีม่ คี ่าสูง เกินมาตรฐาน รวมทัง้ ยังมีปญั หาการจัดการมลพิษทางเสียงของท่าอากาศยานสุวรรณภูม ิ ๑.๖.๒ สถานการณ์ การปล่อยก๊าซเรือนกระจกเพิ่ มขึ้นอย่างต่อเนื่ อง ในปี ๒๕๔๗ ประเทศไทยปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวมทัง้ สิน้ ๒๖๕.๘๙ ล้านตัน รวม F gases ซึง่ ได้แก่ ก๊าซไฮโดรฟลูโอ โรคาร์บอน (HFCs) เปอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFCs) และซัลเฟอร์เฮกซาฟลูออไรด์ (SF6) และการปล่อย จากภาคการเปลีย่ นแปลงการใช้พน้ื ทีแ่ ละป่าไม้ ทัง้ นี้อตั ราการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพิม่ ขึน้ ร้อยละ ๕.๖๑ จากปี ๒๕๔๖โดยภาคพลังงานปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากทีส่ ุด คิดเป็นร้อยละ ๗๖.๗๑ (รวมการผลิต พลังงาน การใช้พลังงานในภาคส่วนต่างๆ เช่น การขนส่ง และการพาณิชย์ เป็ นต้น) รองลงมาคือภาค เกษตร คิดเป็นร้อยละ ๒๐.๖๙ และภาคอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ ๘.๗๘ ของการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ทัง้ หมด ๑.๖.๓ ปัญหามลพิ ษทางน้านับวันจะรุนแรงมากขึ้นจากการเพิ่ มขึ้นของจานวน ประชากรและจานวนโรงงานอุตสาหกรรมที่เติ บโตขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิ จ ในปี ๒๕๕๓ คุณภาพน้าในแม่น้าสายหลักและแหล่งน้าสาคัญของประเทศ ทีม่ คี ุณภาพอยูใ่ นเกณฑ์ดแี ละพอใช้ คิดเป็น ร้อยละ ๖๑ โดยมีแนวโน้มเสื่อมโทรมลงเมือ่ เทียบกับปี ๒๕๕๒ และ ๒๕๕๑ ทีม่ สี ดั ส่วนคุณภาพน้าทีอ่ ยูใ่ น เกณฑ์ดแี ละพอใช้รวมกันถึง ร้อยละ ๖๖ และ ๗๖ ตามลาดับ ส่วนน้าบาดาลในหลายพืน้ ทีม่ กี ารปนเปื้อนจากสารเคมีทเ่ี ป็ นอันตราย ๑.๖.๔ ปริ มาณของเสียทัง้ จากชุมชนและอุตสาหกรรมเพิ่ มขึ้นและยังขาดการจัดการ ที่ถกู ต้อง ปริมาณขยะมูลฝอยชุมชนมีจานวนประมาณ ๑๕.๑๖ ล้านตัน แต่ได้รบั การกาจัดอย่างถูกต้อง เพียง ร้อยละ ๓๘ และมีอตั ราการนากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เพียงร้อยละ ๒๖ สาหรับของเสียอันตรายเกิดขึน้ ประมาณ ๓.๐๙ ล้านตันในปี ๒๕๕๓ โดยมาจากภาคอุตสาหกรรมร้อยละ ๗๗ ทัง้ นี้ของเสียอันตรายที่ เกิดขึน้ มากกว่าร้อยละ ๗๐ เกิดขึน้ ในพืน้ ทีภ่ าคตะวันออก และกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยร้อยละ ๙๗ ของของเสียอันตรายจากภาคอุตสาหกรรมได้รบั การจัดการอย่างเหมาะสม โดยมีโรงงานทีร่ บั จัดการ ของเสียอันตราย ๓๑๑ แห่ง ขีดความสามารถในการรองรับ ๑๐.๗๓ ล้านตันต่อปี แต่โรงงานส่วนใหญ่


ตัง้ อยูใ่ นพืน้ ทีภ่ าคกลางและภาคตะวันออก ส่งผลให้แหล่งกาเนิดของเสียอันตรายในภูมภิ าคอื่นต้องเสีย ค่าใช้จ่ายในการขนส่งเพื่อนาไปกาจัดสูง จึงทาให้มกี ารเก็บรวบรวมของเสียอันตรายไว้ในโรงงาน หรือมี การลักลอบทิง้ ปนไปกับขยะมูลฝอยชุมชน ๑.๖.๕ การใช้สารเคมีในภาคเกษตรกรรมและภาคอุตสาหกรรมยังคงมีแนวโน้ ม เพิ่ มขึ้น แต่ การใช้ กลไกควบคุมยังขาดประสิ ทธิ ภาพ ทาให้ มีทะเบียนสารเคมีทางการเกษตรมาก เป็ นอันดับ ๑ ของโลก ในปี ๒๕๕๓ มีการผลิตและนาเข้าสารเคมีจากต่างประเทศรวม ๔๐.๕ ล้านตัน โดย เป็นการนาเข้าจากต่างประเทศประมาณ ๑๕.๕ ล้านตัน และผลิตเองในประเทศ ๒๕ ล้านตัน เพิม่ ขึน้ จากปี ๒๕๕๑ ซึง่ มีการผลิตและนาเข้าสารเคมีจากต่างประเทศ ๒๙.๔๕ ล้านตัน ทาให้มโี อกาสเสีย่ งต่อการเกิด ปญั หาด้านสิง่ แวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประชาชน อันเนื่องมาจากการรัวไหลจากการขนส่ ่ ง การ จัดเก็บทีไ่ ม่ปลอดภัย การใช้ทไ่ี ม่ถูกวิธ ี นอกจากนี้ การเกิดอุบตั ภิ ยั จากสารเคมีกม็ แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ ด้วย เช่นกัน ๑.๗ การบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมในปัจจุบนั ยังไม่มี ประสิ ทธิ ภาพเท่ าที่ควร ขาดการบูรณาการร่วมระหว่างหน่วยงานรับผิดชอบทีเ่ กี่ยวข้อง ส่งผลให้การ กาหนดเครือ่ งมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็นแบบแยกส่วน ระบบการ จัดการข้อมูลด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมยังไม่เป็นมาตรฐาน ไม่ครอบคลุม และขาดการ เชื่อมโยงกับข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม กฎหมายมีลกั ษณะของการบริหารจัดการทรัพยากรรายสาขา ขาดประสิทธิภาพในการบังคับใช้ ขาดความเป็นธรรม และไม่โปร่งใส นอกจากนี้ ยังมีปญั หาการทุจริต คอร์รปั ชัน่ และความไม่เป็ นธรรมในการจัดสรรทรัพยากร เช่น ทีด่ นิ น้ า และป่าไม้ เป็ นต้น ส่งผลให้เกิด ความไม่ไว้วางใจในการบริหารจัดการของภาครัฐ ในขณะทีเ่ กิดช่องว่างทางนโยบายในการบูรณาการการ อนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ ประกอบกับความอ่อนแอของกลไกการจัดการสิง่ แวดล้อมและ การบังคับใช้กฎหมาย และความไม่มปี ระสิทธิภาพของเครือ่ งมือกากับและควบคุมในการบรรเทา ผลกระทบของโครงการขนาดใหญ่ ส่งผลให้เกิดผลกระทบมากมายจากโครงการพัฒนาเศรษฐกิจขนาด ใหญ่ของทัง้ ภาครัฐและเอกชน แม้โครงการพัฒนาเหล่านี้จะตอบสนองเป้าหมายทางเศรษฐกิจและเพิม่ รายได้ แต่ก่อให้เกิดผลกระทบทางด้านสังคมและสิง่ แวดล้อมหลายประการ ดังเช่น กรณีปญั หามลพิษใน พืน้ ทีม่ าบตาพุดและบริเวณใกล้เคียงจังหวัดระยอง ซึง่ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากการเติบโตของอุตสาหกรรม โดยขาดการควบคุมการปล่อยมลพิษให้เป็นไปตามกฎหมายกาหนด ก่อให้เกิดมลพิษด้านอากาศเกิน มาตรฐานคุณภาพอากาศในบางจุดตรวจวัด การปนเปื้อนโลหะหนักและสารอินทรียร์ ะเหยง่ายของน้าผิว ดิน น้ าใต้ดนิ และน้ าทะเล ปญั หาขยะและกากของเสียชุมชน การลักลอบทิง้ ขยะอุตสาหกรรม และการเกิด อุบตั ภิ ยั จากการรัวไหลของสารเคมี ่ บ่อยครัง้ ก่อให้เกิดความเสีย่ งต่อสุขภาพของประชาชนในพืน้ ที่ และมี ผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชนและคุณภาพสิง่ แวดล้อม ส่งผลให้ภาคประชาชนขาดความเชื่อมัน่ ต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและการแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อมของภาครัฐ ซึง่ มีผลกระทบต่อการขยายพืน้ ที่ อุตสาหกรรมแห่งใหม่


๑.๘ พันธกรณี และข้อตกลงระหว่างประเทศทัง้ ด้านการค้า การลงทุน และการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่ งพันธกรณี ที่เกี่ยวข้องกับโลกร้อน มี แนวโน้ มทวีความเข้มข้นและจะสัมพันธ์กนั มากขึ้น โดยคาดว่าพันธกรณีและข้อตกลงเกีย่ วกับการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ภายหลังการสิน้ สุดระยะแรกของการดาเนินการตามพิธสี ารเกียวโตในปี ๒๕๕๕ จะทาให้กลุ่มประเทศกาลังพัฒนาต้องมีส่วนร่วมมากขึน้ ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจก ประกอบกับการกีดกันทางการค้าทีเ่ ป็ นผลมาจากมาตรการแก้ไขปญั หาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศจะเพิม่ มากขึน้ ทัง้ ในรูปแบบทีเ่ ป็นมาตรการภาษี และในรูปแบบทีไ่ ม่ใช่มาตรการภาษี นับเป็น ความท้าทายในการวางยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศต่อไปใน อนาคตให้สามารถรองรับการเปลีย่ นแปลงในบริบทโลกดังกล่าว

การประเมินความเสี่ยง

การเปลีย่ นแปลงภายในและภายนอกประเทศทีจ่ ะเกิดขึน้ อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ประเทศไทยต้อง เผชิญกับความเสีย่ งในหลายมิตทิ ส่ี ่งผลกระทบต่อฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ดังนี้ ๒.๑ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศจะส่งผลให้สถานการณ์และแนวโน้ ม ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมที่เสื่อมโทรม ทวีความรุนแรงยิ่ งขึ้น ประเทศไทยมีความ เปราะบางหลายด้านและมีแนวโน้มทีจ่ ะได้รบั ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ดังนี้ ั่ ๒.๑.๑ การสูญเสียพื้นที่ชายฝัง่ พืน้ ทีช่ ายฝงประเทศไทยที ม่ คี วามเสีย่ งสูงทีจ่ ะได้รบั ั ่ กกัดเซาะ และ ผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศในอนาคตอย่างรุนแรง ทัง้ จากปญั หาชายฝงถู ั่ แนวโน้มการเพิม่ สูงขึน้ ของระดับน้ าทะเล ซึง่ จะส่งผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเลและชายฝงโดยตรง รวมทัง้ การประกอบอาชีพและแหล่งทีอ่ ยูอ่ าศัยของประชาชน ทาให้เกิดการย้ายถิน่ ฐาน ๒.๑.๒ การขาดแคลนน้า จากการทีป่ ริมาณฝนทีม่ คี วามแปรปรวนในหลายพืน้ ที่ ในขณะ ทีค่ วามต้องการใช้น้ าเพิม่ สูงขึน้ ส่งผลให้สมดุลน้ ามีแนวโน้มลดลง รวมทัง้ มีปริมาณน้ าเพื่อการอุปโภค บริโภคลดลง ๒.๑.๓ ความไม่มนคงด้ ั่ านอาหารและพลังงาน การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศมีแนวโน้ม ทาให้ผลผลิตทางเกษตรทีส่ าคัญของไทยลดลง อาทิ ข้าว น้าตาล และมันสาปะหลัง ประกอบกับการหันมา ผลิตพลังงานทดแทนจากพืชอาจส่งผลกระทบต่อราคาและความมันคงด้ ่ านอาหารในทีส่ ุด และอาจส่งผล กระทบต่อปญั หาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมตามมา เช่น การบุกรุกพืน้ ทีป่ า่ ไม้เพื่อขยายพืน้ ที่ การเกษตร เพื่อการผลิตพลังงาน การขยายตัวของการใช้ป๋ ยและสารเคมี ุ เกษตรอย่างไม่ถูกต้อง เป็ นต้น ๒.๑.๔ ภัยพิ บตั ิ ธรรมชาติ การเปลีย่ นแปลงภูมอิ ากาศคาดว่าจะเป็นปจั จัยเสริมทัง้ ด้าน ความถีแ่ ละระดับความรุนแรงของภัยพิบตั ใิ นหลายพืน้ ทีข่ องประเทศ ได้แก่ ไฟปา่ ภัยแล้ง อุทกภัย


แผ่นดินถล่ม และวาตภัย ซึง่ กระทบต่อความมันคงของมนุ ่ ษย์ โดยเฉพาะประชากรทีม่ ขี ดี ความสามารถใน การรับมือกับผลกระทบด้วยตนเองต่า ๒.๒ รูปแบบการผลิ ตและพฤติ กรรมการบริ โภคที่ฟมเฟื ุ่ อยทาให้ทรัพยากรธรรมชาติ ถกู ใช้อย่างสิ้ นเปลืองโดยไม่คานึ งถึงข้อจากัด ซึง่ มีสาเหตุมาจากหลายปจั จัย ดังนี้ ๒.๒.๑ ประชาชนขาดจิ ตสานึ กสาธารณะและความตระหนักเกี่ยวกับการบริ โภคที่ ยังยื ่ น อาจเป็นผลมาจากการขาดความรูแ้ ละความเข้าใจ รวมทัง้ ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูล เพราะไม่มรี ะบบ การให้ขอ้ มูลทีเ่ พียงพอต่อการตัดสินใจ จึงใช้จา่ ยอย่างฟุ่มเฟือยตามกระแสวัตถุนิยม ก่อให้เกิดน้าเสีย อากาศเสีย ขยะ และกากของเสียอันตรายเพิม่ มากขึน้ โดยเฉพาะในเขตพืน้ ทีเ่ มือง ๒.๒.๒ ภาคอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดเล็กส่วนใหญ่ยงั คงใช้เทคโนโลยีที่มี ประสิ ทธิ ภาพตา่ ในการผลิ ตและจัดการของเสีย ทาให้ส่งผลกระทบกับสิง่ แวดล้อม และ ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้อย่างสิน้ เปลือง ขาดประสิทธิภาพ ไม่คุม้ ค่า และเพิม่ ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือน กระจกซึง่ เป็ นต้นเหตุของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ นอกจากนี้ การออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มวี งจร อายุทส่ี นั ้ ลงภายใต้อทิ ธิพลของกระแสบริโภคนิยม ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช้หมดไปอย่างรวดเร็ว ๒.๒.๓ ภาคเกษตรเร่งเพิ่ มผลผลิ ตตอบสนองตลาดจนส่งผลกระทบต่อ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและระบบนิ เวศ การปลูกพืชเชิงเดีย่ วและขยายพืน้ ทีบ่ ุกรุกพืน้ ทีป่ ่า ใช้สารเคมีปริมาณมาก ทัง้ ปุ๋ยและยาปราบศัตรูพชื เหลือเป็นสารตกค้าง ทาลายความอุดมสมบูรณ์ของดิน และทาลายความหลากหลายทางชีวภาพในทีส่ ุด รวมทัง้ การไม่ให้ความสาคัญกับการส่งเสริมและพัฒนา ระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นอย่างจริงจัง เพื่อช่วยสร้างความสมดุลและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เป็ นไป อย่างยังยื ่ นและลดมลพิษ จึงส่งผลกระทบให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเสื่อมโทรมลง

๒.๓ ความขัดแย้งเชิ งนโยบายและความอ่อนแอในการบริ หารจัดการของภาครัฐ ๒.๓.๑ นโยบายการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมกับนโยบายการ พัฒนาเศรษฐกิ จมีความขัดแย้งในทางปฏิ บตั ิ โดยเฉพาะนโยบายส่งเสริมอุตสาหกรรมทีเ่ ปิดรับการ ย้ายฐานการผลิตของอุตสาหกรรมทีก่ ่อมลพิษสูง ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมร่อยหรอ เสื่อมโทรม ในทางกลับกัน รัฐธรรมนูญมาตรา ๖๗ วรรค ๒ ส่งผลให้การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานหรือการ ลงทุนขนาดใหญ่ดาเนินการได้ยากขึน้ ซึง่ แม้จะเป็ นผลดีต่อทรัพยากรธรรมชาติ แต่กลับเป็นข้อจากัดต่อ การพัฒนา อาทิ โครงการพลังงานไฟฟ้า และอ่างเก็บน้ าขนาดใหญ่ เป็นต้น ๒.๓.๒ กลไกการบริ หารไม่มีประสิ ทธิ ภาพ ขาดการบูรณาการ ขาดเอกภาพและความ โปร่งใส เน้นการสังการและควบคุ ่ ม ขาดกระบวนการมีส่วนร่วมของท้องถิน่ และชุมชน โดยเฉพาะการ จัดการทรัพยากรน้าและปา่ ไม้ การบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มงวด ไม่เป็ นธรรม และไม่โปร่งใส เกิดความไม่ เท่าเทียมกันและเอือ้ ต่อการทาลายทรัพยากรธรรมชาติในบางกรณี นอกจากนี้ การดาเนินงานตามแผนยัง ขาดความต่อเนื่อง


๒.๓.๓ การขาดองค์ความรู้และระบบข้อมูลที่ทนั สมัยของภาครัฐ ทาให้การบริหาร จัดการของภาครัฐไม่มปี ระสิทธิผล เช่น ระบบฐานข้อมูลทีด่ นิ และการใช้ทด่ี นิ การบุกรุกทาลายป่า ตลอดจนการขาดองค์ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ดา้ นผลกระทบและการเปลีย่ นแปลงระบบนิเวศ ๒.๔ มาตรการด้านสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการค้าเพื่อแก้ไขปัญหาโลกร้อนที่จะ ซับซ้อนและทวีความเข้มข้นมากขึ้น รวมทัง้ กระแสแรงกดดันของประชาคมโลก จะส่งผลให้ ประเทศไทยต้องเตรียมพร้อมรับภาระในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกในอนาคตอันใกล้ การ เจรจาภายใต้อนุสญ ั ญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับ กรอบพันธกรณีในอนาคตในการลดก๊าซเรือนกระจก รวมทัง้ การใช้มาตรการกีดกันทางการค้าทัง้ ทีเ่ ป็ น มาตรการภาษีและไม่ใช่ภาษีเพื่อแก้ไขปญั หาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ มาตรการด้านการ กาหนดมาตรฐานด้านสิง่ แวดล้อม และข้อบังคับในการเปิดเผยข้อมูลปริมาณคาร์บอนหรือข้อมูลการใช้น้า บนฉลากสินค้า หรือแหล่งทีม่ าของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทีใ่ ช้เป็นวัตถุดบิ ในการผลิตสินค้า ทัง้ ทีเ่ ป็ นมาตรการฝา่ ยเดียวและความร่วมมือในกรอบทวิภาคีของหลายประเทศคู่คา้ สาคัญ ทาให้การผลิต ทัง้ ด้านเกษตร อุตสาหกรรมและบริการของประเทศต้องปรับเปลีย่ นวิธกี ารให้เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมมาก ขึน้

การสร้างภูมิค้มุ กัน

จากการพิจารณาสถานการณ์และความเสีย่ งทีเ่ กิดขึน้ ในปจั จุบนั และแนวโน้มในอนาคตทีป่ ระเทศ ไทยต้องเผชิญ ชีใ้ ห้เห็นถึงผลกระทบทีจ่ ะเกิดกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมซึง่ เป็นฐานการพัฒนา ของประเทศในอนาคต จึงจาเป็นต้องสร้างภูมคิ ุม้ กัน เพื่อให้ประเทศสามารถลดความเสีย่ งและบริหาร จัดการ รวมทัง้ สร้างความพร้อมในการรับมือกับกับปจั จัยเสีย่ งดังกล่าวข้างต้นได้ ทัง้ นี้เพื่อให้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเป็นฐานทีม่ นคงในการพั ั่ ฒนาประเทศได้อย่างยังยื ่ น โดยภูมคิ ุม้ กันที่ สาคัญ ได้แก่ ๓.๑ การมีระบบฐานข้อมูลและองค์ความรู้ เทคโนโลยี และภูมิปัญญาท้องถิ่ นที่เหมาะสม ในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ง่ายต่อการเข้าถึงและ ใช้ประโยชน์ ทัง้ ด้านภัยพิบตั จิ ากธรรมชาติ โรคระบาด ปจั จัยการผลิตทีล่ ดลงหรือเปลีย่ นแปลงไป รวมไป ถึงการลงทุนด้านการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานทางกายภาพและการฟื้นฟูระบบนิเวศ เช่น การป้องกัน ชายฝงั ่ การแก้ปญั หาดินเค็ม แหล่งกักเก็บน้า การคืนสมดุล และการบรรเทาความแห้งแล้งและน้าท่วม ๓.๒ การดาเนิ นชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง วิ ถีชีวิตไทย และความ ตระหนักถึงประโยชน์ และคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม จะเป็นภูมคิ ุม้ กันนาไปสู่ สังคมและเศรษฐกิจ สีเขียวทีม่ แี บบแผนการผลิตและบริโภคอย่างยังยื ่ นและเป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม การแก้ไขปญั หาด้วย เทคโนโลยีเพียงอย่างเดียวอาจไม่ทนั กับปญั หาทีส่ ะสมอย่างต่อเนื่อง หากประชาชนยังคงมีพฤติกรรมการ


บริโภคเกินพอดี ขาดความตระหนัก รักและหวงแหนในทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม การไม่ให้ ความสาคัญกับระบบเกษตรกรรมยังยื ่ นเท่าทีค่ วร อันจะเป็นพืน้ ฐานในการเปลีย่ นพฤติกรรมไปสู่วถิ แี ห่ง การผลิตและบริโภคทีม่ คี วามพอดี ประหยัด รูค้ ุณค่าและยังยื ่ น ๓.๓ เครื่องมือและกลไกบริ หารจัดการเพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และระบบ ธรรมาภิ บาลในการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม จะช่วยให้การกาหนด นโยบายและมาตรการเอือ้ ต่อการอนุรกั ษ์และใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม มี ประสิทธิภาพ มีองค์ความรู้ ข้อมูล และระบบติดตามประเมินผลทีม่ ปี ระสิทธิภาพ มีกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ และเครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสร้างแรงจูงใจและเปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ลดการปล่อยก๊าซ เรือนกระจกและมลพิษ อีกทัง้ ช่วยให้การบริหารจัดการเกิดความโปร่งใสเป็ นธรรมกับทุกภาคส่วนในการ เข้าถึงและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ ๓.๔ ความเข้มแข็งของชุมชนในการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม การทีช่ ุมชนมีความเข้มแข็งมากขึน้ สามารถรวมกลุ่มเพื่อแก้ไขปญั หาและพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของ ชุมชนได้มากขึน้ รวมทัง้ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิน่ ของตนเองได้อย่างเหมาะสม ทาให้ สามารถอนุ รกั ษ์และฟื้นฟูฐานทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพได้อย่างยังยื ่ น นอกจากนี้การ เปลีย่ นแปลงกระบวนการพัฒนาทีเ่ น้นการมีส่วนร่วมและยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง ส่งผลให้ชุมชนมีขดี ความสามารถในการพัฒนาทีส่ อดคล้องกับสภาพภูมสิ งั คม ทาให้ปรับไปสู่วถิ กี ารพึง่ ตนเองและเกิดความ ยังยื ่ นได้ ๓.๕ การบริ หารจัดการที่ดี โดยมุง่ เน้นการบูรณาการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม การปรับปรุงเครือ่ งมือและกลไกในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้ม ี ประสิทธิภาพ การพัฒนาฐานข้อมูลเพื่อประกอบการกาหนดนโยบาย และวางแผนการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมในทุกระดับ การเพิม่ ประสิทธิภาพการบังคับใช้กฏหมายให้เข้มงวด เป็นธรรม และโปร่งใส การแก้ไขปญั หาการทุจริตคอร์รปั ชัน่ และการจัดสรรทรัพยากรอย่างทัวถึ ่ ง เท่า เทียมและเป็นธรรม การสร้างความตระหนักและจิตสานึกรับผิดชอบของทุกภาคส่วน และการเสริมสร้าง ศักยภาพในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของหน่วยงานในระดับภูมภิ าคและท้องถิน่ รวมทัง้ การพัฒนาศักยภาพในการดาเนินงานภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างประเทศด้านสิง่ แวดล้อม และทีเ่ ชื่อมโยงกับการค้าและการลงทุนอย่างเป็ นระบบ

วัตถุประสงค์และเป้ าหมาย ๔.๑ วัตถุประสงค์


๔.๑.๑ เพื่ออนุรกั ษ์ และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้เพียงพอต่อการ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และเป็นฐานทีม่ นคงของการพั ั่ ฒนาประเทศ ๔.๑.๒ เพื่อขับเคลื่อนการผลิตและการบริโภคทีเ่ ป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม เพื่อให้ประเทศ ก้าวไปสู่การเป็นสังคมคาร์บอนต่า ๔.๑.๓ เพื่อสร้างภูมคิ ุม้ กัน และเตรียมความพร้อมในการรองรับและปรับตัว ต่อผลกระทบ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ และประเด็นสิง่ แวดล้อมโลก ๔.๑.๔ เพื่อสร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ และมี การคุม้ ครองรักษาผลประโยชน์ของประเทศจากข้อตกลงและพันธกรณีระหว่างประเทศ ๔.๒ เป้ าหมาย ๔.๒.๑ เพิม่ ความอุดมสมบูรณ์ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยรักษาพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ไว้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๙ เพิม่ พืน้ ทีป่ ่าไม้ให้ได้รอ้ ยละ ๔๐ ของพืน้ ที่ ประเทศ และเพิม่ พืน้ ทีป่ า่ ชายเลนไม่น้อยกว่าปีละ ๕,๐๐๐ ไร่ ๔.๒.๒ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ าทัง้ ระบบเพื่อลดปญั หาการขาดแคลนน้าและ การบรรเทาอุทกภัย รวมทัง้ เพิม่ พืน้ ทีช่ ลประทานเฉลีย่ ปีละ ๒๐๐,๐๐๐ ไร่ เพื่อสนับสนุนความมันคงด้ ่ าน อาหาร ๔.๒.๓ สร้างคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ี ลดมลพิษและผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนจาก การพัฒนา โดยควบคุมคุณภาพน้าในแหล่งน้ าหลักและแม่น้ าสายสาคัญให้อยูใ่ นเกณฑ์ตงั ้ แต่พอใช้ขน้ึ ไปไม่ น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ คุณภาพอากาศในเขตเมืองและเขตอุตสาหกรรมอยูใ่ นเกณฑ์มาตรฐาน การจัดการขยะ ชุมชนถูกหลักสุขาภิบาลเพิม่ ขึน้ มากกว่าร้อยละ ๕๐ ของปริมาณขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ และมีการนาขยะ กลับมาใช้ใหม่ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๓๐ ๔.๒.๔ เพิม่ ขีดความสามารถในการปรับตัวเพื่อรองรับผลกระทบจากการเปลีย่ นแปลง สภาพภูมอิ ากาศและภัยพิบตั ใิ ห้มคี วามพร้อมทัง้ ระดับประเทศ พืน้ ที่ และชุมชน ๔.๒.๕ เพิม่ ประสิทธิภาพการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ๔.๒.๖ เพิม่ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และชุมชน สามารถอยู่รว่ มกับปา่ ได้อย่างเกือ้ กูลกัน ๔.๓ ตัวชี้วดั ๔.๓.๑ สัดส่วนพืน้ ทีป่ ่าไม้ และสัดส่วนพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ต่อพืน้ ทีป่ ระเทศ ๔.๓.๒ สัดส่วนจานวนหมูบ่ า้ นทีข่ าดแคลนน้าต่อจานวนหมู่บา้ นทัง้ ประเทศ สัดส่วนจานวน หมูบ่ า้ นทีป่ ระสบอุทกภัยต่อจานวนหมูบ่ า้ นทัง้ ประเทศ พืน้ ทีช่ ลประทาน และปริมาณกักเก็บน้าต่อจานวน ประชากร ๔.๓.๓ คุณภาพน้าในแหล่งน้าหลักและแม่น้ าสายสาคัญ คุณภาพอากาศในเขตเมืองและ เขตอุตสาหกรรม อัตราการกาจัดขยะชุมชนถูกหลักสุขาภิบาล และอัตราการนาขยะกลับมาใช้ใหม่ ๔.๓.๔ สัดส่วนการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ


๔.๓.๕ เครือ่ งมือและกลไกในการบริหารจัดการรองรับการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ฐานข้อมูลและแผนทีแ่ สดงพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยจากผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ทัง้ ระดับประเทศ ภูมภิ าค และจังหวัด กลไกการเฝ้าระวังและระบบเตือนภัยล่วงหน้าในพืน้ ทีท่ ไ่ี ด้รบั ผลกระทบ และพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัยธรรมชาติ ๔.๓.๖ ปริมาณและมูลค่าความเสียหายจากภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ ๔.๓.๗ จานวนองค์กรทีส่ ามารถพัฒนาให้เป็ นสภาสิง่ แวดล้อมชุมชนท้องถิน่ กฎหมายใน การคุม้ ครองรักษาผลประโยชน์ของประเทศให้สอดคล้องกับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน และประชาคม อื่นๆ


แนวทางการพัฒนา

ปญั หาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม สะท้อนให้เห็นว่าการพัฒนา ประเทศในช่วงทีผ่ ่านมาขาดความสมดุลและไม่ยงยื ั ่ น ขณะทีป่ ระเทศไทยกาลังจะต้องเผชิญกับความท้า ทายทีส่ าคัญยิง่ ในมิตขิ องการพัฒนาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ดังนัน้ ในการกาหนดทิศทาง ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ จึงควรให้ความสาคัญกับการอนุ รกั ษ์และ ฟื้นฟูดแู ลฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ควบคู่กบั การใช้อย่างตระหนักรูค้ ุณค่า บริหารจัดการ อย่างดี สร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าและความขัดแย้งในการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ ทรัพยากร และคานึงถึงต้นทุนสิง่ แวดล้อมของประเทศ การปรับกระบวนทัศน์การพัฒนาและขับเคลื่อน ประเทศไปสู่การเป็นเศรษฐกิจและสังคมคาร์บอนต่าและเป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม การยกระดับขีด ความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เพื่อให้สงั คมมีภมู คิ ุม้ กัน และ การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติ รวมทัง้ การควบคุมและลดมลพิษเพื่อสร้าง คุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ใี ห้กบั ประชาชน ตลอดจนการพัฒนาระบบการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดล้อมให้มปี ระสิทธิภาพ โปร่งใสและเป็นธรรม ดังนี้ ๕.๑ การอนุรกั ษ์ ฟื้ นฟู และสร้างความมันคงของฐานทรั ่ พยากรธรรมชาติ และ สิ่ งแวดล้อม มีแนวทางหลัก ดังนี้ ๕.๑.๑ คุ้มครอง ป้ องกัน รักษา ฟื้ นฟูพื้นที่ป่าไม้ และเขตอนุรกั ษ์ อนุรกั ษ์พน้ื ที่ เปราะบางทีม่ คี วามสาคัญเชิงนิเวศ สร้างพืน้ ทีเ่ ชื่อมต่อระหว่างป่า วางระบบเพื่อแก้ไขปญั หาการบุกรุกถือ ครองทีด่ นิ ในพืน้ ทีป่ า่ ไม้ โดยให้มกี ารจัดทาทะเบียนผูถ้ อื ครองทีด่ นิ ในพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ทงั ้ หมด ดาเนินการ พิสจู น์สทิ ธิ และร่วมมือกับผูม้ สี ่วนได้เสียจัดทาแนวเขตพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ เพื่อให้เป็นทีย่ อมรับร่วมกัน ควบคุม การใช้ประโยชน์พน้ื ทีต่ น้ น้ าและการใช้สารเคมีการเกษตรในพืน้ ทีต่ น้ น้ าอย่างเข้มงวด ส่งเสริมเครือข่าย อนุรกั ษ์และป้องกันการบุกรุกปา่ ไม้ โดยภาคประชาชนและชุมชน ส่งเสริมหลักการชุมชนอยูร่ ว่ มกับป่า การ ปลูกปา่ ๓ อย่าง ประโยชน์ ๔ อย่าง ส่งเสริมการจัดการปา่ ชุมชน การฟื้ นฟูและการปลูกปา่ ในรูปแบบวน เกษตร โดยให้ความสาคัญกับพืน้ ทีต่ น้ น้าและพืน้ ทีร่ อยต่อตามแนวเขตอนุรกั ษ์ รวมทัง้ สนับสนุนการปลูก ปา่ ของครัวเรือนและชุมชน ภายใต้แนวคิดและกลไกส่งเสริมทีเ่ หมาะสม เช่น ธนาคารต้นไม้ หรือการปลูก ต้นไม้ใช้หนี้ ๕.๑.๒ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และการจัดการองค์ ความรู้ เพื่อใช้เป็นเครือ่ งมือในการวางแผนและพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ โดยสนับสนุ นให้ม ี การจัดทาแผนทีแ่ นวเขตทีด่ นิ ของรัฐและการใช้ประโยชน์ในเขตพืน้ ทีอ่ นุรกั ษ์ให้เกิดความชัดเจน เพื่อให้ ทราบถึงข้อเท็จจริงและสามารถวางระบบการจัดการแก้ไขปญั หาให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปจั จุบนั รวมทัง้ สนับสนุ นการจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรป่าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรชายฝงั ่ ป่า ชายเลน แหล่งน้า ทีด่ นิ และทรัพยากรแร่ เผยแพร่ต่อสาธารณะอย่างต่อเนื่องทุกปีผ่านทางสื่อ อิเล็กทรอนิกส์และสื่ออื่นๆ ปรับปรุงระบบการจัดทาฐานข้อมูลพืน้ ทีป่ ่าไม้ และการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ในเขต


อนุรกั ษ์ โดยใช้ระบบเทคโนโลยีอวกาศและภาพถ่ายดาวเทียม ให้เป็นมาตรฐานและเป็นทีย่ อมรับร่วมกัน และสามารถติดตามตรวจสอบการเปลีย่ นแปลงพืน้ ทีป่ า่ และการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ได้


๕.๑.๓ ปรับปรุงการบริ หารจัดการที่ดินทัง้ ระบบ กระจายการถือครองที่ดินให้เกิ ด ความเป็ นธรรม โดยให้มกี ารจัดทาระบบสารสนเทศและทะเบียนข้อมูลทีด่ นิ และแผนทีแ่ ห่งชาติ แสดงการ ครอบครองใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ประเภทต่างๆ ในทีด่ นิ ของรัฐ ที่ดนิ เอกชน รวมทัง้ ผูถ้ อื ครองทีด่ นิ โดยไม่ม ี เอกสารสิทธิ ์ เพื่อใช้เป็ นข้อมูลการบริหารจัดการและและป้องกันการขยายพืน้ ทีเ่ กษตรกรรมเข้าไปในเขต อนุรกั ษ์ กาหนดมาตรการเพื่อกระจายการถือครองทีด่ นิ ให้เป็นธรรม เช่น การจัดเก็บภาษีทด่ี นิ ในอัตรา ก้าวหน้า รวมทัง้ จัดให้มรี ะบบและองค์กรบริหารจัดการทีด่ นิ ให้เป็นรูปธรรมโดยเร็ว เพื่อลดความสูญเสีย พืน้ ทีท่ เ่ี หมาะสมสาหรับการเกษตรกรรม และเป็ นการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมให้ เป็นไปอย่างเหมาะสม ตลอดจนกาหนดมาตรการป้องกันการสูญเสียกรรมสิทธิ ์ทีด่ นิ ของเกษตรกรรายย่อย เพื่อคุม้ ครองความมันคงและฐานการด ่ ารงชีวติ ของเกษตรกรยากจน ๕.๑.๔ เร่งรัดพัฒนาและฟื้ นฟูคณ ุ ภาพดิ นเพื่อสนับสนุนการเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการ ผลิ ตการเกษตรและความมันคงทางอาหาร ่ โดยการส่งเสริมและพัฒนาระบบเกษตรกรรมยังยื ่ น การ แก้ไขปญั หาดินเค็ม ดินขาดอินทรียวัตถุ และปญั หาการชะล้างพังทลายของหน้าดิน ด้วยเทคโนโลยีและ นวัตกรรมทีเ่ หมาะสม อาทิ การพัฒนาพันธุพ์ ชื ทนเค็มทีใ่ ช้ในการฟื้นฟูบารุงดิน การใช้น้าหมักชีวภาพและ ปุ๋ยอินทรียเ์ พื่อเพิม่ ธาตุอาหารในดิน ส่งเสริมการปลูกหญ้าแฝกและการปลูกพืชคลุมดินเพื่อลดการชะล้าง พังทลายของหน้าดิน ส่งเสริมการทาวิจยั เพื่อแก้ปญั หาดินเปรีย้ ว ดินเค็ม สนับสนุนการดาเนินงานของ หมอดินอาสา และการร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาควิชาการและภาคเอกชนในการพัฒนาเทคโนโลยี ถ่ายทอดองค์ความรู้ พัฒนากระบวนการส่งเสริมและการจัดการ สร้างศูนย์การเรียนรูแ้ ละบ่มเพาะ เกษตรกร เพื่อให้สามารถนาความรูแ้ ละเทคโนโลยีการอนุรกั ษ์ฟ้ืนฟูบารุงดินไปใช้ประโยชน์ในพืน้ ทีอ่ ย่าง ได้ผล ๕.๑.๕ วางระบบการบริ หารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝัง่ โดยพัฒนาระบบ การจัดการร่วมในการจัดการทรัพยากรชายฝงั ่ ทัง้ ด้านการอนุ รกั ษ์ การท่องเทีย่ ว และการพัฒนาฟื้นฟู ทรัพยากรประมง ผลักดันยุทธศาสตร์ความมันคงแห่ ่ งชาติทางทะเล บรรเทาผลกระทบจากภัยธรรมชาติท่ี รุนแรงและการกัดเซาะชายฝงั ่ โดยส่งเสริมการปลูกปา่ ชายเลน ฟื้นฟูแนวปะการัง อนุรกั ษ์แหล่งหญ้าทะเล ั่ และสาหร่ายทะเล ส่งเสริมการจัดการพืน้ ทีช่ ายฝงโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน เพื่อการใช้ประโยชน์ ั ่ างยังยื ทรัพยากรและการทาประมงชายฝงอย่ ่ น ปรับปรุงการออกแบบและมาตรฐานการก่อสร้างเขตชุมชน อุตสาหกรรม และโครงสร้างพืน้ ฐานบริเวณชายฝงั ่ โดยคานึงถึงผลกระทบของการเปลีย่ นแปลงทางสมุทร ั่ ศาสตร์และปญั หาการกัดเซาะชายฝงในภาพรวม รวมทัง้ ให้มกี ารวางแผนระยะยาวเพื่อรองรับการเพิม่ ขึน้ ของน้ าทะเล ทีจ่ ะส่งผลกระทบต่อเมืองและพืน้ ทีช่ ายฝงั ่ ๕.๑.๖ เร่งรัดการบริ หารจัดการน้าแบบบูรณาการ เพื่อสนับสนุนความมันคงด้ ่ าน อาหารและพลังงาน และลดปัญหาน้าท่วม น้าแล้งได้อย่างยังยื ่ น โดยปรับปรุงองค์กรกากับดูแลการ จัดการน้ าแบบองค์รวม ทัง้ การปรับปรุงกฎหมายการจัดการน้า การเสริมสร้างความเข้มแข็งขององค์กรลุ่ม น้าและองค์กรท้องถิน่ ในการจัดการน้ า การจัดทาแผนบริหารจัดการน้ าในแต่ละลุ่มน้ าอย่างบูรณาการที่


เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาในท้องถิน่ ทัง้ ระดับจังหวัด กลุ่มจังหวัดและเกิดประสิทธิภาพในการจัดการน้า การ พัฒนาระบบโครงข่ายน้ าและการพัฒนาระบบข้อมูลความมันคงด้ ่ านน้ าและการพยากรณ์น้ าเพื่อประโยชน์ ในการจัดสรรน้าทีเ่ ป็นธรรมกับทุกภาคส่วน รวมทัง้ การป้องกันภัยและเตือนภัยน้ าแล้งและน้าท่วม การ ป้องกันและเฝ้าระวังคุณภาพน้ าให้มมี าตรฐานเหมาะสมและปลอดภัยสาหรับการบริโภค การดาเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ และการรักษาระบบนิเวศโดยให้องค์กรปกครองท้องถิน่ ชุมชนและ สถาบันการศึกษาในท้องถิน่ มีส่วนร่วมในการวางแผนและบริหารจัดการด้วยภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรม ท้องถิน่ ผสานกับเทคโนโลยีการจัดการน้ า ๕.๑.๗ พัฒนาปรับปรุงและฟื้ นฟูแหล่งน้า เพื่อเพิ่ มปริ มาณน้าต้ นทุนในแหล่งน้าที่มี ศักยภาพในการกักเก็บน้า เพื่อสนับสนุนการสร้างความมันคงด้ ่ านอาหารและพลังงานแก่ประเทศ โดยการเพิม่ พืน้ ทีช่ ลประทานและประสิทธิภาพการกระจายน้ าของระบบชลประทานอย่างทัวถึ ่ งและเป็น ธรรม การพัฒนาแหล่งน้ า ทัง้ แหล่งน้าผิวดิน แหล่งน้าบาดาล และแหล่งน้าในไร่นา ตลอดจนการผันน้า ระหว่างลุ่มน้ าทัง้ ภายในและระหว่างประเทศโดยคานึงถึงความเหมาะสมของศักยภาพของพืน้ ที่ ควบคู่กบั การจัดการความต้องการใช้น้า โดยคานึงถึงความสมดุลและเป็นธรรมในการจัดสรรน้าให้ภาคการใช้น้า ต่างๆ กับปริมาณน้าต้นทุนทีม่ อี ยู่ ๕.๑.๘ พัฒนาและส่งเสริ มให้เกิ ดการใช้ น้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ คุ้มค่า และไม่ส่งผล กระทบต่อสิ่ งแวดล้อม โดยจัดระบบการกระจายน้าให้เหมาะสมในทุกภาคส่วน ทัง้ ภาคเกษตร อุตสาหกรรม และอุปโภคบริโภค ใช้หลักการลด การใช้ซ้า และการนากลับมาใช้ใหม่ และจัดทาข้อมูลการ ใช้น้า (Water Footprint) รวมทัง้ เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้น้าของภาคการเกษตร และส่งเสริมการปลูกพืชที่ ใช้น้ าน้อยในช่วงฤดูแล้ง เพื่อลดปญั หาการขาดแคลนน้ า ๕.๑.๙ จัดทาแผนแม่บทโครงสร้างพื้นฐานด้านทรัพยากรน้าเพื่อการอุปโภค บริ โภค อย่างเป็ นระบบ โดยจัดการน้ าผิวดินและน้าใต้ดนิ อย่างผสมผสานตามศักยภาพของพืน้ ที่ เพื่อให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงน้ าสะอาดได้อย่างทัวถึ ่ ง ๕.๑.๑๐ ส่งเสริ มการอนุรกั ษ์ ใช้ ประโยชน์ จากทรัพยากรชีวภาพ และแบ่งปัน ผลประโยชน์ อย่างเป็ นธรรม โดยจัดให้มกี ารคุม้ ครองพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์และระบบนิเวศทีเ่ ปราะบาง ซึง่ เป็นถิน่ กาเนิดของสมุนไพร มีความหลากหลายทางชีวภาพทีส่ มบูรณ์ และเป็นถิน่ ทีอ่ ยู่ของพันธุพ์ ชื พันธุส์ ตั ว์ทห่ี า ยากและใกล้สญ ู พันธุ์ ส่งเสริมการอนุรกั ษ์พนั ธุกรรมท้องถิน่ โดยองค์กรชุมชน ปรับปรุงกฎระเบียบให้เอือ้ ต่อการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพเพื่อการพึง่ ตนเองและการสร้างความมันคงด้ ่ านอาหาร และสุขภาพในระดับชุมชน รวมทัง้ การสร้างนวัตกรรมจากทรัพยากรชีวภาพ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศ ภายใต้กลไกการแบ่งปนั ผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรม รวมทัง้ การสร้างมูลค่าเพิม่ ทางเศรษฐกิจจาก นวัตกรรมและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพอย่างยังยื ่ น


๕.๒ การปรับกระบวนทัศน์ การพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสู่การเป็ นเศรษฐกิ จและ สังคมคาร์บอนตา่ และเป็ นมิ ตรกับสิ่ งแวดล้อม มีแนวทางหลัก ดังนี้ ๕.๒.๑ ปรับโครงสร้างการผลิ ตของประเทศสู่เศรษฐกิ จคาร์บอนตา่ และเป็ นมิ ตรกับ สิ่ งแวดล้อม โดย ๑) เพิม่ โอกาสในการปรับเปลีย่ นกระบวนการผลิตภาคอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมทีม่ กี ารปล่อยก๊าซเรือนกระจกสูง อาทิ อุตสาหกรรมการผลิตไฟฟ้า อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรมเหล็ก อีเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ รวมทัง้ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ไปสู่การผลิตที่ สะอาดและเป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ด้วยการสนับสนุ นสินเชื่อดอกเบีย้ ต่าและสิทธิพเิ ศษด้านภาษี เพื่อการ ปรับปรุงประสิทธิภาพของอุปกรณ์ตามศักยภาพการพัฒนาเทคโนโลยี การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้ พลังงาน และการปรับเปลีย่ นเชือ้ เพลิงมาใช้พลังงานทดแทนที่ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบกับสิง่ แวดล้อม ๒) ปรับนโยบายส่งเสริมการลงทุนให้เอือ้ สิทธิประโยชน์มากขึน้ สาหรับ อุตสาหกรรมทีป่ ล่อยคาร์บอนต่าหรือช่วยลดคาร์บอน รวมทัง้ ไม่ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมข้ามชาติ ทีส่ ่งผลกระทบสูงต่อทรัพยากร ธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ๓) เร่งพัฒนากลไกและมาตรการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศ ทีส่ นับสนุ นการ พัฒนาทีย่ งยื ั ่ นและตอบสนองต่อการปรับตัวของกลไกและมาตรการระหว่างประเทศด้านการลดก๊าซเรือน กระจก รวมทัง้ เร่งพัฒนาเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และหลักเกณฑ์ และเงือ่ นไขทีน่ าไปสู่การเป็ นสังคมที่ เป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม อาทิ การจัดเก็บภาษีสงิ่ แวดล้อม ภาษีคาร์บอน การพัฒนาระบบฉลากคาร์บอน และคาร์บอนฟุตพริน้ ท์ตดิ กับสินค้าทีม่ าจากการผลิตทีล่ ดก๊าซเรือนกระจก การเพิม่ มาตรฐานบังคับเฉพาะ ด้านสิง่ แวดล้อม การส่งเสริมระบบการประเมินวัฏจักรชีวติ ผลิตภัณฑ์ รวมถึงการส่งเสริมการออกแบบและ พัฒนาผลิตภัณฑ์ทล่ี ดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ตลอดจนสนับสนุ นการวิจยั พัฒนาทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมในสาขาการผลิตต่างๆทีน่ าไปสู่การลดก๊าซเรือนกระจก ๔) สนับสนุ นการอยูร่ ว่ มกันของอุตสาหกรรมและชุมชนอย่างยังยื ่ นในลักษณะเมือง อุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ทีม่ กี ารใช้ทรัพยากรหมุนเวียนให้ได้มากทีส่ ุด และบริหารจัดการวัตถุดบิ และของ เสียอย่างเป็ นระบบครบวงจร และวางกลไกการสื่อสารกับทุกภาคีในพืน้ ที่ เพื่อสร้างความรูค้ วามเข้าใจ เกีย่ วกับผลประโยชน์ทจ่ี ะได้รบั จากการพัฒนาพืน้ ทีเ่ ชิงนิเวศ และปรับเปลีย่ นทัศนคติของชุมชนต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจ ภาคการผลิตและบริการ ก่อนการจัดตัง้ เขต/พืน้ ทีน่ ิเวศ เพื่อให้เกิดการยอมรับจากทุก ภาคส่วน รวมทัง้ ส่งเสริมภาคเอกชนให้ดาเนินธุรกิจภายใต้ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) มากขึน้ โดยเปิดโอกาสให้ชุมชนท้องถิน่ ลงทุนร่วมกับภาคธุรกิจ การเปิดโอกาสให้ คนในพืน้ ทีร่ ว่ มเป็นเจ้าของ จะทาให้เกิดการร่วมกันดูแลรักษา ไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ ส่งเสริมแนวคิดในการทาธุรกิจเพื่อสังคมโดยเฉพาะ (Social Enterprise : SE) ๕) ส่งเสริมการทาการเกษตรทีเ่ กื้อกูลกับระบบนิเวศ ตามแนวคิดของการทา เกษตรกรรมยังยื ่ นเพื่อให้เกิดความสมดุลโดยจัดให้มกี ลไกให้ความรูแ้ ละขับเคลื่อนทัง้ ระดับชุมชนและ ระดับประเทศ ส่งเสริมการทาเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน วนเกษตร และเกษตรทฤษฎีใหม่ทช่ี ่วยลด การปล่อยก๊าซมีเทน/ก๊าซเรือนกระจก รณรงค์ให้เกษตรกรใช้สารชีวภาพทดแทนการใช้สารเคมี เพื่อลด ผลกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ลดต้นทุนการผลิต และเพิม่ ประสิทธิภาพการผลิตใน ระยะยาว พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตรทีเ่ หมาะสมกับสภาวะและภูมสิ งั คมของประเทศ ปรับระบบการใช้


ทีด่ นิ และการค้นคว้าชนิดพันธุ์ สามารถปลูกได้ในทีท่ ท่ี นสภาพอากาศร้อนจัด หรือหนาวจัด หรือทนแล้ง ทนน้ าท่วม เช่น ข้าวขึน้ น้ า และข้าวน้ าลึก เป็นต้น รวมทัง้ สนับสนุนการสร้างตลาดรองรับสินค้าเกษตร อินทรีย์ ด้านปศุสตั ว์ สนับสนุนให้มกี ารจัดการอาหารทีใ่ ช้เลีย้ งโคและกระบือเพื่อลดการเกิดก๊าซมีเทน ในขณะทีด่ า้ นประมง ส่งเสริมให้มกี ารทาประมงทีค่ านึงถึงความสมดุลของทรัพยากรสัตว์น้าและระบบนิเวศ รวมทัง้ ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการให้สอดคล้องกับมาตรฐานสากล เช่น กฎระเบียบต่อต้านการ ประมงทีผ่ ดิ กฎหมาย (Illegal Unreported and Unregulated Fishing : IUU Fishing) ของสหภาพยุโรป เป็นต้น ๖) ส่งเสริมภาคบริการให้เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ โดยส่งเสริมธุรกิจบริการทีม่ ี ผลกระทบต่อสิง่ แวดล้อมน้อยและประเทศไทยมีศกั ยภาพสูง เช่น การท่องเทีย่ ว การรักษาพยาบาลและ สุขภาพ รวมทัง้ ส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงนิเวศ โดยกาหนดทิศทางการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วให้สอดคล้อง กับศักยภาพการรองรับของระบบนิเวศในพืน้ ทีแ่ ละบริหารจัดการการใช้น้ าทีไ่ ม่ส่งผลกระทบต่อชุมชนและ เกษตรกรรายย่อย เพื่อสร้างความยังยื ่ นให้กบั ระบบนิเวศและการท่องเทีย่ วในท้องถิน่ เช่น สนับสนุนและ เพิม่ มาตรการด้านการท่องเทีย่ วเชิงคุณภาพเพื่อลดปญั หาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในพืน้ ที่ อุทยานแห่งชาติหรือชุมชนต้นแบบ ตลอดจน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ในการผลิตสินค้า และบริการสีเขียว และสินค้าและบริการเชิงสร้างสรรค์ เพื่อนาไปสู่สงั คมเศรษฐกิจคาร์บอนต่า ๗) สร้างโอกาสทางการตลาดให้กบั สินค้าหรือบริการทีเ่ ป็นมิตรต่ อสิง่ แวดล้อม โดย ขยายผลการจัดซือ้ จัดจ้างทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมของภาครัฐให้ครอบคลุมกว้างขวางถึงระดับท้องถิน่ รวมทัง้ ให้ครอบคลุมถึงการจัดซือ้ สินค้าทางการเกษตรทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการ ขยายตัวของการผลิตให้มากขึน้ ให้สทิ ธิพเิ ศษด้านภาษีกบั ผูป้ ระกอบการหรือสินค้าและบริการทีเ่ ป็นมิตร กับสิง่ แวดล้อม เพื่อให้สามารถแข่งขันกับสินค้าอื่นๆ รวมทัง้ กาหนดหลักเกณฑ์และให้รางวัลกับหน่วยงาน ของรัฐทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ตลอดจนส่งเสริมการจัดซือ้ จัดจ้างทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อมในองค์กร เอกชนผ่านห่วงโซ่อุปทานหรือการจัดการสิง่ แวดล้อมผ่านคู่คา้ ทางธุรกิจ ๕.๒.๒ เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการใช้พลังงานในภาคขนส่ง เพื่อลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก โดย ๑) ส่งเสริมให้ประชาชนเปลีย่ นแปลงรูปแบบการเดินทางและขนส่งสินค้าด้วยระบบ ขนส่งทีใ่ ช้พลังงานต่อหน่วยต่ากว่าการขนส่งทางถนนทีเ่ ป็นรูปแบบการเดินทางและขนส่งสินค้าหลักใน ปจั จุบนั เพื่อลดสัดส่วนการใช้พลังงานในภาคขนส่ง ซึง่ จะนาไปสู่การเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานใน ภาพรวมของประเทศ ๒) ส่งเสริมการใช้ยานพาหนะทีใ่ ช้พลังงานทีส่ ะอาดขึน้ หรือใช้พลังงานทีส่ ามารถ นากลับมาใช้ใหม่ โดยส่งเสริมการใช้เชือ้ เพลิงชีวภาพและก๊าซธรรมชาติสาหรับยานยนต์ พัฒนา เทคโนโลยี ยานยนต์ทส่ี ะอาดและช่วยประหยัดพลังงาน ควบคู่กบั การควบคุมประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายใต้ ศักยภาพของเทคโนโลยี โดยการกาหนดมาตรฐานอัตราการบริโภคเชือ้ เพลิง เพื่อให้เกิดการใช้


ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุม้ ค่า และลดการใช้น้ ามันเชือ้ เพลิง ซึง่ จะเป็นกลไกสาคัญในการลดปริมาณก๊าซ เรือนกระจกในระยะยาว ๓) สร้างวินัยและส่งเสริมพฤติกรรมการขับขีข่ องประชาชน เพื่อลดการเผาผลาญ น้ามันเชือ้ เพลิง ตลอดจนการดูแลเครือ่ งยนต์ให้อยูใ่ นสภาพสมบูรณ์พร้อมทัง้ กาหนดให้มกี ารควบคุมการ ปล่อยมลพิษไม่เกินอัตราทีก่ ฎหมายกาหนดอย่างเคร่งครัด ๕.๒.๓ พัฒนาเมืองที่เป็ นมิ ตรกับสิ่ งแวดล้อมเน้ นการวางผังเมืองที่ผสมผสาน วัฒนธรรม สังคม ระบบนิ เวศเข้าด้วยกัน โดย ๑) พัฒนาเมืองแบบกระชับ (Compact urban design) ทีม่ กี ารใช้พน้ื ทีอ่ ย่างมี ประสิทธิภาพ ให้ความสาคัญกับการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว และการเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในพืน้ ที่ เมือง โดยการใช้เทคโนโลยีการออกแบบโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบขนส่ง และอาคารทีอ่ ยูอ่ าศัยทีป่ ระหยัด พลังงาน รวมทัง้ พัฒนาต้นแบบเมืองทีเ่ ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ตลอดจนส่งเสริมการอนุรกั ษ์พน้ื ทีส่ เี ขียวใน เมืองเพื่อการทาเกษตรบางประเภท การทาฟาร์มในเมือง (City Farm) เพื่อส่งเสริมคนในเมืองให้สามารถ ผลิตอาหารได้ในพืน้ ทีว่ ่างเปล่าทีไ่ ม่ได้ใช้ประโยชน์ เช่น พืน้ ทีร่ มิ เส้นทางรถไฟ หรือพืน้ ทีส่ าธารณะร่วมกัน เพื่อเป็นการเพิม่ พืน้ ทีส่ เี ขียว รวมทัง้ ปรับปรุงภูมทิ ศั น์ให้สวยงาม ๒) ใช้มาตรการสร้างแรงจูงใจและมาตรการสนับสนุนทางด้านภาษีเพื่อส่งเสริมให้ เกิดการปรับเปลีย่ นเทคโนโลยีหรือใช้วสั ดุอุปกรณ์ ซึง่ ประหยัดพลังงาน และใช้พลังงานทดแทน ควบคู่กบั การพัฒนาและปรับปรุงกฏระเบียบและมาตรฐานด้านการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการประหยัดและใช้ พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในอาคารแต่ละประเภท รวมทัง้ อุปกรณ์และเครือ่ งใช้ไฟฟ้า


๓) กากับการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ตามผังเมืองอย่างเข้มข้น ทัง้ ในเขตและนอกเขต เมือง และให้ความสาคัญกับการพัฒนาโครงข่ายเชื่อมโยงระบบขนส่งมวลชนและระบบขนส่งสาธารณะ อื่นๆ ทีม่ กี ารปรับปรุงการให้บริการทีส่ ามารถครอบคลุมถึงประชาชนทุกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนกาหนดและวางผังแหล่งสิง่ แวดล้อมศิลปกรรมและแหล่งมรดกทางวัฒนธรรม โดยให้องค์กร ปกครองท้องถิน่ มีส่วนร่วมในการพัฒนา ๔) จัดการสิง่ แวดล้อมเมืองอย่างบูรณาการด้วยเทคโนโลยีทเ่ี หมาะสม ทัง้ ด้านการ จัดการน้ าเสีย และขยะมูลฝอย ภายใต้หลักการลด การใช้ซ้าและการนากลับมาใช้ใหม่ (๓Rs) ตลอดจน ส่งเสริมและเพิม่ ศักยภาพของท้องถิน่ ให้สามารถบริหารจัดการสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีไ่ ด้อย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๕.๒.๔ ปรับพฤติ กรรมการบริ โภคสู่สงั คมคาร์บอนตา่ ที่เป็ นมิ ตรกับสิ่ งแวดล้อม โดย ๑) ส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนมีสานึกรับผิดชอบเรือ่ งสิง่ แวดล้อม โดยนา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดาเนินชีวติ เพื่อเป็นต้นแบบของสังคมทีเ่ ป็ นมิตรกับ สิง่ แวดล้อมผ่านระบบการเรียนการสอนตัง้ แต่ระดับปฐมวัย โดยให้เชื่อมโยงกับวิถชี วี ติ และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้จริง ปลูกฝงั แนวคิดให้เกิดความตระหนักว่าทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมเกือ้ กูลต่อ การอยู่รอดและการพัฒนาของสังคมมนุษย์ ควบคู่ไปกับการเปลีย่ นแนวคิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อผลประโยชน์ตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงสุดในระยะสัน้ สู่การอยู่รว่ มกันอย่างเกือ้ กูล และการใช้ ประโยชน์อย่างยังยื ่ น ๒) รณรงค์ปรับเปลีย่ นทัศนคติและสร้างค่านิยมการบริโภคทีย่ งยื ั ่ นให้เป็ นบรรทัด ฐานของสังคม โดยการใช้หลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี การดารงชีวติ ตามวิถไี ทยเป็ นเครือ่ งมือ เพื่อ ปลูกฝงั ค่านิยมการบริโภคอย่างพอเพียง โดยคานึงถึงความพอดี พอประมาณ ยกย่องและให้เกียรติบุคคล และชุมชนทีเ่ ป็ นแบบอย่างทีด่ ขี องการบริโภคทีย่ งยื ั ่ นบนฐานภูมปิ ญั ญาดัง้ เดิม ผ่านกระบวนการศึกษาทัง้ ในระบบและนอกระบบโรงเรียน อาทิ เวทีการเรียนรูข้ องชุมชนและเครือข่ายปราชญ์ชาวบ้าน รวมทัง้ ผ่าน ทางสื่อวิทยุ โทรทัศน์ และอื่นๆ ๓) เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลข่าวสารและถ่ายทอดความรูเ้ กี่ยวกับการ บริโภคทีย่ งยื ั ่ นเพื่อเพิม่ ขีดความสามารถของประชาชนในการเลือกบริโภคสินค้าและบริการทีเ่ ป็ นมิตรกับ สิง่ แวดล้อม ๔) เสริมสร้างกลไกคุม้ ครองผูบ้ ริโภค และส่งเสริมเครือข่าย สื่อ โฆษณา และ ประชาสัมพันธ์ให้เข้ามามีบทบาทในการปรับเปลีย่ นสังคมไปสู่การบริโภคทีย่ งยื ั ่ น โดยสร้างความเข้มแข็ง ของกลไกการคุม้ ครองสิทธิ ์ผูบ้ ริโภคปรับปรุงกฎหมายควบคุมและกากับดูแลสื่อ ให้เผยแพร่ขอ้ มูลแก่ ผูบ้ ริโภคอย่างมีความรับผิดชอบ และจัดให้มเี ครือข่ายให้ความรูแ้ ละแลกเปลีย่ นประสบการณ์เพื่อส่งเสริม ให้ธุรกิจด้านการผลิตสื่อและโฆษณา เกิดความรูค้ วามเข้าใจมีจติ สานึก และสามารถปรับเปลีย่ นแนว ทางการผลิตสื่อเผยแพร่โฆษณาทีเ่ อือ้ ต่อรูปแบบการบริโภคทีย่ งยื ั่ น ๕.๓ การยกระดับขีดความสามารถในการรับมือและปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ เพื่อให้สงั คมมีภมู ิ ค้มุ กัน มีแนวทางสาคัญ ดังนี้


๕.๓.๑ พัฒนาองค์ความรู้เกี่ยวกับผลกระทบ และการปรับตัวรองรับการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย ๑) ศึกษาวิจยั และพัฒนาความรูเ้ กีย่ วกับสาเหตุและการคาดการณ์ การประเมิน ความเสีย่ ง ความเปราะบาง และผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในรายสาขา ทัง้ ด้านเศรษฐกิจและสังคมให้มคี วามแม่นยามากขึน้ ทัง้ ต่อระบบนิเวศป่าไม้ ความหลากหลายทางชีวภาพ พืน้ ทีช่ ายฝงั ่ การขาดแคลนน้ า ภัยธรรมชาติ และภาคการผลิตทีส่ าคัญของประเทศ เพื่อวางแผนในการ รับมือและจัดการแก้ไขปญั หาได้อย่างเหมาะสม ๒) สนับสนุ นการวิจยั พัฒนาทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีเ่ กีย่ วข้อง กับการลดก๊าซเรือนกระจกและการปรับตัว โดยครอบคลุมการศึกษาเพื่อเสนอแนะแนวทาง/มาตรการด้าน การลดก๊าซเรือนกระจกในภาคการปล่อยก๊าซทีส่ าคัญและมีความเสีย่ งสูง โดยคานึงถึงศักยภาพ ประสิทธิภาพและความคุม้ ค่าในการลดก๊าซเรือนกระจก การศึกษาวิจยั เพื่อเตรียมการพัฒนาระบบ ตลาด คาร์บอนในประเทศ การศึกษาวิจยั เพื่อเตรียมการรองรับการลดก๊าซเรือนกระจกรายสาขา เช่น สาขา พลังงาน สาขาเกษตรกรรม การศึกษาวิจยั เพื่อเตรียมการรองรับมาตรการหรือกลไกใหม่ๆทีส่ าคัญ อาทิ การลดก๊าซเรือนกระจกอย่างเหมาะสมในระดับชาติ (National Appropriation Mitigation Action : NAMA) การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีเ่ กิดจากการทาลายป่าและความเสื่อมโทรมของป่า การอนุ รกั ษ์ การ จัดการป่าไม้อย่างยังยื ่ น และการเพิม่ การกักเก็บคาร์บอนในพืน้ ทีป่ ่าในประเทศกาลังพัฒนา (Reducing Emission from Deforestation and Degradation and the Role of Forest Carbon Stocks in Developing Countries : REDD-Plus) และโครงการกลไกพัฒนาทีส่ ะอาดรายสาขา (Sectoral CDM) เป็น ต้น ๓) สร้างนักวิจยั และเครือข่ายวิจยั ด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ รวมทัง้ พัฒนาเครือข่ายความรู้ และการมีส่วนร่วม ตลอดจนจัดหลักสูตรการศึกษาว่าด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพ ภูมอิ ากาศ ๔) พัฒนากลไกการประเมินองค์ความรู้ รวมทัง้ เผยแพร่องค์ความรูเ้ กีย่ วกับการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ให้ทุกภาคส่วนได้ทราบ เพื่อสร้างความตระหนักให้แก่ประชาชนในการ ร่วมกันดาเนินการแก้ไขและบรรเทาผลกระทบทีเ่ กิดขึน้ จากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ๕.๓.๒ พัฒนาเครื่องมือในการบริ หารจัดการเพื่อรับมือกับความท้าทายจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย ๑) สนับสนุ นให้มกี ารจัดทาแผนเตรียมความพร้อมของประเทศเพื่อรองรับ ผลกระทบอันเนื่องมาจากการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศในระยะยาว ๒๐ ปี โดยให้ความสาคัญกับ ผลกระทบทีจ่ ะเกิดขึน้ ในด้านเศรษฐกิจและสังคม เช่น การวางแผนป้องกันเมืองและพืน้ ทีช่ ายฝงั ่ และการ ป้องกันน้ าท่วม รวมทัง้ การจัดทาแผนระยะยาวในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศ ๒) พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบการรายงานเกีย่ วกับข้อมูลการปล่อยและการ ลดก๊าซเรือนกระจกและด้านการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ โดยจัดทาฐานข้อมูลทีเ่ กีย่ วข้องกับผลของ ภาวะโลกร้อน และผลทีเ่ กิดขึน้ จากพันธกรณีต่างๆ จัดทาฐานข้อมูลก๊าซเรือนกระจกของประเทศ และ ข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกรายสาขาให้ทนั สมัยและมีมาตรฐาน จัดทาระบบฐานข้อมูลเชิงพืน้ ทีเ่ พื่อ บ่งชีพ้ น้ื ทีเ่ สีย่ งภัย รวมทัง้ ฐานข้อมูลเกีย่ วกับฉลากคาร์บอน และคาร์บอนฟุตพริน้ ต์ของการประกอบ กิจกรรมต่างๆ ระบบข้อมูลโครงการเทคโนโลยีสะอาดของประเทศ และข้อมูลการซือ้ ขายคาร์บอนเครดิต ในตลาดภาคบังคับและคาร์บอนออฟเซตในตลาดภาคสมัครใจ ตลอดจนทาการประเมินความต้องการใน ด้านต่างๆ ทัง้ ด้านการเงิน และเทคโนโลยี เพื่อใช้เป็นข้อมูลพืน้ ฐานของประเทศในการขอรับการสนับสนุน ทางการเงินและเทคโนโลยีจากต่างประเทศ


๓) นามาตรการทางการคลังมาใช้เป็นเครือ่ งมือในการบริหารจัดการด้าน สิง่ แวดล้อม เช่น จัดเก็บภาษีสงิ่ แวดล้อม หรือค่าธรรมเนียมผลิตภัณฑ์ การประกันความเสีย่ ง การกาหนด สิทธิการปล่อยมลพิษ รวมทัง้ มาตรการด้านการตลาด และมาตรการทางด้านสังคมต่างๆ มาประยุกต์ใช้ใน สาขาต่างๆ ตามความเหมาะสม ตลอดจนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมต่างๆ ควบคู่กบั มาตรการ ส่งเสริมและสนับสนุ นการดาเนินการในเรือ่ งทีเ่ กีย่ วข้อง ๔) สนับสนุ นให้มกี ารจัดทาเป้าหมายและแผนปฏิบตั กิ ารระยะกลางและระยะยาว ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกโดยสมัครใจ โดยคานึงถึงประโยชน์รว่ ม รวมทัง้ พัฒนาระบบติดตาม โครงการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และระบบการตรวจวัด การรายงาน และการทวนสอบ (Measurable, Reportable and Verifiable : MRV) ทัง้ ในระดับโครงการและระดับประเทศ รวมทัง้ สร้าง ระบบจูงใจและกลไกเพื่อให้กจิ กรรมของภาคส่วนต่างๆในประเทศทีด่ าเนินกิจกรรมแบบสมัครใจในการลด ก๊าซเรือนกระจกถูกบันทึกอย่างเป็ นระบบ ๕) ศึกษาวิจยั และพัฒนาตลาดคาร์บอนทุกรูปแบบ เพื่อแสวงหาโอกาสจากการ สร้างรายได้จากการขายคาร์บอนเครดิตของผูป้ ระกอบการทัง้ ขนาดใหญ่และขนาดเล็ก รวมถึงชุมชน ศึกษารูปแบบและมาตรฐานทีจ่ ะสามารถเชื่อมต่อกับตลาดคาร์บอนในต่างประเทศทัง้ แบบสมัครใจและแบบ ทางการ ศึกษาการกาหนดปริมาณการควบคุมการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และระบบการจัดสรรสิทธิการ ปล่อยก๊าซ รวมถึงศึกษาความคุม้ ทุนและประสิทธิภาพในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และต้นทุนใน การบริหารจัดการ เมือ่ เทียบกับการเก็บภาษีคาร์บอน ๖) จัดทาการขึน้ ทะเบียนเพื่อสนับสนุ นการลดก๊าซเรือนกระจกของประเทศ (National Registry System) โดยให้มรี ะบบการรายงานและบันทึกกิจกรรมการจัดการก๊าซเรือนกระจก ภายใต้มาตรการการลดก๊าซเรือนกระจกอย่างเหมาะสม (NAMAs) ทัง้ นี้เพื่อแสวงหาการสนับสนุ นด้าน การเงิน เทคโนโลยี และการเพิม่ ขีดความสามารถจากต่างประเทศ รวมทัง้ การจัดตัง้ ตลาดคาร์บอนของ ประเทศไทยในอนาคต ๗) จัดตัง้ และพัฒนากองทุนคาร์บอน เพื่อเป็นแหล่งรับซือ้ คาร์บอนเครดิตและ คาร์บอนออฟเซ็ทในประเทศ ตลอดจนการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดตัง้ ตลาดคาร์บอนของกลุ่ม ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๕.๓.๓ พัฒนาศักยภาพชุมชนให้เข้มแข็งพร้อมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ โดย ๑) ยกระดับขีดความสามารถของกลุ่มเสีย่ งในการปรับตัวรับมือกับการ เปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ ด้วยการจัดสรรทรัพยากรทีจ่ าเป็น และถ่ายทอดความรูด้ า้ นข้อมูลเสีย่ งภัย และการจัดการความเสีย่ งของหน่วยงานต่างๆ สู่ชุมชนและเครือข่ายการเรียนรูร้ ะหว่างชุมชน รวมทัง้ เร่ง


ฟื้นฟูพน้ื ทีเ่ สีย่ งทีไ่ ด้รบั ความเสียหายและฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติทเ่ี สื่อมโทรมลง รวมทัง้ ส่งเสริมการจ้าง งานเพื่อเพิม่ รายได้ของประชากรกลุ่มเสีย่ ง ๒) กาหนดมาตรการรองรับผลกระทบต่อชุมชนและสังคมทีช่ ดั เจน ทัง้ มาตรการ ระยะสัน้ และระยะยาว ๓) สนับสนุ นกระบวนการวางแผนชุมชนระยะยาว รวมทัง้ ปรับปรุงกฎหมาย และ บทบาทของหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องในพืน้ ที่ รวมทัง้ องค์การปกครองส่วนท้องถิน่ ให้มขี ดี ความสามารถใน การสนับสนุ นการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนได้อย่างเท่าทันต่อสถานการณ์ทเ่ี ปลีย่ นแปลงไป ๕.๔ การเตรียมความพร้อมเพื่อรับมือกับภัยพิ บตั ิ ทางธรรมชาติ โดย ๕.๔.๑ จัดทาแผนทีเ่ พื่อบ่งชีพ้ น้ื ทีเ่ สีย่ งภัยทัง้ ในระดับประเทศ ภูมภิ าคและจังหวัด และ จัดลาดับความเสีย่ งพืน้ ทีเ่ สีย่ ง เพื่อกาหนดแนวทางเฝ้าระวัง และแนวทางบรรเทาและป้องกันผลกระทบ ที่ ใช้ทงั ้ มาตรการด้านกายภาพและโครงสร้างพืน้ ฐาน และมาตรการควบคุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม ในเขตพืน้ ทีเ่ สีย่ งภัย ประเมินความเสีย่ งของระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพืน้ ฐานสาคัญในปจั จุบนั ต่อ แนวโน้มการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ เพื่อเสนอทางเลือกในการลดความเสีย่ งและป้องกันผลกระทบที่ อาจเกิดขึน้ รวมถึงกาหนดให้การวางระบบสาธารณูปโภคและโครงการพืน้ ฐานในอนาคตต้องสามารถ รับมือกับสภาพอากาศรุนแรงและโอกาสเกิดภัยพิบตั ทิ างธรรมชาติทร่ี นุ แรง ๕.๔.๒ พัฒนายกระดับการจัดการภัยพิบตั ใิ ห้มปี ระสิทธิภาพ สามารถรองรับแนวโน้มการ เกิดภัยพิบตั ทิ ร่ี นุ แรงในอนาคต กาหนดมาตรการให้ครอบคลุมทัง้ ด้านการเตรียมพร้อม การป้องกัน การ ลดผลกระทบ การเตือนภัย การจัดการในภาวะฉุกเฉิน การช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ และการฟื้นฟูบูรณะ โดยให้ความสาคัญกับการบูรณาการและสร้างเอกภาพในการบริหารจัดการ ๕.๔.๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูล ระบบการสื่อสารโทรคมนาคม ส่งเสริมการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดา้ นการจัดการภัยพิบตั ิ โดยบูรณาการหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้อง พัฒนาเครือข่าย การจัดการภัยพิบตั ริ ะดับภูมภิ าค ให้มกี ารเชื่อมโยงข้อมูล การถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งเสริมความร่วมมือ ทางวิชาการและการสร้างองค์ความรูด้ า้ นการเตือนภัย และการจัดการในภาวะฉุกเฉิน ๕.๔.๔ วางระบบเพื่อส่งเสริมการดาเนินงานของภาคส่วนต่างๆ พัฒนาระบบงาน อาสาสมัครของประเทศอย่างจริงจัง และมีมาตรฐานตามหลักสากล ให้ความสาคัญกับการพัฒนาศักยภาพ ของชุมชนและผูน้ าท้องถิน่ โดยฝึกอบรมและสร้างองค์ความรูเ้ กี่ยวกับการจัดการภัยพิบตั ิ ผนึกกาลังของ ภาคส่วนต่างๆ ทัง้ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ สื่อมวลชน กองทัพ และภาคประชาสังคมเพื่อการ ระดมสรรพกาลัง และบูรณาการระบบการจัดการภัยพิบตั ขิ องประเทศให้มปี ระสิทธิภาพ ๕.๔.๕ สนับสนุ นภาคเอกชน สถานประกอบการ โรงเรียน และท้องถิน่ ให้มกี ารเตรียม ความพร้อม จัดทาแผนปฏิบตั กิ ารรองรับภัยพิบตั ิ การอพยพ วางระบบปฏิบตั กิ ารสารองในระดับองค์กร


และการฝึกซ้อมรับมือภัยพิบตั อิ ย่างสม่าเสมอ เพื่อสร้างความตื่นตัวให้กบั สาธารณชน สร้างหลักประกัน ด้านความปลอดภัยในชีวติ ทรัพย์สนิ และความต่อเนื่องของการดาเนินธุรกิจ ๕.๕ การสร้างภูมิค้มุ กันด้านการค้าจากเงื่อนไขด้านสิ่ งแวดล้อมและวิ กฤตจากการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดย ๕.๕.๑ ติ ดตามและเฝ้ าระวังมาตรการการอนุรกั ษ์สิ่งแวดล้อมที่อาจส่งผลกระทบต่ อ การค้าและการลงทุน ทัง้ ทีเ่ ป็ นมาตรการฝา่ ยเดียวของภาคีการค้าหลัก และมาตรการในกรอบทวิภาคี และพหุภาคีทเ่ี กีย่ วข้อง เพื่อเตรียมพร้อมในการป้องกันหรือรองรับมาตรการดังกล่าว โดยสนับสนุ นให้เกิด ความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง โดยเฉพาะภาคเอกชน ๕.๕.๒ เตรียมมาตรการรองรับผลกระทบที่ จะเกิ ดขึ้นจากมาตรการทางการค้าและ ข้อตกลงระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยเฉพาะ มาตรการภาษีทเ่ี ก็บจากสินค้าข้ามพรมแดน (Border Tax Adjustments : BTAs) ตามบทบัญญัตขิ อง ข้อตกลงทัวไปว่ ่ าด้วยภาษีศุลกากรและการค้าหรือแกตต์ ซึง่ อาจนามาใช้ในการเก็บภาษีคาร์บอน ณ จุด ผ่านแดน การบังคับซือ้ ใบอนุญาตปล่อยก๊าซเรือนกระจก การเก็บภาษีคาร์บอนกับสินค้านาเข้า และการใช้ มาตรการทีไ่ ม่ใช่ภาษี เช่น มาตรการฉลากคาร์บอน และข้อมูลทีแ่ สดงการใช้น้า เป็ นต้น เพื่อลดเงือ่ นไข การกีดกันการค้ากับประเทศไทย ๕.๕.๓ ศึกษาผลกระทบและกาหนดแผนกลยุทธ์รายสิ นค้า รวมทัง้ กาหนดมาตรการ เยียวยาในสิ นค้าและธุรกิ จที่เกี่ยวข้อง ควบคู่กบั การสนับสนุ นและส่งเสริมการผลิตสินค้า บริการ และ อุตสาหกรรมทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม และการเป็ นพันธมิตรร่วมทุนกับประเทศทีม่ คี วามก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีทเ่ี ป็นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ๕.๕.๔ ส่งเสริ มให้ผส้ ู ่งออกทาคาร์บอนฟุตพริ้นต์ โดยสนับสนุนทัง้ ด้านการเงิน การให้ ความรู้ และการอานวยความสะดวกเพื่อให้ผสู้ ่งออกรายย่อยได้รบั การรับรองมากขึน้ รวมทัง้ ส่งเสริมการ ทาบัญชีต้นทุนคาร์บอนในระดับแหล่งวัตถุดบิ โดยเฉพาะในภาคเกษตรและประมง ตลอดจนพัฒนาระบบ ตรวจสอบและรับรองผลิตภัณฑ์ ๕.๕.๕ สร้างแรงจูงใจให้เกิ ดอุตสาหกรรมใหม่ๆ เพื่อการพัฒนาสิง่ แวดล้อมอย่างยังยื ่ น หรือทีเ่ น้นความคิดสร้างสรรค์ รวมทัง้ สร้างตลาดรองรับ โดยส่งเสริมงานวิจยั และพัฒนาเพื่อต่อยอดด้าน การค้าการลงทุน ตลอดจนสนับสนุ นธุรกิจการค้าคาร์บอนเครดิต ๕.๖ การเพิ่ มบทบาทประเทศไทยในเวที ประชาคมโลกที่เกี่ยวข้องกับกรอบความตกลง และพันธกรณี ด้านสิ่ งแวดล้อมระหว่างประเทศ โดย


๕.๖.๑ ศึกษารายละเอียดและสร้างความเข้าใจของพันธกรณี รวมทัง้ ติ ดตาม สถานการณ์ การเจรจาและท่าทีของประเทศต่ างๆ ภายใต้อนุสญ ั ญาข้อตกลงและพันธกรณีดา้ น สิง่ แวดล้อมและกรอบความตกลงอื่นๆ ทีม่ ปี ระเด็นเกีย่ วข้องกับทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทีจ่ ะมี ผลกระทบทัง้ เชิงบวกและลบต่อประเทศ ทัง้ ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดล้อม เพื่อให้สามารถ กาหนดท่าทีของประเทศทีเ่ หมาะสม โดยเฉพาะท่าทีการเจรจาในเชิงรุก โดยต้องเสริมสร้างความเข้าใจ และสนับสนุ นให้เกิดความร่วมมือจากทุกภาคส่วนทีเ่ กีย่ วข้อง ระหว่างภาคการเมือง หน่วยงานภาครัฐ ภาคประชาชน และภาคเอกชน ๕.๖.๒ สร้างความพร้อมและพัฒนาบุคลากรของหน่ วยงานภาครัฐเพื่อเสริ มสร้าง เทคนิ คการเจรจา โดยสร้างทีมผูเ้ ชีย่ วชาญทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถ และสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ การ ทางานร่วมกัน รวมทัง้ จัดเตรียมบุคลากรรุน่ ใหม่ให้สามารถรองรับการปฏิบตั งิ านอย่างต่อเนื่อง ๕.๖.๓ พัฒนาความร่วมมือในกลุ่มอาเซียน และประเทศคู่ค้าสาคัญ เพื่อประโยชน์ ร่วมกันโดยเฉพาะความร่วมมือในการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการลดก๊าซเรือนกระจก และ การปรับตัว การบริหารจัดการและการใช้ทรัพยากรธรรมชาติรว่ มกันอย่างยังยื ่ น อาทิ ด้านทรัพยากรน้า ความหลากหลายทางชีวภาพ และสร้างแนวร่วมเพื่อสร้างอานาจต่อรองในเวทีระหว่างประเทศด้านการค้า การลงทุน และสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ จัดเตรียมแผนรองรับการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทีจ่ ะส่งผล กระทบต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศ ทัง้ ในระดับภาคและระดับประเทศ ๕.๖.๔ สนับสนุนการดาเนิ นงานตามพันธกรณี และข้อตกลงระหว่างประเทศด้าน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม รวมทัง้ ข้อตกลง อนุสญ ั ญา และพิธสี ารทีเ่ กี่ยวข้อง อาทิ อนุสญ ั ญา ว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ และพิธสี ารทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อคุม้ ครองและอนุรกั ษ์ทรัพยากรความ หลากหลายทางชีวภาพและพันธุกรรม โดยให้ชุมชนมีการเข้าถึงเพื่อใช้ประโยชน์อย่างยังยื ่ น กาหนด มาตรการเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพ และสนับสนุนให้เกิดกลไกการแบ่งปนั ผลประโยชน์ทเ่ี ป็ นธรรม เมือ่ มีการใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์ รวมทัง้ พันธกรณีและข้อตกลงว่าด้วยการพัฒนาทีย่ งยื ั ่ น อนุสญ ั ญาว่า ด้วยการเปลีย่ นแปลงสภาพภูมอิ ากาศ อนุสญ ั ญาบาเซล อนุสญ ั ญาสต๊อกโฮล์มว่าด้วยสารมลพิษทีต่ กค้าง ยาวนาน และพิธสี ารทีเ่ กีย่ วข้อง เป็นต้น ๕.๗ การควบคุมและลดมลพิ ษ เพื่อสร้างคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีด่ ใี ห้กบั ประชาชน มีแนวทาง สาคัญ ดังนี้ ๕.๗.๑ ลดปริ มาณมลพิ ษทางอากาศ โดยเฉพาะปริมาณฝุน่ ละอองขนาดเล็ก โดย ส่งเสริมให้มรี ะบบขนส่งมวลชนในพืน้ ทีเ่ มืองใหญ่ ส่งเสริมให้ประชาชนลดการใช้รถยนต์ส่วนบุคคล พิจารณาเก็บค่าธรรมเนียมเข้าพืน้ ทีท่ ก่ี ารจราจรแออัด กาหนดอายุการใช้งานรถยนต์และรถรับจ้าง และ สนับสนุ นมาตรการด้านผังเมือง เพื่อลดปญั หาจราจรและมลพิษทางอากาศและเสียง เปิดโอกาสให้ภาค ประชาชนมีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรการป้องกันและการชดเชยผลกระทบทีเ่ กิดจากการพัฒนา รวมทัง้


ส่งเสริมและสนับสนุ นการใช้เทคโนโลยีสะอาดและเชือ้ เพลิงสะอาดในกระบวนการผลิตของ ภาคอุตสาหกรรม ตลอดจนการใช้กฎหมายในการควบคุมการเผาในพืน้ ทีโ่ ล่งอย่างเคร่งครัด ๕.๗.๒ เพิ่ มประสิ ทธิ ภาพการจัดการขยะและน้าเสียชุมชน โดยสนับสนุนการจัดตัง้ ระบบทีส่ อดคล้องกับปญั หาและศักยภาพของท้องถิน่ และส่งเสริมให้เอกชนเข้ามาร่วมลงทุนในการ ดาเนินงาน สนับสนุนการลดปริมาณของเสีย ณ แหล่งกาเนิด โดยส่งเสริมให้เกิดกลไกการคัดแยกขยะเพื่อ นากลับมาใช้ใหม่ให้มากทีส่ ุด รวมทัง้ ใช้เครือ่ งมือทางเศรษฐศาสตร์ในการสร้างแรงจูงใจเพื่อลดปริมาณ ขยะและน้าเสีย เช่น การเก็บภาษีการปล่อยมลพิษ หรือค่าธรรมเนียมการใช้สนิ ค้าทีก่ ่อมลพิษสูง เร่งรัด การลงทุนก่อสร้างระบบบาบัดน้าเสียรวมชุมชน และระบบการจัดการขยะแบบครบวงจร ประกอบด้วยการ คัดแยกทีต่ น้ ทาง ระบบการกาจัดทีถ่ ูกหลักวิชาการและการใช้ประโยชน์ เช่น การทาปุ๋ย การผลิตพลังงาน ส่งเสริมธุรกิจชุมชน และธุรกิจเอกชนจากขยะรีไซเคิล รวมทัง้ สนับสนุนให้มกี ารผลิตและใช้พลังงาน ทดแทนจากของเสีย โดยสร้างมาตรการจูงใจในการแปรรูปขยะเป็ นพลังงานให้เกิดผลในทางปฏิบตั ิ ตลอดจนออกกฎระเบียบทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อให้มกี ารจัดเก็บค่าธรรมเนียมการให้บริการบาบัดน้าเสียและกาจัด ขยะมูลฝอยเพื่อให้ทอ้ งถิน่ มีรายได้เพียงพอในการบริหารจัดการและบารุงรักษาระบบบาบัดและกาจัดของ เสียอย่างต่อเนื่องและยังยื ่ น ๕.๗.๓ พัฒนาระบบการจัดการของเสียอันตราย ขยะอีเล็กทรอนิ กส์ และขยะติ ดเชื้อ โดยสนับสนุนการก่อสร้างศูนย์จดั การของเสียอันตรายจากชุมชน เพิม่ ความรับผิดชอบของผูป้ ระกอบการ ในการจัดการขยะอันตรายและสารอันตรายให้มากขึน้ ติดตามและเฝ้าระวังไม่ให้มกี ารลักลอบทิง้ สาร อันตราย กากอุตสาหกรรมและขยะติดเชือ้ ในสิง่ แวดล้อม ป้องกันการลักลอบนาเข้าสารอันตรายมาใช้ใน กิจการทีผ่ ดิ วัตถุประสงค์ สนับสนุ นการจัดทาระบบฐานข้อมูลเอกลักษณ์ของกากอุตสาหกรรมอันตราย (Waste Fingerprint) จากโรงงานอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ กาหนดให้โรงงานทีม่ กี ารใช้สารเคมี หรือมี กากอุตสาหกรรมอันตรายต้องวางหลักประกันเมือ่ ขออนุ ญาตหรือขอขยายการประกอบกิจการ แก้ไข กฎระเบียบเกี่ยวกับระบบเอกสารกากับการขนส่งและการรีไซเคิลกากอุตสาหกรรมอันตราย ให้สามารถ ดาเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ และกาหนดมาตรการจัดการกากอุตสาหกรรมอันตรายจากโรงงาน รี ไซเคิลให้เข้มงวดเช่นเดียวกับโรงงานประเภทอื่น รวมทัง้ จัดให้มกี ารวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีการกาจัด กากอุตสาหกรรมอันตราย ทีไ่ ม่ยงุ่ ยากและประหยัดค่าใช้จา่ ย ตลอดจนกาหนดมาตรการควบคุมคุณภาพ สินค้าทีน่ าเข้า ทีจ่ ะก่อให้เกิดปญั หาการจัดการขยะและปญั หาสิง่ แวดล้อมภายในประเทศ เพื่อรองรับ มาตรการส่งเสริมการค้าเสรีภายในกรอบความร่วมมืออาเซียน-จีน เป็นต้น ๕.๗.๔ ลดความเสี่ยงอันตราย การรัวไหล ่ และการเกิ ดอุบตั ิ ภยั จากสารเคมี โดยให้ ความสาคัญกับการจัดการสารเคมีอย่างครบวงจร พิจารณาจากัด หรือยกเลิกการนาเข้าและการใช้สารเคมี ทางการเกษตรทีม่ คี วามเสีย่ งสูง ส่งเสริมการใช้สารทดแทนสารเคมี พัฒนาและเชื่อมโยงฐานข้อมูลสารเคมี ของแต่ละหน่วยงานตัง้ แต่ตน้ น้ าถึงปลายน้ า ทัง้ บัญชีการนาเข้า การผลิต การดาเนินการกับสารเคมีทม่ี อี ยู่ ตลอดถึงการกาจัด และจัดทาระบบข้อมูลทีส่ ามารถติดตามประเมินสถานะของการใช้สารเคมีการเกษตร


และวัตถุอนั ตรายถึงระดับหมูบ่ า้ น โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนในพืน้ ที่ สื่อสารความเสีย่ งให้ ผูป้ ระกอบการมีความรูค้ วามเข้าใจเพื่อลดการใช้สารเคมีทม่ี อี นั ตรายต่อสุขภาพและสิง่ แวดล้อมใน กระบวนการผลิต รวมทัง้ ส่งเสริมการคุม้ ครองผูบ้ ริโภค โดยสร้างระบบเฝ้าระวังและติดตามตรวจสอบด้าน ความปลอดภัยสารเคมีและสินค้าทีอ่ าจเป็ นอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของผูบ้ ริโภค พัฒนาผลักดันระบบ GHS (Globally Harmonized System of Classification and Labeling of Chemicals) ระบบการจาแนก ความอันตราย และระบบการติดฉลาก พร้อมทัง้ ให้ความรูแ้ ก่ประชาชนและกลุ่มเสีย่ งทีอ่ าจได้รบั อันตราย จากสารเคมีเพื่อให้เกิดการป้องกันตนเองได้อย่างถูกต้อง ตลอดจนสร้างเครือข่ายทางสังคมในการเฝ้าระวัง และจัดการสารเคมี ๕.๗.๕ พัฒนาระบบเตือนภัย แจ้งเหตุฉุกเฉิ น และระบบการจัดการเมื่อเกิ ดอุบตั ิ ภยั ด้านมลพิ ษ ทัง้ ระดับประเทศและระดับท้องถิน่ รวมทัง้ พัฒนาศักยภาพบุคลากรในการตอบสนองต่อภาวะ ฉุกเฉิน ตลอดจนกาหนดมาตรการรักษา เยียวยาและฟื้นฟูสงิ่ แวดล้อมและผูไ้ ด้รบั ผลกระทบเมือ่ มีเหตุ อุบตั ภิ ยั ด้านมลพิษ โดยจัดให้มกี องทุนเยียวยาและฟื้นฟูผไู้ ด้รบั ผลกระทบและสิง่ แวดล้อมโดยระดมทุน จากผูผ้ ลิต ผูป้ ระกอบการ และโรงงานผูก้ ่อมลพิษ รวมทัง้ กาหนดการใช้มาตรการทางการคลังทีเ่ หมาะสม สอดคล้องตามหลักการผูก้ ่อมลพิษเป็นผูจ้ า่ ย ๕.๘ การพัฒนาระบบการบริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมให้มี ประสิ ทธิ ภาพ โปร่งใสและเป็ นธรรมอย่างบูรณาการ มีแนวทางหลัก ดังนี้ ๕.๘.๑ พัฒนาชุมชนให้ เข้มแข็ง และส่งเสริ มสิ ทธิ ชุมชนในการเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างสมดุลและยังยื ่ น สนับสนุ นแนวทางการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติเชิงอนุรกั ษ์และแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ ตามวิถชี วี ติ ภูมปิ ญั ญา และวัฒนธรรมดัง้ เดิม ภายใต้หลักการคนอยู่รว่ มกับระบบนิเวศอย่างเกือ้ กูล สนับสนุ นสิทธิและบทบาทของ ชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพึง่ ตนเอง ทัง้ ด้านทรัพยากรชีวภาพ ปา่ ชุมชน การจัดการ น้ า การจัดการทรัพยากรชายฝงั ่ รวมทัง้ การใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ร่วมกัน สร้างความรูค้ วามเข้าใจทีถ่ ูกต้อง เกีย่ วกับระบบนิเวศเพื่อให้ชุมชนเกิดความรักและหวงแหนทรัพยากรธรรมชาติ สนับสนุนให้ชุมชนจัดทา โครงการเพื่อสารวจทาฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ และภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ โดยร่วมกับองค์กรท้องถิน่ ส่งเสริมกิจกรรมทีต่ ่อยอดการใช้ประโยชน์จากฐานทรัพยากรและองค์ความรู้ ของท้องถิน่ ตลอดจนส่งเสริมระบบการจัดการทีเ่ คารพสิทธิทางปญั ญาและปกป้องทรัพยากรของชุมชน


๕.๘.๒ สนับสนุนกระบวนการมีส่วนร่วมและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่ นและชุมชน โดยผลักดันให้เกิดความเป็นหุน้ ส่วนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมอย่างเหมาะสม พัฒนากลไกการจัดการร่วมทีป่ ระกอบด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ องค์กรปกครองท้องถิน่ และ ชุมชน รวมทัง้ การจัดตัง้ สภาสิง่ แวดล้อมชุมชนท้องถิน่ เพื่อการพัฒนา แก้ไขปญั หา รับฟงั ความคิดเห็น เกีย่ วกับโครงการพัฒนาของภาครัฐทีอ่ าจส่งผลกระทบต่อวิถชี วี ติ ความเป็นอยู่ สุขภาพอนามัยและ สิง่ แวดล้อมของชุมชนในทุกขัน้ ตอน บนพืน้ ฐานขององค์ความรู้ ข้อมูลทีถ่ ูกต้อง เปิดเผย โปร่งใส สามารถ เข้าถึงได้อย่างเท่าเทียม และเป็นกลไกการถ่วงดุล ติดตามและตรวจสอบทีโ่ ปร่งใสและมีประสิทธิภาพ สร้างจิตสานึกในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม โดยพัฒนาการจัดการศึกษา สร้างความ ตระหนักให้แก่สาธารณชน เยาวชน ชุมชน นักการเมืองระดับท้องถิน่ และระดับชาติ เสริมสร้างบทบาทของ สื่อมวลชนในการสร้างความตระหนักรูแ้ ละความตื่นตัวของสาธารณชนในการดูแลคุม้ ครองทุนทาง ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมของประเทศ รวมทัง้ พัฒนาศักยภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ให้เข้มแข็ง สามารถตอบสนองปญั หาและความต้องการของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะการ บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ทัง้ ด้านการอนุรกั ษ์และการจัดการทรัพยากรน้า การ ป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้ า การป้องกันภัยน้ าแล้งและน้ าท่วม รวมทัง้ การจัดการขยะและของเสีย อันตราย ๕.๘.๓ ปรับปรุงกฎหมายให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิ จและสังคมและบังคับใช้อย่างเสมอภาคเป็ นธรรม ปรับปรุงกฎหมายและกฎระเบียบของ ภาครัฐ เพื่อลดความขัดแย้ง แก้ไขปญั หาความเหลื่อมล้าในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ ของชุมชน รวมทัง้ จัดทากฎหมายรองเพื่อสนับสนุนการอนุรกั ษ์ ใช้ประโยชน์อย่างยังยื ่ นและแบ่งปนั ผลประโยชน์อย่างเป็ นธรรม ผลักดันการจัดเก็บภาษีทด่ี นิ แบบก้าวหน้าเพื่อกระจายการถือครองทีด่ นิ และ ร่างพระราชบัญญัตกิ ารมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการนโยบายสาธารณะไปสู่การปฏิบตั ิ ปรับปรุง กฎหมายผังเมืองให้ทนั สมัยและบังคับใช้อย่างเท่าเทียมและจริงจัง ส่งเสริมบทบาทของชุมชนและท้องถิน่ ในการจัดทาแผนพัฒนาพืน้ ที่ ผังเมือง ทัง้ ในระดับตาบล อาเภอ และจังหวัด พิจารณาออกกฎระเบียบที่ สนับสนุ นและจูงใจให้เกิดการอนุรกั ษ์ ทบทวนหลักเกณฑ์การจัดสรรผลประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรแร่ เพิม่ บทลงโทษต่อผูบ้ ุกรุกทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม รวมทัง้ พัฒนากระบวนการยุตธิ รรม สิง่ แวดล้อมทีค่ รอบคลุมตัง้ แต่การเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร การคุม้ ครองสิทธิชุมชน การพิสจู น์ความเสียหาย และการพัฒนาองค์ความรูท้ างวิทยาศาสตร์เพื่อใช้ประกอบการพิจารณา นอกจากนัน้ ควรใช้กลไกทาง สังคมติดตามตรวจสอบ กากับดูแลผูล้ ะเมิดกฎหมายและการดาเนินงานของภาครัฐให้เป็นไปตามกฎหมาย ๕.๘.๔ ปรับนโยบายการลงทุนภาครัฐให้เอื้อต่อการอนุรกั ษ์และฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดยปรับนโยบายไม่ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมทีส่ ่งผล กระทบสูงต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กาหนดมาตรการควบคุมการขยายตัวของเมืองและพืน้ ที่ ชุมชน ในเขตชลประทาน พืน้ ทีเ่ กษตรกรรม และเขตอนุ รกั ษ์ รวมทัง้ มีมาตรการควบคุมการใช้พน้ื ทีต่ าม นโยบายส่งเสริมพืชเศรษฐกิจไม่ให้เกิดการบุกรุกทาลายพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์และระบบนิเวศทีเ่ ปราะบาง คานึงถึง การสูญเสียต้นทุนทางสังคมและสิง่ แวดล้อม สนับสนุนการศึกษาวิจยั เพื่อประเมินมูลค่าทีแ่ ท้จริง และมูลค่า ในอนาคตของทรัพยากรธรรมชาติในการทาหน้าทีข่ องระบบนิเวศ ปรับปรุงกระบวนการจัดทารายงานการ วิเคราะห์ผลกระทบสิง่ แวดล้อม พัฒนาหลักเกณฑ์การประเมินความคุม้ ค่าของโครงการลงทุนทีค่ ดิ รวม ต้นทุนการใช้หรือสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ การก่อมลพิษ และการส่งผลกระทบต่อสุขภาพและวิถชี วี ติ


ของชุมชนเพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบาย จัดทาเขตเศรษฐกิจแร่ทงั ้ ประเทศ เพื่อประกอบการวาง แผนการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรแร่อย่างยังยื ่ น ๕.๘.๕ ผลักดันให้มีการจัดเก็บภาษี สิ่งแวดล้อม รวมถึงการปฏิ รปู การบริ หารจัดการ งบประมาณของประเทศ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และลดการก่อมลพิ ษ ตามแนวทางการปฏิรปู ระบบภาษีเพื่อการรักษาสิง่ แวดล้อมให้เป็นรูปธรรม เช่น การเก็บภาษีการปล่อยมลพิษ การเก็บภาษีหรือค่าธรรมเนียมในการใช้สนิ ค้าทีก่ ่อให้เกิดผลกระทบต่อ สิง่ แวดล้อม ปรับราคาน้ามันเชือ้ เพลิงให้สะท้อนต้นทุนทีแ่ ท้จริงและเป็ นไปตามกลไกตลาด ใช้มาตรการ ด้านภาษีเพื่อการจัดการสารเคมี และนารายได้จากการเก็บภาษีและค่าธรรมเนียมดังกล่าวมาสนับสนุ น การฟื้นฟูสงิ่ แวดล้อม และสุขภาพอนามัยของประชาชนทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจากมลพิษ และส่งเสริมการผลิต ทีย่ งยื ั ่ น รวมทัง้ การพัฒนาระบบการประเมิน ทัง้ การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล อมเชิงยุทธศาสตร์ การ ประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ และการประเมินความเสีย่ ง ทัง้ ในระดับพืน้ ทีแ่ ละระดับประเทศ เช่น ประเมินความเสีย่ งทางสุขภาพเชิงพืน้ ทีด่ า้ นสารเคมี เป็นต้น ตลอดจนเพิม่ ประสิทธิภาพในการกากับ ดูแล ให้เป็นไปตามมาตรการหรือมาตรฐานคุณภาพสิง่ แวดล้อมทีก่ าหนด ๕.๘.๖ สร้างรายได้จากการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทาง ชีวภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจจากทรัพยากรพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีวภาพ ให้มกี าร อนุรกั ษ์ การวิจยั และพัฒนาพันธุกรรมท้องถิน่ และพืชพืน้ บ้าน เพื่อสร้างนวัตกรรมในการผลิตสินค้าและ บริการทีม่ มี ลู ค่าเพิม่ และเป็ นเอกลักษณ์ของประเทศ เช่น สมุนไพร เวชภัณฑ์ เครือ่ งสาอาง และผลิตภัณฑ์ ธรรมชาติ ตามแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ โดยคานึงถึงการอนุรกั ษ์และฟื้นฟูแหล่งกาเนิด ทรัพยากรทีใ่ ช้รว่ มด้วย สนับสนุนการนากลไกใหม่ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในเวทีประชาคมโลก มาปรับใช้เพื่อสร้าง รายได้ทางเศรษฐกิจให้กบั ชุมชนและภาคีทเ่ี กีย่ วข้องในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติอย่างเหมาะสม อาทิ กลไกการลดก๊าซเรือนกระจกจากการทาลายป่าและความเสื่อมโทรมของปา่ การอนุ รกั ษ์ การจัดการป่า อย่างยังยื ่ น และการเพิม่ พูนปริมาณคาร์บอนในประเทศกาลังพัฒนา การเก็บค่าบริการเชิงนิเวศ (Payment for Ecosystem Services : PES) และกลไกการพัฒนาทีส่ ะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) โดยร่วมมือกับภาคีการพัฒนาทัง้ ภายในประเทศและระหว่างประเทศ รวมถึง ภาคเอกชน ควบคู่กบั การพัฒนาเครือข่ายเฝ้าระวังการรุกล้าพืน้ ทีอ่ นุ รกั ษ์ โดยสนับสนุนบทบาทภาค ประชาชนและชุมชน ๕.๘.๗ พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบติ ดตามประเมิ นผล รวมทัง้ ส่งเสริ มการ ศึกษาวิ จยั เพื่อสร้างระบบบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อมทีม่ ปี ระสิทธิภาพอย่างบูรณาการ ั บนั สามารถนามาใช้ประกอบการตัดสินใจในเชิงนโยบายได้ โดยส่งเสริมและพัฒนาระบบฐานข้อมูลทีเ่ ป็ นปจจุ อย่างรวดเร็ว รวมทัง้ จัดให้มรี ะบบการศึกษาวิจยั ทีส่ ามารถนาใช้ประโยชน์ให้เกิดผลในทางปฏิบตั อิ ย่างเป็ น รูปธรรม และพัฒนากลไกและระบบการติดตามประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายรัฐบาล เพื่อศึกษา

ผลกระทบอย่างรอบด้าน โดยเฉพาะมิตดิ า้ นทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และนามาใช้เป็ นข้อมูล ประกอบการปรับนโยบายไปสู่การพัฒนาทีย่ งยื ั ่ นและลดความขัดแย้งเชิงนโยบายระหว่างการพัฒนาและ การอนุ รกั ษ์


บ ท ที่ ๙ แนวทางการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การ ปฏิบตั ิ ๑

บทนา

การบริ หารจัดการการพัฒนาประเทศเป็ นกระบวนการสาคัญที่จะนาแผนพัฒนาประเทศไป ป ฏิ บั ติ ให้เกิดผลตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของแผน กระบวนการดังกล่าวได้มพี ฒ ั นาการมาเป็ นลาดับทัง้ กลไก กระบวนการ และผู้มสี ่ ว นเกี่ยวข้อ งภายใต้สถานการณ์ แวดล้อ มที่เ ปลี่ยนแปลงและมีผลต่ อการ บริห ารการพัฒ นาประเทศนับ ตัง้ แต่ เ ริ่ม ใช้แ ผนพัฒ นาเป็ น เครื่อ งมือ จากแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑ ถึง แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ซึง่ เป็ นช่วงทีส่ งั คมไทยกาลังเผชิญกับความ ท้าทายทีม่ คี วามซับซ้อนและหลากหลายมากขึน้ ทุกขณะ การผนึกพลังของทุกภาคส่วนในการสร้างสังคมที่ มีความสุข มีความเสมอภาค เป็ นธรรม และมีภูมคิ ุ้มกันภายใต้วสิ ยั ทัศน์ของแผนจึงเป็ นเงื่อนไขที่สาคัญ ของการบริหารจัดการแผนฯ สู่การปฏิบตั ิ ในภาวะทีป่ ระเทศไทยต้องเผชิญกับบริบทการเปลีย่ นแปลงทีเ่ ป็ นอยู่ในปจั จุบนั และมีแนวโน้มทีจ่ ะ เกิดขึน้ ในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ทัง้ ที่จะเป็ นโอกาสและข้อจากัดของการบริหารจัดการการ พัฒนาประเทศ จึงจาเป็ นต้องทบทวนการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ผ่านมา ตลอดจนวิเคราะห์ สถานะด้านการบริหารประเทศในปจั จุบนั ทีจ่ ะมีผลต่อการบริหารจัดการแผนฯ ทัง้ ในด้านความเสีย่ งทีต่ ้อง ตระหนัก และศัก ยภาพที่มอี ยู่ นามาสรุปบทเรียนของการขับเคลื่อ นแผนและกาหนดรูปแบบและแนว ทางการบริห ารจัด การแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่ก ารปฏิบตั ิท่ีชดั เจนและมีป ระสิทธิภาพทัง้ ในระดับ ภาพรวมและระดับพืน้ ทีภ่ ายใต้สภาวะแวดล้อมและเงือ่ นไขทีซ่ บั ซ้อนมากขึน้ ต่อไป

การประเมินสถานการณ์ที่ผ่านมา ๒.๑ การทบทวนการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑ – ๑๐ สู่การปฏิ บตั ิ

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยมีว ิวฒ ั นาการและการเปลี่ยนแปลงของ แนวคิดการพัฒนาตามยุคสมัย มีปรัชญาพืน้ ฐาน จุดมุ่งหมายหลัก รูปแบบ วิธกี ารและกระบวนการจัดทา แผน ตลอดจนแนวทางการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ทีแ่ ตกต่างกันออกไป จาแนกได้เป็น ๓ ระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ แผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ ๑ – ๔ ภาครัฐเป็ นกลไกหลัก ในการบริ หารจัดการ แผนสู่การปฏิ บตั ิ แผนพัฒนาฯ ระยะแรก จัดทาโดยกลุ่มนักวิชาการร่วมกับผูเ้ ชีย่ วชาญจากต่างประเทศ มีวตั ถุประสงค์ทเ่ี น้นการเพิม่ อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการลงทุนในโครงการพืน้ ฐานต่างๆ อาทิ การคมนาคมและขนส่ง เขื่อนเพื่อการชลประทานและพลังงานไฟฟ้า เพื่อสร้างพื้นฐานรองรับการลงทุน


ของภาคเอกชน ในระยะต่ อ มา วัต ถุ ป ระสงค์ ห ลักยัง คงมุ่งการพัฒ นาเศรษฐกิจ อย่างต่ อ เนื่ อ งให้เ ป็ น เครือ่ งมือในการสร้างความเป็นธรรมในสังคม

การขับ เคลื่อ นการพัฒ นาอาศัย มติค ณะรัฐ มนตรี ใ นการสัง่ การ และหน่ ว ยงานน าไป ดาเนินการอย่างเคร่งครัด ผ่านแผนปฏิบตั ิการกระทรวง โดยมีการจัดสรรงบประมาณหรือเงินสนับสนุ น ชัดเจน ในช่วงนี้ ภาครัฐเป็นกลไกการพัฒนาหลัก และการดาเนินงานเป็ นการสังการจากบนลงล่ ่ าง ขณะที่ ภ า ค ส่ ว น อื่ น ๆ มีส่วนร่วมน้อยในการบริหารจัดการแผนพัฒนาประเทศ ระยะที่ ๒ แผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ ๕ – ๗ ภาคเอกชนเริ่ มเข้ ามามีบทบาทร่วมในการ ขับเคลื่อนการพัฒนา การเมืองในประเทศมีความมันคง ่ แต่ความยากจนของคนในชนบทอยู่ในระดับสูง การพัฒนาจึงเน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างมีเสถียรภาพและมุ่งแก้ปญั หาความยากจน โดยเฉพาะ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๗ เริม่ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาที่ยงยื ั ่ น เน้นความสมดุลระหว่างความ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ คุณภาพชีวติ และสิง่ แวดล้อม โดยผนึกกาลังภาคส่วนต่างๆ ในการป้องกันและแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม ขณะทีป่ ระเทศได้เปิดเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกมากขึน้ วิธกี าร ั่ วางแผนเริม่ เปลีย่ นจากรายสาขามาเป็นแผนงาน “เชิงรุก” อาทิ แผนงานการพัฒนาชายฝงทะเลตะวั นออก และการพัฒนาชนบทมีการกระจายการวางแผนลงสู่ระดับภูมภิ าคและพืน้ ที่ให้เจ้าหน้าทีแ่ ละผูน้ าชุมชนเข้า มามีบทบาท และเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนมีส่วนร่วมในการพัฒนามากขึน้ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๕ - ๗ ได้เปิ ดโอกาสให้ภาคส่วนต่างๆ มีส่วนร่วมใน รูปแบบของกลไกคณะกรรมการต่างๆ อาทิ คณะกรรมการพัฒนาชนบทแห่ งชาติ คณะกรรมการพัฒนา ั่ พื้นที่ชายฝงทะเลตะวั นออก คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปญั หาเศรษฐกิจ ทาหน้ าที่ กาหนดนโยบาย จัดทาแผน ขับเคลื่อนการพัฒนา ติดตามประเมินผล โดยระดมความร่วมมือจากภาคี ต่ า งๆ ในลัก ษณะหุ้น ส่ ว นการพัฒ นา และได้ ร ิเ ริ่ม แนวคิด การจัด ท างบประมาณตามแผนงานท าให้ หน่วยงานสามารถจัดทาแผนปฏิบตั กิ ารทีต่ อบสนองแผนพัฒนาฯ มากขึน้ ระยะที่ ๓ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๘ – ๑๐ ภาคีการพัฒนาขยายสู่ภาคประชาสังคมและ ชุมชน ขณะที่การขับเคลื่อนใช้กระบวนการมีส่วนร่วมหลากหลายรูปแบบ ในระยะนี้ การวางแผนได้ ปรับเปลี่ยนรูปแบบเป็ นแผนเชิงยุทธศาสตร์ทม่ี ุ่งกาหนดทิศทางการทางานร่วมกัน สาหรับรองรับความผัน ผวนของการเปลีย่ นแปลงต่างๆ เป็ นการปรับเปลีย่ นแนวคิดและรูปแบบการวางแผนการพัฒนาประเทศสู่ มิตใิ หม่ เน้นการพัฒนาแบบองค์รวมที่มคี นเป็ นศูนย์กลางและพัฒนากระบวนการมีส่วนร่วม กระจายการ วางแผนไปสู่ร ะดับ ล่ า งมากขึ้น การบริห ารจัด การแผนฯ สู่ก ารปฏิบ ัติใ นระยะแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๘ ดาเนินการโดยกาหนดแนวทางการแปลงแผนงาน โครงการ และมาตรการที่ยดึ พื้นที่ ภารกิจ และการมี ส่วนร่วม ส่งเสริมให้มกี ารจัดทาแผนพัฒนาระดับชุมชน แต่ ประเทศไทยประสบปญั หาวิกฤตเศรษฐกิจ ตัง้ แต่ปี ๒๕๔๐ ส่งผลให้การบริหารจัดการประเทศมุง่ ไปทีก่ ารแก้ปญั หาเศรษฐกิจเป็ นสาคัญ


ขณะที่ในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๙ ภาครัฐขับเคลื่อนการพัฒนาโดยใช้แผนการบริหาร ราชการแผ่นดินทีจ่ ดั ทาขึน้ จากการบูรณาการแนวนโยบายพืน้ ฐานแห่งรัฐในรัฐธรรมนู ญ พ.ศ.๒๕๔๐ และ นโยบายของรัฐบาลเป็ นเครื่องมือสาคัญ ประกอบกับภาคการเมืองมีความเข้มแข็ง การดาเนินงานของ หน่ วยงานภาครัฐจึงมุ่งใช้นโยบายรัฐบาลเป็ นกรอบในการจัดทาแผนงาน/โครงการผ่านแผนการบริหาร ราชการแผ่ น ดิน มากกว่ า การใช้แ ผนพัฒ นาฯ อย่า งไรก็ต าม ในช่ ว งปี ๒๕๔๙ ประเทศไทยเกิด การ เปลีย่ นแปลงทางการเมือง มีการยกเลิกรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ ส่งผลให้การพัฒนาโดยใช้แผนการบริหาร ราชการแผ่นดินชะงักลง การจัดทายุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณประจาปี จึงใช้แผนพัฒนาเป็ นกรอบ การดาเนินงาน


สาหรับในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ แผนฯ ครอบคลุมมิตกิ ารพัฒนาทีก่ ว้างขวาง ทาให้ ขาดจุดเน้นทีช่ ดั เจน ตลอดจนขาดแนวทางและกลไกขับเคลื่อนทีเ่ ป็ นรูปธรรม ทาให้การขับเคลื่อนแผนฯ ของแต่ละหน่วยงานทาได้ยากและการจัดสรรงบประมาณไม่เอื้อต่อการพัฒนาในเชิงยุทธศาสตร์ เนื่องจาก ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ บางประเด็นการพัฒนาครอบคลุมภารกิจหลายกระทรวง แต่ไม่ สามารถจัด สรรงบประมาณให้แ ต่ ล ะกระทรวงดาเนิ นการกระจายไปในหลายยุท ธศาสตร์หรือ จัดสรร งบประมาณให้เกิดการทางานร่วมกัน ระหว่างกระทรวงได้ ขณะที่ในระดับพื้นที่มยี ุทธศาสตร์การพัฒนา ภาคเป็นกรอบการจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แผนระดับท้องถิน่ และชุมชน นอกจากนี้ มีการ จัดทาแผนแม่บ ทเฉพาะเรื่อ ง รวมทัง้ การจัด ตัง้ คณะกรรมการระดับ ชาติข ึ้น มากากับ การดาเนิน งาน อย่า งไรก็ต าม การนาเสนอประเด็นการพัฒนาที่มคี วามสาคัญสูง ในแผนพัฒนาฯ ไม่ชดั เจน ทาให้การ จัดทาแผนระดับรองเพื่อแปลงสู่การปฏิบตั ไิ ม่สามารถสะท้อนผลการพัฒนา โดยสรุป พัฒนาการการวางแผนในช่ว งแผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑ - ๑๐ ทัง้ ในแง่ส าระและ กระบวนการได้ปรับเปลี่ยนไปตามบริบทการเปลี่ยนแปลงทัง้ ภายในและภายนอกประเทศ โดยเฉพาะ กระบวนการวางแผนและขับเคลื่อนการพัฒนา ข้อสรุปสาคัญทีจ่ ะต้องนามาพิจารณาประกอบการวางแผน ในช่วงต่อไปมี ๒ ประการ ดังนี้ ๑. แนวคิดการพัฒนาที่เริม่ ต้นจากบนลงล่างและแนวคิดที่ผลักดันให้มกี ารพัฒนาที่รเิ ริม่ จากล่างขึน้ บน ภายใต้กรอบของแนวคิดพื้นที่-ภารกิจ-การมีส่วนร่วม ซึง่ ได้พฒ ั นามาถึงจุดที่แนวคิดจาก บนลงล่างและจากล่างขึน้ บน จะต้องหาจุดเชื่อมโยงในระดับพืน้ ทีเ่ พื่อให้เกิด การบูรณาการ ทัง้ ในด้านสาระ ของการวางแผน และกระบวนการขับ เคลื่อ นที่จ ะต้ อ งมีก ารสนับ สนุ น ทัง้ ในด้า นความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ การจัดสรรและใช้ทรัพยากร รวมทัง้ งบประมาณที่สอดคล้องกับ แนวคิด พืน้ ที-่ ภารกิจ-การมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ ๒. แนวคิดที่เคยยึดแนวทางที่ใ ห้ความสาคัญต่ อ อุปทานมาตัง้ แต่ เริม่ การพั ฒนาภายใต้ ระบบการวางแผนมีแนวโน้มปรับเปลีย่ นมาคานึงถึงหลักอุปสงค์ ผ่านกลไกและกระบวนการมีส่วนร่วมใน ระดับต่างๆ เช่น กลไกคณะกรรมการร่วมภาครัฐและภาคเอกชน หรือ กลไกแผนท้องถิน่ และแผนชุมชน โดยเฉพาะการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ต้องให้ความสาคัญกับปจั จัย“ภูมสิ งั คม” ของพืน้ ที่ ดังนัน้ การวางแผนในระยะต่อไป ควรให้ความสาคัญกับการสร้างความเชื่อมโยงระหว่างอุปทาน และอุปสงค์ของการพัฒนาทัง้ ในระดับภาพรวม พื้นที่ ท้องถิ่น และชุมชน โดยมุ่งสร้างความสมดุลและ ค ว า ม ยั ่ ง ยื น ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ในระยะยาว ๒.๒ การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิ บตั ิ ๒.๒.๑ การบริ หารการพัฒนาประเทศในระยะที่ ผ่านมามีข้อจากัด ทัง้ ความผันผวน ทางการเมือง วิกฤตเศรษฐกิจ และความขัดแย้งในสังคมไทย สะท้อนว่าการขับเคลื่อนการพัฒนาในระยะ ต่อไป ต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีต่างๆ ในลักษณะ “หุ้นส่วนการพัฒนา” ภายใต้การทางานอย่าง บูรณาการ เมือ่ พิจารณาบทบาทภาคีการพัฒนา พบว่ามีปญั หาอุปสรรคของแต่ละภาคี ดังนี้


๑) ภาคราชการยังมีบทบาทสูง บริ หารงานลักษณะรวมศูนย์ที่ส่วนกลาง การปฏิรปู ระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ภายใต้แนวคิดการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบมีส่ว นร่วมส่งผล ให้โครงสร้างการบริหารประเทศเชื่อมโยงกัน และทางานภายใต้เครือข่ายภาคีการพัฒนา โดยมีกลไกและ เครื่องมือรองรับในทุก ระดับตัง้ แต่ประเทศ จังหวัด ท้องถิ่นและชุมชน อย่างไรก็ตาม การพัฒนากลไก จังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการทาให้การกระจายอานาจมุ่งสู่ราชการภูมภิ าคมากกว่าท้องถิน่ ส่งผล ให้การมีส่วนร่วมและเข้าถึงทรัพยากรของประชาชนฐานล่างมีขอ้ จากัด ขณะเดียวกัน การบริหารงานต่างๆ ของภาคราชการยังไม่สามารถปรับให้เข้ากับการเปลีย่ นแปลงและความแตกต่างในเชิงพื้นที่ได้ ประกอบ กับการทางานต้องยึดกฎระเบียบเดียวกันทัวประเทศ ่ ทาให้ขาดความยืดหยุ่น เป็ นอุปสรรคต่อการทางาน ร่วมกับภาคีต่างๆ และส่งผลตามมา ดังนี้ (๑) หน่ วยงานระดับภาคไม่สามารถปรับตัวรองรับการพัฒนาในมิ ติ และรูปแบบใหม่ เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐในภูมภิ าคได้รบั การเสริมสร้างความรูค้ วามเข้าใจเกี่ยวกับประเด็นการ พัฒนาและวิธกี ารการพัฒนาใหม่ๆ ไม่เพียงพอทีจ่ ะตอบสนองต่อรูปแบบการพัฒนาของกลุ่มหรือคลัสเตอร์ การพัฒนาในมิติต่างๆ โดยเฉพาะมิตเิ ศรษฐกิจ ขณะเดียวกัน การจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาในระดับ จังหวัดถึงชุมชนมีความสอดคล้องเชื่อมโยงและบูรณาการกันน้อย ไม่สามารถสอดประสานกับแผนงาน ระดับภาคและประเทศในทิศทางเดียวกัน (๒) องค์กรปกครองส่ วนท้ อ งถิ่ น (อปท.) ไม่ ส ามารถด าเนิ นการได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ เนื่องจากความล่าช้าของการถ่ายโอนบางภารกิจ รวมถึงมีความซ้าซ้อนในภารกิจ การจัดบริการสาธารณะกับหน่วยงานต่างๆ แม้ว่าจะมีการกาหนดแนวทางการถ่ายโอนภารกิจให้กบั อปท. อ ย่ า ง เ ป็ น ร ะ บ บ แต่การดาเนินงานมีความก้าวหน้าค่อนข้างน้อย ส่วนหนึ่งมาจากบุคลากรที่จะรับการถ่ายโอนขาดความ พ ร้ อ ม มีปญั หาในการปรับทัศนคติในการทางาน หรือคุณสมบัตขิ องบุคลากรทีจ่ ะโอนย้ายไม่ตรงกับความต้องการ ของ อปท. ขณะทีก่ ารจัดบริการสาธารณะในพืน้ ทีม่ ที งั ้ หน่ วยงานจากส่วนกลางและส่วนท้องถิน่ ขาดความ ชัดเจนในการกาหนดบทบาทหน้าทีท่ งั ้ ในเชิงกากับดูแล การควบคุมและการตรวจสอบ ขาดการบูรณาการ แผนงานระดับต่างๆ และ อปท. เองยังมีฐานรายได้ค่อนข้างจากัด ๒) ชุมชนไม่ส ามารถจัดทาแผนชุ มชนที่ เชื่ อมโยงกับแผนระดับอื่ นๆ ใน พื้นที่ ได้ อย่ างเหมาะสม โดยเฉพาะแผนท้ องถิ่ นและแผนจังหวัด แม้ว่าได้มกี ารจัดสรรงบประมาณ ให้แ ก่ จ งั หวัด โดยตรง และจัด ทาประชาคมในพื้นที่ เพื่อ ให้แ ผนชุม ชน แผนท้อ งถิ่น และแผนจัง หวัด สอดคล้องเชื่อมโยงกัน แต่ในทางปฏิบตั หิ ลายชุมชนประสบปญั หาต่างๆ อาทิ ไม่สามารถเสนอแผนชุมชน ได้ทนั กับกรอบเวลาการจัดทาแผนจัง หวัด หรือแผนชุมชนถูกนาไปรวบรวมโดยขาดการวิเคราะห์ในเชิง ความเชื่อ มโยง และไม่ส อดคล้อ งกับยุทธศาสตร์ของแผนจังหวัด นอกจากนี้ ชุมชนยังขาดพลังและมี บทบาทน้อยในการติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ รวมถึงขาดการติดตามและประเมินผล แผนท้องถิน่ อย่างเป็นระบบ ๓) ภาคเอกชนมีบทบาทมากขึ้น แต่ อยู่ในวงจากัด โดยมีส่วนร่วมพัฒนาที่ เน้ นเฉพาะเรื่องที่ เกี่ ยวเนื่ องกับธุรกิ จ ซึ่งมักเป็ นการพัฒนารายสาขาที่ยงั ไม่ได้ คานึงถึงภาพรวมการ พัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ขณะเดียวกัน การทางานร่วมกับท้องถิน่ /ชุมชน ในลักษณะภาคีการพัฒนามี


น้อย ส่วนใหญ่เป็ นไปในลักษณะคู่ค้าหรือผู้ให้บริการกับผู้รบั บริการ โดยบทบาทภาคเอกชนทัง้ ในระดับ คณะกรรมการพัฒนาจังหวัด และระดับ ของคณะกรรมการร่ว มภาครัฐและเอกชนในการแก้ ไ ขปญั หา เศรษฐกิจ (กรอ.) มีจากัด ในด้านของประเด็นความสนใจและไม่สามารถดาเนินการด้านการบริหารการ พัฒนาได้ดว้ ยตนเอง ต้องอาศัยการสนับสนุ นจากภาครัฐอยู่มาก ทัง้ นี้ ปจั จัยด้านกฎหมายและกฎระเบียบ ของทางราชการบางส่วนเป็ นอุปสรรคต่อการเปิ ดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาได้ อย่างเต็มที่ ๔) สถาบันการศึกษาโดยเฉพาะมหาวิ ทยาลัยในส่วนกลาง และหน่ วยงาน วิ จยั ต่ างๆ มีบทบาทมากขึ้นในยุคของเศรษฐกิ จฐานความรู้ แต่ มีบทบาทน้ อยในการเข้าร่วมการ พัฒนาท้ องถิ่ น โดยที่การศึกษาวิจยั เพื่อค้นหาองค์ความรู้หรือนวัตกรรม เป็ นนโยบายที่ภาครัฐรวมถึง ภาคเอกชนให้ความสาคัญ ส่งผลให้สถาบันการศึกษาและหน่ วยงานวิจยั ต่างๆ โดยทีส่ ่วนกลางได้รบั การ สนับสนุ นทรัพยากรอย่างต่อเนื่องในการพัฒนาความรูแ้ ละเทคโนโลยีโดยรวมมากกว่าระดับพืน้ ที่ ทาให้ม ี บทบาทร่วมพัฒนาท้องถิน่ /ชุมชนน้อย การส่งเสริมให้สถาบันการศึกษาและหน่ วยงานวิจยั ในส่วนกลาง และในระดับ พื้น ที่ร่ ว มกับ ท้อ งถิ่น /ชุ ม ชนในการค้น หาความรู้ท่ีส อดคล้อ งกับ พื้น ที่จ ึง มีค วามจ าเป็ น โดยเฉพาะการสนับสนุ นให้พ้นื ทีก่ าหนดประเด็น การพัฒนาและขับเคลื่อนได้ดว้ ยตนเอง นอกจากนี้ ต้อง ผลัก ดันให้สถาบันการศึก ษาในระดับพื้นที่ซ่งึ มีความใกล้ชดิ กับชุมชนอยู่แล้ว ให้ค วามสาคัญ กับ การใช้ ความรูแ้ ละงานวิจยั เพื่อพัฒนาพืน้ ที่มากขึน้ เช่นกัน ๒.๒.๒ ปั จจัยที่ เป็ นความเสี่ ยง/ข้อจากัดต่ อการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ใิ ห้เกิดผลเป็ นรูปธรรม ต้องคานึงถึงความเสี่ยง/ ข้อจากัดต่างๆ ทีจ่ ะมีผลต่อความสาเร็จของการขับเคลื่อนแผนฯ ในอนาคต ดังนี้ ๑) การน าแผนพัฒ นาฯ ไปใช้ ป ระโยชน์ อ ย่ า งจริ ง จัง ในทางปฏิ บ ตั ิ มี น้ อ ย เพราะภาคการเมืองยึดนโยบายของพรรคเป็นหลัก ขณะทีห่ น่วยงานภาครัฐดาเนินการตามนโยบายรัฐบาล ทีบ่ รรจุไว้ในแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทาให้แผนพัฒนาฯ ได้รบั ความสาคัญน้อยลง ขณะเดียวกัน หน่ วยงานภาครัฐเห็นว่า แผนพัฒนาฯ มีเนื้อหาสาระที่ครอบคลุมทุกประเด็นการพัฒนาที่กว้างขวางและ ค่ อ นข้างเป็ นนามธรรม แม้จะมีเ ป้าหมายทัง้ เชิง คุ ณ ภาพและปริมาณ แต่ ไ ม่ม ีก ารก าหนดตัว ชี้ว ดั และ หน่วยงานหรือกลไกรับผิดชอบทีช่ ดั เจนยากต่อการปฏิบตั แิ ละการติดตามประเมินผล ๒) ระยะเวลาการจัด สรรงบประมาณไม่ ส อดคล้ อ งกับ การประกาศใช้ แผนพัฒนาฯ การประกาศใช้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ในเดือ นตุลาคม ๒๕๕๔ เป็ นช่วงเวลาที่หน่ ว ย ราชการได้จ ัด ท าค าของบประมาณประจ าปี ๒๕๕๕ รวมถึง หน่ ว ยงานระดับ จัง หวัด ได้ จ ัด ท าแผน ยุทธศาสตร์จงั หวัดระยะเวลา ๔ ปีและองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ จัดทาแผนพัฒนาท้องถิน่ ระยะเวลา ๓ ปี ไว้ก่อนแล้ว จึงไม่สามารถนาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ไปบูรณาการได้ทนั ในปีแรกของแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ ๓) การจัดสรรงบประมาณลงสู่พื้นที่ แม้มีจานวนสูง ขึ้น แต่ มีข้อจากัด ด้ าน การบริ หารที่ ทาให้ การใช้ จ่ายไม่ก่อให้ เกิ ดประสิ ทธิ ผลและประสิ ทธิ ภาพสูงเท่ าที่ ควร การจัดสรร งบประมาณลงสู่พ้นื ที่มหี ลายช่อ งทาง ได้แก่ งบประมาณกระทรวงต่างๆ ในแผนงาน/โครงการที่เ ป็ น ภารกิจหลัก จังหวัด/กลุ่ มจังหวัดที่ได้รบั จัดสรรเพื่อ การพัฒนาภายใต้ยุทธศาสตร์จงั หวัด/กลุ่มจังหวัด ท้อ งถิ่น ได้ร บั งบประมาณตามภารกิจ ที่ร ะบุ อ ยู่ใ นกฎหมาย ชุ ม ชนได้ร บั งบประมาณที่จ ดั สรรภายใต้


โครงการต่างๆ ตามนโยบายรัฐบาล อาทิ กองทุนหมูบ่ า้ นและชุมชนเมือง จึงทาให้มงี บประมาณกระจายอยู่ ในพื้น ที่ จ าเป็ น ต้อ งก าหนดวิธ ีบ ริห ารจัด การงบประมาณให้ม ีป ระสิท ธิภาพ โปร่ง ใส และตอบสนอง ยุทธศาสตร์การพัฒนาพืน้ ทีอ่ ย่างเป็ นรูปธรรม เกิดประโยชน์สงู สุดแก่ประชาชน ๔) กลไกการขับเคลื่อนแผนพัฒนาประเทศขาดการกากับดู แลในภาพรวม ในระยะที่ผ่านมา ภาครัฐเป็ นกลไกหลักที่ขบั เคลื่อนแผนใน ๒ รูปแบบ ได้แก่ การผลักดันแผนสู่ภารกิจ ปกติของกระทรวง และการกาหนดประเด็นการพัฒนาเฉพาะเรื่องทีม่ กี ลไกกากับการดาเนินงานเป็ นการ เฉพาะ อาทิ คณะกรรมการนโยบายการท่องเทีย่ วแห่งชาติ คณะกรรมการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและ ขนาดย่อม คณะกรรมการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ และคณะกรรมการทรัพยากร น้ าแห่งชาติ แต่ขาดกลไกประสานการดาเนินงานในภาพรวม ทีจ่ ะเชื่อมโยงนโยบาย แนวปฏิบตั ิ และการ ติดตามประเมินผล ให้การขับเคลื่อนแผนพัฒนาประเทศบรรลุผลตามวัตถุประสงค์ ๕) การทุจริ ตคอร์รปั ชันส่ ่ งผลต่ อประสิ ทธิ ภาพและความเชื่ อมันในระยะยาว ่ การทุจริตคอร์รปั ชันท ่ าให้การบริหารจัดการประเทศมีความล่าช้า เนื่องจากกลไกต่างๆ ไม่สามารถทางาน ได้เต็มประสิทธิภาพ ผลกระทบจากการคอร์รปั ชันมี ่ ส่วนอย่างสาคัญที่ก่อให้เกิด ความเหลื่อมล้าในการ กระจายผลประโยชน์ นามาสู่ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม จาเป็ นต้องกาหนดแนวทางแก้ไขใน ระยะยาวทีอ่ ยู่บนพืน้ ฐานของการมีส่วนร่วมของภาคีต่างๆ เหตุผลสาคัญทาให้การแก้ปญั หาเป็ นไปอย่าง ล่ า ช้า เกิด จากรูป แบบการคอร์ร ปั ชัน่ มีค วามซับ ซ้อ น โดยเฉพาะการทุ จ ริต เชิง นโยบายที่อ าศั ย การ เปลี่ย นแปลงแก้ ไ ขกฎ ระเบีย บ หรือ เงื่อ นไขสัม ปทานที่ม ีผ ลประโยชน์ สูง ขณะที่ก ลไกตรวจสอบมี ประสิทธิภาพค่อนข้างจากัดในทางปฏิบตั ิ ๒.๒.๓ ปั จจัยเสริ มสร้างประสิ ทธิ ภาพการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่ การปฏิ บตั ิ ให้ ประสบผลสาเร็จ จากการพิจารณาจุดแข็ง/โอกาสด้านการบริหารจัดการประเทศภายใต้ บทบาทของภาคส่วนต่างๆ ประกอบด้วย ๑) ภาคราชการมีเครื่องมือและวิ ธีการใหม่ๆ ด้านการกระจายอานาจที่ เสริ ม ให้ ก ารบริ ห ารราชการส่ ว นภูมิภ าคและท้ อ งถิ่ นมี ประสิ ท ธิ ภ าพมากขึ้น สามารถสนั บสนุ น การ พัฒ นาในระดับพื้ น ที่ ไ ด้ อ ย่ า งเป็ นรูป ธรรม ในระยะ ๓ ปี ข องแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๐ มีก ารปรับ โครงสร้าง กลไก และหลักเกณฑ์การจัดสรรทรัพยากรภาครัฐให้กระจายอานาจการตัดสินใจสู่ภูมภิ าค ท้องถิน่ และชุมชนเพิม่ ขึน้ อาทิ ปรับปรุง พ.ร.บ. กาหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ (ฉบับที่ ๒ พ.ศ. ๒๕๔๙) มีผลต่อการแก้ไขปญั หาการถ่ ายโอนงาน - คน - เงินให้ ท้องถิน่ และสร้างความชัดเจนในบทบาทของกระทรวง กรม จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ส่งผล ให้ทอ้ งถิน่ มีขดี ความสามารถเพิม่ ชื่อในการบริหารจัดการภารกิจของท้องถิน่ สามารถขับเคลื่อนการพัฒนา และสนับสนุ นการปฏิบตั งิ านในระดับจังหวัด/กลุ่มจังหวัดมากขึน้ นอกจากนี้ การมี พ.ร.บ.ระเบียบบริหาร ราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๕๐ ทีก่ าหนดให้จงั หวัด/กลุ่มจังหวัดยื่นคาขอจัดตัง้ งบประมาณได้ และให้ถือว่าจังหวัด/กลุ่มจังหวัดเป็ นส่วนราชการตามกฎหมายว่าด้วยวิธกี ารงบประมาณ ทาให้จงั หวัด สามารถของบประมาณพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัดที่ตอบสนองความต้องการของคนใน พืน้ ทีไ่ ด้โดยตรง ๒) ภาคชุมชนและภาคประชาชนมีความเข้มแข็งและมีโอกาสเพิ่ มขึ้นในการ มีส่วนร่วมการบริ หารจัดการประเทศ ประชาชนในวงกว้างตระหนักถึงความสาคัญของการมีส่วนร่วมใน การปกป้องสิทธิประโยชน์ของตนเองและชุมชนมากขึน้ และมีช่องทางในการมีส่วนร่วมกับภาครัฐและภาคี พัฒนาอื่นๆ อาทิ การมีส่วนร่วมในสภาองค์กรชุมชนทีใ่ ห้สทิ ธิผแู้ ทนชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน/ ท้อ งถิ่น การเข้าร่ว มเป็ นผู้แ ทนในคณะกรรมการธรรมาภิบาลจังหวัด (ก.ธ.จ.) ทาหน้ าที่ส อดส่ อ งและ เสนอแนะการปฏิบตั ภิ ารกิจของหน่ วยงานภาครัฐในจังหวัด ตลอดจนร่วมเป็ นผูแ้ ทนในเครือข่ายทีป่ รึกษา ผูต้ รวจราชการภาคประชาชนในการตรวจราชการระดับพื้นที่ร่วมกับผูต้ รวจราชการสานักนายกรัฐมนตรี


และผู้ต รวจราชการกระทรวง โดยเฉพาะการตรวจติดตามนโยบายสาคัญ ของรัฐบาล เป็ นช่อ งทางให้ ประชาชนทุกระดับทัวประเทศเข้ ่ าร่วมในกระบวนการพัฒนาและตรวจสอบการดาเนินงานของภาครัฐได้ กว้างขวาง ๓) ภาคธุ ร กิ จ เอกชนตระหนั ก ถึ ง ความส าคัญ ของการมี ส่ ว นร่ ว มในการ พัฒนาประเทศมีแนวคิ ดการดาเนิ นธุรกิ จที่ รบั ผิ ดชอบต่ อสังคมและทาธุรกิ จเพื่ อ สังคมมากขึ้ น ภาคเอกชนได้ตระหนักถึงความสาคัญของการดูแลรับผิดชอบสังคมและมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ มากขึน้ ทัง้ ในด้านการพัฒนาภาคการผลิต การท่องเที่ยว การส่งเสริมธุรกิจชุมชน และการต่อต้านการ ทุจริตประพฤติมชิ อบ โดยจัดทาแผนยุทธศาสตร์และมีกลไกขับเคลื่อนที่สาคัญ อาทิ คณะกรรมการร่วม ภาครัฐและเอกชนเพื่อ แก้ไ ขปญั หาเศรษฐกิจ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุ ต สาหกรรมแห่ง ประเทศไทย และสภาอุตสาหกรรมการท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย ทัง้ ในระดับชาติและจังหวัด ๔) ภาควิ ชาการตื่ นตัวและได้ รบั การยอมรับมากขึ้นในฐานะแกนหลักของ การพัฒนาในช่วงต่อไป หน่วยงานการวิจยั และพัฒนามีบทบาทมากขึน้ ในการเชื่อมโยงงานวิจยั ลงสู่พน้ื ที่ โดยนาหลักการทางวิชาการมาสร้างกระบวนการเรียนรู้ การบริหารจัดการในชุมชน ส่งเสริมให้เกิดความ ร่ว มมือ ภายในชุมชนตัง้ แต่ ก ารรวบรวมข้อ มูล การร่ว มกันคิดวิเ คราะห์เพื่อ ตัดสินใจ ไปจนถึงกาหนด แผนการแก้ไขปญั หาของตนเอง เกิดเป็ นเครือข่ายภาคีในการพัฒนาที่ทางานประสานความร่วมมือกับ ภาครัฐ ภาคเอกชน นักวิชาการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เพื่อตอบสนองการแก้ปญั หาเฉพาะพืน้ ที่ อ า ทิ ปั ญ ห า ค ว า ม เหลื่อมล้า และปญั หาสังคมอื่นๆ อย่างมีประสิทธิภาพ

หลักการและวัตถุประสงค์การบริหารจัดการแผนฯ สู่การปฏิบตั ิ

ความสาเร็จของการขับเคลื่อนแผนพัฒนาประเทศสู่การปฏิบตั ขิ น้ึ อยู่กบั ความชัดเจนของแผนและ ระบบการบริห ารจัดการแผนสู่การปฏิบตั ิ การรับรู้ เข้าใจ และตระหนักถึงภารกิจและความรับผิดชอบ ร่ว มกัน ของทุ ก ภาคส่ ว นในสัง คมต่ อ การพัฒ นาประเทศภายใต้ทิศ ทางที่ไ ด้ร่ว มกัน กาหนดขึ้น โดยมี หลักการและวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๓.๑ หลักการ หลัก การพื้นฐานเพื่อ การบริหารจัดการแผนพัฒนาฯฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ เป็ นการ ขับเคลื่อนการพัฒนาอย่างเป็นขัน้ เป็นตอน สร้างการยอมรับ และมีส่วนร่วมพัฒนาประเทศอย่างกว้างขวาง มุ่งให้เกิดการบูรณาการเชื่อมโยงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ กับนโยบายรัฐบาลและแผนระดับต่างๆ พร้อม ทัง้ ผลัก ดันให้ค นไทย ชุมชน และองค์ก รทุกภาคส่ วนร่วมพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคม โดยใช้อ งค์ ความรูท้ ส่ี อดคล้องกับภูมสิ งั คม ด้วยความเสมอภาค เป็นธรรม และเกิดภูมคิ ุม้ กันต่อการเปลีย่ นแปลง ดังนี้ ๓.๑.๑ ขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาฯในทุกระดับ เป็ นกรอบทิศทางหลัก ในการพัฒนาประเทศ และแปลงสู่การปฏิบตั ใิ นระดับต่างๆ ทีส่ อดคล้องกับสภาพภูมสิ งั คม ๓.๑.๒ กระจายการพัฒนาลงสู่พ้นื ที่ โดยยึดหลักการพัฒนาพื้นที่ ภารกิจ และการมีส่วน ร่วม (Area Function Participation : A-F-P ) ให้จงั หวัดเป็ นพื้นทีด่ าเนินการขับเคลื่อนการพัฒนา และ เป็นจุดเชื่อมโยงการพัฒนาจากชุมชนสู่ประเทศ และประเทศสู่ชุมชน


๓.๑.๓ เพิ่ม การใช้อ งค์ค วามรู้ เทคโนโลยี นวัต กรรม และความคิด สร้า งสรรค์ ใ ห้เ ป็ น เครือ่ งมือหลักในการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกภาคส่วนในระดับพืน้ ที่ ท้องถิน่ และชุมชน ๓.๑.๔ ใช้กลไกและเครื่องมือการพัฒนาของภาครัฐ ภาคประชาชน ภาคธุรกิจเอกชน และ สื่อมวลชนอย่างบูรณาการให้การขับเคลื่อนเกิดประสิทธิภาพโดยกระบวนการสร้างเครือข่ายหรือคลัสเตอร์ ๓.๒ วัตถุประสงค์ ๓.๒.๑ เพื่อให้การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ดิ ว้ ยการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน ๓.๒.๒ เพื่อบูรณาการแผนงานจากส่วนกลาง พื้นที่ และท้องถิน่ /ชุมชน ในการขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ ๓.๒.๓ เพื่อ ให้ก ารติดตามและประเมินผลเชื่อ มโยงอย่างเป็ นระบบตัง้ แต่ ภาพรวมของ ประเทศลงสู่ภมู ภิ าค พืน้ ที่ และชุมชน

แนวทางการขับเคลื่อนแผนฯ สู่การปฏิบตั ิ  แนวทางการขับเคลื่อนแผนพัฒนาประเทศสู่การปฏิบตั มิ ุ่งดาเนินการอย่างเป็ นระบบ ครบวงจร

ดังนี้

ก า ร พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๑ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล สามารถน้าแนวคิด Plan-Do-Check-Act (P-D-C-A) มาปรับใช้ได้ เริ่มตังแต่จัดท้าแนวทางยุทธศาสตร์ให้ชัดเจนทัง วัตถุประสงค์ เป้าหมายและแนวทาง รวมทังจัดท้าการบริหารจัดการ อาทิ กระบวนการ วิ ธี ก ารและเครื่ อ งมื อต่ างๆ ในการน้ า ทางและก้ ากั บการ บริหารจัดการแผนไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพ โดยทุกภาคส่วนมีการ ปฏิ บั ติ ง านภายใต้ ร ะบบที่ อ อกแบบไว้ อ ย่ า งจริ ง จั ง รวมถึ ง ตรวจสอบ ติ ดตามความก้ าวหน้ าและประเมิ น ผลที่ สะท้ อนผลกระทบและความพึ ง พอใจของประชาชนที่มีต่อผลการพัฒนาที่เกิดขึน น้าไปสู่การปรับเปลี่ยน กระบวนการและวิ ธี ก ารด้ า เนิ น งานให้ ก ารขั บ เคลื่ อ นแผนบรรลุ ต าม วัตถุประสงค์ที่ก้าหนด


๔.๑ การสร้างความรู้ความเข้าใจให้ ทุกภาคส่ วนตระหนักถึงความสาคัญและพร้อมเข้า ร่วมในการผลักดันแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ไปสู่การปฏิ บตั ิ สศช. สร้างความเข้าใจกับภาคีทุกภาค ส่วน ถึงวัตถุประสงค์ เป้าหมายของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ผ่านกระบวนการและเครือ่ งมือต่างๆ ดังนี้ ๔.๑.๑ จัดทาแนวทางการสื่ อสารประชาสัมพันธ์ โดยใช้ หลักการตลาดสร้างความ ตระหนักและยอมรับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เป็ นเครื่องมือในการพัฒนาแบบบูรณาการที่ทุกภาคี สามารถนาไปปรับใช้ ให้ บงั เกิ ดผลได้ จริ ง โดยสื่อสารประชาสัมพันธ์อย่างเหมาะสม สามารถเข้าถึง กลุ่มเป้าหมายอย่างมีประสิทธิภาพผ่านบุคคล สื่อมวลชนทัง้ ระดับชาติและท้องถิน่ กิจกรรม สื่อสมัยใหม่ จั ด ท า แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉบับที่ ๑๑ ฉบับประชาชนทีเ่ ข้าใจง่าย รวมทัง้ การสร้างเครือข่ายให้ขอ้ มูลข่าวสารกระจายไปยังพืน้ ทีต่ ่างๆ อย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง พร้อมทัง้ พัฒนาบุคลากรทีเ่ กี่ยวข้องให้สามารถทาหน้าทีส่ ่อื สารและถ่ายทอด สาระหลักของแผนพัฒนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๑.๒ สร้ า งความเข้ า ใจให้ ภ าคการเมื อ งในเป้ าประสงค์ แ ละแนวทางของ แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉบับที่ ๑๑ และผลักดันให้พรรคการเมืองนาประเด็นการพัฒนาสาคัญไปผสมผสานในการจัดทานโยบาย ของพรรคและนโยบายของรัฐบาล ๔.๑.๓ จัดทาคู่มือการแปลงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เผยแพร่แก่ภาคีการพัฒนา เกิ ด ความร่วมมือในการนาแผนไปปฏิ บตั ิ อย่างจริ งจัง เป็ นคู่มอื การประสานแผนแต่ละระดับทีท่ ุกภาคส่วน สามารถนาไปปรับใช้ให้เกิดบูรณาการการทางานร่วมกัน จัดทาเอกสารรวบรวมวิธกี ารขับเคลื่อนแผนและ กิจกรรมการพัฒ นาในรูป แบบต่ า งๆ หรือ กรณีต ัว อย่างที่ป ระสบความสาเร็จ ด้ว ยการดาเนิ นงานของ หน่ วยงานภาครัฐและภาคีต่างๆ เพื่อเผยแพร่ให้ภาคีก ารพัฒนานาไปปรับใช้ตามความเหมาะสม รวมทัง้ นาเสนอแนวทางการลงทุนในประเด็นการพัฒนาสาคัญ สาหรับหน่ วยปฏิบตั นิ าไปประกอบการจัดทาแผน ระดับรอง แผนงาน/โครงการต่างๆ ให้มคี วามชัดเจนในการพัฒนาด้านต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม


๔.๒ การสร้างความเชื่ อมโยงระหว่างแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ นโยบายรัฐบาล แผนการ บริ หารราชการแผ่นดิ น และแผนระดับอื่นๆ โดย ๔.๒.๑ กาหนดประเด็นการพัฒนาสาคัญภายใต้ ยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฉบับที่ ๑ ๑ เสนอต่อสาธารณะอย่างชัดเจน นาไปสู่การกาหนดแผนงานโครงการ การระดมทรัพยากร และแนวทาง การร่วมดาเนินงานของภาคส่วนต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ ๑) สร้ า งสั ง คมสงบสุ ข ประชาชนมี คุ ณ ภาพชี วิ ตดี ขึ้ น ทุ ก ภาคส่ ว นให้ ความสาคัญกับการแก้ปญั หาความเหลื่อมล้าในเชิงโครงสร้างเศรษฐกิจและสังคม ภาครัฐจัดบริการทาง สังคม ตามสิทธิทป่ี ระชาชนพึงมีพงึ ได้อย่างทัวถึ ่ งและเท่าเทียม อาทิ การศึกษา สาธารณสุข กระบวนการ ยุตธิ รรม ภาคเอกชนและองค์กรพัฒนาเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อสังคมมากขึน้ องค์กรปกครอง ส่ ว นท้อ งถิ่นและชุ มชนร่ว มกันดูแ ลช่ ว ยเหลือ กลุ่ ม ผู้สู งอายุและผู้ด้อ ยโอกาสในชุมชน คณะกรรมการ หมู่บ้านเป็ นแกนประสานการฟื้ นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ร่วมกันป้องกันปญั หายาเสพติด โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กและเยาวชน สถาบันการศึกษาร่วมกับวิสาหกิจชุมชน/องค์การเงินชุมชนสร้างความ เข้มแข็งให้กบั เศรษฐกิจในพืน้ ที่ อาทิ พัฒนาทักษะความรูแ้ ละส่งเสริมการประกอบอาชีพทีส่ อดคล้องกับวิถี ชีวติ วัฒนธรรม ภูมปิ ญั ญาในแต่ ล ะท้องถิ่น ส่ งเสริมความรู้ด้านธุรกิจ และการพัฒนาอุตสาหกรรมบาง ประเภททีเ่ พิม่ รายได้ให้กบั คนในชุมชน ๒) พัฒนาภาคเกษตรให้ เข้มแข็ง สร้างความมันคงให้ ่ อาชี พเกษตรกร และ บริ หารจัดการน้าอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ ภาครัฐกาหนดมาตรการทีท่ าให้เกษตรกรมีหลักประกันทางด้าน รายได้และได้รบั ความคุ้มครองจากปญั หาที่ควบคุมไม่ได้ อาทิ ภัยธรรมชาติ สร้างเกษตรกรรุ่นใหม่ ท่มี ี ความรูค้ วามสามารถด้านการเกษตรที่สามารถใช้ความรูแ้ ละเทคโนโลยีสมัยใหม่อย่างครบวงจร เกษตรกร รวมตัวเป็ นกลุ่มหรือเครือข่ายสร้างความเข้มแข็งในการทาธุรกิจ การเกษตร การเจรจาต่อรอง และการ จัดสรรผลประโยชน์ ชุมชนเปิ ดรับเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต แบบสมัยใหม่ในรูปแบบต่างๆ และ ร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และสถาบันการศึกษาจัดการความต้องการใช้น้ าของเกษตรกรโดย คานึงถึงความเชื่อมโยงกับน้าทัง้ ระบบด้วยภูมปิ ญั ญาท้องถิน่ ควบคู่กบั ความรูแ้ ละเทคโนโลยีทท่ี นั สมัย ๓) พัฒนาเศรษฐกิ จที่เป็ นมิ ตรกับสิ่ งแวดล้อม ทุกภาคส่วนร่วมกันพัฒนาการใช้ พลังงานทีเ่ ป็ นมิตรกับสิง่ แวดล้อม ภาครัฐ กาหนดมาตรการจูงใจให้ภาคอุตสาหกรรมเน้นกระบวนการการ ผลิตคาร์บอนต่ า ภาคเอกชนปรับตัวรองรับพันธกรณีต่างๆ เกี่ยวกับการปล่อยก๊าซเรือนกระจกทีจ่ ะส่งผล ให้ต้นทุนการผลิตสูงขึน้ สถาบันการศึกษาพัฒนางานวิจยั เทคโนโลยี และนวัตกรรมที่เกี่ยวข้อง องค์กร ปกครองส่วนท้องถิน่ และชุมชนเป็ นแกนหลักในการสร้างพฤติกรรมการบริโภคทีไ่ ม่ทาลายสภาพแวดล้อม ควบคู่ ก ับ วางแผนอนุ ร ัก ษ์ ฟื้ น ฟู และสร้า งความมัน่ คงของฐานทรัพ ยากรธรรมชาติ ใ นพื้น ที่ด้ ว ย กระบวนการมีส่วนร่วมและใช้ความรูเ้ ป็นเครือ่ งมือในการพัฒนาระบบนิเวศ ๔) ปรับตัวสู่เศรษฐกิ จสร้างสรรค์ในการสร้างสิ นค้าและบริ การใหม่ๆ ภาครัฐ และภาคเอกชนส่งเสริมการลงทุนด้านวิจยั และพัฒนา พร้อมทัง้ ผลักดันให้มกี ารนางานวิจยั ไปต่อยอด ถ่ า ยทอด และประยุ ก ต์ ใ ช้ป ระโยชน์ ท ัง้ เชิง พาณิ ช ย์แ ละพัฒ นาชุ ม ชน ส่ ง เสริม กลุ่ ม สิน ค้า เศรษฐกิจ สร้างสรรค์เพื่อผลิตสินค้าและบริการใหม่ๆ ทางเลือกหนึ่งในการสร้างเพิม่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ รวมทัง้ พัฒนาปจั จัยสนับสนุ นทีเ่ อือ้ ต่อพัฒนาธุรกิจสร้างสรรค์ อาทิ ระบบโลจิสติกส์ท่สี ามารถ รวบรวมและกระจายสินค้าจากชุมชนสู่ตลาดอย่างมีประสิทธิภาพ สถาบันการศึกษานาระบบงานวิจยั ลงสู่ ชุมชนเป็ นการจุดประกายความคิดนาทุนทางสังคมและทรัพยากรที่ มอี ยู่มาเพิ่มมูล ค่าให้กับสินค้าและ บริการในพืน้ ทีแ่ ละสอดคล้องกับความต้องการของตลาด โดยคานึงถึงความยังยื ่ น ไม่ส่งผลลบต่อวิถชี วี ติ ที่ มีและความหลากหลายทางชีวภาพ


๕) เร่งแก้ ปัญหาทุจริ ตคอร์รปั ชัน่ หน่ วยงานตรวจสอบร่วมกันศึกษาวิเคราะห์ สาเหตุของการขาดประสิทธิภาพหรือความล้มเหลวของกลไก กระบวนการ และการบังคับใช้กฎหมาย กฎ ระเบียบในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รปั ชันในสั ่ งคมไทย นาไปสู่การบูรณาการยุทธศาสตร์ และการทางานร่วมกันทีส่ อดคล้องกับสถานการณ์และเกิดผลสาเร็จอย่างเป็ นรูปธรรม ภาคเอกชนยึดหลัก บรรษัทภิบาลภาคประชาสังคมรวมตัวเป็ นเครือข่ายตรวจสอบการทางานของภาครัฐ สถาบันการศึกษา สื่อมวลชน และองค์กรพัฒนาเอกชน สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้คนในสังคมรับรู้ถึงผลกระทบของการ คอร์รปั ชันต่ ่ อการพัฒนาประเทศนาไปสู่การปฏิเสธการคอร์รปั ชันทุ ่ กรูปแบบ ๔.๒.๒ บูรณาการประเด็นการพัฒนาภายใต้ ยุทธศาสตร์ที่มีความเชื่ อมโยงกันและ จัดทาเป็ นแผนการลงทุนการพัฒนา/แผนพัฒนาเฉพาะด้านที่ ตอบสนองการพัฒนาในหลายมิ ติ ภายใต้ยทุ ธศาสตร์แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ครอบคลุมสาระและบทบาทภาคีการพัฒนาทีก่ ว้างขวาง มี แผนปฏิบตั กิ ารที่มคี วามชัดเจนทัง้ แผนงาน โครงการ งบประมาณดาเนินงาน ผู้รบั ผิดชอบหลัก ผู้มสี ่วน ร่วม กระบวนการทางาน และระยะเวลา เป็นเครือ่ งมือในการขับเคลื่อนแผนสู่การปฏิบตั ไิ ด้อย่างจริงจัง ซึง่ ต้องให้ความสาคัญต่อการคัดเลือกบุคลากรในตาแหน่ งสาคัญทีม่ คี วามรูค้ วามสามารถมาบริหารโครงการ เพื่อ ให้ส ามารถทางานได้ต่ อ เนื่อง โดยนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้ประโยชน์ ใ นแผนงานและ โครงการเหล่านี้ โดย ๑) จัด ท าแผนการลงทุ น การพัฒ นาในประเด็น ที่ มี ค วามส าคัญ ล าดับ สู ง ในช่ วงแผนพัฒ นาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ ที่ส อดคล้อ งกับ สาระหลัก ในด้านการลดความเหลื่อ มล้า การเข้า สู่ เศรษฐกิจสีเขียวและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทีแ่ สดงให้เห็นถึงการจัดสรรงบประมาณทีเ่ หมาะสม ก่อให้เกิดผล การพัฒนาในภาพรวม ๒) นาประเด็นการพัฒ นาที่ ต้ อ งแปลงเป็ นโครงการขนาดใหญ่ อาทิ การ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาระบบโลจิ สติ กส์ ขับเคลื่ อ นภายใต้ หลักการการร่วมลงทุ น ระหว่างรัฐกับเอกชน (Public-Private Partnership : PPP) ที่สร้างการมีส่วนร่วมของภาคเอกชนใน การพัฒนาประเทศ สามารถขยายการลงทุนขนาดใหญ่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตอบสนองความต้องการ ของประชาชนได้ทนั การณ์ และเกิดความคุม้ ค่าของการลงทุน ๓) ผลักดันให้ประเด็นการพัฒนาในแต่ละยุทธศาสตร์แปลงสู่การปฏิ บตั ิ ผ่าน แผนงานระดับ กระทรวงสู่ พื้ น ที่ ร ะดับ ต่ า งๆ ผสมผสานอยู่ ใ นภารกิ จ หลัก ของหน่ วยงานที่ มี เป้ าหมายและตัวชี้วดั ชัดเจน โดย สศช. และหน่ วยงานเกี่ยวข้องร่วมจัดทาและติดตามประเมินผลแผน ดังกล่าวที่สะท้อนความสอดคล้องและบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนาในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ รวมถึงให้ความสาคัญกับการบูรณาการแผนงาน/โครงการทัง้ ภายในและภายนอกหน่วยงาน ๔.๒.๓ เชื่ อ มโยงแนวคิ ดพื้ น ฐาน ยุ ท ธศาสตร์ แ ละประเด็ น การพัฒ นาส าคั ญ ตลอดจนแผนพัฒนาเฉพาะด้านภายใต้ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เข้ากับนโยบายรัฐบาล แผนการ บริ หารราชการแผ่นดิ น และแผนระดับต่ างๆ การขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ จะ ดาเนินการในหลายระดับตัง้ แต่นโยบายรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน แผนของหน่ วยงานภาครัฐ ส่วนกลาง ส่วนภูมภิ าค ท้องถิ่น/ชุมชน ตลอดจนแผนของภาคีการพัฒนาต่างๆ อย่างเป็ นขัน้ เป็ นตอน


ตัง้ แต่ทศิ ทาง วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัวชีว้ ดั ความสาเร็จของยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ดังนี้ ๑) รัฐบาลนาประเด็นการพัฒ นาที่ มีลาดับความสาคัญสูงและแผนพัฒ นา เฉพาะด้ า นภายใต้ ยุท ธศาสตร์แ ผนพัฒ นาฯ ฉบับที่ ๑๑ เป็ นกรอบร่ ว มกับ นโยบายที่ แถลงต่ อ รัฐ สภา จัด ทาแผนการบริห ารราชการแผ่ น ดิน ที่ม ีการประมาณการงบประมาณและทรัพ ยากรต่ า งๆ ระยะเวลาดาเนินการ และการติดตามประเมินผล หน่ วยงานกลางนาแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ บูรณาการ กับยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป็ นกรอบสาหรับกระทรวง/กรมพิจารณาใช้ประกอบการจัดทาคา ของบประมาณสนับสนุ น แผนปฏิบตั ริ าชการ ๔ ปี และแผนปฏิบตั ริ าชการประจาปี ภายใต้ภารกิจหลักที่ รับผิดชอบ

๒) สศช. จัดทาแนวทางการพัฒนาภาค ทีเ่ ชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ และเป็ นเครื่องมือขับเคลื่อนสู่การปฏิบตั ิในระดับพื้นที่ ให้จงั หวัดและกลุ่มจังหวัดใช้เป็ นกรอบการจัดทา แผนพัฒนาและแผนปฏิบ ัติราชการประจ าปี ส าหรับ การสนับ สนุ น งบประมาณ และภาคีก ารพัฒนาใช้ ประกอบการจัดทาแผนให้สอดคล้องกัน


๓) กระทรวง/กรมที่ มีหน่ วยงานในภูมิภาคดาเนิ นการบูรณาการแผนงาน/ โ ค ร ง ก า ร และงบประมาณร่ วมกับแผนพัฒ นาจัง หวัด /กลุ่มจัง หวัด กระทรวง/กรม สนับสนุ นการขับเคลื่อ น แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ลงสู่พ้นื ที่ โดยยึดหลักการและแนวทางการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัด แบบบูรณาการภายใต้พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. ๒๕๕๑ ที่กาหนดว่าเมื่อแผนพัฒนาจังหวัดได้รบั ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรีและประกาศใช้แล้ว การ จัดทาแผนของหน่วยงานของรัฐทีเ่ กีย่ วข้องต้องสอดคล้องกับแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด ๔) จัง หวั ด /กลุ่ ม จั ง หวั ด จั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ และแผนพั ฒ นาฯรวมทั ้ง แผนปฏิ บตั ิ ราชการประจาปี ของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยจัดทาแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ และแนวทางพัฒนาภาค ควบคู่กบั การประมวล ปญั หาและความต้องการของประชาชนทัง้ ในระดับชุมชน ท้องถิน่ และอาเภอ เพื่อวิเคราะห์กาหนดเป็ น ประเด็นการพัฒนาในแผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัดดาเนินการพัฒนาที่ตรงกับความต้องการของ ป ร ะ ช า ช น

๕) องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นเสนอแผนงาน/โครงการที่ ตอบสนองความ ต้ องการของชุมชนเข้าสู่ระดับจังหวัด เทศบาลนครหรือเทศบาลเมืองที่มศี กั ยภาพสูงนาแนวคิด “การ จัดระบบเมือง” ทีม่ ุ่งการยกระดับคุณภาพชีวติ ของประชากรเมือง การอานวยความสะดวกต่อการพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมของเมืองและพื้นที่โดยรอบ รวมทัง้ ความยังยื ่ นของสิง่ แวดล้อมที่สร้างให้เกิดความ สมดุลระหว่างมนุ ษย์กบั ทรัพยากรธรรมชาติ องค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) สารวจสภาพปญั หาและ ความต้อ งการของประชาชน/ชุมชนในพื้นที่ นามาวิเ คราะห์จดั ท าเป็ นประเด็นการพัฒ นาต่ างๆ แล้ว ดาเนินการตามภารกิจที่ได้รบั มอบหมายภายใต้กฎหมายของท้องถิน่ ขณะที่องค์การบริหารส่วนจังหวัด


(อบจ.) ทาหน้าทีป่ ระสานการจัดทาแผนพัฒนาท้องถิน่ ภายในจังหวัด และผลักดันแผนงาน/โครงการทีเ่ กิน ขีดความสามารถของท้องถิน่ และมีความสาคัญต้องดาเนินการ ให้อยูใ่ นแผนพัฒนาจังหวัด ๔.๒.๔ จัด ท ายุ ท ธศาสตร์ ก ารจัด สรรงบประมาณแบบมี ส่ ว นร่ ว ม การจัด สรร งบประมาณรายจ่า ยประจ าปี ส ามารถใช้เ ป็ น เครื่อ งมือ ในการก าหนดล าดับ ความส าคัญ ของภารกิจ ห น่ ว ย ง า น ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แนวทางการพัฒนาภายใต้แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ เพื่อให้การดาเนินงานสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์และ เป้าหมายทีก่ าหนดไว้ในแผนฯ อย่างมีประสิทธิผลบนพืน้ ฐานการมีส่วนร่วมของประชาชน โดย ๑) สานักงบประมาณและ สศช. หารือร่วมกันในการบูรณาการสาระสาคัญ ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ และการจัดสรรงบประมาณที่ สอดคล้องกัน โดยเฉพาะประเด็นการ พัฒนาที่มคี วามสาคัญลาดับสูง ไว้ในการจัดทาแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การจัดสรร งบประมาณระยะปานกลาง ๕ ปี แ ละประจาปี รวมทัง้ แนวทางการจัดทาแผนงาน/โครงการ และจัดทา รายงานติดตามประเมินผลการพัฒนาประเทศทัง้ ในระดับภาพรวม ระดับพื้นที่ และแผนงานโครงการ สาคัญเป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาอนุ มตั ิงบประมาณทัง้ ในขัน้ ตอนการเสนอคณะรัฐมนตรีและการ อภิปรายของคณะกรรมาธิก ารวิส ามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจาปี ก่อ น นาเสนอรัฐสภาอนุมตั ติ ่อไป ๒) ส านั ก งบประมาณ สศช. และหน่ วยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งร่ ว มกัน ก าหนด แนวทางพิ จารณาจัดสรรงบประมาณสนับสนุนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และท้ องถิ่ นภายใต้ แนวทางการพัฒนาภาคที่เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ โดยสร้างกระบวนการให้ทุกกระทรวง จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ เข้าใจความเชื่อมโยงระหว่างแผนพัฒนาฯ กับระบบงบประมาณ ของประเทศ ทัง้ การจัดสรรงบประมาณแบบรายกระทรวง ตามวาระระดับ ชาติ และมิติพ้นื ที่ รวมทัง้ กาหนดให้มผี แู้ ทนจากภาคีการพัฒนาทัง้ ภาคเอกชน และประชาชนในสัดส่วนทีเ่ หมาะสมเข้าร่วมในกลไก และกระบวนการงบประมาณตัง้ แต่การบริหารจัดการและการติดตามประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณ ให้ สอดคล้องกับกิจกรรมการพัฒนาทีต่ อบสนองความต้องการของประชาชนในพืน้ ทีอ่ ย่างจริงจัง ๔.๒.๕ ผลักดันให้ ภาคเอกชนนาประเด็นการพัฒนาสาคัญในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ พิ จารณาประกอบการจัดทาแผนการลงทุนทางธุรกิ จ ทีส่ ร้างการมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ อย่างเป็นหุน้ ส่วนการพัฒนา และส่งเสริมให้คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชน (กรอ.) เป็ นกลไกหลักใน การเชื่อมโยงการพัฒนาระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทัง้ ให้ กรอ. ส่วนกลางกระจายอานาจการตัดสินใจ ให้ กรอ.จังหวัด/กลุ่มจังหวัดมากขึน้ ๔.๓ การสร้างสภาพแวดล้อมให้ เอื้อต่ อการขับเคลื่อนแผนของภาคีการพัฒนาต่ างๆ โดย กาหนดให้มกี ารผลักดันปจั จัยหลักให้สามารถปรับเปลีย่ นเพื่อเป็นเครือ่ งมือทีส่ าคัญ ดังนี้ ๔.๓.๑ นาการศึกษาวิ จยั มาเป็ นเครื่องมือสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาในทุก มิ ติ บูรณาการการทางานของหน่ วยงานระดับนโยบายและใช้ทรัพยากรในการวิจยั ให้ รองรับการพัฒนาทัง้ ส่วนกลางและพืน้ ที่ รวมถึงนาการวิจยั เป็ นเครื่องมือพัฒนา ส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือระหว่างหน่ วยงาน ส่งเสริมการวิจยั โดยเฉพาะอย่างยิง่ การร่วมมือกันอย่างเป็ นเครือข่ายระหว่างสานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ (วช.) สานักงานกองทุนสนับสนุ นการวิจยั (สกว.) สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


แห่งชาติ (สวทช.) สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมแห่งชาติ (สว ทน.) สถาบันวิจยั ระบบสาธารณสุข (สวรส.) และสานักงานพัฒนาการวิจยั การเกษตร (สวก.) รวมถึง สถาบันการศึกษาและหน่ วยงานที่มภี ารกิจชัดเจนในพื้นที่ อาทิ อุทยานวิทยาศาสตร์ระดับภูมภิ าค เป็ น แกนหลักในการเชื่อมโยงเครือข่ายการวิจยั กับจังหวัด/กลุ่มจังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ชุมชน เพื่อ นากระบวนการวิจยั และพัฒนามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม โดยเฉพาะการพัฒนาทีม่ คี วามสาคัญสูงของแต่ ละพืน้ ที่ ๔.๓.๒ ปรับปรุงกฎ ระเบียบ และกฎหมายต่ างๆ ให้ เอื้อต่ อการขับเคลื่อนการพัฒนา ในระดับต่างๆ โดยปรับปรุงกฎหมายให้เหมาะสมและสอดคล้องกับสถานการณ์ ลดความซ้าซ้อนและเพิม่ ประสิทธิภาพกลไกและเครื่องมือที่มอี ยู่ให้มากขึ้น เป็ นการลดอุปสรรคการพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ อาทิ เร่งแก้ไขเพิม่ เติมประกาศใช้ร่างพระราชบัญญัติการเงินการคลังของรัฐ พ.ศ. ... เพื่อสนับสนุ นการ ดาเนินงานด้านการคลังของภาครัฐเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใส เร่งจัดทานโยบายและแผน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๔) ให้เป็ นกรอบในการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมมีประสิทธิภาพ เร่งจัดทาแผนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่ว นท้อ งถิ่น (ฉบับที่ ๓) และแผนปฏิบตั ิการกาหนดขัน้ ตอนการกระจายอานาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ (ฉบับที่ ๓) ตามพระราชบัญญัตกิ าหนดแผนและขัน้ ตอนการกระจายอานาจ พ.ศ. ๒๕๔๒ รวมถึง เร่ ง ออกพระราชบัญ ญัติ ระเบียบข้าราชการส่ วนท้ อ งถิ่น พ.ศ...... เพื่อใช้ แทน พระราชบัญญัตริ ะเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิน่ พ.ศ.๒๕๔๒ ๔.๓.๓ น าเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาใช้ เ ป็ นเครื่ อ งมื อ ในการสื่ อ สารและสร้ า ง ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ทาให้ ข้อมูลข่าวสารต่ างๆ เลื่ อนไหลระหว่างภาคี การพัฒนา สามารถสร้างความเข้าใจที่ตรงกันได้ อย่างถูกต้อง พร้อมทัง้ ปรับปรุงข้อมูลให้ทนั สมัย นาไปสู่การจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาของแต่ละพื้นที่ หรือจังหวัดทีส่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชน ๔.๓.๔ จัดทาฐานข้อมูลการพัฒนาที่สาธารณชนสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ ใน การมีส่วนร่วมพัฒนาด้ านต่ างๆ โดยพัฒนาระบบฐานข้อมูลเศรษฐกิจ สังคม ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่ง แวดล้อ ม พร้อ มทัง้ ปรับ ปรุง ข้อ มูล ให้ท ันสมัย เป็ น ข้อ มูล ที่แ สดงถึง ลัก ษณะเฉพาะของแต่ ล ะพื้น ที่ สามารถนามาวิเคราะห์เชื่อมโยงให้สอดคล้องกับแนวทางในยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ นาไปสู่การจัดทา แ ผ น พั ฒ น า ข อ ง แ ต่ ล ะ พื้ น ที่ ทีส่ อดคล้องกับความต้องการของประชาชน ๔.๓.๕ สร้ า งช่ อ งทางให้ ป ระชาสัง คมมี โ อกาสแสดงความคิ ด เห็ น และเข้ า ร่ ว ม กิ จกรรมการพัฒนาอย่างกว้างขวางทัง้ ระดับนโยบายและพื้นที่ โดยเปิดพืน้ ทีส่ าธารณะให้ทุกภาคีใช้ ประโยชน์ ในการจัดเวทีระดมความคิดเห็น ในรูปแบบต่างๆ อาทิ การจัดเวทีประชาคม การสานเสวนา รวมถึงใช้ช่องทางเครือข่ายออนไลน์ สาหรับ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ร่วมดาเนินกิจกรรมต่างๆ เพื่อพัฒนา ประเทศ ๔.๔ การเพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพกลไกรับ ผิ ด ชอบการขับ เคลื่ อ นแผนฯ ที่ ช ัด เจน สามารถ ขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับ ที่ ๑๑ ในระดับประเทศและระดับพื้นที่ ไ ด้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ สศช. ภายใต้การกากับของคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในการทาหน้าที่สร้างความ


เข้าใจ และประสานความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาต่างๆ และคณะกรรมการขับเคลื่อนแผนระดับ ต่างๆ ทัง้ ในส่วนกลางและพืน้ ที่ ให้สามารถผลักดันแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง โดย ๔.๔.๑ เชื่ อมโยงคณะกรรมการระดับชาติ ที่มีอยู่ให้ นายุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ มาเป็ นกรอบการดาเนิ นงานอย่างเป็ นรูปธรรม โดยประสานให้หน่ วยงานทีร่ บั ผิดชอบการ พัฒนารายสาขาได้ทางานร่วมกันในลักษณะ “แนวราบ” ผ่านคณะกรรมการระดับชาติชุดต่างๆ ซึง่ มีหน้าที่ ขั บ เคลื่ อ นการพั ฒ นาที่ ม ี ล าดั บ คว ามส าคั ญ สู ง แล ะ เกี่ ย ว ข้ อ งกั บ งาน หล ากหล ายมิ ติ อ าทิ คณะกรรมการนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์แห่งชาติ คณะกรรมการร่วมภาครัฐและเอกชนเพื่อแก้ไขปญั หา เศรษฐกิจ คณะกรรมการทรัพยากรน้ าแห่งชาติ และคณะกรรมการพัฒนาระบบการบริหารจัดการขนส่ง สินค้าและบริการของประเทศ (โลจิสติกส์) คณะกรรมการระดับชาติเหล่านี้จะต้องนาสาระ เป้าหมาย และ ตัวชี้วดั ของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ มาเป็ นกรอบในการดาเนินการ รวมทัง้ คณะกรรมการระดับชาติชุด ต่างๆ ควรรับผิดชอบเป้าหมายและตัวชีว้ ดั ในภาพรวมของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ร่วมกัน ๔.๔.๒ ขับเคลื่อนประเด็นการพัฒนาระดับประเทศและพื้นที่ โดยให้ จงั หวัดเป็ นจุด ประสาน จากการที่จงั หวัดมีหน้าที่ตามกฎหมายในการทาแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด เชื่อมโยง กระบวนการและสาระของแผนทัง้ ในลักษณะจากบนลงล่าง ได้แก่ แผนพัฒนาประเทศ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน แผนปฏิบตั ริ าชการของกระทรวง และจากล่างขึน้ บน ได้แก่ แผนชุมชน แผนท้องถิน่ และ แผนภาคเอกชน โดยแปลงวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชีว้ ดั ตลอดจนประเด็นการพัฒนาสาคัญสู่การปฏิบตั ิ ในระดับพื้นที่ไว้ในแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และมีกระบวนการทางานที่สามารถบูรณาการภารกิจ ของหน่ วยงานต่างๆ และผูเ้ กี่ยวข้องทุกภาคส่วนในพืน้ ทีใ่ ห้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน สามารถรองรับการ เปลี่ยนแปลงหรือ ผลกระทบของแต่ ล ะพื้นที่ได้อ ย่างมีประสิทธิภาพ อาทิ การรับมือ ภัยพิบตั ิ และการ ป้องกันอาชญากรรม ๔.๔.๓ ประสานและผลักดันให้ กลไกนอกภาครัฐมีส่วนร่วมขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ มากขึ้น เนื่องจากปจั จุบนั การขับเคลื่อนการพัฒนาจะอาศัยการทางานจากภาครัฐเพียงฝ่าย เดียวไม่เพียงพอ การแปลงแผนพัฒนาประเทศสู่การปฏิบตั ิจงึ จาเป็ นต้องสร้างการทางานร่วมกันระหว่าง ภาคส่วนต่างๆในรูปของเครือข่ายการพัฒนา ทัง้ ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา สมาคมวิชาชีพ รวมถึง องค์กรอิสระต่างๆ อาทิ สภาเกษตรกร สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย โดยส่งเสริมให้ภาคส่วนทีเ่ ข้มแข็งเป็นแกนหลักในการขับเคลื่อน และกาหนดแนวทางการทางานร่วมกัน ๔.๕ การเสริ มสร้างบทบาทของทุกภาคส่วนให้สามารถขับเคลื่อนแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ได้ อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ มุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ภาคีต่างๆ สามารถผลักดันและดาเนินการตาม แนวทางการพัฒนาของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ได้อย่างเหมาะสม โดย ๔.๕.๑ พัฒนาศักยภาพประชาชนให้มีบทบาทสาคัญในกระบวนการพัฒนา สามารถ รักษาและใช้ สิทธิ หน้ าที่ ความเป็ นพลเมืองอย่างถูกต้ องและเหมาะสม เป็ นพลเมืองดีของสังคม มี คุณธรรมและจริยธรรมในการดาเนินชีวติ ตระหนักถึงบทบาทหน้าทีท่ จ่ี ะต้องปฏิบตั ิ ด้วยความรับผิดชอบ อย่างเต็มที่ตามบทบาททางสังคมที่ตนดารงอยู่ ให้สอดคล้องกับวัฒนธรรมประเพณี และรัฐธรรมนู ญที่ กาหนดไว้ เคารพกฎหมาย เคารพสิทธิเสรีภาพของผูอ้ ่นื มีจติ สาธารณะและกระตือรือร้นทีจ่ ะเข้ามามีส่วน ร่วมในการแก้ปญั หาของชุมชนและสังคม โดยผลักดันให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ทงั ้ ในและนอกระบบ


การศึกษาที่สร้างประชาชนไทยให้มคี วามเป็ นพลเมืองที่เข้มแข็ง เป็ นกาลังสาคัญที่จะสร้างชาติไทยให้ เจริญก้าวหน้าและสังคมสงบสันติ ๔.๕.๒ เสริ มสร้ างความเข้ มแข็งของชุมชนให้ พ ร้อ มรับความเปลี่ ย นแปลง มีส่ วน ร่วมพัฒนาชุมชนกับภาคีการพัฒนาต่ างๆ โดยพัฒนาความรูแ้ ละการจัดการความเสีย่ งให้ชุมชน เสริม ด้ว ยความรู้จากภายนอกผ่ านเครือ ข่ายการวิจยั ในพื้นที่ และส่ งเสริมให้เ กิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ใ ห้ กว้างขวางในทุกระดับจากชุมชน ตาบล สู่อาเภอและจังหวัด เกิดความรู้ ท่สี ามารถนามาใช้ในการพัฒนา และบริหารจัดการความเสีย่ งต่างๆ ส่งเสริมการรวมกลุ่มร่วมคิดร่วมทาในชุมชนอย่างกว้างขวาง สามารถ ทาแผนพัฒนาทีส่ อดคล้องกับวัฒนธรรมอันหลากหลายของชุมชนท้องถิน่ ขับเคลื่อนการพัฒนาด้วยตนเอง และส่ ง เสริม ให้เ กิด การท างานร่ว มกัน ระหว่ า งภาคประชาชน องค์ก รปกครองส่ ว นท้อ งถิ่น และ สถาบันการศึกษาในท้องถิน่ ๔.๕.๓ เสริ มสร้างความเข้มแข็งให้ องค์กรปกครองส่ วนท้ องถิ่ นทุกรูปแบบ สามารถ ดาเนิ นงานตามภารกิจอย่างมีป ระสิทธิภาพ โดยพัฒ นาศักยภาพขององค์กรปกครองส่ ว นท้อ งถิ่นให้ แข็ง แกร่ ง มีก ารบริห ารจัด การที่ค ล่ อ งตัว ยืด หยุ่ น ลดขัน้ ตอน และก าหนดกฎระเบีย บที่เ อื้อ ให้ก าร ดาเนินงานเป็ นไปได้รวดเร็วและราบรื่น สามารถพึง่ ตนเองได้เต็มที่ ขณะเดียวกัน ภาคราชการส่วนกลาง ทาหน้าทีก่ ากับดูแลให้ทอ้ งถิน่ บริหารจัดการตนเองได้เต็มศักยภาพ สามารถคิดและตัดสินใจได้อย่างเต็มที่ ใ น ก า ร พั ฒ น า ท้ อ ง ถิ่ น ถ่ายโอนภารกิจและบุคลากรจากส่วนกลางและภูมภิ าคไปสู่ท้องถิน่ ให้บรรลุเป้าหมายที่กาหนดและสร้าง ความชัดเจนในบทบาทภารกิจที่ท้องถิ่นต้อ งรับผิดชอบ เพิ่มขีดความสามารถให้อ งค์กรปกครองส่ ว น ท้องถิน่ สามารถปฏิบตั หิ น้าทีต่ อบสนองความต้องการของประชาชนในพื้นที่ ด้านการบริหารจัดการ ด้าน การเงินการคลังท้องถิน่ การแก้ไขปญั หาทุจริตคอร์รปั ชันและการสร้ ่ างธรรมาภิบาลในระดับท้องถิน่ ๔.๕.๔ ผลัก ดั น ให้ ส ถาบัน การศึ ก ษาในพื้ น ที่ เ ข้ า ร่ ว มพัฒ นาชุ ม ชนให้ ม ากขึ้ น โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยในระดับ ภาค/จังหวัด เน้นบทบาทการเป็ นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น โดยนาองค์ความรูจ้ ากการศึกษาวิจยั มาประยุกต์ใช้ และเป็ นแกนประสานภาคส่วนอื่นๆ สนับสนุ นให้เกิด การพัฒนาชุมชนอย่างครบวงจร และเน้นการใช้แนวคิดคลัสเตอร์เป็นเครือ่ งมือเชิงกระบวนการ ๔.๕.๕ ส่งเสริ มให้ภาคเอกชนมีบทบาทนาในการขับเคลื่อนเศรษฐกิ จและเสริ มสร้าง สังคมที่ดี ยึดหลักบรรษัทภิบาล เชื่อมโยงเป้าหมายทางธุรกิจกับการพัฒนาประเทศ ทางานเชิงรุก และ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ สิง่ ใหม่ๆ ควบคู่กบั ความรับผิดชอบต่อสังคม โดยปรับแนวคิดภาคเอกชนให้สามารถทางานร่วมกับชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน และสถาบันการศึกษาได้อย่างเป็ นพันธมิตร และสร้างเครือข่ายความรับผิดชอบทาง สังคมของกลุ่มธุรกิจต่างๆ นาไปสู่การทากิจกรรมเพื่อสังคมร่วมกัน ๔.๕.๖ ส่งเสริ มให้ สื่อมวลชนพัฒนาบทบาทการเป็ นสื่อกลางเผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร เชิ งสร้างสรรค์ เป็ นสื่อสาธารณะที่มุ่งประโยชน์ของส่วนรวมเป็ นหลัก มีความเป็ นกลาง นาเสนอข้อมูล ข่าวสารทีเ่ ป็นข้อเท็จจริงและสะท้อนความต้องการของประชาชน ๔.๕.๗ ส่งเสริ มการมีส่วนร่วมองค์กรพัฒนาเอกชนในการทางานร่วมกับหน่ วยงาน ส่ วนภูมิภ าค/ท้ องถิ่ น และภาคประชาสังคมอย่ างเข้ มแข็ง โดยภาครัฐสนับสนุ นหรือ เปิ ดโอกาสให้ องค์กรพัฒนาเอกชนได้เข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาต่างๆ มากขึน้ เป็ นการอาศัยข้อได้เปรียบขององค์กร


พัฒนาเอกชนในด้านความยืดหยุ่นของกฎระเบียบ ความคล่ องตัวของการทางาน และความใกล้ชดิ กับ ประชาชนในพืน้ ที่ ขับเคลื่อนการพัฒนาให้บรรลุเป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๕.๘ ปรับ บทบาทภาครัฐ ทั ง้ ทั ศ นคติ และวิ ธี ก ารด าเนิ นงาน โดยรัฐ บาลและ หน่วยงานกลางทาหน้าทีด่ แู ลในระดับนโยบายและยุทธศาสตร์ภาพรวมของประเทศ กระทรวงมีบทบาทใน การประสานแผนงาน แผนเงิน และแผนคน รวมทัง้ อานวยความสะดวกให้ส่วนราชการส่วนภูมภิ าค และ ท้องถิน่ สามารถผลักดันแผนสู่การปฏิบตั เิ ป็นรูปธรรมและมีประสิทธิภาพ หน่ วยงานภาครัฐในส่วนภูมภิ าค ต้องมีความเข้าใจในแผนพัฒนาฯ เป็ นอย่างดีและสามารถบริหารจัดการให้การดาเนินงานตามแผนพัฒนา ฯ ค ว บ คู่ ไ ป กั บ ภ า ร กิ จ ที่ไ ด้รบั มอบหมายจากฝ่ ายการเมือ งหรือ หน่ ว ยงานส่ ว นกลาง ผู้ว่ าราชการจังหวัดมีบทบาทประสาน นโยบาย/ยุทธศาสตร์ สนับสนุ นความรู้ ประสานความร่วมมือระหว่างภาคีการพัฒนาต่างๆ ในพื้นที่ เกิด เป็นเครือข่ายการพัฒนาร่วมกัน สามารถเชื่อมโยงการดาเนินงานของทุกภาคีให้เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน ในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์จงั หวัด/กลุ่มจังหวัดให้บรรลุผล และองค์กรปกครองส่วนท้องถิน่ ทาหน้าทีด่ ูแล การปฏิบตั กิ ารในพืน้ ทีอ่ ย่างต่อเนื่อง ๔.๕.๙ เสริ มสร้างความร่วมมือกับประชาคม และองค์การระหว่างประเทศ ในการจัด เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรูป้ ระสบการณ์ ระหว่างประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในกรอบความร่วมมือกับ ประเทศ เพื่อ นบ้านและประเทศในกลุ่ มอนุ ภูม ิภาค น าไปสู่การสร้างความร่ว มมือ ในประเด็น การพัฒนาสาคัญ โดยเฉพาะประเด็นที่อยู่ภายใต้ข้อตกลงต่างๆ ให้มคี วามเชื่อมโยงและเกื้อหนุ นการพัฒนาระหว่างกัน รวมทัง้ ส่งเสริมความร่วมมือด้านวิชาการและการสร้างนวัตกรรมสนับสนุ นการพัฒนาทัง้ ภายในประเทศ และระหว่างประเทศ


๔.๖ การติ ดตามประเมิ นผลแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ๔.๖.๑ ให้ ค วามส าคัญ กับ การติ ด ตามความก้ า วหน้ า การประเมิ น ผลส าเร็จ และ ผลกระทบของการดาเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องตามประเด็นการพัฒนายุทธศาสตร์และผลการพัฒนา ในภาพรวม โดยใช้การติดตามประเมินผลเป็ นเครื่องมือในการบริหารแผนพัฒนาฯ ตัง้ แต่การติดตาม ความก้าวหน้ าของกระบวนการผลักดันแผนสู่การปฏิบตั ิต่ อเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ พัฒนา ตัว ชี้ว ดั ที่ส ะท้อ นผลการพัฒนาอย่างชัดเจน ติดตามความก้าวหน้ าการดาเนินงานภายใต้ประเด็นการ พัฒนาที่มลี าดับความส าคัญ สูง พร้อ มทัง้ ประเมินผลผลิต ผลลัพธ์ และผลกระทบที่เกิดขึ้น เพื่อ จัดทา รายงานเสนอคณะรัฐมนตรีทุกปี ๔.๖.๒ กลไกการติ ดตามประเมิ นผลแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ๑) การติ ดตามประเมิ นผลการบริ หารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การ ปฏิ บตั ิ ในภาพรวม สศช. ภายใต้การกากับของคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ทา หน้าทีก่ าหนดแนวทางการติดตามความก้าวหน้าการบริหารจัดการแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ สู่การปฏิบตั ิ พัฒนาตัวชีว้ ดั ความสาเร็จของการแปลงแผนฯ ประสานการติดตามประเมินผลกับคณะกรรมการระดับชาติ ชุดต่างๆ ดาเนินการติดตามประเมินผลกระทบการพัฒนาในภาพรวม และรายงานต่อคณะรัฐมนตรีทุกปี ๒) การติ ดตามประเมิ นผลการพัฒนาระดับพื้นที่ ดาเนินการโดยคณะกรรมการ นโยบายบริห ารงานจังหวัดและกลุ่ มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) คณะกรรมการกากับการปฏิบ ัติ ราชการในภูมภิ าค (กกภ.) และปรับระบบการตรวจราชการ ให้เป็ นเครื่องมือในการกากับและติดตาม ประเมินผลการแปลงแผนสู่การปฏิบตั อิ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยจัดตัง้ กลไกกลางที่ประกอบด้วยผู้ตรวจ ราชการของกระทรวงต่างๆ มีอานาจในการตรวจสอบ ตัง้ แต่ ขนั ้ ตอนและกระบวนการในการจัดทาแผน การมีส่วนร่วมของภาคีในขัน้ ตอนการปฏิบตั ิ และประสิทธิภาพของการใช้งบประมาณ รวมทัง้ ให้มอี านาจ ในการเสนอแนะให้มกี ารทบทวนการจัดสรรงบประมาณในปีต่อไป ๓) เสริ ม สร้ า งกลไกการตรวจสอบของภาคประชาชนให้ เ ข้ ม แข็ ง โดย ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ภาคประชาชนรวมกลุ่มติดตามความก้าวหน้ า ตรวจสอบความโปร่งใสและความสาเร็จของ โครงการ พัฒ นาต่ า งๆ ที่เ กี่ย วข้อ งกับ ชุ ม ชนของตน รวมทัง้ พัฒ นาศัก ยภาพให้ม ีท ัก ษะในการใช้เ ทคโนโลยี สารสนเทศ ในการตรวจสอบโครงการต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพ และจัดทาข้อมูลทีน่ ามาใช้ประกอบการ ตรวจสอบได้อย่างถูกต้องชัดเจน ๔.๖.๓ พัฒ นาระบบฐานข้ อมูล ให้ เชื่ อ มโยงเป็ นเครื อข่ ายในทุ กระดับ ส าหรับ การ ติ ดตามประเมิ นผลที่มีประสิ ทธิ ภาพ ๑) พัฒ นาระบบฐานข้ อ มูลระดับ ภาพรวม โดยพัฒ นาระบบโครงข่า ยข้อ มูล ข่าวสารของหน่ วยงานระดับนโยบาย ในการติดตามผลการดาเนินงานตามประเด็นการพัฒนาสาคัญ การ เปลี่ยนแปลงของสถานการณ์และเงื่อนไขต่าง ๆ ที่มผี ลกระทบต่อการพัฒนาประเทศ โดยประยุกต์ใ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในการเพิม่ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของฐานข้อมูลทีม่ อี ยูเ่ ป็นจานวนมาก ๒) จัดทาระบบฐานข้อมูลระดับพื้นที่ โดย


๒.๑) ส่ ง เสริมการจัด ทาระบบข้อ มูล ข่า วสารที่บ่ง ชี้ศ ัก ยภาพบุ ค คล องค์ก ร ชุมชน ชุมชน และประชาสังคมอย่างเป็นระบบภายใต้กระบวนการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนทีเ่ กี่ยวข้อง ๒.๒) ประสานความร่วมมือจากหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และสถาบันการศึกษา พื้นที่ ให้การสนับสนุ นด้านวิชาการแก่ท้องถิน่ และชุมชนในการจัดทาฐานข้อมูลเพื่อการวางแผน และใช้ ประโยชน์ในการติดตามประเมินผลความก้าวหน้าการพัฒนา การบริหารจัดการฐานข้อมูล ให้ยดึ การมีส่วน ร่วมของภาคประชาสังคมในท้องถิน่ และชุมชนเป็ นสาคัญ ๓) สร้ า งการเชื่ อ มโยงโครงข่ า ยข้ อ มู ล ระหว่ า งหน่ ว ยงานส่ ว นกลางและ ท้องถิ่ นให้เป็นระบบทีเ่ ข้าใจได้งา่ ยและใช้ประโยชน์ได้สะดวก เพื่อให้ทุกฝ่ายมีขอ้ มูลทีถ่ ูกต้องแม่นยา เป็ น ประโยชน์ต่อการวางแผนและติดตามประเมินผลในระดับต่างๆ ให้มคี วามสัมพันธ์สอดคล้องไปในทิศทาง เดียวกันมากขึน้


ภาคผนวก (1) กรอบแนวทางการลงทุนภาครัฐที่สาคัญเบือ้ งต้น ภายใต้(ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙) กรอบแนวทางการลงทุ นของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ในเบื้องต้นรวบรวมจากแผนงานโครงการที่คณะรัฐมนตรีให้ความเห็นชอบแล้วทัง้ ในลักษณะที่เป็ นแผนงาน โครงการลงทุนขนาดใหญ่ และโครงการภายใต้แผนแม่บทหรือแผนปฏิบตั ิการของหน่ วยงานในระยะยาวที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ต่างๆ และอีกส่วนหนึ่งเป็ นโครงการริเริม่ ใหม่ๆ ภายใต้กรอบแนวคิดทีจ่ ะช่วย พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในระยะ ๕ ปี ข้างหน้ า เพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายของ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ซึ่งประมาณการในเบื้องต้นของแผนลงทุนมีมูลค่ารวมทัง้ สิ้น ๓,๗๖๔,๕๐๘.๗๓ ล้าน บาท กรอบแนวทางการลงทุนดังกล่าวเป็ นการลงทุนเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ สู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ นสูงสุดในวงเงิน ๒,๗๓๗,๒๘๖ ล้านบาท หรือคิดเป็ นร้อยละ ๗๒.๗๑ ของ วงเงินลงทุนรวม รองลงมาเป็ นยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และยุทธศาสตร์การ พัฒนาคนสู่สงั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่างยังยื ่ น ในสัดส่วนร้อยละ ๗.๗๙ และ ๗.๕๙ ตามลาดับ โดยมี ร า ย ล ะ เ อี ย ด ใ น แต่ละยุทธศาสตร์ดงั นี้ ยุทธศาสตร์การพัฒนา วงเงิ นลงทุนภายใต้แผนฯ ฉบับที่ ๑๑ ๑. การสร้างความเป็ นธรรมในสังคม ๒. การพัฒนาคนสู่สงั คมแห่งการเรียนรู้ตลอด ชีวิตอย่างยังยื ่ น

ในช่วงแผนฯ ๑๑ (ประมาณการเบือ้ งต้น) ๓,๗๖๔,๕๐๘.๗๓ ๕๕๐.๐๐ (ร้อยละ ๐.๐๑ ) ๒๘๕,๘๐๐.๐๐ (ร้อยละ ๗.๕๙)

แหล่งเงิ นทุน

งบประมาณแผ่นดิน

งบประมาณแผ่นดิน

งบประมาณแผ่นดิน

๒.๑ ปฏิรปู การศึกษาในทศวรรษทีส่ อง (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๑) ๒.๒ พัฒนาคุณภาพระบบบริการสาธารณสุข เพื่อรองรับการเป็ นสังคมผูส้ งู อายุ ๒.๓ พัฒนาระบบฐานข้อมูลแรงงานข้ามชาติ ทัง้ ระบบ พัฒนาระบบบริหารจัดการความรูส้ ู่ ความเข้มแข็งของชุมชน (KM Mapping) วางระบบข้อมูลและเชื่อมโยงข้อมูลความ ช่วยเหลือหรือคุม้ ครองทางสังคม และ สนับสนุ นให้คนจนเข้าถึงเทคโนโลยีและ สารสนเทศ ๒.๔ พัฒนาทุนมนุษย์ในองค์กรธุรกิจและสถาน ประกอบการ ๓. ความเข้มแข็งภาคเกษตร อาหารและพลังงาน

ความมันคงของ ่

๒๕๘,๓๐๐.๐๐ (ร้อยละ ๖.๘๖ )


ยุทธศาสตร์การพัฒนา ๓.๑ ประกันภัยพืชผลและและโครงการประกันภัย ข้าวนาปี ปี การผลิต ๒๕๕๔ ๓.๒ สร้างหลักประกันรายได้เกษตรกร

ในช่วงแผนฯ ๑๑ (ประมาณการเบือ้ งต้น) ๘,๓๐๐.๐๐ ๒๕๐,๐๐๐.๐๐

๔. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิ จสู่การเติ บโตอย่าง มีคณ ุ ภาพและยังยื ่ น

๒,๗๓๗,๒๘๖.๐๐ (ร้อยละ ๗๒.๗๑)

๒.๑ ปรับโครงสร้ างการค้ าและการลงทุ นให้ สอดคล้ องกับ ความต้ องการของตลาดทัง้ ภายในและต่างประเทศ สร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั สาขาบริ การที่มีศ ักยภาพบนพื้นฐานของ นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ พัฒนา ธุ รกิ จสร้ างสรรค์ และเมื องสร้ างสรรค์ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมที่มีมูลค่ าสูงและ เป็ นมิตรต่อสิง่ แวดล้อม ๒.๒ พัฒนาและปรับปรุงระบบการแข่งขันให้ เอื้อต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิ จ ๑) โครงสร้างพืน้ ฐาน ๒) ระบบขนส่งมวลชนสาธารณะทางราง ๓) ปรับปรุงการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ๔) เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร ๕) ให้บริการน้าอุปโภคบริโภคทัง้ ในเชิง ปริมาณ/คุณภาพทีม่ มี าตรฐานสากล ทัง้ ในเขตเมืองและพืน้ ทีช่ นบท ๖) พัฒนาทีอ่ ยู่อาศัยภาครัฐและเอกชน ให้สอดคล้องกับผังเมืองและการใช้ ประโยชน์ทด่ี นิ ๗) ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามีสว่ นร่วมใน การลงทุนพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน และการให้บริการขัน้ พืน้ ฐานของ ภาครัฐเพิม่ ขึน้ ๘) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจ ๙) พลังงาน ๑๐) วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี นวัตกรรม ๕. การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศใน

๖๐,๙๐๐.๐๐ (ร้อยละ ๑.๖๑)

ภูมิภาคเพื่อความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จและ

แหล่งเงิ นทุน

   

๒,๖๗๖,๓๘๖.๐๐ (ร้อยละ ๗๑.๑๐) ๗๒๖,๕๖๐.๐๐

๔๐๔,๐๐๐.๐๐ ๑,๔๙๐.๐๐ ๔๗,๐๐๐.๐๐ ๕๘,๖๒๐.๐๐

    

งบประมาณแผ่นดิน เงินลงทุนภาคเอกชน รายได้จากรัฐวิสาหกิจ เงินกู้

งบประมาณแผ่นดิน เงินรายได้รฐั วิสาหกิจ เงินกู้ เงินอุดหนุน เงินลงทุนภาคเอกชน ร่วมทุน กองทุนเพื่อส่งเสริมการ อนุรกั ษ์พลังงาน

๙๒,๒๔๗.๐๐ ๖๒,๒๓๐.๐๐ ๒๕๑,๐๐๐.๐๐

๘๐๑,๘๑๐.๐๐ ๒๓๑,๔๒๙.๐๐

๑๘๙,๓๐๒.๗๓

(ร้อยละ ๕.๐๓)

 

งบประมาณแผ่นดิน เงินกู้ เงินลงทุนภาคเอกชน


ยุทธศาสตร์การพัฒนา

ในช่วงแผนฯ ๑๑ (ประมาณการเบือ้ งต้น)

สังคม

แหล่งเงิ นทุน  

๖. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม โดย ๖.๑ พัฒนาทรัพยากรดินและทีด่ นิ ทรัพยากรน้า ๖.๒ แก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อม โดยเฉพาะใน บริเวณมาบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง ระยอง

๒๙๓,๒๗๐.๐๐ (ร้อยละ ๗.๗๙)

 

ร่วมทุน เงินสะสมของสานักงานพัฒนา ความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับ ประเทศเพื่อนบ้าน งบประมาณรัฐ เงินลงทุนภาคเอกชน


ภาคผนวก (2) กรอบแนวทางการลงทุนภาครัฐที่สาคัญเบือ้ งต้นภายใต้ (ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิ จและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒๕๕๙) หน่ วย: ล้านบาท โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) วงเงินลงทุนภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ๑.

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๓,๗๖๔,๕๐๘.๗๓

ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม ๑.๑ การวางระบบข้อ มูลและเชื่อมโยงข้อมูลความช่วยเหลือ หรือ คุ้มครองทางสังคม เพื่อยกระดับการคุ้มครองทางสังคมให้มปี ระสิทธิภาพ ครอบคลุมทัวถึ ่ งและลด ความซ้าซ้อน เช่น การบรรจุขอ้ มูลการได้รบั ความคุม้ ครองทางสังคมได้แก่ เบีย้ ยัง ชีพ โครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าฯ ลงใน smart card )

๕๕๐.๐๐

๑.๒ การสนับสนุ นให้คนจนเข้าถึงเทคโนโลยีและสารสนเทศ โดยการสร้างศูนย์การ เรียนรู้ ICT ชุมชน ที่ต่ อยอดจากสมาคมประชากรและชุมชนร่วมกับบริษัท ไมโครซอฟท์จานวน ๑๑,๐๐๐ ชุมชน หรือการสร้าง wireless broadband ทัวทั ่ ง้ ประเทศ

๕๐.๐๐

๕๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

สศช. ประมาณการจาก รายจ่ายการทา labor bank ประมาณ ๓๐๐ กว่าล้าน บาท มาเป็ น benchmark ในการคิด ● งบประมาณแผ่นดิน ● สศช. ที่ต่ อ ยอดจาก ● (ไ ม่ ร ว ม บ ริ ก า ร wireless กิ จ ก ร ร ม ที่ ส ม า ค ม broadband ทีใ่ ห้แก่ชุมชนฟรี) ประชากรแล ะชุ ม ชน ร่ ว ม กั บ บ ริ ษั ท ไ ม โ ค ร ซ อ ฟ ท์ อ บ ร ม บุค ลากรใน ๑๑,๐๐๐ ชุม ชน เป็ น เงิน ๖ ล้า น บ า ท แ ล ะ จั ด ห า ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ hardware มือสองให้ ๖๐

ชุมชน

๒. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สงั คมแห่งการเรียนรูต้ ลอดชีวติ อย่างยังยื ่ น ๒.๑ การพัฒ นาคุ ณ ภาพคนไทยผ่ า นการปฏิรูป การศึก ษาในทศวรรษที่ส อง (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๖๑) โดยพัฒ นากระบวนการเรีย นรู้ใ หม่ ปรับ หลัก สูต รและจัด กระบวนการเรียนการสอนและการประเมินผล เร่งรัดผลิตครูพนั ธุ์ใหม่ ครูสาขา ขาดแคลนและครูวชิ าชีพ พัฒนาคุณภาพและยกระดับสถานศึกษา สร้างโอกาส การเข้าถึงมาตรฐานการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศ รวมทัง้ การและปรับ ระบบการบริหารจัดการใหม่ เน้ นการดูแลให้โอกาสกับเด็กและเยาวชนทุกคน โดยเฉพาะเด็กนอกระบบการศึกษา การจัดสรรงบประมาณ ที่เน้นอุปสงค์หรือ ผู้เรียน รวมทัง้ ส่งเสริมระบบ ธรรมาภิบาลและความรับผิดชอบต่อสังคม และ ส่งเสริมเครือข่ายความร่วมมือ/ความเป็นหุน้ ส่วนทางการศึกษาระหว่างภาครัฐและ เอกชน

๒๘๕,๘๐๐.๐๐ ๒๗๐,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ค รม.เมื่ อ ๓ พ.ค. ๕๔


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒.๒ การพัฒนาคุณภาพระบบบริการสาธารณสุขเพื่อรองรับการเป็ นสังคมผูส้ งู อายุ ๒.๒.๑ การลดป จั จัย เสี่ย งด้า นสุ ข ภาพอย่ า งเป็ น องค์ร วม โดยการสร้า ง สภาพแวดล้อ มที่เ อื้อ ต่ อ การมีสุ ข ภาพที่ดี การสร้า งกลไกและ กระบวนการเชิงรุกในการเฝ้าระวังปญั หาสุขภาพในชุมชน การจัดการ ความรูแ้ ละพัฒนานวัตกรรมด้านสุขภาพ ๒.๒.๒ การพัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพของประเทศ โดยพัฒนาระบบข้อมูลด้าน สาธารณสุขอย่างเป็นระบบทีค่ รอบคลุมสถานบริการในทุกสังกัดและทุก ระดับ เพื่อให้การจัดเก็บข้อมูลสุขภาพด้านสุขภาพของหน่ วยงานต่างๆ เป็นรูปแบบเดียวกัน ๒.๒.๓ การพัฒนาระบบการดูแลระยะยาว ( Long-term Care) พัฒนาระบบการ ดูแลสาหรับผู้สูงอายุเพื่อรองรับปญั หาการเจ็บป่วยด้วยโรคเรือ้ รังของ ผูส้ ูงอายุท่มี แี นวโน้มเพิม่ ขึน้ จากการเป็ นสังคมผูส้ ูงอายุ ควบคู่กบั การ พัฒนาและเพิม่ การผลิตบุคลากรด้านเวชศาสตร์ผสู้ งู อายุ ๒.๒.๔ การพัฒนาแพทย์ทางเลือกและแพทย์แผนไทย การลงทุนพัฒนาต่อยอด ภูมปิ ญั ญาการแพทย์แ ผนไทย โดยจัด ทาศู นย์ต้นแบบในการบริก าร ศึกษาวิจยั และถ่ายทอดความรูก้ ารแพทย์แผนไทยและสมุ นไพรแบบ ครบวงจร เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ในการรักษาพยาบาลและเชิงพาณิชย์ ๒.๓ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลแรงงานข้ามชาติทงั ้ ระบบ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๑,๑๐๐.๐๐ ๕๐๐.๐๐

๓,๐๐๐.๐๐

๗,๐๐๐.๐๐

๖๐๐.๐๐

๒๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ

มติครม.เมือ่ ๘ มี.ค. ๕๔

สศช. (แนวทางการ ลงทุนในแผนการลงทุน ข น า ด ใ ห ญ่ ด้ า น สาธารณสุขเดิม) ● สศช. (แนวทางการ ลงทุนในแผนการลงทุน ข น า ด ใ ห ญ่ ด้ า น สาธารณสุขเดิม) ●

สศช. (แนวทางการ ลงทุนในแผนการลงทุน ข น า ด ใ ห ญ่ ด้ า น สาธารณสุขเดิม)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒.๓.๑ พัฒนาระบบฐานข้อมูลแรงงานข้ามชาติถูกกฎหมาย เพื่อรองรับการเปิด เสรีก ารเคลื่อ นย้า ยแรงงานฝี ม ือ เสรีอ าเซีย นในปี ๒๕๕๘ โดยมี เป้าหมายให้มฐี านข้อมูลแรงงานที่มที กั ษะฝี มอื ตลาดแรงงาน/สถาน ประกอบการที่ต้อ งการจ้า งแรงงานที่ม ีท ัก ษะฝี ม ือ ของกลุ่ ม ประเทศ อาเซียน ๑๐ ประเทศ ซึ่งจะเป็ นการสารวจและจัดเก็บข้อมูลแรงงาน ไทยและแรงงานข้ามชาติทม่ี ที กั ษะฝีมอื ทีม่ กี ารจ้างงาน และข้อมูลความ ต้ อ งการแรงงานที่ม ีท ัก ษะฝี ม ือ ของตลาดแรงงานในกลุ่ ม ประเทศ อาเซียน รวมทัง้ จะเชื่อมโยงข้อมูลแรงงานและสถานประกอบการของ กลุ่มประเทศอาเซียนทัง้ ๑๐ ประเทศ ๒.๓.๒ พัฒนาระบบและเชื่อมโยงฐานข้อมูลแรงงานข้ามชาติทถ่ี ูกกฎหมายและ ผิดกฎหมาย เพื่อให้การบริหารจัดการแรงงานข้ามชาติทงั ้ ระบบอย่างมี ประสิท ธิภ าพและสามารถน าเข้า แรงงานต่ างข้า มชาติได้ต ามความ ต้องการของสถานประกอบการโดย พัฒนาระบบฐานข้อมูลแรงงานข้าม ชาติทงั ้ ระบบทีม่ อี ยู่ในประเทศไทยให้สามารถเชื่อมโยงกันได้และจัดทา ฐานข้อมูล ความต้อ งการจ้างแรงงานข้ามชาติของสถานประกอบการ เพื่อประมาณการนาเข้าแรงงานข้ามชาติได้

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๕๐.๐๐

๕๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

สศช. (การหารือในคณะ อนุ ก รรมการพัฒ นาทุ น มนุษย์)

สศช.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒.๔ การพัฒนาระบบบริหารจัดการความรูส้ ู่ความเข้มแข็งของชุมชน ( KM Mapping) โดยดาเนินการให้ครอบคลุมทุกตาบลทัวประเทศ ่ (๗,๔๐๕ ตาบล) โดย สารวจ ค้นหา และจัดเก็บข้อมูลชุมชนที่แสดงถึงอัตลักษณ์ของชุมชน เช่น ภูมปิ ญั ญา ท้องถิน่ รากเหง้าของชุมชน เป็ นต้น และจัดทาฐานข้อมูลและมีระบบสารสนเทศ เชิงบูรณาการทีส่ ามารถเชื่อมโยงตัง้ แต่ระดับชุมชน ระดับภาค และระดับประเทศ ผ่านโครงสร้างพืน้ ฐานทางโทรคมนาคมและเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเป็ นระบบ และจัดเวทีสร้างความรูค้ วามเข้าใจให้กบั ประชาชนในพืน้ ทีแ่ ละผูด้ าเนินโครงการ/ กิจกรรม เพื่อเป็ นกรอบในการเก็บข้อมูล รวมทัง้ สร้างการเรียนรูแ้ ละแลกเปลีย่ น ข้อมูลแบบมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่างๆ ในพืน้ ทีร่ วมทัง้ จัดพืน้ ทีท่ แ่ี สดงให้เห็นถึง คุณค่าอันเป็ นอัตลักษณ์และรากเหง้าของชุมชน รวมทัง้ ส่งเสริมให้เกิดความรูส้ กึ รัก ผูกพัน หวงแหน และสามารถนาอัตลักษณ์ของชุมชนไปสร้างประโยชน์ได้ ๒.๕ การพัฒนาทุนมนุษย์ในองค์กรธุรกิจ/สถานประกอบการ สาหรับเตรียมพร้อมสู่การ เป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและรองรับธุรกิจสร้างสรรค์ โดยการพัฒนาและต่อ ยอดทุนมนุษย์ในองค์กรธุรกิจเอกชน/สถานประกอบการ ทัง้ การพัฒนาทักษะทาง วิชาชีพ ทักษะการปฏิบตั งิ าน ทักษะทางด้านภาษา ทักษะในการเรียนรู/้ คิดอย่าง สร้างสรรค์ ตลอดจนการพัฒนาศักยภาพในการประกอบการ อย่างเป็ นระบบและ บูรณาการ เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถของภาคธุรกิจไทยให้สามารถแข่งขันได้ใน เวทีโลก

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๔,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

๕๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

สศช. (งานศึกษาวิจยั พล วัต รการเปลี่ ย นแปลง ทางวัฒ นธรรมโลกที่ม ี ผ ล ก ร ะ ท บ ต่ อ วัฒนธรรม-สังคมไทย)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๓. ยุทธศาสตร์ความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ งงาน ๓.๑ สร้างความเข้มแข็งภาคเกษตร ความมันคงของอาหารและพลั ่ งงาน ๓.๑.๑ โครงการประกันภัยพืชผล และโครงการประกันภัยข้าวนาปี ปีการผลิต ๒๕๕๔ เพื่อให้มรี ปู แบบประกันภัยทีเ่ หมาะสมสาหรับพืช ๓ ชนิดหลัก ได้แ ก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัต ว์ และมันสาปะหลัง และเพื่อ ให้ เกษตรกรผู้ปลูกพืชทัง้ ๓ ชนิด ทุกรายและทุกพื้นที่ ที่มที างเลือกใช้ เครื่องมือประกันภัยเพื่อคุ้มครองต้นทุนการผลิตทีไ่ ด้รบั ผลกระทบจาก ภัยธรรมชาติ รวมทัง้ เพื่อเกษตรกรที่ขน้ึ ทะเบียนอย่างน้อย ๑ ล้าน ครัว เรือ นเข้า สู่ ร ะบบประกัน ภัย พืช ผล โดยมีกิจ กรรมที่ส าคัญ คือ พัฒนาการประกันภัยพืชผล เพื่อให้มรี ปู แบบประกันภัยให้เหมาะสมกับ พืชเศรษฐกิจหลักและสามารถใช้รองรับภาวะความแปรปรวนของสภาพ ภูมอิ ากาศ และชดเชยให้ผปู้ ระสบภัยโดยภาครัฐปกติ ประมาณ ๓,๗๐๐ ล้านบาทต่อ ปี รวมทัง้ สร้างระบบฐานข้อ มูล วิจยั พัฒนา เสริมสร้าง ความรูค้ วามเข้าใจ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

๒๕๘,๓๐๐.๐๐ ๒๕๘,๓๐๐.๐๐ ๘,๓๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ครม. วันที่ ๓ พ.ค. ๒๕๕๔


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๓.๑.๒ โครงการสร้างหลักประกันด้านรายได้ของเกษตรกร เพื่อให้เกษตรกร ประมาณ ๔ ล้ า นครัว เรือ น มีห ลัก ประกัน รายได้ ใ นการปลู ก ข้า ว ข้าวโพด และมันสาปะหลัง

๔. การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยังยื ่ น ๔.๑ ปรับโครงสร้างภาคการผลิตและบริการ ๔.๑.๑ การปรับโครงสร้างการค้าและการลงทุน โดย

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๒๕๐,๐๐๐.๐๐

๒,๗๓๗,๒๘๖.๐๐ ๖๐,๙๐๐.๐๐ ๑๑,๒๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

แผนฯ ๑๐ ดาเนินตามมติ ครม. วันที่ ๒๑ ก.ย. และ ๑๓ ต.ค. ๒๕๕๒ โดยได้ เ ริ่ ม ด า เ นิ น ก า ร ใ น ปี งบประมาณ ๒๕๕๓ ๕๔ และแผนฯ ๑๑ ได้ ประมาณวงเงินโครงการ ตลอด ๕ ปี


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันการส่งออก โดย เน้นการ พัฒนาตลาดเชิงรุกเพื่อสร้างตลาดใหม่ และเพิม่ มูลค่าในตลาดเดิม พัฒนาและส่งเสริมการสร้างมูลค่าเพิม่ สินค้าและบริการเพื่อการ ส่งออก ส่งเสริมการประยุกต์ใช้ทรัพย์สนิ ทางปญั ญาเพื่อสร้าง มูลค่าเพิม่ เชิงพาณิชย์ ส่งเสริมผูป้ ระกอบการไทยไปดาเนินธุรกิจ ในต่ า งประเทศ พัฒ นาระบบโลจิส ติ ก ส์ ก ารค้ า เพื่อ เพิ่ม ประสิทธิภาพการส่งออก ๒) โครงการช่วยเหลือเพื่อการรองรับและปรับตัวของภาคการผลิต และบริการที่ได้รบั ผลกระทบจากการเปิ ดเสรีทางการค้า โดย ส่งเสริมการวิจยั พัฒนาเพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการดาเนินธุรกิจ เพื่อรองรับผลกระทบการเปิดเสรีทางการค้า ส่งเสริมการพัฒนา ความรู้ ทักษะความชานาญของบุคลากรและผูป้ ระกอบการ และ การจัดหาทีป่ รึกษาเพื่อช่วยเหลือในการปรับปรุงธุรกิจ ๔.๑.๒ การปรับโครงสร้างภาคอุตสาหกรรม โดย

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๐,๔๕๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

สศช.

๗๕๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

สศช.

๑๖,๕๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมนิเวศน์ โดย ส่งเสริมการบริหาร จัดการกากของเสียและวัสดุเหลือใช้อย่างครบวงจรพัฒนากลไก ในการเฝ้ า ระวัง ก ากับ ดูแ ล และฟื้ น ฟู คุ ณ ภาพสิ่ง แวดล้อ ม สนับ สนุ น และส่ งเสริม การมีส่ ว นรวมภาคประชาชน และสร้า ง ความรู้ ความเข้าเกี่ยวกับอุตสาห กรรมที่ถูกต้อง ส่งเสริมการ บริหารจัดการด้านสิง่ แวดล้อม และความปลอดภัยของสถาน ประกอบการ ส่งเสริมอุตสาหกรรมที่ใช้วตั ถุดบิ ทางการเกษตร ภายในประเทศรวมทัง้ จัดทานิคมอุตสาหกรรมนิเวศน์นาร่อง ๒) เพิม่ ประสิทธิภาพและผลิตภาพภาคอุตสาหกรรม โดย ส่งเสริม และสนับสนุ นงานวิจยั และพัฒนาระบบมาตรฐานผลิต ภัณฑ์ใ ห้ สอดคล้องรองรับกับมาตรฐานโลก ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ทักษะความชานาญของบุคลากรและผูป้ ระกอบการ SMEs พัฒนา ประสิทธิภาพระบบโลจิสติกส์ภาคอุตสาหกรรมทัง้ ภายในองค์กร และตลอดโซ่อุปทาน ส่งเสริมการเชื่อมโยงวิสาหกิจชุมชน และ SMEs กับภาคอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ รวมทัง้ ส่งเสริมการใช้ พลังงานสะอาด อย่างมีประสิทธิภาพ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๖,๐๐๐.๐๐

๓,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

งบประมาณแผ่นดิน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ (กนอ.)

แผนปฏิบตั ิการ ๔ ปี พ.ศ. ๒ ๕๕๓-๒๕๕๖ กระทรวงอุ ต สาหกรรม (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

เงินสมทบภาคเอกชน

แผนปฏิบตั ิการ ๔ ปี พ.ศ. ๒ ๕๕๓-๒๕๕๖ กระทรวงอุ ต สาหกรรม (วงเงินประมาณการโดย สศช.)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๓) แผนพัฒนาอุต สาหกรรมสร้างสรรค์ โดยเผยแพร่ค วามรู้ด้าน แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์ให้กบั ผูป้ ระกอบการทัง้ ผูป้ ระกอบการ ขนาดใหญ่ และ SMEs สร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการผลิต สร้างสรรค์ ส่งเสริมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี นวัตกรรม อัต ลักษณ์ และภูมปิ ญั ญาไทยในการะบวนการผลิตสินค้า รวมทัง้ พัฒนาต้นแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ในแต่ละสาขาอุตสาหกรรม

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๕,๐๐๐.๐๐

๔) บริหารจัดการพืน้ ทีร่ องรับอุตสาหกรรม โดย ศึกษาศักยภาพและ ความเหมาะสมของพืน้ ที่ ส่งเสริมการลงทุนพัฒนาอุตสาหกรรมที่ เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ รวมทัง้ จ้ดทาโครงการพัฒนา พืน้ ทีน่ าร่องในเขตพืน้ ทีน่ ิคมอุตสาหกรรม

๒,๕๐๐.๐๐

๔.๑.๓ การปรับโครงสร้างภาคบริการ ๑) พัฒนาและสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ เพื่อเพิม่ ขีดความสามารถในการ แข่งขันของผู้ประกอบการไทย โดยสนับสนุ นให้หน่ วยงานวิจยั ของประเทศร่วมกับภาคเอกชน ดาเนินโครงการศึกษาวิจยั พัฒนา เทคโนโลยีแ ละสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในอุตสาหกรรมที่ไทยมี ศักยภาพ เพื่อพัฒนาคุณภาพสินค้าหรือสร้างความแตกต่างของ สินค้าได้ตามความต้องการของตลาด เช่น เทคโนโลยีการก่อสร้าง อาคารใช้พลังงานแสงอาทิตย์ การพัฒนาโมเดลเรือขนถ่ายน้ ามัน/

๒๔,๕๐๐.๐๐ ๑,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน งบประมาณแผ่นดิน ● เงินสมทบภาคเอกชน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

แผนปฏิบตั ิการ ๔ ปี พ.ศ. ๒ ๕๕๓-๒๕๕๖ กระทรวงอุ ต สาหกรรม (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

แผนปฏิบตั ิการ ๔ ปี พ.ศ. ๒ ๕๕๓-๒๕๕๖ กระทรวงอุ ต สาหกรรม (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

สศช.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

เรือสาราญ การพัฒนาอาหารเสริมจากพืชสมุนไพร เป็นต้น ๒) จัดตัง้ สถาบันพัฒนาวิชาชีพบุคลากรในธุรกิจบริการทีม่ ศี กั ยภาพ โดย ก่อ สร้างสถาบันพัฒนาวิชาชีพการให้บริการในทุกสาขา อาชีพที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจบริการ ซึ่งไทยมีศกั ยภาพและสอดรับ กับ กระแสความต้ อ งการของตลาดโลก อาทิ บริก ารสุ ข ภาพ บริการท่องเทีย่ ว บริการในธุรกิจภาพยนตร์ บริการในธุรกิจ MICE บริการในธุรกิจทีป่ รึกษาด้านวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม เป็ นต้น พร้อมทัง้ จัดโปรแกรมการฝึกอบรมให้สอดคล้องกับความต้องการ ของธุรกิจและตลาด

๑,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ (กนอ.)

สศช.

๓) โครงการก่ อสร้างศูนย์ส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพของประเทศ เพื่อให้ประเทศไทยเป็ นศูนย์กลางบริการสุขภาพของเอเชียโดย จัด หาพื้น ที่เ พื่อ ด าเนิ น การก่ อ สร้า งศู น ย์ส่ ง เสริม ธุ ร กิจ บริก าร สุขภาพของประเทศ จัดหาอุปกรณ์เครื่องมือทีท่ นั สมัยสาหรับการ ให้บริการทางการแพทย์เ ฉพาะทาง รวมทัง้ เร่งผลิต บุค ลากร ทางการแพทย์และบุค ลากรสนับสนุ นให้เพียงพอ และปรับปรุง กฎระเบียบด้านวีซ่า และ Work Permit เพื่ออนุ ญาตให้แพทย์และ บุคลากรทางการแพทย์จากต่างประเทศเข้ามาทางานในประเทศ ไทยเพิม่ มากขึน้

๕,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● เงินสมทบภาคเอกชน

สศช.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๔) โครงการก่อสร้างศูนย์บริการถ่ายทาภาพยนตร์ เพื่อให้ประเทศ ไทยเป็นศูนย์กลางบริการถ่ายทาภาพยนตร์ของเอเชีย โดย จัดหา พื้นที่พ ร้อ มลงทุนก่ อสร้างอาคารศูนย์บริการถ่ ายทาภาพยนตร์ พร้อมจัดหาอุปกรณ์ทท่ี นั สมัย ๕) โครงการเสนอตัวเป็ นเจ้าภาพจัดงานมหกรรมโลก World Expo ๒๐๒๐ เพื่อให้ประเทศไทยติดอันดับ ๑ ใน ๓ ของประเทศที่จะ ได้รบั การคัดเลือ กเป็ นเจ้าภาพจัดงานมหกรรมแห่งมนุ ษ ยชาติ ระดับโลก อย่างเช่น งานมหกรรมโลก World Expo เพื่อเผยแพร่ ภาพลัก ษณ์ ของประเทศให้เ ป็ น ที่รู้จกั ของนักท่อ งเที่ยวทัวโลก ่ โดยยื่นเสนอตัวการเป็ นเจ้าภาพอย่างเป็ นทางการกับสานักงาน มหกรรมโลก ( BIE) และดาเนินการประชาสัมพันธ์โครงการทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ ทัง้ นี้ BIE จะประกาศผลประเทศ ที่ได้รบั การคัดเลือกในปี ๒๐๑๔ ซึ่งหากประเทศไทยได้รบั การ คัด เลือ กจะมีร ะยะเวลาในการเตรีย มการก่ อ สร้า งสถานที่แ ละ สาธารณูปโภค ๖ ปี ก่อนถึงวันจัดงานในช่วงปลายปี ๒๐๒๐

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๒,๐๐๐.๐๐

๕๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

สศช.

มติ ครม.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๖) โครงการฟื้นฟูแหล่งท่องเทีย่ วทีเ่ สื่อมโทรม เพื่อให้แหล่งท่องเทีย่ ว หลัก ได้รบั การฟื้ นฟู กลับมาเป็ นที่นิยมของนักท่องเที่ยวทัวโลก ่ สร้างรายได้หลักและกระจายรายได้ให้กบั ท้องถิน่ โดย จัดระเบียบ การประกอบธุรกิจและควบคุม กากับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ เสีย่ งต่อการบุกรุกทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม และ ปรับ ปรุงภูม ิท ัศ น์ แ ละสิ่ง อ านวยความสะดวกให้ดูส วยงามและ เหมาะสม รวมทัง้ สร้างไกด์ท้องถิน่ และผู้ประกอบการท้องถิน่ ที่ รักษ์บา้ นเกิด ตลอดจนสารวจและก่อสร้างโรงบาบัดน้ าเสียและโรง กาจัดขยะให้เพียงพอกับการขยายตัวของธุรกิจและนักท่องเทีย่ ว

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๕,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

สศช.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๗) โครงการพัฒนาแหล่งท่องเทีย่ วทีม่ ศี กั ยภาพของประเทศ เพื่อให้ แหล่ ง ท่ อ งเที่ย วได้ ร ับ การพัฒ นายกระดับ คุ ณ ภาพมาตรฐาน เพิ่มขึ้น มีจานวนนัก ท่อ งเที่ยวและรายได้จากการท่อ งเที่ยว เพิ่ม ขึ้น ในแต่ ล ะกลุ่ มพื้น ที่ โดยเฉพาะสัด ส่ ว นนักท่ อ งเที่ย ว ชาวต่ างชาติ โดย ฟื้ นฟู บูรณะแหล่ งโบราณสถาน ประเพณี ท้องถิน่ และกิจกรรมของชุมชนทีเ่ ชื่อมโยงกับแหล่งโบราณสถาน และก่อสร้างพิพธิ ภัณฑ์อารยธรรมของภูมภิ าค เพื่อส่งเสริมการ ท่อ งเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในกลุ่ ม อารยธรรมล้านนา อารยธรรม อีสานใต้ และแหล่งมรดกโลก อีกทัง้ อนุ รกั ษ์วฒ ั นธรรม วิถชี วี ติ ชุมชน และส่ งเสริมการดาเนินธุรกิจของวิส าหกิจชุมชน เพื่อ ส่งเสริมการท่องเที่ยวในกลุ่ มท่องเที่ยววิถีชวี ิตลุ่ มน้ าภาคกลาง และลุ่มน้ าโขง ตลอดจนพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวทางทะเล การกีฬาทางน้า พิพธิ ภัณฑ์โลกใต้ทะเล Boutique Hotel and Resort ศูนย์ดูแลผู้สูงอายุ และศูนย์ฟ้ื นฟูบาบัดสุขภาพ เพื่อส่งเสริมการ ท่องเที่ยวทางธรรมชาติในกลุ่มท่องเที่ยวชายหาดภาคตะวันออก กลุ่ม Royal Coast และกลุ่มมหัศจรรย์สองสมุทร

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๖,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

มติ ครม.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๘) โครงการพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อสนับสนุ นการท่องเทีย่ วและ การขยายตลาดการลงทุนธุรกิจบริการ ทีม่ ศี กั ยภาพ เพื่อประเทศ ไทยมีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยวทัวไปและที ่ ่มคี วาม สนใจเฉพาะด้าน รวมทัง้ การขยายตลาดและการลงทุนในธุรกิจ บริการทีม่ ศี กั ยภาพ โดยปรับปรุงสนามบินนานาชาติสุวรรณภูม ิ ดอนเมือ ง และอู่ ต ะเภา ให้พ ร้อ มรับ การขยายตัว ของจ านวน นักท่องเทีย่ ว การค้า การลงทุน และวิกฤตการณ์ต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ อย่างฉับพลัน และพัฒนาโครงข่ายถนนให้เชื่อมโยงทัวประเทศทั ่ ง้ ถนนสายหลัก สายรอง ถนนชมวิว และสถานีขนส่ง รวมทัง้ พัฒนา เส้นทางรถไฟ สถานีรถไฟ และคุ ณภาพการให้บริก าร เพื่อ ส่ ง เสริม การท่ อ งเที่ย วทางรถไฟตลอดจนพัฒ นาท่ า เทีย บเรือ ท่องเทีย่ วและเส้นทางการเดินเรือเชื่อมโยงถึงแหล่งท่องเทีย่ วและ โครงข่ายถนนหลัก เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวทางน้ าหรือทาง ทะเล ๔.๑.๔ พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๐,๐๐๐.๐๐

๘,๗๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

สศช.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) สนับสนุ นการพัฒนาและการพัฒนาเมืองสร้างสรรค์ และธุรกิจ สร้างสรรค์ตามแนวทางเครือข่ายวิสาหกิจ ( Cluster) เพื่อให้มเี มือง สร้างสรรค์ท่มี ปี จั จัยแวดล้อมทีด่ ที เ่ี อื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรม สร้างสรรค์ท่ผี ลิตสินค้าและบริการใหม่ๆ ที่มเี อกลักษณ์ และ สะท้อนอัตลักษณ์ของพืน้ ทีห่ รือเมือง สามารถดึงดูดการลงทุนของ ธุรกิจต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้อง เข้ามาในพืน้ ทีห่ รือเมืองนัน้ ๒) การพัฒนาคนเพื่อสนับสนุ นการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ทัง้ ใน เรื่อ งการพัฒ นาระบบการศึก ษาและทัก ษะของแรงงานและ ผูป้ ระกอบการ ให้มกี ารใช้ความคิดสร้างสรรค์ ในการเพิม่ มูลค่า ของสินค้าและบริการทุกสาขามากขึน้ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อ ม และบุ ค ลากรสร้า งสรรค์ท่ีสาคัญ ในธุ ร กิจ ต่างๆ ของห่วงโซ่อุปทานของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ โดยมุ่งเน้น การพัฒนาทักษะและองค์ค วามรู้ในด้านการออกแบบ การวิจยั และพัฒ นา การสร้า งนวัต กรรม การบริห ารจัด การธุ ร กิจ เทคโนโลยี และการตลาด โดยใช้ศลิ ปวัฒนธรรมทัง้ แบบดัง้ เดิม และร่วมสมัยเป็ นพื้นฐาน ผสมผสานการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ ตลอดจนเสริมสร้างความเข้มแข็งของธุรกิจสร้างสรรค์ให้สามารถ ปรับเปลีย่ นการดาเนินธุรกิจให้สอดคล้องกับสถานการณ์แวดล้อม ทัง้ ภายในและภายนอกประเทศที่มกี ารเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเร็ว

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๒,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● เ งิ น ส นั บ ส นุ น จ า ก ภาคเอกชน

แนวคิด สศช.

๒,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● เ งิ น ส นั บ ส นุ น จ า ก ภาคเอกชน

แนวคิด สศช.

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

เพื่อให้ธุรกิจเติบโตได้อย่างต่อเนื่องและยังยื ่ น รวมทัง้ ปรับระบบ การศึกษา ให้สนับสนุนการคิดสร้างสรรค์ตงั ้ แต่วยั ประถมจนถึงวัย ทางาน

๓) พัฒ นาระบบการเงิ น เพื่ อ สนั บ สนุ นการลงทุ น และการพัฒ นา อุตสาหกรรม สร้างสรรค์ เพื่อผูป้ ระกอบการสามารถเข้าถึงแหล่ง เ งิ น ทุ น ที่ มี ต้ น ทุ น ทีเ่ หมาะสมสาหรับธุรกิจสร้างสรรค์

๑,๕๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

คณะกรรมการนโยบาย เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ แห่งชาติ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๔) พัฒนาฐานข้อมูลเชิงลึกของอุตสาหกรรมสร้างสรรค์สาขาต่างๆ เพื่ อ มีร ะบบฐานข้ อ มู ล อุ ต สาหกรรมสร้ า งสรรค์ เ ชิ ง ลึ ก ที่ ไ ด้ มาตรฐานและมีการบริหารจัดการอย่างต่อเนื่อง และการจัดการ ความรูใ้ นแหล่งเรียนรูเ้ ดิมและพัฒนาแหล่งเรียนรูใ้ หม่ เพื่อ เกิด การจัด การองค์ค วามรู้ใ นแหล่ งเรีย นรู้เ ดิม อย่างระบบและเกิด แหล่งเรียนรูใ้ หม่ในเมือง/ชุมชน ทีม่ ศี กั ยภาพ ๔.๒ พัฒนาและปรับปรุงระบบการแข่งขันให้เอือ้ ต่อการปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ ๔.๒.๑ การพัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐาน

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑,๖๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

๒,๖๗๖,๓๘๖.๐๐ ๗๒๖,๕๖๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ ● เงินกู้ ●

ที่มาโครงการ ●

คณะกรรมการนโยบาย เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ แห่งชาติ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) โครงการที่สาคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้วย ทาง ราง มี ๒ โครงการ คือ โครงการก่อสร้างทางคู่ในเส้นทางรถไฟสาย ั่ ชายฝงทะเลตะวั นออกช่วงฉะเชิงเทรา-ศรีราชา-แหลมฉบัง ระยะทาง ๗๘ กม. (รฟท.) และโครงการจัดหารถโบกี้บรรทุกสินค้า ๑๑๒ คัน (รฟท.) ทางถนน มี ๖ โครงการคือ โครงการเร่งรัดขยายทางสาย ประธานให้เป็ น ๔ ช่องจราจร (ระยะที่ ๒) (ทล.) จานวน ๘ สายทาง รวมระยะทาง ๔๓๓ กิโลเมตร โครงการก่อสร้างทางหลวงสนับสนุ น การขนส่งแบบต่อเนื่อง (ทล.)โครงการถนนไร้ฝุ่น (ทช.) โครงการ ก่อสร้างสะพานข้ามแม่น้ าเจ้าพระยาบริเวณถนนนนทบุร ี ๑ (ทช.) โครงการทางเชื่อมต่อทางพิเศษสายบางพลี-สุขสวัสดิ ์ กับทางพิเศษ บูรพาวิถแี ละถนนวงแหวนอุตสาหกรรม และโครงการก่อสร้างถนน เชื่อมต่ อถนนราชพฤกษ์ -ถนนกาญจนาภิเษก (แนวตะวันออกตะวันตก) (ทช.) ทางน้ า มี ๒ คือโครงการก่ อสร้างท่าเทียบเรือ อเนกประสงค์คลองใหญ่ จังหวัดตราดและโครงการก่อสร้างท่าเรือ เชียงแสนแห่งที่ ๒ จังหวัดเชียงราย และทางอากาศ คือโครงการ จัดหาเครื่องบินใหม่ A ๓๓๐-๓๐๐ จานวน ๘ ล า เพื่อทดแทน เครื่องบินเก่ าพิส ยั กลางแบบ A๓๐๐-๖๐๐ จานวน ๖ ล า และพิสยั ไกลแบบ B๗๔๗-๓๐๐ จานวน ๒ ลา ที่มอี ายุการใช้งานประมาณ ๒๐ ปี

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แผนแม่ บ ทการพัฒ นา โครงข่ายทางหลวงและ ทางหลวงพิเศษระหว่าง เมือง ของกรมทางหลวง


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย ทางราง มี ๑ แผนงาน และ ๓ โครงการ คือ ๑) แผนการลงทุน ด้านโครงสร้างพืน้ ฐาน รฟท. ระยะเร่งด่วน พ.ศ. ๒๕๕๓ - ๒๕๕๗ วงเงิน ลงทุน ๑๗๖ ,๘๐๘ ล้า นบาท (มีโ ครงการที่ส าคัญ ได้แ ก่ โครงการก่ อ สร้า งทางคู่ ( จ านวน ๖ เส้น ทาง ได้แ ก่ ช่ ว ง ฉะเชิงเทรา-คลองสิบเก้า-แก่งคอยช่วงลพบุร ี - ปากน้ าโพ ช่วง มาบกะเบา - ถนนจิระ นครราชสีมา ช่วงจิระ - ขอนแก่น ช่วง นครปฐม - หนองปลาดุก - หัวหิน ช่วงประจวบคีรขี นั ธ์ - ชุมพร) และโครงการปรับปรุงทางรถไฟ (ประกอบด้วยโครงการปรับปรุง ทางรถไฟ ระยะที่ ๕ ระยะทาง ๓๐๘ กม. ได้แก่ ช่วงสถานีทาง แก่งคอย - แก่งเสือเต้น สุรนารายณ์ - ชุมทางบัวใหญ่ และถนนจิ ระ - ชุ ม ทางบัว ใหญ่ ) โครงการปรับ ปรุ ง ทางรถไฟ ระยะที่ ๖ ระยะทาง ๒๗๘ กม. ได้แก่ สถานีบวั ใหญ่ - หนองคาย โครงการ จัดหารถจักรดีเซลไฟฟ้า ๑๓ คัน (๒๐ตัน/เพลา) โครงการจัดหา รถจักรดีเซลาไฟฟ้า GE ๕๐ คัน และโครงการ Refurbish รถจักร ๕๖ คัน) ๒) โครงการจัดหารถจักรดีเซลไฟฟ้า น้ าหนักกดเพลา สูงสุด ๑๕ ตัน/เพลา จานวน ๗ คัน (รฟท.) ๓) โครงการจัดหารถ จักรดีเซลาไฟฟ้า น้ าหนักกดเพลาสูงสุด ๒๐ ตัน/เพลา จานวน ๗ คันโครงการจัดหารถโบกี้บรรทุกตู้สนิ ค้าจานวน ๓๐๘ คัน ๔) โครงการก่อสร้างสถานีบรรจุและแยกสินค้ากล่อง ICD แห่งที่ ๒ เพื่อเพิม่ ศักยภาพรองรับการขนส่งสินค้าจากภาคเหนือและภาค ตะวันออกเฉียงเหนือสู่ท่าเรือแหลมฉบัง ๕) โครงการก่อสร้างทาง รถไฟเชื่อมโยงจากสถานน้ าตก จ.กาญจนบุร ี ไปยังท่าเรือทวาย บริเ วณด่ า นบ้า นพุ น้ า ร้อ นระยะทางประมาณ ๑๓๕ กิโ ลเมตร

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แผนหลักการขนส่งและ จราจร พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒๕๖๓ ของกระทรวง คมนาคม แผนแม่บท เพื่อพัฒนาระบบรางและ รถไฟความเร็ว สูง ของ กระทรวงคมนาคม แผน แ ม่ บ ท ก า ร พั ฒ น า โครงข่ายทางหลวงและ ทางหลวงพิเศษระหว่าง เมือง (มหาชน) ของกรม ทางหลวง แผน ยุทธศาสตร์ ปี ๒๕๕๓ ๒๕๕๗ และ ปี ๒๕๕๔ ๒๕๖๐ ของบริษัท การ บินไทย จากัด


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) และโครงการทางพิเศษสายศรีรชั -วงแหวนรอบนอกฯ (กทพ.) ระยะทางทัง้ สิ้น ๑๖.๗ กม.โดยมีแนวเส้นทางเริม่ ต้นจากถนน กาญจนาภิเษก บริเวณโรงกรองน้ ามหาสวัสดิ ์ไปทางทิศตะวันออก ตามแนวเขตทางรถไฟสายใต้เดิม ข้ามแม่น้ าเจ้าพระยาที่สะพาน พระรามหก และไปสิน้ สุดที่ทางพิเศษศรีรชั ส่วน A บริเวณด้าน เหนือของสถานีขนส่งสายเหนือ (หมอชิต ๒) โครงการสร้างทาง หลวงจาก จ.กาญจนบุร ี ไปยังด่านบ้านพุน้ าร้อน (เพิม่ เติม) ๑๐ กิโลเมตร ส่วนทางน้ า มี ๔ โครงการคือ โครงการก่อสร้างท่า เทีย บเรือ อเนกประสงค์ค ลองใหญ่ จังหวัด ตราด (จท.)และ โครงการก่อสร้างท่าเรือน้ าลึกปากบารา จ.สตูล (จท.) โครงการ ก่อสร้างท่าเทียบเรือ จ.ชุมพร (จท.)เพื่อเป็ นท่าเทียบเรือน้ าลึก ศูนย์กลางการเชื่อมต่อระหว่างทะเลอ่าวไทยด้าน จ.ชุมพร และ ทะเลอันดามันด้าน จ.ระนอง และเชื่อมต่อกับเส้น ทางคมนาคม ภาคตะวันออก ได้แก่ ท่าเรือแหลมฉบัง ท่าเรือมาบตาพุด ท่าเรือ กรุงเทพฯ ท่าเรือสุราษฎร์ธานี ท่าเรือสงขลา และท่าเรือปตั ตานี รวมทัง้ โครงการก่ อ สร้า งสถานี ข นส่ ง สิน ค้า ทางล าน้ า เพื่อ การ ประหยัดพลังงาน (จท.) ในขณะที่ทางอากาศมี ๔ โครงการคือ โครงการจัดหาเครื่องบิน ปี ๒๕๕๓-๒๕๕๗ (บกท.) จานวน ๑๕ ลา โครงการก่อสร้างท่าอากาศยานสุวรรณภูมริ ะยะที่ ๒ (ทอท.) โครงการก่อ สร้างท่าอากาศยานภูเ ก็ต (ทอท.) และโครงการ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) พัฒ นาโครงสร้า งพื้น ฐานระบบบริก ารการเดิน อากาศ (บวท.) ประกอบด้วย ๓ โครงการ คือ การจัดตัง้ ศูนย์บริหารจราจรทาง อากาศ การเพิม่ ขีดความสามารถระบบ/เทคโนโลยีจราจรทาง อากาศและการพัฒ นาระบบเชื่อ มโยงต่ อ โครงข่า ยการบริห าร จ ร า จ ร ท า ง อ า ก า ศ ทัวประเทศ ่ และการจัดหาอากาศยานบินทดสอบประสิทธิภาพสูง

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๔.๒.๒ ปรับปรุงประสิทธิภาพบริหารจัดการโลจิสติกส์

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑,๔๙๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน งบประมาณแผ่นดิน ● เงินกู้ ●

ที่มาโครงการ ●

แผนปฏิบ ัติ ก ารพัฒ นา ระบบ NSW ของ ประเทศ พ.ศ. ๒๕๕๔๒๕๕๘ (NSW National Action Plan)

๑) โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย แผนปฏิบตั กิ ารพัฒนาระบบ NSW ของประเทศ เพื่อช่วยอานวย ความสะดวกทางการค้าให้แก่ผู้ประกอบการ ลดอุปสรรคต่างๆ แผนพัฒนากาลังคนด้าน Logisticและโครงการพัฒนาศักยภาพการ ขนส่งด้วยรถบรรทุกเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ (ขบ.) ๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย แผนปฏิบตั กิ ารพัฒนาระบบ NSW ของประเทศ จานวน ๑,๔๐๐ ล้านบาท และแผนพัฒนากาลังคนด้าน Logistic จานวน ๘๗.๔๐ ล้านบาท ๔.๒.๓ พัฒนาระบบขนส่งมวลชนสาธารณะทางราง

๔๐๔,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● เงินกู้ ●


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย โครงการระบบรถไฟชานเมือง (สายสีแดง) ช่วงบางซื่อ -ตลิง่ ชัน (รฟท.) (มติ ครม. ๒๒ พ.ค. ๒๕๕๐) โครงการระบบขนส่งทาง ร ถ ไ ฟ เ ชื่ อ ม ต่ อ ท่าอากาศยานสุวรรณภูมแิ ละสถานีรบั ส่งผู้โดยสารอากาศยานใน เมือง (รฟท.) (มติ ครม. ๑๗ ส.ค. ๒๕๔๗) โครงการรถไฟฟ้าสาย สีม่วง ช่วงบางใหญ่ - บางซื่อ (รฟม.) ระยะทาง ๒๓ กม. สถานี ยกระดับ ๑๖ สถานี ( มติ ครม. ๒ ต.ค. ๒๕๕๐)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แผนแม่ บ ทการขนส่ ง มวลชนระบบรางในเขต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ พื้ น ที่ ต่อเนื่อง (URMAP)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย โครงการรถไฟฟ้ าสายสีม่ ว ง ช่ ว งบางใหญ่ - บางซื่อ (รฟม.) โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ าเงิน หัวลาโพง-บางแค และบางซื่อ-ท่า พระ (รฟม.) ระยะทาง ๒๒ กม. สถานียกระดับ ๑๗ สถานี และ โครงสร้างรถไฟฟ้าแบบใต้ดนิ ระยะทาง ๕ กม. สถานีใต้ดนิ ๔ ั ่ ร ี - พระนคร (มติ ครม. ๒๗ พ.ค. สถานี เพื่อเชื่อมโยงฝงธนบุ ๒๕๕๑) โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ช่วงเตาปูน - ราษฎร์บูรณะ (รฟม.) ระยะทางรวมประมาณ ๒๐ กม. เป็ นโครงสร้างทางวิง่ ใต้ ดิน ๑๓.๒ กม. และเป็ นโครงสร้างทางยกระดับ ๖.๘ กม. มีสถานี ทัง้ สิ้น ๑๖ สถานี โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริง่ สมุทรปราการ และช่วงหมอชิต - สะพานใหม่ (รฟม.) ยกระดับ ระยะทางรวม ๒๕ กม. สถานียกระดับทัง้ หมด ๒๑ สถานี (มติ ครม. ๒๕ พ.ย. ๒๕๕๑) โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุร ี (รฟม.) ระยะทางรวม ๓๖ กิโลเมตร เป็ นโครงสร้างทาง ยกระดับทัง้ หมด โดยมีสถานีทงั ้ สิน้ ๒๔ สถานี โครงการรถไฟฟ้า สายสีสม้ ช่วงบางกะปิ - มีนบุร ี (รฟม.) ระยะทางรวม ๓๗.๕ กม. เป็ นโครงสร้างทางวิ่งใต้ดนิ ๒๖.๕ กม. และเป็ นโครงสร้างทาง ยกระดับ ๑๑ กม. มีสถานีทงั ้ สิ้น ๒๙ สถานี (สถานีใต้ดนิ ๒๑ สถานี ,สถานียกระดับ ๘ สถานี) โครงการรถไฟชานเมือง สายสี แดง ช่ว งบางซื่อ - ตลิ่งชัน และช่ ว งบางซื่อ - รังสิต -ม.

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แผนแม่ บทระบบขนส่ ง มวลชนทางรางในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล (M- MAP)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ธรรมศาสตร์ ศูนย์รงั สิต (มติ ครม. ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๐) และ ช่วงบาง ซื่อ -พญาไท - มักกะสัน - หัวหมาก (รฟท.) และโครงการจัดหา รถโดยสารใหม่ จานวน ๑,๙๕๗ คัน เพื่อ ทดแทนรถโดยสารที่ เสื่อมสภาพ (ขสมก.) แบ่งเป็ น รถเมล์ธรรมดา (รถร้อน) จานวน ๑,๕๗๙ คัน และรถเมล์ปรับอากาศ จานวน ๓๗๘ คัน

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๔.๒.๔ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ ทันสมัย

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๔๗,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

รายได้รฐั วิสาหกิจ ● เงินกู้ ●

๑) โครงการที่สาคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้วย โครงการขยายโครงข่าย Broadband IP วงเงิน ๔,๗๖๕ ล้านบาท (TOT)( มติ ครม. ๓ มิ.ย. ๕๑) และโครงการระบบเคเบิลใต้น้ าใย แก้ว AAG วงเงิน ๓,๖๐๐ ล้านบาท (CAT) (มติ ครม. ๑๘ ธ.ค. ๕๐)

แผนแม่ บ ทเทคโนโลยี สารสนเทศและการ สื่อสารของประเทศไทย ฉ บั บ ที่ ๑ ( ๒ ๕ ๔ ๕ ๒๕๕๑)

๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย โครงการสร้ า งโครงข่ า ยโทรศั พ ท์ เ คลื่ อ นที่ ยุ ค ที่ ๓ วงเงิน ๑ ๙ ,๙ ๘ ๐ ล้านบาท (TOT) (มติ ครม. ๒๘ ก.ย. ๕๓) โครงการขยายโครงข่าย โทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ CDMA ในส่วนภูมภิ าค วงเงิน ๓,๘๐๐ ล้านบาท (CAT) (มติ ครม. ๒๗ เม.ย. ๕๓) โครงการ Fiber to the X วงเงิน ๖ ,๐๐๐ ล้า นบาท ( CAT) (มติ ครม. ๒๗ เม.ย. ๕๓) โครงการเคเบิล ใต้น้ าใยแก้วอ่ าวไทย วงเงิน ๒ ,๗๓๐ ล้านบาท (CAT)(มติ ครม. ๒๔ ม.ค. ๕๔) โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพ โครงข่าย IP วงเงิน ๑,๓๕๐ ล้านบาท (CAT) โครงการปรับเปลีย่ น โครงข่า ย NGN เพื่อ ทดแทนอุ ป กรณ์ ชุ ม สายและข่า ยสายที่ ห ม ด อ า ยุ ว ง เ งิ น ๒ ,๖ ๐ ๐

น โ ย บ า ย บ ร อ ด แ บ น ด์ แห่งชาติ กรอบนโยบายเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร ระยะ ๒๕๕๔-๒๕๖๓ ของ ประเทศไทย (ICT ๒๐๒๐) แ ผ น แ ม่ บ ท เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศและการสื่ อ สาร ฉบับ ที่ ๒ ของประเทศไทย (๒๕๕๒-๒๕๕๖)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ล้านบาท (TOT) และโครงการปรับเปลี่ยนโครงข่าย NGN เพื่อ จัดหาอุปกรณ์ FTTx และข่ายสาย Optic Fiber Cable เพิม่ เติม วงเงิน ๑๐,๘๘๔.๘๕ ล้านบาท (TOT)

๔.๒.๕ พัฒนาศักยภาพการให้บริการน้ าอุปโภคบริโภคทัง้ ในเชิงปริมาณและ คุณภาพทีม่ มี าตรฐานสากลครอบคลุมทัง้ ในเขตเมืองและพืน้ ทีช่ นบท

๕๘,๖๒๐.๐๐

รายได้รฐั วิสาหกิจ ● เงินกู้ ● เงินอุดหนุ น ●

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย กปน. วงเงิน ๑๑,๖๒๘.๗๐ ล้านบาท (โครงการปรับปรุงกิจการ ประปาแผนหลักครัง้ ที่ ๗ (มติ ครม. ๕ เม.ย. ๔๒) และโครงการ ปรับปรุงกิจการประปาแผนหลัก ๘ (มติ ครม. ๑๐ มิ.ย. ๕๑) และ กปภ. วงเงิน ๑๖,๐๓๐.๖๖ ล้านบาท (โครงการปรับปรุงขยาย ประปาปี ๕๐ (มติ ครม. ๒๐ มี.ค. ๕๐) ๕๑ (มติ ครม. ๔ พ.ย. ๕๑) และ ๕๔ และโครงการปรับปรุงขยายประปาสมุทรสาคร (มติ ครม. ๒๐ มี.ค. ๕๐)) ๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย กปน. ๑๗,๑๒๐.๘ ล้านบาท แบ่งเป็ น (โครงการหลัก ๗ ลงเงิน ๑,๗๔๙.๕ ล้านบาท โครงการหลัก ๘ วงเงิน ๕,๐๒๙.๘ ล้านบาท และโครงการหลัก ๙ วงเงิน ๑๐,๓๔๑.๕ ล้านบาท) และ กปภ. ๔๑,๕๐๐ ล้านบาท (โครงการปรับปรุงขยายประปาปี ๕๕ วงเงิน ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท โครงการปรับปรุงขยายประปาปี ๕๖ วงเงิน ๑๓,๗๐๐ ล้านบาท โครงการปรับปรุงขยายประปาปี ๕๗ วงเงิน ๗ ,๐๐๐ ล้านบาท โครงการปรับปรุงขยายประปาปี ๕๘ วงเงิน ๕,๗๐๐ ล้านบาท โครงการปรับปรุงขยายประปาปี ๕๙ วงเงิน ๔,๑๐๐ ล้านบาท

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แ ผ น แ ม่ บ ท ก า ร ให้บริการน้ าประปาของ การประปานครหลวง แ ล ะ แ ผ น แ ม่ บ ท ก า ร ให้บริการน้ าประปาของ การประปาส่วนภูมภิ าค

แ ผ น แ ม่ บ ท ก า ร ให้บริการน้ าประปาของ การประปาส่วนภูมภิ าค ๒๕๕๕-๒๕๕๙


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๔.๒.๖ วางแผนพัฒนาที่อ ยู่อ าศัยของภาครัฐและเอกชนให้ส อดคล้อ งกับผัง เมืองและการใช้ประโยชน์ทด่ี นิ ๑) โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย โครงการบ้านเอื้ออาทร กคช. เป็ นโครงการพัฒนาทีอ่ ยู่อาศัยตาม นโยบายของรัฐ สาหรับประชาชนผู้ด้อยโอกาส ผู้มรี ายได้น้อย ข้าราชการและพนัก งานชัน้ ผู้น้อ ยของหน่ ว ยงานรัฐ ที่ม ีรายได้ ครัวเรือนไม่เกิน ๔๐,๐๐๐ บาทต่อเดือน ณ ปี ๒๕๕๒ เป็ นต้นไป (มติ ครม. ๑๔ มกราคม ๒๕๔๖) และโครงการบ้านพักข้าราชการ ทหารกรมมหาดเล็กฯ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๙๒,๒๔๗.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

ที่มาโครงการ

เงินกู้ ●

แผนพัฒ นาที่อ ยู่ อ าศัย ข อ ง ผู้ มี ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉบับที่ ๑๐


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

๒) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย แผนบริหารทรัพ ย์ส ินรอการพัฒนา ของ กคช. เป็ นโครงการ พัฒนาทีอ่ ยู่อาศัยสาหรับผูม้ รี ายได้ปานกลาง-น้อย โดยพัฒนาบน ทรัพย์สนิ เดิมของโครงการบ้านเอื้ออาทรที่ระงับการดาเนินการ (แ ผ น บ ริ ห า ร ท รั พ ย์ สิ น รอการพัฒนา ๖๗ โครงการ วงเงิน ๓๓,๙๙๒ ล้านบาท และแผน บริห ารทรัพ ย์ส ินรอการพัฒ นา ๗๖ โครงการ วงเงิน ๒๖,๖๕๙ ล้า นบาท) และแผนบริห ารสิน ทรัพ ย์เ ดิม ของ กคช. วงเงิน ๑๓,๕๙๖ ล้านบาท เป็ นโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยสาหรับผู้ม ี รายได้ปานกลาง-น้ อย โดยพัฒนาบนทรัพย์สนิ เดิมของ กคช. รวมทัง้ โครงการบ้านรัฐสวัสดิการ ของ กคช. วงเงิน ๓,๐๐๐ ล้าน บาท เป็ นโครงการพัฒนาที่อยู่อาศัยสาหรับข้าราชการผูม้ รี ายได้ น้ อ ยให้ไ ด้ม ีท่ีอ ยู่อ าศัย เป็ น ของตนเองในระดับ ราคาตลอดจน โครงการอาคารเช่าสาหรับประชาชนทัวไป ่ วงเงิน ๑๕,๐๐๐ ล้าน บาท ๔.๒.๗ บริหารจัดการด้านการคลัง

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

๓๑๓,๒๓๐.๐๐

แผนพัฒ นาที่อ ยู่ อ าศัย ข อ ง ผู้ มี ร า ย ไ ด้ น้ อ ย ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉบับที่ ๑๑


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๑) ส่งเสริมและสนับสนุ นให้เอกชนเข้ามีส่วนร่วมในการลงทุนพัฒนา โครงสร้างพืน้ ฐานและการให้บริการขัน้ พืน้ ฐานของภาครัฐเพิม่ ขึน้ (Public-Private Partnership) เพื่อ พัฒนาปรับ ปรุง ระเบีย บและ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง รวมทัง้ พัฒนารูปแบบหรือวิธกี ารให้เอกชน เข้าร่วมลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานและการจัดหาสิง่ อานวยความ สะดวกทีจ่ าเป็ นในการให้บริการขัน้ พืน้ ฐานของภาครัฐโดยเฉพาะ ในด้านการศึก ษาและสาธารณสุ ขที่เหมาะสมและสอดคล้อ งกับ กิจ การประเภทต่ า ง ๆ ของภาครัฐ มีค วามโปร่ง ใสในการ ดาเนินการ และมีการกระจายความเสีย่ งที่ชดั เจนและเป็ นธรรม ระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย โครงการรถไฟฟ้าสายสีม่วง ( มติ ครม. ๒ ต.ค. ๒๕๕๐) และ โครงการรถไฟฟ้าสายสีน้ าเงิน หัวลาโพง-บางแค และบางซื่อ-ท่า พระ (มติ ครม. ๒๗ พ.ค. ๒๕๕๑)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๖๒,๒๓๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน ●

ที่มาโครงการ

เงินลงทุนของภาคเอกชน

แผนแม่ บ ทการขนส่ ง มวลชนระบบรางในเขต ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร แ ล ะ พื้ น ที่ ต่อเนื่อง (URMAP)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) โครงการที่สาคัญ ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ประกอบด้ว ย โครงการรถไฟฟ้ าสายสี ม่ ว ง ช่ ว งเตาปู น - ราษฎร์ บู ร ณะ โครงการรถไฟฟ้าสายสีเขียว ช่วงแบริง่ - สมุทรปราการและช่วง หมอชิต - สะพานใหม่ (มติ ครม. ๒๕ พ.ย. ๒๕๕๑) โครงการ รถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย - มีนบุร ี โครงการรถไฟฟ้าสายสี ส้ม ช่วงบางกะปิ - มีนบุร ี โครงการทางพิเศษศรีรชั - วงแห วนรอบนอก (มติ ครม. ๒๔ ม.ค. ๒๕๕๔) โครงการพัฒนา อสังหาริมทรัพย์ (จุฬาฯ) ๕,๕๗๙.๙๘ ล้านบาท เป็ นโครงการร่วม ลงทุนระหว่างภาครัฐและเอกชน โดยเอกชนเป็ นผูล้ งทุนพัฒนา และบริห ารจัดการโครงการอสังหาริมทรัพย์แบบหลายรูปแบบ (Mixed Use) บนทีด่ นิ ของจุฬาฯ เพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ทรัพย์สนิ ของหน่ วยงานภาครัฐ (แบ่งออกเป็ น โครงการหมอน ๕๖-๕๗ วงเงิน ๔,๒๘๕.๒๐ ล้านบาท และโครงการ Block L วงเงิน ๑,๒๙๔.๗๘ ล้านบาท)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ●

แผนแม่ บทระบบขนส่ ง มวลชนทางรางในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑล (M- MAP)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒) พัฒนาประสิทธิภาพการดาเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพื่อพัฒนา ประสิท ธิภ าพการด าเนิ น งาน พัฒ นาระบบบริห ารความเสี่ย ง ปรับปรุงการก ากับดูแ ลและการรายงานผลการดาเนินงานให้ม ี ความโปร่งใส รวมทัง้ ส่งเสริมให้เกิดการแข่งขันในการให้บริการ จากภาคเอกชนเพื่อลดต้นทุน ในการให้บริการ และเพิม่ ผลกาไร ซึ่งเป็ นรายได้ให้กบั รัฐ นอกจากนี้ ควรมีแนวทางในการบริหาร จัดการทรัพยากรของรัฐเพื่อสร้างมูลค่าเพิม่ ให้กบั ทรัพย์สนิ ของ ประเทศและเพื่อเพิม่ รายได้ให้กบั ภาครัฐ ปจั จุบนั ลงทุนเพื่อจัดหา เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อช่วยเพื่อประสิทธิภาพการดาเนินงาน ของรัฐวิสาหกิจ และลงทุนเพื่อจัดหาเครื่อ งมือ เครื่อ งใช้และ อุปกรณ์ เพื่อรองรับการให้บริการของรัฐวิสาหกิจ ๔.๒.๘ สร้างความมันคงด้ ่ านพลังงาน ๑) ส่งเสริมการใช้พลังงานสะอาดและพัฒนาพลังงานทางเลือก

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๒๕๑,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน งบประมาณแผ่นดิน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ ● เงินกู้ ●

๘๐๑,๘๑๐.๐๐ ๑๔๕,๓๑๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน ● กองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ อนุรกั ษ์พลังงาน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ ●

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

โ ค ร ง ก า ร ที่ ส า คั ญ ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๐ ประกอบด้วย การลงทุนของภาคเอกชนในด้านพลังงานทดแทน ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ เอ ทานอล ไบโอดีเซล ประมาณ ๑๓๔,๑๖๕ ล้านบาท การลงทุน ของภาครัฐในด้านพลังงานทดแทน ได้แก่พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชี ว ม ว ล ก๊ า ซ ชี ว ภ า พ ข ย ะ เอทานอล ไบโอดีเซล ประมาณ ๙,๓๔๓ ล้านบาท และการลงทุน NGV ประมาณ ๑๒,๕๔๑ ล้านบาท

แผ น พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ทดแทน ๑๕ ปี (๒๕๕๑๒๕๖๕) ครม.อนุมตั ิ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓

โ ค ร ง ก า ร ที่ ส า คั ญ ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๑ ประกอบด้วย การลงทุนของภาคเอกชนในด้านพลังงานทดแทน ได้แก่ พลังงานแสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ เอ ทานอล ไบโอดีเซล ประมาณ ๑๐๒,๗๒๖ ล้านบาท และ การ ลงทุ น ของภาครัฐ ในด้ า นพลั ง งานทดแทน ได้ แ ก่ พ ลัง งาน แสงอาทิตย์ ลม ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ เอทานอล ไบโอดีเซล ประมาณ ๒๗ ,๑๒๔ ล้านบาทและการลงทุน NGV ประมาณ ๑๕,๔๖๐ ล้านบาท

แผ น พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ทดแทน ๑๕ ปี (๒๕๕๑๒๕๖๕) ครม.อนุมตั ิ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๓


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒) ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาการผลิตพลังงานจากแหล่งธรรมชาติ เพื่อทดแทนเชือ้ เพลิงจากฟอสซิล

โครงการที่ สาคัญในช่ วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ และ ๑๑ ประกอบด้วย สนับสนุ นการศึกษา วิจยั พัฒนาในโครงการที่ เกีย่ วกับพลังงานทดแทน ทัง้ พลังงานลม น้ า แสงอาทิตย์ ชีวมวล ขยะ ชี ว ภาพ เอทานอลและสนั บ สนุ น ทุ น วิจ ัย แก่ นั ก ศึ ก ษา ระดับอุดมศึกษา รวมทัง้ ประชาสัมพันธ์ ให้ความรูค้ วามเข้าใจเพื่อ ส่งเสริมการใช้พลังงานทดแทน และพัฒนาศักยภาพบุคลากร ทางด้านพลังงานทดแทน

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๗,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน เงินกู้ ● เงินลงทุนของภาคเอกชน ● รายได้รฐั วิสาหกิจ ● กองทุ น เพื่อ ส่ ง เสริมอนุ รก ั ษ์ พลังงาน ●

ที่มาโครงการ ●

แผ น พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ทดแทน ๑๕ ปี (๒๕๕๑๒๕๖๕) ครม.อนุมตั ิ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๔

แผ น พั ฒ น า พ ลั ง ง า น ทดแทน ๑๕ ปี (๒๕๕๑๒๕๖๕) ครม.อนุมตั ิ ๒๒ มกราคม ๒๕๕๕


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๓) เพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในทุกระดับ โดยสร้างแรงจูงใจใน การลดการใช้พลังงาน และดาเนินมาตรการส่งเสริมการอนุ รกั ษ์ พลังงาน

โครงการที่ส าคัญในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๐ ประกอบด้ว ย โครงการระบบส่งเพื่อรับซือ้ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนหง สาลิกไนต์ วงเงิน ๒๑,๑๖๐ ล้านบาท(๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓) โครงการโรงไฟฟ้าวังน้ อย ชุดที่ ๔ วงเงิน ๒๑,๔๗๔ ล้านบาท (๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔) โครงการโรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ ๒ วงเงิน ๒๓,๗๒๕ ล้านบาท(๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔) โครงการเร่งรัด ขยายเขตระบบไฟฟ้าให้ครัวเรือนที่ไม่มไี ฟฟ้าใช้ วงเงิน ๒,๐๔๕ ล้า นบาท (๒๕ พฤศจิก ายน ๒๕๕๓) โครงการขยายระบบส่ ง ไฟฟ้า ระยะที่ ๑๑ วงเงิน ๒๓,๐๐๐ ล้านบาท (๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐)โครงการก่ อ สร้างระบบจาหน่ ายด้ว ยเคเบิล ใต้น้ าไปยัง เกาะต่างๆ วงเงินรวม ๖,๕๘๒ ล้านบาท *และการลงทุนในส่วน ของ ปตท. ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ ล้านบาท

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๒๙,๕๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

งบประมาณแผ่นดิน ● เงินกู้ ● เงินลงทุนภาค เอกชน ● กองทุ น เพื่ อ ส่ ง เสริ ม การ อนุรกั ษ์พลังงาน ●

แผนอนุ ร ัก ษ์ พ ลัง งงาน ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๕๔๒๕๗๓)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

โ ค ร ง ก า ร ที่ ส า คั ญ ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๑ ประกอบด้วย ดาเนินมาตรการต่างๆ ทัง้ มาตรการบังคับด้ว ย กฎระเบียบและมาตรฐาน รวมทัง้ การส่งเสริมและสนับสนุ นด้วย การจูงใจ เพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการใช้พลังงานในทุกภาคส่วน เศรษฐกิจ ดังนี้ ภาคอุตสาหกรรม ๑๑,๐๐๐ ล้านบาท ภาคขนส่ง ๙,๕๐๐ ล้านบาท ภาคอาคารธุรกิจขนาดใหญ่ ๔,๐๐๐ ล้านบาท และภาคอาคารธุรกิจขนาดเล็กและบ้านอยูอ่ าศัย ๕,๐๐๐ ล้านบาท ๔) จัด หาพลัง งาน เพื่อ ความมัน่ คงและเน้ น การกระจายแหล่ ง เชือ้ เพลิง (Fuel Diversification) โ ค ร ง ก า ร ที่ ส า คั ญ ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๐ ประกอบด้วย โครงการระบบส่งเพื่อรับซือ้ ไฟฟ้าจากโรงไฟฟ้าพลัง ความร้อ นหงสาลิกไนต์ วงเงิน ๒๑,๑๖๐ ล้านบาท โครงการ โรงไฟฟ้าวังน้ อย ชุดที่ ๔ วงเงิน ๒๑,๔๗๔ ล้านบาท โครงการ โรงไฟฟ้าจะนะ ชุดที่ ๒ วงเงิน ๒๓,๗๒๕ ล้านบาท โครงการ เร่งรัด ขยายเขตระบบไฟฟ้ าให้ค รัว เรือ นที่ไ ม่มไี ฟฟ้ าใช้ วงเงิน ๒,๐๔๕ ล้านบาท โครงการขยายระบบส่ ง ไฟฟ้า ระยะที่ ๑๑ วงเงิน ๒๓,๐๐๐ ล้านบาท โครงการก่อสร้างระบบจาหน่ ายด้วย เคเบิลใต้น้ าไปยังเกาะต่างๆ วงเงินรวม ๖,๕๘๒ ล้านบาท และ การลงทุนในส่วนของ ปตท. ประมาณ ๑๕๐,๐๐๐ ล้านบาท

ที่มาโครงการ ●

๖๒๐,๐๐๐.๐๐

แผนอนุ ร ัก ษ์ พ ลัง งงาน ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๕๔๒๕๗๓)

รายได้รฐั วิสาหกิจ ● เงินกู้ ●

แผนพัฒนาระบบไฟฟ้ า ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั ง ค ม แ ห่ ง ช า ติ ฉ บั บ ที่ ๑ ๐ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) ของ กฟภ.


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) โ ค ร ง ก า ร ที่ ส า คั ญ ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ ฉ บั บ ที่ ๑ ๑ ประกอบด้วย (๑) โครงการเพิม่ ความเชื่อถือได้ของระบบไฟฟ้า ระยะที่ ๓ วงเงิน ๑๕,๑๕๕ ล้านบาท และ โครงการขยายระบบส่ง ไฟฟ้า ระยะที่ ๑๒ วงเงิน ๓๑,๓๑๒ ล้านบาท (๒) โครงการขยาย ระบบส่ ง ไฟฟ้ าหลัก เพื่อ รองรับ โรงไฟฟ้ าผู้ผ ลิต เอกชนรายเล็ก ระบบ Cogeneration ตามระเบียบการรับซือ้ ไฟฟ้าปี ๒๕๕๓ วงเงิน ๑๐,๖๑๐ ล้านบาท และโครงการโรงไฟฟ้าพลังความร้อน วงเงิน ๑๘,๘๐๐ ล้านบาท แผนปรับปรุงและขยายระบบจาหน่ ายพลัง ไฟฟ้า ฉบับที่ ๑๑ วงเงิน ๒๖,๓๖๕ ล้านบาท และการลงทุนใน ส่วนของ ปตท. ประมาณ ๒๐๐,๐๐๐ ล้านบาท ๔.๒.๙ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัตกรรม ๑) แผนลงทุนเพื่อการวิจยั และพัฒนา เพื่อให้เกิดงานวิจยั และพัฒนา ทีช่ ่วยเพิม่ ประสิทธิภาพและมูลค่าเพิม่ ในภาคการผลิตและบริการ พัฒนาความเข้มแข็งในภาคสังคม และเสริมสร้างความมันคงด้ ่ าน พลังงานและสิง่ แวดล้อม

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ (๑) แผนพัฒนาระบบไฟฟ้า

ใ น ช่ ว ง แ ผ น พั ฒ น า เศรษฐกิ จ และสั ง คม แห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ ๑๐ และ๑๑ ของ กฟภ. (๒) แผนพัฒ นาก าลัง การ ผลิตไฟฟ้าของประเทศ ไ ท ย ปี ปี ๒ ๕ ๕ ๓ ๒๕๗๓ ๒๓๑,๔๒๙.๐๐ ๑๓๐,๕๗๔.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

สศช. ร่ ว มกั บ สวทน. สอดคล้ อ งกั บ ร่ า งแผน วทน. (๒๕๕๕-๒๕๖๔) ร่ า ง แ ผ น พั ฒ น า ฯ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๒) แผนการพัฒ นาก าลัง คนและเพิ่ม ประสิท ธิภ าพบุ ค ลากรด้า น วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจยั และนวัต กรรม (วทน.) เพื่อ สนับสนุ นการพัฒนากาลังคนและส่งเสริมประสิทธิภาพบุคลากร ด้าน วทน. ให้ตอบสนองต่อเป้าหมายการเพิม่ จานวนบุคลากรวิจยั เป็น ๑๕:๑๐,๐๐๐ คน ในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๑ ๓) แผนงานเสริมสร้างปจั จัยแวดล้อมเพื่อสนับสนุ นการพัฒนา วทน. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การบริหารจัดการปจั จัยแวดล้อ ม ด้านกฎระเบียบ การบริหารจัดการองค์ความรู้ ระบบคุ้มครอง ทรัพย์สนิ ทางปญั ญา และปจั จัยแวดล้อมอื่นๆ ให้เอื้อต่อการวิจยั พัฒนาและสร้างนวัตกรรมเพื่อจูงใจให้ภาคเอกชนเพิม่ การลงทุน วิจ ัย พัฒ นาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และมีง านวิจ ัย พัฒ นาที่ส ามารถ ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้ และใช้ประโยชน์โดยเฉพาะใน เชิงพาณิชย์ได้เพิม่ มากขึน้ ๕.

ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมภิ าคเพื่อความมันคงทางเศรษฐกิ ่ จ และสังคม

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๖๗,๗๙๐.๐๐

๓๓,๐๖๕.๐๐

๑๘๙,๓๐๒.๗๓

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ ฉบับที่ ๑๑ และนโยบาย และยุทธศาสตร์การวิจยั ของชาติ ฉบับ ที่ ๘ (๒๕๕๕-๒๕๕๙)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๕.๑ แผนงานพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อลดช่องว่างการ พัฒนาระหว่างไทยและประเทศเพื่อนบ้าน สร้างความสัมพันธ์ในเชิงหุ้นส่วนที่ ใกล้ชดิ และยังยื ่ น ประกอบด้วย การปรับปรุงและก่อสร้างโครงสร้างพืน้ ฐาน ได้แก่ สนามบิน ถนน และเส้นทางรถไฟในประเทศเพื่อนบ้าน หรือจากประเทศไทย เชื่อ มโยงไปยังประเทศเพื่อ นบ้า นโครงการเพื่อ การพัฒนาเมือ ง เช่น ระบบ สาธารณู ป โภคและระบบสารณู ป การ ระบบระบายน้ า และป้ องกัน น้ า ท่ ว ม โครงการเพื่อส่งเสริมการพัฒนายังยื ่ น เช่น การบารุงรักษาถนน และการใช้ถนน อย่างปลอดภัย โครงการเพื่อสนับสนุนการพัฒนากิจกรรมทางเศรษฐกิจอื่นๆ เช่น การจัดทาแผนทีก่ ารท่องเทีย่ ว

๕.๒ โครงการพัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง กทม. (บางซื่อ) - หนองคายเพื่อเพิม่ ประสิทธิภาพการเชื่อมโยงโครงข่ายขนส่งระบบรางในภาคตะวันออกฉียงเหนือ เชื่อมโยงสปป.ลาว และจีน ประกอบด้วย พัฒนาเส้นทางรถไฟความเร็วสูง กทม. (บางซื่อ) - หนองคาย ระยะทาง ๖๑๕ กิโลเมตร ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของโครงการ ก่อสร้างเส้นทางรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน ระบบรางคู่ จากคุนหมิง-หลวงพระบางเวียงจันทน์-หนองคาย-กรุงเทพฯ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๕,๐๐๐.๐๐

๑๔๘,๖๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

งบประมาณแผ่นดิน ● เงินกูส ้ ถาบันการเงินอื่น ● เงิ น สะสมของส านั ก งาน พั ฒ นาความร่ ว มมื อ ทาง เศรษฐกิจกับประเทศเพื่อ น บ้าน (สพพ.)

แผนลงทุ น ของ NEDA และมติ ครม.บางส่วน

เงิน ร่ว มลงทุ น ระหว่ า งไทย และจีน

มติ ครม. วันที่ ๗ ก.ย. ๒๕๕๓ และแผน กระทรวง


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๕.๓ โครงการพัฒนาท่าเรือเชียงแสน แห่งที่ ๒ เพื่อเพิม่ ศักยภาพท่าเรือเชียงแสนให้ สามารถรองรับการขยายตัวของการค้าและการขนส่งตามแนวลาน้ าโขง และ แก้ปญั หาท่าเรือเชียงแสนแห่งที ๑ ที่มพี ้นื ที่จากัด รองรับการเป็ นประตูการค้า เชื่อมโยงภูมภิ าคของจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยก่อสร้างท่าเรือระยะแรก ๑๑ ท่ า ร ะ ย ะ ที่ ๒ เ พิ่ ม อี ก ๙ ท่า (ประกอบด้วย ท่าเรือขนถ่ายสินค้าทัวไปด้ ่ วยแรงงานคน ๖ ท่า และด้วย เ ค ร น ๕ ท่า ท่าเรือปิ โตรเลียม ๑ ท่า ท่าเรือคอนเทนเนอร์ ๘ ท่า) และก่อสร้างอาคาร สานักงาน อาคารเอนกประสงค์ โรงพักสินค้า และบ้านพักเจ้าหน้าที่

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๓๐๒.๗๓

แหล่งเงิ นทุน ●

งบประมาณแผ่นดิน

ที่มาโครงการ ●

มติ ครม. วันที่ ๑๖ ต.ค. ๒๕๕๐


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๕.๔ โครงการพัฒนาเศรษฐกิจบริเวณชายแดนเพื่อพัฒนาศักยภาพของเมืองชายแดน เพื่อเป็ นประตูการค้า ฐานการผลิตและการลงทุนเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน เช่น จังหวัดตาก กาญจนบุร ี นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี เชียงราย เป็ นต้น ประกอบด้วย พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเพื่อรองรับการพัฒนาและแก้ไขปญั หาเมือง พัฒนาระบบคมนาคมขนส่งเชื่อมโยงสู่ฐานการผลิต/ท่าเรือ/ตลาดในประเทศเพื่อน บ้า น และเชื่อ มโยงกรุ ง เทพ และพัฒ นาแผนสนั บ สนุ น ด้า นคน สัง คมและ สิง่ แวดล้อม วางผังเมือง และการอนุ รกั ษ์เมือง ฯ กฎระเบียบทีส่ นับสนุ นการลงทุน การบริหารจัดการเงิน และแรงงานรวมทัง้ พัฒนาที่ทาการด่านพรมแดน พื้ นที่ ตรวจร่วม อาคารคลังสินค้า และที่ทาการด่านศุลกากร ตรวจคนเข้าเมือง และ หน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องกับการตรวจปล่อยสินค้าข้ามพรมแดนให้สามารถรองรับการ ปฏิบตั งิ านตามความตกลงระหว่างประเทศ และจัดหาอุปกรณ์ สิง่ อานวยความ สะดวก และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่จาเป็ นในอาคารทีท่ าการด่านชายแดน ตลอดจนพิจารณาก่ อ สร้างสิ่งอ านวยความสะดวกเพื่อ ส่ งเสริมความได้เ ปรีย บ ทางโลจิสติกส์ เช่น ศูนย์กระจายสินค้า ศูนย์บริการโลจิสติกส์ ลานจอดรถบรรทุก ฯลฯ ๕.๕ แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝา่ ย อินโดนีเซีย-มาเลเซีย-ไทย ๕.๕.๑ โครงการก่อสร้างทางพิเศษหาดใหญ่-สะเดาเพื่ออานวยความสะดวกในการ ขนส่งและระบบโลจิสติกส์ เชื่อมโยงอนุ ภูมภิ าค IMT-GT โดยเฉพาะการ เชื่อมโยงพื้นที่การพัฒนาภาคใต้ของไทยและแผนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๓,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

งบประมาณแผ่นดิน ● เงินสมทบภาค เอกชน

มติ ครม. วันที่ ๙ พ.ย. ๒๕๔๒ และ วั น ที่ ๑๙ มี.ค. ๒๕๔๕

งบประมาณแผ่นดิน ● หรื อ อาจเป็ นโครงการที่ ดาเนินการในลักษณะ PPP

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ เม.ย ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๒/๒๕๕๔

๒๒,๔๐๐.๐๐ ๑๒,๐๐๐.๐๐


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

ภาคเหนือ (NCER) ของมาเลเซีย และเตรียมเสนอเป็ นส่วนหนึ่งของ IMT-GT Implementation Blueprint ๒๐๑๒-๒๐๑๖ กับเป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมโยง ตามแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน หากผลการศึกษา พบว่ามีความเป็ นไปได้ และผลการจัดเวทีประชาคมเป็ นทีย่ อมรับจากทุก ภาคส่วนของการพัฒนา ๕.๕.๒ โครงการก่อสร้างอุโมงค์เชื่อมโยงทางหลวงระหว่างจังหวัดสตูล -รัฐปะ ลิสเพื่ออานวยความสะดวกในการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ เชื่อมโยง อนุภมู ภิ าค IMT-GT โดยเฉพาะการเชื่อมโยงพืน้ ทีก่ ารพัฒนาภาคใต้ของ ไทยและแผนพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจภาคเหนือ (NCER) ของมาเลเซีย และเตรียมเสนอเป็ นส่วนหนึ่งของ IMT-GT Implementation Blueprint ๒๐๑๒-๒๐๑๖ กับเป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมโยงตามแผนแม่บทการ เ ชื่ อ ม โ ย ง ร ะ ห ว่ า ง กั น ในอาเซียน หากผลการศึกษาพบว่ามีความเป็ นไปได้ และผลการจัดเวที ประชาคมเป็นทีย่ อมรับจากทุกภาคส่วนของการพัฒนา

เมื่ อ ๗ มี . ค. ๒ ๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

๑,๕๐๐.๐๐

เงินงบประมาณอุโมงค์ซง่ึ ต้อง รับผิดชอบฝ่ายละกึ่งหนึ่งและ ทางหลวงในประเทศไทยที่ รับผิดชอบฝา่ ยเดียว

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๕.๕.๓ โครงการก่อสร้างด่านศุลกากรสะเดา (ส่วนขยาย) และการพัฒนาเมือง ชายแดนต่อ เนื่องเพื่อปรับปรุงการอ านวยความสะดวกการเชื่อ มโยง ด้านด่านศุลกากรสะเดา เพื่อให้มสี มรรถนะทัดเทียมด่านศุลกากรบูกติ กายูฮติ มั ซึ่งจะอานวยความสะดวกในการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ เชื่อมโยงอนุ ภูมภิ าค IMT-GT โดยเฉพาะการเชื่อมโยงพืน้ ทีก่ ารพัฒนา ภาคใต้ของไทยและแผนพัฒนาพืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจภาคเหนือ (NCER) ของ มาเลเซีย และเตรียมเสนอเป็ นส่วนหนึ่งของ IMT-GT Implementation Blueprint ๒๐๑๒-๒๐๑๖ กับเป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมโยงตามแผน แม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน โดยมีการจัดระบบความ เชื่อมโยงกับโครงการก่อสร้างทางพิเศษหาดใหญ่ -สะเดาเชื่อมโยงกับ พืน้ ทีด่ ่านศุลกากร ๕.๕.๔ โครงการก่ อ สร้า งสะพานข้า มแม่ น้ า โกลกที่อ าเภอตากใบ จัง หวัด นราธิวาส และอาคารด่านศุลกากรเพื่อปรับปรุงการอานวยความสะดวก การเชื่อมโยงด้านด่านศุลกากรตากใบแห่งใหม่ โดยการก่อสร้างสะพาน ข้ามแม่น้ าโกลก ทดแทนการใช้แพขนานยนต์ ซึ่งจะอานวยความ สะดวกในการขนส่งและระบบโลจิสติกส์ เชื่อมโยงอนุ ภูมภิ าค IMT-GT โดยเฉพาะการเชื่อมโยงพืน้ ทีก่ ารพัฒนาภาคใต้ของไทยและแผนพัฒนา พืน้ ทีเ่ ศรษฐกิจภาคตะวันออก (ECER) ของมาเลเซีย และเตรียมเสนอ เป็ นส่วนหนึ่งของ IMT-GT Implementation Blueprint ๒๐๑๒-๒๐๑๖ กับ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

๕,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ

เป็ นส่วนหนึ่งของการเชื่อมโยงตามแผนแม่บทการเชื่อมโยงระหว่างกัน ในอาเซียน

๕.๕.๕ โครงการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเ ศษชายแดนไทย-มาเลเซีย ที่อ าเภอ สะเดา จังหวัดสงขลา - เมืองบูกติ กายูฮติ มั มาเลเซียเพื่อปรับปรุงสิง่ อานวยความสะดวกด้านการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย เขื่อ มโยง เศรษฐกิจภาคใต้ของไทยกับ พืน้ ทีแ่ ผนงาน NCER ของมาเลเซีย โดย การก่อสร้างคลังสินค้าและศูนย์โลจิสติกส์ ทีเ่ ชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานกับ มาเลเซีย

๑,๐๐๐.๐๐

เอกชนลงทุ น ในแบบ PPP ในพืน้ ทีโ่ ครงการ

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)


ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑,๑๐๐.๐๐

รั ฐ ลงทุ นด้ า นโครงสร้ า ง พื้ น ฐ า น ส นั บ ส นุ น เ งิ น งบประมาณ

๕.๕.๗ โครงการจัด ตัง้ ศู น ย์ โ ลจิส ติก ส์ ภ าคใต้ ท่ีอ าเภอทุ่ ง สง จัง หวัด นครศรีธรรมราชเพื่อ พัฒนาระบบโลจิส ติกส์เ ชื่อ มโยงระหว่างภาคใต้ ตอนกลางของไทยกับกรอบ IMT-GT เช่น ทางรถไฟ (เชื่อมโยงกับ ท่ า เ รื อ กั น ตั ง จั ง ห วั ด ต รั ง ) ถนนเข้า-ออก การพัฒนาระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ เป็นต้น

๗๐๐.๐๐

เอกชนลงทุ น ในแบบ PPP ในพืน้ ทีโ่ ครงการ

๕.๕.๘ โครงการก่อสร้างอาคารผู้โดยสารระหว่างประเทศ ท่าเรือภูเก็ต เพื่อ ก่อสร้างอาคารผูโ้ ดยสารท่าเรือระหว่างประเทศ ทีท่ ่าเรือภูเก็ต รองรับ การเชื่อมโยงการท่องเทีย่ วในอนุภมู ภิ าค IMT-GT

๑๐๐.๐๐

โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๕.๕.๖ โครงการจัดตัง้ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนไทย-มาเลเซีย ทีอ่ าเภอแว้ง อาเภอสุไหงโกลก และอาเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส โดยมีกจิ กรรม เชื่อมโยงกับรัฐกลันตัน มาเลเซีย เพื่อปรับปรุงสิง่ อานวยความสะดวก ด้านการค้าชายแดนไทย-มาเลเซีย เขื่อมโยงเศรษฐกิจภาคใต้ของไทย กับพืน้ ทีแ่ ผนงาน ECER ของมาเลเซีย โดยการก่อสร้างคลังสินค้าและ ศูนย์โลจิสติกส์ ที่เชื่อมโยงห่วงโซ่อุปทานกับมาเลเซีย อาทิ พัฒนา โครงสร้างพื้นฐานสนับสนุ น เช่น ถนนเข้า-ออก การพัฒนาแหล่งน้ า การพั ฒ นาระบบสาธารณู ปโภคสาธารณู ปการ สถานศึ ก ษ า โรงพยาบาล

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.)

มติ ค.รม. เมื่อ ๗ เม.ย ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๒/๒๕๕๔ เมื่ อ ๗ มี . ค. ๒๕๕๔ (วงเงินประมาณการโดย สศช.) ● มติ ค.รม. เมื่อ ๗ ก.พ. ๒ ๕ ๕ ๔ รั บ ท ร า บ ม ติ กพบ. ครัง้ ที่ ๑/๒๕๕๔ เมื่ อ ๑๐ ม.ค. ๒๕๕๔


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

แหล่งเงิ นทุน

ที่มาโครงการ (วงเงินประมาณการโดย

สศช.)

๖.

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม

๒๙๓,๒๗๐.๐๐

๖.๑ แผนงานด้านทรัพยากรดินและทีด่ นิ ๖.๑.๑ สารวจแนวเขตทีด่ นิ ของรัฐให้เป็ นมาตรฐานเดียวกัน เพื่อให้มแี นวเขต ทีด่ นิ ของรัฐทัวประเทศ ่ เพื่อลดปญั หาความขัดแย้งที่ดนิ ระหว่างรัฐกับ เอกชน และให้มแี ผนทีท่ ม่ี มี าตรฐานทุกหน่วยงาน

๑๗,๐๐๐.๐๐ ๓,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและ สิง่ แวดล้อม

๖.๑.๒ การพัฒนาระบบสารสนเทศทีด่ นิ เพื่อให้มรี ะบบและฐานข้อมูลถือครอง ที่ดิน และการจดทะเบียนนิ ติก รรมที่ดินของรัฐด้ว ยระบบเทคโนโลยี สารสนเทศที่หน่ วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถเรียกใช้ประโยชน์ ได้อย่าง ถูกต้องและรวดเร็ว

๑๔,๐๐๐.๐๐

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ครม. วันที่ ๒ ม.ค. ๒๕๕๑ เสนอโดย กระทรวงมหาดไทย

๖.๒ แผนงานด้านทรัพยากรน้า ๖.๒.๑ การพัฒนาแหล่งน้าขนาดกลางและขนาดใหญ่ เพื่อสร้างระบีบเก็บกักน้ า ต้นทุนและระบบกระจายน้าในเขตพืน้ ทีช่ ลประทาน

๗๓,๒๕๐.๐๐ ●

งบประมาณแผ่นดิน

มติ ครม.

๗๓,๒๕๐.๐๐


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม)

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น)

๖.๓ แผนงานด้านสิง่ แวดล้อม ๖.๓.๑ สนับสนุนให้มกี ารก่อสร้างระบบกาจัดของเสียรวมให้กบั องค์กรปกครอง ส่วนท้องถิน่ โดย เสริมสร้างความพร้อมให้กบั องค์กรปกครองส่วน ท้อ งถิ่น อย่างต่ อ เนื่อ งในการจัดทาโครงการ/ ตรวจสอบ/ ควบคุ ม คุณภาพรายงานการศึกษาความเหมาะสม การออกแบบรายละเอียด การก่อสร้าง และการก่อสร้างระบบกาจัดของเสียรวม รวมทัง้ จัดทา บัญชีรายชื่อทีป่ รึกษาทีม่ คี วามเหมาะสมเป็ นผู้จดั ทารายงานการศึกษา ความเหมาะสม การออกแบบรายละเอียดการก่อสร้างระบบกาจัดของ เสีย รวม ตลอดจนสนับ สนุ น งบประมาณส าหรับ การศึก ษาความ เหมาะสม (Feasibility Study: FS) และการออกแบบรายละเอียดการ ก่อสร้าง (Detailed Design: DD) ระบบกาจัดของเสียรวม นอกจากนี้ยงั ได้ สนั บ สนุ น งบประมาณส าหรับ การก่ อ สร้า งระบบก าจัด ของเสีย รวม (ระบบบาบัดน้ าเสียรวมชุมชน ระบบการจัดการขยะมูลฝอย มูลฝอยติด เชื้อ และของเสียอัน ตรายจากชุ มชน) ที่ส อดคล้อ งกับปญั หาและ ศักยภาพในการบริหารจัดการขององค์ปกครองส่วนท้องถิน่

๑๘๔,๔๒๐.๐๐

๖.๔ การแก้ไขปญั หาสิง่ แวดล้อมในพืน้ ทีม่ าบตาพุดและบริเวณใกล้เคียง จังหวัดระยอง

๑๘,๖๐๐.๐๐

๑๘๔,๔๒๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

งบประมาณแผ่นดิน ● งบประมาณกระจายอานาจ ● กองทุนสิง่ แวดล้อม ●

ที่มาโครงการ

กรมควบคุมมลพิษ


โครงการ (รายการ) (เป้ าหมายและกิ จกรรม) ๖.๔.๑ การลงทุนของภาคเอกชนตามแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อลดและขจัดมลพิษ ใน เขตควบคุมมลพิษ พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ประกอบด้วย การควบคุมการ ปล่อย SO๒ และ NOX การลด VOCs การควบคุมปริมาณน้ าเสีย การ ลดกากของเสีย VOCs Inventory การติดตามผล และอื่นๆ ๖.๔.๒ การลงทุนของภาคราชการตามแผนปฏิบตั กิ ารเพื่อลดและขจัดมลพิษใน เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดระยอง พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ประกอบด้วย ๗ แผนงาน ๗๑ โครงการ (บ าบัด ฟื้ น ฟู / เฝ้ า ระวัง และป้ อ งกัน /สร้า ง จิตสานึก/ศึกษาวิจยั เชิงปฏิบตั /ิ การบังคับใช้กฏหมาย/รองรับเหตุ ฉุกเฉิน และเตือนภัยสารพิษ/ติดตามประเมินผล) ๖.๔.๓ การลงทุนของภาคราชการตามแผนแก้ไขปญั หามาบตาพุดด้านอื่นๆ

ในช่วงแผนฯ๑๑ (ประมาณการเบื้องต้น) ๑๑,๕๐๐.๐๐

๒,๑๐๐.๐๐

๕,๐๐๐.๐๐

แหล่งเงิ นทุน

แผนปฏิบ ัติก ารเพื่อ ลด และขจัด มลพิษ ในเขต ควบคุ ม มลพิษ จัง หวัด ระยอง พ.ศ. ๒๕๕๓๒๕๕๖ (ภาคเอกชน) ● งบประมาณแผ่ นดิ น /งบ ● แผนปฏิบ ัต ิ ก ารเพื่อ ลด กนอ./งบกองทุนสิง่ แวดล้อมฯ และขจัด มลพิษ ในเขต ควบคุ ม มลพิษ จัง หวัด ระยอง พ.ศ. ๒๕๕๓๒๕๕๖ (ภาคราชการ) ● งบประมาณแผ่นดิน ● ประมาณการโดย สศช. ●

ภาคเอกชน

ที่มาโครงการ ●


Turn static files into dynamic content formats.

Create a flipbook
Issuu converts static files into: digital portfolios, online yearbooks, online catalogs, digital photo albums and more. Sign up and create your flipbook.